135
ภาพที่ 5.1 ปลาป่ น
ที่มา : รัชดา (2552)
ในอาหารที่ตอ้ งใชโ้ ปรตีนสูง เช่น อาหารกุง้ กุลาดาํ จะมีปลาป่ นผสมอยู่ประมาณ 20-40
เปอร์เซ็นต์ ของอาหาร โดยมากจะมีปลาป่ นในช่วง 30 เปอร์เซ็นต์ ดงั น้นั หากสามารถลดปริมาณ
การใชป้ ลาป่ นในอาหารไดบ้ า้ ง โดยใชโ้ ปรตีนจากแหล่งอื่นเพ่ือทดแทนโปรตีนจากปลาป่ น ที่ไม่มี
ผลกระทบต่อคุณภาพของอาหาร เป็ นวิธีการประหยดั ตน้ ทุนการผลิตอีกรูปแบบหน่ึง ซ่ึงผลิตภณั ฑ์
จากปลาท่ีสามารถใชแ้ ทนบางส่วนของปลาป่ นไดค้ ือ ปลาสด โปรตีนเขม้ ขน้ จากปลา ตบั ปลา และ
ปลาหมกั (fish silage) ในการเลือกซ้ือปลาป่ นควรมีความพถิ ีพิถนั เพราะปลาป่ นมีราคาแพง ปลาป่ น
ที่มีคุณภาพดีควรมีกลิ่นหอม ไม่มีกลิ่นเน่าเหม็น การเลือกซ้ือปลาป่ นควรระมดั ระวงั เรื่องการ
ปลอมปนของปลาป่ น ซ่ึงอาจทดสอบไดโ้ ดยการนาํ ปลาป่ นมาตกตะกอน ถา้ หากมีการปลอมปนจะ
สังเกตเห็นตะกอนไดช้ ดั เจน
2) กุง้ ป่ น (shrimp meal) เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากเศษกุง้ ในโรงงานแปรรูปกุง้ ไดแ้ ก่
ส่วนหวั และเปลือกของกุง้ ซ่ึงในส่วนหวั ของกุง้ จะมีโปรตีนและไขมนั อยู่ โดยข้นั ตอนการทาํ กุง้ ป่ น
คือ นาํ เศษกุง้ เหล่าน้ีไปทาํ การน่ึง จากน้นั รอจนแหง้ แลว้ จึงทาํ การป่ น นบั วา่ กุง้ ป่ นเป็ นแหล่งสาํ คญั
ของแร่ธาตุ ไคติน โคเลสเตอรอล ฟอสโฟไลปิ ด และกรดไขมนั ไม่อิ่มตวั ในกุ้งป่ นมีโปรตีน
ประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั 5 เปอร์เซ็นตแ์ ละเยอื่ ใย 15 เปอร์เซ็นต์ ในการผลิตอาหารกุง้ จะใส่
กุง้ ป่ นประมาณ 5-15 เปอร์เซ็นต์ นอกจากกุง้ ป่ นแลว้ ยงั มีการทาํ เปลือกกุง้ ป่ น โดยใช้วตั ถุดิบท่ีได้
จากเศษเหลือของกุง้ จากโรงงานผลิตกุง้ แช่แข็ง ประกอบดว้ ยเปลือกกุง้ กบั หวั กุง้ เป็ นส่วนใหญ่ โดย
ตอ้ งนาํ มาทาํ ใหแ้ หง้ แลว้ บดให้ละเอียด เปลือกกุง้ ป่ นมีระดบั โปรตีนประมาณ 25-50 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึง
เป็ นโปรตีนที่มีการยอ่ ยไดต้ ่าํ แต่มีปริมาณแคลเซียมท่ีสูง หลกั ในการเลือกซ้ือเปลือกกุง้ ป่ นควรเลือก
เปลือกกุง้ ป่ นท่ีไม่มีการปลอมปน สามารถนาํ เปลือกกุง้ ป่ นมาผสมในอาหารสําหรับเล้ียงปลาทะเลและ
136
กุง้ ทะเลซ่ึงตอ้ งใชใ้ นปริมาณไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ โดยในสูตรอาหารท่ีมีเปลือกกุง้ ป่ นผสมไม่ตอ้ งมี
การเติมอาหารท่ีมีแคลเซียมอีก
3) ปลาหมึกป่ น (squid meal) เป็ นวตั ถุดิบอีกชนิดท่ีมีความจาํ เป็ นอยา่ งยิ่งสาํ หรับ
การผลิตอาหารกงุ้ เน่ืองจากในปลาหมึกมีสารท่ีสามารถเร่งให้มีการเจริญเติบโต และสารดึงดูดการ
กินอาหาร (attractants) นอกจากน้ีปลาหมึกป่ นยงั อุดมไปดว้ ยกรดไขมนั ท่ีไม่อ่ิมตวั โคเลสเตอรอล
และฟอสโฟไลปิ ด โดยในปลาหมึกป่ นจะมีโปรตีนประมาณ 65 เปอร์เซ็นต์ และไขมนั ประมาณ 10
เปอร์เซ็นต์ สาํ หรับการผลิตอาหารกุง้ จะใส่ปลาหมึกป่ นอยา่ งนอ้ ย 5 เปอร์เซ็นต์ โดยส่วนอื่น ๆ ของ
ปลาหมึกท่ีสามารถใช้แทนกันไดค้ ือ เครื่องในปลาหมึกป่ น เน้ือปลาหมึกป่ น และน้าํ ปลาหมึก
เป็ นตน้
4) ปลาเป็ ด (trash fish) เป็ นวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้าํ ที่ไดจ้ ากการจบั ปลาจากทะเล
เป็ นหลกั โดยในการเล้ียงปลาทะเล กุง้ กุลาดาํ และกุ้งกา้ มกรามในหลายทอ้ งท่ีนิยมใช้ปลาเป็ ดเป็ น
วตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้าํ เพื่อใชเ้ ป็ นแหล่งโปรตีน ในปลาเป็ ดมีองคป์ ระกอบที่เป็ นวตั ถุแห้งประมาณ 20
เปอร์เซ็นต์ ขอ้ ดีของปลาเป็ ดคือ มีกลิ่นที่ดึงดูดการกินอาหารของสัตวน์ ้าํ แต่ขอ้ เสียของการใชป้ ลาเป็ ด
คือ จะมีปัญหาในดา้ นการเก็บรักษา และปลาเป็ดมีปริมาณที่ไม่แน่นอน
5) เลือดป่ น (blood meal) เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากโรงฆ่าสัตว์ โดยการนาํ เลือดมาน่ึง
เพ่อื ใหเ้ ลือดตกตะกอนก่อนแลว้ จึงนาํ ไปอบแห้ง จากน้นั นาํ เลือดท่ีไดม้ าบดให้ละเอียด ในเลือดป่ น
มีระดบั โปรตีนประมาณ 85-90 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงเป็นระดบั โปรตีนที่สูงมาก แต่คุณภาพของโปรตีนต่าํ
เพราะในเลือดป่ นมีปริมาณกรดอะมิโนเมไธโอนีน และไอโซลูซีน ในปริมาณที่ต่าํ มาก ดงั น้นั จึง
ไม่ควรนาํ เลือดป่ นมาใชผ้ สมอาหารสัตวน์ ้าํ ในช่วงท่ีตอ้ งการเร่งการเจริญเติบโต เพราะกุง้ และปลา
ไมช่ อบกินอาหารท่ีมีส่วนผสมของเลือดป่ น สาํ หรับการเลือกซ้ือเลือดป่ นควรเลือกซ้ือชนิดท่ีไดจ้ าก
กระบวนการผลิตที่ใช้ความร้อนท่ีเหมาะสม โดยใช้อุณหภูมิที่ไม่สูงจนเกินไป เพราะจะมีผลต่อ
โปรตีนซ่ึงสตั วน์ ้าํ จะยอ่ ยไดน้ อ้ ย
6) เน้ือป่ น (meat meal) เป็นวตั ถุดิบอาหารท่ีไดจ้ ากเศษเน้ือ เอน็ พงั ผืด และเศษกระดูก
จากโรงฆ่าสัตว์ โดยการนาํ มาสกดั เอาไขมนั ออกแลว้ ทาํ ให้แหง้ จากน้นั นาํ ไปบดให้ละเอียด ซ่ึงหากมี
เศษเน้ือในปริมาณมากจะเรียกว่า เน้ือป่ น ซ่ึงมีระดบั โปรตีนมากกวา่ 55 เปอร์เซ็นต์ และฟอสฟอรัส
ต่าํ กวา่ 4.4 เปอร์เซ็นต์ แต่ถา้ มีปริมาณกระดูกมาก เรียกวา่ เน้ือกระดูกป่ น ซ่ึงมีระดบั โปรตีนต่าํ กวา่ 55
เปอร์เซ็นต์ และมีฟอสฟอรัสสูงกวา่ 4.4 เปอร์เซ็นต์ ดงั น้นั ไม่ควรนาํ เน้ือป่ นและเน้ือกระดูกป่ นมาเป็ น
เป็นแหล่งโปรตีนหลกั ของอาหารสตั วน์ ้าํ เน่ืองจากมีระดบั ฟอสฟอรัสค่อนขา้ งสูง
7) หางนมผง (whey) เป็ นวตั ถุดิบอาหารที่มีระดบั โปรตีนสูง และมีคุณภาพดี
มีกรดอะมิโนที่ใกลเ้ คียงกบั ความตอ้ งการของสัตว์น้าํ อยู่มาก และมีแร่ธาตุที่ดีดว้ ย แต่เน่ืองจาก
137
หางนมผงมีราคาแพง จึงใชห้ างนมผงผสมอาหารสัตวน์ ้าํ เฉพาะในช่วงการอนุบาลสัตวน์ ้าํ วยั อ่อน
เท่าน้นั หางนมผงสามารถหาซ้ือไดท้ ว่ั ไป แต่หากมีการนาํ เอาหางนมผงมาผสมในอาหารสัตวน์ ้าํ
จะทาํ ใหต้ น้ ทุนของอาหารสัตวน์ ้าํ เพม่ิ สูงข้ึน
1.1.2 วตั ถุดิบอาหารประเภทโปรตีนจากพชื วตั ถุดิบที่เป็นแหล่งโปรตีนจากพชื ส่วนใหญ่ จะ
เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากเมล็ดพืชน้าํ มนั ชนิดต่าง ๆ เช่น ถวั่ เหลือง ถวั่ ลิสง เมล็ดฝ้ าย เมล็ดทานตะวนั เป็ นตน้
วตั ถุดิบท่ีนิยมนาํ มาผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ มีดงั น้ี
1) กากถวั่ เหลือง (soybean meal) เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากการสกดั น้าํ มนั ถว่ั เหลือง
โดยการนาํ เอาถวั่ เหลืองมาบีบอดั หรือสกดั ดว้ ยสารเคมี ซ่ึงการสกดั สองวิธีน้ีจะทาํ ใหเ้ กิดความร้อน
เป็ นการช่วยลดปริมาณสารท่ียบั ย้งั เอนไซมท์ ริปซิน (trypsin inhibitor) ในกากถว่ั เหลือง โดยกาก
ถวั่ เหลืองสกดั น้าํ มนั จะมีคุณภาพในแง่วตั ถุดิบอาหารสตั วด์ ีกวา่ กากถว่ั เหลืองอดั น้าํ มนั เนื่องจากความ
ร้อนที่ใช้ในกระบวนการสกดั น้ํามนั จะมีมากพอที่จะทาํ ลายสารยบั ย้งั เอนไซม์ทริปซินได้เกือบ
ท้งั หมด และกากถว่ั เหลืองสกดั น้าํ มนั จะมีปริมาณของไขมนั เหลืออยนู่ อ้ ยมาก ประมาณ 4 เปอร์เซ็นต์
ทาํ ให้สามารถเก็บรักษาได้ในระยะเวลาท่ีนานกว่า ไม่เหม็นหืนเหมือนกบั กากถวั่ เหลืองอดั น้าํ มนั
กากถว่ั เหลืองสกดั น้าํ มนั สามารถผลิตไดท้ ้งั ในและต่างประเทศ สาํ หรับประเทศไทยส่วนใหญ่จะผลิต
กากถว่ั เหลืองสกดั น้าํ มนั ชนิดที่ไม่กะเทาะเปลือก ซ่ึงมีระดบั โปรตีน 45-47 เปอร์เซ็นต์ ในการเลือกซ้ือ
กากถวั่ เหลือง ควรเลือกชนิดที่สกดั น้าํ มนั เพราะมีคุณค่าทางโภชนาการที่ค่อนขา้ งคงท่ี ไม่เหม็นหืน
ง่ายและไมม่ ีกล่ินไหม้ นอกจากน้ีควรเลือกกากถวั่ เหลืองที่สุกอยา่ งสม่าํ เสมอ ดงั แสดงในภาพที่ 5.2
ภาพที่ 5.2 กากถวั่ เหลือง
ท่ีมา : รัชดา (2552)
2) กากถวั่ ลิสง (peanut meal) เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากการอดั หรือสกดั น้าํ มนั กากถว่ั
ลิสงมีระดบั โปรตีนประมาณ 45 เปอร์เซ็นต์ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ปริมาณการปนเป้ื อนที่ปะปนมาดว้ ย โดย
โปรตีนของกากถ่ัวลิสงจะต่าํ กว่ากากถ่ัวเหลือง กากถ่ัวลิสงมีปริมาณกรดอะมิโนไลซิน และ
138
เมไธโอนีน ในปริมาณที่ต่าํ กว่ากากถว่ั เหลือง ในกากถวั่ ลิสงอาจมีการปนเป้ื อนดว้ ยเช้ือราและ
สารพิษอะฟลาทอกซิน (aflatoxin) กากถว่ั ลิสงที่ผลิตในประเทศไทยมกั เป็ นกากถว่ั ลิสงชนิดอดั
น้าํ มนั ท่ีมีไขมนั หลงเหลืออยใู่ นปริมาณสูง เป็ นสาเหตุทาํ ให้เกิดการเหม็นหืนไดง้ ่าย และไม่สามารถ
เก็บรักษาไวไ้ ดน้ าน สําหรับการนาํ กากถว่ั ลิสงมาใช้ในสูตรอาหาร ควรคาํ นึงถึงสภาพของกากถว่ั ลิสง
เพราะอาจมีสารอะฟลาทอกซิน ปะปนมา ดงั แสดงในภาพท่ี 5.3
ภาพที่ 5.3 กากถวั่ ลิสง
ที่มา : สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนฯ (2554)
3) เมล็ดถวั่ เหลือง (soybean seed) เป็ นวตั ถุดิบอาหารที่ไดจ้ ากพืช มีโปรตีนและ
ไขมนั ในปริมาณสูงโดยเฉพาะมีกรดไขมนั ท่ีปลาและกุ้งต้องการ ก่อนนาํ มาใช้ต้องนาํ เมล็ดถวั่
เหลืองไปทาํ ใหส้ ุกเสียก่อนโดยวธิ ีตม้ น่ึงหรือควั่ เพ่อื จะทาํ ลายสารยบั ย้งั เอนไซมท์ ริปซิน โดยจะใช้
ความร้อนท่ีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 นาที ซ่ึงสามารถทาํ ลายฤทธ์ิของสารยบั ย้งั
เอ็นไซม์ทริปซินจนเกือบหมด แต่หากใช้ความร้อนมากเกินไปจนถั่วเหลืองไหม้ จะทาํ ให้
ความสามารถในการยอ่ ยของกรดอะมิโนไลซินลดลง
4) กากมะพร้าว (coconut meal) เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากการบีบหรือการสกดั น้าํ มนั
มะพร้าว แลว้ นาํ กากมะพร้าวท่ีเหลือมาใช้ โดยมีระดบั โปรตีนค่อนขา้ งสูงคืออยู่ระหวา่ ง 20-25
เปอร์เซ็นต์ และระดบั ไขมนั เฉล่ีย 6 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงเป็ นปริมาณไขมนั ท่ีค่อนขา้ งสูง เป็ นสาเหตุทาํ ให้
เกิดการเหมน็ หืนไดง้ ่าย ในกากมะพร้าวจะมีกรดอะมิโนไลซิน และฮิสทิดีน ปริมาณต่าํ และมีไขมนั
ชนิดอ่ิมตวั ถ้าหากนาํ กากมะพร้าวมาใชใ้ นการผสมอาหารในอตั ราสูงควรมีการเสริมดว้ ยไลซิน
สังเคราะห์ หรือวตั ถุดิบอาหารจาํ พวกปลาป่ น และเน้ือกระดูกป่ น
5) ใบกระถินป่ น (leucaena leaves) เป็ นวตั ถุดิบอาหารที่มีระดบั โปรตีนสูง มี
โปรตีนอยรู่ ะหวา่ ง 14–20 เปอร์เซ็นต์ ในใบกระถินสดจะมีสารที่เป็นพิษต่อสตั วน์ ้าํ คือสารไมโมซิน
(mimosine) ซ่ึงเป็ นสารที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการสร้างน้าํ เช้ือของสัตวน์ ้าํ ส่วนในใบ
139
กระถินแหง้ ป่ นจะไม่พบสารพิษดงั กล่าว ใบกระถินนอกจากจะเป็นแหล่งของโปรตีนแลว้ ยงั พบวา่ มี
สารเบตาแคโรทีน (beta-carotene) ซ่ึงทาํ ให้สัตวน์ ้าํ มีสีสัน นอกจากน้ียงั เป็ นแหล่งของวิตามินเอ
ในการเลือกซ้ือใบกระถินป่ นควรเลือกใบกระถินป่ นแห้ง ใบมีสีเขียว มีกา้ นปนมาน้อย ไม่ควรมีกล่ิน
เหม็นเน่า โดยสังเกตได้จากสีดําคล้ําของใบกระถิน โดยปลาท่ีกินอาหารที่มีใบกระถินป่ นเป็ น
ส่วนผสมจะทาํ ใหเ้ น้ือปลามีสีเหลือง น่ารับประทาน ดงั แสดงในภาพท่ี 5.4
ภาพท่ี 5.4 ใบกระถินป่ น
ที่มา : นิรนาม ช (2552)
1.1.3 โปรตีนจากแหล่งอื่น ๆ ซ่ึงมีท้งั ไดจ้ ากสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สําหรับ
โปรตีนที่ไดจ้ ากส่ิงมีชีวติ ไดแ้ ก่ สาหร่ายต่าง ๆ ท้งั แบบสดและแบบแห้ง และส่ิงไม่มีชีวิตไดแ้ ก่
กรดอะมิโนสังเคราะห์ โปรตีนอื่น ๆ ท่ีมีการนาํ มาใชใ้ นการผลิตอาหาร มีดงั น้ี
1) สาหร่ายสไปรูลินา เป็ นสาหร่ายสีเขียวแกมน้าํ เงิน (blue green algae or
cyanobacterium) มีผนงั บาง สามารถย่อยไดง้ ่าย ทาํ ให้สัตวน์ ้าํ ดูดซึมสารอาหารไปใชป้ ระโยชน์ไดด้ ี
โดยมีโปรตีน 60-70 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณเบตาแคโรทีน 400 มิลลิกรัม ต่อสาหร่ายแหง้ 100 กรัม วติ ามิน
บี 12 และกรดไขมนั ท่ีจาํ เป็ น เช่น กรดแกมมาไลโนลีนิก โดยองคป์ ระกอบต่าง ๆ เป็ นอตั ราส่วนที่
เหมาะสาํ หรับนาํ มาใชส้ าํ หรับเป็ นอาหารลูกกุง้ และปลาวยั อ่อน
2) กรดอะมิโนสังเคราะห์ ท่ีมีจาํ หน่ายในทอ้ งตลาดมีอยู่ประมาณ 20 ชนิด ซ่ึงมี
คุณค่าทางโภชนาการเช่นเดียวกบั กรดอะมิโนท่ีมีในธรรมชาติ กรดอะมิโนสังเคราะห์อาจจาํ เป็ นตอ้ ง
ใช้ เม่ือสูตรอาหารท่ีคาํ นวณข้ึนมามีระดบั กรดอะมิโนต่าํ กวา่ ความตอ้ งการของสัตวน์ ้าํ แต่ไม่ควรเกิน
1 เปอร์เซ็นต์ และไม่ควรเสริมกรดอะมิโนหลายชนิดในสูตรอาหาร ในกรณีท่ีผลิตอาหารเอง
ในฟาร์ม กรดอะมิโนสังเคราะห์ท่ีนิยมใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในปัจจุบนั ไดแ้ ก่ ไลซิน เช่น L-Lysine,
DL- Lysine และเมไธโอนีน DL-Methionine, DL-Methionine Hydroxy Analog Calcium เป็นตน้
140
คุณค่าทางโภชนาการของวตั ถุดิบอาหารที่เป็ นแหล่งโปรตีนแต่ละประเภทจะแตกต่างกนั
ดงั สรุปในตารางท่ี 5.1
ตารางท่ี 5.1 คุณคา่ ทางโภชนาการของวตั ถุดิบอาหารประเภทที่เป็นแหล่งโปรตีน (เปอร์เซ็นต)์
