The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanok271232, 2022-04-28 03:28:04

วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ

วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ

บทท่ี 1

ความสาคญั ของอาหารและสารอาหารสัตว์นา้

สาระสาคญั

อาหารสัตวน์ ้า หมายถึง สิ่งท่ีสัตวน์ ้ากินเขา้ ไปแลว้ ไม่ก่อให้เกิดโทษ แต่ก่อให้เกิดประโยชน์
ต่อร่างกาย อาหารสัตวน์ ้าประกอบด้วย สารอาหารซ่ึงหมายถึง สารเคมีที่มีอยู่ในอาหารที่สัตวน์ ้ากิน
มีความสาคญั และจาเป็ นต่อร่างกาย โดยทาหนา้ ที่ควบคุมการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตวน์ ้า
ให้เป็ นไปตามปกติ สารอาหารสัตวน์ ้าแบ่งออกเป็ น 5 ประเภทคือ โปรตีน (protein) คาร์โบไฮเดรต
(carbohydrate) ไขมนั (lipid) เกลือแร่ (mineral) และวติ ามิน (vitamin)

จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์ทว่ั ไป

มีความรู้ความเขา้ ใจถึงความสาคญั ของอาหารและสารอาหารสตั วน์ ้า

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. อธิบายความหมายของอาหารสัตวน์ ้าได้
2. อธิบายความสาคญั ของอาหารสตั วน์ ้าได้
3. จาแนกประเภทสารอาหารที่สัตวน์ ้าตอ้ งการได้
4. อธิบาย หนา้ ที่ องคป์ ระกอบ ความตอ้ งการสารอาหารของสัตวน์ ้า และอาการขาดสาร
อาหารของสตั วน์ ้าได้

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายของอาหารสตั วน์ ้า
2. ความสาคญั ของอาหารสตั วน์ ้า
3. สารอาหารที่สตั วน์ ้าตอ้ งการ

2

เนือ้ หาสาระ

1. ความหมายของอาหารสัตว์นา้

อาหารสัตวน์ ้า หมายถึง สิ่งที่สัตวน์ ้ากินเขา้ ไปแลว้ ไม่ก่อให้เกิดโทษ แต่ก่อให้เกิดประโยชน์
ต่อร่างกาย ช่วยทาใหร้ ่างกายเจริญเติบโต โดยการสร้างและซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอ ใหพ้ ลงั งาน และช่วย
ควบคุมให้การปฏิบตั ิงานของกระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายดาเนินไปตามหนา้ ที่ แลว้ ส่งผลให้สัตวน์ ้า
สามารถดารงชีวติ และสืบพนั ธุ์ ไดอ้ ยา่ งปกติ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ปริมาณและคุณคา่ ทางโภชนาการของอาหาร

สารอาหารสัตวน์ ้า หมายถึง สารเคมีที่มีอยใู่ นอาหารที่สัตวน์ ้ากิน มีความสาคญั และจาเป็ น
ต่อร่างกาย โดยทาหนา้ ท่ีควบคุมการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตวน์ ้าให้เป็ นไปตามปกติ
ส่วนคาวา่ “โภชนาการ” เป็ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ระบบการกินอาหาร และ
การเปล่ียนแปลงทางเคมีของอาหารและสารอาหารในร่างกาย เพ่ือช่วยในการควบคุมการทางาน
ของอวยั วะตา่ ง ๆ ตลอดจนการขบั ถ่ายของเสียออกจากร่างกาย

2. ความสาคญั ของอาหารสัตว์นา้

อาหารสัตวน์ ้ามีความสาคญั ต่อการเล้ียงสัตวน์ ้าเป็ นอย่างมาก เน่ืองจากอาหารเป็ นแหล่ง
พลงั งานที่ใชใ้ นการดารงชีวติ การเจริญเติบโตและการสืบพนั ธุ์ ตลอดจนเป็ นตน้ ทุนผนั แปรท่ีสูงสุด
ของการเล้ียงสัตวน์ ้า จึงมีผลโดยตรงต่อกาไรหรือขาดทุนของผเู้ ล้ียง สัตวน์ ้าก็เช่นเดียวกบั สิ่งมีชีวติ
อ่ืน ๆ ท่ีตอ้ งการอาหารเพื่อค้าจุนชีวิตให้คงอยู่ ถา้ สัตวน์ ้ามีอาหารกินอยา่ งเพียงพอและเป็ นอาหารท่ี
มีคุณภาพดี สัตวน์ ้าจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมีสุขภาพดีแข็งแรงและระบบสืบพนั ธุ์มีการเจริญ
พฒั นาพร้อมในการผสมพนั ธุ์ อนั เป็ นสิ่งท่ีนกั เพาะเล้ียงท้งั หลายมีความปรารถนาอยา่ งย่ิง จนอาจ
กล่าวไดว้ า่ การเล้ียงสัตวน์ ้าจะประสบความสาเร็จหรือไม่เพียงใดน้นั ข้ึนอยกู่ บั คุณภาพ ปริมาณและ
ราคาของอาหารสัตวน์ ้าเป็ นสาคญั อาหารสัตวน์ ้านอกจากจะตอ้ งมีคุณค่าทางโภชนาการครบถว้ น
และปริมาณท่ีเพียงพอแลว้ ยงั ตอ้ งมีรูปแบบท่ีสะดวกเหมาะสมตอ่ ชนิด ขนาดและวยั ของสตั วน์ ้าดว้ ย

อาหารสัตว์น้ามีผลต่อสุขภาพสัตว์น้าหลายด้าน กล่าวคือ สมรรถภาพการทางานของ
ร่างกาย สมอง และระบบประสาท การที่สัตวน์ ้าได้รับอาหารไม่เพียงพอหรือมีภาวะบกพร่อง
ทางโภชนาการ จะทาให้การเจริญเติบโตไม่สามารถดาเนินต่อเน่ืองไปได้อย่างปกติ เกิดความ
ผิดปกติของร่างกายท้งั ทางดา้ นโครงสร้าง รูปร่างและขนาด ในที่สุดทาให้สัตวน์ ้าแคระแกรน สัตวน์ ้า
ที่ได้รับอาหารที่มีโภชนาการต่า ร่างกายจะอ่อนแอติดเช้ือได้ง่ายเน่ืองจากขาดภูมิตา้ นทานโรค
นอกจากน้ี อาหารสัตวน์ ้ายงั มีผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจของประเทศในหลาย ๆ ประการดว้ ยกนั คือ

2.1 อาหารสัตวน์ ้ามีอิทธิพลต่อภาวการณ์ผลิตสัตวน์ ้าโดยตรง เนื่องจากอาหารเป็ นปัจจยั
การผลิตส่วนใหญ่ โดยมีมูลค่า 60-80 เปอร์เซ็นต์ ของตน้ ทุนการผลิตท้งั หมดของสัตวน์ ้าบางชนิด

3

ดงั น้นั การเปล่ียนแปลงใด ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อาหารสัตวน์ ้าจะมีผลต่อภาวการณ์ผลิตสัตวน์ ้า และ
ราคาผลผลิตสัตวน์ ้าดว้ ย

2.2 อาหารสัตวน์ ้าเป็ นอุตสาหกรรมที่ช่วยสร้างตลาด และเพิ่มมูลค่าแก่สินคา้ เกษตรกรรม
ท่ีใชเ้ ป็นวตั ถุดิบในการแปรรูปเป็นอาหารสัตวน์ ้า เช่น ขา้ วโพด ราละเอียด ปลายขา้ ว มนั สาปะหลงั
และปลาเป็ด เป็นตน้ เพราะอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตวน์ ้าใชว้ ตั ถุดิบภายในประเทศเป็ นหลกั
ยกเวน้ วตั ถุดิบบางชนิดท่ีผลิตในประเทศไม่ได้ เช่น วิตามิน พรีมิกซ์ ยาปฏิชีวนะ ยารักษาโรคและ
วตั ถุดิบบางชนิดที่ในประเทศขาดแคลนเป็ นบางช่วง เช่น กากถวั่ เหลือง กากถว่ั ลิสง ตอ้ งนาเขา้ จาก
ตา่ งประเทศ

2.3 อาหารสัตวน์ ้าทาให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องข้ึนหลายประเภท เช่น โรงงานปลาป่ น
โรงงานสกดั น้ามนั พืช และโรงงานผลิตอาหารเสริม เป็นตน้

2.4 อาหารสตั วน์ ้าช่วยใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงการส่งออกสินคา้ เกษตร จากลกั ษณะวตั ถุดิบ
มาเป็นแบบสาเร็จรูปเพ่มิ ข้ึน เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินคา้ เหล่าน้นั

2.5 อาหารสัตวน์ ้าช่วยส่งเสริมให้การเล้ียงสัตวน์ ้าในประเทศพฒั นาตวั เอง จากการเล้ียง
สัตว์น้าแบบพ้ืนบ้านเป็ นการเล้ียงแบบการคา้ ในลักษณะธุรกิจขนาดใหญ่ เพราะเกษตรกรเห็น
ผลประโยชน์จากการเล้ียงด้วยอาหารเพิ่มมากข้ึน ท้งั ในแง่การเจริญเติบโต ระยะเวลาการเล้ียง
การตลาดและรายไดท้ ่ีไดร้ ับ

ส่วนผลกระทบที่เกิดกบั ระบบนิเวศวิทยาทางน้า พบว่า เม่ือมีการใช้อาหารสาเร็จรูปกนั
แพร่หลาย อาจมีผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยากับแหล่งน้าได้ โดยเฉพาะในกรณีท่ีใช้อาหาร
สัตว์น้า ในปริมาณท่ีมากเกินความต้องการของสัตวน์ ้า เน่ืองจากอาหารสัตว์น้าสาเร็จรูปจะมี
สารอาหารค่อนขา้ งสมบูรณ์มาก มีโปรตีนท่ีค่อนขา้ งสูง เม่ือให้อาหารเกินความตอ้ งการของสัตวน์ ้า
อาหารที่ตกคา้ งในบอ่ ทาใหน้ ้าเน่าเสียได้

3. สารอาหารทส่ี ัตว์นา้ ต้องการ

เม่ืออาหารเขา้ สู่ภายในร่างกายของสตั วน์ ้า อาหารจะถูกยอ่ ยจนไดส้ ารอาหาร ซ่ึงสารอาหาร
ดงั กล่าวสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่

3.1 โปรตีน (protein)
3.1.1 แหล่งท่ีพบ โปรตีนเป็ นสารอินทรียท์ ี่พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดท้งั สัตว์ พืช และ

จุลินทรีย์ โดยในสัตวน์ ้ามีโปรตีนเป็นองคป์ ระกอบมากกวา่ ในสิ่งมีชีวติ ประเภทอื่น แหล่งโปรตีนท่ี
จะนามาผลิตอาหารสัตวน์ ้า มีท้งั แหล่งโปรตีนจากพืชและจากสัตว์ ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบระหวา่ งพืช
กบั สัตว์ แหล่งโปรตีนท่ีมาจากสัตวจ์ ะดีกว่าแหล่งโปรตีนท่ีมาจากพืช ท้งั น้ีเพราะว่าแหล่งโปรตีน

4

ที่ไดจ้ ากพืชมกั มีกรดอะมิโนท่ีจาเป็นตอ่ ร่างกายไม่ครบถว้ น ดงั น้นั การผลิตอาหารท่ีมีแหล่งโปรตีน
จากพชื จึงตอ้ งผสมแหล่งโปรตีนท่ีไดจ้ ากสัตวเ์ สมอ

แหล่งโปรตีนจากสัตว์ ได้แก่ เน้ือสัตว์และผลิตภณั ฑ์จากสัตว์ เช่น ไรแดง หนอนแดง
เน้ือป่ น ปลาป่ น เปลือกและหัวกุ้งป่ น เลือดป่ น ปลาเป็ ด นมและไข่ เป็ นตน้ ส่วนแหล่งโปรตีน
จากพชื ไดแ้ ก่ กากถว่ั เหลือง กากถว่ั เขียว กากถวั่ ลิสงและใบกระถินป่ น เป็นตน้

3.1.2 หนา้ ท่ีของโปรตีน โปรตีนทาหนา้ ที่หลายอยา่ งในร่างกายที่สาคญั ไดแ้ ก่
1) โปรตีนเป็ นส่วนประกอบของเซลล์ทุกชนิดในร่างกายสัตว์ โดยเฉพาะเซลล์

กลา้ มเน้ือ กระดูก ฟัน เกล็ด ผิวหนงั เลือด และไขสันหลงั ในเลือดจะประกอบดว้ ยน้าเลือด (plasma)
และเซลล์ (corpuscles) ซ่ึงประกอบดว้ ยเม็ดเลือดแดง (red blood cell) โดยทาหน้าที่ขนส่งก๊าซ
ออกซิเจน (oxygen transfer) เมด็ เลือดขาว (white blood cell) ทาหนา้ ท่ีเกี่ยวกบั ภูมิคุม้ กนั ของร่างกาย
(immune response) และเกล็ดเลือด (platelet) ทาหนา้ ที่ช่วยในการแข็งตวั ของเลือด (blood clotting)
โดยโปรตีนในน้าเลือดจะประกอบดว้ ยซีรัมโปรตีน (serum protein) ซีรัมโกลบูลิน (serum globulin)
หรือแอนติบอดี (antibody) ไฟบริโนเจน (fibrinogen) และฮอร์โมน โปรตีนในเลือดทาหนา้ ท่ีรักษา
สมดุลความดันออสโมติก (osmotic) ทาให้ของเหลวท้ังภายในและภายนอกอยู่ในสภาวะปกติ
ช่วยควบคุมความเป็นกรดด่างในเลือด และช่วยขนส่งกา๊ ซและสารอาหารภายในร่างกาย

2) โปรตีนเป็ นโครงสร้างของร่างกายสัตวน์ ้า เช่น กลา้ มเน้ือ หรือเกลด็
3) โปรตีนเป็ นองคป์ ระกอบของเอนไซม์ (emzyme) ที่สาคญั เช่น เอนไซมท์ ่ีย่อย
แป้ ง ไดแ้ ก่ เอนไซมอ์ ะไมเลส (amylase) และเอนไซมย์ อ่ ยไขมนั ไดแ้ ก่ เอนไซมไ์ ลเปส (lipase)
4) โปรตีนบางชนิดทาหนา้ ท่ีในการสร้างภูมิคุม้ กนั เช่น แอนติบอดี และ เซลลูลา
มีเดียท อิมมนู ิตี (cellular mediated immunity, CMI) เป็นตน้
5) โปรตีนช่วยทาใหเ้ ลือดแขง็ ตวั
6) โปรตีนเป็นส่วนประกอบของเซลลส์ ืบพนั ธุ์ (egg and sperm)
3.1.3 องคป์ ระกอบทางเคมีและคุณภาพทางโภชนาการ คาวา่ โปรตีน มาจากภาษากรีก วา่
โปรตีโอส (proteios) ซ่ึงหมายถึง ความสาคญั อนั ดบั หน่ึง โปรตีนประกอบดว้ ย คาร์บอน (carbon)
50-55 เปอร์เซ็นต์ ออกซิเจน (oxygen) 21.5-23.5 เปอร์เซ็นต์ ไนโตรเจน (nitrogen) 15.5-18
เปอร์เซ็นต์ ไฮโดรเจน (hydrogen) 6.5-7.5 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัส (phosphorus) 0-1.5 เปอร์เซ็นต์
และกามะถนั (sulfur) 0.5-2.0 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนแบ่งตามลกั ษณะทางเคมีได้ 3 ประเภท คือ
1) โปรตีนอย่างง่าย (simple protein) คือ โปรตีนท่ีประกอบดว้ ยกรดอะมิโน
(amino acid) อยา่ งเดียว โปรตีนอยา่ งง่ายแบ่งตามโครงสร้างได้ 2 ชนิด คือ โปรตีนชนิดเส้นใย และ
โปรตีนชนิดก้อนกลม โปรตีนชนิดเส้นใยไม่ละลายน้าและไม่สามารถย่อยได้ คือ คอลลาเจน

5

(collagen) ซ่ึงพบในเน้ือเยอ่ื เก่ียวพนั กระดูก ผวิ หนงั และครีบ ส่วนโปรตีนชนิดกอ้ นกลมละลายน้า
ไดด้ ีและมกั จะทาหน้าท่ีเกี่ยวกับการทางานของเซลล์ เช่น เป็ นเอนไซม์ หรือฮอร์โมน ซ่ึงไดแ้ ก่
อลั บมู ิน (albumin) โกลบูลิน (globulin) และโปรลามิน (prolamin) เป็นตน้

2) โปรตีนประกอบ (conjugate protein หรือ complex protein) คือ โปรตีนที่มี
สารอื่นประกอบนอกเหนือจากกรดอะมิโน เช่น ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) ไลโปโปรตีน
(lipoprotein) นิวคลีโอโปรตีน (nucleoprotein) ฟอสโฟโปรตีน (phosphoprotein) โครโมโปรตีน
(chromoprotein) และเมตลั โลโปรตีน (metallo protein) ซ่ึงประกอบด้วย กรดอะมิโนรวมกับ
คาร์โบไฮเดรต ไขมนั กรดนิวคลีอิก หมู่ฟอสเฟต รงควตั ถุ และไอออนของโลหะ

3) อนุพนั ธ์โปรตีน (derived protein) คือ สารท่ีไดจ้ ากการสลายตวั ของโปรตีน
โดยวธิ ีการทางกายภาพหรือเคมี เช่น การยอ่ ยดว้ ยกรดอ่อน ด่างอ่อน เอนไซม์ หรือความร้อน

กรดอะมิโน จดั เป็ นโมเลกุลท่ีเล็กที่สุดของโปรตีนโดยกรดอะมิโนจะไม่สามารถถูกแยก
หรือย่อยให้เล็กลงไดอ้ ีก ซ่ึงโปรตีนท่ีสัตวน์ ้ากินเขา้ มาจะถูกย่อยดว้ ยเอนไซม์ยอ่ ยโปรตีน จนใน
ที่สุดจะไดเ้ ป็ นกรดอะมิโนอิสระ ซ่ึงเป็ นหน่วยที่เล็กท่ีสุดที่พร้อมจะถูกดูดซึมผา่ นผนงั ท่อทางเดิน
อาหารไปยงั อวยั วะต่าง ๆ ในร่างกาย เพื่อใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ กรดอะมิโนที่พบในร่างกายสัตวม์ ี
ประมาณ 20 ชนิด สามารถแบ่งตามคุณค่าทางโภชนาการ ได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ

(1) กรดอะมิโนที่จาเป็ นแก่ร่างกาย (essential amino acid) หมายถึง กรดอะมิโน
ที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ข้ึนมาได้ หรือสังเคราะห์ไดใ้ นปริมาณนอ้ ยไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการ
ของร่างกาย จาเป็นตอ้ งไดร้ ับจากอาหารท่ีกินเขา้ ไปเท่าน้นั ถา้ ปลาหรือสัตวน์ ้าอื่น ๆ ไดร้ ับกรดอะมิโน
ที่จาเป็ นแก่ร่างกายไม่ครบถว้ นตามความตอ้ งการของร่างกาย ท้งั ปริมาณและคุณภาพ จะทาให้การ
เจริญเติบโตของสัตวน์ ้าชา้ ลง สัตวน์ ้าส่วนมากมีความตอ้ งการกรดอะมิโนที่จาเป็ นแก่ร่างกาย 10 ชนิด
ได้แก่ อาร์จินีน (arginine) ไลซิน (lysine) ทริปโตเฟน (tryptophan) เฟนิลอะลานีน (phenylalanine)
ทรีโอนีน (threonine) ลูซีน (leucine) ไอโซลูซีน (isoleucine) ฮีสทิดีน (histidine) วาลีน (valine) และ
เมไธโอนีน (methionine) ซ่ึงกรดอะมิโนที่จาเป็ นแก่ร่างกาย แต่ละชนิดมีโครงสร้างที่แตกต่างกนั
ดงั แสดงในภาพที่ 1.1

6

อาร์จินีน ไลซิน
ทริปโตเฟน เฟนิลอะลานีน
ทรีโอนีน
ลูซีน

ไอโซลูซีน ฮีสทิดีน

วาลีน เมไธโอนีน

ภาพท่ี 1.1 โครงสร้างของกรดอะมิโนท่ีจาเป็ น
ที่มา : นิวฒุ ิ (2550)

7

(2) กรดอะมิโนที่ไม่จาเป็ นแก่ร่างกาย (non essential amino acid) หมายถึง
กรดอะมิโนที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ข้ึนมาไดม้ ากเพียงพอแก่ความตอ้ งการของร่างกาย โดยสร้าง
จากสารประกอบชนิดอื่นมี 9 ชนิดไดแ้ ก่ อะลานีน (alanine) ซีสทีน (cystein) ไกลซีน (glycine) ซีรีน
(serine) ไทโรซิน (tyrosine) กรดกลูตามิค (glutamic acid) กรดแอสปาร์ติค (aspartic acid) โพรลีน
(proline) และไฮดรอกซีโพรลีน (hydroxy proline) ซ่ึงกรดอะมิโนท่ีไม่จาเป็ นแก่ร่างกาย แต่ละชนิด
มีโครงสร้างที่แตกต่างกนั ดงั แสดงในภาพท่ี 1.2

อะลานีน ซีสทีน

ไกลซีน ซีรีน
ไทโรซิน กรดกลูตามิค

กรดแอสปาร์ติค โพรลีน

ไฮดรอกซีโพรลีน

ภาพท่ี 1.2 โครงสร้างของกรดอะมิโนท่ีไมจ่ าเป็น
ท่ีมา : นิวฒุ ิ (2550)

8

3.1.4 ความตอ้ งการโปรตีนของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าแต่ละชนิดมีความตอ้ งการโปรตีน
แตกต่างกนั แมเ้ ป็นชนิดเดียวกนั ความตอ้ งการโปรตีนยงั คงแตกต่างกนั ตามสภาพร่างกายและ

ส่ิงแวดลอ้ ม เช่น อายแุ ละวยั ช่วงเวลาของการสืบพนั ธุ์ อุณหภูมิ อตั ราการให้อาหาร ระบบการ
เล้ียง ตลอดจนคุณภาพของโปรตีน หรือความสมดุลของกรดอะมิโน และสัดส่วนของ
สารอาหาร ที่มีอยใู่ นอาหารสตั วน์ ้า ดงั แสดงในตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 ความตอ้ งการโปรตีนในอาหารของสัตวน์ ้าชนิดต่าง ๆ

ชนิดของสัตวน์ ้า ความตอ้ งการโปรตีน (เปอร์เซ็นต)์
ปลากินพชื (herbivorous)
27 ± 3
ปลาจีน 27 ± 2
ปลาสวาย
สัตวน์ ้ากินท้งั พชื และเน้ือ (omnivorous ) 34 ± 8
ปลานิล 35 ± 2
ปลาไนและปลาสลิด 35 ± 5
ปลาดุกลูกผสม 34 ± 5
กงุ้ กา้ มกราม
สัตวน์ ้ากินเน้ือ (carnivorous) 48 ± 5
ปลาช่อนและปลากราย 40 ± 5
ปลานวลจนั ทร์ทะเล 48 ± 5
ปลากะพงขาว 43 ± 7
กงุ้ กุลาดา

ท่ีมา : ดดั แปลงจาก วมิ ล (2537)

