195
1. เลือก Constraint ที่ตอ้ งการเปล่ียน 2. คลิก Change
3. เลือกช่วงเซลท่ีตอ้ งการเปลี่ยน
อาหารปลากินพชื
อาหารสัตวน์ ้าวยั อ่อน
อาหารปลาดุก
5. คลิก OK 4. เลือกช่วงเซลจากแผน่ งาน
1.3.10 ปัจจยั ที่จาเป็ นต่อการคานวณสูตรอาหารมีดงั ต่อไปน้ี
1) ชื่อหรือชนิดของวตั ถุดิบอาหารท่ีจะใช้
2) ปริมาณหรือเปอร์เซ็นตข์ องโภชนะต่าง ๆ ของวตั ถุดิบอาหารโดยรวบรวมไวใ้ น
รูปของตารางวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีของอาหารต่าง ๆ ตวั เลขหรือขอ้ มูลเหล่าน้ีเป็ นส่ิงท่ี
สาคญั ที่จะทาใหไ้ ดส้ ูตรอาหารท่ีถูกตอ้ งที่สุด
3) ปริมาณหรือเปอร์เซ็นตข์ องโภชนะท่ีสัตวต์ อ้ งการในแต่ละวนั โดยตวั เลขหรือ
ขอ้ มูลต่าง ๆ ไดม้ าตรฐานการใหอ้ าหารสาหรับสัตว์ และตอ้ งเป็นตวั เลขท่ีแมน่ ยาจึงจะทาใหไ้ ดส้ ูตร
อาหารที่ถูกตอ้ งท่ีสุด
4) จานวนหรือปริมาณของวตั ถุดิบข้นั ต่าหรือข้นั สูงท่ีสุดที่ยนิ ยอมใหใ้ ชใ้ นอาหาร
5) ชนิดและปริมาณของวตั ถุดิบท่ีจาเป็นตอ้ งการใชใ้ นปริมาณท่ีคงที่
196
6) ราคาของวตั ถุดิบชนิดตา่ ง ๆ
7) ขอ้ จากดั อ่ืน ๆ ที่จาเป็น
2. เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการผลติ อาหารสัตว์นา้
การผลิตอาหารสตั วน์ ้า หากมีจุดประสงคเ์ พอ่ื จาหน่ายหรือเพ่อื การคา้ จะมีการใชเ้ คร่ืองจกั ร
ซ่ึงมีรูปแบบคลา้ ยกบั เครื่องจกั รที่ใชใ้ นการผลิตอาหารสัตวบ์ ก แตจ่ ะมีความสลบั ซบั ซอ้ นกวา่ และมี
กระบวนการผลิตหลายข้นั ตอน อาหารที่ผลิตไดม้ ีท้งั อาหารจมและอาหารลอยขนาดต่าง ๆ กัน
เคร่ืองมือท่ีสาคญั ที่ใชใ้ นการผลิตอาหารสตั วน์ ้า แบ่งออกได้ ดงั น้ี
2.1 เครื่องบดอาหาร (grinder) เครื่องมือในกลุ่มน้ีมีความสาคญั ย่ิงในการทาอาหารสัตวน์ ้า
โดยเฉพาะอาหารกุ้ง เน่ืองจากช่วยให้อาหารสามารถทนทานอยู่ในน้าได้เป็ นเวลานาน การบด
นอกจากจะทาใหข้ นาดของอาหารเล็กลงแลว้ ยงั ทาให้อาหารมีความช้ืนนอ้ ยลง และช่วยใหก้ ารเติม
สารที่จาเป็นตา่ ง ๆ คลุกเคลา้ เป็นเน้ือเดียวกบั วตั ถุดิบ ช่วยใหว้ ตั ถุดิบที่ยอ่ ยยาก เช่น เปลือกของเมล็ด
พชื กระดูก สามารถผา่ นกระเพาะไปสู่ลาไส้ไดด้ ี และยอ่ ยไดด้ ีข้ึน เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นกลุ่มน้ี เช่น
2.1.1 เครื่องบดอาหารแบบเฮมเมอร์มิลล์ (hammer mill) มีหลกั การทางานเริ่มจากการ
ใส่วตั ถุดิบอาหารดา้ นบนของเคร่ือง วตั ถุดิบจะถูกลาเลียงมายงั ชุดตีอาหาร ซ่ึงประกอบดว้ ยใบมีด
เล็กหลายใบ เหวี่ยงหรือสับให้วตั ถุดิบอาหารแตกย่อยเป็ นฝ่ ุนผง และมีตะแกรงร่อนให้วตั ถุตกลง
ดา้ นล่าง อาหารท่ีได้จะมีขนาดเล็กตามขนาดของตะแกรงท่ีร่อน ส่วนวตั ถุดิบอาหารท่ียงั มีขนาด
ใหญ่ก็จะถูกใบมีดตีต่อไป ดงั น้ัน ถ้าตอ้ งการให้วตั ถุดิบอาหารท่ีบดมีความละเอียดมาก ตอ้ งใช้
ตะแกรงท่ีมีช่องว่างละเอียดมาก เครื่องบดแบบน้ีเหมาะสาหรับวตั ถุดิบที่แห้งและมีไขมนั น้อย
ดงั ภาพที่ 6.1
ภาพท่ี 6.1 เคร่ืองบดอาหาร
ท่ีมา : วชิ าญ (2552)
197
2.1.2 เครื่องบดอาหารแบบใช้จาน (attrition mill) ตวั ท่ีทาให้วตั ถุดิบอาหารละเอียด
ประกอบดว้ ยตวั บดรูปร่างกลมลกั ษณะคลา้ ยจาน ตวั อยา่ งที่ใกลเ้ คียงกนั คือเคร่ืองโม่แป้ งเป็ นคู่ โดย
ที่จานขา้ งหน่ึงขา้ งใดหมุนเพียงขา้ งเดียว อีกขา้ งจะอยนู่ ่ิงหรือหากหมุนท้งั สองจาน จานแต่ละอนั จะ
หมุนไปในทิศทางที่ตรงกันขา้ ม ตวั จานท้ังคู่ต้งั อยู่ในแนวด่ิง ทาให้วตั ถุดิบที่บดตกลงข้างล่าง
เคร่ืองบดอาหารแบบน้ีสามารถใชก้ บั วตั ถุดิบที่มีความช้ืนสูง
2.1.3 เคร่ืองบดอาหารโรลเลอร์มิลล์ หรือแบบใช้ลูกกลิ้ง (roller mill) ตวั บดจะมี
รูปร่างเป็ นแท่งกลมจานวน 2 ลูก ที่ผวิ ของตวั ลูกกลิ้งอาจจะเรียบหรือเป็ นร่องก็ไดห้ รือผิวเรียบลูก
หน่ึงอีกลูกหน่ึงเป็ นรอยหยกั ตวั ลูกกลิ้งท้งั สองหมุนในทิศทางตรงขา้ มโดยอาจหมุนดว้ ยความเร็ว
เท่ากนั หรือความเร็วแตกต่างกนั เคร่ืองบดอาหารแบบน้ีจะบดวตั ถุดิบให้แตกเป็ นเม็ดเล็กไม่เป็ น
ฝ่ นุ ผง แตม่ ีขอ้ จากดั ท่ีวตั ถุดิบตอ้ งแหง้ และมีไขมนั นอ้ ย และไมน่ ิยมใชใ้ นฟาร์มสตั วน์ ้าแต่นิยมใชใ้ น
อุตสาหกรรมผลิตแป้ ง
2.2 เครื่องผสมอาหาร (mixer) เป็นเครื่องมือท่ีใชเ้ พ่ือผสมให้วตั ถุดิบอาหารที่มีจานวนหรือ
ปริมาณแตกต่างกนั ให้คลุกเคลา้ เป็ นเน้ือเดียว ท้งั น้ีเพราะในการทาอาหาร วตั ถุดิบบางชนิดจะถูก
นามาใช้ในปริมาณน้อย เช่น วิตามิน แร่ธาตุ หรือสารเหนียว การใช้เครื่องผสมอาหารจะทาให้
วตั ถุดิบที่ใส่เขา้ ไปกระจายผสมกบั วตั ถุดิบอ่ืน ๆ อยา่ งทว่ั ถึง เคร่ืองผสมอาหารท่ีนิยมใช้ เช่น
2.2.1 เครื่องผสมอาหารแบบถงั ต้งั (vertical mixer) ตวั เคร่ืองมีลกั ษณะรูปทรงกระบอก
วางในรูปต้งั ตรง ดา้ นล่างมีลกั ษณะเป็นกรวย ดงั แสดงในภาพที่ 6.2 ภายในมีแกนกลางซ่ึงมีลกั ษณะ
เป็นเกลียวคลา้ ยสกรู 1 ชุด หรือ 2 ชุด หมุนดว้ ยแรงเครื่องฉุด เกลียว 2 ชุด จะช่วยให้อาหารผสมกนั
ไดด้ ีข้ึน โดยเกลียวจะหมุนดว้ ยความเร็ว 100–200 รอบต่อนาที วตั ถุดิบที่จะผสมจากดา้ นล่างจะถูก
นาส่งโดยเกลียวพาข้ึนไปอยู่ตอนบนของถงั แลว้ ถูกสาดกระจายออกไปรอบ ๆ ด้วยใบพดั ท่ีติด
ต้งั อยู่เหนือถงั ผสม เม่ืออาหารตกลงมาก็จะเวียนกลับเข้าไปในกระบอกผสมอีก ทาให้เกิดการ
หมุนเวียนและการกระจายตัวของวตั ถุดิบ การป้ อนวตั ถุดิบเขา้ เคร่ืองผสมต้องป้ อนทีละอย่าง
สลบั กนั ไป เพื่อช่วยให้วตั ถุดิบกระจายตวั ไดท้ วั่ ถึง การผสมอาหารจึงใชเ้ วลาประมาณ 25-30 นาที
ท้งั น้ีเพราะมีพ้ืนที่กระบอกผสมประมาณ 10–20 เปอร์เซ็นตข์ องพ้ืนท่ีท้งั หมด จึงมีอาหารที่ถูกผสม
อยใู่ นกระบอกผสมจานวนนอ้ ย และวตั ถุดิบท่ีใชผ้ สมควรมีขนาดไล่เล่ียกนั หรือมีความถ่วงจาเพาะ
ใกลเ้ คียงกนั และมีลกั ษณะแหง้ ความช้ืนนอ้ ย ถา้ วตั ถุดิบมีความช้ืนมากจะทาใหว้ ตั ถุดิบบางส่วนติด
อยูใ่ นกระบอกผสม เกิดการแยกส่วนและทาความสะอาดยาก ถา้ ตอ้ งการผสมของเหลวควรผสม
นอกเคร่ืองโดยผสมวตั ถุดิบใหห้ มาด ๆ ก่อนป้ อนเขา้ เคร่ือง เพื่อป้ องกนั ไม่ใหเ้ ครื่องผสมติดขดั และ
อาหารจะไดห้ มาดทวั่ ถึงกนั ไม่เช่นน้นั เม่ือนามาอดั เมด็ จะมีบางส่วนแห้ง บางส่วนเปี ยก เม็ดอาหาร
แขง็ บา้ งน่ิมบา้ ง
198
ภาพท่ี 6.2 เคร่ืองผสมแบบแนวต้งั
ที่มา : ปักธงชยั ปศุสตั ว์ (2554)
2.2.2 เครื่องผสมอาหารแบบถงั นอน (horizontal mixer) ตวั เครื่องประกอบดว้ ยถงั ผสม
ทรงกระบอกผา่ คร่ึงวางในแนวนอน ดงั แสดงในภาพที่ 6.3 ภายในมีแกนกลางลอ้ มรอบดว้ ยใบพดั
ซอ้ นกนั หลายใบลกั ษณะคลา้ ยเกลียวริบบิ้น ซ่ึงหมุนไดด้ ว้ ยเครื่องฉุดเพอื่ ผสมวตั ถุดิบให้เขา้ เป็ นเน้ือ
เดียวกนั การป้ อนวตั ถุดิบสามารถป้ อนวตั ถุดิบเขา้ เคร่ืองพร้อมกนั ไดเ้ ลย ทาให้ใชเ้ วลาในการผสม
ส้ันมากประมาณ 5 – 10 นาที วตั ถุดิบท่ีใช้ไม่จาเป็ นตอ้ งมีขนาดไล่เลี่ยกนั และใช้ไดท้ ้งั วตั ถุดิบท่ี
เปี ยก มีความช้ืนสูง หรือวตั ถุดิบที่แหง้ จึงมีประสิทธิภาพในการผสมดีกวา่
ภาพท่ี 6.3 เครื่องผสมแบบแนวนอน
ท่ีมา : วชิ าญ (2552)
199
2.2.3 เคร่ืองผสมอาหารแบบกวน เครื่องผสมแบบน้ีจะมีตวั กวนยน่ื เขา้ ไปในถงั ตวั กวน
มีหลายรูปแบบ เช่น ใบพาย ตะขอ เป็ นตน้ แต่ละแบบจะเหมาะสมกบั ลกั ษณะของวตั ถุดิบแต่ละ
ชนิด เช่น การกวนแบบใชใ้ บพายเหมาะกบั วตั ถุดิบที่มีความช้ืนนอ้ ย แบบตะขอเหมาะกบั วตั ถุดิบท่ี
มีความหนืดสูง
2.3 เครื่องอดั เม็ดอาหาร (pellet mill) เป็ นเคร่ืองมือท่ีใช้ เพื่อทาให้อาหารมีขนาดที่พอเหมาะกบั
ขนาดของปาก นิสัยการกิน และตามประเภทของสตั วน์ ้า ซ่ึงมีรูปแบบตา่ ง ๆ ดงั น้ี
2.3.1 เครื่องอดั เม็ดอาหารแบบมินเซอร์ (mincer) หรือเครื่องบดเน้ือ ดงั แสดงในภาพท่ี 6.4
จดั เป็ นเคร่ืองสารพดั ประโยชน์อเนกประสงค์ ทาหนา้ ที่ไดท้ ้งั บดอาหารและอดั เม็ด การผลิตอาหารใช้
เองในฟาร์มส่วนมากนิยมใชเ้ คร่ืองบดอาหารแบบมินเซอร์ ทาหนา้ ที่อดั เม็ดอาหาร โดยอาจนาใบมีด
ไปติดไวบ้ ริเวณตะแกรงอดั หรือหน้าแว่น ดงั น้ัน เม่ืออาหารผสมที่ถูกลาเลียงมา โดยเกลียวส่ง
อาหารผา่ นออกจากหนา้ แวน่ ใบมีดจะตดั เป็ นท่อนส้ัน ๆ หรือถา้ ไม่มีใบมีดอาจใชม้ ือปาด ทาใหไ้ ด้
อาหารท่ีมีขนาดส้ันลง ถา้ ตอ้ งการอาหารท่ีมีขนาดต่างกนั เช่น ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือขนาด
เลก็ ใหท้ าการเปล่ียนหนา้ แวน่ ใหม้ ีขนาดของรูตามท่ีตอ้ งการโดยทวั่ ไปแลว้ การอดั เม็ดดว้ ยมินเซอร์
จะไดผ้ ลดีควรผสมน้าเขา้ ไปประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ จึงนามาอดั เมด็ เพราะปริมาณน้าดงั กล่าวช่วย
ลดแรงเสียดสีภายในเคร่ือง ทาใหเ้ มด็ อาหารอดั กนั แน่นข้ึน เพราะวตั ถุดิบประเภทแป้ งสุกจะมีความ
เหนียว และเมื่อสัตวน์ ้าไดร้ ับอาหารจะยอ่ ยไดง้ ่าย
ภาพท่ี 6.4 เครื่องอดั เมด็ อาหารแบบมินเซอร์
ท่ีมา : วชิ าญ (2552)
2.3.2 เครื่องอดั เมด็ แบบจม (pelleting machine) เป็ นเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการผลิตอาหาร
สาหรับสตั วบ์ กเป็นส่วนใหญ่ เช่น ไก่ และสุกร เป็นตน้ แต่ไดน้ ามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการผลิตอาหารกุง้
เนื่องจากอาหารเม็ดท่ีผลิตได้ โดยเครื่องอดั เม็ดแบบจมจะมีความแข็งมาก และจมน้า ดังน้ัน
200
จึงเหมาะกบั พฤติกรรมการกินอาหารของกุง้ ซ่ึงกินที่กน้ บ่ออยา่ งชา้ ๆ การทางานของเคร่ืองอดั เม็ด
แบบจม จะมีการควบคุมอุณหภูมิ ความช้ืน และความดนั ระหวา่ งการผลิตอยตู่ ลอดเวลา
ข้นั ตอนการทางานของเครื่องอดั เม็ดแบบจมจะเริ่มจากอาหารท่ีผสมใหเ้ ป็ นเน้ือเดียวกนั ใน