วตั ถุดิบ ความช้ืน โปรตีน ไขมนั เยอื่ ใย เถา้ NFE** Ca P
ปลาป่ น 7.94 55.90 6.24 0.72 25.77 * * *
ปลาเป็ดสด 70.21 17.00 2.80 - 18.01 - * *
ปลาเป็ดแหง้ 11.00 44.90 8.90 - 5.80 5.80 * *
เลือดป่ น 10.40 81.50 1.00 0.70 4.80 1.60 * *
นมผง - 26.30 13.88 - 7.68 - 0.98 0.84
หางนม 5.00 35.00 1.00 - 8.00 - 1.30 1.00
เน้ือป่ น 9.41 61.15 13.97 1.16 12.34 1.97 3.11 1.85
หวั กงุ้ ป่ น 10.28 30.59 3.77 10.55 38.55 6.29 8.16 1.60
เปลือกกุง้ แหง้ 12.60 31.90 1.46 9.24 - 14.50 7.87 1.25
เศษไก่ป่ น 6.50 57.50 5.00 2.30 15.60 3.10 * *
ไส้ไก่ 73.70 13.90 11.20 - 1.20 - * *
ตบั หมึกป่ น 8.04 45.00 15.08 - 5.05 - - -
กากถว่ั เหลือง 9.50 47.00 3.32 6.34 7.13 26.71 0.39 0.68
กากถว่ั ลิสง 7.59 45.91 5.79 3.95 8.18 - 28.58 0.14
กากถว่ั เขียว 10.22 23.52 0.58 19.48 2.95 43.25 0.52 0.30
กากมะพร้าว 8.84 18.05 10.90 10.95 6.60 - 0.09 0.48
(อดั น้าํ มนั )
ใบกระถินป่ น 10.05 23.54 7.70 7.68 9.71 41.32 2.52 0.17
กากเมลด็ งาดาํ 7.46 33.84 16.24 5.57 12.23 22.48 2.52 1.22
ไรแดง (สด) 91.14 5.30 1.20 - 11.30 14.01 - -
ไรแดง (แหง้ ) - 61.50 14.04 - 11.30 14.01 - -
โรติเฟอร์น้าํ จืด 86.40 7.90 - - 0.90 - - -
(สด)
141
ตารางท่ี 5.1 คุณคา่ ทางโภชนาการของวตั ถุดิบอาหารประเภทที่เป็นแหล่งโปรตีน (เปอร์เซ็นต)์ (ต่อ)
วตั ถุดิบ ความช้ืน โปรตีน ไขมนั เยอื่ ใย เถา้ NFE** Ca P
อาร์ทีเมีย - 56.40 17.80 - 17.40 - - -
โตเตม็ วยั (แหง้ )
หนอนนก 36.10 48.40 41.70 - 4.60 - 0.07 0.60
ท่ีมา : ดดั แปลงจากกรมประมง (2550) และวมิ ล (2537)
หมายเหตุ : * ไมป่ รากฏขอ้ มูล / ** NFE : Nitrogen free extract = กลุ่มที่ปราศจากไนโตรเจนและ
ยอ่ ยสลายง่าย
1.2 วตั ถุดิบอาหารท่ีเป็นแหล่งพลงั งาน
วตั ถุดิบท่ีเป็ นแหล่งพลงั งานหมายถึง วตั ถุดิบอาหารที่ใชผ้ สมลงในสูตรอาหารเพ่ือให้
ระดบั พลงั งานในอาหารเพิ่มข้ึนหรือเพื่อให้สัตวน์ ้าํ ได้รับพลงั งานในระดบั ที่ตอ้ งการนอกจากน้ี
วตั ถุดิบพลงั งานยงั เป็ นแหล่งของโภชนะอื่น ๆ อีก เช่น โปรตีน วิตามิน และแร่ธาตุแต่มีในปริมาณ
นอ้ ยซ่ึงวตั ถุดิบพลงั งานจะมีโปรตีนต่าํ กวา่ 20 เปอร์เซ็นต์ของวตั ถุแห้ง ชนิดของวตั ถุดิบที่ใชเ้ ป็ น
แหล่งพลงั งานมีดงั น้ี
1.2.1 รําละเอียด (rice bran) เป็ นผลผลิตท่ีไดจ้ ากการสีขา้ วแบ่งเป็ นรําละเอียด รําหยาบ
และรําสกดั น้าํ มนั โดยรําละเอียดจะมีคุณค่าทางอาหารสูงกวา่ รําหยาบ เนื่องจากรําหยาบมกั มีการ
ปะปนของแกลบ อาจมีถึง 60 เปอร์เซ็นต์ รําละเอียดจะเป็ นวตั ถุดิบที่มีวติ ามินบีสูง มีระดบั โปรตีน
อยู่ประมาณ 13-15 เปอร์เซ็นต์ มีไขมนั อยใู่ นองค์ประกอบค่อนขา้ งสูงประมาณ 12-13 เปอร์เซ็นต์
ซ่ึงมีผลทาํ ใหอ้ าหารเกิดกลิ่นเหมน็ หืนไดง้ ่าย โดยรําขา้ วเก่าสามารถเก็บรักษาไดน้ านกวา่ รําขา้ วใหม่
เพราะในรําขา้ วใหม่มกั จะมีความช้ืนสูง แต่ในกากรําหรือรําสกดั น้าํ มนั จะมีไขมนั นอ้ ยจึงสามารถ
เกบ็ รักษาไดน้ านข้ึน และสามารถนาํ กากราํ หรือรําสกดั น้าํ มนั มาใชแ้ ทนรําละเอียดในสูตรอาหารได้
ซ่ึงในรําขา้ วจะมีกรดไขมนั ท่ีทาํ ใหเ้ กิดกลิ่นเหม็นหืนง่าย โดยเฉพาะรําขา้ วใหม่จะมีกรดไขมนั ใน
กลุ่ม โอเมกา้ 3 และ โอเมกา้ 6 ในปริมาณสูง นอกจากน้ีรําขา้ วยงั มีเยื่อใยในปริมาณสูง ส่งผลใหก้ าร
ขบั ถ่าย ของปลาดีข้ึน หลกั การเลือกซ้ือรําขา้ ว ควรเป็ นรําละเอียด และไม่ควรเลือกซ้ือรําขา้ วเก่า
เพราะวา่ รําขา้ วเก่าจะมีปริมาณไขมนั อยนู่ อ้ ย สาํ หรับการเกบ็ รักษาราํ ขา้ วควรเก็บรักษาไวใ้ นที่มิดชิด
และระวงั แมลงจาํ พวกมอด หรือมด ซ่ึงก่อความเสียหายใหก้ บั รําขา้ วได้ ดงั แสดงในภาพที่ 5.5
142
ภาพที่ 5.5 รําละเอียด
ที่มา : รัชดา (2552)
1.2.2 ปลายขา้ ว (rice broken) เป็ นวตั ถุดิบอาหารที่มีระดบั โปรตีนต่าํ ซ่ึงเป็ นผลผลิตท่ี
ไดจ้ ากการสีขา้ วโดยปลายขา้ วจะเป็ นส่วนหักของขา้ วสาร แต่อาจมีส่วนของจมูกขา้ วปนอยู่บา้ ง
ปลายขา้ วโดยทว่ั ไปมีโปรตีน เยือ่ ใยและไขมนั ประมาณ 8.5, 2.0 และ 1.2 เปอร์เซ็นต์ ตามลาํ ดบั
สามารถหาซ้ือไดง้ ่าย และราคาไม่สูงมาก นิยมนาํ มาเป็ นส่วนประกอบของอาหารสัตวน์ ้าํ โดย
ปลายขา้ วที่ใชม้ ีท้งั ปลายขา้ วเหนียวและปลายขา้ วเจา้ ปลายขา้ วเหนียวไม่เหมาะสมท่ีจะนาํ มาใชเ้ ป็ น
วตั ถุดิบในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ เนื่องจากสัตวน์ ้าํ จะย่อยไดย้ าก แต่สามารถใชแ้ ทนปลายขา้ วเจา้ ได้
ดงั น้นั เมื่อใช้ปลายขา้ วเหนียวควรเพิ่มวตั ถุดิบอาหารท่ีมีเยื่อใยลงในอาหารสัตวน์ ้าํ ดว้ ย หลกั ในการ
เลือกซ้ือปลายขา้ วคือ ควรเลือกปลายขา้ วขนาดเมล็ดเล็ก มาเป็ นอาหารสัตว์ เพราะมีกากน้อย ซ่ึงปลา
และกงุ้ สามารถยอ่ ยไดง้ ่าย ดงั แสดงในภาพท่ี 5.6
ภาพท่ี 5.6 ปลายขา้ ว
ท่ีมา : รัชดา (2552)
1.2.3 ขา้ วโพด (corn meal) จะมีคุณค่าทางอาหารสูงกวา่ รําและปลายขา้ ว และท่ีสาํ คญั คือ
ขา้ วโพดมีสารแคโรทีนที่มีผลต่อการเร่งสีปลา ซ่ึงจาํ เป็ นมากในการเล้ียงปลาสวยงาม การเลือก
ขา้ วโพดมาทาํ เป็นอาหารสัตวน์ ้าํ ตอ้ งเป็ นขา้ วโพดที่บดละเอียด ไม่มีมอดหรือแมลงต่าง ๆ กดั กิน ไม่มี
143
ส่ิงเจือปนและสารพิษอะฟลาทอกซิน สําหรับการเก็บเมล็ดขา้ วโพดควรทาํ การตากแห้ง โดยให้
ความช้ืนมีไม่เกิน 13-14 เปอร์เซ็นต์ เพื่อป้ องกนั การเกิดเช้ือรา ขา้ วโพดเป็ นวตั ถุดิบประเภทแป้ งท่ีมี
ระดบั โปรตีนต่าํ จึงสามารถใชข้ า้ วโพดแทนรําขา้ วและปลายขา้ วได้ หากใชข้ า้ วโพดในสูตรอาหารควร
ใช้ในสัดส่วนน้อย และควรเสริมดว้ ยวตั ถุดิบท่ีมีระดบั โปรตีนสูงเขา้ ไปเพื่อเพ่ิมคุณค่าทางอาหาร
ดงั แสดงในภาพท่ี 5.7
ภาพท่ี 5.7 ขา้ วโพดป่ น
ท่ีมา : รัชดา (2552)
1.2.4 ขา้ วฟ่ าง (sorghum) เป็นวตั ถุดิบอาหารที่ไดจ้ ากพืชซ่ึงมีระดบั โปรตีนต่าํ สามารถ
ใชท้ ดแทนขา้ วโพดได้ โดยเมล็ดขา้ วฟ่ างจะมีอยูห่ ลายสี เช่น สีขาว สีเหลือง และสีแดง ซ่ึงในขา้ ว
ฟ่ างแต่ละชนิดจะมีสารแทนนิน ซ่ึงเป็ นสาเหตุทาํ ให้เมล็ดขา้ วฟ่ างมีรสชาติฝาดแตกต่างกนั ออกไป
ดงั น้นั การเลือกซ้ือและการเลือกใชข้ า้ วฟ่ างควรเลือกชนิดที่มีสารแทนนินอยนู่ อ้ ยไดแ้ ก่ เมล็ดสีขาว
และสีเหลือง จะทาํ ให้ปลาและกุง้ กินอาหารไดด้ ีกวา่ การผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ สามารถใชข้ า้ วฟ่ างได้
ในปริมาณที่ไม่จาํ กดั ดงั แสดงในภาพที่ 5.8
ภาพท่ี 5.8 ขา้ วฟ่ าง
ท่ีมา : เกษตรแผน่ ดินทอง (2554)
144
1.2.5 มนั สาํ ปะหลงั (cassava root) เป็นวตั ถุดิบอาหารที่มีระดบั โปรตีนต่าํ หาซ้ือไดง้ ่าย
แต่จะมีสารไฮโดรไซยานิค (hydrocyanic) ซ่ึงเป็ นสารพิษสะสมอยู่ สําหรับมนั สําปะหลงั ที่นาํ มาใช้
เป็นวตั ถุดิบในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ ควรทาํ ลายสารพษิ ดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ ดงั น้ี
1) หน่ั มนั เส้นเป็ นชิ้นบาง ๆ นาํ ไปตากแดดประมาณ 3-4 วนั เพ่ือให้สารพิษที่มีอยู่
สลายไป
2) การตม้ หรือน่ึง
3) การอบใหร้ ้อนท่ีอุณหภมู ิ 70-80 องศาเซลเซียส
4) การทาํ มนั หมกั โดยหนั่ หวั มนั เป็ นชิ้นเล็ก ๆ แลว้ อดั ในบ่อซีเมนต์ ถงั ไม้ หรือ
ถุงพลาสติกไม่ใหอ้ ากาศเขา้ ทิ้งไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 21 วนั จึงใชไ้ ด้ การใชม้ นั สาํ ปะหลงั จึงไม่ควรนาํ หวั มนั
สาํ ปะหลงั สดมาบดเป็นวตั ถุดิบอาหารแลว้ นาํ ไปใชใ้ นทนั ที ซ่ึงส่วนมากมนั สําปะหลงั มกั จะมีกล่ิน
เปร้ียว เกิดเช้ือราไดง้ ่าย และมีการปลอมปนสูง หากตอ้ งนาํ มาใชค้ วรพิจารณาให้ดี การเลือกซ้ือมนั
สําปะหลงั ควรเลือกหัวมนั สดมาหนั่ เป็ นชิ้นบางและตาก หากซ้ือมนั เส้นควรระมดั ระวงั เร่ืองกล่ิน
เหมน็ เปร้ียว เช้ือรา และการปลอมปน
1.2.6 กากน้าํ ตาล (molass) เป็ นวตั ถุดิบอาหารท่ีให้พลงั งาน ไดจ้ ากกระบวนการผลิต
น้าํ ตาลทราย มีลกั ษณะเป็ นของเหลวสีน้าํ ตาลคล้าํ โดยมีระดบั โปรตีนประมาณ 1.59 เปอร์เซ็นต์
กากน้าํ ตาลเป็ นแหล่งโปรตีนที่มีคุณภาพต่าํ แต่นิยมนาํ มาเป็ นส่วนผสมในสูตรอาหาร เน่ืองจาก
กากน้าํ ตาลช่วยใหก้ ารอดั เมด็ ของอาหารง่ายข้ึน ขอ้ ควรระวงั สาํ หรับอาหารที่ผสมกากน้าํ ตาล คือ ไม่
ควรเกบ็ อาหารน้นั ไวน้ านจนเกินไป เพราะจะทาํ ใหอ้ าหารเหมน็ เปร้ียวและเช้ือราจะข้ึนไดง้ ่าย
คุณค่าทางโภชนาการของวตั ถุดิบอาหารที่เป็ นแหล่งพลงั งานแต่ละประเภทจะแตกต่างกนั
ดงั สรุปในตารางท่ี 5.2
ตารางที่ 5.2 คุณค่าทางโภชนาการของวตั ถุดิบอาหารประเภทท่ีเป็นแหล่งพลงั งาน (เปอร์เซ็นต)์
วตั ถุดิบ ความช้ืน โปรตีน ไขมนั เยอื่ ใย เถา้ NFE Ca P
ปลายขา้ ว 12.57 7.02 1.12 0.43 0.75 78.11 0.01 0.16
รําละเอียด 9.65 12.38 18.82 6.18 8.60 44.38 0.06 1.74
รําหยาบ 9.74 6.09 3.45 25.59 16.54 38.59 0.09 0.30
ราํ สกดั น้าํ มนั 11.08 15.73 2.35 10.26 12.87 47.71 0.17 2.26
รําปิ่ น 11.57 6.85 4.32 29.39 10.94 36.93 0.09 0.48
เมล็ดขา้ วโพด 12.56 8.71 4.13 1.71 1.29 71.60 0.01 0.26
145
ตารางท่ี 5.2 คุณคา่ ทางโภชนาการของวตั ถุดิบอาหารประเภทท่ีเป็นแหล่งพลงั งาน (เปอร์เซ็นต)์ (ตอ่ )
วตั ถุดิบ ความช้ืน โปรตีน ไขมนั เยอ่ื ใย เถา้ NFE Ca P
ขา้ วฟ่ าง 11.20 10.60 3.00 1.90 1.90 71.40 - -
มนั สาํ ปะหลงั 10.35 2.14 0.62 2.05 2.69 82.16 0.09 0.07
เส้น
มนั สาํ ปะหลงั 15.38 2.44 0.62 2.83 6.52 74.01 0.17 0.09
อดั เม็ด
กากน้าํ ตาล 27.61 1.59 - - 6.21 - 0.60 0.05
ที่มา : ดดั แปลงจากกรมประมง (2550)
1.3 วตั ถุดิบท่ีเป็ นแหล่งแร่ธาตุและวติ ามิน โดยปกติในวตั ถุดิบอาหารแต่ละประเภทจะมี
วติ ามินและแร่ธาตุอยแู่ ลว้ แต่มีปริมาณท่ีต่าํ ไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการของสัตวน์ ้าํ เพราะฉะน้นั
เพอื่ ป้ องกนั การขาดวติ ามินและแร่ธาตุของสตั วน์ ้าํ จึงตอ้ งเติมวติ ามินและแร่ธาตุสังเคราะห์ลงไปใน
สูตรอาหารสัตวน์ ้าํ ดว้ ย โดยเฉพาะธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสซ่ึงเป็ นแร่ธาตุที่ร่างกายของสัตวน์ ้าํ
ตอ้ งการในปริมาณท่ีคอ่ นขา้ งสูง
1.3.1 กระดูกป่ น (bone meal) เป็ นวตั ถุดิบที่ไดจ้ ากกระดูกของสัตว์ โดยการนาํ กระดูก
มาตม้ หรือน่ึงเพื่อฆ่าเช้ือ และละลายไขมนั ออกก่อน จากน้นั จึงนาํ กระดูกที่ไดไ้ ปอบหรือผ่ึงใหแ้ ห้ง
และนําไปบดให้ละเอียด ซ่ึงในกระดูกป่ นมีแคลเซียมอยู่ประมาณ 24 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัส
ประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ และโปรตีนคุณภาพต่าํ ประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์
1.3.2 ไดแคลเซียมฟอสเฟต (dicalcium phosphate) เป็ นวตั ถุดิบอาหารท่ีให้แร่ธาตุ
ทาํ จากกระดูกสัตวห์ รือหินฟอสเฟต ซ่ึงมีคุณค่าทางอาหารใกลเ้ คียงกนั จึงสามารถใช้แทนกนั ได้
ส่วนมากไดแคลเซียมฟอสเฟตจะมีแคลเซียมเป็ นองค์ประกอบประมาณ 24 เปอร์เซ็นต์ และ
มีฟอสฟอรัสเป็นองคป์ ระกอบประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์
1.3.3 พรีมิกซ์ (premix) เป็ นส่วนผสมของวิตามินและแร่ธาตุที่สัตวน์ ้ําตอ้ งการ
ในวิตามินท่ีอยใู่ นพรีมิกซ์อาจจะถูกทาํ ลาย จากกระบวนการผลิต จาํ เป็ นตอ้ งใชค้ วามร้อน หรือถูก
ทาํ ลายโดยปัจจยั อ่ืน ๆ เช่น ความช้ืนหรือแสงสวา่ ง ดงั น้นั ในข้นั ตอนการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ โดยใช้
ความร้อน จึงตอ้ งใชพ้ รีมิกซ์ในปริมาณสูงกวา่ ปกติ
1.4 สารท่ีใชเ้ ติมในอาหาร เป็นการเพิม่ คุณค่าของอาหารสัตวน์ ้าํ ดึงดูดให้สัตวน์ ้าํ กินอาหาร
มากข้ึน หรือสารที่ใชป้ ้ องกนั การหืนและเป็ นรา ในปัจจุบนั มีสารที่ใชเ้ ติมลงในอาหารหลายชนิด
ดว้ ยกนั ซ่ึงสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของอาหารสัตวน์ ้าํ ไดด้ ี โดยสารเหล่าน้ีเม่ือเติมลงไปในอาหาร
เพียงเล็กนอ้ ย จะมีอตั ราการเจริญเติบโตของสัตวน์ ้าํ เพิ่มข้ึน แต่อยา่ งไรก็ตามหากมีการใชส้ ารเหล่าน้ี
146
เติมลงไปในอาหารสัตวน์ ้าํ ควรคาํ นึงถึงความปลอดภยั ของผบู้ ริโภคและส่ิงแวดลอ้ ม รวมถึงตน้ ทุน
ในการผลิตอาหารเนื่องจากสารเหล่าน้ีส่วนมากมีราคาค่อนขา้ งแพง
1.4.1 สารเหนียว (binder) เป็นสารท่ีช่วยทาํ ให้วตั ถุดิบท่ีผสมรวมตวั กนั และอดั เป็ นเม็ด
ได้ดี ช่วยให้อาหารมีความคงทนในน้าํ ได้นานข้ึนไม่ละลายน้าํ เร็วก่อนสัตวน์ ้าํ จะกิน สารเหนียว
สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 ชนิดคือ สารเหนียวพวกโปรตีน สารเหนียวพวกคาร์โบไฮเดรตและสาร
สงั เคราะห์หรือสารจากแหล่งธรรมชาติ ดงั แสดงในตารางที่ 5.3 สารเหนียวท่ีมีจาํ หน่ายในปัจจุบนั ไดแ้ ก่
กวั กมั (gua gum) แอลจีเนต (alginate) บฟั ฟิ น (buffin) ซีเอ็มซี (carboxy methyl cellulose; C.M.C.)