ผเู้ ล้ียงสัตวน์ ้าควรทราบความตอ้ งการสารอาหารของสัตวน์ ้าแต่ละวยั และแต่ละชนิด เพ่ือ
เลือกใชอ้ าหารไดเ้ หมาะสมหรือหาแนวทางลดต้นทุนการผลิต โดยไม่กระทบต่อการเจริญเติบโต

ของสตั วน์ ้า
กรมประมง (2550) ได้แนะนาวิธีการเลือกใช้อาหารในการเล้ียงสัตว์น้าชนิดต่าง ๆ ดงั น้ี

สัตวน์ ้ากินท้งั พืชและเน้ือ เช่น ปลาตะเพียน ปลานิล ปลาไน และปลาสลิด ใช้อาหารโปรตีน 30-35
เปอร์เซ็นต์ เล้ียงประมาณ2-3 เดือน ร่วมกบั การเสริมอาหารธรรมชาติ เช่น ไรแดง โรติเฟอร์ เป็นตน้ ซ่ึงจะ
ทาใหส้ ตั วน์ ้าเจริญเติบโตเร็ว หลงั จากน้นั จึงใชอ้ าหารโปรตีน 25-30 เปอร์เซ็นต์ เล้ียงตอ่ ไป

9

สัตวน์ ้ากินเน้ือ เช่น ปลาช่อน ปลากราย ปลาหมอไทย และกุง้ กา้ มกราม ในช่วง 2-3 เดือน
แรกของการเล้ียงควรใชอ้ าหารโปรตีนประมาณ 40-45 เปอร์เซ็นต์ ส่วนกุง้ กุลาดาในช่วง 2-3 เดือน
แรกของการเล้ียงควรใชโ้ ปรตีน 40 เปอร์เซ็นต์ หลงั จากน้นั จึงลดลงเหลือ 35-40 เปอร์เซ็นต์ ในปลา
ช่อน ปลากราย ปลาหมอไทย และ 30-35 เปอร์เซ็นต์ ในกุง้ กลุ าดา

3.1.5 อาการขาดโปรตีนในสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าจะมีอาการตวั เล็กไม่สมส่วน แคระแกรน
ไม่ค่อยมีกลา้ มเน้ือ ไม่มีกาลงั และภูมิตา้ นทานโรคต่า แมว้ า่ สัตวน์ ้าจะไดร้ ับอาหารท่ีมีโปรตีนแลว้ แต่
ถ้าได้รับในปริมาณและคุณภาพไม่ครบถ้วนตามท่ีร่างกายตอ้ งการ โดยเฉพาะกรดอะมิโนท่ีจาเป็ น
สัตวน์ ้าจะยงั คงเป็ นโรคขาดสารอาหารต่อไป อาการผิดปกติอาจแตกต่างกนั ไปตามชนิดของสัตวน์ ้า
ส่วนใหญจ่ ะผดิ ปกติทางดา้ นการเจริญเติบโต ทาใหโ้ ตชา้ ลง เบื่ออาหารหรือมีน้าหนกั ลดลงอีกดว้ ย

3.2 คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate)
3.2.1 แหล่งท่ีพบ คาร์โบไฮเดรตเป็ นสารอินทรียท์ ่ีพบมากที่สุดในธรรมชาติ ปกติ

พบในพืช ในสัตวพ์ บน้อยมาก คาร์โบไฮเดรตที่ใช้เป็ นอาหารสัตวน์ ้า คือ แป้ ง ส่วนใหญ่ไดจ้ าก
เมล็ดธญั พืช เช่น ขา้ ว ขา้ วโพด และจากพืชหวั เช่น มนั สาปะหลงั เป็ นตน้ นอกจากน้ียงั ไดจ้ ากส่วน
ใบของพืชอีกเล็กนอ้ ย ส่วนสัตวไ์ ม่สามารถสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตโดยกระบวนการสังเคราะห์แสง
ไดเ้ หมือนพืชจึงพบในร่างกายเพียงเล็กนอ้ ย และตอ้ งอาศยั คาร์โบไฮเดรตจากพืชเป็ นหลกั สัตวน์ ้า
มีคาร์โบไฮเดรตมากกว่าสัตวบ์ ก โดยเฉพาะหอยมีคาร์โบไฮเดรตสูง ถึง 6 เปอร์เซ็นต์ ในสัตวบ์ ก
ส่วนใหญพ่ บคาร์โบไฮเดรตในอวยั วะภายในโดยเฉพาะในตบั คาร์โบไฮเดรตในสัตวค์ ือไกลโคเจน
ท่ีสัตวเ์ ก็บเป็ นพลงั งานสารองไวใ้ นกลา้ มเน้ือ และปกติจะสลายตวั หมดหลงั จากสัตวต์ าย แต่อาจ
คงเหลืออยบู่ า้ งเฉพาะในตบั ผลจากการสลายตวั ของไกลโคเจนนี่เองอาจเป็ นสาเหตุทาใหต้ รวจหา
ไม่พบคาร์โบไฮเดรตในเน้ือสตั ว์ คาร์โบไฮเดรตจะทาใหอ้ าหารมีรสหวาน ลกั ษณะคงรูปชวนกิน

3.2.2 หนา้ ท่ี คาร์โบไฮเดรตมีบทบาทหนา้ ที่ในร่างกายของสัตวน์ ้าหลายประการคือ
1) เป็ นโครงสร้างของร่างกาย โดยเป็ นส่วนประกอบส่วนใหญ่ของเยื่อหุ้มเซลล์

และสารพ้นื ฐานในเน้ือเยอื่ ตามอวยั วะท่ีสาคญั ตา่ ง ๆ ของร่างกาย คาร์โบไฮเดรตในกลุ่มน้ีรวมมิวโค
โพลีแซคคาร์ไรด์ (mucopolysacharide) และไกลโคไลปิ ด (glycolipid) มิวโคโพลีแซคคาร์ไรด์
พบมากในเน้ือเยื่อเกี่ยวพนั น้าหล่อล่ืนลูกตา แกว้ ตา กระดูก เกล็ด เปลือกหุ้มตวั ตบั ผนงั ของเส้น
เลือดใหญ่ ส่วนไกลโคไลปิ ด มกั พบในสมองและใยประสาท

2) เป็ นส่วนประกอบของสารเคมีท่ีมีบทบาทสาคญั ในร่างกายหลายชนิด เช่น น้าตาล
เพนโตส (pentoses) โดยเฉพาะไรโบส (ribose) ซ่ึงเป็นส่วนประกอบของกรดไรโบนิวคลีอีก (ribonucleic
acid:RNA) วิตามินไรโบเฟลวิน (riboflavin) กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxy ribonucleic acid :
DNA) และกรดไรโบนิวคลีอิกเก่ียวขอ้ งกบั การควบคุมปฏิกิริยาเคมีของเซลล์ อะดีโนซินไตรฟอสเฟต

10

(adenosine triphosphate) ซ่ึงทาให้ขนส่งพลงั งานในร่างกาย กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก ทาหนา้ ที่
เกี่ยวขอ้ งกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ไรโบเฟลวินทาหน้าท่ีร่วมกบั เอนไซม์ ที่สาคญั
หลายชนิด ไกลโคโปรตีน ซ่ึงเป็ นคาร์โบไฮเดรตท่ีเกาะอยู่กบั โปรตีน เป็ นองค์ประกอบของสาร
หลายชนิดท่ีมีสาคญั เช่น ไฟบริโนเจน และอิมมูโนโกลบูลิน (immunoglobulin) ไฟบริโนเจน ช่วย
ให้เลือดแข็งตัวขณะเกิดบาดแผล อิมมูโนโกลบูลิน เป็ นสารต้านทานโรคและบอกหมู่เลือด
ในเม็ดเลือดแดง นอกจากน้ันไกลโคโปรตีนยงั เป็ นส่วนประกอบของฮอร์โมนบางอย่าง เช่น
ฮอร์โมนกระตุน้ ต่อมไทรอยด์ และเอนไซมบ์ างชนิด ไดแ้ ก่ เปปซิน (pepsin) รวมท้งั สารเมือกจาก
ต่อมน้าลาย กระเพาะ และแกว้ ตา

3) เป็ นคลงั อาหารและพลงั งาน ไกลโคเจนเป็ นคาร์โบไฮเดรตท่ีสัตวส์ ะสมไว้
ในยามฉุกเฉิน ส่วนแป้ งซ่ึงสะสมในพืชเป็นอาหารหลกั ของสัตว์ ท้งั ไกลโคเจนและแป้ งจะถูกสลาย
และเผาผลาญเป็นพลงั งานเมื่อสตั วต์ อ้ งการ โดยคาร์โบไฮเดรต 1 กรัมใหพ้ ลงั งาน 3.5 แคลอรี

3.2.3 องคป์ ระกอบทางเคมีและคุณค่าทางโภชนาการ คาร์โบไฮเดรตประกอบดว้ ยธาตุ
คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน โดยส่วนใหญ่มีอตั ราส่วนระหวา่ งธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจน
เท่ากบั 2 ต่อ 1 โดยประมาณ คาร์โบไฮเดรตที่อยทู่ วั่ ไปในธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็ นองคป์ ระกอบ
ของพืช เช่น แป้ งและน้าตาล คาร์โบไฮเดรตเป็ นสารอาหารท่ีใหพ้ ลงั งาน หรืออาจเก็บสะสมไวใ้ น
ตวั สัตวน์ ้าในรูปไขมนั เพ่ือเป็ นพลงั งานสารอง คาร์โบไฮเดรตนอกจากจะประกอบดว้ ยธาตุหลกั
สามธาตุดงั กล่าวแลว้ อาจมีธาตุอ่ืนรวมอย่ดู ว้ ย เช่น ฟอสฟอรัส กามะถนั และไนโตรเจน ธาตุหลกั
เหล่าน้ีจัดเรี ยงตัวกันเป็ นคาร์โบไฮเดรตท่ีมีโมเลกุลเล็กท่ีสุดเรี ยกว่า โมโนแซคคาร์ไรด์
(monosaccharide) หากโมโนแซคคาร์ไรด์ยดึ ต่อกนั มากกวา่ 10 โมเลกุลข้ึนไปเรียกวา่ โพลีแซคคาร์ไรด์
(polysaccharide) ซ่ึงสามารถจาแนกประเภทไดด้ งั น้ี

1) พวกที่ไม่ใช่น้าตาล (non-sugar) หรือโพลีแซคคาร์ไรด์ ไดแ้ ก่
(1) แป้ ง (starch) สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด คือ
ก. อะไมโลส (amylose) ละลายน้าไดเ้ ป็ นกลูโคสท่ีเช่ือมกนั เป็ นเส้นตรง

โดยพนั ธะ -1,4
ข. อะไมโลเพคติน (amylopectin) ไม่ละลายน้า เป็ นกลูโคสท่ีเช่ือมกนั

เป็ นกิ่งก้านโดยพนั ธะ -1,6 เม่ือแป้ งถูกย่อยจะได้สารตวั กลาง (intermediate) คือ เด็กตริน
(dextrin) ท่ีเป็นส่วนผสมในอาหาร

(2) ไกลโคเจน (glycogen) คือแป้ งที่สะสมในร่างกายส่ิงมีชีวติ (animal starch)
ซ่ึงจะพบเพยี ง 1 เปอร์เซ็นตภ์ ายในร่างกาย โดยจะแตกตวั ใหก้ ลูโคส

11

(3) เซลลูโลส (cellulose) พบในผนงั เซลลพ์ ืช ซ่ึงปลาจะสามารถยอ่ ยเซลลูโลส
ไดน้ อ้ ยมาก รูปร่างของเซลลูโลสจะเป็นเส้นตรง โดยมีกลูโคสเช่ือมตอ่ กนั โดยพนั ธะ -1,4

(4) พวกคาร์โบไฮเดรตและสารอ่ืน
ก. กมั (gums) พืชขบั ออกมาเม่ือแมลงเจาะลาตน้
ข. มซู ิเลต (mucilage) จากสาหร่ายทะเล ใชท้ าวนุ้
ค. ไกลโคไซด์ (glycoside) ใชใ้ นวงการแพทย์

2) น้าตาล (sugar) สามารถจาแนกไดด้ งั น้ี
(1) โมโนแซคคาร์ไรด์ (monosaccharide) หรือน้าตาลโมเลกุลเด่ียว แบ่งเป็ น

กลุ่มไดด้ งั น้ี
ก. กลุ่มไทรโอส (triose) สูตรโมเลกลุ เป็น C3H6O3
ข. กลุ่มทีโทรส (tetrose) สูตรโมเลกุลเป็น C4H8O4
ค. กลุ่มเพนโทส (pentose) สูตรโมเลกุลเป็ น C5H10O5
ง. กลุ่มเฮกโซส (hexose) สูตรโมเลกลุ เป็ น C6H12O6

เฮกโซส เป็ นน้าตาลที่มีความสาคญั มากที่สุด เช่น กลูโคส (glucose) ฟรุคโทส (fructose)
และกาแลคโตส (galactose)

(2) ไดแซคคาร์ไรด์ (disaccharide) หรือน้าตาลโมเลกลุ คู่ จาแนกได้ 3 ชนิด คือ
ก. ซูโครส (sucrose) ไดจ้ ากน้าตาลกลูโคส + ฟรุคโตส
ข. แลคโตส (lactose) ไดจ้ ากน้าตาลกลูโคส + กาแลคโตส
ค. มอลโตส (maltose) ไดจ้ ากน้าตาลกลูโคส + กลูโคส

(3) โพลีแซคคาร์ไรด์ (polysaccharide) คือน้าตาลท่ีเกิดจากโมโนแซคคาร์ไรด์
ต่อกนั มากกวา่ 10 โมเลกุล ไดแ้ ก่

ก. พวกท่ีมีน้าตาลเพนโทสชนิดเดียวกนั จบั กนั n โมเลกุล ไดแ้ ก่ น้าตาล
ท่ีพบในเฮมิเซลลูโลส เช่น อะราแบน (arabans) ไซแลน (xylan)

ข. พวกที่มีน้าตาลเฮกโซสชนิดเดียวกนั จบั กนั n โมเลกุลไดแ้ ก่ น้าตาล
กลูแคน (glucans) เกิดจากกลูโคสหลาย ๆ โมเลกลุ มาต่อกนั

คาร์โบไฮเดรตในอาหารท่ีสัตว์ใชป้ ระโยชน์ไม่ได้ คือ ส่วนท่ียอ่ ยไม่ไดเ้ รียกวา่ กากอาหาร
ส่วนใหญ่เป็ นโพลีแซคคาร์ไรด์ท่ีเป็ นโครงสร้างของผนังเซลล์พืช กากอาหารนอกจากจะมาจาก
เซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสในพืชแล้วยงั มาจากมิวโคโพลีแซคคาร์ไรด์ ท่ีเป็ นโครงสร้างของเยื่อหุ้ม
เซลลแ์ ละเน้ือเยอื่ เก่ียวพนั ของสัตวช์ ้นั สูง เช่น พงั ผดื เอน็ และกระดูก เป็นตน้

12

3.2.4 ความตอ้ งการคาร์โบไฮเดรตของสัตวน์ ้า สตั วน์ ้ามีความตอ้ งการของคาร์โบไฮเดรต
ท่ีแตกต่างกันไปตามชนิดของสัตว์น้ า ชนิดของคาร์โบไฮเดรต ความสุกของวตั ถุดิบ และ
ความสามารถในการยอ่ ย ปลากินพืชสามารถใชป้ ระโยชน์จากคาร์โบไฮเดรตไดด้ ีกว่าปลากินท้งั พืช
และเน้ือ ในขณะเดียวกนั ปลากินท้งั พืชและเน้ือสามารถใช้ประโยชน์คาร์โบไฮเดรตไดด้ ีกว่าปลากิน
เน้ือ ความตอ้ งการคาร์โบไฮเดรตข้ึนอยกู่ บั ชนิดของสตั วน์ ้า ดงั แสดงในตารางที่ 1.2

ตารางท่ี 1.2 ความตอ้ งการคาร์โบไฮเดรตของสตั วน์ ้าบางชนิด

ชนิดสตั วน์ ้า ปริมาณคาร์โบไฮเดรตในอาหาร (เปอร์เซ็นต)์

กงุ้ ทะเล 30-40

ปลาดุก 35-50

ปลากินพืช 40-50

ปลากินพชื และเน้ือ 30-40

ปลากินเน้ือ 10-20

ที่มา : ดดั แปลงจาก โชคชยั (2548)

3.2.5 อาการท่ีเกิดจากการขาดคาร์โบไฮเดรต สัตวน์ ้ามกั ไม่ปรากฏการขาดอาหารพวก
คาร์โบไฮเดรต แต่หากไดร้ ับนอ้ ยเกินไปสัตวน์ ้าอาจโตชา้ เพราะตอ้ งใชโ้ ปรตีนหรือไขมนั ที่จะใช้
ในการเจริญเติบโตมาเป็นแหล่งพลงั งานทดแทน อยา่ งไรก็ตาม ถา้ หากสูตรอาหารที่ทาให้ปลาไดร้ ับ

พลงั งานและโปรตีนอยา่ งเหมาะสม แมจ้ ะขาดคาร์โบไฮเดรตไปบา้ ง การเจริญเติบโตจะยงั คงปกติ

ในทางกลบั กนั การให้อาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรต เช่น แป้ งและน้าตาลมากเกินไป กลบั มีผลเสีย
มากกวา่ เพราะจะทาใหก้ ารยอ่ ยและการดูดซึมอาหารประเภทอื่น ๆ นอ้ ยลง การเพ่ิมคาร์โบไฮเดรต
มากเกินไปจะทาใหก้ ารเจริญเติบโตลดลง คาร์โบไฮเดรตส่วนเกินอาจถูกเก็บสะสมไวใ้ นตบั ในรูป

ของไกลโคเจนหรือไขมนั

3.3 ไขมนั (lipid)

3.3.1 แหล่งที่พบ พบไดท้ ว่ั ไปในธรรมชาติท้งั ในพืชและสัตว์ มีท้งั ในสถานะท่ีเป็ น
ของแข็งและของเหลว ในสถานะท่ีเป็ นของแข็งได้แก่ ไขมันจากสัตว์ ส่วนในสถานะท่ีเป็ น
ของเหลวไดแ้ ก่ น้ามนั จากพชื พืชสร้างไขมนั ไดโ้ ดยกระบวนการสงั เคราะห์อาหารและสะสมไขมนั
ไดใ้ นปริมาณแตกต่างกนั พชื ท่ีนามาสกดั เอาน้ามนั โดยเฉพาะ ถว่ั เหลือง ถวั่ ลิสง ขา้ วโพด เมล็ดฝ้ าย
เมล็ดนุ่น ราขา้ ว ปาล์ม และมะพร้าว สามารถสะสมไขมนั ได้มากกว่าพืชชนิดอ่ืน นอกจากน้ัน
ปริมาณไขมนั ท่ีสะสมยงั แตกต่างกนั ไปตามส่วนตา่ ง ๆ ของพืช โดยทว่ั ไปจะพบไขมนั ในส่วนเมล็ด
ประมาณ 0.8-1.9 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนหวั ของพืชประมาณ 0.2 เปอร์เซ็นต์ และในส่วนใบประมาณ

13

0.2-1.3 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสตั วต์ อ้ งพ่ึงไขมนั จากอาหาร และสะสมไขมนั ในเน้ือเย่ือตามส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย หรือแทรกอยตู่ ามมดั กลา้ มเน้ือ โดยจะพบไขมนั ในอวยั วะภายในนอ้ ยกวา่ ในกลา้ มเน้ือ
ไขมนั ที่พบในสัตวบ์ กมีปริมาณมากกวา่ ในสตั วน์ ้าคอ่ นขา้ งสูง

3.3.2 หนา้ ท่ี ไขมนั มีความสาคญั ต่อการดารงชีวิตของสัตวน์ ้าหลายประการ สามารถ
แยกไดด้ งั น้ี

1) เป็ นแหล่งของพลงั งาน โดยไขมนั 1 กรัม ให้พลังงาน 9 แคลอรี สูงกว่า
พลงั งานจากโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตประมาณ 2.2 และ 2.25 เทา่ ตามลาดบั

2) เป็นกรดไขมนั (fatty acid) ท่ีร่างกายสงั เคราะห์ข้ึนเองไม่ได้ จาเป็ นตอ้ งไดร้ ับ
จากอาหาร

3) เป็นแหล่งของวติ ามินที่ละลายในไขมนั อนั ไดแ้ ก่ วติ ามิน เอ ดี อี และเค
4) ไขมันท่ีเกาะกับคาร์โบไฮเดรตและไขมันท่ีมีฟอสฟอรัสรวมอยู่ด้วย
เป็ นองคป์ ระกอบหลกั ของเยื่อหุ้มเซลล์ผิวหนงั และเป็ นส่วนประกอบของเซลล์ตบั หัวใจ สมอง
และประสาท เป็ นส่วนประกอบของยีนที่มีบทบาทในการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมเป็ น
ส่วนประกอบของฮอร์โมนสเตอรอยด์ (steroid hormone) ท่ีทาหนา้ ที่เป็ นฮอร์โมนเพศช่วยควบคุม
การลอกคราบในกุง้ ปู เป็นส่วนของโคเลสเตอรอล (cholesterol) และน้าดีที่ช่วยใหก้ ารยอ่ ยและการ
ดูดซึมไขมนั เป็ นไปตามปกติ รวมท้งั เป็ นส่วนประกอบของพรอสตาแกลนดิน (prostaglandin) ใน
อสุจิ (sperm)
5) ไลโปโปรตีน ทาหนา้ ที่สาคญั ในกระบวนการใชป้ ระโยชน์จากอาหารโดยขนส่ง
ไขมนั ไปยงั ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
6) ฟอสโฟไลปิ ด (phospholipid) ทาหน้าท่ีเป็ นตัวนากรดไขมันตัวอื่น
จากลาไส้เล็กและตบั ไปสู่ส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย
7) ไขมนั ท่ีสะสมใตผ้ ิวหนงั ช่วยปกป้ องร่างกายภายใน จากการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิอย่างกะทนั หัน ไขมนั ที่สะสมรอบอวยั วะภายใน ช่วยยึดอวยั วะให้อยู่ในตาแหน่ง รวมท้งั
ป้ องกนั การกระทบกระเทือนจากภายนอก
8) ไขมนั มีประโยชน์หลายอยา่ งในกระบวนการผลิตอาหารสัตวน์ ้า กล่าวคือเป็ น
สื่อความร้อน ช่วยเพิ่มความน่ากินใหก้ บั อาหาร เป็ นตวั หล่อลื่นช่วยลดแรงเสียดทานระหวา่ งอาหารกบั
เคร่ืองจักรในการผลิต และช่วยให้อาหารท่ีผลิตได้มีลักษณะนุ่ม รวมท้ังเป็ นอีมัลซิไฟเออร์
(emulsifier) ช่วยให้อาหารท่ีมีไขมนั และน้าเป็ นส่วนผสมรวมตวั เป็ นเน้ือเดียวกัน หลักการน้ี
สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาอาหารสัตวน์ ้าไดห้ ลายทาง โดยเฉพาะการพฒั นาอาหาร
ขนาดเล็ก สาหรับใชใ้ นการอนุบาลสตั วน์ ้าวยั อ่อนแทนอาหารมีชีวติ

