The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanok271232, 2022-04-28 03:28:04

วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ

วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ

254

ดงั น้นั น้าหนกั กุง้ ท้งั บ่อ = 163,464.6x9.03 กรัม

= 1,476,085.3 กรัม

= 1,476,085.3 1,476.1 กิโลกรัม
1,000

กาหนดใหก้ งุ้ น้าหนกั 9 กรัม จะกินอาหารระหวา่ ง 5-6 เปอร์เซ็นตต์ ่อน้าหนกั ตวั

(ถา้ คิดเปอร์เซ็นต)์ ฉะน้นั ปริมาณอาหารที่กงุ้ กิน = 5x1,476.1  73.8 กิโลกรัม
100

สรุปการเล้ียงกุง้ ช่วงน้นั ควรใหอ้ าหารกุง้ ประมาณ 73.8 กิโลกรัมตอ่ วนั

6. อตั ราการแลกเนือ้ (feed conversion ratio, FCR)

อตั ราการแลกเน้ือ หมายถึง อตั ราส่วนของน้าหนักอาหารแห้งท่ีสัตวบ์ ริโภคเขา้ ไปต่อ
น้าหนกั สดของสัตวน์ ้าท่ีเพ่ิมข้ึน ซ่ึงในการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้า อาจจะให้ความหมายอยา่ งง่าย ๆ คือ
จะตอ้ งใช้อาหารปริมาณเท่าใด จึงจะไดผ้ ลผลิตสัตวน์ ้า 1 กิโลกรัม หรือปริมาณอาหารที่ให้แลว้
ทาใหส้ ตั วน์ ้ามีน้าหนกั เพิม่ ข้ึน 1 กิโลกรัม สามารถคานวณตามสูตร ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

สูตร FCR = น้าหนกั อาหารท่ีให้

น้าหนกั สตั วน์ ้าท่ีเพ่มิ ข้ึน
ตัวอย่าง ในการเล้ียงปลานิลแปลงเพศในกระชงั ผูเ้ ล้ียงได้ปล่อยปลานิลรุ่น จานวน 1,000 ตวั

น้าหนกั เฉลี่ยตวั ๆ ละ 25 กรัม เม่ือเล้ียงครบ 4 เดือน จึงได้จบั ปลาข้ึนขาย ผลผลิตท่ีไดม้ ีน้าหนกั
ท้งั หมด 980 กิโลกรัม โดยใชอ้ าหารท้งั สิ้น 1,430 กิโลกรัม

วธิ ีคานวณ น้าหนกั อาหารที่ให้ = 1,433 กิโลกรัม
น้าหนกั สตั วน์ ้าท่ีเพมิ่ ข้ึน = 980- (1,000 x 25) = 955 กิโลกรัม

FCR = 1,000
น้าหนกั อาหารที่ให้
=
น้าหนกั สัตวน์ ้าที่เพ่มิ ข้ึน
อตั ราการแลกเน้ือ = 1,433
955
1.5

หมายความว่า ผูเ้ ล้ียงได้ให้อาหารในการเล้ียงปลานิลแปลงเพศ น้าหนัก 1.5 กิโลกรัม
ผลผลิตที่ได้ คือน้าหนกั ปลานิลท่ีเพ่มิ ข้ึน 1 กิโลกรัม