เครื่องผสมอาหาร (อาหารในสภาพแหง้ ) จะถูกลาเลียงเขา้ มายงั ช่องรับอาหาร จากน้นั อาหารผสมจะ
เคลื่อนที่ช้า ๆ เขา้ ไปในห้องผสมไอน้า ซ่ึงมีลกั ษณะเป็ นท่อยาวประมาณ 1.0-1.2 เมตรภายในห้อง
ผสมไอน้า จะมีการฉีดไอน้าร้อนออกมาผสมกบั อาหารผสมประมาณ 16-18 เปอร์เซ็นต์ มีการ
ควบคุมความดนั และปรับอุณหภูมิภายในหอ้ งใหค้ งท่ีประมาณ 85 องศาเซลเซียส และมีหวั ตีอาหาร
อยู่ภายในช่วยตีอาหารให้ผสมเขา้ กบั ไอน้าร้อนไดด้ ีข้ึน ทาให้อาหารเปี ยกและน่ิมและอาหารสุก
ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ อาหารผสมจะอยู่ในห้องผสมไอน้าประมาณ 5-25 วนิ าที จึงเคล่ือนมายงั
ห้องอดั เม็ด โดยอาหารผสมจะเคล่ือนที่มายงั ระหว่างลูกกลิ้งและหน้าแว่น ซ่ึงจะหมุนในทิศทาง
เดียวกนั และอาหารจะถูกกลิ้งอดั ผา่ นรูหนา้ แวน่ ออกมาเป็ นแท่งยาวตามขนาดของรู จากน้นั อาหาร
จะถูกใบมีดในมุมเฉียงตดั ใหเ้ ป็นแท่งยาวหรือแท่งส้นั กข็ ้ึนอยกู่ บั การต้งั ระยะระหวา่ งใบมีดกบั หนา้
แวน่ การผลิตอาหารเม็ดจมน้าไม่ควรใหไ้ ขมนั ในอาหารต่ากวา่ 2-3 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้อดั เม็ดผา่ น
หนา้ แวน่ ไดง้ ่าย และในทานองเดียวกนั ก็ไม่ควรมากเกิน 8-10 เปอร์เซ็นต์ เพราะอาหารมีแรงอดั ไม่
มาก ทาใหอ้ าหารไมแ่ ขง็ หรือไมแ่ น่นเทา่ ที่ควร ดงั น้นั ถา้ ตอ้ งการใหอ้ าหารเมด็ จมน้ามีไขมนั มากข้ึน
จึงนิยมสเปรยไ์ ขมนั เคลือบผวิ อาหารเมด็ ภายหลงั เสร็จสิ้นการอดั เมด็
2.3.3 เครื่องอดั เมด็ ลอย (wet extruder) เครื่องอดั เม็ดลอยหรือเคร่ืองเอก็ ซ์ทรูด ดงั แสดง
ในภาพท่ี 6.5นิยมใชใ้ นการผลิตอาหารเม็ดลอยน้าให้สัตวน์ ้าท่ีมีนิสัยชอบหากินบริเวณผิวน้า เช่น
ปลาตะเพียน ปลานิล และปลาดุก เป็ นตน้ ลกั ษณะเป็ นกระบอกเด่ียว หรือกระบอกคู่ และมีหัวตี
อาหาร ช่วยให้อาหารผสมกบั น้าและไอน้าร้อนดีข้ึน ภายในห้องผสมน้าและไอน้า จะมีการฉีดน้า
และไอน้าร้อนเขา้ มาผสมกบั อาหารสัตวน์ ้าประมาณ 20–24 เปอร์เซ็นต์ และควบคุมความร้อนและ
อุณหภูมิใหค้ งท่ีประมาณ 125–150 องศาเซลเซียส โดยการปรับปริมาณไอน้าท่ีเขา้ มา และระยะเวลา
ที่อาหารอยู่ในห้องผสมน้าและไอน้าให้มีความสัมพนั ธ์กนั ซ่ึงอุณหภูมิดงั กล่าวจะทาให้อาหาร
สุกมากถึงประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ส่วนระยะเวลาผสมภายในห้องผสมน้าและไอน้าก็ข้ึนอยู่กบั
อาหาร เช่น สูตรอาหารที่มีไขมนั 7 เปอร์เซ็นต์ ควรผสมไม่เกิน 120–180 วนิ าที แต่ถา้ มีไขมนั มาก
ถึง 22 เปอร์เซ็นต์ (อาหารปลาเขตหนาว) ก็อาจผสมไดถ้ ึง 290 วนิ าที (Kearns, 1989) จากน้นั อาหาร
ผสมดงั กล่าวจะถูกลาเลียงมายงั กระบอกอดั (extruder barrel) ซ่ึงจะมีเกลียวอดั อาหาร ทาหนา้ ท่ีอดั
อาหารผา่ นหน้าแว่นด้วยความดนั และอุณหภูมิสูง จึงทาให้เมื่ออาหารถูกอดั ออกมาจะมีความดนั
ลดลง และน้าในอาหารระเหยเป็ นไอ มีผลทาให้อาหารจะลอยขยายพองข้ึน จึงเบาและลอยน้าได้
ขอ้ ดีของการผลิตอาหารเมด็ ลอยน้า นอกจากอาหารจะลอยน้าทาใหส้ ังเกตการกินอาหารของสัตวน์ ้า
201
แลว้ ยงั ทาให้แป้ งเกือบท้งั หมดสุก ทาให้สัตวน์ ้าย่อยและดูดซึมอาหารไดด้ ีข้ึนแต่ก็ควรระมดั ระวงั
ความร้อนที่สูงมาก ๆ อาจทาลายวติ ามินบางชนิดท่ีไม่ทนความร้อน โดยเฉพาะวิตามินซี ดงั น้นั จึง
ควรผสมวติ ามินซีใหม้ ากกวา่ ปกติระหวา่ งการสร้างสูตรอาหาร ถา้ จะผลิตดว้ ยเครื่องอดั เมด็ ลอย
ภาพที่ 6.5 เครื่องอดั เมด็ ลอย
ท่ีมา : วชิ าญ (2552)
2.4 เคร่ืองอบแหง้ (cooler and dryer)
2.4.1 เครื่องอบแหง้ แบบถงั ต้งั (vertical cooler and dryer) เคร่ืองอบแหง้ แบบถงั ต้งั
จะมีช่องบริเวณด้านบนของเครื่อง เพื่อให้อาหารที่ผ่านการอดั เม็ดแล้วไดผ้ ่านลงมายงั ด้านล่าง
ตวั เคร่ืองโดยภายในตวั เคร่ืองจะมีพดั ลมดูดอากาศทาใหอ้ าหารเม็ดที่ร้อนเยน็ ลง เนื่องจากมีความช้ืน
สมั พทั ธ์ลดลง จากน้นั อาหารเมด็ จะถูกปล่อยออกดา้ นล่างของเคร่ืองและนาไปแยกฝ่ นุ และบรรจุเพื่อ
จาหน่ายตอ่ ไป เคร่ืองอบแหง้ แบบน้ีนิยมใชใ้ นโรงงานอาหารสตั วท์ ี่มีพ้นื ท่ีจากดั
2.4.2 เคร่ืองอบแหง้ แบบถงั นอน (horizontal cooler and dryer) เครื่องอบแหง้ แบบถงั
นอน นิยมใชใ้ นโรงงานผลิตอาหารสตั วท์ วั่ ไปภายในตวั เคร่ืองจะมีสายพานลาเลียงอาหารเม็ดท่ีผา่ น
การอดั เม็ดเขา้ ไปในตวั เครื่อง โดยจะรับอาหารจากดา้ นหน่ึงไปออกอีกดา้ นหน่ึง ในระหวา่ งการ
ลาเลียงจะมีพดั ลมดูดอากาศ ทาให้อาหารเย็นลงเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การลดความช้ืนของ
อาหารเม็ด ยงั อาจทาไดโ้ ดยการอบในตูอ้ บให้อาหารเมด็ แหง้ แลว้ ใชพ้ ดั ลมดูดอากาศออกมา ซ่ึงจะ
ทาใหป้ ระสิทธิภาพการลดความช้ืนดีข้ึน
202
3. วธิ ีการผลติ อาหารเมด็
3.1 ขอ้ ควรพิจารณาก่อนการผลิตอาหารสัตวน์ ้า
ผูเ้ ล้ียงสัตวน์ ้าท่ีตอ้ งการผลิตอาหารใช้เอง ควรพิจารณาปัจจยั ต่าง ๆ ก่อนการดาเนินการ
ผลิต เพ่อื ใหไ้ ดโ้ ภชนะครบถว้ นเหมาะสมกบั สตั วน์ ้าแตล่ ะชนิด ดงั น้ี
3.1.1 ความตอ้ งการสารอาหารของสตั วน์ ้าแตล่ ะชนิด
3.1.2 องคป์ ระกอบทางเคมีของวตั ถุดิบแตล่ ะชนิด
3.1.3 ลกั ษณะทางกายภาพและชีวภาพของวตั ถุดิบ
3.1.4 ราคาวตั ถุดิบ
3.1.5 สารพิษและการกาจดั สารพิษท่ีมีในวตั ถุดิบแต่ละชนิด
3.1.6 คุณภาพของวตั ถุดิบแต่ละชนิด
3.2 การคดั เลือกวตั ถุดิบอาหารสัตวน์ ้า
สุกญั ญา (2539) กล่าววา่ การผลิตอาหารสตั ว์ ไหไ้ ดค้ ุณภาพดี นอกจากการสร้างสูตรอาหาร
การผสมอาหาร และกระบวนการผลิตอื่น ๆ ที่ดีแล้ว ชนิดและคุณภาพวตั ถุดิบท่ีใช้ในการผลิต
อาหาร นบั วา่ มีความสาคญั มากเช่นกนั การคดั เลือกวตั ถุดิบอาหารใหม้ ีคุณภาพดีได้ ดงั น้ี
3.2.1 สารอาหารชนิดใดชนิดหน่ึงหรือหลายชนิดท่ีสัตวต์ ้องการ ถ้ามีปริมาณและ
สดั ส่วนท่ีเหมาะสมก็จะจดั วา่ เป็นวตั ถุดิบท่ีมีคุณภาพดี เพราะสัตวม์ ีโอกาสท่ีจะนาสารอาหารน้นั ไป
ใชไ้ ดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ีไม่มีส่วนเกินท่ีทาใหเ้ กิดการสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์
3.2.2 วตั ถุดิบน้นั ตอ้ งถูกยอ่ ยได้ โดยน้ายอ่ ยในร่างกายและสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์
ไดจ้ ึงถือวา่ เป็ นอาหารท่ีมีคุณภาพดี ซ่ึงปัจจยั ท่ีมีผลต่อการยอ่ ยและการใชป้ ระโยชน์ไดข้ องวตั ถุดิบ
อาหารสตั วม์ ีหลายประการดว้ ยกนั คือ
1) ปริมาณเยอ่ื ใยท่ีมีอยใู่ นวตั ถุดิบอาหารน้นั เนื่องจากสัตวน์ ้าไม่สามารถยอ่ ยส่วน
ที่เป็นเยือ่ ใยในอาหารได้ ดงั น้นั วตั ถุดิบที่มีเยื่อใยสูงจึงมีการยอ่ ยไดต้ ่า ประกอบกบั สารเย่ือใยจะดูด
ซบั น้าในทางเดินอาหารไวม้ าก ทาใหอ้ าหารเคล่ือนท่ีเร็วข้ึน ผลโดยรวมจึงทาใหว้ ตั ถุดิบอาหารน้นั มี
คุณภาพต่าลง
2) ขนาดของวตั ถุดิบอาหาร มีความสาคญั และเก่ียวขอ้ งกบั การย่อยอาหารของ
สตั วน์ ้า ดงั น้นั การเลือกใชว้ ตั ถุดิบที่มีขนาดเล็กหรือบดวตั ถุดิบใหล้ ะเอียด ทาใหส้ ตั วน์ ้าสามารถยอ่ ย
และนาสารอาหารน้นั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
3) สารท่ีขดั ขวางการทางานของน้าย่อยท่ีมีอยู่ในวตั ถุดิบอาหารบางชนิดทาให้
อาหารที่สัตวก์ ินเขา้ ไปไม่ถูกยอ่ ย สัตวไ์ ม่สามารถนาสารอาหารไปใชไ้ ด้ จึงถูกขบั ออกจากร่างกาย
4) การเตรียมวตั ถุดิบอาหาร นอกเหนือจากการบดวตั ถุดิบให้มีขนาดเล็กลงแลว้
203
ยงั มีกระบวนการผลิตอีกหลายรูปแบบ เช่น การคว่ั การต้ม การน่ึง และการเอ็กซ์ทรูดหรือการ
อดั เมด็ อาหาร ซ่ึงกระบวนการเหล่าน้ีจะมีความร้อนเกิดข้ึน มีผลทาให้อาหารยอ่ ยไดด้ ีข้ึน เน่ืองจาก
ความร้อนทาใหอ้ าหารพวกแป้ งเปล่ียนไปอยใู่ นรูปของเจลลาติน
5) ปริมาณอาหารที่สัตวน์ ้ากิน การให้อาหารสัตวน์ ้าแต่ละคร้ังมากเกินไปมกั มีผล
ทาใหก้ ารยอ่ ยไดแ้ ละประสิทธิภาพการใชอ้ าหารดอ้ ยลง
3.2.3 ไม่มีสารท่ีเป็ นพิษซ่ึงจะเป็ นอนั ตรายต่อสุขภาพของสัตวน์ ้าท่ีเล้ียงและไม่มีสาร
ขดั ขวางการเจริญเติบโต
3.3 ข้นั ตอนการผลิตอาหารเมด็
กรรมวธิ ีการผลิตอาหารเมด็ เพื่อนาไปอนุบาลหรือเล้ียงสัตวน์ ้าต่อไป การผลิตอาหารใชเ้ อง
ในฟาร์มหรือผลิตจากโรงงานอาหารสัตวต์ า่ งมีข้นั ตอนการผลิตพ้ืนฐานเช่นเดียวกนั แต่อาจแตกต่าง
กนั ในรายละเอียดของรูปแบบเคร่ืองมือที่ใชผ้ ลิตอาหาร กาลงั การผลิตและการจดั การข้นั ตอนการ
ผลิตอาหารสตั วน์ ้า หรืออาหารปลา ประกอบดว้ ยข้นั ตอนที่สาคญั 6 ข้นั ตอนดงั น้ี
3.3.1 การบด (grinding) เม่ือไดส้ ูตรอาหารตามตอ้ งการแลว้ ตอ้ งเตรียมจดั หาวตั ถุดิบ
ให้ครบตามสูตรและมีปริมาณเพียงพอท่ีจะทาการผลิต วตั ถุดิบท่ีมีขนาดใหญ่จะตอ้ งทาการบด
วตั ถุประสงคข์ องการบดเพอื่ ลดขนาดของวตั ถุดิบใหเ้ ลก็ ลง ซ่ึงสัตวน์ ้าสามารถจะยอ่ ยไดง้ ่ายข้ึน การ
บดละเอียดยงั ช่วยในเรื่องการอดั เมด็ โดยช่วยใหเ้ มด็ อาหารมีความคงตวั ดี สาหรับเคร่ืองบดที่ใชค้ วร
เลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ประเภทของวตั ถุดิบ ถา้ ใชว้ ตั ถุดิบแบบแหง้ เช่น ปลายขา้ ว กากถว่ั ขา้ วโพด
ควรใชเ้ คร่ืองบดแบบมีดสบั หรือแบบจาน แต่ถา้ เป็ นวตั ถุดิบแบบเปี ยก เช่น ปลาเป็ ด โครงไก่ ไส้ไก่
หวั ไก่ ควรใชเ้ คร่ืองโม่ปลาหรือเคร่ืองบดเน้ือ สาหรับการบดวตั ถุดิบ มีประโยชน์ ดงั น้ี
1) ช่วยเพิ่มพ้ืนที่ผิวของวตั ถุดิบอาหาร ทาให้สามารถผสมวตั ถุดิบอาหารสัตวใ์ ห้
เป็นเน้ือเดียวกนั ไดง้ ่าย
2) ช่วยในการอดั เมด็ อาหาร การบดวตั ถุดิบใหล้ ะเอียดมีผลทาใหอ้ าหารอดั เม็ดกนั
ไดแ้ น่น และยดึ เกาะกนั ดีข้ึน นอกจากน้ียงั ทาใหอ้ าหารทุกเมด็ มีคุณคา่ เทา่ เทียมกนั
3) เป็ นการเพ่ิมประสิทธิภาพการยอ่ ย วตั ถุดิบที่ละเอียด สัตวน์ ้าสามารถย่อยและ