14

3.3.3 องค์ประกอบทางเคมีและคุณค่าทางโภชนาการ ไขมนั ประกอบดว้ ย ธาตุคาร์บอน
ไฮโดรเจน และออกซิเจน เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรต แต่มีอัตราส่วนของธาตุแตกต่างกันจาก
คาร์โบไฮเดรต โดยที่ไขมนั มีออกซิเจนนอ้ ยกวา่ แตม่ ีไฮโดรเจนมากกวา่ คาร์โบไฮเดรต นอกจากธาตุหลกั
3 ธาตุแลว้ ไขมนั อาจมีธาตุฟอสฟอรัส ไนโตรเจน และกามะถนั รวมอยดู่ ว้ ย ธาตุเหล่าน้ีจดั เรียงตวั กนั อยา่ ง
มีแบบแผน เนื่องจากความแตกต่างในส่วนประกอบทางเคมีจึงพบไขมนั หลายชนิดในธรรมชาติ ซ่ึง
โดยทว่ั ไปสามารถแบ่งประเภทของไขมนั ตามส่วนประกอบของไขมนั ไดด้ งั น้ี

1) ไลปิ ดอยา่ งง่าย (simple lipid) เป็ นไขมนั ที่ประกอบดว้ ยเอสเทอร์ (ester) ของ
กรดไขมนั กบั สารชนิดอื่น เช่น

(1) น้ามนั (oils) และไขมนั (fat) เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมนั กบั กลีเซอรอล
(2) ไข (wax) เป็นเอสเทอร์ ของกรดไขมนั กบั แอลกอฮอลช์ นิดอื่น
2) ไลปิ ดเชิงประกอบ (compound lipid) จดั เป็นเอสเทอร์ ของกรดไขมนั กบั แอลกอฮอล์
และมีสารอ่ืนรวมอยดู่ ว้ ย เช่น ฟอสเฟต คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน เป็นตน้ มารวมเขา้ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่
(1) ฟอสโฟไลปิ ด (phospholipid)
(2) ไกลโคไลปิ ด (glycolipid)
(3) อะมิโนไลปิ ด (aminolipid)
3) อนุพนั ธ์ลิปิ ด (derived lipid) เป็ นอนุพนั ธ์ของไขมนั ต่าง ๆ ได้แก่ กรดไขมนั
กลีเซอรอล (glycerol) สเตอรอยด์ และโคเลสเตอรอล ซ่ึงไดม้ าจากสเตอรอยด์ ฮอร์โมน ไดแ้ ก่ คอร์ติซอล
(cortisol) เบตา-เอสตราดิออล (beta-estradiol) เทสโตสเตอโรน (testosterone) และโปรเจสเตอโรน
(progesterone) นอกจากน้ียงั มี พรอสตาแกรนดิน ซ่ึงมาจากกรดอะราชิโดนิก (arachidonic acid)
3.3.4 กรดไขมนั จาแนกเป็นชนิดไดด้ งั น้ี
1) กรดไขมนั อ่ิมตวั (saturated fatty acid) เป็ นกรดไขมนั ท่ีมีสูตรโมเลกุล
CnH2nO2โดยมีจานวนคาร์บอน ต้งั แต่ 4-16 ตวั ในโมเลกุลไม่มีพนั ธะคู่ (double bond) มีจุด
หลอมเหลวสูง ทาใหแ้ ขง็ ตวั ที่อุณหภูมิหอ้ ง พบมากในไขมนั สัตวแ์ ละน้ามนั พืชบางชนิด โดยเฉพาะ
น้ามนั มะพร้าวและน้ามนั ปาลม์ กรดไขมนั อิ่มตวั และโครงสร้างมี 10 ชนิด ดงั แสดงในตารางที่ 1.3
2) กรดไขมนั ไม่อ่ิมตวั (unsaturated fatty acid) เป็ นกรดไขมนั ท่ีมีจานวน
คาร์บอน 16-22 ตวั มีพนั ธะคู่ (double bond) จานวน 1-6 คู่ จุดหลอมเหลวต่า หมายถึง กรดไขมนั
ที่มีพนั ธะคู่อยู่ภายในโมเลกุล กรณีมีพนั ธะคู่มากกวา่ 1 คู่ข้ึนไป นิยมเรียกว่า พหุพนั ธะ และเรียก
กรดไขมนั ท่ีมีพหุพนั ธะวา่ กรดไขมนั ไม่อิ่มตวั สูง กรดไขมนั ไม่อิ่มตวั สูงพบมากในน้ามนั พืชยกเวน้
น้ามนั มะพร้าว น้ามนั มะกอก และน้ามนั ปาลม์

15

ตารางที่ 1.3 กรดไขมนั อ่ิมตวั ชนิดต่าง ๆ สูตรโครงสร้าง
ชื่อสามญั
C4H8O2
กรดบิวทิริก (butyric) C6H12O2
กรดคาโปรอิก (caproic) C8H16O2
กรดคาปรีลิก (caprylic) C10H20O2
กรดคาปริก (capric) C12H24O2
กรดลอริก (lauric) C14H28O2
กรดไมริสติก (myristic) C16H32O2
กรดปาลม์ ิติก (palmitic) C18H36O2
กรดสเตียริก (strearic) C20H40O2
กรดอะราชิโดนิก (arachidonic) C24H48O2
กรดลิกโนเซริก (lignoceric)
ที่มา : ดดั แปลงจาก นิวฒุ ิ (2550)

กรดไขมันไม่อ่ิมตัวมีความสาคัญมากทางโภชนาการ โดยเฉพาะพวกท่ีไม่อ่ิมตวั สูง
บางชนิด เนื่องจากร่างกายของสัตวน์ ้าไม่สามารถสังเคราะห์ข้ึนเองได้ จาเป็ นตอ้ งไดร้ ับจากอาหาร
เท่าน้นั จึงเรียกวา่ กรดไขมนั ชนิดจาเป็ น มี 2 ชนิด คือ กรดไลโนลีอิกหรือเรียกช่ือยอ่ วา่ โอเมกา 6 และ
กรดไลโนลีนิก หรือเรียกชื่อย่อว่าโอเมกา 3 กรดไขมนั ชนิดจาเป็ นพบในไขมนั จากพืชและสัตว์ใน

ปริมาณต่าง ๆ กนั กรดไขมนั ไมอ่ ิ่มตวั และโครงสร้างมี 6 ชนิด ดงั แสดงในตารางท่ี 1.4

ตารางท่ี 1.4 กรดไขมนั ท่ีไม่อ่ิมตวั ชนิดตา่ ง ๆ สูตรโครงสร้าง
ช่ือสามญั

กรดปาลม์ ิโตลีอิก (palmitoleic) C16H30O2
กรดโอลีอิก (oleic) C18H34O2
กรดไลโนลีอิก (linoleic) C18H32O2
กรดไลโนลีนิก (linolenic) C18H30O2
กรดอะราชิโดนิก (arachidonic) C20H32O2
กรดคลูปาโนโดนิก (clupanodonic) C20H34O2
ท่ีมา : ดดั แปลงจาก นิวฒุ ิ (2550)

16

3.3.5 ความตอ้ งการไขมนั ของสัตวน์ ้า ความตอ้ งการไขมนั ของสัตวน์ ้าข้ึนอยกู่ บั ชนิด
และขนาดของสัตวน์ ้า ชนิดของไขมนั อุณหภูมิของน้า และความสามารถในการย่อย นอกจากน้ี
ไขมนั ในอาหารสัตวน์ ้าควรสัมพนั ธ์กบั ปริมาณโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและพลงั งานท้งั หมด ในการ
ผสมอาหารสัตวน์ ้านิยมใชน้ ้ามนั ปลาหรือน้ามนั พืชในอตั รา 5-15 เปอร์เซ็นต์ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ชนิดของ
สัตวน์ ้า ปริมาณไขมนั ที่มีอยแู่ ลว้ ในวตั ถุดิบอาหาร และกรรมวธิ ีการผลิต ดงั แสดงในตารางท่ี 1.5

ตารางที่ 1.5 ความตอ้ งการไขมนั ของสัตวน์ ้า ปริมาณไขมนั ในอาหาร (เปอร์เซ็นต)์
ชนิดสัตวน์ ้า 10
10-15
ปลานิล ปลาดุก ปลาไหล 4-9
ปลาไน ปลายสี่ กเทศ ปลาตะเพียน
กุง้

ที่มา : ดดั แปลงจาก โชคชยั (2548)

3.3.6 อาการที่เกิดจากการขาดไขมนั การขาดไขมนั โดยเฉพาะกรดไขมนั ที่จาเป็ นต่อ

ร่างกาย จะทาให้สัตวน์ ้ามีอาการผิดปกติโดยเฉพาะในปลา พบว่าจะทาให้การเจริญเติบโตลดลง
สีของลาตวั ผิดปกติ ครีบหางกร่อน ตบั มีการสะสมไขมนั มาก ทอ้ งบวม เม็ดเลือดแดงแตกง่าย

หายใจถ่ีกวา่ ปกติ เน้ือเยอื่ มีความช้ืนสูง และมีอตั ราการตายสูงกวา่ ปกติ
3.4 เกลือแร่

3.4.1 แหล่งท่ีพบ เกลือแร่มีแหล่งกาเนิดมาจากดินและน้า พืชเป็ นส่ือกลางในการ
นาเกลือแร่จากดินและน้าตามธรรมชาติมาสู่สัตวแ์ ละมนุษย์ โดยเร่ิมจากพืชดูดน้าท่ีมีเกลือแร่ ซ่ึง
ละลายจากดินและเก็บสะสมเกลือแร่ที่ปนมากบั น้าไวต้ ามส่วนต่าง ๆ ของพืช เมื่อสัตวก์ ินพืชเป็ น
อาหาร เกลือแร่จากพชื จะกลายเป็ นองคป์ ระกอบในร่างกายของสัตว์ ดงั แสดงในตารางที่ 1.6

ตารางที่ 1.6 ปริมาณเกลือแร่ในน้าประเภทตา่ งๆ ปริมาณเกลือแร่ (มก./ลิตร)
ประเภทของน้า 30-300
300-3,000
น้าจืด 3,000-30,000
น้าบาดาล 30,000-300,000
น้ากร่อย >300,000
น้าทะเล
น้าทะเลสาบปิ ด
ท่ีมา : เวยี ง (2543)

17

สาหรับมนุษยไ์ ดร้ ับเกลือแร่จากดินและน้าทางออ้ ม จากการกินท้งั พืชและสัตวเ์ ป็ นอาหาร
เมื่อพืช สัตว์และมนุษย์ตายเกิดการเน่าเปื่ อยในท่ีสุดก็จะคืนเกลือแร่กลับสู่แหล่งกาเนิดและ
หมุนเวียนต่อเน่ืองเป็ นวงจรเช่นเดิมตลอดไป ดินและน้าจึงเป็ นแหล่งเกลือแร่ท่ีสาคญั ของพืชและ
สัตว์ เช่น ดินและน้าในบริเวณที่อยใู่ กลท้ ะเลจะมีไอโอดีนมากแต่กามะถนั นอ้ ย ส่วนดินและน้าใน
บริเวณห่างไกลจากทะเลจะพบไอโอดีนน้อย แต่กามะถนั มาก เป็ นตน้ โดยทวั่ ไปจะพบปริมาณ
เกลือแร่ในน้าประเภทต่าง ๆ พอประมาณ

3.4.2 หนา้ ท่ีของเกลือแร่
1) เป็ นโครงสร้างและองค์ประกอบของร่างกาย เกลือแร่ท่ีทาหนา้ ที่ส่วนน้ีไดแ้ ก่

แคลเซียม (calcium : Ca) ฟอสฟอรัส (phosphorus : P) แมกนีเซียม (magnesium : Mg) ฟลูออรีน
(fluorine : F, Fl) กามะถนั (sulfur : S) เหล็ก (iron : Fe) ทองแดง (copper : Cu) และซิลิคอน
(silicon : Si) โดยแคลเซียม ฟอสฟอรัสและฟลูออรีน เป็ นส่วนประกอบของกระดูก ฟันและเน้ือเย่ือ
ต่าง ๆ กามะถนั เป็ นส่วนประกอบของกรดอะมิโนในกลา้ มเน้ือและอวยั วะต่าง ๆ ฟอสฟอรัส เป็ น
ส่วนประกอบของฟอสโฟไลปิ ดในเซลลส์ มองและประสาท และเป็ นส่วนประกอบของ DNA และ
RNAในนิวเคลียสของเซลล์ เหล็กเป็นองคป์ ระกอบของฮีโมโกลบิน (hemoglobin) ในปลา ทองแดง
เป็นองคป์ ระกอบของ ฮีโมไซยานิน (hemocyanin) ในกงุ้ ปู และหอย

2) ควบคุมความเป็ นกรดเป็ นด่างและรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย เกลือแร่ใน
ร่างกายที่แตกตวั เป็ นกรดไดแ้ ก่ คลอรีน (chlorine : Cl) กามะถนั และฟอสฟอรัส ส่วนเกลือแร่ที่
แตกตวั เป็ นด่างได้แก่ โซเดียม (sodium : Na) โพแทสเซียม (potassium : K) แคลเซียมและ
แมกนีเซียม เกลือแร่เหล่าน้ีหากมีในสัดส่วนท่ีเหมาะสมจะทาหนา้ ท่ีควบคุมความเป็ นกรดเป็ นด่าง
ในร่างกายใหอ้ ยใู่ นระดบั ปกติ ช่วยใหป้ ฏิกิริยาต่าง ๆ ในร่างกายดาเนินไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ สาหรับ
การรักษาสมดุลของน้าเป็ นหนา้ ที่ของโซเดียม โพแทสเซียม และคลอรีน ความเขม้ ขน้ ของเกลือแร่ท้งั
3 ชนิดที่อยใู่ นเซลล์และนอกเซลล์ มีอิทธิพลต่อการผา่ นเขา้ และออกนอกเซลลข์ องน้า ถา้ ความเขม้ ขน้
ของเกลือในเซลล์สูงกวา่ นอกเซลล์ น้าซึมเขา้ เซลล์ แต่ถ้าความเขม้ ขน้ ของเกลือแร่นอกเซลล์สูงกว่า
น้าซึมออกมาอยนู่ อกเซลล์ ความสมดุลของเกลือแร่ภายในและภายนอกเซลล์ จะช่วยรักษาปริมาณของ
น้าในร่างกายใหอ้ ยใู่ นสภาวะปกติ

3) เป็ นองค์ประกอบของเอนไซม์ ฮอร์โมน วิตามินและสารท่ีสาคญั เกลือแร่ใน
กลุ่มน้ีส่วนใหญ่เป็นเกลือแร่ที่ร่างกายของสัตวน์ ้าตอ้ งการในปริมาณนอ้ ย

4) เป็ นตวั เร่งปฏิกิริยาในร่างกาย เกลือแร่หลายชนิดไม่ไดเ้ ป็ นส่วนประกอบของ
เอนไซมแ์ ตท่ างานร่วมกบั เอนไซม์ โดยทาหนา้ ท่ีเป็นตวั เร่งปฏิกิริยา

18

5) ทาหนา้ ท่ีส่งสัญญาณประสาท และควบคุมการยดื ตวั ของกลา้ มเน้ือ การเคลื่อนท่ี
เขา้ ออกผา่ นเยอ่ื หุม้ เซลลภ์ ายในระบบประสาท

3.4.3 องคป์ ระกอบทางเคมีและคุณค่าทางโภชนาการ ในทางโภชนาการ เกลือแร่คือ

ธาตุท่ีเป็ นโลหะและอโลหะซ่ึงรวมกนั เป็ นสารประกอบอนินทรียเ์ ป็ นส่วนใหญ่ มีนอ้ ยมากที่อยใู่ น

รูปของสารประกอบอินทรีย์ ร่างกายของสัตวไ์ ม่สามารถสร้างเกลือแร่ข้ึนเองไดแ้ ละตอ้ งไดร้ ับจาก
อาหารในปริมาณเล็กนอ้ ย เช่นเดียวกบั วิตามินแต่น้อยกว่าโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมนั มาก

เกลือแร่มีความคงตวั ไม่สูญเสียง่ายเหมือนวิตามินเมื่อถูกความร้อน แสง กรดด่างหรือออกซิเจน

การสูญเสียเกลือแร่ในอาหารจึงไม่เกิดจากสาเหตุดงั กล่าว แต่จะเกิดจากการละลายไปกบั น้าเทา่ น้นั
3.4.4 ความตอ้ งการและอาการขาดเกลือแร่ของสัตวน์ ้า ร่างกายของสัตวน์ ้าไดร้ ับ

เกลือแร่จากน้า โดยในสัตวน์ ้าจืด เกลือแร่ซึมผา่ นเหงือก เขา้ สู่กระแสเลือด ในสัตวน์ ้าเคม็ เกลือแร่
เขา้ ทางเดินอาหารและถูกดูดซึมผ่านเขา้ สู่กระแสเลือด นอกจากสัตวน์ ้าไดเ้ กลือแร่จากน้าโดยตรง
แลว้ ยงั ไดร้ ับจากพืชและสัตวท์ ่ีสัตวน์ ้ากินเป็ นอาหารดว้ ย เกลือแร่ท่ีสัตวน์ ้าไดร้ ับจากน้าและจาก
อาหารมีหลายชนิด แต่ละชนิดสัตวน์ ้าตอ้ งการในปริมาณแตกต่างกนั จึงอาจแบ่งเกลือแร่ตามความ
ตอ้ งการของสัตวน์ ้าไดเ้ ป็น 2 พวก คือ

1) เกลือแร่ท่ีสัตวน์ ้าตอ้ งการในปริมาณมาก เกลือแร่พวกน้ีสัตวน์ ้าตอ้ งการ วนั ละ
100 มิลลิกรัม ข้ึนไป มี 7 ชนิด คือแคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม กามะถนั โซเดียม คลอรีน
และแมกนีเซียม สัตวน์ ้าตอ้ งการเกลือแร่เพ่ือทาหนา้ ที่ต่างกนั ซ่ึงสรุปหนา้ ที่ของเกลือแร่ที่สัตวน์ ้า
ตอ้ งการมาก ดงั แสดงในตารางท่ี 1.7

ตารางท่ี 1.7 สรุปหนา้ ท่ีของเกลือแร่ที่สัตวน์ ้าตอ้ งการมากและอาการขาดเกลือแร่ในสตั วน์ ้า

เกลือแร่ หนา้ ท่ี อาการขาด

แคลเซียม องค์ประกอบของกระดูกและฟัน ช่วยให้ การเจริญเติบโตชา้ กระดูกส่วน

เลือดแขง็ ตวั และกลา้ มเน้ือหดตวั กระตุน้ การ หวั กะโหลกและกา้ นครีบ

ทางานของเอนไซม์ ช่วยควบคุมการเตน้ ของ เจริญเติบโตผดิ ปกติ

หวั ใจและการทางานของระบบประสาท

ฟอสฟอรัส องคป์ ระกอบของกระดูก ฟัน กรดนิวคลีอิก การเจริญเติบโตชา้ เบ่ืออาหาร

และสารประกอบฟอสโฟไลปิ ดท่ีสาคญั ใน กระดูกส่วนหวั กะโหลกและ

ร่างกาย เช่น โคเอนไซม์ กา้ นครีบเจริญเติบโตผดิ ปกติ

19

ตารางท่ี 1.7 สรุปหนา้ ที่ของเกลือแร่ที่สตั วน์ ้าตอ้ งการมากและอาการขาดเกลือแร่ในสตั วน์ ้า (ต่อ)

เกลือแร่ หนา้ ท่ี อาการขาด

แมกนีเซียม องคป์ ระกอบของกระดูก ฟัน ยบั ย้งั การหด ปลาจะมีอาการทางระบบ

ตวั ของกลา้ มเน้ือกระตุน้ การทางานของ ประสาท ตกใจง่ายชกั กระตุก

เอนไซมใ์ นกระบวนการเมตาบอลิซึมของ ตาขาวขนุ่ กลา้ มเน้ืออ่อนแรง

คาร์โบไฮเดรต

โซเดียม ควบคุมความเป็นกรดด่างและรักษาสมดุล อาการขาดเกลือแร่ไมพ่ บในปลา

ของน้าในร่างกายร่วมกบั แคลเซียมในการ เนื่องจากไดร้ ับจากน้าในปริมาณ

ทางานของกลา้ มเน้ือและในการส่งกระแส เพียงพอกบั ความตอ้ งการ

ประสาท ช่วยในการดูดซึมกลูโคส

กรดอะมิโน กรดคาร์บอกซิลิก และฟอสเฟต

โพแทสเซียม ร่วมกบั โซเดียมและคลอรีนควบคุมความ อาการขาดเกลือแร่ไมพ่ บในปลา

เป็นกรดด่าง รักษาสมดุลของน้าในร่างกาย เน่ืองจากไดร้ ับจากน้าในปริมาณ

ร่วมกบั แคลเซียม การทางานของกลา้ มเน้ือ เพียงพอกบั ความตอ้ งการ

ร่วมกบั โซเดียมในการส่งกระแสประสาท

คลอรีน ควบคุมความเป็นกรดด่างและความดนั อาการขาดเกลือแร่ไมพ่ บในปลา

ออสโมติกของเซลลช์ ่วยในการขบั ถ่าย เน่ืองจากไดร้ ับจากน้าในปริมาณ

คาร์บอนไดออกไซดข์ องเมด็ เลือดแดง เพียงพอกบั ความตอ้ งการ

สร้างกรดเกลือและกระตุน้ การทางานของ

เอนไซมย์ อ่ ยโปรตีนในกระเพาะอาหาร

กามะถนั องคป์ ระกอบของโปรตีนในกระดูกอ่อนและ ปลาเจริญเติบโตช้า เบ่ืออาหาร
เกล็ด วติ ามินบี 1 ไบโอติน ฮอร์โมนประเภท น้าหนกั ลด
เปปไทด์ และในกรดน้าดี

ที่มา : ดดั แปลงจาก เวยี ง (2543)

2) เกลือแร่ที่สัตวน์ ้าตอ้ งการในปริมาณน้อย เกลือแร่พวกน้ีสัตวน์ ้าตอ้ งการวนั ละ
ไม่กี่มิลลิกรัมและส่วนใหญ่สัตวน์ ้ามีความตอ้ งการน้อยมากจนไม่ทราบปริมาณที่แน่นอนมี 15 ชนิด
คือ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu) ไอโอดีน (iodine:I) สังกะสี (zinc:Zn) ฟลูออรีน (F)
โคบอลต์ (cobalt:Co) โมลิบดีนมั (molybdenum:Mo) ซีลีเนียม (selenium:Se) สตรอนเตรียม (strontium

20

: Sr) โครเมียม (chromium : Cr) นิกเกิล (nickel : Ni) ดีบุก (stannum : Sn) วาเนเดียม (V) และซิลิคอน
(Si) ซ่ึงสรุปหนา้ ที่ของเกลือแร่ที่สัตวน์ ้าตอ้ งการนอ้ ย และอาการขาดเกลือแร่ ดงั แสดงในตารางท่ี 1.8

ตารางท่ี 1.8 สรุปหนา้ ท่ีของเกลือแร่ที่สัตวน์ ้าตอ้ งการนอ้ ยและอาการขาดเกลือแร่ในสัตวน์ ้า