สารเหนียวส่วนมากจะมีราคาแพง จึงนิยมใช้ในอาหารกุ้งหรือสัตว์น้ําวยั อ่อน ส่วนอลั ฟาสตาชท์
(-starch) ละลายน้าํ เร็วแตม่ ีราคาถูกเหมาะกบั ปลาท่ีกินอาหารเร็ว เช่น ปลาดุก ปลานิล
ตารางท่ี 5.3 สารเหนียว ปริมาณการใชแ้ ละความคงทนของอาหารในน้าํ
ชนิดของสารเหนียว ปริมาณการใช้ (% ของอาหาร) ความคงทน (ชวั่ โมง)
ซีเอม็ ซี 5-10 3-6
หวดี กลูเตน (wheat guten) 10 12-18
บฟั ฟิ น 0.5-1 6-12
แอลจีเนตและวนุ้ 2-4 24-48
กวั กมั 1 4-5
รําหรือปลายถวั่ เขียว 15-25 4-5
กลว้ ย 5-15 1-2
ปลาเป็ ด 30-50 4-5
อลั ฟาสตาชท์ 5-15 1-2
ที่มา : กรมประมง (2550)
1.4.2 สารกันหืนและกันรา เป็ นสารท่ีช่วยป้ องกันไม่ให้กรดไขมันไม่อิ่มตัวถูก
ออกซิไดซ์ ซ่ึงชนิดของสารกนั หืนและการที่อาหารข้ึนราเพราะอาหารน้นั มีความช้ืนสูงเกิน 12
เปอร์เซ็นต์ เพ่ือป้ องกนั ไม่ใหค้ ุณค่าของอาหารเสียไป ในการผลิตอาหารจึงมกั เติมสารเคมีเพื่อกนั
หืนและกนั ราในอาหารดว้ ย สารท่ีมกั เติมลงในอาหารสตั วน์ ้าํ ที่นิยมใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหาร ไดแ้ ก่
1) บีเอชเอ (butylated hydroxyanisol; B.H.A.) เป็ นสารกนั หืนท่ีนิยมใชก้ นั มากอีก
ชนิดหน่ึง โดยเฉพาะในผลิตภณั ฑ์อาหารประเภทที่มีไขมนั และน้าํ มนั เป็ นส่วนประกอบ โดยมาก
บีเอชเอที่นาํ มาใชจ้ ะอยู่ในรูปของสารผสม 2 และ 3-เทอร์เชียรี บิวทิล 4 ไฮดรอกซิอะนิโซล
(2-and3-tertiary-butyl-4-hydroxyanisole) หรืออาจใชร้ ่วมกบั บีเอชที เพอ่ื ใหม้ ีประสิทธิภาพดีข้ึน
147
2) บีเอชที (butylated hydroxyl toluene ; B.H.T.) เป็ นสารกนั หืนท่ีนิยมใชก้ นั มาก
เช่นเดียวกบั บีเอชเอ แต่บีเอชทีมีประสิทธิภาพดีกวา่ บีเอชเอเล็กนอ้ ย โดยสารกนั หืนท้งั สองชนิดน้ี
จะใหก้ ลิ่นฟี นอล (phenol) มกั นิยมใชก้ บั สารกนั หืนชนิดอ่ืน เพอื่ เสริมใหม้ ีประสิทธิภาพดีข้ึน
3) สารกนั ราที่ใชก้ นั มากไดแ้ ก่ กรดโพรพิโอนิก (propionic acid) ซ่ึงใช้ในอตั รา
0.1-0.3 เปอร์เซ็นต์ แต่ในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ ไวใ้ ชเ้ องไม่ควรใชส้ ารชนิดน้ีเนื่องจากมีอนั ตราย
และราคาแพง
1.4.3 สารแต่งกล่ินอาหาร เป็ นสารท่ีช่วยเพ่ิมกล่ินและรสของอาหารให้มีความน่ากิน
มากข้ึน สัตวน์ ้าํ ต่างจากสัตวบ์ กเรื่องการรับกลิ่นอาหาร เน่ืองจากสัตวบ์ กไดก้ ลิ่นทางอากาศ ส่วน
สตั วน์ ้าํ กล่ินตอ้ งไปกบั น้าํ กลิ่นในอาหารท่ีสัตวน์ ้าํ ชอบมกั เป็ นกล่ินที่มีในอาหารตามธรรมชาติ เช่น
ปลาที่กินเน้ือเป็ นอาหารจะชอบกลิ่นของเน้ือซ่ึงเป็ นสารเคมีประเภทกรดอะมิโน หรือกรดไขมนั
กลิ่นที่มีส่วนกระตุ้นในการกินอาหารของสัตวน์ ้าํ ได้แก่ กลิ่นปลา กลิ่นหอย กลิ่นกุง้ กลิ่นหมึก
กล่ินปู และน้าํ มนั ปลา เป็นตน้
2. การเลอื กใช้และเลอื กซื้อวตั ถุดบิ อาหารสัตว์นา้
2.1 การเลือกใชว้ ตั ถุดิบอาหารสตั ว์
ในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ มีหลกั การเลือกใชว้ ตั ถุดิบอาหารดงั น้ี
2.1.1 มีคุณภาพดี ราคายตุ ิธรรมหาซ้ือไดง้ ่ายในทอ้ งถ่ินหรือบริเวณใกลเ้ คียง
2.1.2 สัตวน์ ้าํ สามารถใชป้ ระโยชน์ไดด้ ี เช่น ยอ่ ยง่าย ไม่มีสารขดั ขวางโภชนะบางชนิด
2.1.3 มีรสชาติดีมีกลิ่นหอมน่ากิน ไม่มีกลิ่นหืน
2.1.4 ไมม่ ีสารพิษหรือยาฆ่าแมลงปนอยู่ ซ่ึงส่วนมากมกั เป็ นพวกธญั พืชท่ีมกั รมยาเพื่อ
ป้ องกนั แมลงเขา้ ทาํ ลายขณะเกบ็ รักษา
2.1.5 ไม่มีส่ิงอื่นปะปนหรือปลอมปนอยเู่ พราะสิ่งท่ีปลอมปนส่วนมากจะเป็ นวตั ถุดิบที่
มีคุณภาพต่าํ
2.1.6 ไม่ทาํ ใหส้ ่วนผสมวตั ถุดิบอื่นเสื่อมค่า เช่น ความช้ืนสูง มีรา หรือมีมอด เป็นตน้
2.1.7 เป็นวตั ถุดิบใหม่ ไมเ่ ก่าเกบ็ ยกเวน้ วตั ถุดิบบางชนิดท่ีตอ้ งเกบ็ เพือ่ ใหส้ ารพษิ ลดลง
2.1.8 ใชว้ ตั ถุดิบที่ทดแทนกนั ไดเ้ พ่ือลดตน้ ทุนการผลิต เช่น การใชม้ นั สาํ ปะหลงั แทน
ปลายขา้ ว เป็นตน้
2.1.9 ความสะดวกในการใชผ้ สมอาหารและเกบ็ รักษาไดง้ ่าย
2.1.10 เลือกใชว้ ตั ถุดิบใหเ้ หมาะสมกบั ช่วงอายขุ องสตั วท์ ่ีเล้ียง
2.1.11 การคิดราคาของวตั ถุดิบเทียบกบั คุณคา่ ทางอาหาร
148
2.1.12 คาํ นึงถึงราคาของวตั ถุดิบอาหารตอ่ ราคาของผลผลิตท่ีจะขายได้
2.2 การเลือกซ้ือวตั ถุดิบอาหารสตั วน์ ้าํ
การเลือกซ้ือวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้าํ มีขอ้ ควรพจิ ารณาดงั น้ี
2.2.1 ซ้ือวตั ถุดิบปริมาณมากจะไดร้ าคาถูกกวา่ ซ้ือปริมาณนอ้ ยและมีโอกาสเลือกวตั ถุดิบ
ท่ีมีคุณภาพดีมากกวา่ เนื่องจากมีอาํ นาจต่อรองมากกวา่
2.2.2 พยายามเลือกใช้วตั ถุดิบหลกั ตามฤดูกาล เช่น พวกธญั พืชในทอ้ งถ่ินเพ่ือความ
ประหยดั และสะดวก
2.2.3 ควรพิจารณาคุณค่าทางโภชนาการและขอ้ จาํ กดั ในสารพษิ ของวตั ถุดิบชนิดน้นั
2.2.4 ปริมาณการซ้ือแต่ละคร้ังควรคาํ นึงถึงปริมาณการใช้และอายุการเก็บรักษาของ
วตั ถุดิบแตล่ ะชนิด
2.2.5 ควรซ้ือวตั ถุดิบที่ยงั ไม่บดเพราะสามารถสังเกตคุณภาพเบ้ืองตน้ จากลกั ษณะ
ภายนอกไดง้ ่ายกวา่ ท่ีบดแลว้
2.2.6 ซ้ือวตั ถุดิบท่ีแห้งสนิทความช้ืนไม่เกิน 13-14 เปอร์เซ็นต์ เพ่ือป้ องกนั การสูญเสีย
น้าํ หนกั ขณะเก็บและสะดวกในการเก็บรักษา
2.2.7 ซ้ือวสั ดุที่ไม่มีการปลอมปนหรือมีการปลอมปนของวตั ถุดิบอื่นนอ้ ยที่สุด เช่น
ขา้ วโพดไมค่ วรมีกากซงั ปะปน เป็นตน้
3. การตรวจสอบคุณภาพวตั ถุดิบทใี่ ช้ในการผลติ อาหารสัตว์นา้
การคดั เลือกวตั ถุดิบในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ เป็ นข้นั ตอนที่สําคญั เพราะถา้ ใชว้ ตั ถุดิบท่ีมี
คุณภาพดีย่อมส่งผลให้อาหารที่ผลิตไดม้ ีคุณภาพดีดว้ ย แต่ถา้ วตั ถุดิบน้นั มีสิ่งปลอมปนท่ีเป็ นพิษ
และมีอนั ตรายตอ่ สัตวน์ ้าํ เมื่อสัตวน์ ้าํ กินเขา้ ไปอาจทาํ ใหเ้ จ็บป่ วยหรือตายได้ การตรวจสอบวตั ถุดิบ
แต่ละชนิดจะมีข้นั ตอนและวิธีการแตกต่างกนั ซ่ึงผตู้ รวจสอบควรทราบรายละเอียดเพื่อใหส้ ามารถ
ปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง รวดเร็ว ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายและไดใ้ ชป้ ระโยชน์จากการตรวจสอบอยา่ งเต็มท่ี
การตรวจสอบคุณภาพวตั ถุดิบอาหารสัตวม์ ีหลายวธิ ี ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงวธิ ีตรวจสอบโดยใชป้ ระสาท
สมั ผสั เทา่ น้นั การตรวจสอบวตั ถุดิบสามารถทาํ ได้ ดงั น้ี
3.1 วธิ ีการตรวจสอบวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้าํ
3.1.1 ปลาป่ น
1) ดูลกั ษณะสีของเน้ือปลา ปลาป่ นควรมีสีน้าํ ตาลออกเหลืองไม่ควรมีสีน้าํ ตาล
เขม้ หรือออกเทา เน้ือฟู นุ่ม ละเอียดไม่จบั ตวั เป็ นกอ้ น ไม่วา่ กอ้ นเล็กหรือกอ้ นใหญ่ถา้ เน้ือแน่นและ
หนักแสดงว่าปลาป่ นน้นั มีความช้ืนและไขมนั สูง แต่ถ้าร่วนและหนกั มกั มีส่วนของกระดูกปลา
เปลือกปู เปลือกหอย หรือทรายปะปนมาก
149
2) ดมกล่ิน ปลาป่ นที่ดีควรมีกล่ินสด ใหม่ หอมแบบกลิ่นคาวปลา ไม่ใช่หอมแบบ
กุง้ หรือปูเผา เนื่องจากปัจจุบนั นิยมใช้ปูป่ นเติมลงในปลาป่ นเพื่อปรับปรุงกล่ินปลาให้หอมชวนกิน
หรือกลบกลิ่นปลาที่เหมน็ เน่า ซ่ึงปลาป่ นที่เก่ามีกลิ่นเหม็นอบั เหม็นเน่าจะเป็ นปลาป่ นที่คุณภาพต่าํ ลง
ส่วนปลาป่ นที่มีกล่ินไหมน้ ้นั การไหมจ้ ะทาํ ใหก้ ารใชป้ ระโยชนข์ องโปรตีนและกรดอะมิโนลดต่าํ ลง
ปลาป่ นเม่ือเก็บไวร้ ะยะหน่ึงจะมีกลิ่นเหมน็ หืน สาํ หรับเมืองไทยปลาป่ นเป็นปลาที่ผลิตจาก
เศษหัวปลา ไส้ปลา ซ่ึงได้แยกเน้ือไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นแล้ว ปลาพวกน้ีมีเน้ือเหลืออยู่น้อย
กระดูกมาก ไขมนั สูงจึงทาํ ให้เหม็นหืนง่าย นอกจากน้ีปลาป่ นท่ีเหม็นหืนอาจจะมีสาเหตุมาจากมี
การปลอมปนดว้ ยวตั ถุอ่ืนท่ีมีไขมนั สูง เช่น กากหมู เป็ นตน้ ส่วนปลาป่ นท่ีมีกลิ่นอ่อน ๆ ไม่แรง
เหมือนกลิ่นปลาทวั่ ไป บางคร้ังมีกล่ินเหม็นเขียว ปลาป่ นพวกน้ีมกั ปลอมปนดว้ ยโปรตีน ถวั่ เขียว
หรือโปรตีนจากกากวนุ้ เส้น ซ่ึงมีกล่ินค่อนขา้ งแรงสามารถกลบกลิ่นปลาใหอ้ อ่ นลงได้
3.1.2 เน้ือและกระดูกป่ น
1) ดูลกั ษณะสีของเน้ือป่ น เน้ือป่ นที่ดีควรมีสีเหลืองออกน้าํ ตาลเล็กนอ้ ยหรือสีเหลือง
ทอง ไม่ควรมีสีน้าํ ตาลเขม้ เกินไป ซ่ึงอาจเกิดจากกระบวนการผลิตใชค้ วามร้อนสูงเกินไป เน้ือป่ น
ปกติมกั จะมีปริมาณไขมนั อยสู่ ูง เมื่อไดร้ ับความร้อนมากเกินไปจะทาํ ใหเ้ น้ือมีสีเขม้ ข้ึน ส่วนเน้ือป่ น
ที่สกดั น้าํ มนั ออกไปแลว้ สีจะอ่อนลง ลกั ษณะเน้ือจะแหง้ และร่วนมากข้ึนจนเห็นขนสัตวท์ ่ีติดมาได้
ชดั เจนข้ึน แต่ถา้ เน้ือป่ นที่คุณภาพดีก็แทบมองไมเ่ ห็นส่วนขนของสตั วเ์ ลย
2) ดมกลิ่น กล่ินของเน้ือและกระดูกป่ นจะไดก้ ลิ่นไขมนั สัตวค์ ่อนขา้ งชดั เจนซ่ึงเป็ น
กลิ่นเฉพาะตวั ของวตั ถุดิบชนิดน้ีและกล่ินไขมนั จะค่อย ๆ เหม็นหืนและกลิ่นรุนแรงข้ึนตาม
ระยะเวลาการเก็บรักษารวมท้งั ปัจจยั อื่น ๆ เช่น การเปิ ดให้วตั ถุดิบสัมผสั กบั อากาศ ความช้ืนและ
ความร้อนโดยตรงก็จะเป็ นการเร่งให้เกิดการหืนได้เร็วยิ่งข้ึน ส่วนเน้ือป่ นท่ีผ่านการสกดั น้าํ มนั
ออกไปจนเกือบหมด กลิ่นของเน้ือป่ นกจ็ ะออ่ นลงมาก แตก่ ย็ งั คงมีกล่ินเฉพาะตวั ของเน้ือป่ นอยู่ เน้ือ
และกระดูกป่ นจะมีลกั ษณะภายนอกคล้ายปลาป่ นมากแต่ถ้าดมกล่ินดูจะสามารถทราบได้ทนั ที
เพราะมีกล่ินต่างกนั
3.1.3 แกลบกุง้
1) ดูลกั ษณะสีและรูปร่างของแกลบกุง้ แกลบกุง้ ท่ีมีขายทวั่ ไปมี 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
แกลบกุง้ ท่ีเป็ นส่วนของเศษเปลือก หัวและหางกุง้ ในการผลิตกุง้ แหง้ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็ นกุง้ ท่ีมีขนาด
เล็กจึงมีโภชนะท่ีสาํ คญั คือโปรตีนและกรดไขมนั คอ่ นขา้ งต่าํ กวา่ กงุ้ ชนิดแรก ซ่ึงเป็ นส่วนหวั เปลือก
และหางของกงุ้ ที่มีขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่ สีของกุง้ น้นั มีท้งั สีธรรมชาติและสีท่ียอ้ มจากสีสังเคราะห์ซ่ึง
สีจะออกแดงสดกวา่ สีธรรมชาติของเปลือกและมนั กงุ้
150
2) ดมกลิ่น แกลบกุง้ ที่ไดม้ าจากกระบวนการผลิตท่ีผ่านความร้อนมาบา้ ง จะมีกล่ิน
คอ่ นขา้ งหอมเหมือนกล่ินกุง้ แหง้ ทวั่ ไป แต่ถา้ เป็นแกลบกุง้ แห้งท่ีใส่เกลือในปริมาณมากก็จะมีเกลือติด
แกลบกุง้ มากดว้ ย แกลบกงุ้ ชนิดน้ีจะช้ืนและมีกล่ินเหมน็ อบั ง่าย เน่ืองจากเกลือจะดูดความช้ืนเขา้ หาตวั
3.1.4 ถวั่ เหลืองและกากถวั่ เหลือง
1) การดูสี ลกั ษณะเน้ือและการจบั ตวั กนั เป็ นกอ้ น ถว่ั เหลืองเมล็ดมีสีต่าง ๆ กนั ต้งั แต่
สีเขียวตองอ่อน เหลืองนวล เหลืองทอง เหลืองเขม้ แต่ที่ปลูกในประเทศไทยมกั มีเปลือกสีทอง
กากถว่ั เหลืองสกดั น้าํ มนั ท่ีดีควรมีลกั ษณะเป็ นเกล็ด บาง เบา เมื่อใชม้ ือบ้ีแลว้ รู้สึกแข็งกรอบแต่ถา้
กากถว่ั เหลืองจบั ตวั กนั เป็ นกอ้ น ไม่วา่ ขนาดเล็กหรือใหญ่ก็ตามแสดงว่ากรรมวิธีการผลิตไม่ดีพอ
มีความช้ืนสูงอาจทาํ ให้มีเช้ือราเกิดข้ึนภายในหรือผิวของกอ้ นกากถว่ั เหลืองน้ันได้ นอกจากน้ีกากถวั่
เหลืองเหล่าน้นั อาจเป็ นกากถว่ั เหลืองที่ค่อนขา้ งดิบมาก เน่ืองจากความร้อนเขา้ ไปไม่ถึงขา้ งใน ทาง
ตรงกนั ขา้ มถา้ บ้ีแลว้ กากถวั่ เหลืองร่วนแสดงวา่ มีการปลอมปนวตั ถุอ่ืน
2) การดมกล่ินและชิมรส ถวั่ เหลืองหรือกากถว่ั เหลืองที่ผา่ นความร้อนท่ีเหมาะสม
จนสุกพอดีจะมีกล่ินหอม มนั น่ากิน ถา้ เค้ียวแลว้ มีกล่ินเหม็นเขียวแสดงว่ายงั ดิบอยู่ แต่ถ้ามีกล่ิน
เหม็นไหมแ้ ละมีรสขมแสดงวา่ ไหม้ ส่วนถว่ั เหลืองเมล็ดที่ทาํ ให้สุกและบดแลว้ หรือกากถว่ั เหลือง
อดั น้าํ มนั ที่บดแลว้ ทิ้งไวจ้ นเก่าจะมีกลิ่นเหม็นหืนเพราะมีไขมนั อยู่มาก แต่ถา้ เป็ นกากถว่ั เหลือง
สกดั น้าํ มนั ซ่ึงมีน้าํ มนั หลงเหลืออยนู่ อ้ ยมากเม่ือทิ้งไวน้ าน ๆ กล่ินที่เคยหอมก็จะค่อย ๆ หมดไปจน
ไมม่ ีกล่ินหรืออาจมีกลิ่นเหมน็ สาบแทนหากมีมอดหรือแมลงข้ึน
3.1.5 กากถวั่ ลิสง
1) ดูสี กากถว่ั ลิสงอดั น้าํ มนั มีสีน้าํ ตาลออกม่วงแดงตามสีของเยื่อหุ้มเมล็ดถวั่ ลิสง
ส่วนกากถว่ั สกดั น้าํ มนั มีสีออกขาวขุ่น ขาวนวล ไม่ควรมีสีเหลืองออกน้าํ ตาลซ่ึงอาจเกิดข้ึนเนื่องจาก
กระบวนการผลิตใชค้ วามร้อนสูงเกินไปหรือกากถว่ั ลิสงน้นั มีเปลือกฝักติดปนมามาก
2) ดมกล่ินกากถว่ั ลิสงอดั น้าํ มนั มีน้าํ มนั เหลืออยปู่ ระมาณ 5-6 เปอร์เซ็นต์ ดงั น้นั
เมื่อดมจะไดก้ ลิ่นน้าํ มนั ชดั เจน ซ่ึงถา้ เป็ นกากถวั่ ลิสงใหม่จะมีกล่ินหอมแต่ถา้ เป็ นกากถว่ั ลิสงเก่า
กลิ่นจะเหม็นหืนหรือถา้ มีเช้ือรามากกล่ินจะเหม็นเปร้ียว เหม็นอบั ส่วนมากกากถวั่ ลิสงสกดั น้าํ มนั
มกั ไม่ค่อยมีกล่ินเน่ืองจากมีน้าํ มนั อยนู่ อ้ ย
3.1.6 กากมะพร้าว
1) ดูสีและเน้ือของกากมะพร้าว ส่วนใหญ่เป็ นกากมะพร้าวชนิดอดั น้าํ มนั สี
น้าํ ตาลค่อนขา้ งเขม้ ลกั ษณะเป็ นผงหยาบ ๆ ร่วนและอมน้าํ มนั หลงั ออกจากเคร่ืองอดั น้าํ มนั จะไม่
เป็นแผน่ ใหญ่และหนาเหมือนกากเมล็ดพชื อ่ืนเน่ืองจากมีเยอื่ ใยสูง ทาํ ให้มีลกั ษณะฟ่ ามมากจึงจบั ตวั
เป็ นกอ้ นหรือแผ่นขนาดไม่ใหญ่นกั และมกั หักหรือแตกออกเป็ นกอ้ นเล็ก ๆ ไดง้ ่ายส่วนชนิดสกดั
151
น้าํ มนั จะมีสีน้าํ ตาลอ่อนกวา่ เน้ือหยาบร่วนและแหง้ ไม่อมน้าํ มนั อยา่ งไรก็ตามกากมะพร้าวไม่ควรมี
สีน้าํ ตาลเขม้ จนเกินไปเพราะนน่ั แสดงใหเ้ ห็นวา่ กระบวนการผลิตใชค้ วามร้อนสูงเกินไป
2) ดมกล่ิน กากมะพร้าวที่ผลิตจากมะพร้าวที่คอ่ นขา้ งสดใหม่ไม่เก่าเก็บจนข้ึนรา
เมื่อนาํ มาอดั หรือสกดั น้าํ มนั จะไดก้ ากมะพร้าวท่ีมีกล่ินหอม แต่เน่ืองจากกากมะพร้าวชนิดอดั น้าํ มนั
ยงั คงมีน้าํ มนั เหลืออยคู่ อ่ นขา้ งมากเมื่อเกบ็ ไวน้ าน ๆ มกั มีปัญหาเหมน็ หืน เหมน็ บูดหรือเหม็นเปร้ียว