ดูดซึมธาตุอาหาร และใชป้ ระโยชน์ไดด้ ีข้ึน หรือเรียกวา่ เป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพการยอ่ ยหรือเพ่ิม
สัมประสิทธ์ิการยอ่ ย นน่ั เอง
3.3.2 การช่ัง (weighing) เมื่อจดั เตรียมวตั ถุดิบต่าง ๆ ที่ไดท้ าการบดให้ละเอียดดีมี
ขนาดท่ีเหมาะสม แลว้ ทาการชง่ั น้าหนกั ของวตั ถุดิบก่อนท่ีจะนามาผสม เพ่ือใหไ้ ดป้ ริมาณวตั ถุดิบ
ตามสัดส่วนของสูตรอาหารท่ีถูกตอ้ ง และมีโปรตีนตามตอ้ งการ ดงั น้ันการชงั่ น้าหนกั จึงมีความ
จาเป็นตอ้ งใชเ้ คร่ืองชง่ั ที่มีความเท่ียงตรงแมน่ ยา จึงไดป้ ริมาณวตั ถุดิบที่ตรงตามความตอ้ งการ
204
3.3.3 การผสม (mixing) การผสมอาหารมีวตั ถุประสงค์เพื่อตอ้ งการใหว้ ตั ถุดิบอาหารมี
ขนาดละเอียดผสมเขา้ กนั เป็ นเน้ือเดียวกนั ซ่ึงจะเป็ นประโยชน์ต่อการผลิตอาหารเม็ด เนื่องจาก
อาหารที่ผสมเป็ นเน้ือเดียวกนั เม่ือทาการอดั เม็ดออกมาจะไดอ้ าหารเม็ดที่มีคุณภาพสม่าเสมอและมี
ปริมาณธาตุอาหาร ในทุกส่วนของอาหารเม็ดตามสูตรอาหารท่ีไดค้ านวณไว้ แต่ถา้ เทคนิคการผสม
อาหารไมด่ ี หรือการบดอาหารไม่ดีพอ จะทาใหอ้ าหารไมผ่ สมเป็นเน้ือเดียวกนั ซ่ึงเมื่ออดั เมด็ ออกมา
จะไดอ้ าหารเมด็ ท่ีมีคุณภาพไมค่ งที่ และปริมาณธาตุอาหารในอาหารเมด็ จะไมเ่ ท่ากนั ทุกส่วน ดงั น้นั
การผสมอาหารจึงควรใชเ้ วลาประมาณ 10 – 20 นาที ข้ึนอยกู่ บั ขนาด หรือประสิทธิภาพของเครื่อง
ผสมอาหาร หรือองคป์ ระกอบของสูตรอาหารและตอ้ งการเทคนิคการผสมที่ดี
การผสมวตั ถุดิบอาหารสัตว์ ควรเร่ิมผสมวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ี่มีลกั ษณะแห้ง โดยเริ่มใส่
วตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ี่ใชป้ ริมาณมากลงไปก่อน แลว้ ใส่วตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีใชป้ ริมาณน้อยตามไป
ภายหลงั แลว้ ปล่อยใหผ้ สมเขา้ เป็นเน้ือเดียวกนั สกั ระยะหน่ึง จากน้นั จึงผสมวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีใช้
ปริมาณน้อยมาก (วิตามิน แร่ธาตุ สารประสานอาหาร กรดอะมิโนสังเคราะห์ หรือยารักษาโรค
แล้วแต่กรณี) แล้วผสมให้เขา้ กนั อีกคร้ังหน่ึง จะผสมน้าหรือไอน้าร้อนเข้าไปซ่ึงก็ข้ึนอยู่กับ
จุดประสงค์วา่ ตอ้ งการที่จะผลิตอาหารเม็ดที่มีลกั ษณะเช่นใด การผสมไขมนั เช่น น้ามนั พืช หรือ
น้ามนั ตบั ปลา ถา้ จาเป็ นตอ้ งใชค้ วรผสมภายหลงั เมื่อวตั ถุดิบอาหารสัตวไ์ ดผ้ สมเขา้ กบั น้า หรืออาจ
พ่นสเปรยเ์ คลือบผิวภายหลงั เสร็จสิ้นการอดั เม็ด สาหรับการผลิตอาหารเม็ดใช้เองในฟาร์มถา้ ตอ้ งการ
ผลิตไม่มากนกั อาจใช้พลวั่ ผสมแบบการผสมปูนก็ได้ แต่ถา้ ตอ้ งการผลิตอาหารเม็ดปริมาณมาก ควรใช้
เครื่องผสมอาหารเพราะสะดวก รวดเร็ว และผสมเขา้ เป็ นเน้ือเดียวกนั ไดด้ ีกวา่ อีกท้งั ยงั มีความมนั่ ใจใน
คุณภาพของอาหารเม็ดท่ีผลิตข้ึนดว้ ย
3.3.4 การอดั เม็ด (pelleting) ในการอดั เม็ดอาหาร มีวตั ถุประสงค์ เพื่อตอ้ งการให้
วตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีไดร้ ับการผสมให้เป็ นเน้ือเดียวกนั ได้เปล่ียนรูปมาเป็ นอาหารเม็ด ซ่ึงจะมี
คุณสมบตั ิที่เหมาะสมแก่การนามาใหป้ ลาหรือสัตวน์ ้ากิน เน่ืองจากอาหารเมด็ มีความจุแน่น ทาให้
ปลากินอาหารไดม้ ากข้ึน หรือไดร้ ับธาตุอาหารมากข้ึนอีกท้งั ยงั ช่วยป้ องกนั ไม่ให้สัตวน์ ้าเลือกกิน
วตั ถุดิบอาหารท่ีชอบเท่าน้นั เพราะวา่ การที่ปลากินอาหารเมด็ เขา้ ไป จะไดร้ ับวตั ถุดิบอาหารท้งั หมด
ดว้ ยพร้อมกนั นอกจากน้ี การอดั เม็ดยงั ช่วยให้อาหารสุก เนื่องจากมีความร้อนเกิดข้ึน ทาให้ปลา
หรือสตั วน์ ้าใชป้ ระโยชน์จากอาหารเมด็ ไดด้ ีข้ึน การผลิตอาหารเมด็ ใชเ้ องในฟาร์ม นิยมใชเ้ คร่ืองบด
เน้ือในการอดั เม็ด เพราะมีความสะดวกและราคาถูก แต่ถา้ เป็ นการผลิตของโรงงานอาหารสัตว์
จะใชเ้ ครื่องอดั เมด็ แบบจม หรือเคร่ืองอดั เมด็ ลอย ซ่ึงมีราคาแพงหลายลา้ นบาท
3.3.5 การลดความช้ืน (cooling and drying) อาหารที่ผา่ นการอดั เม็ดจะมีความช้ืนสูง
และมีอุณหภูมิประมาณ 90 องศาเซลเซียส ดงั น้นั จาเป็ นตอ้ งนามาลดความช้ืนให้อยู่ในระดบั ท่ี
205
เหมาะสม เพือ่ นาไปใหป้ ลาหรือสัตวน์ ้ากิน และเพื่อใหส้ ามารถเก็บรักษาอาหารเมด็ ไดใ้ นระยะเวลา
หน่ึง โดยไม่เกิดเช้ือรา การลดความช้ืนในอาหารเม็ดดงั กล่าวทาไดห้ ลายวิธี โดยถ้าเป็ นการผลิต
อาหารใชเ้ องในฟาร์ม นิยมที่จะนามาเกลี่ยเป็ นช้นั บาง ๆ บนพ้ืนที่สะอาด แลว้ ตากแดดใหแ้ ห้ง หรือ
ถา้ เป็ นการผลิตอาหารทดสอบศึกษาความตอ้ งการธาตุอาหารของปลาอาจเกลี่ยเป็ นช้นั บาง ๆ ใน
ตูอ้ บหรือใชพ้ ดั ลมเป่ าให้แหง้ แต่ถา้ เป็ นการผลิตของโรงงานอาหารสัตว์ จะมีการใชเ้ ครื่องอบแห้ง
อยา่ งดี ซ่ึงจะใชเ้ วลาอบแห้งประมาณ 20 – 30 นาที ทาให้ความช้ืนลดเหลือประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์
แล้วจึงนามาร่อนผ่านตะแกรง เพ่ือนาเอาเศษฝ่ ุนที่ติดกับอาหารเม็ดออกไป จึงทาการบรรจุ
อาหารเมด็ ใส่ภาชนะเพ่ือนาไปเก็บรักษาหรือจาหน่ายต่อไป โดยทวั่ ไปแลว้ อาหารท่ีอดั เม็ดออกมา
ถา้ ไม่ลดความช้ืนจะทาให้อาหารไม่แข็งตวั หรือแน่นเท่าท่ีควร ทาให้อาหารไม่คงตวั ในน้าและแตก
ยยุ่ ไดง้ ่าย
3.3.6 การเก็บรักษาอาหารสัตวน์ ้า ในการผลิตอาหารสัตวน์ ้าการเก็บรักษาอาหารเป็ น
อีกข้ันตอนหน่ึงที่มีความจาเป็ น โดยมีเป้ าหมายเพื่อรักษาอาหารให้อยู่ในสภาพเดิม ไม่ให้
เปล่ียนแปลงจากสภาพก่อนการเก็บรักษา อาหารท่ีแหง้ สนิท หรือมีความช้ืนเหลืออยู่นอ้ ยควรเก็บ
ในภาชนะท่ีแหง้ และมีการบรรจุท่ีปิ ดสนิท เพื่อป้ องกนั ไม่ให้ความช้ืนเขา้ ไปสัมผสั กบั อาหารซ่ึงจะ
ทาใหอ้ าหารเส่ือมคุณภาพได้ การเปลี่ยนสภาพหรือการเสื่อมคุณภาพอาหารในขณะเก็บรักษาเกิด
จากสาเหตุดงั ต่อไปน้ี
1) การใชว้ สั ดุหีบห่อท่ีไม่ปลอดภยั
2) สภาพของสถานที่เก็บอาหาร สถานที่เก็บอาหารท่ีดีต้องปราศจากสัตว์
ต่าง ๆ เช่น หนู แมลง ซ่ึงจะคอยกดั กินและนาสารพษิ มาปนเป้ื อนกบั อาหาร
3) สถานที่เก็บอาหารจะตอ้ งไม่มีความช้ืนสูง หรือร้อนเกินไป
4) การเก็บรักษาอาหารในสถานที่ที่ถูกแดดโดยตรงจะทาลายวิตามินที่อยูใ่ น
อาหารหลายชนิด เช่น ไธอะมีน ไรโบเฟลวนิ เป็นตน้
ในการผสมอาหารเพ่ือใช้เองในฟาร์ม นอกจากตอ้ งคานึงถึงปริมาณโภชนะต่าง ๆ ท่ีมีใน
สูตรอาหาร การเลือกใชแ้ ละการตรวจสอบคุณภาพวตั ถุดิบอาหารอย่างถูกตอ้ ง รวมถึงการใช้สูตร
อาหารราคาถูกแลว้ ควรตอ้ งคานึงถึงการผสมวตั ถุดิบอาหารที่ใชใ้ นสูตรอาหารอยา่ งเหมาะสมดว้ ย
เพื่อช่วยใหก้ ารผลิตสัตวน์ ้าเป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและไดก้ าไร เพราะในปัจจุบนั ไดม้ ีผูค้ ิดคน้
และประดิษฐ์เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่ออานวยความสะดวก และช่วยให้กระบวนการผลิต
อาหารมีประสิทธิภาพมากข้ึน ท้งั ยงั ช่วยประหยดั แรงงาน และสามารถหาซ้ือไดเ้ พื่อไวใ้ ช้งานใน
ฟาร์มไดท้ ว่ั ไป โดยตอ้ งคานึงถึงการใชง้ านท่ีใหผ้ ลคุม้ คา่ ตอ่ การลงทุนอีกดว้ ย
206
4. การประเมินคุณค่าทางอาหาร
การประเมินคุณค่าทางอาหาร นบั ว่ามีความสาคญั และเป็ นประโยชน์ต่อการเล้ียงสัตวน์ ้า
อยา่ งยิ่ง เน่ืองจากทาให้ทราบถึงคุณค่าทางโภชนศาสตร์ โดยเฉพาะคุณค่าของโปรตีนท่ีช่วยสร้าง
การเจริญเติบโตของสัตวน์ ้า ประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหาร และประโยชน์สุทธิของโปรตีน ที่
สามารถประเมินไดม้ ี ดงั น้ี
4.1 คา่ โปรตีนสคอร์ (Protein score)
โปรตีนสคอร์อาจเรียกวา่ อะมิโนแอซิคสคอร์ (amino acid score) หรือเคมีคอลสคอร์
(chemical score) เป็ นค่าของกรดอะมิโนท่ีมีน้อยที่สุดในอาหารเมื่อเทียบกบั กรดอะมิโนชนิด
เดียวกนั ที่มีอยู่ในอาหารที่ใช้เป็ นมาตรฐาน ในการประเมินค่าโปรตีนสคอร์ของอาหารใดอาหาร
หน่ึง จะตอ้ งมีขอ้ มลู สาหรับดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี
4.1.1 ปริมาณของกรดอะมิโนชนิดจาเป็นในอาหาร
4.1.2 ปริมาณของกรดอะมิโนในอาหารท่ีใชเ้ ป็ นมาตรฐาน เช่น อาหารมาตรฐานของ
FAO หรือปริมาณของกรดอะมิโนในอาหารที่มีโปรตีนคุณภาพดี เช่น นมหรือไข่
4.1.3 ค่าของกรดอะมิโนที่มีนอ้ ยท่ีสุดในอาหารจาก (1) และค่าของกรดอะมิโนชนิด
เดียวกนั จาก (2)
จากน้นั หาค่าโปรตีนสคอร์ไดจ้ ากสูตร (Hardy, 1989) ดงั น้ี
โปรตีนสคอร์ = มิลลิกรัมของกรดอะมิโนท่ีมีนอ้ ยที่สุดในอาหาร x 100
มิลลิกรัมของกรดอะมิโนชนิดเดียวกนั ท่ีมีอยใู่ นนม
หรือไข่หรือในอาหารมาตรฐานของ FAO
4.2 ค่าทางชีววทิ ยา (Biological value)
ค่าทางชีววิทยาหรือค่าทางโภชนศาสตร์ หมายถึงคุณค่าของโปรตีนที่ช่วยสร้างการ
เจริญเติบโต คิดได้จากปริมาณโปรตีนที่ร่างกายกักหรือเก็บสะสมสาหรับสร้างเน้ือเย่ือ เม่ือ
เปรียบเทียบกบั ปริมาณท่ีถูกดูดซึม สมมุติว่าโปรตีนที่สัตวก์ ินถูกย่อยและดูดซึมไว้ 100 ส่วน
ปริมาณที่ร่างกายเก็บสะสมไวไ้ ด้ 70 ส่วน เพื่อใชใ้ นการเจริญเติบโต ค่าชีววิทยาของโปรตีนชนิดน้ี
คือ 70 ค่าโปรตีนที่ถูกดูดซึมกับค่าโปรตีนท่ีถูกกักหรือเก็บสะสมไวป้ ระเมินได้ด้วยวิธีการ
ดุลไนโตรเจนกบั สตั วท์ ดลองตามสูตร (Hardy, 1989) ดงั น้ี
BV FoodN (UN FN ) x100
FoodN FN
Food N – (UN+FN) x 100
207
เมื่อ BV = คา่ ทางชีววทิ ยา
Food N = ไนโตรเจนในอาหาร
UN = ไนโตรเจนที่ถูกขบั ถ่ายออกทางการหายใจและปัสสาวะ
FN = ไนโตรเจนท่ีถูกขบั ถ่ายออกทางมูล
4.3 คา่ ประสิทธิภาพของโปรตีน (Efficiency ratio; ER)
ประสิทธิภาพของโปรตีนในอาหาร สามารถประเมินไดจ้ ากอตั ราส่วนระหวา่ งน้าหนกั