เกลือแร่ หนา้ ที่ อาการขาด
เหลก็ องคป์ ระกอบของฮีโมโกลบิน ไมโอโกลบิน โลหิตจาง เจริญเติบโตชา้
ทองแดง และเอนไซมใ์ นกระบวนการเผาผลาญ ประสิทธิภาพในการใชอ้ าหารต่า
สารอาหารใหเ้ กิดพลงั งาน
ไอโอดีน องคป์ ระกอบของฮีโมไซยานินและเอนไซม์ ไม่ทราบอาการขาดอยา่ งชดั เจนแต่
สังกะสี หลายชนิด ช่วยในการดูดซึมเหล็กและสร้าง ถา้ ไดร้ ับมากเกินไปทาให้ โลหิตจาง
แมงกานีส ฮีโมโกลบิน สร้างกระดูก ผนงั เส้นเลือดและ เติบโตชา้ ประสิทธิภาพในการใช้
เยอ่ื หุม้ ประสาท อาหารต่า
ซีลีเนียม องคป์ ระกอบของไธรอยดฮ์ อร์โมน ซ่ึงทา อาการคอพอกในปลาหลายชนิด
ฟลูออรีน หนา้ ท่ีควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซึม
ซิลิคอน องคป์ ระกอบของอินซูลินและเอนไซม์ เป็น ตาขาวขนุ่ อาการคลา้ ยตาตอ้
โคเฟคเตอร์ในการสร้างกรดนิวคลีนิกและ เลนส์ตาผดิ ปกติ ปลาเจริญเติบโตชา้
โปรตีนกระตุน้ การหลง่ั ฮอร์โมนเพศผู้ เบื่ออาหาร
เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการเมตาบอลิซึม กระตุน้ การเจริญเติบโตชา้ เบื่ออาหาร
การทางานของเอนไซมใ์ นการสร้างมิวโคโพลี กระดูกเจริญเติบโตผดิ ปกติและ
แซคคาร์ไรด์ ช่วยในการสร้างกระดูก การทา เป็ นหมนั
งานของประสาทส่วนกลาง และการสืบพนั ธุ์
องคป์ ระกอบของเอนไซม์ ทาหนา้ ที่ร่วมกบั การเจริญเติบโตชา้ อตั ราการตายสูง
วติ ามินในการป้ องกนั ออกซิเดชนั ของเยอ่ื หุม้ และถา้ ขาดวติ ามินอีร่วมจะทาให้
เซลล์ กลา้ มเน้ือลีบ
องคป์ ระกอบและเพิม่ ความแขง็ แกร่งใหก้ บั ยงั ไมม่ ีรายงานอาการขาดในสตั วน์ ้า
กระดูกและฟัน
ช่วยในการสร้างกระดูกอ่อน เน้ือเยอื่ เกี่ยวพนั การขาดทาใหก้ ารสร้างกระดูก
และมิวโคโพลีแซคคาร์ไรด์ ผดิ ปกติ

21

ตารางท่ี 1.8 สรุปหนา้ ท่ีของเกลือแร่ท่ีสัตวน์ ้าตอ้ งการนอ้ ยและอาการขาดเกลือแร่ในสัตวน์ ้า (ต่อ)

เกลือแร่ หนา้ ท่ี อาการขาด
ยงั ไม่มีรายงานอาการขาดในสัตวน์ ้า
โมลิบดีนมั องคป์ ระกอบของเอนไซมแ์ ซนทีน
ยงั ไม่มีรายงานอาการขาดในสตั วน์ ้า
ออกซิเดส อลั ดีไฮดอ์ อกซิเดสและซลั
ทาใหก้ ารใชก้ ลูโคสผดิ ปกติ สตั วน์ ้า
ไฟดอ์ อกซิเดส ซ่ึงมีส่วนในการกาจดั พิษ โตชา้ และอายสุ ้นั

โคบอลต์ องคป์ ระกอบของวิตามินบี 12 ซ่ึงทาหนา้ ท่ีใน ยงั ไม่มีรายงานอาการขาดในสตั วน์ ้า

การสร้างเมด็ เลือดแดง ยงั ไม่มีรายงานอาการขาดในสัตวน์ ้า
ยงั ไมม่ ีรายงานอาการขาดในสัตวน์ ้า
โครเมียม ช่วยฮอร์โมนอินซูลินในการใชก้ ลูโคส ช่วยลด แต่พบในหมูและไก่หยดุ จริญเติบโต
และระบบสืบพนั ธุ์ไมพ่ ฒั นา
โคเลสเตอรอล ช่วยในการสร้างโปรตีนและ

กระตุน้ การสร้างไขมนั

นิกเกิล กระตุน้ การทางานของเอนไซมใ์ นการสลาย

โปรตีนและคาร์โบไฮเดรต

ดีบุก กระตุน้ ปฏิกิริยาออกซิเดชนั รีดกั ชนั ไขมนั

วาเนเดียม ช่วยสร้างกระดูกและฟันใหแ้ ขง็ แรง ลดการ

สงั เคราะห์โคเลสเตอรอล เร่งปฏิกิริยา

ออกซิเดชนั รีดกั ชนั ของไขมนั

ที่มา : เวยี ง (2543)

3.5 วติ ามิน
3.5.1 แหล่งที่พบ หนา้ ท่ีและอาการขาดวิตามิน วิตามิน มีหนา้ ที่เก่ียวกบั กระบวนการ

เมตาบอลิซึม หรือกระบวนการเจริญเติบโตของร่างกาย โดยปกติมีอยแู่ ลว้ ในวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้า
ทว่ั ไป แหล่งที่พบ หนา้ ท่ีท่ีสาคญั และอาการขาดวิตามินที่ละลายในไขมนั และวิตามินที่ละลายในน้า
รายละเอียดดงั แสดงในตารางที่ 1.9 และ 1.10

22

ตารางที่ 1.9 สรุปแหล่งที่พบ หนา้ ที่ และอาการขาดวติ ามิน ท่ีละลายในไขมนั

วติ ามิน แหล่งที่พบ หนา้ ที่ อาการขาด

วติ ามิน เอ น้ามนั ตบั ปลา อาหารที่ ควบคุมการเจริ ญเติบโตและ เจริญเติบโตชา้ สายตาไม่ดี

(Vitamin A) มีน้ามนั ปลา เน้ือและ รักษาเยอ่ื บุผวิ หนงั ช้นั ในช่วยให้ มองไมเ่ ห็นเวลากลางคืน

ไข่แดง ในพืชที่มีสี มองเห็นชดั เจน ช่วยให้ร่างกาย ตกเลือดบริเวณฐานครี บ

เหลืองและสีแดง แขง็ แรง มีภูมิคุม้ กนั การสร้างกระดูกผดิ ปกติ

วติ ามิน ดี น้ามนั ปลา (ไดจ้ ากการ ควบคุมการดูดซึมแคลเซียม ยงั ไม่พบชดั เจน แต่ถา้

(Vitamin D) สังเคราะห์ใต้ผิวหนัง และฟอสฟอรัส ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ไดร้ ับมากเกินไป

ของปลา) การสร้างกระดูก เจริญเติบโตชา้ มีอาการ

เซ่ืองซึม สีลาตวั เขม้

วติ ามิน อี ป่ ุมงอกของขา้ วสาลี เป็ นตวั ตา้ นออกซิเดช่ันภายใน ตาโปนการเจริ ญเติบโต

(Vitamin E) ถว่ั เหลือง ขา้ วโพด ร่างกาย วิตามินต่าง ๆ และกรด ลดลง โลหิตจาง ถา้ ได้รับ

ไขมนั ไม่อ่ิมตวั จะไม่ถูกทาลาย มาก ๆ การเจริญเติบโตช้า

ดว้ ยปฏิกิริยาออกซิเดชนั ไดง้ ่าย และมีพษิ ตอ่ ตบั

วติ ามิน เค ผกั ใบเขียว เป็ นสารที่จะนาไปใช้ในการ เลือดแขง็ ตวั ชา้ ลง

(Vitamin K) ถว่ั เหลือง ตบั สังเคราะห์โปรตีนท่ีทาให้เลือด โลหิตจาง ตกเลือดที่

แขง็ ตวั เหงือกและตา

ที่มา : ดดั แปลงจาก โชคชยั (2548)

ตารางท่ี 1.10 สรุปแหล่งที่พบ หนา้ ที่ และอาการขาดวติ ามิน ที่ละลายในน้า

วติ ามิน แหล่งที่พบ หนา้ ที่ อาการขาด

วติ ามินบี 1 ราขา้ ว ถวั่ เหลือง เป็ นองค์ประกอบของไธอะมิน ไพโร เบ่ืออาหาร

(Vitamin B 1) ถวั่ ลนั เตา ฟอสเฟส ซ่ึงเป็ นโคเอนไซม์ ท่ีทาหนา้ ท่ี เสียการทรงตวั

ถว่ั ลิสง ยสี ต์ เผาผลาญคาร์โบไฮเดรต และเกี่ยวขอ้ ง เซื่องซึม

เคร่ืองใน กบั การทางานของระบบประสาท เจริญเติบโตชา้

วติ ามินบี 2 นม ตบั ยสี ต์ เป็ นองค์ประกอบของโคเอนไซม์ท่ีทา ตาขนุ่ ตาแดงช้า

(Vitamin B 2) เมล็ดธญั พืช หนา้ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การเผาผลาญกรด เบื่ออาหาร
เน้ือสด อะมิโน กรดไขมนั และคาร์โบไฮเดรต เจริญเติบโตชา้

ช่วยลาเลียงไฮโดรเจนในกระบวนการ

หายใจระดบั เซลล์ บารุงสายตา

23

ตารางที่ 1.10 สรุปแหล่งที่พบ หนา้ ที่ และอาการขาดวติ ามิน ท่ีละลายในน้า (ต่อ)

วติ ามิน แหล่งท่ีพบ หนา้ ที่ อาการขาด

วติ ามินบี 6 ราขา้ ว เป็ นองคป์ ระกอบของโคเอนไซมท์ ี่ทา น้าหนกั ลด
(Vitamin B 6) ยสี ต์
ไข่แดง หนา้ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสังเคราะห์กรด ต่ืนตกใจง่าย
กรดแพนโท ตบั
เทนิก ราขา้ ว ไขมนั ที่จาเป็ น สังเคราะห์กรดอะมิโน ระบบประสาทผดิ ปกติ
(pantothenic ยสี ต์
acid) เคร่ืองใน และฮอร์โมนท่ีใชใ้ นระบบประสาท
ไนอาซิน เน้ือปลา
(niacin) ถว่ั เหลือง เป็นองคป์ ระกอบของโคเอนไซม์ เอ เส้นใยเหงือกขยายตวั
ยสี ต์
เคร่ืองใน ที่ทาหนา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเผาผลาญ กระพุ้งแก้มกางออก

กรดไขมนั กรดอะมิโน เน้ือเย่ือกร่อน เซ่ืองซึม

เบ่ืออาหาร น้าหนกั ลด

เป็นองคป์ ระกอบของโคเอนไซม์ ท่ีทา เบื่ออาหาร เกร็ง

หนา้ ที่เก่ียวกบั การเผาผลาญกรดไขมนั กระตุกประสาท

กรดอะมิโน และการสังเคราะห์ กรด ผดิ ปกติ เซื่องซึม

นิวคลิอิกและกรดไขมนั เจริญเติบโตชา้

กรดโฟลิก ยสี ต์ ทาหนา้ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้าง เซ่ืองซึม
(folic acid) เคร่ืองใน
ใบพืชสีเขียว เม็ดเลือดแดงและเป็ นองค์ประกอบ เจริญเติบโตชา้

ของโคเอนไซม์ท่ีทาหน้าท่ีเกี่ยวข้อง

กบั การสงั เคราะห์กรดอะมิโน

ไบโอติน ตบั ไต เป็นองคป์ ระกอบของโคเอนไซม์ เบื่ออาหาร

(biotin) ไขแ่ ดง ท่ีทาหนา้ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสังเคราะห์ ในปลาเทร้าต์ ผวิ หนงั

ยสี ต์ กรดไขมันที่จาเป็ น และสังเคราะห์ และลาไส้เป็นแผล

ผลิตภณั ฑน์ ม กรดอะมิโน

วติ ามินบี 12 เน้ือเศษเน้ือจาก เป็นองคป์ ระกอบของโคเอนไซม์ ที่ทา เบื่ออาหาร น้าหนกั ลด

(Vitamin B 12) โรงฆา่ สัตว์ หนา้ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สร้างเมด็ เลือดแดง

และสังเคราะห์กรดอะมิโน

วติ ามินซี ผลไมต้ ระกลู ทาหนา้ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การสร้าง เจริญเติบโตลดลง
(Vitamin C) มะนาว ตบั และ
ไตววั ปลาสด คอลลาเจน ช่วยทาใหแ้ ผลหายเป็น สันหลงั โคง้ เอียง

ปกติ ช่วยทาใหเ้ มด็ เลือดแดง กระดูกสนั หลงั คดงอ

เจริญเติบโตเตม็ ท่ี

24

ตารางท่ี 1.10 สรุปแหล่งท่ีพบ หนา้ ท่ี และอาการขาดวติ ามิน ที่ละลายในน้า (ตอ่ )

วติ ามิน แหล่งท่ีพบ หนา้ ที่ อาการขาด

อินอซิตอล มีอยทู่ วั่ ไปใน เป็นองคป์ ระกอบของเยอื่ เซลล์ และ เจริญเติบโตชา้
ในปลาเทร้าต์ ผิวหนงั
(inositol) เน้ือเยอ่ื ของพชื เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตสารอง เป็ นแผล
เจริญเติบโตชา้
และสตั ว์ ในกลา้ มเน้ือ อตั ราแลกเน้ือไม่ดี
ไตตกเลือด ตบั โต
โคลีน เน้ือ เครื่องใน เป็นองคป์ ระกอบของเยอ่ื เซลล์ และ

(choline) ถวั่ เหลือง ผกั ป้ องกนั การสะสมไขมนั ในตบั

ป่ ุมงอกขา้ วสาลี

ท่ีมา : ดดั แปลงจาก โชคชยั (2548)

3.5.2 องคป์ ระกอบทางเคมีและคุณค่าทางโภชนาการ วิตามินเป็ นสารอินทรียท์ ่ีพบใน
ธรรมชาติในปริมาณนอ้ ย และมีคุณสมบตั ิแตกต่างจากโปรตีน และคาร์โบไฮเดรต สัตวน์ ้าตอ้ งการ
วิตามินเพียงเล็กนอ้ ยแต่ขาดไม่ได้ และไม่สามารถสังเคราะห์ข้ึนเองไดใ้ นร่างกาย จึงตอ้ งไดร้ ับจาก
อาหารเท่าน้นั วติ ามินที่สัตวน์ ้าตอ้ งการ แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ

1) วติ ามินท่ีละลายในน้า (water soluble vitamin) มี 11 ชนิดไดแ้ ก่ กลุ่มวิตามิน
บีรวม ซ่ึงร่างกายตอ้ งการในปริมาณนอ้ ย และทาหนา้ ที่เป็นโคเอนไซม์ มี 8 ชนิด คือ

(1) ไธอะมีน (thiamine) เป็ นชื่อทางเคมีของวิตามินบี 1 ไธอะมีนเป็ นผลึกใส
ไม่มีสี มีกล่ินเหมือนยสี ต์ มีรสเคม็ ทนทานเมื่ออยใู่ นสารละลายท่ีมีฤทธ์ิเป็ นกรด แต่ถา้ ในสารละลายที่
เป็ นกลางหรือเป็ นด่างเล็กน้อย จะสลายตวั เม่ือถูกความร้อน ไธอะมีนท่ีจาหน่ายและ ใช้กนั ทว่ั ไปคือ
ไธอะมีนไฮโดรคลอไรด์ (thiamine hydrochloride) ไธอะมีน เมื่อเขา้ สู่ร่างกายสัตวน์ ้าจะถูกเปล่ียน
ให้อยู่ในรูปของโคเอนไซมไ์ ธอะมีนไพโรฟอสเฟต (thiamine pyrophosphate) พร้อมท่ีจะทางาน
ร่วมกบั เอนไซมค์ าร์บอกซิเลส (caboxylase) ทนั ที

(2) ไรโบเฟลวิน (riboflavin) หรือวิตามินบี 2 ขณะทางานจะอยู่ในรูปของ

โคเอนไซม์ ไรโบเฟลวนิ โมโนนิวคลีโอไทด์ (flavin mononucleotide) หรือเฟลวนิ อะดีนีนไดนิวคลี
โอไทด์ (flavin adenine dinucleotide : FAD) โคเอนไซมท์ ้งั สองน้ีทาหนา้ ที่รับถ่ายอิเล็กตรอนใน
ปฏิกิริยาออกซิเดชน่ั รีดกั ชน่ั ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมนั ไรโบเฟลวนิ เป็ นผลึกสีเหลืองส้ม
ละลายน้าได้เล็กน้อย สารละลายมีสีเขียวอมเหลืองและสะทอ้ นแสง ทนกรด อากาศและความร้อน
สลายตวั เม่ือถูกด่างและแสงสวา่ ง

(3) ไนอะซิน เป็ นชื่อทางเคมีของวิตามินท่ีเรียกว่า พี-พีแฟกเตอร์ ขณะ
ทางานอยู่ในรูปของโคเอนไซม์ นิโคตินาไมด์อะดีนีน ไดนิวคลีโอไทด์ (nicotinamide adenine

25

dinucleotide :NAD) ทาหน้าท่ีรับถ่ายไฮโดรเจนอะตอมในปฏิกิริยาออกซิเดชน่ั ของคาร์โบไฮเดรต
โปรตีนและไขมนั นอกจากน้ีไนอะซินยงั เป็ นกลุ่มของวิตามินรวม สารท่ีมีคุณสมบตั ิคลา้ ยกนั 2
ชนิด คือกรดนิโคตินิก (nicotinic acid) และนิโคตินาไมด์ (nicotinamide) กรดนิโคตินิก เป็ นผลึกรูป
เข็มไม่มีสี รสขมจดั ส่วน นิโคตินาไมด์ เป็ นผง สารท้งั สองทนต่อกรด ด่าง อากาศ แสงสวา่ งและ
ความร้อน พบมากในยสี ต์ เน้ือสตั ว์ ตบั และไต

(4) กรดแพนโทเธนิก หรือวิตามินบี 5 เป็ นส่วนหน่ึงของโคเอนไซม์
ทาหนา้ ท่ีรับถ่ายหมเู่ อซิล (acyl) ในรูปของเอซิลโคเอ (acyl co A) ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมนั นอกจากน้ันโคเอนไซม์เอ ยงั มีบทบาทในการสร้างกรดอะมิโน
ลีวลู ินิก โคเลสเตอรอล และสเตอรอยดฮ์ อร์โมน กรดแพนโทเธนิกเอง เป็ นน้ามนั สีเหลือง จึงมกั ใชใ้ น
รูปของเกลือแคลเซียม เป็นผลึกสีขาว สลายตวั ง่ายเม่ือถูกความร้อนแต่ทนต่อการเติมและลดออกซิเจน

(5) ไพริดอกซิน เป็นช่ือทางเคมีของวติ ามินบี 6 รวมสาร 3 ชนิด คือ
ก. ไพริดอกซิน(pyridoxine)
ข. ไพริดอกซาล(pyridoxal)
ค. ไพริดอกซามีน (pyridoxamine) แต่ที่เป็ นโคเอนไซม์ คือ ไพริดอกซาล-

ฟอสเฟต (pyridoxal phosphate) เน่ืองจากร่างกายสามารถเปล่ียนสารท้งั 3 ชนิดเป็นโคเอนไซมไ์ ดโ้ ดยง่าย
(6) กรดโฟลิก เป็ นชื่อทางเคมีของวิตามินเอ็ม เป็ นผลึกสี่เหลี่ยม ตกตะกอน

กบั เกลือของโลหะ สลายตวั ง่ายในสภาพกรด และเม่ือถูกความร้อนหรือแสงแดด มีมากในอาหาร
ที่มาจากพืช พบมากเป็นพเิ ศษในผกั ใบเขียว ในสตั วพ์ บมากในส่วนของตบั

(7) ไบโอติน เป็ นช่ือทางเคมีของวิตามินเอช โคเอนไซม์ของไบโอติน (biotin)
เรียกวา่ ไบโอไซติน (biocytin) โดยมีกรดอะมิโนไลซีนเป็ นตวั เช่ือมไบโอตินกบั โคเอนไซม์

(8) โคบาลามิน (cobalamin) เป็ นช่ือทางเคมีของวิตามินบี 12 ขณะอย่ใู นรูป
โคเอนไซมใ์ นร่างกายมี 2 ชนิด คือ ดีออกซีอะดีโนซิลโคบาลามิน และเมทิลโคบาลามิน

(9) วิตามินซี เป็ นคาที่ใช้เรียกสารที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกนั ในธรรมชาติ 2
ชนิด คือกรดแอสคอร์บิก ซ่ึงอยใู่ นสภาพกรดรีดิวซ์ กรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก วติ ามินซีเป็ นผลึกสี
ขาวท่ีละลายน้าไดง้ ่าย ในสภาพแห้งเก็บไวไ้ ดน้ าน เม่ือละลายน้าแลว้ จะเส่ือมสภาพเม่ือถูกอากาศ
ความร้อน แสงและโลหะ ทนกรดแต่ไมท่ นด่าง

(10) โคลีน มีธาตุไนโตรเจนรวมอยดู่ ว้ ย โมเลกุลของโคลีนประกอบดว้ ยหมู่
เมทิล 3 หมู่ จึงไดช้ ่ือว่าเป็ นสารท่ีให้หมู่เมทิลในการสังเคราะห์โปรตีนท่ีเป็ นส่วนประกอบของ
ฮอร์โมนที่สาคญั เช่น อีปิ เนฟรีนหรืออะดรีนาลิน โคลีนทาปฏิกิริยากับอะซีติลโคเอนไซม์เอ
ไดส้ ารอะซีติลโคลีน จาเป็นในการนาความรู้สึกระบบประสาท

26

(11) อินอซิตอลไม่ใช่โคเอไซมเ์ ช่นเดียวกบั โคลีน ในสัตวเ์ ป็ นไขมนั จาพวก
ฟอสโฟไลปิ ด เรียกวา่ ไมโออินอซิตอล เป็ นส่วนประกอบของเย่ือหุ้มเซลล์ในพืชพบในส่วนของ
เมลด็ และส่วนใหญอ่ ยใู่ นรูปของ กรดไฟติก อินอซิตอล

2) วิตามินท่ีละลายในไขมนั (fat soluble vitamin) มี 4 ชนิดคือ วติ ามินเอ วติ ามินดี
วิตามินอี และวิตามินเค ส่วนวิตามินที่ละลายในไขมนั ไม่เป็ นโคเอนไซมแ์ ต่ทาหนา้ ที่สาคญั เฉพาะ
อยา่ งแตกต่างกนั ไป

(1) วติ ามินเอ เป็ นคาที่ใชเ้ รียกสารที่มีลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั หลายชนิด ท่ีสาคญั
และพบมากในธรรมชาติเป็ นแอลกอฮอล์ชื่อเรตินอล (retinol) วิตามินเอพบในสัตว์เท่าน้ัน
มีลกั ษณะหนืด สามารถละลายไดใ้ นไขมนั แต่ไม่ละลายในน้า มีความคงตวั ต่อความร้อน กรดและ
ด่าง แตถ่ ูกทาลายไดง้ ่ายดว้ ยแสงและอากาศ