เน่ืองจากมีเช้ือราข้ึนและมกั พบสารพิษอะฟลาทอกซินในระดบั สูงกว่ามาตรฐาน เน้ือมะพร้าว
ลกั ษณะเป็ นกอ้ นผวิ ขรุขระขนาดค่อนขา้ งเล็กและใกลเ้ คียงกนั มีสีน้าํ ตาลอ่อนหรือบางชิ้นสีขาวขุ่น
ลกั ษณะอมน้าํ มนั มีแผ่นของเปลือกหุ้มเน้ือในมะพร้าวสีน้าํ ตาลเขม้ เป็ นแผน่ ขนาดเล็กกระจายอยู่
ทว่ั ไปนอกจากน้ีอาจพบส่วนของเส้นใยของกากมะพร้าวและเศษกะลาสีน้าํ ตาลเขม้ จนเกือบดาํ ปน
มาบา้ งเลก็ นอ้ ยถา้ ท้งั 2 ส่วนมีปนมามากระดบั โปรตีนและคุณภาพของกากมะพร้าวจะลดลง
3.1.7 ใบกระถินป่ น
1) ดูสี ใบกระถินแห้งท่ีดีควรมีสีเขียวสดยกเวน้ ใบกระถินท่ีนาํ ไปผา่ นการแช่น้าํ
เพื่อลดสารพิษจะมีสีเขียวคล้าํ ออกดาํ ซ่ึงก็ยงั สามารถใชเ้ ป็ นแหล่งโปรตีนไดด้ ีแมว้ ่าสารเหล่าน้ีจะ
สูญเสียไปกบั น้าํ ท่ีแช่บา้ งก็ตาม ส่วนใบกระถินท่ีมีสีเขียวอ่อนเขียวซีด หรือเขียวออกซีดแสดงวา่ มี
การปลอมปนดว้ ยกิ่งกา้ นของกระถินหรือพืชอ่ืน ๆ ซ่ึงถา้ นาํ ไปร่อนดูดว้ ยตะแกรงจะเห็นกา้ นที่ถูก
บดจนละเอียดไดช้ ดั เจน
2) ดมกล่ิน ใบกระถินมีกล่ินคลา้ ยกลิ่นใบชาจีน แต่ค่อนขา้ งฉุนกวา่ เล็กนอ้ ยและ
ถา้ มีกา้ นปนมามากเมื่อเก็บไวน้ านแมลงมกั ชอบเขา้ มาทาํ ลายมากกว่าพวกมีใบลว้ น ๆ ทาํ ให้กล่ิน
เหมน็ อบั ได้
3.1.8 ปลายขา้ ว
1) ดูลกั ษณะรูปร่างและขนาดควรเป็ นปลายขา้ วขนาดเล็กหรือปลายขา้ วจ๋ิว
เพราะจะยอ่ ยง่ายกวา่ และไม่ควรมีแกลบหรือดอกหญา้ ปะปนมายกเวน้ บางช่วงฤดูหลีกเล่ียงไม่ไดก้ ็
ควรเลือกท่ีมีแกลบหรือดอกหญา้ ปนมานอ้ ยท่ีสุด
2) ดูสีของวตั ถุดิบปลายขา้ วเจา้ มีสีค่อนขา้ งใส ปลายข้าวเหนียวมีสีขาวขุ่น
ทึบแสง ส่วนปลายขา้ วน่ึงมีสีออกเหลือง น้าํ ตาลและใส
3)ใชม้ ือสมั ผสั ทดลองนาํ มาใส่มือแลว้ กาํ ใหแ้ น่นถา้ ความช้ืนสูงจะรู้สึกเหนียวมือ
4) ดมกล่ิน ปลายขา้ วท่ีเก็บไวน้ านๆ จะมีมอดหรือแมลงอื่นเขา้ ทาํ ลายทาํ ให้มี
กล่ินเหมน็ สาบ และมีปลายขา้ วบางส่วนท่ีจบั ตวั กนั เป็นเส้นยาวเรียกวา่ ใยหนอน
152
3.1.9 ขา้ วโพด
1) ดูขนาด และรูปร่าง ควรมีเมล็ดค่อนขา้ งใหญ่ ขนาดสม่าํ เสมอ เมล็ดตอ้ ง
สมบรู ณ์ มีเมล็ดเสีย เมลด็ ลีบ เมลด็ แตก เมล็ดท่ีงอก เมล็ดที่ข้ึนราหรือถูกมอดกดั กิน ปนมานอ้ ยที่สุด
2) ดูสี และความเป็นเงา ขา้ วโพดที่ใชเ้ ล้ียงสัตวโ์ ดยเฉพาะสตั วป์ ี กควรมีสีเหลือง
อมส้ม ซ่ึงถา้ เป็ นขา้ วโพดใหม่สีเมล็ดจะสดใส แต่ถา้ เป็ นขา้ วโพดไซโลที่เก็บไวน้ าน ๆ ผิวจะแห้ง
ดา้ นเหมือนมีฝ่ นุ จบั ไม่เป็นเงา
3) ใชม้ ือสัมผสั เพ่ือประมาณค่าระดบั ความช้ืน ในกรณีของขา้ วโพดเมล็ดใชม้ ือ
กาํ จะรู้สึกเหนียวมือ เม่ือใชเ้ ล็บหยิกบริเวณตน้ อ่อน (เอมบริโอ) ถา้ หยิกไม่เขา้ แสดงวา่ เมล็ดแห้งดี
แต่ถา้ กดเขา้ เน้ือไดแ้ สดงวา่ ยงั ไมแ่ หง้ พอ เม่ือเกบ็ ไวจ้ ะมีเช้ือราข้ึนได้ หรือถา้ ใชฟ้ ันกดั เมล็ดขา้ วโพด
ถา้ ขา้ วโพดแหง้ ดีเมล็ดจะกรอบและแตกเป็นเส่ียง แตถ่ า้ มีความช้ืนอยคู่ อ่ นขา้ งสูงจะพบวา่ บริเวณตน้
อ่อนจะนิ่มและติดฟัน
ท้งั ขา้ วโพดเมล็ดและขา้ วโพดท่ีบดแลว้ บรรจุกระสอบหรือเทรวมกองไวจ้ าํ นวนมาก เมื่อ
ใชม้ ือสอดเขา้ ไปในกระสอบหรือกลางกองขา้ วโพดแลว้ รู้สึกวา่ มีความร้อนและช้ืนกวา่ ระดบั ปกติ
แสดงวา่ ขา้ วโพดยงั ไม่แห้งพอที่จะเก็บไวน้ าน ๆ ได้ (ความช้ืนมากกว่า 14 เปอร์เซ็นต์) โดยปกติ
ขา้ วโพดที่แหง้ ดี เม่ือสอดมือเขา้ ไปจะรู้สึกแหง้ และค่อนขา้ งเยน็ เม่ือใชห้ ลาวแทงผา่ นกระสอบตอน
แรกจะรู้สึกฝื ด แต่เม่ือแทงผา่ นช้นั กระสอบเขา้ ไปขา้ งในแลว้ จะรู้สึกล่ืน สอดเขา้ ไปไดง้ ่าย ถา้ เป็ น
ขา้ วโพดท่ีมีความช้ืนสูงเม่ือใชห้ ลาวแทงจะฝืดตลอด
4) ดมกลิ่น ขา้ วโพดที่มีกล่ินเหม็นอบั เหม็นเปร้ียวแสดงวา่ มีความช้ืนสูงและมี
เช้ือราข้ึน นอกจากน้ียงั ไมค่ วรมีกล่ินของยาฆา่ แมลงดว้ ย
3.1.10 ขา้ วฟ่ าง
1) ดูรูปร่างและขนาดของเมล็ด ขา้ งฟ่ างที่ดีเมล็ดส่วนใหญ่จะตอ้ งสมบูรณ์ มี
เมล็ดเสีย เมล็ดลีบหรือแตก หรือเมล็ดที่ถูกแมลงกดั กินรวมท้งั เปลือกหุม้ เมลด็ ติดปนมานอ้ ยท่ีสุด
2) ดูสี ขา้ วฟ่ างเมล็ดสีเหลืองดีที่สุด ส่วนเมล็ดสีขาว ขาวมีจุดประสีน้าํ ตาลและ
สีม่วง ส่วนใหญ่มีสารแทนนินในระดบั ต่าํ แต่บางสายพนั ธุ์อาจมีสารแทนนินสูง ซ่ึงควรตรวจสอบ
ดว้ ยสารเคมีเพื่อความแน่ใจต่อไป ส่วนขา้ วฟ่ างสีแดง สีส้ม หรือสีน้าํ ผ้งึ ส่วนใหญ่ก็มีสารแทนนินต่าํ
เช่นกัน แต่ถา้ เป็ นสีแดงออกน้าํ ตาลหรือสีน้ําตาลน้ันเป็ นพนั ธุ์ตา้ นทานนกมกั มีสารแทนนินใน
ระดบั สูง สตั วจ์ ะไม่ชอบกินและยงั มีผลทาํ ให้การยอ่ ยไดแ้ ละการใชป้ ระโยชน์ไดข้ องสารอาหารลด
ต่าํ ลง
3) ดมกล่ิน ไม่ควรมีกลิ่นยาฆ่าแมลงเน่ืองจากข้าวฟ่ างส่วนใหญ่มีแป้ งอ่อน
ค่อนขา้ งมาก แมลงมกั ชอบเขา้ ไปกดั กินทาํ ใหม้ ีปัญหาเร่ืองการเก็บรักษา ทาํ ให้ผเู้ ก็บมกั รมดว้ ยยา
153
เพ่ือป้ องกนั การเขา้ ทาํ ลายของแมลงและยาเหล่าน้นั มกั หลงเหลือมากบั เมล็ด เม่ือนาํ มาเล้ียงสัตวก์ ็
อาจเป็นอนั ตรายได้ ดงั น้นั ก่อนที่จะนาํ ขา้ วฟ่ างมาใชเ้ ป็ นอาหารเล้ียงสัตวค์ วรตรวจสอบวา่ ไม่มีกล่ิน
ของยาฆา่ แมลงหลงเหลืออยู่
3.1.11 มนั เส้น
1) ใชม้ ือสัมผสั ดูความช้ืน ถา้ เป็ นมนั เส้นหรือมนั อดั เม็ดท่ีมีความช้ืนสูงใส่ไวใ้ น
กระสอบ เมื่อใชม้ ือแตะท่ีขา้ งกระสอบจะรู้สึกวา่ มีไอความร้อนออกมา หรือถา้ หยิบชิ้นมนั เส้นข้ึนมาหกั
จะเหนียว หกั ออกไดย้ ากต่างจากมนั เส้นท่ีแหง้ ดี เมื่อหกั จะแตกออกจากกนั ไดง้ ่าย
2) ดมกล่ิน มนั เส้นหรือมนั อดั เมด็ ท่ีมีกล่ินเหมน็ บูดหรือเหมน็ เปร้ียวมกั เป็ นมนั ท่ี
มีความช้ืนสูงเมื่อเกบ็ ไวใ้ นกระสอบหรือกองรวมกนั ไวม้ าก ๆ มีส่วนท่ีอบั อากาศจะเกิดกระบวนการ
หมกั มีเช้ือราข้ึนได้ แมว้ า่ เช้ือราส่วนใหญ่จะไม่สร้างสารพิษก็ตาม แต่ก็มีผลทาํ ให้ลูกสัตวข์ นาดเล็ก
ที่กินมนั เส้นน้ีเขา้ ไปเกิดอาการทอ้ งเสียได้
3) ดูลักษณะชิ้นมนั ทวั่ ๆ ไป ไม่ควรเป็ นมนั เส้นท่ีมีดินขาว ดินลูกรังหรือทราย
รวมท้งั ลาํ ตน้ มนั ติดปนมามากนกั นอกจากน้ีไมค่ วรเป็นมนั ท่ีเก่าเกบ็ จนมอดเจาะกินเน้ือแป้ งไปมากแลว้
3.1.12 ราํ ละเอียด รําสกดั น้าํ มนั และราํ หยาบ
1) ตรวจลกั ษณะเน้ือและการจบั ตวั เป็ นกอ้ น รําละเอียดที่ดี ควรมีลกั ษณะร่วน
ไม่จบั ตวั เป็นกอ้ น แตเ่ มื่อหยบิ ข้ึนมากาํ ใหแ้ น่นแลว้ ปล่อยนิ้วออก รําละเอียดจะจบั เป็ นกอ้ นหลวม ๆ
และเม่ือใชม้ ือกดหรือบ้ีกอ้ นรําน้นั เบา ๆ ก็จะแตกออกโดยง่าย ส่วนรําสกดั น้าํ มนั และรําหยาบ น้นั
นาํ มากาํ ใหแ้ น่นกไ็ ม่สามารถจบั ตวั เป็นกอ้ นอยไู่ ดเ้ หมือนรําละเอียด
2) ดูสี รําละเอียดปกติสีเน้ือนวล แต่ถา้ สีออกน้าํ ตาลอาจมีแกลบปนมามากหรือ
ในทางตรงขา้ มรําละเอียดที่มีสีค่อนขา้ งขาว อาจมีหินฝ่ ุนหรือมนั เส้นบดละเอียดปลอมปนมาดว้ ย
ส่วนราํ สกดั น้าํ มนั สีจะซีดกวา่ ราํ ละเอียดเล็กนอ้ ยและมองเห็นปลายขา้ วและแกลบท่ีติดมาไดช้ ดั ข้ึน
3) ดมกลิ่นและชิมรส ราํ ละเอียดท่ีดีมีกล่ินหอม ไม่มีกลิ่นเหม็นอบั หรือเหมน็ หืน
ซ่ึงแสดงว่ารําน้ันเก่า ถ้าชิมรําละเอียดท่ีได้จากการสีขา้ วมาใหม่ ๆ จะมีรสหวานเล็กน้อย แต่ไม่
แนะนาํ ใหใ้ ชว้ ธิ ีชิมเพราะในรําละเอียด โดยเฉพาะรําขา้ วนาปรังอาจมียาฆ่าแมลงติดปนมาและเป็ น
อนั ตรายต่อสุขภาพของผตู้ รวจสอบได้ ส่วนรําสกดั น้าํ มนั ใหม่ ๆ ก็จะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ แต่ถา้ เป็ น
ราํ สกดั น้าํ มนั ที่ผลิตจากราํ ขา้ วน่ึงอาจมีกลิ่นเหมน็ เปร้ียวเลก็ นอ้ ย
3.1.13 ขา้ วสาลี
1) ดูลกั ษณะรูปร่าง รําขา้ วสาลีมีลกั ษณะท่ีมองเห็นโดยรวมเป็ นแผน่ บางเบาสี
เน้ือน้าํ ตาลอ่อน เม่ือใชต้ ะแกรงร่อนดูจะพบมีเศษแป้ งอยใู่ นปริมาณที่แตกต่างกนั
2) ใชม้ ือสัมผสั เม่ือใชม้ ือกาํ ดูจะรู้สึกแหง้ ร่วน ไมเ่ กาะตวั เหมือนรําละเอียด
154
3) ดมกล่ิน รําขา้ วสาลีมีกล่ินนอ้ ยกวา่ เมื่อเทียบกบั รําละเอียดใหม่ ๆ เนื่องจาก
ราํ ขา้ วสาลีมีไขมนั ต่าํ กวา่ แต่เมื่อเก็บไวร้ ะยะหน่ึงกจ็ ะมีกลิ่นเหมน็ อบั เช่นกนั เน่ืองจากมีมอดข้ึน
3.1.14 กระดูกป่ นและไดแคลเซียมฟอสเฟต
1) ดูสี กระดูกป่ นทวั่ ไปมีสีขาวขุ่น บางกอ้ นอาจมีสีขาวอมเหลืองหรือน้าํ ตาลอ่อน
ส่วนท่ีเป็ นวุน้ (เจลลาติน) จะมีสีเหลืองใส ส่วนเศษเลือดท่ีหลงเหลือติดมามีสีดาํ ส่วนไดแคลเซียม
ฟอสเฟต ชนิดท่ีผลิตจากกระดูกสัตว์ มีสีขาวขุ่น ส่วนชนิดที่ผลิตจากหินฟอสเฟตมีต้งั แต่สีขาวขุ่น สี
ขาวนวลออกน้าํ ตาลอ่อน สีน้าํ ตาลแบบสีโกโก้ สีน้าํ ตาลออกสีปูนแห้งหรือสีน้าํ ตาลคล้าํ ซ่ึงแลว้ แต่สี
ของหินท่ีใชผ้ ลิตและกรรมวิธีในการผลิต แต่ส่วนใหญ่พวกท่ีมีสีขาวขุ่นและสีขาวนวลมกั มีคุณภาพ
ดีกวา่ พวกท่ีมีสีเขม้ อื่น ๆ
2) ดมกล่ิน กระดูกป่ น มีกล่ินเหม็นเหมือนกระดูกสัตว์ที่แห้งท่ัวไป ส่วน
ไดแคลเซียมฟอสเฟตชนิดท่ีทาํ จากกระดูกสัตว์ก็จะมีกลิ่นเหม็นเหมือนกระดูกป่ น ดงั น้ันหาก
ปลอมปนดว้ ยวตั ถุดิบอ่ืนท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั กลิ่นจะเปลี่ยนไป เช่น เม่ือปลอมปนดว้ ยหินฝ่ นุ ซ่ึงไม่
มีกลิ่นก็จะทาํ ให้กลิ่นของไดแคลเซียมฟอสเฟตน้นั อ่อนลง หรือถา้ ปลอมปนดว้ ยปูนขาวซ่ึงมีกล่ิน
ฉุนแสบจมกู กจ็ ะทาํ ใหไ้ ดแคลเซียมฟอสเฟตน้นั มีกล่ินฉุนไดด้ ว้ ย
3) ใชน้ ิ้วมือสมั ผสั ดูเน้ือวตั ถุดิบ ถา้ เป็นไดแคลเซียมฟอสเฟต เมื่อใชน้ ิ้วบ้ีจะรู้สึก
สากมือแตถ่ า้ หินฝ่ นุ จะล่ืนมือ
4) เปรียบเทียบน้าํ หนัก กระดูกและไดแคลเซียมฟอสเฟต ท่ีมีฟอสฟอรัสใน
ระดบั สูงจะมีน้าํ หนกั ค่อนขา้ งเบาแต่เมื่อระดบั ฟอสฟอรัสลดลง น้าํ หนกั จะค่อย ๆ เพ่ิมข้ึน ทาํ นอง
เดียวกบั กระดูกป่ นที่มีการปนปลอมดว้ ยเปลือกหอยหรือไดแคลเซียมฟอสเฟตที่มีการปลอมปนดว้ ย
หินปูนหรือหินฝ่ นุ ซ่ึงสามารถเปรียบเทียบน้าํ หนกั ตอ่ ปริมาตรที่เท่ากนั ได้
3.2 ประโยชนข์ องการตรวจสอบคุณภาพวตั ถุดิบอาหารสตั วน์ ้าํ
การตรวจสอบคุณภาพวตั ถุดิบอาหารสัตวเ์ ป็ นส่ิงที่สําคญั และจาํ เป็ นอย่างย่ิงในการผลิต
อาหาร โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการผลิตอาหารจาํ นวนมาก ๆ เป็ นแบบอุตสาหกรรมหรือการผสมอาหาร
ใชเ้ องภายในฟาร์ม แมต้ อ้ งเสียเวลาและค่าใชจ้ ่ายในการตรวจสอบบา้ ง แต่ก็ให้ผลคุม้ กบั การลงทุน
เพราะตน้ ทุนส่วนใหญ่ในการผลิตอาหารเป็ นค่าวตั ถุดิบ เมื่อมีการตรวจสอบหรือวเิ คราะห์ตวั อยา่ ง
อาหารจะทาํ ใหผ้ ใู้ ชว้ ตั ถุดิบสามารถผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพ และไดร้ ับประโยชน์ ดงั น้ี
3.2.1 จ่ายเงินตามคุณภาพของวตั ถุดิบอาหารชนิดน้ัน ๆ วตั ถุดิบท่ีมีราคาสูงควรมี
คุณภาพดีกว่าวตั ถุดิบท่ีมีคุณภาพต่าํ กว่า แต่อย่างไรก็ตามควรยึดหลกั ท่ีว่าซ้ือของคุณภาพดี ราคา
ยตุ ิธรรม
155
3.2.2 เลือกซ้ือเฉพาะวตั ถุดิบอาหารท่ีมีคุณภาพดีมาใช้ หากวตั ถุดิบอาหารมีคุณภาพต่าํ
กว่ามาตรฐานแมว้ ่าจะมีราคาถูก ก็ไม่ควรซ้ือมาใช้เพราะอาจทาํ ให้มีปัญหาอื่น ๆ ตามมา อาทิ
ขา้ วโพดท่ีมีความช้ืนสูงมกั มีเช้ือราและสารพษิ อะฟลาทอกซิน หรือปลาป่ นท่ีโปรตีนต่าํ มีแคลเซียม
สูง ทาํ ให้สัตวไ์ ดร้ ับแคลเซียมสูงมากเกินแต่ขาดฟอสฟอรัส สังกะสี เหล็ก ทองแดง เป็ นตน้ ซ่ึง
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนน้นั มกั ทาํ ความเสียหายในแง่เศรษฐกิจแก่ผเู้ ล้ียงสัตวน์ ้าํ เป็ นอยา่ งย่ิง และไม่
คุม้ กบั ราคาวตั ถุดิบที่ถูกลง
3.2.3 ลดปัญหาอื่น ๆ ในการเล้ียงสัตวน์ ้าํ ที่จะตามมา หรือลดความรุนแรงของปัญหาที่
เกิดข้ึนดงั ท่ีกล่าวในขอ้ 2 เนื่องจากสามารถตดั สินใจที่จะรับวตั ถุดิบน้นั ไวใ้ ชใ้ นการเล้ียงสัตวน์ ้าํ ได้
หรือต้องส่งคืน และหากตอ้ งรับไวจ้ ะเลือกใช้กบั สัตวป์ ระเภทใด ในอตั ราส่วนเท่าใดจึงไม่เกิด
ปัญหากบั สตั ว์
3.2.4 ทราบวา่ ผจู้ าํ หน่ายร้านใดขายสินคา้ ท่ีดีหรือไม่ดี เพื่อประโยชน์ในการซ้ือวตั ถุดิบ
ในคร้ังตอ่ ๆ ไปดว้ ย
3.2.5 คาํ นวณสูตรอาหารไดถ้ ูกตอ้ ง ทาํ ให้สามารถเลือกสูตรอาหารที่ราคาถูกได้ เป็ น
การเพม่ิ ผลกาํ ไรไปในตวั
3.2.6 ไดอ้ าหารที่มีคุณภาพและปริมาณโภชนะตามท่ีคาํ นวณไว้ แมใ้ นบางคร้ังจาํ เป็ นตอ้ ง
มีการเปลี่ยนชุดหรือชนิดของวตั ถุดิบอาหาร ยงั คงไดอ้ าหารที่มีคุณภาพคงที่หรื อใกลเ้ คียงกนั มาก
เมื่อนาํ ไปเล้ียงสัตวท์ าํ ใหไ้ ดส้ ัตวท์ ่ีมีลกั ษณะต่าง ๆ ดีตามตอ้ งการและสม่าํ เสมอ
3.2.7 ในกรณีที่จาํ หน่ายอาหารสัตวห์ รือวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้าํ ทาํ ใหล้ ูกคา้ ยอมรับและ
มีความเช่ือมน่ั ในสินคา้ ท่ีเราผลิตและพอใจที่ซ้ือสินคา้ ของเราต่อไป
4. ลกั ษณะและคุณสมบัตมิ าตรฐานของวตั ถุดิบอาหารสัตว์นา้
ในการเลือกซ้ือวตั ถุดิบอาหารสัตวค์ วรมีการกาํ หนดลกั ษณะและคุณสมบตั ิมาตรฐานของ
วตั ถุดิบแต่ละชนิด ท้งั น้ีนอกจากจะทาํ ให้วตั ถุดิบมีคุณภาพตามที่ตอ้ งการแลว้ ยงั ทาํ ใหผ้ ตู้ รวจสอบ
คุณภาพ ผซู้ ้ือหรือผูใ้ ช้วตั ถุดิบเลือกซ้ือและชาํ ระเงินในราคายุติธรรมตามคุณภาพของวตั ถุดิบท่ีได้
ซ่ึงมาตรฐานของวตั ถุดิบแต่ละชนิด อาจกาํ หนดแตกต่างกนั ไปตามวตั ถุประสงค์ของงาน แต่โดย
ทวั่ ๆ ไปที่กาํ หนดในเชิงอาหารสัตวน์ ้นั ใชม้ าตรฐานท่ีกาํ หนดตามพระราชบญั ญตั ิอาหารสัตว์ ซ่ึงมี
รายละเอียดดงั น้ี
4.1 ปลาป่ น ความช้ืนไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กวา่ 52 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั
ไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ แคลเซียมไม่ควรเกิน 8 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสไม่ควรต่าํ กวา่ 2.5 เปอร์เซ็นต์