ที่เพิ่มข้ึนของสัตวก์ บั น้าหนกั ของโปรตีนท่ีสัตวก์ ิน เขียนเป็ นสูตร (AOAC, 1975; Hardy, 1989)
ดงั น้ี
ER = น้าหนกั ท่ีเพม่ิ ข้ึนของสตั ว์ (หน่วย)
น้าหนกั ของโปรตีนท่ีสตั วก์ ิน (หน่วย)
อาหารที่มีค่าประสิทธิภาพของโปรตีนเป็ น 1 แสดงวา่ มีประสิทธิภาพสูงเพราะอาหารท่ีให้
สัตวก์ ินทาให้สัตวม์ ีน้าหนกั เพิ่มข้ึนเท่ากบั น้าหนกั ของโปรตีนในอาหาร อาหารท่ีมีคุณค่าควรมีค่า
ประสิทธิภาพของโปรตีนไมต่ ่ากวา่ 0.5
4.4 คา่ ประโยชนส์ ุทธิของโปรตีน (Net protein utitization; NPU)
ค่าประโยชนส์ ุทธิของโปรตีน สามารถวดั ไดโ้ ดยการเปรียบเทียบปริมาณไนโตรเจนใน
ตวั สัตวน์ ้าที่เล้ียงดว้ ยอาหารที่มีโปรตีน กบั ปริมาณไนโตรเจนในตวั สัตวน์ ้าที่เล้ียงดว้ ยอาหารไม่มี
โปรตีนในระยะเวลาเทา่ กนั เขียนเป็นสูตร (Cowey and Sargent, 1972 และ Hardy, 1989) ดงั น้ี
NP - NO
เม่ือ NP = ปริมาณไนโตรเจนในสัตวน์ ้าท่ีเล้ียงดว้ ยอาหารท่ีมีโปรตีน
NO = ปริมาณไนโตรเจนในสตั วน์ ้าท่ีเล้ียงดว้ ยอาหารที่ไมม่ ีโปรตีน
NF = ปริมาณไนโตรเจนในอาหาร
ในกรณีของการเล้ียงสัตวน์ ้าดว้ ยอาหารที่มีโปรตีน ค่าประโยชน์สุทธิของโปรตีนท่ีสัตวน์ ้า
ได้รับจากอาหาร คืออัตราส่วนระหว่างน้าหนักโปรตีนท่ีเพิ่มข้ึนในตัวสัตวน์ ้ากับน้าหนักของ
โปรตีนท่ีสตั วน์ ้ากิน เขียนเป็นสูตร (Cowey and Sargent, 1972 และ Hardy, 1989) ดงั น้ี
NPU = น้าหนกั ท่ีเพิ่มข้ึนของโปรตีนในตวั สัตวน์ ้า (หน่วย)
น้าหนกั ของโปรตีนท่ีสัตวน์ ้ากิน (หน่วย)
เนื่องจากน้าหนกั ท่ีเพ่ิมข้ึนของโปรตีนในตวั สัตวน์ ้าคือ น้าหนกั ของโปรตีนที่สัตวน์ ้าเก็บ
สะสมไวใ้ นร่างกายจากโปรตีนที่กิน จึงเรียกค่าน้ีวา่ การเก็บสะสมโปรตีน (net protein retention; NPR)
208
และอาศยั หลกั การเดียวกนั น้ี ค่าการเก็บสะสมพลงั งาน (net energy retention; NER) เป็ นอีกค่าหน่ึง
ที่นิยมใชว้ ดั คุณภาพของอาหารคู่กบั ค่าการเกบ็ สะสมโปรตีน
ค่าประโยชน์สุทธิของโปรตีนในอาหารปลาโดยเฉลี่ยมีค่าเป็ น 0.163 หรือประมาณ 16
เปอร์เซ็นต์ อาหารท่ีมีคุณภาพดีควรใหค้ ่าประโยชน์สุทธิของโปรตีนสูงกวา่ ค่าเฉลี่ย
5. การวเิ คราะห์คุณค่าทางโภชนาการอาหารสัตว์นา้
การตรวจสอบคุณภาพของอาหารที่ใชใ้ นการเล้ียงสัตวน์ ้า ควรท่ีจะทาการวเิ คราะห์อาหารที่
ใช้ในการเล้ียงสัตวน์ ้า ซ่ึงสามารถตรวจสอบได้โดยตรวจสอบคุณสมบตั ิทางกายภาพ และการ
ตรวจสอบคุณสมบตั ิทางเคมี ซ่ึงมีวธิ ีการดงั น้ี
5.1 การวเิ คราะห์คุณสมบตั ิทางกายภาพ
การศึกษาคุณสมบตั ิทางกายภาพของอาหารท่ีใชใ้ นการเล้ียงสัตวน์ ้า เป็ นสิ่งจาเป็ น เพราะจะ
ทาใหท้ ราบถึงความสามารถในการคงทนของอาหารในน้า และความสามารถในการลอยน้า เป็ นตน้
ซ่ึงสามารถทดสอบได้ ดงั น้ี
5.1.1 ความคงทนของอาหารในน้า (water stability)
1) อุปกรณ์
(1) ตะแกรงลวดที่มีช่องตา 2.8 – 3.0 มิลลิเมตร ขนาด 5x5x1 เซนติเมตร
(2) เตาอบ
(3) โถดูดความช้ืน (desicator)
(4) บีกเกอร์
(5) เครื่องชงั่
2) วธิ ีการ
(1) อบตะแกรงลวดท่ี 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที แลว้ ทาให้เยน็ ใน
โถดูดความช้ืน
ตะแกรงลวด (2) ชั่งน้าหนักอาหารท่ีทราบความช้ืนแน่นอน ประมาณ 3-4 กรัม ใส่ใน
(3)นาตะแกรงลวดแช่ลงในบีกเกอร์ ใหอ้ าหารจมอยใู่ ตร้ ะดบั ผิวน้า นาน10นาที
(4) เม่ือครบกาหนด ยกตะแกรงลวดข้ึน แขวนให้สะเด็ดน้า ประมาณ 15 นาที
จึงนาไปอบท่ีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นาน 4-5 ชวั่ โมง หรือจนกวา่ น้าหนกั อาหารคงท่ีทาให้เยน็
ในโถดูดความช้ืน แลว้ ชง่ั น้าหนกั
(5) จากน้นั นามาคานวณค่าความคงทนของอาหารในน้า โดยใชส้ ูตร
น้าหนกั อาหารที่สูญเสีย (%) = น้าหนกั อาหารแหง้ (เริ่มตน้ ) – น้าหนกั อาหารแห้ง (สุดทา้ ย) x 100
น้าหนกั อาหารแหง้ (เริ่มตน้ )
209
5.1.2 การดูดซบั น้า (water absorption)
1) อุปกรณ์
(1) ตะแกรงลวดที่มีช่องตา 2.8-3.0 มิลลิเมตร ขนาด 5x5x1 เซนติเมตร
(2) บีกเกอร์
(3) เครื่องชงั่
2) วธิ ีการ
(1) ชงั่ อาหารประมาณ 3 กรัม ใส่ในตะแกรงลวด
(2) นาตะแกรงลวดแช่ลงในบีกเกอร์ท่ีมีน้าให้อาหารจมในระดบั ใตผ้ วิ น้าเป็ น
เวลา 10 นาที
(3) เม่ือครบกาหนดกย็ กตะแกรงลวดข้ึนมาแขวนใหส้ ะเด็ดน้า ประมาณ 1นาที
แลว้ ชง่ั น้าหนกั
(4) จากน้นั นามาคานวณคา่ การดูดซบั น้า โดยสูตร
การดูดซบั น้า (%) = น้าหนกั อาหารแหง้ (สุดทา้ ย) – (น้าหนกั อาหารแหง้ (เร่ิมตน้ ) x 100
น้าหนกั อาหารแหง้ (เริ่มตน้ )
5.1.3 ความหนาแน่นของอาหาร (density)
1) อุปกรณ์
(1) กระบอกตวง ขนาด 500 มิลลิลิตร
2) วธิ ีการ
(1) ตวงน้า 300 มิลลิลิตร ลงในกระบอกตวง
(2) ช่ังน้าหนกั อาหารประมาณ 300-400 กรัม แล้วค่อย ๆ ใส่อาหารลงใน
กระบอกตวง จนน้ามีปริมาตรเพิ่มข้ึน 100 มิลลิลิตร
(3) นาอาหารท่ีเหลือมาชงั่ คานวณหาความหนาแน่น โดยสูตร
ความหนาแน่นของอาหาร = น้าหนกั อาหารที่ทาให้น้ามีปริมาตรเพม่ิ ข้ึน 100 มิลลิลิตร
ปริมาตรน้า (100 มิลลิลิตร)
5.1.4 ความเป็นฝ่ นุ
1) อุปกรณ์
(1) ตะแกรงร่อน ขนาด 0.5 มิลลิลิตร
(2) เครื่องชง่ั
2) วธิ ีการ
(1) ชง่ั ตวั อยา่ งอาหาร 100 กรัม ใหท้ ราบน้าหนกั ท่ีแน่นอน
210
(2) ใส่อาหารในตะแกรงร่อน แลว้ ร่อนเป็ นเวลา 15 นาที ชงั่ น้าหนกั ตวั อยา่ งท่ี
ร่อนผา่ นตะแกรงร่อน แลว้ คานวณฝ่ นุ เป็นเปอร์เซ็นตโ์ ดยการเทียบบญั ญตั ิไตรยางศ์
5.1.5 การลอยตวั ของอาหารเมด็ ลอยน้า
1) อุปกรณ์
(1) บีกเกอร์ ขนาด 600 มิลลิลิตร
2) วธิ ีการ
(1) ใส่น้าสะอาด 400 มิลลิลิตร ในบีกเกอร์
(2) นบั จานวนอาหารเมด็ อาหารปลาใส่ในบีกเกอร์ ทิ้งไว้ 30 นาที คนเป็ นคร้ัง
คราว
(3) นบั จานวนเมด็ อาหารที่จมอยกู่ น้ บีกเกอร์
(4) คานวณคา่ การลอยตวั ของอาหารปลาจากสูตร
อตั ราการลอยตวั (%) = (W1-W2) x 100
W1
W1 = จานวนเม็ดอาหารปลาเร่ิมตน้
W2 = จานวนเมด็ อาหารปลาท่ีจมลงกน้ บีกเกอร์
5.2 การวเิ คราะห์คุณสมบตั ิทางเคมี
การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ทาให้ทราบว่าอาหารน้ันมีคุณค่าทาง
โภชนาการมากน้อยเพียงใด วิธีการวิเคราะห์สามารถทาได้หลายวิธี แต่วิธีที่นิยมใช้กันใน
ห้องปฏิบัติการปัจจุบันคือ วิธีการวิเคราะห์ทางเคมี หรือนิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า วีนเดอร์
(Weende analysis) วธิ ีการน้ีคิดคน้ ที่ประเทศเยอรมนั นี โดยเฮนเนแบร์และสโตมนั น์ (Heneberg and
Stomann) แห่งเมือง Gottingen ในปี ค.ศ. 1862 และนิยมใชก้ นั มาถึงปัจจุบนั แต่การวเิ คราะห์โดยวธิ ี
น้ีเมื่อทาการวิเคราะห์หาเยื่อใยโดยเฉพาะส่วนที่เป็ นโครงสร้างของพืช เช่น เพคติน ลิกนิน และ
เฮมิเซลลูโลส บางส่วนอาจละลายออกมาในรูปของไนโตรเจนฟรีเอกเทรก (NFE) ได้ จึงทาให้ค่าท่ี
ไดใ้ นการวเิ คราะห์หาเย่ือใยไม่ถูกตอ้ งนกั หากทาการวิเคราะห์ตวั อย่างพืชที่มีเย่ือใยสูง จึงนิยมใช้
วิธีการวเิ คราะห์เยอื่ ใยแบบดีเทอร์เจนท์ (Detergent method) ซ่ึงวิธีน้ีสามารถแยกองคป์ ระกอบทาง
เยอื่ ใยในพชื ไดด้ ี วธิ ีการวเิ คราะห์สามารถสรุปไดด้ งั ภาพที่ 6.6
211
อาหาร
(อบที่ 102 องศาเซลเซียส)
ความช้ืน วตั ถุแหง้
(เผาท่ี 550 องศาเซลเซียส)
อนินทรียว์ ตั ถุ (เถา้ ) อินทรียว์ ตั ถุ
โปรตีน ไขมนั เยอื่ ใย NFE
ภาพท่ี 6.6 การวเิ คราะห์ตวั อยา่ งพืชท่ีมีเยอ่ื ใยสูง
ท่ีมา : นฤมล (2549)
การวิเคราะห์วิธีน้ีแบ่งโภชนะออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ 6 กลุ่ม (ฉัตรชยั , 2545) คือ ความช้ืน
(moisture) เถา้ (ash) โปรตีน (Crude protein หรือ CP) ไขมนั (Ether extract หรือ EE) เย่อื ใย (Crude
fiber หรือ CF) และคาร์โบไฮเดรตที่ยอ่ ยง่าย ในส่วนตวั อยา่ งที่นามาท่ีวิเคราะห์อยใู่ นสภาพสด เช่น
พืชสด พืชหมกั เน้ือ นม และมูลสัตว์ เป็ นตน้ หรือตวั อยา่ งอาหารที่มีสภาพแห้งต่างมีน้าหรือความช้ืน
เป็ นองคป์ ระกอบอยดู่ ว้ ยกนั ท้งั สิ้น ถา้ หกั ปริมาณน้าออกส่ิงที่เหลือคือวตั ถุแหง้ (Dry matter หรือ DM)
ในวตั ถุแห้งประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือส่วนท่ีเป็ นอนินทรียว์ ตั ถุจะสลายตวั ไปเหลือเถ้า ส่วนที่
เป็นอินทรียว์ ตั ถุซ่ึงประกอบดว้ ยโภชนะใหญ่ ๆ 4 กลุ่ม คือ
ก. กลุ่มที่มีไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ
กลุ่มท่ีมีไนโตรเจน (N) เป็ นองค์ประกอบ ได้แก่ โปรตีนและสารประกอบ
ไนโตรเจนอ่ืน ๆ แต่เนื่องจากในการวเิ คราะห์มิไดแ้ ยกประเภทของสารเหล่าน้ี จึงเรียกค่าท่ีวิเคราะห์
ไดร้ วม ๆ กนั วา่ โปรตีนหยาบ
ข. กลุ่มท่ีละลายในสารละลายอินทรีย์
กลุ่มท่ีละลายในสารละลายอินทรีย์ (organic solvent) เช่น ปิ โตรเลียมอีเธอร์
(petroleum ether) หรือ ไดคลอโรมีเธน (dichloromethane) เป็ นตน้ ซ่ึงประกอบดว้ ยโภชนะหลาย
ประเภท เช่น ไขมนั วิตามินที่ละลายได้ในไขมนั สารสี และฮอร์โมนบางชนิด เป็ นต้น ค่าท่ี
วเิ คราะห์ไดเ้ รียกรวม ๆ กนั วา่ สารสกดั อีเธอร์ (Ether extract หรือ EE) หรือเรียกง่าย ๆ วา่ ไขมนั
ค. กลุ่มท่ีทนต่อการยอ่ ยดว้ ยกรดและด่าง
212
กลุ่มที่ทนต่อการย่อยด้วยกรดและด่าง ซ่ึงส่วนใหญ่เป็ นพวกเยื่อใยในอาหาร
จึงเรียกคา่ ท่ีวเิ คราะห์ไดร้ วม ๆ กนั วา่ เยอ่ื ใย (Crude fiber หรือ CF)
ง. กลุ่มที่ปราศจากไนโตรเจนและยอ่ ยสลายไดง้ ่าย
กลุ่มที่ปราศจากไนโตรเจนและย่อยสลายไดง้ ่าย ซ่ึงส่วนใหญ่เป็ นคาร์โบไฮเดรต
ท่ียอ่ ยง่าย เรียกคา่ ที่วเิ คราะห์ไดน้ ้ีวา่ ไนโตรเจนฟรีเอกซ์แทรก (Nitrogen free extract หรือ NFE)
การวเิ คราะห์แบบน้ีมีความเท่ียงตรงโดยประมาณ ดงั น้ี
Crude Protein V+10%
Crude Fat V+8%
Ash V+4-5%