(2) วิตามินดี ได้จากสาร เออร์โกสเตอรอล (ergosterol) ซ่ึงพบมากในพืช
ที่สัมผสั กบั รังสีอุลตร้าไวโอเล็ตในแสงแดด วติ ามินดีที่บริสุทธ์ิเป็ นผลึก สีขาวและไม่มีกลิ่น ทนความ
ร้อน ไมส่ ลายตวั เม่ือถูกอากาศ กรดและด่าง

(3) วิตามินอี หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงวา่ โทโคฟี รอล (tocopherol) มีอยู่ 3 ชนิด
คือแอลฟาโทโคฟี รอล (α- tocopherol) เบตาโทโคฟี รอล (β-tocopherol) และแกมมาโทโคฟี รอล
( γ - tocopherol)

(4) วิตามินเค สามารถสกดั ไดจ้ ากธรรมชาติ หรือสังเคราะห์ข้ึนมาได้ เช่น
วิตามินเค 1 (phylloquinone) และวิตามินเค 2 (menaquinone) วิตามินเคที่ใช้กนั มากคือวิตามินเค
3 (menadione) เป็นสารสังเคราะห์มีสีเหลือง ทนความร้อนแต่ไม่ทนต่อกรด ด่าง แสงสวา่ ง และการ
เติมออกซิเจน

3.5.3 ความตอ้ งการวิตามินของสัตวน์ ้า วติ ามินเป็ นสารที่ร่างกายตอ้ งการเพียงปริมาณ
เล็กนอ้ ย แต่มีความจาเป็ นต่อปฏิกิริยาชีวเคมีของร่างกายสัตวน์ ้ามีความตอ้ งการวติ ามินแตกต่างกนั
ข้ึนอยกู่ บั ชนิดของสัตวน์ ้า อายุ และขนาด องค์ประกอบของอาหาร แสง และอุณหภูมิของน้า เช่น
ปลาจะตอ้ งการวิตามินเอมากข้ึน เมื่อเล้ียงในที่มีแสงมาก หรือปลาจะมีความตอ้ งการวิตามินอีมากข้ึน
เม่ือองค์ประกอบของอาหารมีกรดไขมนั ที่มีความไม่อิ่มตัวสูงเพิ่มข้ึน แต่ถ้าอุณหภูมิไม่สูงมาก
ประกอบกบั มีวติ ามินซีหรือตวั ตา้ นออกซิเดชนั่ อยดู่ ว้ ย ความตอ้ งการวติ ามินอีก็อาจลดลงได้ วติ ามินบี
1 วิตามินบี 2 ความตอ้ งการยงั ข้ึนอยกู่ บั ระดบั พลงั งานในอาหาร ในขณะที่ วติ ามินบี 6 ความตอ้ งการ
ข้ึนอยู่กับระดับโปรตีนในอาหารโดยเฉพาะปลากินเน้ือหรื อลูกปลา เม่ือระดับโปรตีนสูงข้ึน
ความตอ้ งการ วิตามินบี 6 ก็จะเพ่ิมข้ึนดว้ ย นอกจากน้ีสัตวน์ ้าท่ีมีจุลินทรียใ์ นท่อทางเดินอาหารจะมี
ความตอ้ งการวิตามินลดลง

27

สรุป
อาหารสัตวน์ ้า หมายถึง สิ่งที่สัตวน์ ้ากินเขา้ ไปแลว้ ไม่เป็ นพิษต่อร่างกายแต่มีผลทาใหส้ ัตว์

น้าเจริญเติบโต ดารงชีวิตอย่ไู ดแ้ ละใชใ้ นการสืบเผ่าพนั ธุ์และแพร่ขยายพนั ธุ์ อาหารสัตวน์ ้าเป็ น
ปัจจยั การผลิตที่มีความสาคญั เพราะตน้ ทุนการผลิตสตั วน์ ้าส่วนใหญ่เป็นค่าอาหาร

สารอาหารที่สัตวน์ ้าตอ้ งการไดแ้ ก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมนั เกลือแร่และวิตามิน ซ่ึง
สารอาหารแต่ละชนิดมี แหล่งที่พบ หนา้ ที่ องคป์ ระกอบ ความตอ้ งการของสัตวน์ ้าและอาการท่ีขาด
แตกตา่ งกนั คือ

โปรตีน เป็ นสารอาหารที่ให้พลังงานและเป็ นองค์ประกอบของเซลล์ทุกส่วนในร่างกาย
สัตวน์ ้าจึงตอ้ งการโปรตีนเพื่อการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ โปรตีนประกอบดว้ ยธาตุ
คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และธาตุอื่น โมเลกุลของโปรตีนมีขนาดใหญ่ หน่วยยอ่ ยสุด
ของโปรตีนมีขนาดของโมเลกุลเล็กที่สุดเรียกว่า กรดอะมิโน ซ่ึงแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
กรดอะมิโนท่ีจาเป็ น และท่ีไม่จาเป็ น กรดอะมิโนจาเป็ น คือ กรดอะมิโนที่สัตวไ์ ม่สามารถสังเคราะห์
ในร่างกายได้หรือสังเคราะห์ไดใ้ นปริมาณจากดั จึงจาเป็ นตอ้ งเติมในอาหารให้เพียงพอกบั ความ
ตอ้ งการ ส่วนกรดอะมิโนที่ไม่จาเป็ น คือ กรดอะมิโนท่ีไม่จาเป็ นตอ้ งมีในอาหาร เพราะสัตวน์ ้าสามารถ
สงั เคราะห์เองได้ สัตวน์ ้าที่ขาดโปรตีนจะมีอาการตวั เล็กไม่สมส่วน แคระแกรน ไม่ค่อยมีกลา้ มเน้ือและ
ภูมิตา้ นทานต่า

คาร์โบไฮเดรต จดั เป็นแหล่งพลงั งานในอาหารที่มีราคาถูกท่ีสุด พบมากในอาหารจาพวก แป้ ง
น้าตาล เช่น รา ขา้ วโพด และมนั สาปะหลงั เป็ นตน้ โดยทวั่ ไปประกอบดว้ ย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน
ออกซิเจน ทาหนา้ ที่เป็นคลงั อาหารและพลงั งาน ถา้ สตั วน์ ้าไดร้ ับในปริมาณเกินไปจะทาให้โตชา้

ไขมนั พบทว่ั ไปในธรรมชาติท้งั ในพืชและสัตว์ เช่น ถว่ั เหลือง ถว่ั ลิสง ปลาป่ น เป็ นตน้
ไขมนั ทาหนา้ ท่ีเป็นแหล่งพลงั งาน ประกอบดว้ ย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน โครงสร้าง
โมเลกุลของไขมนั ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วนคือ ส่วนที่เรียกวา่ กลีเซอรอล กบั ส่วนที่เรียกวา่
กรดไขมนั ซ่ึงจาแนกเป็ น 2 ชนิดคือ กรดไขมนั อิ่มตวั และกรดไขมนั ไม่อิ่มตวั สัตวน์ ้าที่ขาดไขมนั
จะทาใหก้ ารเจริญเติบโตลดลง สีของลาตวั ผดิ ปกติ

เกลือแร่ มีแหล่งกาเนิดมาจากดินและน้า พืชเป็ นส่ือกลางในการนาเกลือแร่จากดินและน้า
ตามธรรมชาติมาสู่สัตวแ์ ละมนุษย์ ปลาหรือสัตวน์ ้ามีความตอ้ งการนอ้ ยมากแต่ขาดไม่ได้ สัตวน์ ้ามี
ความตอ้ งการเกลือแร่ 22 ชนิด แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือแร่ธาตุหลกั และแร่ธาตุรอง โดย
แร่ธาตุหลกั หมายถึง แร่ธาตุที่สัตวน์ ้าตอ้ งการในปริมาณมาก ส่วนแร่ธาตุรอง หมายถึง แร่ธาตุที่
สัตวน์ ้าตอ้ งการในปริมาณนอ้ ย เกลือแร่มีความสาคญั ต่อกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายและ

28

เป็ นส่วนประกอบสาคญั ของกระดูกและฟัน สัตวน์ ้าที่ขาดเกลือแร่จะทาให้ระบบการทางานของ
ร่างกายผดิ ปกติหรือเกิดโรคข้ึนได้

วิตามิน เป็ นสารอินทรียท์ ่ีพบในธรรมชาติในปริมาณน้อย สัตว์น้าตอ้ งการวิตามินเพียง
เลก็ นอ้ ยแตข่ าดไม่ได้ และไม่สามารถสงั เคราะห์ข้ึนเองไดใ้ นร่างกาย จึงตอ้ งไดร้ ับจากอาหารเท่าน้นั
วติ ามินท่ีสัตวน์ ้าตอ้ งการแบ่งเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ วิตามินท่ีละลายในน้า และวิตามินท่ีละลายใน
ไขมนั วิตามินมีหน้าที่เก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการเมตาบอลิซึมหรือการเจริญเติบโตของร่างกาย
สตั วน์ ้าท่ีขาดวติ ามินจะมีอาการเบ่ืออาหาร เจริญเติบโตชา้ และลาตวั มีสีเขม้

บทที่ 2

ระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหารของสัตว์นา้

สาระสาคัญ

ลกั ษณะการกินอาหารและระบบทางเดินอาหารของสัตวน์ ้า เมื่อสัตวน์ ้าไดร้ ับอาหารเขา้ ไป
แล้ว ร่างกายยงั ไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดท้ นั ทีจะตอ้ งผ่านกระบวนการย่อยให้โมเลกุลมี
ขนาดเล็กลงก่อน จึงจะดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือด แลว้ ถูกเผาผลาญในระดบั เซลลใ์ ห้พลงั งานออกมา
เพอื่ ใชใ้ นกิจกรรมต่าง ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์ทว่ั ไป

มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบการยอ่ ยและการดูดซึมสารอาหารของสตั วน์ ้า

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. อธิบายลกั ษณะการกินอาหารและระบบทางเดินอาหารของสตั วน์ ้าได้
2. อธิบายระบบการยอ่ ยอาหารของสตั วน์ ้าได้
3. อธิบายชนิดของเอนไซมท์ ี่ยอ่ ยอาหารได้
4. อธิบายความสามารถในการยอ่ ยอาหารได้
5. อธิบายอตั ราการยอ่ ยอาหารของสัตวน์ ้าได้
6. อธิบายประสิทธิภาพการยอ่ ยอาหารของสตั วน์ ้าได้
7. อธิบายระบบการดูดซึมอาหารของสัตวน์ ้าได้

หัวข้อเร่ือง
1. การกินอาหารและระบบทางเดินอาหารของสตั วน์ ้า
2. ระบบการยอ่ ยอาหารของสัตวน์ ้า
3. ชนิดของเอนไซมท์ ี่ยอ่ ยอาหาร
4. ความสามารถในการยอ่ ยอาหาร
5. อตั ราการยอ่ ยอาหารของสัตวน์ ้า
6. ประสิทธิภาพการยอ่ ยอาหารของสตั วน์ ้า
7. ระบบการดูดซึมอาหารของสตั วน์ ้า

37

เนือ้ หาสาระ
การกินอาหารของสตั วน์ ้านอกจากกินเพ่ือความอยรู่ อด และเพอ่ื การเจริญเติบโตของตวั มนั เองแลว้

นิสยั การกินอาหารยงั ใชจ้ าแนกชนิดของสตั วน์ ้าได้ สตั วน์ ้าแต่ละชนิดกินอาหารและมีระบบการยอ่ ยอาหาร
ไมเ่ หมือนกนั

1. การกนิ อาหารและระบบทางเดนิ อาหารของสัตว์นา้
การกินอาหารและระบบทางเดินอาหารของปลา
1.1 ลกั ษณะการกินอาหารของปลา
ปลามีพฤติกรรมการกินอาหารไม่เหมือนกนั โดยทว่ั ไปแบ่งชนิดของปลาตามลกั ษณะ

การกินอาหารไดด้ งั น้ี

1.1.1 การจาแนกตามลกั ษณะอาหารที่กิน
1) ปลากินพืช (herbivorous fish) ปลาชนิดน้ีมกั มีฟันซ่ีเล็ก ๆ ละเอียด ลาไส้ยาว

และมีกระเพาะขนาดเล็ก หรืออาจไม่มีกระเพาะอาหารเลยก็ได้ เพราะอาหารส่วนใหญ่ที่กินเป็ นพวก
พืชซ่ึงมีผนงั เซลลท์ ่ียอ่ ยไดย้ ากจึงตอ้ งพฒั นาระบบยอ่ ยอาหารโดยเฉพาะลาไส้ท่ียาว เพื่อท่ีจะใหอ้ าหาร
อยู่ในทางเดินอาหารไดน้ านข้ึนและมีการย่อยและดูดซึมไดด้ ีข้ึน ปลาพวกน้ีไดแ้ ก่ ปลาตะเพียน ปลา
นวลจนั ทร์ทะเล และปลานิล เป็นตน้

2) ปลากินเน้ือ (carnivorous fish) ปลาพวกน้ีเป็ นปลาที่มีฟันที่แข็งแรงและแหลม
คม เพ่ือใช้ในการกดั กินเหยื่อเป็ นอาหาร มกั มีสายตาหรือประสาทสัมผสั ในการล่าเหย่ือไดด้ ี ไดแ้ ก่
ปลาช่อน ปลาดุก และปลากะพงขาว เป็นตน้

3) ปลากินท้งั พืชและสัตว์ (omnivorous fish) ปลาพวกน้ีมกั พฒั นาระบบการกิน
อาหารท่ีสมบรู ณ์โดยระบบการกินอาหารพบท้งั ฟัน กระเพาะและลาไส้ เน่ืองจากปลาพวกน้ีกินอาหาร
ไมเ่ ลือก ข้ึนอยกู่ บั วา่ จะพบอาหารชนิดใดก่อน ไดแ้ ก่ ปลาไน ปลาสวาย และปลากดอเมริกนั เป็นตน้

4) ปลากินซากเน่าเปื่ อยตามพ้ืนน้า (scavenger) ปลาชนิดน้ีมีลักษณะปากอยู่
ดา้ นล่าง และมกั หากินตามพ้ืนดินใตน้ ้า กินซากเน่าเปื่ อยรวมท้งั ดินโคลนกน้ บ่อ ซ่ึงอาจมีจุลินทรีย์
ท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ ปลา ไดแ้ ก่ ปลาไหล ปลากด และปลาแขยง เป็นตน้

5) ปลากินแพลงกต์ อน (plankton feeder) ปลาพวกน้ีมกั มีปากกวา้ ง ไม่มีฟัน แต่มีซ่ี
กรองท่ียาวและละเอียด เนื่องจากจาเป็ นตอ้ งกินอาหารดว้ ยการกรองน้า เพ่ือกรองแพลงก์ตอนจาก
น้าเขา้ สู่หลอดคอ และเขา้ สู่ระบบทางเดินอาหารต่อไป ไดแ้ ก่ ปลาทู ปลาฉลามวาฬ เป็นตน้

6) ปลาที่เป็นปรสิตหรือตวั เบียฬ (parasitic fish) ปลาพวกน้ีจะมีฟันที่แขง็ แรงที่สามารถ
ขดู เน้ือเยอ่ื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เพอื่ ดูดเลือดหรือเน้ือกินเป็นอาหาร ไดแ้ ก่ ปลาปากกลม และปลาไหลทะเลลึก

38

1.1.2 การจาแนกตามนิสัยการกินอาหาร
1) ปลาล่าเหยื่อ (predator) ปลาท่ีมีนิสัยการกินอาหารเช่นน้ีมกั มีนิสัยดุร้าย ปลา

เหล่าน้ีมกั มีอวยั วะอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงที่มีประสิทธิภาพ เช่น มีสายตาท่ีดี มีอวยั วะรับสัมผสั ที่ดี หรือมี
ฟันและขากรรไกรท่ีแขง็ แรงสาหรับใชใ้ นการจบั ยดึ เหยอ่ื ใหแ้ น่น มีกระเพาะอาหาร ที่ผนงั กระเพาะ
มกั มีสีขาวเงิน มีเอนไซม์เป็ นกรดและมีลาไส้ส้ัน เพ่ือการดูดซึมและยอ่ ยไดเ้ ร็วไดแ้ ก่ ปลาชะโด ปลา
ฉลาม ปลาเก๋า และปลาเสือพน่ น้า เป็นตน้

2) ปลาแทะเล็ม (grazer) เป็ นปลาที่กดั กินแบบแทะเล็มหรือตอด สามารถกินได้
ทีละเลก็ ละนอ้ ยมีฟันที่ขากรรไกรแขง็ แรง หากินบริเวณพ้ืนทอ้ งน้า ที่เป็ นหินและปะการัง โดยการแทะ
เล็มพืชน้า สาหร่าย ตะไคร่น้าท่ีข้ึนอยตู่ ามหินและตวั อ่อนของปะการัง ไดแ้ ก่ ปลานกแกว้ และปลาผีเส้ือ
เป็ นตน้

3) ปลากินอาหารโดยการกรอง (strainer) ปลาชนิดน้ีจะคดั เลือกขนาดของอาหาร
เป็ นพวกท่ีมีซ่ีกรองยาวมากในขณะท่ีมนั อา้ ปากน้าจะผา่ นเขา้ สู่ช่องคอ แลว้ ผา่ นเหงือกไปออกทาง
ช่องเหงือก อาหารจะติดอยกู่ บั ซ่ีกรอง ผา่ นคอเขา้ สู่กระเพาะอาหาร ไดแ้ ก่ ปลาทู ปลากระบอก และ
ปลาฉลามวาฬ เป็นตน้

4) ปลากินอาหารแบบดูด (sucker) เป็ นปลาที่ใชป้ ากดูดอาหารตามพ้ืน ริมฝี ปากของ
ปลาเหล่าน้ีมีการพฒั นาการสาหรับดูด ปากอยู่ทางด้านล่าง ส่วนใหญ่เป็ นปลาที่หากินตามพ้ืนทะเล
ตามแมน่ ้าลาธารท่ีมีกระแสน้าไหลแรง ไดแ้ ก่ ปลาสเตอร์เจียน ปลาฉลามหางแดง และ ปลาหมู เป็นตน้

5) ปลาเป็นปรสิต (parasite) เป็นปลาท่ีหากินโดยอาศยั ดูดอาหารหรือของเหลวจาก
ปลาตวั อ่ืน ไดแ้ ก่ ปลาปากกลม เป็นตน้

1.2 ระบบทางเดินอาหารของปลา
เมื่อปลาได้รับอาหารเขา้ ไปแล้วร่างกายยงั ไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทนั ที

จะตอ้ งผา่ นกระบวนการยอ่ ยให้โมเลกุลมีขนาดเล็กลงก่อน จึงจะดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือด แลว้ ถูก
เผาผลาญในระดบั เซลล์ให้พลงั งานออกมาเพ่ือใชใ้ นกิจกรรมต่าง ๆ ระบบทางเดินอาหารและการ
ยอ่ ยอาหารในปลาประกอบดว้ ย 2 ส่วน คือ ทางเดินอาหารและอวยั วะช่วยยอ่ ยอาหาร

1.2.1 ทางเดินอาหาร (digestive tract) ประกอบดว้ ย
1) ริมฝี ปาก (lip) ปลาบางชนิดใชร้ ิมฝี ปากในการรับรสอาหาร นอกจากน้ียงั เป็ น

ท่ีต้งั ของหนวด ซ่ึงปลาจะใชห้ นวดในการหาอาหารและรับรสอาหารได้ และยงั มีปลาอีกหลายชนิด
ท่ีใชร้ ิมฝี ปากในการดูดอาหารเขา้ ปาก ปลาบางชนิดมีริมฝี ปากบาง ปลาพวกน้ีมีนิสัยกดั กินอาหาร
เป็นชิ้นใหญ่ ๆ ส่วนปลาพวกท่ีมีริมฝี ปากหนาที่มีปากแบบดูด เช่น ปลาลูกผ้ึง และปลาสเตอร์เจียน
เป็ นตน้

39

2) ปาก (mouth) เป็ นส่วนที่เปิ ดรับอาหารเขา้ สู่ร่างกาย ซ่ึงอาหารจะผา่ นต่อไปยงั
หลอดอาหารและกระเพาะอาหาร นอกจากน้ีปากยงั ทาหนา้ ท่ีในการต่อสู้ป้ องกนั ตวั หายใจ และ บาง
ชนิดยงั ใชใ้ นการยดึ เกาะอีกดว้ ย ในช่องปากปลาจะไม่มีน้าลาย เน่ืองจากปลาจะใชน้ ้าเป็ นตวั หล่อล่ืน
และทาใหก้ ลืนอาหารไดส้ ะดวกย่ิงข้ึน ปลาใชป้ ากในการกินอาหาร ดงั น้นั ลกั ษณะหรือตาแหน่งของ
ปากจะสามารถบ่งบอกถึงพฤติกรรมการกินอาหารของปลา โดยเฉพาะลูกปลาวยั อ่อนขนาดของปาก
มีความสาคญั ต่อการคาดคะเนขนาดของอาหารท่ีใชใ้ นการอนุบาลอีกดว้ ย ตาแหน่งและลกั ษณะของ
ปากปลาแต่ละชนิดจะมีรูปร่างลกั ษณะแตกต่างกนั สามารถแบง่ ลกั ษณะของปากปลาไดด้ งั น้ี

(1) ลกั ษณะของปากปลาตามตาแหน่งที่ต้งั แบง่ ไดเ้ ป็น 3 แบบดงั น้ี
ก. terminal mouth เป็นปากปลาที่อยบู่ นปลายสุดของหวั ปลาที่มีลกั ษณะแบบ

น้ีมกั เป็นปลาที่หากินบริเวณกลางน้า ไดแ้ ก่ ปลานิล ปลากระบอก และปลาสลิด เป็นตน้
ข. superior mouth เป็ นปากท่ีขากรรไกรล่างยาวกว่าขากรรไกรบนมี

ลกั ษณะเฉียงลงสู่ด้านล่าง มกั พบในปลาท่ีหากินบริเวณผิวน้า ได้แก่ ปลาเข็ม ปลากระโทงเทง
ปลาคางเบือน และปลาเคา้ เป็นตน้

ค. inferior mouth เป็ นปากปลาที่ขากรรไกรบนยาวกวา่ ขากรรไกรล่าง มี
ลกั ษณะอยดู่ า้ นล่างของส่วนหวั ไดแ้ ก่ปลาท่ีชอบหากินตามพ้ืนทอ้ งน้า เช่น ปลากระเบน ปลากุเรา
ปลาฉลาม และปลาลิ้นควาย เป็นตน้

(2) ลกั ษณะของปากปลาตามรูปร่าง ปากปลามีรูปร่างท่ีแตกต่างกนั ตามแต่
ชนิดท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั พฤติกรรมและลกั ษณะการกินอาหารของปลา ซ่ึงสามารถแบ่งไดด้ งั น้ี