255

7. หลกั การเลอื กซื้ออาหารสาเร็จรูปสาหรับเลยี้ งสัตว์นา้

ผเู้ ล้ียงสัตวน์ ้าสามารถผลิตอาหารสาเร็จรูปข้ึนใช้เองโดยใชว้ ิธีการที่กล่าวมาแลว้ แต่ยงั มี
ผเู้ ล้ียงจานวนไม่นอ้ ยท่ีตอ้ งซ้ืออาหารสาเร็จรูปท่ีมีจาหน่ายตามทอ้ งตลาด เนื่องจากอาหารสาเร็จรูป
มีคุณภาพดีและสะดวกต่อการเกบ็ รักษา อีกท้งั ประหยดั เวลาของผเู้ ล้ียง โดยไม่ตอ้ งเตรียมอาหารเอง
อาหารสาเร็จรูปจึงเป็ นท่ีนิยมของผเู้ ล้ียงสัตวน์ ้าอยา่ งแพร่หลาย ปัจจุบนั มีบริษทั ผูผ้ ลิตอาหารท่ีมี
คุณภาพแตกตา่ งกนั เพอื่ ใหผ้ เู้ ล้ียงไดเ้ ลือกใช้ ประโยชน์สูงสุดจากการเลือกซ้ืออาหารสาเร็จรูปมาใช้
จึงควรกาหนดหลกั เกณฑเ์ พ่อื ประกอบการพจิ ารณาก่อนตดั สินใจเลือกซ้ืออาหารสัตวน์ ้า ดงั น้ี

7.1 ชนิดของอาหาร ควรเลือกอาหารให้ถูกตอ้ งกบั ชนิดของสัตวน์ ้าที่เล้ียง หากเอาอาหาร
ปลากินพืชไปให้ปลากินเน้ือ ทาให้ปลาโตช้า เน่ืองจากสารอาหารโดยเฉพาะอยา่ งย่ิง โปรตีนไม่
เพียงพอแก่ความตอ้ งการ หรือหากนาอาหารปลากินเน้ือซ่ึงมีโปรตีนสูงมาเล้ียงปลากินพืช ทาให้
สิ้นเปลืองตน้ ทุนในการเล้ียง

7.2 ขนาดและรูปแบบของอาหาร เลือกขนาดและรูปแบบของอาหารให้เหมาะสมกบั ขนาด
ของสัตว์น้ามีความสาคัญอย่างยิ่งเพราะถ้าอาหารมีขนาดเล็กเกินไป มีโอกาสสูญเสียได้มาก
เนื่องจากอาหารยุย่ ไดง้ ่าย ทาใหส้ ารอาหารถูกชะลา้ งออกไปไดร้ วดเร็ว และถา้ หากอาหารมีขนาด
ใหญ่เกินไป สัตวน์ ้ากินไม่ทนั อาหารน้นั ถูกแช่น้าไวเ้ ป็นเวลานานจะสูญเสียไปทาใหน้ ้าเน่าเสียได้

7.3 วตั ถุดิบที่ใชใ้ นการผลิตอาหาร พจิ ารณาวตั ถุดิบท่ีใชเ้ ป็ นส่วนประกอบของอาหาร ที่ปรากฏ
อยกู่ บั ภาชนะหรือถุงบรรจุอาหาร เช่น ปลาป่ น กากถว่ั เหลือง ราขา้ ว วติ ามินและแร่ธาตุ เป็ นตน้ ชนิดของ
วตั ถุดิบสามารถบ่งบอกถึงคุณภาพของอาหารน้นั เช่น การมีปลาป่ นเป็นองคป์ ระกอบ ยอ่ มดีกวา่ การ
มีเน้ือและกระดูกป่ น เพราะสัตว์เอนไซม์โปรตีนจากปลาป่ นได้ดีกว่า หรือการมีกากถวั่ เหลืองเป็ น
องคป์ ระกอบยอ่ มดีกวา่ การมีกากถวั่ ลิสงเป็นองคป์ ระกอบ เพราะกากถวั่ เหลืองมีคุณค่าอาหารต่อสัตวน์ ้า
มากกวา่ กากถวั่ ลิสง และการมีกากถว่ั ลิสงในอาหารยงั เสี่ยงต่อการมีพิษจากเช้ือราไดส้ ูงกวา่ เป็นตน้

7.4 องคป์ ระกอบทางเคมีของอาหาร นอกจากองคป์ ระกอบของวตั ถุดิบแลว้ ผผู้ ลิตจะบอก
ขีดจากดั ของโปรตีน ไขมนั กาก เถา้ และความช้ืนของอาหารบนภาชนะบรรจุอาหาร หากสงสัยใน
คุณภาพอาหารน้นั ควรซ้ือในปริมาณนอ้ ยก่อน แลว้ นาอาหารส่วนหน่ึงไปใหห้ น่วยงานราชการท่ีมี
บริการดา้ นการวิเคราะห์ตรวจอาหาร เพ่ือเป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาก่อนตดั สินใจซ้ือใน
ปริมาณมากต่อไป