Crude Fiber V+10-15%
NFE V+8%
V= ค่าท่ีไดจ้ ากการวิเคราะห์
5.2.1. การวเิ คราะห์หาปริมาณความช้ืน ความช้ืนไดแ้ ก่น้าหรือสารท่ีระเหยไดท้ ้งั หมด
(total volatile matter) ท่ีสูญเสียจากอาหารเม่ือเพิ่มความร้อนให้แก่อาหาร อุณหภูมิที่ให้แก่อาหาร
ตอ้ งไม่สูงกวา่ จุดเดือดของน้าหรือให้ความช้ืนในสภาพสูญญากาศ หรืออาจปล่อยอาหารทิ้งไวใ้ น
สารดูดความช้ืน ส่วนกากหรือของแข็งที่เหลืออยู่หลงั จากน้าออกไปหมดแลว้ เรียกว่า ของแข็ง
ท้งั หมด (total solid) การวเิ คราะห์หาปริมาณความช้ืน โดยวธิ ีการใชต้ อู้ บไฟฟ้ า มีดงั น้ี
1) วสั ดุอุปกรณ์และสารเคมี
(1) ภาชนะอะลูมิเนียมสาหรับหาความช้ืน
(2) ตอู้ บลมร้อน
(3) โถดูดความช้ืน
(4) เคร่ืองชงั่ ไฟฟ้ าทศนิยม 4 ตาแหน่ง
2) วธิ ีการ
(1) อบภาชนะสาหรับหาความช้ืนในตูอ้ บไฟฟ้ าที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส
นาน 2-3 ชว่ั โมง นาออกจากตอู้ บใส่ในโถดูดความช้ืน และชงั่ น้าหนกั จดบนั ทึกผลไว้
(2) กระทาตามขอ้ 1 ซ้า จนไดผ้ ลต่างของน้าหนกั ท่ีชงั่ ท้งั สองคร้ังติดต่อกนั ไม่
เกิน 1-3 มิลลิกรัม
(3) ชงั่ ตวั อย่างให้น้าหนักแน่นอนอย่างละเอียด ประมาณ 1-2 กรัม ใส่ลงใน
ภาชนะสาหรับหาความช้ืนซ่ึงทราบน้าหนกั แลว้
(4) ทาใหต้ วั อยา่ งแหง้ โดยอบในตูอ้ บไฟฟ้ า
213
ก. ตวั อย่างอาหารแห้ง ทาให้แห้งโดยอบที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
นาน 5-6 ชวั่ โมง หรืออบท่ีอุณหภูมิ 135 องศาเซลเซียส นาน 2 ชว่ั โมง
ข. ตวั อยา่ งสด (เปี ยก) ทาให้แห้งโดยอบที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
นาน 24 ชว่ั โมง หรืออบท่ี 135 องศาเซลเซียส นาน 5 ชว่ั โมง หรือจนกวา่ น้าหนกั ของตวั อยา่ งคงท่ี
(5) นาออกจากตูอ้ บ วางใหเ้ ยน็ ในโถดูดความช้ืน และชงั่ น้าหนกั อีกคร้ัง
(6) อบซ้าอีกคร้ังละ 30 นาที และกระทาเช่นเดิมจนไดผ้ ลต่างของน้าหนกั ที่ชง่ั
ท้งั สองคร้ังติดต่อกนั ไม่เกิน 1-3 มิลลิกรัม
3) บนั ทึกผลการทดลอง
คร้ังที่ นน.ภาชนะ นน.ภาชนะ+นน. นน. นน.ภาชนะ+นน. ปริมาณความช้ืน
(กรัม) ตวั อยา่ งก่อนอบ ตวั อยา่ ง ตวั อยา่ งหลงั อบ (%โดยน้าหนกั )
(กรัม) (กรัม) (กรัม)
1
2
3
4) การคานวณผล
ความช้ืน (%) = น้าหนกั ตวั อยา่ งก่อนอบ – น้าหนกั ตวั อยา่ งหลงั อบ x 100
น้าหนกั ตวั อยา่ งก่อนอบ
หมายเหตุ: สามารถใชต้ วั อยา่ งน้ีไปวเิ คราะห์เถา้ ได้
5.2.2 การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า เถ้าคือ องค์ประกอบส่วนท่ีเป็ นสารอนินทรีย์
ในตวั อย่างมีหลกั การง่าย ๆ คือ เผาตวั อย่างท่ีอุณหภูมิสูงเพ่ือให้องคป์ ระกอบท่ีเป็ นสารอินทรียไ์ หม้
หมดไป ส่วนที่เหลือคือ สารอนินทรีย์ สาหรับองค์ประกอบของเถา้ ข้ึนอยู่กบั ชนิดของอาหารและวิธี
ในการเผา เถา้ ประกอบดว้ ยแร่ธาตุต่าง ๆ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก โซเดียม โพแทสเซียม และ
แมกนีเซียม สาหรับแคลเซียม พบมากในไข่และนม ฟอสฟอรัส พบมากในธัญพืช ถว่ั และเน้ือสัตว์
เหล็กพบมากในธญั พืช อาหารทะเล ไข่และเน้ือสัตว์ โซเดียม พบในอาหารที่มีรสเคม็ โพแทสเซียมมี
ในผกั ผลไมแ้ ละแมกนีเซียมมีใน เน้ือสัตว์ ผกั และผลไม้ เป็ นตน้ การวิเคราะห์หาปริมาณเถา้ แบ่งเป็ น
3 ประเภท ดงั น้ี
1) การออกซิไดซ์สารอินทรีย์ โดยการใช้กรดและสารออกไซด์ หรือท้งั สองอย่าง
รวมกนั แร่ธาตุจะถูกละลายโดยกรดท่ีนิยมใชไ้ ดแ้ ก่ กรดไนตริก และกรดเปอร์คลอริก และควรทาในตู้
ดูดไอกรด มกั ใชก้ บั ตวั อยา่ งอาหารที่มีปริมาณไขมนั สูง ไดแ้ ก่ เน้ือสัตว์ และผลิตภณั ฑจ์ ากเน้ือสัตว์
214
2) การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้าโดยการเผาที่อุณหภูมิต่า เพ่ือป้ องกนั การระเหย
แร่ธาตุส่วนใหญท่ ่ีมีในตวั อยา่ งเป็น dry ashing แบบหน่ึง เพือ่ การวเิ คราะห์หาแร่ธาตุที่ระเหยได้
3) การวเิ คราะห์หาปริมาณเถา้ โดยการเผาท่ีอุณหภูมิสูง เป็ นการหาปริมาณเถา้ ตวั อยา่ ง
ท่ีอุณหภูมิ 500-600 องศาเซลเซียส น้าและสารระเหยต่าง ๆ ในตัวอย่างจะระเหยกลายเป็ นไอ
สารอินทรียจ์ ะถูกเผาไหมใ้ นสภาพที่มีก๊าซออกซิเจนกลายเป็ นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซ
ไนโตรเจน แร่ธาตุส่วนใหญ่จะถูกเปล่ียนไปเป็ นออกไซด์ ไดแ้ ก่ ซลั เฟอร์ ฟอสเฟตคลอไรด์ และซิลิเกต
แร่ธาตุอื่น ๆ เช่น เหล็ก ซีลีเนียม ดีบุก และปรอท จะระเหยในข้นั ตอนน้ี ดงั น้นั ถา้ ตอ้ งการวิเคราะห์หา
แร่ธาตุที่ระเหยได้ จึงไมค่ วรใชว้ ธิ ีการน้ี
(1) วสั ดุอุปกรณ์และสารเคมี
ก. เตาเผา
ข. ถว้ ยกระเบ้ืองเคลือบ
ค. โถดูดความช้ืน
ง. เคร่ืองชงั่ ไฟฟ้ าทศนิยม 4 ตาแหน่ง
จ. เตาอบไฟฟ้ า
ฉ. กรดกามะถนั 0.05 M. หรือ กรดเกลือ 0.1 M.
ช. เมธิล ออเรนจ์
ซ. กรดเกลือเขม้ ขน้
(2) วธิ ีการ
ก. บนั ทึกลกั ษณะตวั อยา่ งอาหาร
ข. เตรียมตวั อยา่ งอาหาร
- วตั ถุพวกพชื ควรทาใหแ้ หง้ ก่อนนาไปบด ท้งั น้ีตอ้ งคานึงถึงอุณหภูมิ
ท่ีใช้ทาให้แห้งด้วย โดยเฉพาะถา้ หากตอ้ งนาตวั อย่างน้ีไปวิเคราะห์หาค่าต่าง ๆ อีกหลายค่า เช่น
โปรตีน เส้นใย เป็ นตน้ แต่ถา้ หากพืชที่มีปริมาณความช้ืนนอ้ ยกวา่ 15 เปอร์เซ็นต์ ก็สามารถนาไป
เผาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งผา่ นการทาแหง้
- ผลิตภณั ฑท์ ี่มีไขมนั และน้ามนั เป็ นองคป์ ระกอบ ผลิตภณั ฑ์เน้ือสัตว์
น้าเชื่อม และเครื่องเทศน้นั ควรนาไปทาใหแ้ หง้ บนหมอ้ ตม้ น้าแบบปรับอุณหภูมิไดห้ รืออบแห้งดว้ ย
หลอดอินฟราเรดก่อนที่จะนาไปเขา้ เตาเผา เพ่ือป้ องกนั การกระเด็นหรือเกิดฟองข้ึน เพราะอาจทาให้
สูญเสียตวั อยา่ งบางส่วนไป นอกจากน้ีอาจจาเป็ นตอ้ งหยดน้ามนั มะกอก 1-2 หยด ลงบนตวั อยา่ ง
นาไปทาใหแ้ หง้ บน water bath เพอ่ื ป้ องกนั มิใหผ้ วิ ของตวั อยา่ งเกิดการไหมแ้ ขง็
215
ค. เตรียมภาชนะสาหรับใส่ตวั อยา่ งอาหาร โดยเผาถว้ ยกระเบ้ืองเคลือบที่
อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 1 ชว่ั โมง พกั ไวใ้ ห้เยน็ ลงประมาณ 30 นาที ก่อนนาออกจาก
เตาเผาหลงั จากน้นั จึงนาออกจากเตาเผา วางใหเ้ ยน็ ในโถดูดความช้ืน (ควรเผาจนกระทง่ั น้าหนกั ของ
ภาชนะคงท่ี) และชง่ั น้าหนกั ภาชนะที่แน่นนอนทนั ทีที่เยน็ บนั ทึกผลไว้
ง. ชง่ั ตวั อย่างให้ไดน้ ้าหนักที่แน่นอนอย่างละเอียด ประมาณ 3-5 กรัม
(ควรใชต้ วั อยา่ งที่หาความช้ืนแลว้ สามารถนามาหาเถา้ ตอ่ ได)้
จ. นาตวั อยา่ งไปเผาในตูค้ วนั จนหมดควนั โดยใชต้ ะเกียงบุนเสนหรือเตา
ไฟฟ้ า แลว้ จึงนาเขา้ เตาเผา ต้งั อุณหภูมิเตาเผาไวท้ ี่ 550 องศาเซลเซียส เผาจนกวา่ ตวั อยา่ งจะเป็ นสีเทา
(เป็นเวลาประมาณ 1-2 ชว่ั โมง)
ฉ. นามาวางให้เยน็ ในโถดูดความช้ืน และทาการชง่ั น้าหนกั เถา้ ท่ีเหลือ
หมายเหตุ : ในกรณีท่ีมีเถา้ บางส่วนเป็ นสีดาปนอยใู่ ห้หยดน้าหรือกรดไนตริก ลงไปหลาย ๆ หยด
แลว้ นาไปเผาต่อดงั ข้นั ตอนต่อไปน้ี คือ ละลายเถา้ ในน้า กรองดว้ ยกระดาษกรอง นาส่วนท่ีกรองได้
ไปทาใหแ้ หง้ เม่ือแหง้ แลว้ ใหท้ าการเผาซ้าอีกคร้ัง
(3) ขอ้ ควรปฏิบตั ิ
ก. ตวั อยา่ งท่ีมีไขมนั สูงควรทาการสกดั ไขมนั ออกก่อน โดยวิเคราะห์หา
ปริมาณไขมนั หรือเผาก่อนนาเขา้ เตาอบ ตวั อยา่ งเช่น เน้ือหมูแทรกไขมนั ถา้ หากเปิ ดประตูเตาเผาไว้
อาจเกิดการลุกไหมไ้ ดใ้ นเตาเผาท่ีมีก๊าซออกซิเจน
ข. กลีเซอรีน แอลกอฮอล์ และไฮโดรเจน จะเป็ นตวั เร่งการเผาเถา้
ค. ตวั อยา่ งประเภทเจลลี่อาจเกิดการกระเดน็ ควรผสมรวมเขา้ กบั สาลี
ง. อาหารที่มีเกลืออยสู่ ูงควรแยกเผากบั ตวั อยา่ งท่ีไม่ละลายน้า หรือปิ ดฝา
เพอ่ื ป้ องกนั การกระเดน็
จ. อาจเติมสารละลายแอลกอฮอล์ของแมกนีเซียมอะซิเตดลงไปใน
ตวั อยา่ งพวกธญั พืช เพื่อเร่งการเผาเถา้ ใหเ้ ร็วข้ึน และควรทา Blank ควบคู่ไปดว้ ย
(4) บนั ทึกผลการทดลอง
ที่ นน.ภาชนะ นน.ภาชนะ+นน. นน.ตวั อยา่ ง นน.ภาชนะ+นน. ปริมาณเถา้
ตวั อยา่ งก่อนเผา หลงั เผา ตวั อยา่ งหลงั เผา (%โดยน้าหนกั )
1
2
3
216
(5) การคานวณ
การหาปริมาณเถา้ ท้งั หมด (น้าหนกั เปี ยก) (%) = น้าหนกั ตวั อยา่ งหลงั เผา x 100
น้าหนกั ตวั อยา่ งก่อนเผา
5.2.3 การวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีน โปรตีนเป็ นสารประกอบอินทรียช์ นิดหน่ึงท่ีมี
ไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ การวเิ คราะห์หาปริมาณโปรตีนในอาหาร จึงทาไดโ้ ดยวิธีการวิเคราะห์
หาปริมาณไนโตรเจน ส่วนการเลือกใชว้ ิธีใดก็ข้ึนอยกู่ บั ชนิดอาหาร และเครื่องมือท่ีมี เช่น ปริมาณ
โปรตีนในน้านมววั จะวเิ คราะห์โดยการทาฟอร์มลั ไตเตรตชน่ั ถา้ ตวั อยา่ งเป็ นแป้ ง จะใชว้ ิธีการยอ่ ย
และการกลน่ั ดว้ ยวธิ ีเจลดาลห์
วธิ ีเจลดาลห์เป็นการวเิ คราะห์หาปริมาณไนโตรเจนท้งั หมดในรูปสารประกอบอินทรีย์
ซ่ึงมีท้งั โปรตีนและสารประกอบอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่โปรตีน แต่มีไนโตรเจนรวมอยดู่ ว้ ย โดยมีหลกั การ
คือ นาตวั อยา่ งไปยอ่ ยดว้ ยกรดซลั ฟรู ิกเขม้ ขน้ ในสภาพที่มีความร้อนและมีตวั เร่งปฏิกิริยาจนกระทงั่
ไดส้ ่วนของอินทรียวตั ถุสลายตวั ไป (สารละลายมีสีใส) สารประกอบไนโตรเจนท้งั ท่ีเป็ นส่วนของ
โปรตีนแท้ และไม่ใช่โปรตีน ยกเวน้ ท่ีอยใู่ นรูปของไนโตรเจน และไนไตรท์ จะถูกเปล่ียนไปเป็ น
แอมโมเนียมซลั เฟต หลงั จากทิ้งไวใ้ ห้เยน็ แลว้ เติมสารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ เขม้ ขน้ 32
เปอร์เซ็นต์ แลว้ ทาการกลน่ั แอมโมเนียจะจบั ไนโตรเจนใหอ้ ยูใ่ นรูปของแอมโมเนีย-ไฮดรอกไซด์
แลว้ นาไปไตเตรทกบั กรดเกลือมาตรฐานท่ีมีความเขม้ ขน้ 0.1 นอร์มอล จะสามารถคานวณหาความ