ก. ปากรูปร่างเป็ นท่อ (tube like mouth) คือลกั ษณะของปากจะมี
ขากรรไกรบนและขากรรไกรล่างเช่ือมติดกนั ส่วนปลายสุดมีรูเปิ ดขนาดค่อนขา้ งเล็กและอาหารที่
กินกม็ ีขนาดเลก็ เช่นกนั ไดแ้ ก่ ปลาปากแตร ปลามา้ น้า และปลาจิม้ ฟันจระเข้ เป็นตน้

ข. ปากรูปร่างเป็ นจะงอยแหลมคลา้ ยปากนก (beak like mouth) ปากแบบ
น้ีมีลกั ษณะแหลมยน่ื ไปดา้ นหนา้ โดยขากรรไกรบนและล่างแยกออกจากกนั เด่นชดั ไดแ้ ก่ ปลาเข็ม
ปลาตบั เต่า และปลากระโทงเทงดาบ เป็นตน้

ค. ปากแบบฟันเลื่อย (saw like mouth) ปากปลาแบบน้ีจะมีจะงอยปากที่ยื่น
ยาวออกไปดา้ นหนา้ และบริเวณขอบมีเกล็ด ที่เปล่ียนแปลงรูปร่างมาเป็ นหนามหรือฟันติดตามจะงอย
ปาก พบมากในปลาฉลาม

ง. ปากแบบปากดูด (sucking like mouth) ลกั ษณะปากแบบน้ีมีรูปร่าง
เป็ นวงหรือแผน่ สามารถยึดติดกบั วสั ดุใตน้ ้า หรือดูดติดกบั ร่างกายสัตวอ์ ื่น ๆ ไดแ้ ก่ ปลาลูกผ้ึงหรือ
ปลาเทศบาล ปลาเลียหิน และปลาทรงเคร่ือง เป็นตน้

40

จ. ปากแบบยดื หดได้ (protractile mouth) เป็ นปลาท่ีมีกระดูกขากรรไกรบน
ยาว (premaxilla) จึงทาใหป้ ากปลาสามารถยดื หดได้ ไดแ้ ก่ ปลาไน ปลาหมอตาล และปลาสร้อย เป็นตน้

3) ฟัน (teeth) ปลาแต่ละชนิดกินอาหารแตกต่างกนั จึงทาใหฟ้ ันมีรูปร่างและขนาด
แตกต่างกัน ฟันมีหน้าท่ีในการกัดหรือบดอาหารที่มีขนาดใหญ่ ให้เล็กลงก่อนนาไปย่อย ใน
กระเพาะอาหารหรือลาไส้ ตาแหน่งของฟันสามารถพบไดต้ ้งั แต่บริเวณขากรรไกร ลิ้น เพดานปาก
และคอหอย ฟันของปลากินเน้ือไมไ่ ดใ้ ชส้ าหรับขบเค้ียว แต่ใชส้ าหรับจบั อาหาร ปลาในตระกูลปลา
ตะเพียน ซ่ึงเป็ นปลากินพืช ไม่มีฟันในปาก แต่มีฟันในคอหอย ซ่ึงมีขนาดใหญ่แขง็ แรง อาจมีแถว
เดียวหรือหลายแถว ใชส้ าหรับบดและตดั อาหารก่อนส่งเขา้ สู่กระเพาะ ฟันของปลามีกาเนิดมาจาก
ผิวหนงั ช้นั นอก ในปลากระดูกอ่อนฟันมีขนาดและรูปร่างเหมือนกนั ฝังอยู่ลอย ๆ ยดึ ติดกบั เหงือก
ดว้ ยเส้นใยคอลลาเจน ส่วนในปลากระดูกแข็ง ฟันฝังลึกลงไปในกระดูกขากรรไกร แต่ไม่มีรากฟัน
ฟันปลามีการหลุดและเกิดข้ึนใหม่ตลอดเวลา ในปลาฉลามฟันเรียงกนั เป็ นแถว ฟันแถวนอกสุดมี
อายมุ ากที่สุด เมื่อหลุดไปแลว้ แถวใหมด่ า้ นในจะร่นเขา้ มาแทนที่ ปลาเป็ นสัตวท์ ี่กินอาหารโดยไม่เค้ียว
จึงมีฟันเหมือนกนั หมด ในปลาแต่ละชนิดมีการจดั เรียงฟันในตาแหน่งต่าง ๆ กนั อาจมี 1, 2 หรือ 3
แถวก็ได้ หรือเบียดกนั เป็ นกระจุก บางชนิดเรียงเป็ นแถบ จานวนของฟันข้ึนอยู่กบั ชนิดของปลา ปลา
บางชนิดไม่มีฟัน ฟันปลาเกิดภายในช่องปากตามท่ีต่าง ๆ กนั (ภาพที่ 2.1) มีชื่อเรียกแตกต่างกนั ไป
ดงั น้ี

(1) ฟันที่ขากรรไกรบน (maxillary teeth และ premaxillary teeth)
(2) ฟันที่ขากรรไกรล่าง (mandible teeth หรือ dentary teeth)
(3) ฟันที่เพดานปาก (vomerine teeth และ palatine teeth)
(4) ฟันท่ีกระดูกลิ้น (tongue teeth)
(5) ฟันที่คอหอยหรือช่องคอ (pharyngeal teeth)

41

Premaxillary Mandible
Maxillary Tongue
Vomerine Basibranchail
Palatine

Gill arch

ภาพที่ 2.1 ตาแหน่งฟันในปากปลา
ที่มา : วรี พงศ์ (2536)

4) ลิ้น (tongue) ปลามีลิ้นแต่ยงั ไม่เจริญเหมือนสัตวช์ ้ันสูงทวั่ ไป ลิ้นปลามีเพียง
แกนกระดูกท่ีมีเน้ือหุ้มไม่มีกลา้ มเน้ือเหมือนสัตวช์ ้นั สูง มีเพียงรอยนูนอยกู่ บั พ้ืนล่างของโพรงปาก
ทาใหด้ ูไม่ออกวา่ มีลิ้น ดงั น้นั ลิ้นปลาจึงไม่สามารถคลุกเคลา้ อาหารได้ แต่บนลิ้นของปลาจะมีต่อม
รับรสอยูด่ ว้ ยหรือปลาบางชนิดอาจมีฟันบนลิ้น เพ่ือใชส้ าหรับยึดอาหารไม่ให้หลุด เช่น ปลากราย
และปลาสลาด สาหรับปลาเสือพ่นน้ามีลิ้นที่เจริญดีและค่อนขา้ งยาว เพื่อช่วยในการพ่นน้าไปยงั
แมลงที่บินอยเู่ หนือน้าใหต้ กลงมาและกินเป็นอาหาร

5) ซี่กรอง (gill raker) ลกั ษณะซ่ีกรองจะเรียงกนั เป็ นแถวบนแกน โดยแต่ละซ่ีจะมี
ขนแยกออกมาคลา้ ยขนนกและอาจสานกนั เป็ นแบบตาข่าย ลกั ษณะของซ่ีกรองในปลาแต่ละชนิดมี
ความแตกต่างกนั เช่น ปลาที่กินอาหารพวกแพลงกต์ อนจะมีซ่ีกรองเป็นจานวนมากและเล็กยาว ปลา
ที่กินพืชหรือกินซากเน่าเปื่ อยซ่ีกรองจะไม่ละเอียด ส้ันและนอ้ ยกวา่ พวกท่ีกินแพลงก์ตอน ในปลา
ท่ีกินเน้ือซ่ีกรองจะมีลกั ษณะเป็นตุ่มหรือซี่ฟันเล็ก ๆ เช่น ปลาช่อน ดงั แสดงในภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 ลกั ษณะซี่กรอง ก. ปลากินเน้ือ ข. ปลากินพืช ค. ปลากินแพลงกต์ อน
ท่ีมา : วรี พงศ์ (2536)

42

6) ช่องคอหรือคอหอย (pharynx) เป็นบริเวณท่ีอยถู่ ดั จากอุง้ ปาก มีลกั ษณะเป็ นช่อง
แคบเหมือนกรวยก่อนจะนาเขา้ สู่หลอดคอ ช่วงน้ีจะส้ันและมีซ่ีกรองย่ืนล้าเขา้ มาอยู่ในบริเวณน้ี
ซ่ีกรองจะทาหนา้ ที่ในการสกดั ก้นั หรือกรองอาหารแลว้ ส่งไปยงั หลอดคอ ปลาบางชนิดมีฟันบริเวณช่อง
คอเป็นกลุ่ม ๆ อยทู่ ้งั ทางดา้ นบนและดา้ นล่าง พบในกลุ่มปลาตะเพียน

7) หลอดอาหาร (esophagus) เป็นส่วนท่ีอยถู่ ดั จากช่องคอมีลกั ษณะเป็ นหลอดหรือ
เป็นทอ่ ท่ีแทจ้ ริง ปลามีหลอดอาหารท่ีแคบและส้ัน ท้งั น้ีเนื่องจากปลาไม่มีคอ เป็ นส่วนที่สังเกตเห็น
ไดย้ ากยกเวน้ ปลาที่มีรูปร่างเพรียวยาว เช่น ปลาไหลจะสงั เกตเห็นไดช้ ดั กวา่ ปลาชนิดอ่ืน

8) กระเพาะอาหาร (stomach) เป็ นส่วนที่อยู่ถดั จากหลอดคอ โดยสังเกตได้จาก
กระเพาะอาหารเริ่มจากรอยคอดท่ีลีบเล็กลง และป่ องเป็ นกระเปาะวางทอดตามความยาวของลาตวั
กระเพาะอาหารเป็ นท่ีพกั และบดอาหารบางส่วน ภายในกระเพาะอาหารมีเซลล์เยื่อบุกระเพาะที่
สามารถผลิตเปปซินและกรดเกลือ ออกมาเพื่อทาหน้าท่ียอ่ ยอาหาร กระเพาะอาหารแบ่งออกเป็ น 2
ส่วนคือ

(1) กระเพาะอาหารส่วนตน้ (cardiac portion) อยตู่ ิดกบั หลอดคอและยืน่ เขา้ มา
ในช่องทอ้ งเลก็ นอ้ ย ลกั ษณะเป็นทอ่ ตรงเน้ือบางกวา่ มีขนาดเกือบเท่าหลอดคอแต่อาจขยายใหญ่กวา่
หลอดคอ ผวิ พ้ืนยน่ ขรุขระเป็นคลื่นวิง่ ไปตามส่วนกวา้ งทาใหเ้ กิดสันเล็กจานวนมากในบริเวณน้นั

(2) กระเพาะอาหารส่วนปลาย (pyloric portion) จะมีขนาดใหญ่ข้ึนกลา้ มเน้ือหนา
ข้ึนผิวเป็ นรอยยน่ ถี่ลดลงและไม่สม่าเสมอกนั ผิวดา้ นนอกเรียบเช่นเดียวกบั ส่วนตน้ และมีต่อมเล็ก ๆ
ทาหนา้ ท่ีขบั เอนไซมจ์ านวนมาก ส่วนน้ีอาจโคง้ กลบั โดยเอนมาขา้ งหนา้ ก่อนจะเขา้ ไปในส่วนของลาไส้

อยา่ งไรก็ตามกระเพาะอาหารส่วนตน้ และส่วนปลายไม่มีเส้นแบ่งที่ชดั เจน เพียงแต่พิจารณา
จากท่ีต้งั และลกั ษณะดงั กล่าวในข้นั ตน้ กระเพาะอาหารปลามีหนา้ ที่ในการยอ่ ยและดูดซึมอาหาร โดย
ปลาแต่ละชนิดก็จะมีขนาดและรูปร่างต่างกนั กระเพาะอาหารของปลาขยายตวั ไดง้ ่าย จึงช่วยให้ปลา
กินอาหารได้มาก เช่น ปลาประเภทกินเน้ือ เป็ นปลาท่ีมีกระเพาะอาหาร แต่มีลาไส้ส้ัน ส่วนปลา
ประเภทไม่กินเน้ือ เช่น ปลาไน ซ่ึงเป็ นปลา ที่ไม่เลือกกินอาหาร ไม่มีกระเพาะอาหารแต่มีลาไส้ยาว
รูปร่างลกั ษณะของกระเพาะอาหารแบ่งออกได้ 3 แบบคือ

ก. U-shaped หรือ siphonel type กระเพาะอาหารแบบน้ีมีรูปร่างแบบตวั ยู
โดยกระเพาะตอนทา้ ยของกระเพาะส่วนตน้ ก่อนถึงกระเพาะส่วนปลายมีระยะงอโคง้ ตกทอ้ งชา้ ง หรือ
เป็นกน้ ถุงจนทาใหด้ ูเป็นอกั ษรตวั ยู พบในพวกปลาแรด ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา เป็นตน้

ข. J-shaped หรือ caecal type กระเพาะอาหารแบบน้ีมีรูปร่างแบบตวั เจ
โดยกระเพาะมีลกั ษณะงองุม้ เป็ นมุมแหลมมาก จนไม่มีเหลือเป็ นกน้ ถุง พบในปลาทู ปลาตะลุมพุก
และปลาฉลาม

43

ค. Straight type กระเพาะอาหารแบบน้ีมีรูปร่างแบบตรง โดยที่กระเพาะ
ส่วนตน้ และส่วนปลายอยตู่ ่อเน่ืองกนั และเหยยี ดทอดไปในระดบั เดียวกนั เป็ นเส้นตรง พบในปลา
ช่อน ปลาสลิด และปลานิล

9) ลาไส้เล็ก (intestine) สาไส้ของปลาค่อนขา้ งส้ัน เม่ือเปรียบเทียบกบั สัตว์มี
กระดูกสันหลงั อ่ืน ๆ ปลากินเน้ือมีการย่อยอาหารท่ีเริ่มต้งั แต่กระเพาะและสิ้นสุดในลาไส้ ทาให้
ปลาย่อยอาหารได้ดีและช่วยให้ปลากินอาหารได้มากเท่าท่ีมันจะกินเข้าไปได้ แต่ปลาที่ไม่มี
กระเพาะจะกินอาหารไดจ้ ากดั การย่อยจะเกิดข้ึนเฉพาะในลาไส้ หากกินอาหารมากจะเกิดการ
สูญเสีย เนื่องจากส่วนท่ียงั ไม่ยอ่ ยจะถูกขบั ถ่ายออกไปลาไส้เล็ก แบง่ ออกเป็น 3 ส่วนคือ

(1) ลาไส้เล็กส่วนตน้ (duodenum) เป็ นตอนที่ยาวที่สุดซ่ึงอยูต่ ิดกบั กระเพาะ
อาหาร แต่จะแยกจากกระเพาะอาหาร โดยที่ลาไส้จะมีสีดากวา่ กระเพาะอาหาร เน่ืองจากมีท่อน้าดี
มาเปิ ดบริเวณน้ี มีกลา้ มเน้ือหนาห่อหุม้ ไว้ และเป็นบริเวณท่ีอยขู่ องไส้ต่ิง

(2) ลาไส้เลก็ ส่วนกลาง (jejunum) อยถู่ ดั จากลาไส้เล็กส่วนตน้ มีขนาดส้ันกวา่
แต่ลกั ษณะสีและขนาดอาจไม่แตกต่างกนั ส่วนน้ีอาจจะวนข้ึนทางหัวปลา ก่อนจะถึงลาไส้ตอน
ปลายจะมีรอยรัดแคบเขา้ เล็กนอ้ ย

(3) ลาไส้เล็กส่วนทา้ ย (ileum) เป็ นลาไส้เล็กส่วนทา้ ยสุดที่มีขนาดเล็กแคบ
และส้ันกวา่ ส่วนอื่น เหยยี ดตรงไปทางหาง

ลาไส้เล็กของปลากินเน้ือจะมีสีขาวเหยียดตรงและส้ัน ส่วนปลากินพืชลาไส้จะยาวและมี
สีดาคล้า ดงั แสดงในภาพที่ 2.3

ภาพท่ี 2.3 ความแตกต่างของระบบทางเดินอาหารของปลากินพชื และปลากินเน้ือ
ทม่ี า : สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2552)
10) ลาไส้ใหญ่ (large intestine) อยถู่ ดั จากลาไส้เล็กส่วนทา้ ย เป็ นส่วนสุดทา้ ยของ

ทางเดินอาหาร แยกออกจากลาไส้เล็กโดยรอยคอดก่ิว ผิวภายในมีรอยย่นถ่ีมากกว่าลาไส้เล็ก

44

ทาหนา้ ที่ในการดูดซึมน้าจากกากอาหารท่ียอ่ ยแลว้ ในปลากระดูกออ่ นจะแบ่งลาไส้ออกเป็ น 2 ส่วน
คือ เรคตมั (rectum) และโคลเอกา (cloaca) ส่วนปลากระดูกแขง็ จะมีเรคตมั แลว้ เช่ือมต่อดว้ ยทวาร

11) ทวาร (anus) จดั ว่าเป็ นส่วนสุดทา้ ยของของอวยั วะที่เกี่ยวขอ้ งกบั การย่อย
อาหารของปลาเพราะเป็ นทางออกของกากอาหาร

ระบบทางเดินอาหารปลาประกอบดว้ ยริมฝี ปาก ปาก ฟัน ลิ้น ซี่กรอง ช่องคอหรือคอหอย
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวาร ดงั แสดงในภาพท่ี 2.4

ภาพที่ 2.4 อวยั วะภายในและระบบการยอ่ ยอาหารของปลา
ที่มา : นิรนาม ก (2552)

1.1.2 อวยั วะช่วยย่อยอาหาร (accessory gland) เรียกอีกอยา่ งหน่ึงว่าต่อมสมทบ
มีหนา้ ที่สร้างเอนไซมเ์ พื่อการยอ่ ยอาหาร ประกอบดว้ ยอวยั วะหลายอยา่ งไดแ้ ก่

1) ตบั (liver) เป็ นต่อมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย โดยตบั ของปลากินเน้ือ
จะมีขนาดใหญ่กว่าตบั ปลากินพืช ตบั ปลาจะมีสีเหลืองมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกนั ตบั จะแตกแขนง
เป็นหลายกลีบเหมือนกลีบนิ้วมือ ตบั ปลาทาหนา้ ท่ีสร้างเอนไซมล์ งสู่ลาไส้เล็ก สะสมไขมนั และน้าตาล
ไวใ้ ช้ในยามขาดแคลน และแยกของเสียท่ีเป็ นด่างออกจากน้าดีเก็บไวใ้ นตบั ส่วนน้าดีบริสุทธ์ิถูกนา
ออกจากตบั ไปเก็บที่ถุงน้าดี

2) ตับอ่อน (pancreas) มีต้นกาเนิดจากส่วนของลาไส้ โดยตาแหน่งของ
ตบั อ่อนจะอยู่ท่ีท้ายกระเพาะอาหารตรงบริเวณไส้ติ่งใกล้เคียงกบั มา้ ม ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน
อินซูลินและหลงั่ เอนไซมท์ ี่เก่ียวขอ้ งกบั การยอ่ ยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมนั

3) ถุงน้าดี (gall bladder) มีลกั ษณะเป็ นถุงบางใส รูปร่างค่อนขา้ งกลม สีเขียวแก่
หรือสีน้าเงินแก่ ปลากินเน้ือจะมีถุงน้าดีขนาดใหญ่และสีเขม้ ทาหนา้ ที่สะสมน้าดีท่ีผลิตออกมาจากตบั

45

และหลง่ั น้าดีไปยงั ลาไส้เล็กตอนตน้ เพื่อช่วยยอ่ ยอาหาร น้าดีจะทาให้อาหารจาพวกไขมนั อยใู่ นรูป
สารละลายแขวนลอย ซ่ึงทาให้เอนไซมย์ อ่ ยไขมนั ไดส้ ะดวก

4) ไส้ต่ิง (pyloric) ลกั ษณะเป็ นหลอดปลายตนั ลกั ษณะเป็ นถุงเล็ก ๆ ขนาด
ความกวา้ งความยาวและจานวนข้ึนอยกู่ บั ชนิดของปลา อยบู่ ริเวณทา้ ยของกระเพาะอาหาร ไส้ต่ิงทา
หนา้ ท่ีหลง่ั เอนไซมเ์ พ่อื ช่วยยอ่ ยอาหาร

5) ต่อมในกระเพาะอาหาร (gastric gland) ทาหนา้ ที่หลงั่ กรดเกลือและเปปซินโน
เจนเพือ่ ช่วยยอ่ ยโปรตีน ต่อมน้ีพบในปลากินเน้ือ ไม่พบในปลาท่ีกินพชื เป็นอาหาร

1.2 การกินอาหารและระบบทางเดินอาหารของกุง้
1.2.1 การกินอาหารของกุง้
การกินอาหารของกุง้ จะแตกต่างกนั ตามอายุและชนิดของกุง้ โดยจะกินไดท้ ้งั พืช

และสัตว์ ท้งั ท่ีตายแลว้ และมีชีวติ อยู่ ซ่ึงสามารถแบ่งออกตามระยะของวยั ออ่ นไดด้ งั น้ี
1) ระยะ นอเพลียส (nauplius) ระยะน้ีจะไม่กินอาหารจากภายนอกเนื่องจากมีถุง

ไขแ่ ดง (yolk) ติดอยปู่ ระมาณ 1-2 วนั
2) ระยะ โปรโตซูเอีย (protozoea) เป็ นวยั อ่อนระยะต่อมา เร่ิมกินพืชแพลงก์ตอน

พืชขนาดเล็ก เป็นอาหาร ช่วงปลายของระยะน้ีจะเริ่มกินแพลงกต์ อนสตั วเ์ ป็นอาหารดว้ ย
3) ระยะ ไมซีส (mysis) วยั อ่อนระยะน้ีจะเริ่มกินอาหารท้งั ท่ีเป็ นแพลงกต์ อนพืช

และแพลงกต์ อนสัตว์
4) ระยะโพสลาวา (postlarva) ส่วนมากจะกินแพลงกต์ อนสตั วเ์ ป็นอาหารและเร่ิม

กินสัตวท์ ่ีตายแลว้ เนื่องจากวยั ออ่ นระยะน้ีเตรียมที่จะปรับตวั อาศยั อยบู่ ริเวณผวิ ดิน
5) ระยะ จูเวนไนล์ (juvenile) กุง้ วยั รุ่นกินสัตวแ์ ละพืชที่ตายแลว้ การกินอาหาร

ของกุง้ ระยะน้ีจะเหมือนกบั กุง้ โต คือกินอาหารไดท้ ุกชนิดและหากินเวลากลางคืน การกินอาหาร
ของกุ้งทะเลในระยะน้ีจะใช้ส่วนของแมกซิลา (maxilla) และแมกซิลิเปด (maxilliped) ช่วยจบั
อาหารส่งไปท่ี แมนดิเบิล (mandible) เพื่อฉีกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ แล้วส่งเขา้ ปากผา่ นไปท่ีหลอดอาหาร
และกระเพาะ ถา้ มีอาหารชิ้นใหญ่ ๆ จะถูกส่งคืนไปท่ีบริเวณปาก

1.2.2 ระบบทางเดินอาหาร (digestive tract) ทางเดินอาหารของกุง้ ประกอบดว้ ย
1) ปาก อยดู่ า้ นทอ้ งระหวา่ งแมนดิเบิล ซ่ึงมี incisor process และ molar process

ทาหนา้ ท่ีกดั ฉีกอาหารส่งเขา้ ปาก
2) หลอดอาหาร เป็นทอ่ ส้นั ต่อจากส่วนของปาก
3) กระเพาะ เป็นช่องใหญ่กวา้ งต่อจากส่วนของหลอดอาหารแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ

46

(1) กระเพาะส่วนหน้า (cardiac chamber) เป็ นผนงั บุดว้ ยสารไคติน (chitin)
ภายในมีฟันท่ีผนงั ดา้ นล่างของกระเพาะ 1 แถว และด้านขา้ ง 2 แถว ฟันเหล่าน้ีแข็งแรง เป็ นส่วน
ประกอบของแคลเซียมและผนงั ดา้ นบนจะมีฟันซ่ีเลก็ ๆ หลายอนั

(2) กระเพาะส่วนหลงั (pyloric chamber) ลกั ษณะเป็นท่อกลวง (lumen) ขนาด
เล็กเนื่องจากผนงั ของกระเพาะมว้ นตวั เขา้ มาเป็ นเหมือนรอยพบั ตามยาวทางดา้ นบนและดา้ นล่าง
ทางด้านบนส่วนของรอยพบั จะติดต่อกนั โดยตรงกบั ส่วนของกระเพาะตอนหน้า และรอบฟัน
ด้านล่างจะปิ ดก้ันไปถึงตอนหน้า ทาให้เหลือช่องเปิ ดเล็ก ๆ ระหว่างแถวของขนแข็ง (setose
margin) และสันนูนตามยาวภายในกระเพาะ ท่ีกระเพาะส่วนล่างแยกออกเป็ น 2 ส่วนดว้ ยสันนูน
เป็นแผง ตอนทา้ ยทาหนา้ ที่คลา้ ยฟันอยเู่ หนือส่วนของ hepatic duct เพ่ือนาไปสู่ mid gut และบริเวณ
ผวิ กระเพาะดา้ นขา้ ง ส่วนน้ีจะมีฟันบดละเอียด หรือเรียกวา่ strainer เป็ นแถวยาว แต่ละแถวจะมีขน
อ่อน ๆ คลา้ ยขนนก หรือซ่ีหวี ทาหนา้ ที่กรองอาหาร เลือกขนาดอาหารที่ใชไ้ ดอ้ อกไปและท่ีขนาด
ใหญ่จะถูกส่งกลบั ไปใหม่

การย่อยอาหาร จะเกิดข้ึนภายในส่วนของคาดิแอค โดยแกสตริคมิล จะบดอาหารจนละเอียด
พอแลว้ จะส่งไปท่ีบริเวณกระเพาะส่วนกลางซ่ึงมีฟันบดละเอียด ทาหนา้ ท่ีบดต่อ ซ่ึงจะมีขนเล็ก ๆ ทา
หน้าที่ก้นั อาหารหยาบก่อนจะส่งไปที่กระเพาะตอนล่าง บริเวณน้ีอาหารผ่านการบดละเอียดลกั ษณะ
คลา้ ยของเหลวผสมกบั เอนไซมท์ ี่ผลิตออกมาโดย digestive gland อาหารที่ผา่ นการยอ่ ยละเอียดเหล่าน้ีจะ
ถูกส่งไปที่ hepatic duct เพือ่ ใชป้ ระโยชน์ต่อไป ส่วนที่เหลือซ่ึงไม่สามารถยอ่ ยได้ จะผา่ นต่อไปทาง
ปลายของกระเพาะผา่ นไปทางลาไส้และออกที่รูเปิ ดออกสู่ภายนอกต่อไป

4) ต่อมสร้างเอนไซม์ (hepatopancreas) เป็ นต่อมขนาดใหญ่มีสีเหลืองแกมแดงอยู่
ในช่องอก ซ่ึงเรียกกนั วา่ มนั กุง้ มีหนา้ ท่ีสร้างเอนไซม์และปล่อยเขา้ สู่ทางเดินอาหารตอนกลางและ
ดูดซึมสารอาหารที่ยอ่ ยแลว้ เพอื่ ส่งไปเล้ียงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่อไป

5) ลาไส้ (intestine) มีลกั ษณะเป็ นท่อเล็ก ๆ แคบ ๆ ต่อจากส่วนทา้ ยของ mid gut
หรือ pyloric stomach ทอดยาวไปตามความยาวของลาตวั ทางดา้ นหลงั ขนานไปกบั ท่อไข่ไปเปิ ด
ออกที่รูเปิ ด ซ่ึงอยดู่ า้ งล่างของปลายหาง

6) ทวาร (anus) เป็ นช่องเปิ ดถ่ายกากอาหารอยทู่ ่ีลาตวั ปลอ้ งสุดทา้ ย ระบบทางเดิน
อาหารของกงุ้ ดงั แสดงในภาพที่ 2.5

47

ภาพที่ 2.5 ภาพทางเดินอาหารของกงุ้
ที่มา : นิรนาม ข (2552)

2. ระบบการย่อยอาหารของสัตว์นา้
การกินอาหารของสัตวน์ ้าในข้นั แรก ส่วนมากอาหารจะมีลกั ษณะเป็ นกอ้ นหรือเป็ นชิ้น

ขนาดใหญ่ ดงั น้นั จึงจาเป็ นตอ้ งมีกระบวนการแปรสภาพอาหารเหล่าน้นั ให้มีขนาดเล็ก และอยใู่ น
รูปสารละลาย ซ่ึงสามารถท่ีจะถูกดูดซึมผ่านผนังลาไส้เข้าสู่กระแสเลือดหรือระบบน้าเหลือง
หลงั จากน้นั ร่างกายจึงจะนาเอาสารอาหารไปใชป้ ระโยชน์ในกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกายได้
เช่น อาหารพวกคาร์โบไฮเดรต (แป้ งและน้าตาล) จะถูกยอ่ ยใหเ้ ป็นน้าตาลโมเลกุลเด่ียว เช่น กลูโคส
ฟรุคโตส กาแลคโตส หรือแมนโนส อาหารจาพวกโปรตีนถูกยอ่ ยให้เป็ นกรดอะมิโน ส่วนอาหาร
จาพวกไขมนั จะตอ้ งถูกย่อยให้เป็ นกรดไขมนั และกลีเซอรอล การเปล่ียนแปลงของอาหารขนาด
ต่าง ๆ จากขนาดใหญ่ จนกลายเป็ นอาหารท่ีมีขนาดเล็กลง ซ่ึงเกิดข้ึนในระบบทางเดินอาหารของ
สตั วน์ ้า เรียกวา่ การยอ่ ยอาหาร

การยอ่ ยอาหาร คือ กระบวนการการทางานร่วมกนั ของร่างกายท้งั ทางกลศาสตร์ เช่น การ
เค้ียว การเคลื่อนไหวของกระเพาะ ลาไส้ และทางเคมี (การยอ่ ยโดยเอนไซม)์ เพื่อทาให้อาหารที่กิน
เขา้ ไปมีขนาดเล็กลงเพื่อการดูดซึม และขบั ถ่ายส่วนท่ียอ่ ยไมไ่ ดอ้ อกเป็นกากอาหาร

2.1 วธิ ีการยอ่ ยอาหาร
2.1.1 วิธีกล (mechanical digestion) คือการบดอาหารให้แตกโดยมีขนาดท่ีเล็กลง

เพ่อื ใหเ้ อนไซมส์ ามารถแทรกซึมไดท้ วั่ ถึง ไดแ้ ก่การเค้ียวอาหาร การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
และการหดหรือการบีบตวั ของกลา้ มเน้ือทางเดินอาหาร

48

2.1.2 วิธีทางเคมี (chemical digestion) เป็ นกระบวนการยอ่ ยท่ีตอ้ งอาศยั เอนไซม์ และ
สารอ่ืน ๆ ที่ไมใ่ ช่เอนไซม์ โดยอาหารส่วนใหญ่ที่อยทู่ างเดินอาหารสัตวน์ ้ามกั จะถูกยอ่ ยดว้ ยวธิ ีทาง
เคมี โดยอาศยั เอนไซม์จากต่อมต่าง ๆ ที่อยู่ในทางเดินอาหารและที่ส่งมาจากแหล่งอ่ืน ๆ เช่น
ตบั ออ่ น ส่วนสารอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่เอนไซม์ เช่น กรดเกลือ ซ่ึงจะช่วยละลายแร่ธาตุและช่วยยอ่ ยอาหาร
ประเภทโปรตีน ส่วนน้าดีจะช่วยในการยอ่ ยอาหารประเภทไขมนั เป็นตน้

สัตว์น้ าแต่ละชนิดเลือกกินอาหารที่แตกต่างกัน เนื่องจากเป็ นลักษณะการคัดเลือก
ทางธรรมชาติของส่ิงมีชีวติ เพอ่ื ความอยรู่ อด ทาให้สัตวน์ ้าแต่ละชนิดมีนิสัยการกินอาหารที่แตกต่าง
กนั รวมไปถึงลกั ษณะของการเลือกชนิดของอาหารก็แตกต่างไปดว้ ย

2.2 ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การยอ่ ยอาหารของสัตวน์ ้า
2.2.1 ชนิดของสัตวน์ ้า ความแตกต่างของระบบทางเดินอาหารของสัตวน์ ้าแต่ละชนิด

จะมีประสิทธิภาพในการยอ่ ยอาหารไดต้ ่างกนั ในสัตวน์ ้าบางชนิดท่ีไม่มีกระเพาะอาหารแท้ เช่น ปลา
นวลจนั ทร์ ปลาไน เป็ นตน้ จะไม่สามารถสร้างกรดที่ใชส้ าหรับกระบวนการยอ่ ยอาหารได้ แต่สาหรับ
การย่อยฟอสฟอรัสในกระดูกป่ นหรือการย่อยไตรแคลเซียมฟอสเฟต ต้องอาศยั กรดในการย่อย
สัตวน์ ้าที่ไม่มีกระเพาะอาหารแท้ จึงไม่สามารถย่อยฟอสฟอรัสจากกระดูกป่ นได้ นอกจากน้ีชนิด
และปริมาณเอนไซม์จะมีผลทาให้สัตวน์ ้ายอ่ ยอาหารไดต้ ่างกนั เช่น ปลากินพืชจะมีเอนไซม์ที่ใช้
สาหรับยอ่ ยแป้ งมากกวา่ ปลากินเน้ือ

2.2.2 อายุ ระบบทางเดินอาหารในสัตวน์ ้าท่ีมีอายุนอ้ ยเป็ นระบบท่ีพฒั นาไดไ้ ม่เต็มที่
จึงทาใหร้ ะบบการยอ่ ยอาหารมีประสิทธิภาพต่ากวา่ สัตวน์ ้าโตเตม็ วยั

2.2.3 สภาพร่างกาย สัตวน์ ้าท่ีถูกรบกวนทาให้เกิดความเครียด ส่งผลทาให้การกิน
อาหารและการขบั ถ่ายผดิ ปกติ

2.2.4 อุณหภูมิ ระดบั อุณหภูมิสูงสัตวน์ ้ากินอาหารได้มากและย่อยอาหารได้ดีกว่า
ท่ีอุณหภูมิต่า เพราะปลาและกงุ้ เป็นสัตวเ์ ลือดเยน็

2.2.5 องคป์ ระกอบของอาหาร เช่น ชนิดและขนาดของวตั ถุดิบ ความสุกของวตั ถุดิบ
และปริมาณแป้ งในอาหาร

3. ชนิดของเอนไซม์ทยี่ ่อยอาหาร

การยอ่ ยอาหารเป็นกระบวนการท่ีอาหารในท่อทางเดินอาหารถูกยอ่ ยให้มีขนาดเล็กลง เพ่ือ
ดูดซึมเขา้ ผนงั ทางเดินอาหารเขา้ ไปในเลือด โดยโปรตีนจะถูกยอ่ ยเป็ นกรดอะมิโนส่วนไขมนั จะถูก
ย่อยเป็ นกรดไขมนั และกลีเซอรอล และคาร์โบไฮเดรตถูกย่อยเป็ นน้าตาล เอนไซม์ย่อยอาหารหรือ
เอนไซมท์ ่ีพบทว่ั ไปไดแ้ ก่ เอนไซมย์ อ่ ยโปรตีน เอนไซมย์ อ่ ยคาร์โบไฮเดรต และเอนไซมย์ อ่ ยไขมนั

49

3.1 การยอ่ ยโปรตีน เอนไซมท์ ่ียอ่ ยโปรตีนพบท่ีกระเพาะอาหารและลาไส้ ชนิดของเอนไซมท์ ่ี
พบได้แก่ เปปซิน (pepsin) ทริปซิน (tripsin) คยั โมทริปซิน (chymotripsin) คาร์บอกซิเปปทิเดส
(carboxypeptidase) อิลาสเทส (elastase) ไตรเปปทิเดส (tripeptided) ไดเปปทิเดส (dipeptided) และ
อะมิโนเปปทิเดส (aminopeptided)

3.2 การย่อยไขมนั ส่วนใหญ่เกิดข้ึนที่ลาไส้เล็ก โดยอาศยั เอนไซม์ไลเปส (lipase) ทางาน
ร่วมกับน้าดี ซ่ึงมีกรดโคลิก (cholic acid) และกรดทอโรซีโนเดสออกซีโคลิก (taurocheno-
desoxycholic acid) เป็นองคป์ ระกอบ เพ่อื ยอ่ ยไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ของกรดไขมนั กรดเหล่าน้ี
รวมท้งั น้าดีจะช่วยใหไ้ ขมนั มีพ้ืนผวิ มากข้ึน

3.3 การยอ่ ยคาร์โบไฮเดรต เอนไซมย์ อ่ ยคาร์โบไฮเดรตที่พบในกระเพาะอาหารและลาไส้
ไดแ้ ก่ อะไมเลส (amylase) กลูโคซิเดส (glucosidase) มอลเตส (maltase) ซูเครส (sucrase) แลกเตส
(lactase) และเซลลูเลส (cellulase)

4. ความสามารถในการย่อยอาหาร

ปลาแต่ละชนิดมีความสามารถในการยอ่ ยสารอาหารที่แตกตา่ งกนั ท้งั น้ีเนื่องจากเอนไซมท์ ี่
ใชใ้ นการยอ่ ยอาหารจะแตกต่างกนั ตามแต่ละชนิดของปลา ตวั อยา่ ง เช่น ปลากินเน้ือมีเอนไซมท์ ี่ใช้
ในการย่อยที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสารอาหารกลุ่มโปรตีนไดด้ ีกว่าปลากินพืช หรือกินท้งั พืช
ท้ังเน้ือ ในทางกลับกัน ปลาที่กินพืช มีเอนไซม์ที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสารอาหารกลุ่ม
คาร์โบไฮเดรตไดด้ ีกวา่ ปลาท่ีกินเน้ือ เป็ นตน้ การย่อยสารอาหารเพ่ือให้ไดส้ ารอาหารท่ีมีโมเลกุล
ขนาดเล็ก และพร้อมท่ีปลาจะนาไปใชป้ ระโยชน์ไดน้ ้นั นบั วา่ ตอ้ งใชก้ ระบวนการท่ีสลบั ซบั ซ้อน
และมีเอนไซมเ์ ขา้ มาเก่ียวขอ้ ง สาหรับสารอาหารที่จาเป็ นตอ้ งยอ่ ยให้ไดโ้ มเลกุลเล็ก ๆ เพ่ือใหป้ ลา
นาไปใชป้ ระโยชน์ไดน้ ้นั มีเพียง 3 ชนิด คือ โปรตีน ไขมนั และคาร์โบไฮเดรต เท่าน้นั ส่วนกลุ่ม
แร่ธาตุและวิตามิน ปลาสามารถดูดซึมเขา้ สู่ร่างกายและนาไปใช้ประโยชน์ไดท้ นั ที ซ่ึงการย่อย
สารอาหารท้งั 3 ชนิดมีรายละเอียด ดงั น้ี

4.1 การย่อยโปรตีน ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนของปลาข้ึนอยู่กบั ชนิดของปลาและ
แหล่งท่ีมาของโปรตีน ปลาที่กินเน้ือเป็ นอาหาร มีความสามารถในการยอ่ ยโปรตีนไดด้ ีกว่าปลาท่ี
กินพืช เพราะปลาที่กินเน้ือส่วนใหญ่มีปริมาณเอนไซม์ที่สามารถยอ่ ยโปรตีนไดม้ ากกวา่ นอกจากน้ี
โปรตีนที่ไดม้ าจากสัตว์ ยอ่ ยไดง้ ่ายกวา่ โปรตีนท่ีมาจากพืช ดงั น้นั ปลาส่วนใหญ่จึงใชป้ ระโยชน์จาก
โปรตีนที่มาจากสตั วไ์ ดด้ ีกวา่ โปรตีนท่ีมาจากพชื

การย่อยโปรตีนของปลา เร่ิมต้นที่กระเพาะอาหาร และต่อเน่ืองไปยงั ส่วนของลาไส้
จากน้นั กระเพาะอาหารจะเริ่มหลงั่ กรดเกลือ และเปปซิโนเจน ในขณะที่มีกรดเกลือ เปปซิโนเจน

50

จะถูกเปล่ียนไปเป็นเปปซิน ซ่ึงเป็นเอนไซมย์ อ่ ยโปรตีน ในสภาพท่ีเป็นกรด พีเอช ประมาณ 1.5-2.5
เปปซินจะมีประสิทธิภาพในการยอ่ ยโปรตีนไดด้ ีมาก สาหรับการยอ่ ยในส่วนของลาไส้ ต่อมท่ีฝังอยู่
ในลาไส้เล็กและตบั อ่อน จะทาหน้าท่ีหลั่งเอนไซม์ช่วยย่อยโปรตีน ในสภาพที่เป็ นด่าง พีเอช
ประมาณ 7-9 เอนไซมย์ อ่ ยโปรตีนจะมีประสิทธิภาพในการยอ่ ยไดด้ ีมาก เอนไซมท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั การ
ยอ่ ยโปรตีนบริเวณลาไส้ เช่นทริปซิน คยั โมทริปซิน คาร์บอกซิเปปทิเดส อิลาสเทส ไตรเปปทิเดส
ไดเปปทิเดส และอะมิโนเปปทิเดส โปรตีนซ่ึงเป็ นสารอินทรียท์ ี่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ จะถูกยอ่ ยให้
กลายเป็ นกรดอะมิโน และถูกดูดซึมผ่านผนงั กระเพาะอาหารและผนงั ลาไส้เขา้ สู่กระแสเลือดเพื่อ
นาไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป

4.2 การยอ่ ยไขมนั ประสิทธิภาพการยอ่ ยไขมนั ไม่ไดข้ ้ึนอยกู่ บั ชนิดของปลา ปลาส่วนใหญ่
สามารถย่อยไขมันได้ดี ประสิทธิภาพการย่อยข้ึนอยู่กับแหล่งไขมนั มากกว่า ปลาส่วนใหญ่มี
แนวโนม้ ท่ีจะยอ่ ยไขมนั จากพืชไดด้ ีกวา่ ไขมนั จากสตั ว์ หรือยอ่ ยกรดไขมนั ที่ไม่อ่ิมตวั ไดด้ ีกวา่ กรด
ไขมนั ท่ีอิ่มตวั การยอ่ ยไขมนั เริ่มต้งั แตก่ ระเพาะอาหาร ไส้ต่ิง และลาไส้ ส่วนใหญ่การยอ่ ยไขมนั จะ
เกิดข้ึนท่ีลาไส้เล็ก โดยเร่ิมจากน้าดีที่หลั่งมาจากถุงน้าดีทาให้ไขมนั มีการแตกตวั อยู่ในรูปของ
สารละลายแขวนลอย ทาให้ไขมันมีพ้ืนที่ผิวมากข้ึนเพื่อให้เอนไซม์ทาการย่อยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน โดยผนงั ลาไส้และตบั ออ่ น จะผลิตเอนไซมไ์ ลเปส และเอสเทอเรส เพื่อช่วย
ในการยอ่ ยไขมนั ใหก้ ลายเป็ นกลีเซอรอล และกรดไขมนั แลว้ ถูกดูดซึมผา่ นผนงั ลาไส้และไส้ต่ิงเขา้
สู่ระบบน้าเหลือง โดยท่ีน้าดีช่วยทาใหอ้ าหารในลาไส้มีสภาพเป็ นด่าง ซ่ึงช่วยทาให้การดูดซึมกรด
ไขมนั และวติ ามินท่ีละลายในไขมนั ไดด้ ียงิ่ ข้ึน

4.3 การยอ่ ยคาร์โบไฮเดรต การย่อยคาร์โบไฮเดรตเกิดท้งั ในกระเพาะอาหารและลาไส้
เอนไซมท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การยอ่ ย ไดแ้ ก่ อะไมเลส กลูโคซิเดส ซูเครส มอลเตส และแลกเตส สาหรับ
ปลาที่กินพืชที่มีเซลลูโลส เป็ นอาหาร ปกติจะไม่สามารถหลัง่ เอนไซม์เซลลูเลส ออกมาย่อย
เซลลูโลสได้ การย่อยเซลลูโลสตอ้ งอาศยั จุลินทรียใ์ นลาไส้ช่วยหลง่ั เซลลูเลสออกมา จุลินทรียใ์ น
ลาไส้จึงมีบทบาทสาคญั ในการย่อยอาหาร นอกจากน้ีจุลินทรียใ์ นลาไส้ยงั สามารถสังเคราะห์
สารอาหารบางอยา่ งและวิตามินให้กบั ร่างกายดว้ ยคาร์โบไฮเดรตภายหลงั จากถูกยอ่ ย ส่วนใหญ่จะ
ถูกดูดซึมไดด้ ีในรูปของโมโนแซคคาร์ไรด์ หรือน้าตาลโมเลกลุ เด่ียว เช่น กลูโคส เป็นตน้

5. อตั ราการย่อยอาหารของสัตว์นา้

อตั ราการย่อยอาหารหมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการย่อยและเคลื่อนยา้ ยอาหารภายใน
ท่อทางเดินอาหารต้งั แต่ปากถึงช่องทวาร อตั ราการย่อยอาหารจะทาให้ทราบว่า อาหารถูกยอ่ ยช้า
หรือเร็วเพียงใด ซ่ึงปริมาณอาหารท่ีเหลือในกระเพาะอาหารมีความสัมพนั ธ์ตรงกนั ขา้ มกบั ความ

51

อยากกินอาหารของสัตวน์ ้า โดยถา้ อาหารในกระเพาะมีอาหารเหลือมาก จะทาให้สัตวน์ ้าอยากกิน
อาหารน้อย อตั ราการย่อยอาหารของสัตวน์ ้าแต่ละชนิดจะแตกต่างกนั ไป เช่น ปลาท่ีมีกระเพาะ
อาหารจะมีอตั ราการยอ่ ยชา้ กวา่ ปลาท่ีไมม่ ีกระเพาะอาหารเน่ืองจากอตั ราการยอ่ ยอาหารของสัตวน์ ้า
มีปัจจยั ดงั น้ี