เกลือไม่ควรเกิน 3.5 เปอร์เซ็นต์ กล่ินคาวปลาสด ไม่เหมน็ เน่า เหม็นไหม้ เหมน็ หืน และไม่มีกลิ่นของ
156
ยาฆ่าแมลง เน้ือฟู นุ่ม ละเอียด ไม่จบั ตวั เป็ นกอ้ น ไม่มีกระดูกชิ้นใหญ่ ถา้ มีปลอมปนของยเู รีย เกลือ
แอมโมเนีย ขนไก่ป่ น ไมค่ วรรับ และถา้ มีการปลอมดว้ ยวตั ถุดิบอ่ืน ใหต้ ดั ราคาตามความเหมาะสม
4.2 กระดูกป่ น แคลเซียมไม่ควรเกิน 25 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสไม่ควรต่าํ กวา่ 9 เปอร์เซ็นต์
ดิน ทราย (เถา้ ที่ไม่ละลายในกรด) ไมค่ วรเกิน 3 เปอร์เซ็นต์ ไมม่ ีสิ่งปลอมปนอื่น และไมม่ ีมอดข้ึน
4.3 ไดแคลเซียมฟอสเฟตจากกระดูกสัตว์ แคลเซียมไม่ควรเกิน 30 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัส
ไม่ควรต่าํ กว่า 16 เปอร์เซ็นต์ ฟลูออไรด์ไม่ควรเกิน 0.2 เปอร์เซ็นต์ ดิน ทราย (เถา้ ท่ีไม่ละลายใน
กรด)ไม่ควรเกิน 3 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีสิ่งปลอมปนอื่น
4.4 ปลายขา้ ว ปลายขา้ วน่ึง ความช้ืนไม่ควรเกิน 14 เปอร์เซ็นต์ ถา้ ความช้ืน 14.01–15.00
เปอร์เซ็นต์ ตดั น้าํ หนกั ถา้ ความช้ืนมากกวา่ 15 เปอร์เซ็นต์ ไมต่ รวจรับวตั ถุดิบ ส่ิงเจือปน เช่น แกลบ
ดอกหญา้ ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ลกั ษณะการจบั ตวั กนั ท่ีเรียกวา่ ใยหนอน ซ่ึงเกิดในปลายขา้ วที่เก่า
เก็บและแกลบ ซ่ึงมกั มีปนมากในบางช่วงฤดู หากจาํ เป็ นตอ้ งรับวตั ถุดิบอนุโลมให้ใชไ้ ด้ แต่ไม่ใช้
กบั สัตวข์ นาดเลก็ ขนาด ควรเป็นปลายขา้ วขนาดเลก็ และสม่าํ เสมอ ไม่ควรมีมอดหรือแมลงอื่น และ
ไม่มียาฆา่ แมลง ไม่มีกลิ่นเหมน็ อบั หรือเหมน็ สาบ
4.5 ขา้ วโพด ปริมาณโปรตีนในขา้ วโพด ไม่ควรต่าํ กวา่ 8 เปอร์เซ็นต์ ความช้ืนอยูร่ ะหวา่ ง
12.5-14.5 เปอร์เซ็นต์ ส่ิงเจือปน เช่น ซงั ดิน ฝ่ ุน เป็ นตน้ ไม่ควรเกิน 3 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดแตกไม่ควร
เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ เพราะทาํ ใหเ้ กิดเช้ือราไดง้ ่าย เมล็ดเสีย ไดแ้ ก่ เมล็ดท่ีถูกมอดกิน เมล็ดลีบ เมล็ดงอก
และอื่น ๆ ควรมีน้อยที่สุด เช่น ใน 1 กาํ มือ ควรมีไม่เกิน 2-3 เมล็ด เมล็ดขนาดใหญ่และสม่าํ เสมอ
สีเหลืองอมส้ม ไม่มีมอดหรือแมลงอื่น ไม่มียาฆ่าแมลงและไม่มีกลิ่นเหมน็ อบั หรือเหมน็ เปร้ียว
4.6 ขา้ วฟ่ าง ความช้ืนไม่ควรเกิน 15 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนอยรู่ ะหวา่ ง 8-10 เปอร์เซ็นต์ เมล็ด
เสีย เมล็ดที่ถูกมอดกิน เปลือกหุ้มเมล็ดและส่ิงเจือปนอื่นไม่ควรเกิน 8 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีเช้ือราหรือ
สารพษิ จากเช้ือรา ไม่มีมอดหรือแมลงอ่ืน และไม่มียาฆา่ แมลง
4.7 มนั เส้น มนั อดั เม็ด ความช้ืนไม่ควรเกิน 14 เปอร์เซ็นต์ โปรตีน 2 เปอร์เซ็นต์ แป้ งไม่
ควรต่าํ กวา่ 65 เปอร์เซ็นต์ ดินทรายไม่ควรเกิน 3 เปอร์เซ็นต์ เยอ่ื ใยไม่ควรเกิน 5 เปอร์เซ็นต์ (มีส่วน
ของลาํ ตน้ ปนมานอ้ ยที่สุด) ฝ่ นุ ผงไมค่ วรเกิน 8 เปอร์เซ็นต์ ไมม่ ีเช้ือรา และไม่มียาฆา่ แมลง
4.8 รําละเอียด ความช้ืนไม่ควรเกิน 13 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กวา่ 12 เปอร์เซ็นต์
เยอื่ ใยไมค่ วรเกิน 8 เปอร์เซ็นต์ เถา้ ไม่ควรเกิน 9 เปอร์เซ็นต์ หินฝ่ นุ ไม่ควรเกิน 0.5 เปอร์เซ็นต์ แกลบ
4-5 เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกวา่ ปลายขา้ ว 5-20 เปอร์เซ็นต์ กลิ่นสด หอม ไม่เหม็นอบั เหม็นหืน บูด
และมีรสหวาน ไมเ่ ปร้ียวหรือเฝ่ื อน ไม่จบั ตวั เป็ นกอ้ น หรือเป็ นใยหนอน ไม่มีเช้ือราหรือสปอร์ของ
เช้ือรา ซ่ึงจะเห็นเป็นจุดสีดาํ ขนาดเลก็ กระจายอยทู่ ว่ั ไป ไม่มีมอดหรือแมลงอื่น และไมม่ ียาฆ่าแมลง
157
4.9 ราํ สกดั น้าํ มนั ความช้ืนไมค่ วรเกิน 13 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไมค่ วรต่าํ กวา่ 14.5 เปอร์เซ็นต์
เยอื่ ใยไมค่ วรเกิน 15 เปอร์เซ็นต์ เถา้ ไม่ควรเกิน 12.5 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีส่ิงเจือปน เช่น หินฝ่ นุ ลกั ษณะ
อื่น ๆ เหมือนรําละเอียด
4.10 กากเน้ือในเมล็ดปาล์ม ความช้ืนไม่ควรเกิน 13 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า
14.5 เปอร์เซ็นต์ เย่อื ใยไม่ควรเกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีกล่ินเหม็นหืน
เหมน็ อบั มีกะลาปนมานอ้ ยท่ีสุดและไมม่ ีสิ่งเจือปน ไมม่ ีเช้ือรา ไม่มีมอด และแมลงอ่ืนข้ึน
4.11กากน้าํ ตาลความช้ืนไม่ควรเกิน 25 เปอร์เซ็นต์ โปแตสเซียมไม่ควรเกิน 4 เปอร์เซ็นต์ ของแข็ง
ท่ีละลายในของเหลวไมน่ อ้ ยกวา่ 75เปอร์เซ็นต์ ไมม่ ีเช้ือราและไม่มีกลิ่นเหมน็ บดู หรือเหมน็ เปร้ียว
4.12 ถว่ั เหลืองเมล็ด ความช้ืนไม่ควรเกิน 13 เปอร์เซ็นต์ ถา้ ความช้ืน 13.0-16 เปอร์เซ็นต์ ตดั
น้าํ หนกั 1:1 โปรตีนไม่ควรต่าํ กวา่ 36 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรต่าํ กวา่ 36 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดแตก เมล็ดเสีย
เมล็ดออ่ นไม่ควรเกิน 5 เปอร์เซ็นต์ มีเปลือก กิ่งกา้ น ดินทรายไมค่ วรเกิน 1 เปอร์เซ็นต์ และไมม่ ีเช้ือรา
4.13 กากถวั่ เหลืองอดั น้าํ มนั ความช้ืนไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า
42 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 5 เปอร์เซ็นต์ เยอื่ ใยไม่ควรเกิน 7 เปอร์เซ็นต์ Urease Activity ∆
pH = 0.02-0.20 (ความดิบ 0.5-2.5 เปอร์เซ็นต)์ กล่ินหอม ไม่เหมน็ หืน เหม็นอบั เหม็นเขียวหรือเหมน็
ไหม้ ไม่มีส่ิงเจือปนอ่ืน ไม่มียเู รีย ไม่มีมอดหรือแมลงอื่น ไม่มีเช้ือราข้ึน เป็ นเกล็ด และไม่จบั กนั เป็ น
กอ้ น
4.14 กากถ่ัวลิสงอดั น้ํามนั ความช้ืนไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า 40
เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 7 เปอร์เซ็นต์ เยือ่ ใยไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ (เปลือกฝักปนมานอ้ ยท่ีสุด)
ดิน ทราย ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ อะฟลาทอกซินไม่ควรเกิน 50 พพี ีบี ไมม่ ีกล่ินเหมน็ หืน และเหมน็ อบั
4.15 กากถ่วั ลิสงสกดั น้ํามนั ความช้ืนไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า
46 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใยไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ (เปลือกฝักปนมา
นอ้ ยท่ีสุด) ดิน ทราย ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ อะฟลาทอกซินไม่ควรเกิน 50 พีพีบี ไม่มีกล่ินเหมน็ หืน
และเหมน็ อบั
4.16 กากมะพร้าวอดั น้าํ มนั ความช้ืนไม่ควรเกิน 11 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า
17 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 6 เปอร์เซ็นต์ และเยอื่ ใยไม่ควรเกิน 25 เปอร์เซ็นต์
4.17 กากมะพร้าวสกดั น้าํ มนั ความช้ืนไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า
19 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 7 เปอร์เซ็นต์ เย่ือใยไม่ควรเกิน 16 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีกล่ินเหมน็ หืน
เหมน็ อบั และไมม่ ีสิ่งปลอมปน
4.18 กากเมล็ดงาอดั น้าํ มนั ความช้ืนไม่ควรเกิน 12 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กว่า
38 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไมค่ วรเกิน 9 เปอร์เซ็นต์ เยอื่ ใยไม่ควรเกิน 7 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีส่ิงปลอมปน
158
4.19 กากเมล็ดทานตะวนั ไม่กะเทาะเปลือก (สีดาํ เทา) สกดั น้าํ มนั ความช้ืนไม่ควรเกิน
12 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กวา่ 30 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ และเย่ือใยไม่
ควรเกิน 19 เปอร์เซ็นต์
4.20 กากเมล็ดทานตะวนั กะเทาะเปลือก (สีเน้ือ) สกัดน้ํามัน ความช้ืนไม่ควรเกิน 12
เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่าํ กวา่ 37 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ และเยื่อใยไม่ควร
เกิน 13 เปอร์เซ็นต์
4.21 ใบกระถินป่ น ความช้ืนไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไมค่ วรต่าํ กวา่ 14 เปอร์เซ็นต์
เยอื่ ใยไม่ควรเกิน 25 เปอร์เซ็นต์ มีสีเขียวสด ไม่มีใบพืชอื่น และส่ิงปลอมปน
4.22 โปรตีนจากกากวุน้ เส้นหรือโปรตีนถ่ัวเขียว ความช้ืนไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์
โปรตีนไม่ควรต่าํ กวา่ 38 เปอร์เซ็นต์ และเยอ่ื ใยไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์
4.23 โปรตีนข้าวโพด ความช้ืนไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนไม่ควรต่ํากว่า
55-60 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั ไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ เยือ่ ใยไม่ควรเกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ไม่มียาฆ่าแมลง
ไม่มีเช้ือรา และสิ่งปลอมปน
5. สารต้านโภชนาการหรือสารพษิ ในวตั ถุดิบอาหารสัตว์นา้
เป็ นปัจจยั หน่ึงที่ตอ้ งคาํ นึงถึง โดยเฉพาะกลุ่มพวกเมล็ดพืชตระกูลถว่ั เช่น กากถว่ั เหลือง
กากถวั่ เขียว รําขา้ ว เป็ นตน้ ทาํ ใหเ้ ป็ นขอ้ จาํ กดั ของการนาํ มาใชห้ ากใส่ในปริมาณมากเกินไป จะทาํ
ใหส้ ัตวน์ ้าํ ที่เล้ียงสัตวไ์ ม่เจริญเติบโต โตชา้ หรือเป็ นโรค ดงั น้นั จะตอ้ งนาํ วตั ถุดิบต่าง ๆ มาลดความ
เป็นพษิ หรือใส่ในปริมาณนอ้ ย ตวั อยา่ งสารตา้ นโภชนาการไดแ้ ก่
5.1 ไซยาไนด์ ไกลโคไซม์ (cyanide glycoside) เป็นพวกที่มีไซยาไนดเ์ ป็นองคป์ ระกอบ เช่น
5.1.1 กรดไฮโดรไซยานิค (HCN) เป็ นสารพิษท่ีมีโมเลกุลเช่ือมต่อกบั คาร์โบไฮเดรตหรือ
สารไกลโคไซด์ (glycoside) พบมากในหวั หรือใบมนั สําปะหลงั หวั กลอย กากเมล็ดนุ่น ความรุนแรงของ
สารถา้ ไดร้ ับปริมาณนอ้ ยจะมีผลทาํ ใหข้ าดวิตามินบี 12 มีผลต่อระบบประสาท รบกวนการทาํ งานของ
ต่อมไทรอยด์ ส่งผลใหก้ ารเจริญเติบโตลดลง
การแกไ้ ข มนั สาํ ปะหลงั โดยการลอกเปลือกออก หนั่ เป็ นชิ้นบาง ๆ ตม้ เปิ ดฝาหรือตากแดด
ใหแ้ หง้ ส่วนกากนุ่น เก็บใหน้ านข้ึนประมาณ 2-3 เดือน จึงนาํ มาใชห้ รือน่ึงหรือแช่น้าํ 24 ชวั่ โมง ถา้
น่ึงหรืออบแลว้ ผ่งึ ใหแ้ หง้
5.1.2 ลินามาลิน (linamarin) พบในมนั สาํ ปะหลงั 97 เปอร์เซ็นต์ สารน้ีจะถูกยอ่ ยโดย
เอนไซมใ์ นพืช และขบั กรดไฮโดรไซยานิคออกมาเม่ือวตั ถุดิบแช่น้าํ หรือขณะเค้ียวในปาก ปริมาณ
สารมีความแปรปรวนข้ึนกบั ความแห้งแล้ง ป๋ ุย ถา้ ไดร้ ับสารปริมาณมากกล้ามเน้ือหดตวั รวดเร็ว
159
กระตุกเกร็งก่อนตาย หากไดร้ ับปริมาณน้อย ทาํ ให้น้าํ ลายเป็ นฟอง หัวใจเตน้ เร็ว และอาจตายได้
การลดความเป็ นพษิ ใหแ้ ช่น้าํ อบ หรือน่ึง แลว้ นาํ ไปอดั น้าํ มนั
5.1.3 เดอริน (dhurrin) พบในขา้ วฟ่ าง ทาํ ใหต้ บั ไต มีขนาดใหญ่ข้ึน (มะเร็งตบั ไต) พบ
ในคนหรือสัตว์
5.2 ทริปซิน อินฮิบิเตอร์ (Trypsin inhibitor; T.I.) เป็นสารตา้ นโภชนาการท่ีเป็ นโปรตีน พบ
ในถวั่ เหลืองดิบหรือผา่ นกระบวนการใหค้ วามร้อนไม่เพียงพอ เย่ือหุม้ เมล็ดขา้ ว รําขา้ ว ขา้ วฟ่ าง ผล
จากการไดร้ ับสารน้ี คือตบั ออ่ นโตข้ึน
การแกไ้ ข โดยการนาํ ไปอบ น่ึง ท่ีความร้อน 100 องศาเซลเซียส นาน 15 นาที สามารถลด
พิษของสารน้ีได้ 95 เปอร์เซ็นต์
5.3 กรดไฟติก (phytic acid; phytate) จบั ตวั กบั แร่ธาตุ สังกะสี ทองแดง แมงกานีส
แคลเซียม ได้ดี ซ่ึงแร่ธาตุเหล่าน้ีเป็ นปัจจยั ร่วม (co-factor) ในการสังเคราะห์โปรตีน ส่งผลการ
เจริญเติบโตลดลง พบในถวั่ เหลือง รําขา้ ว
การแกไ้ ขโดยการใหค้ วามร้อนตม้ หรือน่ึงใหส้ ุก หรือเติมเอนไซม์ ไฟเตส(phytase) เสริมในอาหาร
5.4 สารไฟโตฮีมอะกลูตินิน (phytohemeagglutinin) เป็นสารพิษพวกโปรตีนที่ตา้ นการยอ่ ย
โปรตีน มีโครงสร้างท่ีจะรวมตวั กบั พวกไกลโคโปรตีน ทาํ ให้เมด็ เลือดแดงตกตะกอนท่ีเยอื่ บุเซลล์
ผนงั ลาํ ไส้ และทาํ ให้สูญเสียความสามารถในการดูดซึม ส่งผลใหโ้ ภชนะถูกนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ได้
ไม่เตม็ ที่ สัตวม์ ีการเจริญเติบโตลดลง
การแกไ้ ข โดยการทาํ ใหส้ ุก พิษจะถูกทาํ ลายดว้ ยความร้อน
5.5 ไมโมซิน (mimosine) พบได้ในใบกระถิน ทาํ ให้การเจริญเติบโตของสัตว์ลดลง
การแกไ้ ข โดยนาํ ไปแช่น้าํ 24 ชวั่ โมง ผ่งึ ใหแ้ หง้ สามารถใชไ้ ดม้ ากข้ึนเป็น 10-15 เปอร์เซ็นต์
5.6 กอสซีโปล (gosspol) ผลิตจากต่อมสีหรือต่อมน้าํ มนั ของเมล็ดนุ่นหรือฝ้ าย เป็ นสารท่ี
ยบั ย้งั การรวมตวั ของสารต่าง ๆ ในร่างกาย ส่งผลต่อกระบวนการเมตาโบลิซึม ทาํ ให้การใช้
ประโยชน์ไดข้ องพลงั งานและกรดอะมิโนลดลง เนื่องจากสารน้ีจะจบั ตวั กบั โปรตีนทาํ ใหเ้ ลือดออก
ท่ีหวั ใจ การเจริญเติบโตลดลง การสร้างน้าํ เช้ือ (sperm) ลดลงและเป็ นหมนั ได้ การแกไ้ ขทาํ ไดย้ าก
ควรหลีกเลี่ยงหรือใชใ้ นปริมาณนอ้ ย 5-10 เปอร์เซ็นต์
5.7 สารกลูโคสิโนเลท (glucosinolate) พบในพืชตระกูลถัว่ เป็ นสารยบั ย้งั การสร้าง
ฮอร์โมนและต่อมไธรอยด์ ทาํ ให้กระบวนการเมตาโบลิซึมผิดปกติ การใช้ประโยชน์ได้จากอาหาร
ลดลง สารน้ีถูกเปลี่ยนเป็ นสารพิษท่ีมีความรุนแรง เป็ นพิษกบั แบคทีเรียในระบบทางเดินอาหาร ทาํ ให้
ต่อมไธรอยดโ์ ต ควรหลีกเลี่ยงหรือใชป้ ริมาณนอ้ ย 5-10 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร
160
5.8 สารพิษจากเช้ือรา เป็นปัจจยั หน่ึงที่ส่งผลกระทบต่อการเล้ียงสัตวน์ ้าํ อยา่ งมาก เนื่องจาก
ความเป็ นพิษค่อนขา้ งรุนแรง และถา้ ไดร้ ับปริมาณนอ้ ยมกั ทาํ ให้สัตวเ์ จริญเติบโตชา้ ประสิทธิภาพ