เขม้ ขน้ ของไนโตรเจนไดส้ มการแสดงข้นั ตอนการปฏิกิริยา ดงั น้ี
ข้นั ตอนการยอ่ ย (โปรตีน, NPN) + H2So4(conc.) (NH4)2SO4 + CO2 + H2O
ข้นั ตอนการกลนั่ (NH4)2SO4 + 2HaOH 2NH3 + Na2SO4 + 2H2O
NH4H2BO3
NH3 + H3BO3 ((boration) สีเขียว)
((boric acid) สีชมพมู ่วง)
2NH4H2BO3 + H2SO4 (NH4)2SO4 + 2H3BO3
(สีเขียว) (สีชมพมู ่วง)
การคานวณ
สูตร % N2 = (V1-V2) x (14.007) x (N) x 100
E mg
V1 = ปริมาตรกรดท่ีใชใ้ นการไตเตรท
V2 = ปริมาตรท่ีใชใ้ นกรดไตเตรท Blank
N = Normality ของกรด
E = น้าหนกั ของสารตวั อยา่ งหน่วยเป็นมิลลิกรัม
217
เนื่องจากโปรตีนมีไนโตรเจนเป็ นองคป์ ระกอบ การหาปริมาณโปรตีนในอาหารจึงหา
ปริมาณไนโตรเจนท้ังหมดท่ีเป็ นองค์ประกอบในอาหาร โปรตีนโดยทั่วไปมีไนโตรเจน 16
เปอร์เซ็นต์ ดงั น้นั ปริมาณของโปรตีนจะเท่ากบั ปริมาณของไนโตรเจนท้งั หมดคูณดว้ ย 6.25 (6.25
เท่ากบั 100/16) ปริมาณโปรตีนที่หาไดน้ ้ีเรียกวา่ “โปรตีนอยา่ งหยาบ” ดงั น้นั การหาปริมาณโปรตีน
อยา่ งหยาบจากไนโตรเจนจึงคานวณโดยใชแ้ ฟคเตอร์คูณปริมาณของไนโตรเจนท้งั หมด แฟคเตอร์
น้ีข้ึนอยกู่ บั ชนิดของอาหาร
สูตรการคานวณ Crude protein (CP)
% CP = %N
0.16
% CP = %N x 6.25
วิธีวิเคราะห์ Crude protein เรียกว่าวิธีของเจลดาลห์ค่า CP ที่ไดน้ ้ีรวมท้งั ส่วนของ
โปรตีนแท้ และสารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน ไดแ้ ก่ เอไมด์ เกลือแอมโมเนียม และยูเรีย
ดว้ ยยกเวน้ ไนเตรท์ และไนไตรท เพราะไนโตรเจนจาก 2 แหล่งน้ีไม่ไดเ้ ปล่ียนเป็ นแอมโมเนียมซลั เฟต
ดงั ไดก้ ล่าวขา้ งตน้
1) เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์
(1) เครื่องยอ่ ยสาร
(2) เคร่ืองกาจดั ไอกรด
(3) เคร่ืองกลน่ั สาร
(4) บิเรต หรือ digital buret
(5) เครื่องชง่ั ไฟฟ้ าละเอียด 4 ตาแหน่ง
(6) เคร่ือง cooling
2) สารเคมี
(1) sulfuric acid conc
(2) sodium hydroxide 32%
(3) catalyst ไดแ้ ก่ selenium mixture หรือ CuSO4 + K2SO4
(4) boric acid 2%
(5) mixing indicator acc to sher
3) วธิ ีการ
(1) บนั ทึกลกั ษณะตวั อยา่ งอาหาร
(2) เตรียมตวั อยา่ งอาหารควรบดใหล้ ะเอียดและมีความเป็นเน้ือเดียวกนั
218
(3) การชง่ั สารตวั อยา่ ง (ทา blank ดว้ ย)
ก. ถา้ เป็นของแขง็ ใหช้ ง่ั ดว้ ยความละเอียด 0.1 มิลลิลิตร โดย
- ถา้ เปอร์เซ็นตไ์ นโตรเจนมากกวา่ 5 เปอร์เซ็นต์ ชง่ั ประมาณ 0.5 กรัม
- ถา้ เปอร์เซ็นตไ์ นโตรเจนนอ้ ยกวา่ 5 เปอร์เซ็นต์ ชงั่ ประมาณ 1.0 กรัม
ข. ถา้ เป็นของเหลวตวงดว้ ยปิ เปต 10 มิลลิลิตร (สูงสุดไม่เกิน 50 มิลลิลิตร)
(4) การเติมสารเคมีหลงั จากชงั่ ตวั อยา่ งใส่หลอดยอ่ ยสารแลว้ เติม Catalyst
ก. selenium mixture 5 กรัม หรือ K2SO4 + CuSO4 (95%/5%) 7 กรัม
ข. เติมกรด Sulfuric เขม้ ขน้ 15-20 มิลลิลิตร
(5) วางหลอดย่อยในเตาย่อยแล้วประกอบสายยางระหว่างฝาครอบขวดใส่
สารละลายด่างและเคร่ืองดกั จบั ไอกรดใหเ้ รียบร้อย
(6) เปิ ดสวิทซ์เคร่ืองดกั จบั ไอกรดและเตายอ่ ย ทาการ preheat โดยการปรับ
ความร้อนไปที่ตาแหน่ง 10 เป็นเวลา 10 นาที แลว้ ปรับความร้อนมาที่ตาแหน่ง 8 ยอ่ ยต่ออีก 60 นาที
จนไดส้ ารละลายใส (ข้ึนอยกู่ บั ชนิดของสารตวั อยา่ ง)
(7) หลงั จากยอ่ ยเสร็จ นาหลอดยอ่ ยสารออกจากเครื่อง รอจนไดส้ ารละลายใน
หลอดมีอุณหภูมิลดลง จนกระทง่ั สารละลายในหลอดอุ่น ๆ
(8) เติมน้ากลนั่ ใหไ้ ดป้ ริมาตร 100 มิลลิลิตร และใชน้ ้ากลนั่ ลา้ งหลอดยอ่ ยให้
หมดสารละลายตวั อยา่ ง แลว้ ปรับปริมาตรใหไ้ ด้ 100 มิลลิลิตร ดว้ ยน้ากลนั่ เกบ็ ไวก้ ลน่ั คร้ังต่อไป
(9) ข้นั ตอนการกลน่ั และไตเตรท จดั อุปกรณ์กลนั่ แลว้ เปิ ดสวิทซ์ใหค้ วามร้อน
พร้อมท้งั เปิ ดน้าหล่อเยน็ เครื่องควบแน่น
(10) นาขวดรูปชมพู่ ขนาดบรรจุ 125 มิลลิลิตร ซ่ึงบรรจุกรดบอริก (เขม้ ขน้ 2
เปอร์เซ็นต์) ปริมาณ 80 มิลลิลิตร ที่เติมอินดิเคเตอร์เรียบร้อยแล้ว ไปรองรับของเหลวที่กลน่ั ได้
โดยใหส้ ่วนปลายของอุปกรณ์ควบแน่นจุม่ ลงในสารละลายกรดน้ี
(11) ดูดสารละลายตัวอย่าง 10 มิลลิลิตร ใส่ในหลอดย่อยตัวอย่าง เติม
โซเดียมไฮดรอกไซด์ 80 มิลลิลิตร และเติมน้ากลน่ั 60 มิลลิลิตร
(12) กลน่ั ประมาณ 3 นาที ลา้ งอุปกรณ์ควบแน่นดว้ ยน้ากลนั่ ลงในขวดท่ีรองรับ
(13) ไตเตรทสารละลายท่ีกลนั่ ได้ ดว้ ยกรดเกลือท่ีมีความเขม้ ขน้ 0.1 นอร์มอล
จนสารละลายเปลี่ยนเป็นสีชมพอู มส้ม
4) การคานวณผล
สูตร % N = (V1-V2) x (14.007) x (N) x 100
E mg
219
V1 = ปริมาตรกรดท่ีใชใ้ นการไตเตรท
V2 = ปริมาตรท่ีใชใ้ นกรดไตเตรท blank
N = normality ของกรด
E = น้าหนกั ของสารตวั อยา่ ง หน่วยเป็นมิลลิกรัม
% Crude protein = %N x 6.25
5) บนั ทึกผลการทดลอง
ท่ี E V1 V2 ปริมาณโปรตีน หมายเหตุ
(กรัม) (มิลลิลิตร) (มิลลิลิตร) (%โดยน้าหนกั )
1 N=
2
3
5.2.4 การวเิ คราะห์หาปริมาณไขมนั (Crude Fat) การวเิ คราะห์หาไขมนั โดยวิธีตรง เป็ น
วิธีการสกดั โดยตรงดว้ ยตวั ทาละลายอินทรียต์ ่าง ๆ โดยทว่ั ไปส่วนประกอบท่ีเป็ นไขมนั ในอาหาร
จะเป็ นสารประกอบจาพวกลิปิ ดซ่ึงสกดั ออกไดด้ ว้ ยอีเธอร์ ท้งั ปิ โตรเลียมอีเธอร์และไดเอธิลอีเธอร์
จดั เป็นสารละลายท่ีไม่มีข้วั สารที่สกดั ไดจ้ ากอีเธอร์ เป็ นลิปิ ดอิสระที่พบในอาหารน้นั แต่ถา้ ทาการ
สกดั ดว้ ยแอลกอฮอล์ ส่วนที่สกดั ไดจ้ ะมีส่วนประกอบอ่ืนติดอยกู่ บั ไขมนั ปนอยดู่ ว้ ย
ดงั น้นั สารละลายที่ใชใ้ นการสกดั ไขมนั ควรมีความสามารถสูงในการละลายไขมนั และมี
ความสามารถต่าในการละลายสารพวกโปรตีน กรดอะมิโน คาร์โบไฮเดรต นอกจากน้ีแลว้ ควรเป็ น
สารละลายท่ีระเหยได้ง่ายและไม่มีสารตกค้าง มีจุดเดือดต่า ไม่มีควนั และไม่เป็ นพิษท้งั ในรูป
ของเหลวและไอระเหย สารละลายน้ีควรมีความสามารถท่ีจะทะลุอนุภาคของตัวอย่างมี
องค์ประกอบเดียว เพื่อหลีกเล่ียงการแตกตวั มีราคาไม่แพงและไม่ดูดความช้ืน อย่างไรก็ตาม
สารละลายท่ีมีคุณสมบตั ิครบถว้ นดงั ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ น้นั คอ่ นขา้ งหายาก สารละลายที่เป็ นท่ีนิยมใช้
ในการสกดั ไขมนั ไดแ้ ก่ เอธิลอีเธอร์ และปิ โตรเลียมอีเธอร์ ขณะที่การสกดั น้ามนั จากถวั่ เหลืองจะใช้
สารละลายเพนเทนและเฮกเซน นอกจากน้ี ยงั มีสารเอธิลอีเธอร์ ที่นิยมใชใ้ นการสกดั ไขมนั เช่นกนั
เน่ืองจากมีจุดเดือดต่า เพียง 34.6 องศาเซลเซียส ติดไฟง่าย และให้ผลได้ดีกว่าการใชป้ ิ โตรเลียม
อีเธอร์ แตม่ ีราคาที่ค่อนขา้ งแพง จึงไมค่ ่อยนิยมใช้ วธิ ีการวเิ คราะห์ปริมาณไขมนั มีดงั น้ี
1) เคร่ืองมือและอุปกรณ์
(1) อุปกรณ์ชุดสกดั ไขมนั
(2) หลอดใส่ตวั อยา่ ง
220
(3) ตอู้ บไฟฟ้ า
(4) เคร่ืองชง่ั ละเอียด ทศนิยม 4 ตาแหน่ง
(5) โถดูดความช้ืน
(6) กระบอกตวงสาร ขนาด 100 มิลลิลิตร
2) สารเคมี สารเคมีท่ีใชค้ ือปิ โตรเลียมอีเธอร์
วธิ ีการหาปริมาณไขมนั โดยใชเ้ คร่ืองสกดั ไขมนั รุ่น B-811 แบบ Soxhlet Standard
มีข้นั ตอนการทางานของเคร่ือง 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ข้นั ตอน 1 extraction คือ ข้นั ตอนการสกดั
ข้นั ตอน 2 rinsing คือ ข้นั ตอนการชะลา้ ง ซ่ึงเป็นการชะลา้ งไขมนั ลงเกบ็ ไวใ้ น
บีกเกอร์
ข้นั ตอน 3 drying คือ ข้นั ตอนการทาแหง้ โดยจะไล่ solvent ข้ึนไปเก็บไวใ้ น
sample tube จะเหลือแตไ่ ขมนั ในบีกเกอร์
3) วธิ ีการ
(1) อบแหง้ บีกเกอร์สาหรับรองรับไขมนั ที่จะสกดั แลว้ ชง่ั น้าหนกั บนั ทึกไว้
(2) บดตวั อยา่ งอาหารใหล้ ะเอียดแลว้ ชง่ั สารตวั อยา่ ง โดยใชป้ ริมาณ ดงั น้ี
fat content sample weight
0-15 % 10-20 กรัม
15-40 % 5-10 กรัม
10-100 % 2-5 กรัม
(3) ห่อสารตวั อยา่ งดว้ ยกระดาษกรอง แลว้ ใส่ลงใน Extraction thimble แลว้
นาเขา้ ประกอบในเครื่อง จากน้นั กด thimble ใหล้ งอยตู่ าแหน่งที่พร้อมจะสกดั
(4) เติมปิ โตรเลียมอีเธอร์ลงในบีกเกอร์ ๆ ละ 120-140 มิลลิลิตร แลว้ นาเขา้ ไป
ประกอบในเครื่องและยก heating element (เตาล่าง) ข้ึน
(5) เซ็ตเครื่อง โดยมีโปรแกรม ดงั น้ี
ก. กด select แลว้ กด หรือ เพื่อเล่ือนหา method ท่ีตอ้ งการในท่ีน้ี
ใช้ soxhlet standard
ข. ต่อไปกด ตวั เลขในช่อง step จะกระพริบให้กด หรือ เป็ น
Step 1
221
ค. ต่อไปกด ตวั เลขในช่อง heating จะกระพริบใหก้ ด หรือ เพ่ือ
ต้งั ระดบั ความร้อนของ heating element (เตาล่าง) ในที่น้ีใหเ้ อนไปที่เลข 9 (180 องศาเซลเซียส ซ่ึง 1
ระดบั = 20 องศาเซลเซียส)
ง. ต่อไปกด ตวั เลขในช่อง cycle จะกระพริบใหก้ ด หรือ เพื่อ
ต้งั cycle (จานวนรอบในการสกดั ) ในที่น้ีใหต้ วั เลข 20
จ. ต่อไปกด ตวั เลขในช่อง H:M จะกระพริบใหก้ ด หรือ เพื่อต้งั
เวลาในการสกดั ในที่น้ีใหต้ ้งั เวลา 2 ชวั่ โมง (02:00)
ฉ. ต่อไปกด ตวั เลขในช่อง step 2 (rinsing step) ใหต้ ้งั heating โดย
กด หรือ เพื่อต้งั ระดบั ความร้อนของ heating element (เตาล่าง) ในที่น้ีใหเ้ ล่ือนไปที่เลข 9
(180 องศาเซลเซียส)
ช. ตอ่ ไปกด ตวั เลขในช่อง H:M จะกระพริบใหก้ ด หรือ เพื่อต้งั
เวลาในการสกดั ในที่น้ีใหต้ ้งั เวลา 5 นาที (00:05)
ซ. ต่อไปกด ตวั เลขในช่อง step 3 (drying step) ใหก้ ด หรือ
เพื่อต้งั เวลาในการ drying ในท่ีน้ีใหต้ ้งั เวลา 10 นาที (00:10)
ฌ. เม่ือต้งั โปรแกรมเสร็จเรียบร้อยให้กด select แลว้ กด start เครื่องจะ
ทางานอตั โนมตั ิ จนหมดเวลา เครื่องจะหยดุ ทางาน
ญ. จากน้ันนาปิ โตรเลียมอีเธอร์ออกจากเครื่อง โดยกด stop แล้วกด
solvent เพ่อื เกบ็ ปิ โตรเลียมอีเธอร์มาใชใ้ นคราวต่อไป