7.5 กลิ่น อาหารที่ดีควรมีกล่ินท่ีดึงดูดให้สัตวน์ ้าเขา้ มากินอาหารไดม้ ากข้ึน ปลาป่ น น้ามนั
ปลา น้ามนั ปลาหมึก และกรดอะมิโนสังเคราะห์ ลว้ นแตใ่ หอ้ าหารมีกลิ่นชวนกิน ผชู้ ้ือควรหลีกเล่ียง
อาหารที่มีกล่ินหืน กล่ินหืนเกิดจากปฏิกิริยาของไขมนั ที่ไม่อ่ิมตวั ในอาหารกบั อากาศ หากในอาหาร
น้นั มีน้ามนั อยูม่ าก โดยไม่มีสารกนั หืนหรือวิตามินอีอยา่ งเพียงพออาหารน้นั จะมีกลิ่นหืนในเวลา

256

อนั รวดเร็ว กลิ่นหืนนอกจากทาใหร้ สชาติของอาหารเสียแลว้ ยงั ทาปฏิกิริยากบั โปรตีน วิตามิน และ
ไขมนั ชนิดอื่น ๆ ทาใหค้ ุณค่าอาหารลดลง นอกจากน้ียงั เป็นอนั ตรายต่อสุขภาพสตั วน์ ้าอีกดว้ ย

7.6 สี อาหารที่ดีควรมีสีเหมือนกนั ท้งั ถุง ความแตกต่างกนั ของสีในเม็ดอาหาร แสดงว่า
วตั ถุดิบไม่ไดร้ ับการผสมผสานกนั อยา่ งทว่ั ถึงหรือเกิดจากความสุกของเม็ดอาหารไม่เท่ากนั หากสี
อาหารเกิดจากอาหารสุกเกินไป ทาให้วิตามินและกรดอะมิโนถูกทาลาย และถา้ อาหารสุกน้อย
เกินไป ทาใหค้ วามคงทนของอาหารในน้าลดลง

7.7 ความสดของอาหาร ความสดของอาหาร อาหารสัตวน์ ้าไม่ควรมีอายกุ ารเก็บรักษาเกิน
กวา่ 2 เดือน เพราะทาให้คุณค่าทางอาหารโดยเฉพาะวิตามินต่าง ๆ ลดลง และอาจมีเช้ือรา ซ่ึงเป็ น
อนั ตรายต่อสตั วน์ ้าได้

7.8 ความช้ืนของอาหาร ความเปี ยกช้ืนของอาหาร ปกติอาหารแห้งมีความช้ืน 7-13
เปอร์เซ็นต์ ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั สภาพแวดล้อมและความช้ืนในอากาศ ถา้ มีความช้ืนมากกว่ามาตรฐาน
แสดงวา่ มีความบกพร่องในการเก็บรักษาหรือภาชนะบรรจุอาหารท่ีมีความช้ืนสูง ทาให้อาหารจบั
ตวั เป็นกอ้ นและเส่ียงตอ่ การเกิดเช้ือรา

7.9 สิ่งเจือปนในอาหาร หากมีสิ่งเจือปนในอาหาร แสดงว่าการเก็บรักษาอาหารไม่ดี
หรือไม่ไดร้ ับการควบคุมคุณภาพท่ีดีก่อนการบรรจุ อาหารที่ดีไม่ควรมีกอ้ นกรวด หิน ทราย โลหะ
หรือเศษไม้

7.10 ความสามารถในการลอยน้า ความสามารถในการลอยน้า คุณสมบตั ิในขอ้ น้ีใชใ้ นการ
พิจารณาในการเลือกซ้ืออาหารเม็ดลอยน้า เช่น อาหารปลาดุก ประโยชน์ของอาหารลอยน้าคือ ผู้
เล้ียงสามารถเห็นการกินอาหารของสัตวน์ ้าและใชเ้ ป็นหลกั เกณฑใ์ นการปรับปริมาณอาหาร