การใชอ้ าหารลดลง ส่งผลเสียหายทางเศรษฐกิจมากอาการท่ีพบ เช่น ตบั อกั เสบ ตกเลือด น้าํ หนกั ลด
ผิวหนังลอกหลุด เนื่องจากวตั ถุดิบที่ใช้เป็ นส่วนผสมในอาหารมักมีเช้ือรา ได้แก่ ข้าวโพด
กากมะพร้าว กากถวั่ ลิสง เป็ นตน้ นอกจากน้ีข้นั ตอนการผลิตอาหารท่ีไม่สะอาดมีโอกาสปนเป้ื อน
จากเคร่ืองมืออุปกรณ์ที่ใชไ้ ดเ้ ช่นกนั วตั ถุดิบท่ีมกั พบเช้ือราซ่ึงมีการสร้างสารหลายกลุ่ม คือ
5.8.1 สารพิษอะฟลาทอกซิน (aflatoxin) พิษของสารท่ีสร้างจากเช้ือราค่อนขา้ งรุนแรง
เน่ืองจากมีผลในระดบั เซลล์ ถา้ ไดร้ ับในปริมาณนอ้ ยทาํ ใหเ้ ป็นเน้ืองอกในตบั มะเร็งตบั และถุงน้าํ ดี
5.8.2 สารพษิ ทีททู อกซิน (T-2 toxin) เป็ นเช้ือราท่ีมีพิษรุนแรงมากยบั ย้งั การสังเคราะห์
และยบั ย้งั การทาํ งานของเอนไซม์บางชนิด ทาํ ลายเยื่อบุทางเดินอาหารและไขกระดูก เนื่องจาก
เช้ือรา ทนต่อความร้อน (300-350 องศาเซลเซียส) และสารเคมี ดงั น้นั ควรหลีกเล่ียงหรืองดใช้
วตั ถุดิบท่ีมีเช้ือรา ดงั แสดงตวั อยา่ งผลของสารพิษจากเช้ือราในสัตวน์ ้าํ ตามตารางท่ี 5.4
ตารางที่ 5.4 ตวั อยา่ งแสดงผลของสารพิษจากเช้ือราในสัตวน์ ้าํ
ชนิดสัตวน์ ้าํ ขนาดสตั วน์ ้าํ ระดบั ของสารพษิ ความเป็ นพิษ
อะฟลาทอกซิน
กุง้ กา้ มกราม 14-16 กรัม มากกวา่ 200 พีพีบี. การเจริญเติบโตและอตั รารอดต่าํ
200-400 พีพีบี. แสดงผลแบบเร้ือรัง
400-800 พีพบี ี. แสดงผลแบบเฉียบพลนั
หรือมากกวา่
ปลาดุกบิ๊กอุย 83-85 กรัม มากกวา่ 20 พพี ีบี. ประสิทธิภาพการใชอ้ าหารลดลง
ลูกผสม อตั ราการตายสูง
ปลานิล 80-83 กรัม เป็นช่วงวกิ ฤต
ปลากดหลวง 31 กรัม มากกวา่ 20 มก./กก. ปลามีน้าํ หนกั เพม่ิ นอ้ ย
80 มก./กก. ปริมาณเมด็ เลือดแดงและ
เมด็ เลือดขาวต่าํ อตั ราการตาย
มากกวา่ 320 มก./กก. มากกวา่ 70 เปอร์เซ็นต์
กุง้ กลุ าดาํ 1-2 กรัม มากกวา่ 200 พีพีบี. ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตและ
อตั ราการรอด แต่ท่ีมากกว่า 76
พีพีบี. พบเซลล์ท่อตับตีบและ
10-12 กรัม มากกวา่ 500 พพี บี ี. เซลล์ท่อไตตายบางส่วน อตั รา
การรอดลดลง 26 เปอร์เซ็นต์
ที่มา : กรมประมง (2550)
161
สรุป
วตั ถุดิบอาหารสัตว์ หมายถึง สารใด ๆ ก็ตามไม่ว่าจะไดจ้ ากแหล่งธรรมชาติหรือจากการ
สังเคราะห์ ซ่ึงมีคุณค่าทางโภชนาการก่อให้เกิดประโยชน์แก่สัตวน์ ้าํ การจาํ แนกวตั ถุดิบอาหาร
สตั วน์ ้าํ จาํ แนกได้ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ วตั ถุดิบท่ีเป็ นแหล่งโปรตีน หมายถึง วตั ถุดิบท่ีเติมลงในอาหาร
สัตวน์ ้าํ เพ่ือเพ่ิมระดบั ของโปรตีนในสูตรอาหารใหเ้ พียงพอต่อความตอ้ งการของสัตวน์ ้าํ วตั ถุดิบท่ี
เป็ นแหล่งโปรตีน จะตอ้ งมีโปรตีน มากกวา่ 20 เปอร์เซ็นต์ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ตามแหล่งที่มา
ไดแ้ ก่ โปรตีนจากสัตว์ เช่น ปลาป่ น กุง้ ป่ น หมึกป่ น ปลาเป็ ด และหางนมผง เป็ นตน้ โปรตีนจาก
พืช เช่น กากถว่ั เหลือง กากถวั่ ลิสง เมล็ดถว่ั เหลือง และใบกระถินป่ น เป็ นตน้ โปรตีนอ่ืน ๆ เช่น
สาหร่ายสไปรูลินา และกรดอะมิโนสังเคราะห์ เป็นตน้
วตั ถุดิบอาหารท่ีเป็ นแหล่งพลงั งาน หมายถึง วตั ถุดิบอาหารที่ใช้ผสมลงในสูตรอาหาร
เพ่ือใหร้ ะดบั พลงั งานในอาหารเพ่มิ ข้ึน ซ่ึงวตั ถุดิบพลงั งานจะมีโปรตีนต่าํ กวา่ 20 เปอร์เซ็นต์ เช่น รํา
ละเอียด ปลายขา้ ว ขา้ วโพด และกากน้าํ ตาล เป็นตน้
วตั ถุดิบที่เป็ นแหล่งแร่ธาตุและวิตามิน โดยปกติในวตั ถุดิบอาหารแต่ละประเภท จะมี
วิตามินและแร่ธาตุอยู่แลว้ แต่มีปริมาณท่ีต่าํ ไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการของสัตวน์ ้าํ ฉะน้นั เพื่อ
ป้ องกนั การขาดวิตามินและแร่ธาตุของสัตวน์ ้าํ จึงตอ้ งเติมวิตามินและแร่ธาตุสังเคราะห์ลงไปใน
สูตรอาหารสัตวน์ ้ําด้วย ซ่ึงมีอยู่ในวตั ถุดิบ เช่น กระดูกป่ น ไดแคลเซียมฟอสเฟต และพรีมิกซ์
เป็ นตน้
การผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ มีหลกั การเลือกใชว้ ตั ถุดิบอาหารที่มีคุณภาพดี ราคายตุ ิธรรมหาซ้ือ
ไดง้ ่ายในทอ้ งถ่ินหรือบริเวณใกลเ้ คียง สัตวน์ ้าํ สามารถใชป้ ระโยชน์ไดด้ ี เช่น ยอ่ ยง่าย มีรสชาติดี มี
กลิ่นหอมน่ากิน ไมม่ ีกล่ินหืน ไม่มีสารพิษหรือยาฆ่าแมลงปนอยู่ เป็ นวตั ถุดิบใหม่ ไม่เก่าเก็บ ความ
สะดวกในการใช้ผสมอาหารและเก็บรักษาไดง้ ่าย และท่ีสาํ คญั ในการเลือกซ้ือวตั ถุดิบอาหารสัตว์
ควรมีการกาํ หนดลักษณะและคุณสมบตั ิมาตรฐานของวตั ถุดิบโดย ใช้มาตรฐานท่ีกาํ หนดตาม
พระราชบญั ญตั ิ อาหารสัตว์ ที่มีรายละเอียด เช่น เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีน เปอร์เซ็นต์ไขมนั เปอร์เซ็นต์
ความช้ืน เปอร์เซ็นตแ์ คลเซียม เปอร์เซ็นตฟ์ อสฟอรัส และเปอร์เซ็นตเ์ กลือ เป็นตน้
การคดั เลือกวตั ถุดิบในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าํ ควรมีการตรวจสอบคุณภาพวตั ถุดิบก่อนที่
จะนาํ มาใช้ ถือเป็นข้นั ตอนท่ีสาํ คญั เพราะถา้ ใชว้ ตั ถุดิบท่ีมีคุณภาพดี ยอ่ มส่งผลใหอ้ าหารท่ีผลิตไดม้ ี
คุณภาพดีดว้ ย ซ่ึงผตู้ รวจสอบควรทราบรายละเอียด เพ่ือใหส้ ามารถปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง รวดเร็ว
ประหยดั ค่าใช้จ่าย และไดใ้ ชป้ ระโยชน์จากการตรวจสอบอย่างเต็มที่ดว้ ยการดูลกั ษณะสี รูปร่าง
ดมกลิ่น ใชม้ ือสัมผสั ดูความช้ืน และชิมรส เป็นตน้
บทที่ 6
การผลติ อาหารสัตว์นา้
สาระสาคญั
อาหารสัตวน์ ้าที่มีคุณภาพดีตอ้ งมีสัดส่วนของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมนั วิตามิน และ
แร่ธาตุ ครบท้ังคุณภาพและปริมาณ เพียงพอกับความต้องการของสัตว์น้า เน่ืองจากอาหาร
เป็ นตน้ ทุนการผลิตท่ีสาคญั ในการเล้ียงสัตวน์ ้า ผเู้ ล้ียงจึงพยายามหาแนวทางในการลดตน้ ทุนการ
ผลิต โดยการลดตน้ ทุนอาหารให้ต่าลง หรือให้อาหารอย่างมีประสิทธิภาพ ให้สูญเสียในน้าน้อย
ท่ีสุด โดยเฉพาะการเล้ียงสัตวน์ ้าแบบพฒั นา ซ่ึงจะใช้อาหารเม็ดหรืออาหารสดเป็ นอาหารหลกั
การผลิตอาหารสัตวน์ ้าใชเ้ องในฟาร์มจะทาให้ตน้ ทุนอาหารต่ากวา่ การซ้ืออาหารสาเร็จรูป หลกั การ
ผลิตอาหารดงั กล่าว เป็ นหลกั การพ้ืนฐานท่ีผูผ้ ลิตจาเป็ นตอ้ งทราบถึงชนิดของวตั ถุดิบอาหารที่
นามาใช้ผลิตอาหาร ความตอ้ งการสารอาหารของสัตวน์ ้า เพื่อนามาใช้ในการคานวณสูตรอาหาร
และกรรมวธิ ีการผลิตอาหารสัตวน์ ้า
ในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าเม่ือไดค้ านวณสูตรอาหารพอดีกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้าแลว้
ก็นาสูตรอาหารดงั กล่าวมาผา่ นกรรมวธิ ีการผลิตอาหารเมด็ เพื่อนาไปอนุบาลหรือเล้ียงสัตวน์ ้าต่อไป
หรือผลิตจากโรงงานอาหารสัตวต์ ่างก็มีข้นั ตอนการผลิตพ้ืนฐานเช่นเดียวกนั แต่อาจแตกต่างกนั
ในรายละเอียดของรูปแบบเคร่ืองมือที่ใชผ้ ลิตอาหาร และการจดั การข้นั ตอนการผลิต
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทวั่ ไป
เพื่อใหน้ กั ศึกษามีความรู้และเขา้ ใจและเห็นความสาคญั ของการผลิตอาหารสัตวน์ ้า
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. อธิบายวธิ ีการสร้างสูตรอาหารสตั วน์ ้าได้
2. อธิบายเครื่องมือท่ีใชใ้ นการผลิตอาหารสัตวน์ ้าได้
3. อธิบายวธิ ีการผลิตอาหารเมด็ ได้
4. อธิบายการประเมินคุณคา่ ทางอาหารได้
5. อธิบายการวเิ คราะห์คุณค่าทางโภชนาการของอาหารสตั วน์ ้าได้
6. อธิบายการเพิ่มคุณคา่ อาหารสตั วน์ ้าได้
173
หัวข้อเรื่อง
1. การสร้างสูตรอาหารสตั วน์ ้า
2. เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการผลิตอาหารสัตวน์ ้า
3. วธิ ีการผลิตอาหารเมด็
4. การประเมินคุณคา่ ทางอาหาร
5. การวเิ คราะห์คุณคา่ ทางโภชนาการของอาหารสตั วน์ ้า
6. การเพม่ิ คุณค่าอาหารสัตวน์ ้า
เนือ้ หาสาระ
อาหารสตั วน์ ้ามีอยหู่ ลายประเภท แต่ละประเภทตา่ งมีคุณสมบตั ิเฉพาะสาหรับสัตวน์ ้าน้นั ๆ
และท่ีสาคญั ตอ้ งมีคุณภาพดี มีสัดส่วนของสารอาหารครบถว้ นตรงตามความตอ้ งการของสัตวน์ ้า
ซ่ึงอาหารท่ีสามารถกาหนดปริมาณสารอาหารไดต้ ามความตอ้ งการ คือ อาหารสาเร็จรูป การผลิต
อาหารสาเร็จรูปเพอ่ื ใชใ้ นการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้ามีหลกั การผลิตที่สาคญั คือ การนาวตั ถุดิบชนิดต่าง ๆ
ที่มีสารอาหารครบถว้ นตามความตอ้ งการของสัตวน์ ้า มาผา่ นกรรมวิธีการผลิตหลกั ๆ คือ การสร้าง
สูตรอาหาร การคดั เลือกวตั ถุดิบ การบดวตั ถุดิบ การชง่ั น้าหนกั การผสมวตั ถุดิบ การอดั เมด็ อาหาร
การลดความช้ืน และการเกบ็ รักษา ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี
1. การสร้างสูตรอาหารสัตว์นา้
เมื่อทราบความตอ้ งการสารอาหารของสัตวน์ ้าแต่ละชนิดแล้ว ตอ้ งกาหนดปริมาณของ
วตั ถุดิบอาหาร เพ่ือให้ได้ส่วนผสมอาหารท่ีตรงกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้า วตั ถุดิบอาหารแต่ละ
ชนิดต่างมีคุณค่าทางโภชนาการเฉพาะตวั ของวตั ถุดิบน้นั วตั ถุดิบบางชนิดมีสารอาหารประเภทหน่ึง
มากแต่อีกประเภทหน่ึงนอ้ ย เช่น ปลาป่ นมีโปรตีนสูงแต่มีพลงั งานต่า หรือปลายขา้ วมีพลงั งานสูง
แต่มีโปรตีนต่า เป็ นตน้ ในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าจึงควรนาวตั ถุดิบหลาย ๆ ชนิดมาผสมกนั ใน
สัดส่วนที่เหมาะสม เพ่ือใหไ้ ดอ้ าหารท่ีมีโภชนะครบถว้ น ซ่ึงสัดส่วนดงั กล่าว เรียกวา่ “สูตรอาหาร”
สาหรับการคานวณสูตรอาหารสัตว์น้า หรือการหาสัดส่วนของวตั ถุดิบอาหารสัตว์น้า
สามารถทาไดห้ ลายวิธี โดยมีหลกั การเดียวกนั คือ ตอ้ งกาหนดปริมาณโปรตีนท่ีตอ้ งการในสูตร
อาหาร เพ่ือให้ไดอ้ าหารท่ีมีปริมาณโปรตีนตรงตามความต้องการ โดยก่อนทาการคานวณสูตร
อาหารตอ้ งศึกษาตารางมาตรฐานอาหาร (feeding standard) ของสัตวน์ ้าและท่ีสาคญั ในการคานวณ
สูตรอาหารสัตวน์ ้าตอ้ งคานวณจากฐานวตั ถุดิบท่ีแหง้ (dry matter basis) เพื่อใหไ้ ดโ้ ภชนะท่ีถูกตอ้ ง
ครบถว้ น วธิ ีการคานวณสูตรอาหารมีอยดู่ ว้ ยกนั หลายวธิ ี แต่ที่นิยมใชก้ นั ในปัจจุบนั มี 3 วธิ ี ดงั น้ี
174
1.1 การคานวณโดยวธิ ีลองผดิ ลองถูก
วิธีการคานวณสูตรอาหารแบบลองผิดลองถูก เป็ นวิธีการคานวณที่เร่ิมตน้ ด้วยการ
กาหนดปริมาณส่วนผสมท่ีนิยมและสะดวก คือ 100 กิโลกรัม จากน้นั ตอ้ งพิจารณาชนิด ขนาดหรือ
วยั ของสัตวน์ ้าน้นั เพ่ือกาหนดปริมาณโปรตีนท่ีสัตวน์ ้าตอ้ งการ โดยการประมาณการสัดส่วนจาก
วตั ถุดิบอาหารท่ีไดจ้ ดั เตรียมไว้ เม่ือทดลองแล้วโภชนะไม่ตรงตามความตอ้ งการ ให้ทาการปรับ
สัดส่วนโดยยึดหลกั ปรับลดหรือเพ่ิมเฉพาะวตั ถุดิบท่ีมีปริมาณโปรตีนสูงสุดและต่าสุด ดงั ตวั อยา่ ง
การคานวณสูตรอาหารโดยวธิ ีการลองผดิ ลองถูก ซ่ึงแบ่งยอ่ ยได้ 2 กรณี ต่อไปน้ี
1.1.1 ในกรณีท่ีใชว้ ตั ถุดิบอาหาร 2 ชนิด การผลิตอาหารสัตวน์ ้าที่ใชว้ ตั ถุดิบ 2 ชนิดมา
ผสมกนั ส่วนใหญ่จะใชป้ ลาเป็ ดหรือปลาป่ นเป็ นหลกั แล้วนาวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ี่ไดจ้ ากพืชมา
ผสม ดงั เช่น การใชป้ ลาเป็ ดผสมรา หรือปลาเป็ ดผสมปลายขา้ วในการอนุบาล และการเล้ียงปลาบู่
หรือปลาช่อน หรืออาจเป็ นการใชป้ ลาป่ นผสมราหรือปลาป่ นผสมปลายขา้ วในการอนุบาลและการเล้ียง
ปลาดุก ปลาสวายและปลากินพชื บางชนิด เช่น ปลานิล ปลาตะเพยี นขาว เป็นตน้
ตัวอย่างที่ 1 จงคานวณสูตรอาหารปลานิล ซ่ึงตอ้ งการผลิตใหม้ ีโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ จานวน 100
กิโลกรัม โดยใชป้ ลาป่ นและราเป็ นส่วนผสม กาหนดให้ปลาป่ นและรามีโปรตีน 60 เปอร์เซ็นต์
และ12 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั
วธิ ีการคานวณ
ข้นั ตอนท่ี 1 ทดลองประมาณการสัดส่วนของปลาป่ นและรา วา่ ควรใชเ้ ท่าใด โดยใชห้ ลกั
คิดที่วา่ จากปลาป่ นมีโปรตีนสูงมาก แต่รามีโปรตีนต่า ดงั น้นั จึงควรลองประมาณใหร้ ามีมากกวา่
ปลาป่ น ดงั น้ี ปลาป่ น 40 กิโลกรัม
รา 60 กิโลกรัม
รวม 100 กิโลกรัม
ข้นั ตอนท่ี 2 ตรวจสอบดูวา่ สูตรอาหารดงั กล่าว มีโปรตีนครบ 30 เปอร์เซ็นต์ หรือไม่
ปลาป่ น จานวน 40 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 40x60 24 กิโลกรัม
รา จานวน 60 กิโลกรัม มีปริมาณ โปรตีน 100 กิโลกรัม
กิโลกรัม
รวม 60x12 7.2
100
31.2
จะเห็นไดว้ า่ ในสูตรอาหาร 100 กิโลกรัมมีโปรตีนอยู่ 31.2 กิโลกรัม หรือ 31.2 เปอร์เซ็นต์
แต่ที่ตอ้ งการจริง ๆ เพียง 30 เปอร์เซ็นต์ เท่าน้นั ดงั น้นั ตอ้ งลดเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ดงั กล่าวขา้ งตน้ อีก เทา่ กบั 31.2 – 30 = 1.2 เปอร์เซ็นต์
175
ข้นั ตอนที่ 3 ปรับสูตรอาหารที่ใหม้ ีเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนตามท่ีตอ้ งการ โดยการลดปลาป่ น
แลว้ แทนท่ีดว้ ยราจานวนเทา่ ๆ กนั เพือ่ ใหส้ ูตรอาหารยงั คงมีน้าหนกั รวมเป็น 100 กิโลกรัม
การลดปลาป่ น 1 กิโลกรัม ทาใหป้ ริมาณโปรตีนลดลง 1x60 0.60 กิโลกรัม
100
การเพ่มิ รา 1 กิโลกรัม ทาใหป้ ริมาณโปรตีนเพิม่ ข้ึน 1x12 0.12 กิโลกรัม
100
นน่ั คือ การลดปลาป่ นออกจากสูตรอาหาร 1 กิโลกรัม แลว้ เพิ่มรา 1 กิโลกรัม จะทาให้
ปริมาณโปรตีนท้งั หมดในสูตรอาหารลดลง 0.60 – 0.12 = 0.48 กิโลกรัม แต่เนื่องจากตอ้ งการลด
โปรตีนท้งั หมดลงเทา่ กบั 1.2 กิโลกรัม ดงั น้นั จึงตอ้ งลดปลาป่ น เทา่ กบั 1.2 2.5 กิโลกรัม
0.48
แลว้ เพม่ิ ราเขา้ ไป 2.5 กิโลกรัม ก็จะไดส้ ูตรอาหารท่ีถูกตอ้ งดงั น้ี
ข้นั ตอนท่ี 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสตั ว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (เปอร์เซ็นต)์