ฏ. นาบีกเกอร์ที่มีไขมัน ไปอบท่ีอุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส นาน
ประมาณ 2-3 ชวั่ โมง แลว้ ปล่อยใหเ้ ยน็ ในโถดูดความช้ืน
ฎ. นาบีกเกอร์ดงั กล่าวมาชง่ั น้าหนกั แลว้ คานวณหาคา่ เปอร์เซ็นตไ์ ขมนั
เปอร์เซ็นตไ์ ขมนั = (B-A) x 100
C
A = น้าหนกั บีกเกอร์ก่อนทาการสกดั
B = น้าหนกั บีกเกอร์หลงั ทาการสกดั
C = น้าหนกั ตวั อยา่ ง
หมายเหตุ: ควรเปิ ด cooling ทิ้งไวก้ ่อนจนไดอ้ ุณหภูมิท่ีต้งั ไว้ 10-15 องศาเซลเซียส
222
4) บนั ทึกผลการทดลอง
ที่ น้าหนกั บีกเกอร์ น้าหนกั น้าหนกั บีกเกอร์ ปริมาณไขมนั
หลงั การสกดั (%โดยน้าหนกั )
ก่อนการสกดั ตวั อยา่ ง
1
2
3
หมายเหตุ : ตวั อยา่ งท่ีสกดั ไขมนั แลว้ สามารถเก็บไวว้ เิ คราะห์หาปริมาณเยอ่ื ใยได้
5.2.5 การวเิ คราะห์หาปริมาณเยอ่ื ใย (Crude Fiber, CF)
เย่อื ใย คือส่วนของคาร์โบไฮเดรตที่ยอ่ ยไดย้ าก ซ่ึงมกั เป็ นส่วนประกอบของผนงั เซลล์
พืช เช่น เซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส สาหรับข้นั ตอนและวธิ ีการหาปริมาณเยอ่ื ใย มีดงั น้ี
1) เครื่องมือและอุปกรณ์
(1) เคร่ืองสกดั เยอ่ื ใย
(2) เตาใหค้ วามร้อนแบบสองหวั
(3) เครื่องชงั่
(4) เตาเผา
(5) ตอู้ บไฟฟ้ า
(6) โถดูดความช้ืน
(7) glass crucible
2) สารเคมี
(1) กรดซลั ฟูริก เขม้ ขน้ 1.25 เปอร์เซ็นต์
(2) ด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ เขม้ ขน้ 1.25 เปอร์เซ็นต์
(3) N-Octanol
(4) อะซีโตน
3) วธิ ีการ
(1) บดตวั อย่างให้ละเอียด ให้ไดข้ นาดประมาณ 1 มิลลิเมตร จากน้นั อบให้
แห้งที่อุณหภูมิประมาณ 105-110 องศาเซลเซียส นาน 2-3 ชัว่ โมง (ถ้าตวั อยา่ งมีไขมนั เกิน 5-10
เปอร์เซ็นต์ ควรทาการสกดั ไขมนั ออกก่อน)
(2) นา glass crucible เผาที่อุณหภมู ิ 550 องศาเซลเซียส นาน 1 ชว่ั โมง ทาใหเ้ ยน็ ใน
โถดูดความช้ืน แลว้ ชง่ั น้าหนกั บนั ทึกผลไว้ชง่ั สารตวั อยา่ งประมาณ 1 กรัม แลว้ ใส่ลงใน glass crucible
223
(3) นา glass crucible ประกอบเขา้ กบั เคร่ืองสกดั เยอื่ ใย เปิ ดเคร่ืองสกดั พร้อม
เปิ ดน้าหล่อเยน็
(4) เติมกรดซลั ฟูริกร้อน หลอดละ 150 มิลลิลิตร จากน้นั เติม N-Octanol เพื่อ
ป้ องกนั การเกิดฟอง 3 หยด แลว้ ตม้ นานประมาณ 30 นาที
(5) เปิ ดสวิทซ์ เครื่องดูดสุญญากาศ และเปิ ดวาล์ว เพื่อถ่ายกรดออกจาก
ตวั อยา่ ง ลา้ งดว้ ยน้าร้อน 3 คร้ัง ๆ 30 มิลลิลิตร แลว้ ถ่ายออก
(6) เติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ หลอดละ 150 มิลลิลิตร จากน้นั เติม N-Octanol
เพ่อื ป้ องกนั การเกิดฟอง 3 หยด แลว้ ตม้ นานประมาณ 30 นาที
(7) ถ่ายออกลา้ งดว้ ยน้าร้อน 3 คร้ัง ๆ ละ 30 มิลลิลิตร แลว้ ลา้ งดว้ ยน้าเยน็ 1 คร้ัง
(8) ลา้ งดว้ ยอะซีโตน 3 คร้ัง ๆ ละ 25 มิลลิลิตร
(9) นา glass crucible ไปอบท่ี 105 องศาเซลเซียส นาน 1-2 ชวั่ โมง แลว้ ปล่อย
ใหเ้ ยน็ ในโถดูดความช้ืน ชงั่ น้าหนกั นาไปคานวณกบั คา่ น้าหนกั เร่ิมตน้ จะไดเ้ ยอื่ ใยท่ีมีเถา้ รวมอยดู่ ว้ ย
(10) ถา้ ตอ้ งการทราบน้าหนกั เถา้ ให้นาไปเผาในเตาเผา ท่ีอุณหภูมิ 500-550
องศาเซลเซียส นาน 3 ชวั่ โมง ปล่อยใหเ้ ยน็ ในโถดูดความช้ืน
(11) นามาชงั่ น้าหนกั เผาซ้าอีกคร้ัง ๆ ละประมาณ 30 นาที จนไดผ้ ลต่างของ
น้าหนกั ท้งั สองคร้ังไมเ่ กิน 1-3 มิลลิกรัม
4) การคานวณผล
% Crude Fiber = F1-F2 x 100
F3
F1 = น้าหนกั Glass crucible + น้าหนกั ตวั อยา่ งก่อนการสกดั
F2 = น้าหนกั Glass crucible + น้าหนกั ตวั อยา่ งหลงั การสกดั
F3 = น้าหนกั สารตวั อยา่ ง
ปริมาณเยอ่ื ใยในตวั อยา่ งอาหาร = น้าหนกั แหง้ ของกาก+น้าหนกั เถา้
5) บนั ทึกผลการทดลอง
ที่ น้าหนกั น้าหนกั ถว้ ย+ น้าหนกั ถว้ ย+ น้าหนกั ถว้ ย+ น้าหนกั เถา้
ตวั อยา่ ง น้าหนกั ตวั อยา่ ง น้าหนกั ตวั อยา่ ง น้าหนกั ตวั อยา่ ง
ก่อนการสกดั หลงั การสกดั หลงั การเผา
1
2
3
224
5.2.6. ไนโตรเจนฟรีเอกซ์แทรก หรือคาร์โบไฮเดรต
ไนโตรเจนฟรีเอกซ์แทรก เป็ นคาร์โบไฮเดรตที่ยอ่ ยง่าย ซ่ึงไดแ้ ก่ แป้ งและน้าตาล
แต่อาจมีส่วนของเฮมิเซลลูโลสและลิกนินปนอยบู่ า้ ง ค่าของไนโตรเจนฟรีเอกซ์แทรก เป็ นค่าท่ีได้
จากการคานวณโดยการนาค่าท้งั หมดมาหกั ออกจากของวตั ถุแหง้ ดงั สูตรต่อไปน้ี
NFE (%) = 100 - ความช้ืน (%) - โปรตีน (%) - ไขมนั (%) - เยอ่ื ใย (%) - เถา้ (%)
6. การเพม่ิ คุณค่าอาหารสัตว์นา้
ในการผลิตอาหารสัตว์น้าให้ได้คุณภาพดี นอกจากสูตรอาหาร การผสมอาหารและ
กระบวนการผลิตอื่น ๆ ที่ดีแลว้ การเพิ่มคุณคา่ ของอาหารใหส้ ูงมากยิง่ ข้ึน มีความสาคญั ต่อการเล้ียง
สตั วน์ ้าดว้ ยเช่นกนั การเพ่ิมคุณค่าของอาหาร มีดงั น้ี
6.1 สารเพ่มิ สี (pigments)
เม็ดสีอาจพบในเน้ือปลาบางชนิด เน้ือกุง้ น้ามนั ปลาและส่วนประกอบในพืชหลายชนิด เช่น
สาหร่าย ไดแ้ ก่ สาหร่ายสีน้าตาล (brown algae) สาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว (blue-green algae) สาหร่าย
สไปรูลินา (spirulina) เมลด็ พืช ใบพชื หรือดอกไม้ กุง้ ที่เล้ียงดว้ ยอาหารสาเร็จรูปแบบเมด็ อาจมีสารเพ่ิม
สีไม่เพียงพอ ทาใหก้ ุง้ ท่ีเล้ียงเปล่ียนสีเป็ นสีฟ้ า เนื่องจากกรรมวธิ ีในการผลิตอาหารอาจใชค้ วามร้อนสูง
ทาใหส้ ารเพิ่มสีที่มีในธรรมชาติ เช่น คาโรทินอยดเ์ กิดการสลายตวั ได้ ดงั น้นั จึงควรมีการเสริมสารเพ่ิมสี
ลงในอาหารกุง้ ดว้ ย โดยสารที่ใชไ้ ดผ้ ลคือ แอสตาแซนทิน (astaxanthin) ซ่ึงในเปลือกกุง้ มีสารแอสตา
แซนทินอยสู่ ูง เม่ือใชส้ ารน้ีผสมในอาหาร 50 ส่วนในลา้ น แลว้ ใหก้ ุง้ กินระยะหน่ึงเดือน ทาใหก้ ุง้ เปล่ียน
จากสีฟ้ ามาเป็นปกติ (Menasvetta, 1990)
6.2 สารดึงดูดใหก้ งุ้ กินอาหาร (attractants)
สารดึงดูดเป็ นวตั ถุดิบท่ีใชเ้ ป็ นส่วนประกอบของอาหารโดยไดจ้ ากธรรมชาติ เช่น ปลาป่ น
และหมึก เนื่องจากในหมึกมีสารท่ีสามารถเร่งให้มีการเจริญเติบโต นอกจากน้ีหมึกป่ นยงั อุดมไป
ดว้ ยกรดไขมนั ท่ีไม่อ่ิมตวั โคเลสเตอรอล (cholesterol) ฟอสโฟไลปิ ด (phospholipid) และโปรตีน
โดยการผลิตอาหารกุง้ จะใส่หมึกป่ นอย่างนอ้ ย 5 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงจะมีสารดึงดูดใหก้ ุง้ กินอาหารอยู่
แลว้ ตามธรรมชาติ แต่สารดึงดูดตามธรรมชาติอาจมีไม่เพียงพอ หากมีการลดปริมาณการใชว้ ตั ถุดิบ
เหล่าน้ีลง การแกไ้ ขปัญหาอาจทาไดโ้ ดยการเติมสารดึงดูดบางชนิดลงไป
6.3 สารเร่งการเจริญเติบโต
การเพาะเล้ียงสัตว์น้าแนวใหม่ เพ่ือเร่งการเจริญเติบโตของสัตว์น้าให้ได้ผลตามความ
ตอ้ งการของเกษตรกร แต่ตอ้ งเป็ นสารท่ีไม่ส่งผลกระทบต่อผูบ้ ริโภค จึงได้มีการนาสารเร่งการ
เจริญเติบโตที่มีอยใู่ นธรรมชาติ เช่น ชาเขียวหรือสาหร่ายสไปรูลินามาใชใ้ นการเพาะเล้ียงสตั วน์ ้า
225
ในปัจจุบนั มีมาตรการต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความปลอดภยั ต่อผูบ้ ริโภค และความยง่ั ยืนของ
สภาพแวดลอ้ มที่ดี การผลิตอาหารจึงมีระบบการผลิตท่ีมีตามมาตรฐาน GAP (Good Agricultural
Practice) หลกั การ คือ อาหารตอ้ งทาจากวตั ถุดิบคุณภาพดี มีสารอาหารครบถว้ นเพียงพอเหมาะสม
กบั ชนิดของสัตว์น้า มีกระบวนการผลิตที่ดี มีการเก็บรักษาถูกต้องเหมาะสม อาหารควรมีสาร
เหนียวหรือสารยึดติด และการผลิตท่ีเฉพาะหรือเหมาะสม ที่จะช่วยให้มีความคงทนในน้าไดด้ ี มี
ประสิทธิภาพเหมาะสมในการเปล่ียนอาหารเป็นเน้ือสัตวน์ ้าต่า เน่ืองจากอาหารสาเร็จรูปมีราคาแพง
ดังน้ัน การหาทางลดต้นทุนการผลิตด้วยการจดั การอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้อาหารเกิด
ประโยชนส์ ูงสุด และสัตวน์ ้าไดร้ ับอาหารมากเพียงพอ อาหารไม่เหลือท่ีจะทาใหเ้ กิดการเน่าเสียจน
ส่งผลต่อคุณภาพน้า ดงั น้นั การผลิตอาหารคุณภาพดีร่วมกบั การจดั การท่ีดี สามารถช่วยใหส้ ัตวน์ ้า
เจริญเติบโตดี ลดค่าใชจ้ ่าย รวมท้งั ปริมาณของเสีย นอกจากน้ีการท่ีเกษตรกรผลิตอาหารใชเ้ องมกั มี
ขอ้ จากดั ทาใหไ้ มส่ ามารถผลิตอาหารไดเ้ หมือนกบั การซ้ืออาหารสาเร็จรูป เช่น การผลิตอาหารเม็ด
ลอยน้า ตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือท่ีมีราคาแพงเน่ืองจากความซับซ้อนของเคร่ืองมือและกระบวนการผลิต
ขณะที่อาหารเมด็ ที่ผลิตเองเป็นอาหารเมด็ จมน้า ซ่ึงสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยการทาที่ใหอ้ าหาร เพื่อสัตว์
น้าเขา้ มากินและลดการสูญเสียอาหาร หรือความสุกของอาหารพวกแป้ งหรือวตั ถุดิบบางชนิดท่ีมี
สารตา้ นโภชนาการ เน่ืองจากอาหารสาเร็จรูปใชค้ วามร้อนสูงประมาณ 100-120 องศาเซลเซียส ใน
กระบวนการผลิตซ่ึงเกษตรกรสามารถใช้วิธีนาปลายขา้ ว มนั เส้นหรือถวั่ เหลืองไปหุงให้สุกก่อน
นาไปผสมอาหาร เพื่อเป็ นแนวทางในการพิจารณาการผลิตอาหารสัตวแ์ บบพ้ืนฐาน ซ่ึงเกษตรกร
สามารถผลิตใชเ้ องในฟาร์มและมีคุณภาพเหมาะสมที่จะใชเ้ ล้ียงสัตวน์ ้าใหเ้ จริญเติบโตดี
สรุป
การผลิตอาหาร เพ่ือใชใ้ นการเล้ียงสัตวน์ ้า เป็ นแนวทางหน่ึงท่ีช่วยลดตน้ ทุนการผลิต และ
ได้อาหารสัตวน์ ้าที่มีคุณภาพดีมีสัดส่วนของสารอาหารประเภทโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมนั
วติ ามิน และ แร่ธาตุ ครบท้งั คุณภาพและปริมาณ เพียงพอกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้า โดยเฉพาะ
การเล้ียงสัตวน์ ้าแบบพฒั นา ซ่ึงจะใชอ้ าหารเมด็ หรืออาหารสดเป็ นอาหารหลกั การผลิตอาหารสัตวน์ ้า
ใช้เองในฟาร์มจะทาให้ตน้ ทุนอาหารต่ากว่าการซ้ืออาหารสาเร็จรูป ซ่ึงมีขอ้ ควรพิจารณาก่อนการ
ผลิตอาหารสัตวน์ ้า ท่ีสาคญั จะต้องศึกษาตารางมาตรฐานอาหารของสัตวน์ ้า เพื่อให้ได้อาหารที่มี