5.1 ขนาดของอาหาร อาหารขนาดใหญ่จะยอ่ ยไดช้ า้ กวา่ อาหารขนาดเลก็
5.2 ขนาดของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าขนาดใหญ่ใชเ้ วลาท่ีอาหารหมดจากกระเพาะอาหารนานกวา่
สัตว์น้าขนาดเล็กเน่ืองจากสัตวน์ ้าขนาดใหญ่มีความจุของอาหารมากกว่าจึงใช้เวลาในการย่อย
มากกวา่
5.3 อุณหภมู ิ มีความสัมพนั ธ์โดยตรงกบั การยอ่ ยอาหาร โดยอุณหภูมิสูงจะทาใหอ้ าหารยอ่ ย
ไดเ้ ร็วข้ึน อาหารจึงหมดเร็วข้ึน เม่ืออุณหภูมิต่าจึงไม่ควรใหอ้ าหารบ่อยคร้ังเพราะจะยอ่ ยอาหารไดช้ า้
5.4 องค์ประกอบของอาหาร เช่น แป้ งดิบ เซลลูโลส หรืออาหารยอ่ ยยากจะทาให้อาหาร
ถูกขบั ออกจากกระเพาะอาหารเร็วข้ึน
5.5 วธิ ีการผลิตอาหาร การใชค้ วามร้อนสูงเกินไปหรือการทาใหแ้ หง้ เกินไป จะลดอตั ราการ
ยอ่ ยอาหารได้

6. ประสิทธิภาพการย่อยอาหารของสัตว์นา้

เป็ นค่าท่ีแสดงใหท้ ราบวา่ สัตวน์ ้ามีความสามารถในการย่อยอาหารหรือสารอาหารต่าง ๆ
ไดด้ ีเพยี งไร ซ่ึงแตกต่างจากอตั ราการยอ่ ยท่ีจะแสดงถึงการยอ่ ยเร็วหรือชา้ โดยทว่ั ไปอาหารท่ีกินเขา้
ไปจะถูกยอ่ ยจากโมเลกลุ ขนาดใหญใ่ หม้ ีขนาดเล็กลง และถูกดูดซึมผา่ นผนงั ของกระเพาะหรือลาไส้
แล้วนาไปเผาผลาญให้เกิดพลงั งาน ฉะน้นั การประเมินประสิทธิภาพการย่อยอาหารของสัตวน์ ้า จึง
คานวณจากผลต่างของอาหารท่ีสัตวก์ ินเขา้ ไปกบั อุจจาระที่ถ่ายออกมา นนั่ คืออาหารท่ีถูกยอ่ ยหรือ
ถูกดูดซึมเขา้ ไปนน่ั เอง

ได้มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพการย่อยอาหารของปลาชนิดต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย
(ประสิทธิภาพการยอ่ ยอาหารของปลาชนิดต่าง ๆ ไม่วา่ ปลากินพืช ปลากินอินทรียวตั ถุ ปลากินเน้ือ
และปลากินพืชและเน้ือไดม้ ีการศึกษาอย่างแพร่หลายทวั่ ไป) ปลากินพืช และปลากินอินทรียวตั ถุ
มกั จะมีสัมประสิทธ์ิการย่อยอาหารต่ากว่าปลากินเน้ือ เนื่องจากอาหารส่วนใหญ่ท่ีเป็ นพืช หรือ
อินทรียวตั ถุจะยอ่ ยไดย้ ากกว่าเน้ือ ถึงแมว้ ่าปลากินพืชและปลากินอินทรียวตั ถุจะมีการพฒั นาของ
ท่อทางเดินอาหารช่วยในการย่อยอาหาร และยงั มีจุลินทรียใ์ นลาไส้ที่ติดเขา้ มาพร้อมกบั พืชหรือ
อินทรียวตั ถุขณะกินอาหาร จะช่วยทาหน้าที่ย่อยและดูดซึมอาหารก็ตาม ประสิทธิภาพการย่อย
อาหารแต่ละประเภทของปลาพอสรุปได้ 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี

52

6.1 ประสิทธิภาพการยอ่ ยโปรตีน (protein digestibility) โดยทวั่ ไปปลามีประสิทธิภาพ การยอ่ ย
โปรตีนไดด้ ี โดยปลากินเน้ือมีประสิทธิภาพการยอ่ ยโปรตีนดีท่ีสุด เพราะมีเอนไซมย์ อ่ ยโปรตีนปริมาณ
มากกวา่ ปลาชนิดอ่ืน ๆ

6.2 ประสิทธิภาพการยอ่ ยคาร์โบไฮเดรต (carbohydrate digestibility) ข้ึนอยูก่ บั ชนิดของ
ปลา ชนิดแป้ ง ปริมาณและความสุกของแป้ ง ปลากินพืชมีประสิทธิภาพการยอ่ ยคาร์โบไฮเดรต ได้
ดีกวา่ ปลากินพชื และเน้ือ และปลากินเน้ือ เนื่องจากปลากินพืชมีเอนไซมย์ อ่ ยคาร์โบไฮเดรตปริมาณ
มากกวา่ โดยพบวา่ ปลาสามารถยอ่ ยน้าตาลไดด้ ีกวา่ แป้ ง และยอ่ ยแป้ งไดด้ ีกวา่ เซลลูโลส

6.3 ประสิทธิภาพการยอ่ ยไขมนั (lipid digestibility) ปลามีประสิทธิภาพในการยอ่ ยไขมนั
ไดด้ ี เพราะปลาส่วนมากมีความตอ้ งการไขมนั ในปริมาณนอ้ ย เมื่อเปรียบเทียบกบั โปรตีน และอีก
ท้งั ปริมาณไขมนั ท่ีมีในอาหารธรรมชาติหรืออาหารสาเร็จรูปอย่ใู นเกณฑ์ต่าจึงทาให้เอนไซมย์ อ่ ย
ไขมนั ไดด้ ี ประสิทธิภาพการยอ่ ยไขมนั ข้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบหรือชนิดของกรดไขมนั

7. ระบบการดูดซึมอาหารของสัตว์นา้

อาหารท่ีผา่ นกระบวนการยอ่ ยจนไดส้ ารอาหารท่ีมีโมเลกุลขนาดเล็ก จากน้นั จะถูกดูดซึม
ผา่ นผนงั ลาไส้เล็กแลว้ ส่งไปยงั กระแสเลือด หรือน้าเหลืองเพื่อส่งไปยงั ตบั และส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายสัตว์น้า สาหรับการดูดซึมบริเวณลาไส้ของปลา ผลิตผลจากการย่อยโปรตีน ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต วิตามิน แร่ธาตุ และเกลืออนินทรียจ์ ะถูกดูดซึมดว้ ยกลไกท่ีแตกต่างกนั โดยไขมนั
หรือไลปิ ดดส่วนใหญจ่ ะถูกดูดซึมผา่ นเขา้ ระบบน้าเหลือง ส่วนกลูโคสและกรดอะมิโนจะถูกดูดซึม
เขา้ กระแสเลือด ระบบการดูดซึมสารอาหารชนิดต่าง ๆ มีลกั ษณะดงั น้ี

7.1 การดูดซึมโปรตีน หลงั จากโปรตีนถูกยอ่ ยจนไดก้ รดอะมิโนเรียบร้อยแลว้ กรดอะมิโน
ท่ีไดจ้ ะถูกดูดซึมผา่ นลาไส้โดยวธิ ีแอคทีฟ ทรานสปอร์ต ซ่ึงเป็นกระบวนการที่สารที่อยใู่ นของเหลว
ท่ีมีความเขม้ ขน้ นอ้ ยกวา่ จะถูกดูดซึมผา่ นผนงั เซลล์เขา้ ไปยงั ส่วนที่มีความเขม้ ขน้ มากกว่า โดยใช้
พลงั งานจานวนหน่ึง ซ่ึงกรดอะมิโนจะซึมผ่านผนงั ลาไส้ โดยจะไปรวมตวั กบั ไลโปโปรตีนและ
สารอ่ืน ๆ อีกได้แก่ วิตามินบี 6 แมงกานีส และเหล็ก ซ่ึงจะช่วยให้กรดอะมิโนซึมผ่านเขา้ สู่ผนงั
ลาไส้ไดด้ ีย่งิ ข้ึน การดูดซึมกรดอะมิโนจะข้ึนอยกู่ บั ปริมาณไลโปโปรตีนในผนงั ลาไส้ซ่ึงทาหนา้ ที่
เป็นตวั นากรดอะมิโน ความสามารถในการซึมผา่ นผนงั ลาไส้ของกรดอะมิโนแต่ละชนิดจะใชเ้ วลา
ไม่เท่ากนั เช่น เมไธโอนีน ลูซีน ไอโซลูซีน วาลีน จะซึมผา่ นผนงั ลาไส้ไดเ้ ร็วมาก แต่ทรีโอนีนซึม
ผา่ นไดช้ า้ กวา่ กรดอะมิโนชนิดอ่ืน

โปรตีนจะถูกดูดซึมได้จะตอ้ งอยู่ในรูปของเปปไทด์ หรือกรดอะมิโนอิสระ ซ่ึงสารท่ีมี
โครงสร้างทางเคมีที่คลา้ ยคลึงกนั อาจจะมีการแข่งขนั เช่น แอล-วาลีน (L-valine) และแอล-เมทไธ

53

โอนีน (L-methionine) ซ่ึงจะเป็ นตวั ยบั ย้งั กระบวนการดูดซึมส่วนแอล-ลูซีน (L-leucine) และ
กลูโคส สามารถยบั ย้งั การดูดซึมแอล-ไลซิน (L-lysine) ท่ีเกิดข้ึนภายในบริเวณลาไส้ไดเ้ ช่นกนั

7.2 การดูดซึมไขมนั สัตวน์ ้าสามารถดูดซึมไขมนั ท่ีอยใู่ นรูปของกรดไขมนั ได้ โดยเฉพาะ
กรดไขมนั ประเภทโมโนกลีเซอไรด์ และไดกลีเซอไรด์ และส่วนน้อยจะท่ีดูดซึมไขมนั ที่อยใู่ นรูป
ของกรดไขมนั กรดไขมนั ชนิดโมเลกุลส้ันที่มีจานวนคาร์บอนไม่เกิน 8-10 อะตอม จะสามารถดูด
ซึมไดเ้ ร็วกวา่ กรดไขมนั ชนิดโมเลกุลยาว เช่น กรดไขมนั ที่มีคาร์บอน 16-18 อะตอม เป็ นตน้ ซ่ึงการ
ดูดซึมลกั ษณะน้ีจะพบมากบริเวณผนงั ลาไส้ และไพโลริค ซีกา (pyloric ceca) โดยจะดูดซึมเขา้ สู่
ระบบน้าเหลืองจากน้นั จึงเปลี่ยนรูปเป็นไตรกลีเซอไรด์

ไขมนั จาพวกฟอสฟอไลปิ ดบางชนิด เช่น เลซิธิน อาจถูกดูดซึมโดยตรง โดยไม่ตอ้ งผา่ น
กระบวนการยอ่ ยอีก แต่บางชนิดที่จะตอ้ งผา่ นกระบวนการยอ่ ยตอ่ ให้ไดเ้ ป็ นโคลีนก่อนแลว้ จึงมีการ
ดูดซึมตอ่ ส่วนไขมนั พวกโคเลสเตอรอล หากอยใู่ นรูปของโคเลสเตอรอลเอสเทอร์ จาเป็ นอยา่ งยิง่ ที่
จะตอ้ งถูกยอ่ ยโดยเอนไซมโ์ คเลส เอสเทอเรส เพื่อไดเ้ ป็ นโคเลสเตอรอลในรูปอิสระก่อน จึงจะถูก
ดูดซึมเขา้ สู่ผนงั ลาไส้เลก็ ไดโ้ ดยอาศยั น้าดีเป็ นตวั ช่วยหลงั จากที่มีการดูดซึมแลว้ โคเลสเตอรอลก็จะ
ไปรวมตัวกับโปรตีนเช่นเดียวกับไตรกลีเซอไรด์และฟอสฟอไลปิ ดให้ได้เป็ นไคโลไมครอน
(chylomicron) เพื่อท่ีจะขนส่งไปตามระบบน้าเหลือง

7.3 การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต คาร์โบไฮเดรตส่วนใหญ่จะถูกดูดซึมในรูปของกลูโคส
โดยกลไกการดูดซึมกลูโคส ในลาไส้ของปลายงั มีขอ้ สรุปที่ไม่แน่นอน ซ่ึงยงั ไม่ทราบแน่ชดั วา่ เกิด
จากความแตกต่างของชนิดสตั วน์ ้า หรือความแตกต่างของกลไกท่ีควบคุมการทางาน โดยทว่ั ไป การ
ดูดซึมกลูโคสของสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ช้นั สูง จะเกิดควบคู่กบั โซเดียมอิออน คือ จะมีกลูโคสและ
โซเดียมอิออนอยอู่ ยา่ งละ 1 โมเลกลุ ซ่ึงจะถูกดูดซึมพร้อมกนั โดยใชต้ วั พาตวั เดียวกนั แต่พบวา่ ปลา
บางชนิดเช่น ปลาฟลาวเ์ ดอร์ จะดูดซึมกลูโคสเขา้ สู่ลาไส้โดยไมต่ อ้ งใชโ้ ซเดียมอิออน

สรุป
ปลามีพฤติกรรมการกินอาหารไม่เหมือนกันโดยทวั่ ไปแบ่งชนิดของปลาตามลกั ษณะ

การกินอาหารไดด้ งั น้ีคือ จาแนกตามลกั ษณะอาหารที่กินไดแ้ ก่ ปลากินพืช ปลากินเน้ือ ปลากินท้งั
พืชและเน้ือ ปลากินซากเน่าเป่ื อยตามพ้ืนน้า ปลากินแพลงกต์ อน ปลาท่ีเป็ นปรสิตหรือตวั เบียฬ การ
จาแนกตามนิสัยการกินอาหารไดแ้ ก่ ปลาล่าเหยอ่ื ปลาแทะเล็ม ปลากินอาหารโดยการกรอง ปลากิน
อาหารแบบดูด และปลาที่เป็นปรสิต เป็นตน้

เม่ือปลาไดร้ ับอาหารเขา้ ไปแล้วร่างกายยงั ไม่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดท้ นั ทีจะตอ้ ง
ผา่ นกระบวนการยอ่ ยใหโ้ มเลกุลมีขนาดเล็กลงก่อน จึงจะดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือด แลว้ ถูกเผาผลาญใน
ระดบั เซลล์ให้พลงั งานออกมาเพ่ือใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ระบบทางเดินอาหารของปลาประกอบดว้ ย

54

ริมฝี ปาก ปาก ฟัน ลิ้น ซี่กรอง ช่องคอหรือคอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้
ใหญ่ และทวาร นอกจากน้ีปลายงั มีอวยั วะช่วยยอ่ ยอาหาร หรือเรียกวา่ ต่อมสมทบไดแ้ ก่ ตบั ตบั อ่อน
ถุงน้าดี ไส้ติ่ง และต่อมในกระเพาะอาหาร การกินอาหารของกุง้ จะแตกต่างกนั ตามอายุและชนิด
ของกุ้ง โดยจะกินได้ท้งั พืชและสัตวท์ ้ังที่ตายแล้ว และมีชีวิตอยู่ ระบบทางเดินอาหารของกุ้ง
ประกอบดว้ ย ปาก หลอดอาหาร กระเพาะ ตอ่ มสร้างเอนไซม์ ลาไส้ และทวาร

การยอ่ ยอาหาร คือ กระบวนการทางานร่วมกนั ของร่างกายท้งั ทางกลศาสตร์ เช่น การเค้ียว
การเคล่ือนไหวของกระเพาะ ลาไส้ และทางเคมี (การยอ่ ยโดยเอนไซม)์ เพื่อทาให้อาหารที่กินเขา้ ไป
มีขนาดเล็กลงเพื่อการดูดซึม และขบั ถ่ายส่วนที่ยอ่ ยไม่ไดอ้ อกเป็ นกากอาหาร ปัจจยั ที่มีผลต่อการยอ่ ย
อาหารของสัตวน์ ้า ไดแ้ ก่ ชนิดของสัตวน์ ้า อายุ สภาพร่างกาย อุณหภูมิและองคป์ ระกอบของอาหาร
ซ่ึงในการยอ่ ยอาหารเอนไซมท์ ี่ยอ่ ยอาหารแบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 ส่วนที่สาคญั คือ การยอ่ ยโปรตีน การยอ่ ย
ไขมนั การยอ่ ยคาร์โบไฮเดรต โดยอตั ราการยอ่ ยอาหารของสัตวน์ ้าข้ึนอยูก่ บั ขนาดของอาหาร ขนาด
ของสตั วน์ ้า อุณหภมู ิ และวธิ ีการผลิตอาหาร เป็นตน้

ประสิทธิภาพการยอ่ ยอาหาร เป็ นค่าที่แสดงให้ทราบวา่ สัตวน์ ้ามีความสามารถในการยอ่ ย
อาหารหรือสารอาหารต่าง ๆ ไดด้ ีเพียงไร ประสิทธิภาพการยอ่ ยอาหารแต่ละประเภทของปลา พอ
สรุปได้ 3 ลกั ษณะคือ ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีน ประสิทธิภาพการย่อยคาร์โบไฮเดรตและ
ประสิทธิภาพการยอ่ ยไขมนั

การดูดซึมอาหาร อาหารที่ผา่ นกระบวนการยอ่ ยจนไดส้ ารอาหารที่มีโมเลกลุ มีขนาดเล็ก
จากน้นั จะถูกดูดซึมผา่ นผนงั ลาไส้เลก็ แลว้ ส่งไปยงั กระแสเลือด หรือน้าเหลืองเพ่ือส่งไปยงั ตบั และ
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายสัตวน์ ้า

บทท่ี 3

ประเภทของอาหารสัตว์นา้

สาระสาคัญ
อาหารที่นามาใชเ้ ล้ียงสัตวน์ ้ามีอยมู่ ากมาย แต่ถา้ จดั เป็ นประเภท ๆ สามารถแบ่งไดเ้ ป็ น 2

ประเภทใหญ่ ๆ คือ อาหารธรรมชาติ ปริมาณอาหารธรรมชาติที่มีอยใู่ นแหล่งน้า ข้ึนอยกู่ บั ปริมาณ
ธาตุอาหารพืช และความอุดมสมบูรณ์ของดินซ่ึงมีปริมาณจากดั อาหารธรรมชาติจึงมีความสาคญั
ต่อการเล้ียงสัตวน์ ้าแบบด้งั เดิมหรือก่ึงพฒั นามาก อาหารสมทบหมายถึงอาหารทุกชนิดที่นามาใช้
เล้ียงสัตวน์ ้า และสัตวน์ ้าสามารถกินไดไ้ ม่วา่ อาหารน้นั จะเป็ นอะไร เช่น เศษผกั เศษหญา้ เศษเหลือ
จากโรงงานอุตสาหกรรม เศษอาหารจากครัวเรือน อาหารสด อาหารสาเร็จรูป ตลอดจนซากสัตว์
และอ่ืน ๆ จดั เป็นอาหารสมทบท้งั สิ้น

จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์ทว่ั ไป
เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจและเห็นความสาคญั ประเภทของอาหารสตั วน์ ้า

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. จาแนกประเภทของอาหารสัตวน์ ้าได้
2. อธิบายประเภทและลกั ษณะของอาหารธรรมชาติได้
3. อธิบายประเภทและลกั ษณะของอาหารสมทบได้

หวั ข้อเรื่อง
1. อาหารธรรมชาติ
2. อาหารสมทบ

เนือ้ หาสาระ
อาหารสัตว์น้าโดยทว่ั ไปสามารถแบ่งได้เป็ นหลายประเภท อาหารแต่ละประเภทต่าง

มีความเหมาะสมกบั ชนิด ขนาด รวมถึงวธิ ีการและรูปแบบการเล้ียงสตั วน์ ้า โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้
สัตวน์ ้าไดก้ ินอาหารและได้รับสารอาหารตามความตอ้ งการของสัตวน์ ้าอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
อาหารสัตวน์ ้าแบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ อาหารธรรมชาติ (natural food) และอาหาร
สมทบ (supplemental food)

64

1. อาหารธรรมชาติ

อาหารธรรมชาติ หมายถึง สิ่งมีชีวติ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติในแหล่งน้า หรือในบ่อเล้ียง
สัตวน์ ้า สัตวน์ ้าท่ีอาศยั อยู่สามารถกินเป็ นอาหารได้ อาหารธรรมชาติ มีมากมายหลายชนิด ซ่ึงมี
ความสมั พนั ธ์และเกี่ยวขอ้ งกนั เป็ นวงจรทางชีววิทยา (biological cycle) เริ่มตน้ จากธาตุอาหารต่างๆ
ภายในบ่อละลายอยใู่ นน้าหรือชะลา้ งมาจากพ้ืนดินเวลาฝนตก หรืออยใู่ นรูปของฝ่ ุนผงท่ีปลิวลงไป
ในน้า ธาตุอาหารเหล่าน้ีถูกพชื สีเขียวในน้าเอาไปใชใ้ นการเจริญเติบโตไปเป็ นเน้ือเยอ่ื พืช โดยอาศยั
แสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์ พืชเหล่าน้ีไดแ้ ก่ พวกแพลงกต์ อนพืช สาหร่าย จอก แหน ผกั บุง้
ไขน่ ้า เป็ นตน้ สัตวจ์ ะกินพืชและสัตวด์ ว้ ยกนั เองเป็ นอาหาร เมื่อพืชและสัตวเ์ หล่าน้ีตายไป ก็จะเน่า
เป่ื อยถูกแบคทีเรียยอ่ ยสลายกลายไปเป็นธาตุอาหารตอ่ ไป ดงั แสดงในภาพที่ 3.1

อนินทรียธ์ าตใุ นดิน อินทรียธ์ าตใุ นดิน อินทรียธ์ าตใุ นอากาศ

แพลงกต์ อนพืช น้าในบ่อ พืชน้า
บ่อ

แพลงกต์ อนสตั ว์

สตั วน์ ้ากินแพลงกต์ อน สตั วน์ ้ากินพืช
และ

สตั วน์ ้าวยั อ่อน

ภาพที่ 3.1 แผน่ ภาพแสดงแหล่งอาหารสตั วน์ ้า
ที่มา : อาพล และอารีย์ (2532)

1.1 ความสาคญั ของอาหารธรรมชาติ

อาหารธรรมชาติที่มีผลกระทบต่อแหล่งน้าท้งั ทางตรงและทางออ้ ม ไม่วา่ จะเป็ นผลดีหรือ
ผลเสีย ไดแ้ ก่ แพลงก์ตอน ดงั น้ัน เน้ือหาท่ีจะกล่าวต่อไปมุ่งเนน้ ถึงผลของแพลงก์ตอนพืชท่ีมีใน
แหล่งน้าเป็ นหลกั โดยแพลงก์ตอนพืชทาหนา้ ท่ีในการสังเคราะห์สารอินทรีย์ จากธาตุอาหารและ
เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์มาสะสมไวใ้ นรูปพลังงานเคมี โดยกระบวนการสังเคราะห์แสง

ในห่วงโซ่อาหารในบ่อและแหล่งน้า แพลงก์ตอนพืชเป็ นอาหารของสัตวท์ ี่อาศยั อยู่ในแหล่งน้า
ทาให้เกิดผลผลิตในแหล่งน้า ปลาและสิ่งมีชีวิตในน้าหลายชนิดท่ีกินแพลงก์ตอนพืชเป็ นอาหาร
โดยตรงแพลงกต์ อนพืชจึงเป็นอาหารธรรมชาติท่ีสร้างความสมบรู ณ์ต่อบ่อและแหล่งน้า


Click to View FlipBook Version