ปลาป่ น 40 – 2.5 = 37.5 37.5x60 22.5
รา 60 + 2.5 = 62.5 100
รวม
100 62.5x12 7.5
100
30
1.1.2 ในกรณีท่ีใชว้ ตั ถุดิบอาหารมากกวา่ 2 ชนิด การคานวณโดยวิธีน้ีเป็ นวธิ ีที่นิยม
อยา่ งแพร่หลาย เนื่องจากการใชว้ ตั ถุดิบอาหารสัตวจ์ านวนมากชนิดมาผสมรวมกนั จะช่วยให้มีการ
ทดแทนธาตุอาหารซ่ึงกนั และกนั โดยเฉพาะกบั วตั ถุดิบอาหารสตั วบ์ างชนิดที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ไมค่ รบถว้ นซ่ึงทาใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ สูตรอาหารที่ผลิตข้ึนมา จะมีธาตุอาหารครบถว้ นสมบูรณ์ ปัญหาที่
มกั พบของการคานวณโดยวิธีน้ี คือ เลือกใช้วตั ถุดิบอาหารสัตว์ 3 ชนิด หรือ 4 ชนิด หรือมากกว่า
น้นั และถา้ จะใชค้ วรจะใชใ้ นปริมาณเท่าใดในสูตรอาหารซ่ึงในเร่ืองดงั กล่าวควรพิจารณาประเด็น
ต่าง ๆ ดงั น้ี คือ การเลือกใชจ้ านวนชนิดของวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้นั ควรพิจารณาถึงคุณภาพ ราคา
และความสะดวกในการจดั หาวตั ถุดิบเหล่าน้นั มาประกอบการตดั สินใจ สาหรับปริมาณวตั ถุดิบ
อาหารสัตวท์ ี่ใช้ในสูตรอาหารควรพิจารณาถึงชนิดของสัตวน์ ้าท่ีเล้ียง และคุณสมบตั ิของวตั ถุดิบ
อาหารสตั ว์ ในสูตรอาหารประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ มีความเป็ นไปได้ แต่ถา้ จะใชใ้ นสูตรอาหารปลา
กินเน้ือ ควรใชเ้ กิน 15-20 เปอร์เซ็นต์ เป็นตน้
ตัวอย่างที่ 2 จงคานวณสูตรอาหารปลากินพืช ซ่ึงตอ้ งการให้มีโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ จานวน 100
กิโลกรัม โดยใชป้ ลาป่ น กากถวั่ ลิสง รา มนั เส้น และพรีมิกซ์ เป็ นส่วนผสม กาหนดปริมาณโปรตีน
176
ของปลาป่ น กากถว่ั ลิสง รา และมนั เส้นมีค่าเป็ น 60, 45, 12 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั และใช้
พรีมิกซ์ 2 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร
วธิ ีการคานวณ
ข้นั ตอนท่ี 1 ประมาณสัดส่วนของปลาป่ น กากถว่ั ลิสง ราและมนั เส้นโดยใช้หลกั สังเกต
ที่วา่ เป็ นอาหารปลากินพืช จึงควรลดการใชว้ ตั ถุดิบอาหารสัตวป์ ระเภทโปรตีนสูง เพ่ือลดตน้ ทุน
อาหาร และปริมาณรา และมนั เส้น ไมค่ วรเกิน 40 เปอร์เซ็นตใ์ นสูตรอาหาร ดว้ ยการสมมุติประมาณ
วา่ ควรจะใช้ วตั ถุดิบอาหาร ดงั น้ี
ปลาป่ น 10 กิโลกรัม
กากถวั่ ลิสง 15 กิโลกรัม
รา 33 กิโลกรัม
มนั เส้น 40 กิโลกรัม
พรีมิกซ์ 2 กิโลกรัม
รวม 100 กิโลกรัม
ข้นั ตอนท่ี 2 ตรวจสอบสูตรอาหารวา่ มีโปรตีนครบ 20 เปอร์เซ็นตห์ รือไม่
ปลาป่ น จานวน 10 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 10x60 6 กิโลกรัม
กากถว่ั ลิสง จานวน 15 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 100 กิโลกรัม
รา จานวน 33 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน กิโลกรัม
มนั เส้น จานวน 40 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 15x45 6.75 กิโลกรัม
100 กิโลกรัม
รวม 33x12 3.96
100
40x2 0.8
100
17.51
ดงั น้นั ในสูตรอาหาร 100 จะมีโปรตีนอยู่ 17.51 เปอร์เซ็นต์ แต่เนื่องจากตอ้ งการสูตรอาหาร
ที่มีโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ ดงั น้นั ตอ้ งเพิ่มเปอร์เซ็นต์โปรตีนในสูตรอาหารดงั กล่าวขา้ งตน้ อีก
เทา่ กบั 20.00 – 17.51 = 2.49 เปอร์เซ็นต์
ข้นั ตอนท่ี 3 ปรับสูตรอาหารใหม้ ีโปรตีนตามท่ีตอ้ งการ โดยเพิ่มวตั ถุที่มีโปรตีนสูงสุด คือ
ปลาป่ น แลว้ ลดวตั ถุดิบท่ีมีโปรตีนต่าสุดในจานวนเท่า ๆ กนั เพ่ือใหส้ ูตรอาหารยงั คงมีน้าหนกั รวม
เป็น 100 กิโลกรัม
177
การเพ่ิมปลาป่ น 1 กิโลกรัม ทาใหป้ ริมาณโปรตีนเพิ่มข้ึน 1x60 0.60 กิโลกรัม
100
การลดมนั เส้น 1 กิโลกรัม ทาใหป้ ริมาณโปรตีน ลดลง 1x2 0.02 กิโลกรัม
100
นน่ั คือ การเพิ่มปลาป่ นเขา้ ไปในสูตรอาหาร 1 กิโลกรัม แลว้ ลดมนั เส้น 1 กิโลกรัม จะทา
ให้ปริมาณโปรตีนท้งั หมดในสูตรอาหารเพิ่มข้ึน 0.60 – 0.02 = 0.58 กิโลกรัม แต่เน่ืองจากตอ้ งการ
เพ่ิมปริมาณโปรตีนท้งั หมดในสูตรอาหารอีก 2.49 กิโลกรัม
ดงั น้นั จึงตอ้ งเพิ่มปลาป่ นเท่ากบั 2.49 = 4.29 กิโลกรัม ลดมนั เส้น 4.29 กิโลกรัม จะไดส้ ูตร
0.58
อาหารท่ีถูกตอ้ ง ดงั น้ี
ข้นั ตอนท่ี 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสัตว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)
ปลาป่ น 10 + 4.29 = 14.29 14.29 x60 8.57
100
กากถวั่ ลิสง 15 15 x45 6.75
รา 100
มนั เส้น 33
พรีมิกซ์ 33 x12 3.96
รวม 40 – 4.29 = 35.71 100
2 35.71 x2 0.72
100 100
–
20
หมายเหตุ เนื่องจากวิธีลองผิดลองถูกใช้หลกั การประมาณการสัดส่วนของวตั ถุดิบอาหาร
สตั วใ์ นสูตรอาหาร ดงั น้นั อาจเป็นไปไดท้ ่ีผเู้ ล้ียงหรือเจา้ ของฟาร์มอาจผลิตอาหารท่ีมีปริมาณโปรตีน
เท่ากนั ไดม้ ากกวา่ 1 สูตร ซ่ึงอาจมีตน้ ทุนอาหารและระดบั ธาตุอาหารชนิดอื่น ๆ แตกต่างกนั ไป
ตัวอย่างที่ 3 จงคานวณสูตรอาหารปลากินพืช ซ่ึงตอ้ งการใหม้ ีโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ จานวน 100
กิโลกรัม โดยใชป้ ลาป่ น กากถวั่ ลิสง รา มนั เส้น และพรีมิกซ์ เป็ นส่วนผสม กาหนดปริมาณโปรตีน
ของปลาป่ น กากถวั่ ลิสง รา และมนั เส้นมีค่าเป็ น 60, 45, 12 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั และใช้
พรีมิกซ์ 2 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร
178
ข้นั ตอนท่ี 1 สมมุติประมาณการสดั ส่วนในสูตรอาหารมีดงั น้ี
ปลาป่ น 10 กิโลกรัม
กากถวั่ ลิสง 15 กิโลกรัม
รา 35 กิโลกรัม
มนั เส้น 38 กิโลกรัม
พรีมิกซ์ 2 กิโลกรัม
รวม 100 กิโลกรัม
ข้นั ตอนที่ 2 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีน 10x60 6 กิโลกรัม
ปลาป่ น 10 กิโลกรัม มีปริมาณ โปรตีน 100 กิโลกรัม
กิโลกรัม
กากถว่ั ลิสง 15 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 15x45 6.75 กิโลกรัม
รา จานวน 35 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 100 กิโลกรัม
35x12 4.2
มนั เส้น 38 กิโลกรัม มีปริมาณโปรตีน 100
38x2 0.76
รวม 100
17.71
ดงั น้นั จึงมีโปรตีนอยรู่ วม 17.71 กิโลกรัม หรือมีโปรตีน 17.71 เปอร์เซ็นต์ แต่ตอ้ งการผลิต
อาหารท่ีมีโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ จึงตอ้ งเพ่ิมเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนอีกเท่ากบั 20.00 – 17.71 = 2.29
เปอร์เซ็นต์
ข้นั ตอนท่ี 3 ปรับสูตรอาหาร
การเพ่มิ ปลาป่ น 1 กิโลกรัม ทาใหป้ ริมาณโปรตีนเพ่ิมข้ึน 1x60 0.6 กิโลกรัม
100
การลดมนั เส้น 1 กิโลกรัม ทาใหป้ ริมาณโปรตีนลดลง 1x2 0.02 กิโลกรัม
100
นน่ั คือการเพม่ิ ปลาป่ นข้ึน 1 กิโลกรัม แลว้ ลดมนั เส้นลง 1 กิโลกรัม ทาใหโ้ ปรตีนเพ่ิมข้ึน
0.60 – 0.02 = 0.58 กิโลกรัม แตเ่ นื่องจากตอ้ งการเพม่ิ โปรตีนในสูตรอาหารอีก 2.29 กิโลกรัม
ดงั น้นั จึงตอ้ งเพมิ่ ปลาป่ นเท่ากบั 2.29 3.95 กิโลกรัม พร้อมท้งั ลดมนั เส้น 3.95 กิโลกรัม จึงได้
0.58
สูตรอาหารท่ีถูกตอ้ ง ดงั น้ี
179
ข้นั ตอนท่ี 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสตั ว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)
ปลาป่ น 10 + 3.95 = 13.95 13.95 x60 8.37
100 6.75
กากถว่ั ลิสง 15 15x45 4.20
0.68
รา 35 100
35 x12 –
มนั เส้น 38 – 3.95 = 34.05
100
34.05 x2
100
พรีมิกซ์ 2 20
รวม 100
1.2 การคานวณโดยวธิ ีเขียนรูปสี่เหล่ียม
วิธีน้ีเป็ นวิธีนิยมใช้มากเหมือนกบั วิธีลองผิดลองถูก โดยจะมีหลกั การที่สาคญั ดงั น้ีคือตอ้ ง
แบ่งวตั ถุดิบอาหารสัตวอ์ อกเป็ น 2 กลุ่ม คือ วตั ถุดิบท่ีมีโปรตีนสูง และวตั ถุดิบท่ีมีโปรตีนต่า แลว้
เขียนค่าเปอร์เซ็นต์โปรตีนไวม้ ุมซ้ายของรูปส่ีเหลี่ยม โดยเขียนเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนของวตั ถุดิบท่ีมี
โปรตีนสูงไวม้ ุมซา้ ยล่าง และเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนของวตั ถุดิบท่ีมีโปรตีนต่าไวม้ ุมซา้ ยบน จากน้นั จึง
นาค่าท่ีไดม้ าหักลบกบั เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนท่ีตอ้ งการในสูตรอาหาร ซ่ึงเขียนไวต้ รงกลางสี่เหล่ียม
โดยกาหนดให้ค่ามากกว่าเป็ นตวั ต้งั แลว้ จึงนาผลที่หักลบแล้วมาคานวณสูตรอาหาร วิธีเขียนรูป
ส่ีเหลี่ยม อาจแบ่งยอ่ ยได้ 2 กรณี คือ
1.2.1 ในกรณีท่ีใชว้ ตั ถุดิบอาหาร 2 ชนิด
การผลิตอาหารสตั วน์ ้าที่ใชว้ ตั ถุดิบ 2 ชนิด มาผสมกนั น้ี ส่วนใหญ่จะใชป้ ลาเป็ดหรือ
ปลาป่ นเป็นหลกั แลว้ นาวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีไดจ้ ากพชื มาผสม
ตวั อย่างท่ี 4 จงคานวณสูตรอาหารปลาดุก ซ่ึงตอ้ งการผลิตให้มีโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ จานวน 100
กิโลกรัม โดยใช้เศษไก่ และกากถวั่ เหลืองเป็ นส่วนผสม กาหนดให้เศษไก่ และกากถวั่ เหลืองมี
โปรตีน 14 เปอร์เซ็นต์ และ 45 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั
วธิ ีการคานวณ
ข้นั ตอนที่ 1 เขียนรูปส่ีเหลี่ยมจตั ุรัสและใส่เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนท่ีตอ้ งการใหม้ ีลงตรงกลาง
30
180
ข้นั ตอนที่ 2 ใส่เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนของกากถว่ั เหลือง ซ่ึงมีโปรตีนสูงไวม้ ุมซา้ ยล่างและ
เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนของเศษไก่ ซ่ึงมีโปรตีนต่าไวม้ ุมซา้ ยบน แลว้ หกั ลบค่าเหล่าน้นั กบั เปอร์เซ็นต์
โปรตีนที่ตอ้ งการใหม้ ีไวท้ ี่มุมตรงขา้ มของวตั ถุดิบอาหารสตั ว์
เศษไก่ 14 15
30
กากถว่ั เหลือง 45 16
ดงั น้นั สัดส่วนของปลาเป็ดและกากถวั่ เหลืองในอาหารผสมมีรวม 15+16 = 31 ส่วน
ข้นั ตอนที่ 3 คานวณปริมาณเศษไก่และกากถวั่ เหลืองในสูตรอาหาร 100 กิโลกรัม ไดด้ งั น้ี
อาหารผสม 31 กิโลกรัม ตอ้ งมีเศษไก่ 15 กิโลกรัม
อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้ งมี เศษไก่ 15x100 48.38 กิโลกรัม
อาหารผสม 31 กิโลกรัม ตอ้ งมีกากถวั่ เหลือง 31 กิโลกรัม
16
อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้ งมีกากถว่ั เหลือง 16x100 51.62 กิโลกรัม
รวม 31 กิโลกรัม
100
ข้นั ตอนที่ 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสัตว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)
เศษไก่ 48.38
48.38 x14 6.78
100
กากถวั่ เหลือง 51.62 51.62 x45 23.22
รวม 100 100
30
ตวั อย่างท่ี 5 จงคานวณสูตรอาหารปลานิล ซ่ึงตอ้ งการผลิตใหม้ ีโปรตีน 25 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้
ปลาป่ น และ รา ซ่ึงมีโปรตีน 60 และ 12 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั โดยวธิ ีการเขียนรูปสี่เหล่ียม
วธิ ีการคานวณ
ข้นั ตอนที่ 1 เขียนรูปส่ีเหลี่ยมและใส่เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนท่ีตอ้ งการใหม้ ีลงตรงกลาง
25
181
ข้นั ตอนท่ี 2 ใส่เปอร์เซ็นต์โปรตีนของปลาป่ น ซ่ึงมีโปรตีนสูงไวม้ ุมซ้ายล่างและ
เปอร์เซ็นต์โปรตีนของรา ซ่ึงมีโปรตีนต่าไวม้ ุมซ้ายบน แล้วหักลบค่าเหล่าน้ันกับเปอร์เซ็นต์
โปรตีนท่ีตอ้ งการใหม้ ีไวท้ ี่มุมตรงขา้ มของวตั ถุดิบ
รา 12 35
25
ปลาป่ น 60 13
ดงั น้นั สดั ส่วนของราและปลาป่ นในอาหารมีรวม 35+13 = 48 ส่วน
ข้นั ตอนที่ 3 คานวณปริมาณรา และปลาป่ นในสูตรอาหาร 100 กิโลกรัม ไดด้ งั น้ี
อาหารผสม 48 กิโลกรัม ตอ้ งมีรา 35 กิโลกรัม
อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้ งมีรา 35x100 72.92 กิโลกรัม
อาหารผสม 48 กิโลกรัม ตอ้ งมีปลาป่ น
48
13 กิโลกรัม
อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้ งมีปลาป่ น 13x100 27.08 กิโลกรัม
48
ข้นั ตอนท่ี 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสตั ว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)
รา 72.92 72.92x12 8.75
100
ปลาป่ น 27.08 27.08x60 16.25
รวม 100 100
25
2) ในกรณีที่ใชว้ ตั ถุดิบอาหารมากกวา่ 2 ชนิด
วธิ ีน้ีจะตอ้ งหาคา่ เฉล่ียเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนของวตั ถุดิบที่มีโปรตีนสูง และคา่ เฉลี่ยเปอร์เซ็นต์
โปรตีนของวตั ถุดิบท่ีมีโปรตีนต่า แลว้ จึงนามาคานวณเช่นเดียวกบั การใชว้ ตั ถุดิบอาหาร 2 ชนิด
ตัวอย่างที่ 6 จงคานวณสูตรอาหารปลาดุก ซ่ึงตอ้ งการผลิตให้มีโปรตีน 35 เปอร์เซ็นต์ จานวน
100 กิโลกรัม โดยใชป้ ลาป่ น กากถวั่ เหลือง ขา้ วโพดบด รา และมนั เส้น เป็ นส่วนผสม กาหนดให้
ปริมาณโปรตีนของปลาป่ น และกากถวั่ เหลือง ขา้ วโพดบด รา และมนั เส้น มีค่าเป็ น 60, 45, 7, 12
และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั
182
วธิ ีการคานวณ
ข้นั ตอนท่ี 1 เขียนรูปส่ีเหล่ียมจตั ุรัสและใส่เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนที่ตอ้ งการใหม้ ีลงตรงกลาง
35
ข้นั ตอนที่ 2 แบ่งวตั ถุดิบอาหารสัตวอ์ อกเป็ นกลุ่มที่มีโปรตีนสูงและโปรตีนต่าโดยใช้
เกณฑแ์ บง่ ท่ี 20 เปอร์เซ็นต์ แลว้ หาคา่ เฉล่ียได้ ดงั น้ี
อาหารกลุ่มที่มีโปรตีนสูง (ปลาป่ น+กากถว่ั เหลือง) มีโปรตีนเฉลี่ย 60 45 52.5 เปอร์เซ็นต์
2
อาหารกลุ่มท่ีมีโปรตีนต่า (ขา้ วโพดบด+รา+มนั เส้น) มีโปรตีนเฉลี่ย 7 12 2 7 เปอร์เซ็นต์
3
จากน้นั นาเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนของอาหารกลุ่มที่มีโปรตีนสูงไวม้ ุมซา้ ยล่าง และเปอร์เซ็นต์
โปรตีนของอาหารกลุ่มที่มีโปรตีนต่าไวม้ ุมซ้ายบน แลว้ หกั ลบค่าเหล่าน้นั กบั เปอร์เซ็นต์โปรตีนท่ี