7.11 ความคงทนของอาหารในน้า ความคงทนของอาหาร มีความสาคญั อยา่ งย่ิงในการเล้ียง
กงุ้ เพราะกงุ้ เป็นสัตวท์ ่ีใชเ้ วลาในการกินอาหารประมาณ 2 ชว่ั โมง ดงั น้นั ความคงทนของอาหารกุง้
ควรไม่น้อยกว่า 2 ชวั่ โมงความคงทนของอาหารปลาอาจน้อยกว่าอาหารกุ้งมาก เพราะปลากิน
อาหารไดเ้ ร็ว โดยเฉล่ียความคงทนของอาหารปลาในน้าไม่ควรนอ้ ยกวา่ 15 นาที

7.12 ราคาอาหาร เม่ือเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการกบั ราคาอาหาร ควรเลือกอาหารที่มี
ราคาต่าและมีคุณคา่ ทางโภชนาการสูง

เม่ือพิจารณาปัจจัยท่ีกล่าวมาแล้วท้ังหมด จะได้อาหารท่ีดีมีคุณภาพ อย่างไรก็ตาม
ผลตอบสนองของสัตวน์ ้าต่ออาหาร เช่น การเจริญเติบโต อตั รารอด อตั ราแลกเน้ือ โรคขาดธาตุ
อาหารและองคป์ ระกอบของเน้ือสัตวน์ ้า เป็ นดชั นีท่ีสาคญั อยา่ งยิ่งในการบ่งบอกถึงความครบถว้ น
ของสารอาหารในอาหารน้นั ๆ และสิ่งสาคญั อีกประการหน่ึง คือ การปรับอตั ราการให้อาหารต่อวนั
เป็นส่ิงที่แสดงถึงปริมาณอาหารที่สตั วน์ ้าไดร้ ับตามความตอ้ งการ

257

สรุป
การให้อาหารสัตว์น้าที่ดี ตอ้ งมีวิธีการทาให้สัตว์น้าได้รับอาหารและใช้ประโยชน์จาก

อาหารมากที่สุด ดงั น้นั การให้อาหารสัตวน์ ้าจึงตอ้ งมีหลกั การและมีวิธีการที่เหมาะสม สาหรับ
วธิ ีการให้อาหารสัตวน์ ้าท่ีนิยมใชก้ นั โดยทวั่ ไปมี 2 วธิ ี คือ วธิ ีการให้อาหารโดยใชแ้ รงงานคน และ
วิธีการให้อาหารโดยการใช้เคร่ืองทุ่นแรง ซ่ึงการให้อาหารสัตว์น้าแต่ละวิธี มีวิธีการปฏิบตั ิที่
แตกต่างกัน ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั อายุ ขนาดของสัตวน์ ้า และขนาดของฟาร์ม โดยถ้าเป็ นช่วงสัตวน์ ้า
วยั อ่อน ต้องใช้วิธีการให้อาหารท่ีสามารถให้สัตวน์ ้าพบเจออาหารได้ง่าย ซ่ึงมกั จะให้โดยใช้
แรงงานคนเป็ นส่วนใหญ่ สาหรับสัตวน์ ้าในช่วงการเล้ียง มีหลกั การให้อาหาร คือ ตอ้ งให้อาหารท่ี
สตั วน์ ้าสามารถกินไดง้ ่าย และกินอาหารไดม้ ากท่ีสุด ซ่ึงนิยมใชว้ ิธีการใหอ้ าหารโดยใชแ้ รงงานคน
และเคร่ืองทุ่นแรง ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั ลกั ษณะของฟาร์ม ตน้ ทุน งบประมาณ และแรงงานเป็ นหลกั
ซ่ึงวิธีการใหอ้ าหารแต่ละวิธีมีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสียแตกต่างกนั ไป ที่สาคญั คือ ผลผลิตที่ไดจ้ ะตอ้ งทา
รายไดใ้ หก้ บั ผปู้ ระกอบการ เพอ่ื ธุรกิจสามารถดาเนินไดต้ ลอดไป


Click to View FlipBook Version