ตอ้ งการใหม้ ีไวท้ ี่มุมตรงขา้ มของวตั ถุดิบอาหารสตั ว์
ขา้ วโพดบด+รา+มนั เส้น 7 17.5
35
ปลาป่ น+กากถว่ั เหลือง 52.5 28
ดงั น้นั สัดส่วนของวตั ถุดิบอาหารที่มีโปรตีนสูงและโปรตีนต่า รวม 17.5+28=45.5 ส่วน
ข้นั ตอนท่ี 3 คานวณสัดส่วนวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ี่มีโปรตีนสูงและโปรตีนต่าในสูตร
อาหาร 100 กิโลกรัม ไดด้ งั น้ี
อาหารผสม 45.5 กิโลกรัม ตอ้ งมีขา้ วโพดบด ราและมนั เส้น รวม 17.50 กิโลกรัม
อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้ งมีขา้ วโพดบด รา และมนั เส้น รวม 17.5x100 38.46 กิโลกรัม
45.5
ฉะน้นั จึงมีขา้ วโพดบด รา และมนั เส้นอยา่ งละเทา่ ๆ กนั คือ 38.46 12.82 กิโลกรัม
อาหารผสม 45.5 กิโลกรัม ตอ้ งมีปลาป่ นและกากถวั่ เหลือง รวม 3
28 กิโลกรัม
อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้ งมีปลาป่ นและกากถว่ั เหลือง รวม 28x100 61.54 กิโลกรัม
ฉะน้นั จึงมีปลาป่ นและกากถว่ั เหลืองอยา่ งละเทา่ ๆ กนั คือ 45.5
61.54 = 30.77 กิโลกรมั
2
183
ข้นั ตอนที่ 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสตั ว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)
ปลาป่ น 30.77 30.77x60 18.46
100
กากถว่ั ลิสง 30.77 30.77x45 13.85
ขา้ วโพดบด 12.82 100
12.82x7 0.90
100
รา 12.82 12.82x12 1.54
100
มนั เส้น 12.82 12.82x2 0.25
รวม 100 100
35
ตัวอย่างที่ 7 จงคานวณสูตรอาหารปลานิล ซ่ึงตอ้ งการผลิตใหม้ ีโปรตีน 25 เปอร์เซ็นต์ จานวน
100 กิโลกรัม โดยใชป้ ลาป่ น กากถวั่ เหลือง รา ปลายขา้ ว และพรีมิกซ์เป็ นส่วนผสม โดยใชป้ ลาป่ น
และกากถั่วเหลืองอย่างละเท่า ๆ กนั และราเป็ น 2 เท่าของปลายขา้ ว พร้อมท้งั ใช้พรีมิกซ์ 2
เปอร์เซ็นต์ กาหนดให้ปริมาณโปรตีนของปลาป่ น กากถวั่ เหลือง รา และปลายขา้ ว มีค่าเป็ น 60, 44,
12 และ 12 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดบั
วธิ ีการคานวณ
เนื่องจากสูตรอาหารมีพรีมิกซ์ ซ่ึงไมม่ ีโปรตีนอยดู่ ว้ ย 2 เปอร์เซ็นต์ ดงั น้นั ปริมาณอาหาร
ที่นามาคานวณในการเตรียมอาหารจึงเหลือเพยี ง 100-2 = 98 กิโลกรัม
อาหาร 98 กิโลกรัม ตอ้ งมีโปรตีน 25 กิโลกรัม
อาหาร 100 กิโลกรัม ตอ้ งมีโปรตีน 25.5 กิโลกรัม
ข้นั ตอนท่ี 1 เขียนรูปสี่เหลี่ยมจตั ุรัสและเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนที่ตอ้ งการลงตรงกลาง
25.5
ข้นั ตอนที่ 2 แบ่งวตั ถุดิบอาหารสัตว์
อาหารกลุ่มท่ีมีโปรตีนสูง (ปลาป่ น+กากถว่ั เหลือง) มีโปรตีนเฉล่ีย (1x60) (1x44) 52 กิโลกรัม
2
อาหารกลุ่มที่มีโปรตีนต่า (รา+รา+ปลายขา้ ว) มีโปรตีนเฉล่ีย (2x12) (1x12) 12 กิโลกรัม
3
184
จากน้ันใส่เปอร์เซ็นต์โปรตีนของอาหารท่ีมีโปรตีนสูงไวม้ ุมซ้ายล่าง และเปอร์เซ็นต์
โปรตีนของอาหารที่มีโปรตีนต่าไวม้ ุมซ้ายบน แล้วหักลบค่าเหล่าน้ันกบั เปอร์เซ็นต์โปรตีนที่
ตอ้ งการใหม้ ีไวท้ ่ีมุมตรงขา้ มของวตั ถุดิบอาหารสตั ว์
รา+ปลายขา้ ว 12 26.5
25.5
ปลาป่ น+กากถวั่ เหลือง 52 13.5
ดงั น้นั สัดส่วนวตั ถุดิบอาหารที่มีโปรตีนสูงและโปรตีนต่า รวมกนั 26.5+13.5=40 ส่วน
ข้นั ตอนที่ 3 คานวณสดั ส่วนวตั ถุดิบอาหารสัตวใ์ นสูตรอาหาร 98 กิโลกรัม ไดด้ งั น้ี
อาหารผสม 40 กิโลกรัม ตอ้ งมีราและปลายขา้ ว รวม 26.5 กิโลกรัม
อาหารผสม 98 กิโลกรัม ตอ้ งมีราและปลายขา้ ว รวม (26.5x98) 64.92 กิโลกรัม
40 กิโลกรัม
ฉะน้นั มีราอยู่ กิโลกรัม
มีปลายขา้ วอยู่ 2 x64.92 43.28 กิโลกรัม
อาหารผสม 40 กิโลกรัม มีปลาป่ นและกากถวั่ เหลือง รวม 3
1 x64.92 21.64
3
13.50
อาหารผสม 98 กิโลกรัม มีปลาป่ นและกากถว่ั เหลือง รวม 13.5x98 33.08 กิโลกรัม
40 กิโลกรัม
ฉะน้นั มีปลาป่ นอยู่ กิโลกรัม
1 x33.08 16.54
2
มีกากถวั่ เหลืองอยู่
1 x33.08 16.54
2
ข้นั ตอนท่ี 4 ตรวจสอบเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนในสูตรอาหาร
ชนิดวตั ถุดิบอาหารสัตว์ จานวน (กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)
ปลาป่ น 16.54 16.54x60 9.92
กากถวั่ เหลือง 16.54 7.28
100
16.54x44
100
รา 43.28 43.28x12 5.19
100
ปลายขา้ ว 21.64
21.64x12 2.60
พรีมิกซ์ 2 100
รวม 100 -
24.99
185
1.3 การคานวณโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์
จากการคานวณสูตรอาหารโดยวิธีลองผิดลองถูก และวิธีเขียนรูปสี่เหล่ียมจะเห็นไดว้ ่า
การคานวณดงั กล่าวจะพิจารณาเฉพาะสัดส่วนที่เหมาะสมของวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีใชใ้ นการผลิต
อาหารให้มีเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนที่ตอ้ งการ หรือพอดีกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้า โดยไม่ไดพ้ ิจารณา
ถึงเปอร์เซ็นตธ์ าตุอาหารชนิดอ่ืน ๆ ท่ีมีในสูตรอาหารวา่ มีปริมาณเพียงพอกบั ความตอ้ งการของสัตว์
น้าหรือไม่ สาเหตุท่ีเป็ นเช่นน้นั เนื่องจากโปรตีนเป็ นธาตุอาหารหลกั ที่มีความสาคญั มากที่สุดต่อ
การเจริญเติบโต จึงทาให้การคานวณเปอร์เซ็นตโ์ ปรตีนมีความสาคญั เป็ นลาดบั แรก อยา่ งไรก็ตาม
ถ้าต้องการทราบเปอร์เซ็นต์ธาตุอาหารชนิดอื่น ๆ นอกเหนือไปจากโปรตีนที่มีในสูตรอาหาร
สามารถคานวณไดโ้ ดยนาเอาจานวนวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีมีในสูตรอาหาร มาคูณดว้ ยเปอร์เซ็นตธ์ าตุ
อาหารชนิดน้นั ๆ ที่มีในวตั ถุดิบอาหารสัตว์ แลว้ นาผลลพั ธ์เหล่าน้นั มารวมกนั ก็จะไดเ้ ปอร์เซ็นต์
ธาตุอาหารชนิดน้นั ๆ ที่มีในสูตรอาหาร ซ่ึงถา้ หากมีไมพ่ อดีกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้า ก็ตอ้ งปรับ
สูตรอาหารดงั ที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ นอกจากน้ีการปรับสูตรอาหารก็ยงั มีความจาเป็ น โดยเฉพาะกรณีท่ี
วตั ถุดิบอาหารสัตว์ขาดแคลนและมีราคาสูง ทาให้สูตรอาหารมีราคาสูงข้ึนอาจทาให้ไม่คุม้ ทุน
ดงั น้ันจึงตอ้ งปรับเปลี่ยนสูตรอาหาร โดยนาวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีมีคุณภาพดีและราคาถูกมาใช้
การนาวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีมีราคาถูกมาใช้ ควรใชเ้ ม่ือคุณค่าทางโภชนาการเท่ากบั หรือใกลเ้ คียงกบั
วตั ถุดิบอาหารสตั วท์ ี่มีราคาสูง เพราะช่วยลดตน้ ทุนใหต้ ่าลงได้ แต่ถา้ มีคุณค่าทางโภชนาการต่ากวา่
วตั ถุดิบ อาหารที่มีราคาสูงก็ไม่ควรใช้ เน่ืองจากเม่ือนามาเป็ นส่วนผสมในสูตรอาหารแลว้ อาจตอ้ ง
เสริมดว้ ยวตั ถุดิบอาหารสัตวช์ นิดอื่น ๆ เขา้ ไป ซ่ึงในท่ีสุดอาจไมไ่ ดช้ ่วยใหต้ น้ ทุนอาหารลดลง
การผลิตอาหารสัตวน์ ้าให้มีราคาถูก จะมีความสลบั ซับซ้อนมากข้ึน สามารถทาได้โดย
การลองประมาณการตามตวั อยา่ งที่ผา่ นมาแลว้ ถา้ เกษตรกรหรือเจา้ ของฟาร์ม จะคิดสูตรอาหารที่มี
ราคาถูก อาจลองคิดข้ึนมาหลาย ๆ สูตรแลว้ เปรียบเทียบต้นทุนอาหารดูว่า สูตรใดมีคุณค่าทาง
โภชนาการตามท่ีตอ้ งการ และมีราคาถูกท่ีสุดจึงเลือกใชส้ ูตรน้นั จะเห็นไดว้ า่ การคานวณสูตรอาหาร
ใหม้ ีราคาถูกดว้ ยวธิ ีลองผดิ ลองถูกหรือเขียนรูปสี่เหลี่ยม จะใชเ้ วลาคานวณนานข้ึนและคานวณธาตุ
อาหารแต่ละชนิดได้ทีละคร้ังเท่าน้นั ดงั น้นั เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการคานวณ จึงได้มีการ
พฒั นาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการสร้างสูตรอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการตามที่
ตอ้ งการและราคาถูกที่สุด ซ่ึงนิยมใชอ้ ยา่ งแพร่หลายในโรงงานผลิตอาหารปลาและอาหารกุง้ ทว่ั ไป
แนวทางดงั กล่าวมีขอ้ ดีท่ีมีความสะดวกรวดเร็ว และสามารถคานวณธาตุอาหารท้งั หมดไดพ้ ร้อมกนั
ตามที่เราตอ้ งการ
วธิ ีการคานวณสูตรอาหารดว้ ยคอมพิวเตอร์ โดยใชโ้ ปรแกรมไมโครซอฟทเ์ อกเซลในการ
คานวณสูตรอาหารสตั วน์ ้า (นิรนาม, 2555) มีข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี
186
1.3.1 เตรียมใชไ้ มโครซอฟทเ์ อกเซล (MS Excel) โปรแกรมไมโครซอฟทเ์ อกเซล เป็ น
โปรแกรมอยใู่ นชุดของไมโครซอฟทอ์ อฟฟิ ด ในโปรแกรมเอกเซลจะมีโปรแกรมเพ่ิมเติม ซ่ึงตอ้ ง
ติดต้งั เพิ่มโปรแกรมน้ีมีอย่ใู นแผน่ ติดต้งั โปรแกรม (โปรแกรมปรากฏต้งั แต่เวอร์ชนั่ ออฟฟิ ด 97,
2000 และ 2003) โดยมีวธิ ีการดงั น้ี
1) เตรียมแผน่ ติดต้งั โปรแกรมไมโครซอฟทอ์ อฟฟิ ด
2) เปิ ดโปรแกรมไมโครซอฟทเ์ อกเซล
3. คลิก เคร่ืองมือ
4. คลิก Add-Ins…
6. คลิก ตกลง
5. คลิก Solver Add-in
187
โปรแกรมเอกเซลจะทาการติดต้งั โปรแกรมเพิ่มเติมให้ หัวขอ้ ถดั ไปเป็ นการคานวณสูตร
อาหาร โดยใชโ้ ปรแกรมไมโครซอฟทเ์ อกเซล
1.3.2 เตรียมแผ่นงาน ในการคานวณสูตรอาหาร นกั ศึกษาจะตอ้ งมีขอ้ มูลเบ้ืองตน้
สาหรับการคานวณสูตรอาหาร ไดแ้ ก่
1) ส่วนประกอบของสารอาหารในวตั ถุดิบอาหาร
2) ขอ้ จากดั ของน้าหนกั ท่ีใชใ้ นการผสมสูตรอาหารแตล่ ะสูตร
3) ความตอ้ งการสารอาหารของสัตว์ (ประเภทของสูตรอาหาร)
1.3.3 ตารางแสดงส่วนประกอบของสารอาหาร ป้ อนขอ้ มูลปริมาณสารอาหารท่ีมีอยใู่ น
วตั ถุดิบลงในตารางโดยให้ส่วนประกอบของสารอาหารอยแู่ นวนอน และชนิดของวตั ถุดิบอยใู่ น
แนวต้งั (ตามแถว) โปรดดูตวั อยา่ งตามภาพประกอบ ดา้ นขวาของตารางเพ่ิมหวั ขอ้ ราคา/kg น้าหนกั
(kg) และคา่ ใชจ้ ่ายลงในตาราง (น้าหนกั (kg) หมายถึงน้าหนกั ท่ีผสมในสูตรอาหาร)
ส่วนประกอบของสารอาหารอยแู่ นวนอน
ชนิดของวตั ถุดิบอยใู่ นแนวต้งั
188
ราคา/kg น้าหนกั (kg) และ
คา่ ใชจ้ า่ ย ลงในหวั ขอ้
ดา้ นขวาของตาราง
ดา้ นล่างของตารางเติมปริมาณสารอาหาร
(ท่ีไดจ้ ากการผสมสูตรอาหาร)
รูปแบบตารางส่วนประกอบสารอาหาร
189
1.3.4 ตารางขอ้ จากดั การใชว้ ตั ถุดิบในสูตรอาหาร ดา้ นขอ้ มูลจากดั การใชว้ ตั ถุดิบใน
สูตรอาหารดา้ นขวามือของตารางส่วนประกอบของสารอาหาร ป้ อนขอ้ มูลโดยในแนวนอนเป็ น
ประเภทของสูตรอาหาร และชนิดของวตั ถุดิบอยู่ในแนวต้งั โดยให้ชนิดวตั ถุดิบในตาราง
ส่วนประกอบของอาหาร เช่น ปลายขา้ วอยใู่ นแถวที่ 5 ตอ้ งตรงกนั ท้งั 2 ตาราง
1.3.5 ตารางความตอ้ งการสารอาหารในสูตรอาหาร และความตอ้ งการปริมาณสารอาหาร
แบ่งตามประเภทของสูตรอาหารในแนวต้งั และในแนวนอน โดยสารอาหารชนิดเดียวกนั ตอ้ งอยตู่ รง
คอลมั น์เดียวกบั สารอาหารที่ปรากฏอยใู่ นตารางสารอาหารในวตั ถุดิบอาหาร เช่น ปริมาณโปรตีน
(CP%) อยใู่ นคอลมั น์ C เป็นตน้
1.3.6 การใส่สูตรคานวณ สูตรการคานวณปริมาณสารอาหารในสูตรอาหาร มีดงั น้ี
ปริมาณสารอาหาร = น้าหนกั วตั ถุดิบ x ปริมาณสารอาหารของวตั ถุดิบ
เนื่องจากปริมาณสารอาหารคิดเป็ นต่อกิโลกรัม ในการคานวณสูตรอาหาร กาหนดใหผ้ สม
คร้ังละ 100 กิโลกรัม การใส่สูตรการคานวณสูตรอาหารปฏิบตั ิดงั น้ี
1) ในเซล C21 ซ่ึงตรงกบั ปริมาณในโปรตีน (CP%) ป้ อนสูตรลงในเซล C21 ดงั น้ี
= SUMPRODUCT(C5:C20, $T$5: $T$20) /100
= SUMPRODUCT(C5:C20, $T$5: $T$20) /100
เซล T5:T20 คือน้าหนกั วตั ถุดิบในสูตรอาหารตอ้ งตรึงไวเ้ พื่อไม่ใหต้ วั คูณเปลี่ยนไปเมื่อมี
การสาเนาสูตร
2) สาเนาสูตรจากเซล C21 ไปไวท้ ี่ D21:R21
3) เซล T21 เป็นผลรวมของวตั ถุดิบแตล่ ะชนิดในสูตร ใส่สูตร = SUM(T5:T20)
190
4) เซล U21 เป็นคา่ ใชจ้ ่ายสูตรอาหารไดจ้ ากนาน้าหนกั ของวตั ถุดิบแตล่ ะชนิดคูณ
กบั ราคาของวตั ถุดิบ U21 ใส่สูตร =SUM(U5: U20)
= SUM(T5:T20) =SUM(U5: U20)
1.3.7 การเรียกใช้ Solver
1) เปิ ดเมนู เคร่ืองมือ เลือก Solver….
2) ปรากฏหนา้ ตา่ ง Solver Parameters
- ในช่อง Set Target Cell ใส่คา่ U21
- Equal To เลือก Min
- By Changing Cells ใส่คา่ T5:T21
- Subject to the Constraints ใหค้ ลิกป่ ุน Add
- พิมพค์ ่าหรือเลือกช่วงของเซลในแผน่ งาน ดงั น้ี
Cell Reference Contraints
C21:R21 >= C28:R28
T21 = 100
T5:T20 <= AC5:AC20
T5:T20 >= AB5:AB20
โดยคลิกป่ ุม Add ในแตล่ ะขอ้ จากดั
191
เลือกเซล U21 เลือก Min
เลือกเซล
T5:T20
คลิกป่ ุม Add เพ่ือเพม่ิ Constraints
คลิกเพื่อเลือกช่วงของเซล
Worksheet
เลือกเซล
C21:R21
เปลี่ยนเครื่องหมาย
3) ในแต่ละขอ้ จากดั พิจารณาจาก C21:R21 >= C28:R28
4) คือปริมาณสารอาหารที่มีในสูตรมากกวา่ หรือเทา่ กบั ที่ปริมาณสตั วต์ อ้ งการ
T21 = 100
5) ผสมสูตรอาหารคร้ัง 100 kg T5:T20<= AC5:AC20 และT5:T21>= AB5:AB20
6) คือขอ้ จากดั บนและล่างของน้าหนกั วตั ถุดิบที่ยอมใหม้ ีไดใ้ นสูตรอาหารแต่ละชนิด
192
คลิกป่ ุม Solve
โปรแกรมเอกเซลจะคานวณตามเงื่อนไข และให้คาตอบในแผน่ งาน Solver ใหค้ าตอบ
2 แบบ คือ
1. Solver found a solution
2. Solver ไมส่ ามารถหาคาตอบที่เหมาะสมได้
193
เลือกแบบรายงาน(Answer)
คลิก OK
รายงานคาตอบ
194
แผน่ งานแสดงคาตอบ และราคาที่ได้
1.3.8 การใช้ Solver Results โปรแกรมคาตอบมี 2 แบบ คือ
1) Solver Found a solution แสดงว่าโปรแกรมสามารถหาคาตอบท่ีเหมาะสม
(ต่าสุดหรือสูงสุดได)้
2) Solver Could not find an feasible solution แสดงวา่ โปรแกรมไม่สามารถหา
คาตอบตามเง่ือนไข และวตั ถุประสงคไ์ ด้ ความผดิ พลาดอาจเกิดจากสาเหตุ ดงั น้ี
- การป้ อนขอ้ มูลลงในตาราง โปรดตรวจสอบค่าในตารางอีกคร้ัง
- ช่วงของเซลที่ป้ อนในสูตร
1.3.9 การเปลี่ยนสูตรอาหาร จากตวั อย่างเป็ นการคานวณสูตรอาหารสัตวน์ ้าวยั อ่อน
ถา้ ตอ้ งการคานวณสูตรอาหารสัตวน์ ้าประเภทอ่ืน เพยี งแต่เปล่ียนคา่ ใน Solver ดงั น้ี
1) เปิ ด Solver
2) เลือกขอ้ จากดั ของปริมาณสารอาหารในสูตร
3) เลือกป่ ุม Change
4) เปลี่ยนช่วงเซลของขอ้ จากดั
5) คลิก OK
การเปลี่ยนขอ้ จากดั ของประมาณวตั ถุดิบที่ยอมใหม้ ีไดใ้ นสูตรอาหารดว้ ยใหส้ อดคลอ้ งกบั
ประเภทของสูตรอาหาร