โภชนศาสตร์ครบถ้วนเหมาะสมกับสัตว์น้าแต่ละชนิด ได้แก่ สารอาหารที่สัตว์น้าต้องการ
องคป์ ระกอบทางเคมีของวตั ถุดิบแตล่ ะชนิด ลกั ษณะทางกายภาพและชีวภาพของวตั ถุดิบ ราคาวตั ถุดิบ
สารพษิ และการกาจดั สารพิษ รวมถึงคุณภาพของวตั ถุดิบแต่ละชนิดที่ผา่ นกรรมวิธีการผลิตหลกั ๆ คือ
การสร้างสูตรอาหาร การคดั เลือกวตั ถุดิบ การบดวตั ถุดิบ การชงั่ น้าหนกั การผสมวตั ถุดิบ การอดั เม็ด
อาหาร การลดความช้ืน และการเก็บรักษาเป็ นสาคญั การตรวจสอบคุณภาพของอาหารสาเร็จรูป
226
โดยทวั่ ไปสามารถทาได้ 2 วธิ ี คือ การวเิ คราะห์คุณสมบตั ิทางกายภาพ และการวเิ คราะห์คุณสมบตั ิทาง
เคมี ซ่ึงการวิเคราะห์คุณสมบตั ิทางกายภาพ ไดแ้ ก่ ความคงทนของอาหารในน้า การดูดซบั น้า ความ
หนาแน่นของอาหาร และการลอยตวั ของอาหาร สาหรับการวิเคราะห์คุณสมบตั ิทางเคมี ได้แก่ การ
วเิ คราะห์ปริมาณเถา้ การวิเคราะห์ปริมาณโปรตีน การวเิ คราะห์ปริมาณไขมนั การวเิ คราะห์ปริมาณ
เยอ่ื ใย และการคานวณปริมาณคาร์โบไฮเดรต
บทท่ี 7
การให้อาหารสัตว์นา้
สาระสาคญั
การเล้ียงสัตวน์ ้าจะประสบผลสาเร็จในการเล้ียงได้ ผเู้ ล้ียงจาเป็ นตอ้ งมีความรอบรู้เกี่ยวกบั
เทคนิควธิ ีการในการใหอ้ าหารสัตวน์ ้า ประกอบกบั ความรู้ดา้ นอ่ืน ๆ เช่น คุณภาพน้า โรคพยาธิ และ
การจดั การฟาร์มอยา่ งเป็นระบบ เนื่องจากการดารงชีวิตอยใู่ นน้า ทาให้การสังเกตเห็นสิ่งผดิ ปกติได้
ไม่ชดั เจน ดงั น้นั จึงตอ้ งการการเอาใจใส่เป็ นอย่างดี โดยทวั่ ไปการเล้ียงสัตวน์ ้าในแต่ละทอ้ งถ่ิน
ที่แตกต่างกัน จึงเป็ นหน้าท่ีของผูเ้ ล้ียงที่ต้องพยายามปรับปรุงรูปแบบ วิธีการเล้ียงสัตวน์ ้าให้
เหมาะสม พร้อมกับการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เพื่อให้สามารถทาการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้าได้
ตลอดไป การให้อาหารสัตวน์ ้า นอกจากจะเขา้ ใจหลกั การและวิธีการทวั่ ไปเก่ียวกบั การให้อาหาร
สัตวบ์ ก แลว้ ยงั จะตอ้ งเขา้ ใจดว้ ยวา่ สภาพแวดลอ้ มท่ีสัตวน์ ้าอาศยั แตกต่างจากสัตวบ์ ก เป็ นสาเหตุท่ี
ทาให้การให้อาหารสัตว์น้ามีความยุ่งยากมากข้ึน หลกั การท่ีสาคญั ในการให้อาหารสัตว์น้า คือ
หลกั การเก่ียวกบั ปริมาณอาหารที่ให้สัตวน์ ้ากินต่อวนั ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการให้อาหาร และ
จานวนคร้ังในการใหอ้ าหารในแตล่ ะวนั
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทว่ั ไป
เพื่อใหน้ กั ศึกษามีความรู้และเขา้ ใจการใหอ้ าหารสัตวน์ ้า
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายลกั ษณะการกินอาหารของสัตวน์ ้าได้
2. บอกปัจจยั ที่มีผลต่อการกินอาหารของสัตวน์ ้าได้
3. อธิบายวธิ ีการใหอ้ าหารไดถ้ ูกตอ้ ง
4. อธิบายปริมาณการให้อาหาร การคานวณและปรับปริมาณอาหารที่ใชเ้ ล้ียงสัตวน์ ้าได้
5. คานวณอตั ราการเปลี่ยนอาหารใหเ้ ป็ นเน้ือได้
6. อธิบายหลกั การเลือกซ้ืออาหารสาเร็จรูปสาหรับเล้ียงสตั วน์ ้าได้
237
หวั ข้อเรื่อง
1. ลกั ษณะการกินอาหารของสตั วน์ ้า
2. ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การกินอาหารของสัตวน์ ้า
3. อตั ราการกินอาหารของสัตวน์ ้า
4. วธิ ีการใหอ้ าหารสตั วน์ ้า
5. ปริมาณการให้อาหาร การคานวณและปรับปริมาณอาหารที่ใชเ้ ล้ียงสัตวน์ ้า
6. อตั ราการแลกเน้ือ
7. หลกั การเลือกซ้ืออาหารสาเร็จรูปสาหรับเล้ียงสตั วน์ ้า
เนือ้ หาสาระ
1. ลกั ษณะการกนิ อาหารของสัตว์นา้
ในการเล้ียงสัตวน์ ้า ผเู้ ล้ียงมกั ประสบปัญหาในระหวา่ งการเล้ียง คือ อาหารเหลือ อาหารไม่
ย่อย หรืออาหารละลายเมื่ออยู่ในน้า การให้อาหารจึงมีความสาคญั อย่างย่ิง เพราะแมจ้ ะเลือกใช้
อาหารท่ีมีคุณค่าสูง แต่ถา้ ให้ไม่ถูกวธิ ีจะทาให้อาหารเหลือตกคา้ งในบ่อเล้ียง จะมีผลต่อคุณภาพน้า
หรือถา้ ใหอ้ าหารไม่เพยี งพอกบั ความตอ้ งการ จะส่งผลใหส้ ตั วน์ ้าเจริญเติบโตชา้ และขนาดไม่เท่ากนั
นอกจากน้ียงั ทาใหร้ ่างกายอ่อนแอมีความตา้ นทานโรคต่า ดงั น้นั การใหอ้ าหารอยา่ งมีประสิทธิภาพ
ในปริมาณท่ีพอเหมาะไม่มากหรือนอ้ ยเกินไป โดยเฉพาะสัตวน์ ้าจะมีนิสัยการกินอาหารตามระดบั
ความลึกของน้าต่างกนั ซ่ึงแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ
1.1 สัตวน์ ้าที่กินอาหารระดบั ผวิ น้า (surface feeders) ไดแ้ ก่ สัตวน์ ้าท่ีกินอาหารท่ีลอย
อยบู่ นผวิ น้า เช่น ปลาเฉา ปลาตะเพียนขาว ปลาแรด ปลาสวาย และปลากดั เป็นตน้
1.2 สตั วน์ ้าที่กินอาหารระดบั กลางน้า (mid-water feeders) ไดแ้ ก่ สัตวน์ ้าที่กินอาหารท่ี
ล่องลอยและเคลื่อนไหวอยใู่ นระดบั กลางน้า เช่น ปลาเล่ง ปลานิล และปลาหมอตาล เป็นตน้
1.3 สัตวน์ ้าท่ีกินอาหารตามพ้ืนกน้ ของแหล่งน้า (bottom feeders) ไดแ้ ก่ สัตวน์ ้าที่กิน
อาหารพวกส่ิงมีชีวติ ตามหนา้ ดิน เช่น ปลาซ่ง ปลาไน ปลาดุก ปลาหลด ปลากะบอก รวมท้งั กุง้ ชนิด
ต่าง ๆ เช่น กุง้ กา้ มกราม กุง้ กุลาดา และกุง้ แชบว๊ ย เป็นตน้
2. ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการกนิ อาหารของสัตว์นา้
ปัจจยั ที่มีผลกระทบต่อการกินอาหารของสัตวน์ ้า หมายถึง ส่ิงท่ีเกี่ยวขอ้ งและมีอิทธิพลต่อ
การกินอาหารของสัตวน์ ้า มีผลต่อปริมาณอาหารท่ีสัตวน์ ้ากิน สัตวน์ ้าจะกินอาหารไดม้ ากหรือนอ้ ย
ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ดงั ตอ่ ไปน้ี
238
2.1 ปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ตวั สัตวน์ ้า
2.1.1 ชนิดของสตั วน์ ้า สัตวน์ ้าแตล่ ะชนิดมีนิสัยการกินอาหารแตกต่างกนั บางชนิดกิน
อาหารรวดเร็ว กินอาหารเก่ง เจริญเติบโตเร็ว เช่น ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็ นตน้ แต่สัตวน์ ้าบางชนิด
มีนิสัยการกินท่ีเชื่องชา้ ชอบอยนู่ ิ่ง ๆ เช่น ปลาบู่ทราย
2.1.2 อายขุ องสัตวน์ ้า สตั วน์ ้าที่มีอายนุ อ้ ยจะมีขนาดเล็กกวา่ สัตวน์ ้าท่ีมีอายมุ าก แต่สัตว์
น้าขนาดเล็กกระเพาะอาหารจะมีขนาดใหญ่เม่ือเทียบกบั ขนาดของลาตวั เมื่อสัตวน์ ้าโตข้ึนขนาด
ของกระเพาะอาหารจะเล็กลงเมื่อเทียบกบั ขนาดของลาตวั ดงั น้นั สัตวน์ ้าขนาดเล็กจึงกินอาหารได้
มากกวา่ สตั วน์ ้าขนาดใหญ่เม่ือเปรียบเทียบกบั น้าหนกั ของตวั สัตวน์ ้า
2.1.3 ขนาดของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าขนาดเล็กตอ้ งการพลงั งานเพื่อการเจริญเติบโตมากกวา่
สตั วน์ ้าขนาดโตเตม็ วยั แตส่ ัตวน์ ้าโตเตม็ วยั ตอ้ งการพลงั งานเพ่ือใชใ้ นการสืบพนั ธุ์ ขนาดสัตวน์ ้ากบั
ความถ่ีในการให้อาหารสัมพนั ธ์ในทางตรงกนั ขา้ มกบั ขนาดของสัตวน์ ้า ดงั แสดงในตารางที่ 7.3,
7.4, 7.5 และ 7.6 จะเห็นไดว้ า่ สัตวน์ ้าที่มีขนาดเล็กจะมีความถ่ีในการใหอ้ าหารต่อรอบวนั มาก (4-8
คร้ังต่อวนั ) และค่อย ๆ ลดจานวนคร้ังต่อรอบวนั ลง เม่ือสัตวน์ ้ามีขนาดใหญ่ข้ึน (1-3 คร้ังต่อวนั )
ท้งั น้ีเพราะสตั วน์ ้าขนาดเล็ก เป็นวยั ท่ีตอ้ งการสารอาหารเพื่อการเจริญเติบโต เสริมสร้างเน้ือเย่ือและ
สร้างภมู ิตา้ นทานต่าง ๆ ในร่างกายนอกจากน้ีการเพม่ิ จานวนคร้ังในการใหอ้ าหารในรอบวนั สาหรับ
สัตวน์ ้าขนาดเล็ก ยงั ช่วยป้ องกนั การขาดสารอาหารซ่ึงทาใหก้ ารเจริญเติบโตของสัตวน์ ้าชะงกั หรือ
หยดุ ลง
2.1.4 กิจกรรมของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าตอ้ งการพลงั งานเพ่ือการดารงชีวิต และกิจกรรม
ต่าง ๆ เช่น การเคล่ือนที่ตา้ นกระแสน้า การอพยพตามช่วงชีวติ และการล่าเหย่อื ปริมาณพลงั งาน
ตอ้ งมีเพยี งพอเพ่อื กิจกรรมเหล่าน้ีก่อนจะนาไปใชเ้ พ่ือการเจริญเติบโต
2.1.5 สุขภาพของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าที่มีสุขภาพดียอ่ มกินอาหารไดด้ ีกวา่ สัตวน์ ้าท่ีป่ วยเป็ น
โรคหรือมีพยาธิจานวนมากเกาะอยตู่ ามลาตวั เหงือกหรือครีบ มีผลทาให้สัตวน์ ้าเบื่ออาหาร และกิน
อาหารไดน้ อ้ ยกวา่ ปกติ
2.1.6 ลกั ษณะเฉพาะของสัตวน์ ้าบางชนิด เช่น ปลานิล ปลากดทะเล ปลาจะอมไข่ไวใ้ น
ปากเพอื่ ฟักใหเ้ ป็นตวั ออ่ น ทาใหไ้ ม่สามารถกินอาหารได้
2.2 ปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งกบั อาหาร
2.2.1 กล่ินของอาหาร เป็ นสิ่งชกั จูงทาใหส้ ัตวน์ ้าไดพ้ บอาหาร มีอิทธิพลต่อความอยาก
กินอาหาร และเอนไซมท์ ี่ขบั ออกมาในระบบทางเดินอาหารของสตั วน์ ้า
2.2.2 รสชาติของอาหาร มีอิทธิพลต่อความอยากกินอาหาร เอนไซม์ที่ขบั ออกมาใน
ระบบทางเดินอาหาร และปริมาณอาหารที่สัตวน์ ้ากิน
239
2.2.3 ระดบั พลงั งานในอาหาร สัตวน์ ้าไดร้ ับพลงั งานจากอาหารและพยายามควบคุม
ปริมาณของพลงั งานท่ีไดร้ ับแต่ละวนั ใหค้ งที่เพยี งแคร่ ะดบั ท่ีตอ้ งการเท่าน้นั เพราะพลงั งานส่วนเกิน
ความตอ้ งการจะถูกเก็บสะสมไวใ้ นร่างกายในรูปของคาร์โบไฮเดรตและไขมนั ซ่ึงถา้ เก็บสะสมไว้
มากจนเกินไปจะเกิดอนั ตรายตอ่ สตั วน์ ้าเอง ดงั น้นั เมื่อสัตวน์ ้ากินอาหารจนไดร้ ับพลงั งานท่ีเพียงพอ
กบั ความตอ้ งการแลว้ จะหยุดกินอาหาร แสดงว่าปริมาณพลงั งานในอาหารเป็ นตวั กาหนดปริมาณ
อาหารที่กินเขา้ ไป จึงควรควบคุมพลงั งานในอาหารไม่ให้สูงหรือต่าเกินไปเม่ือเทียบสัดส่วนกบั
ระดบั โปรตีนในอาหาร
2.3 ปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
2.3.1 อุณหภูมิและฤดูกาล เป็ นปัจจยั ที่มีผลกระทบต่อสัตวน์ ้ามากกว่าตวั แปรของ
สิ่งแวดลอ้ มอื่น ๆ โดยอุณหภูมิของน้ามีผลต่อการกินอาหาร การเจริญเติบโต การหายใจ การย่อยและ
การดูดซึมอาหาร ในช่วงฤดูหนาว น้ามีอุณหภูมิต่า สัตวน์ ้าจะลดกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั ลง
ทาให้อตั ราการเผาผลาญอาหารภายในร่างกายของสัตวน์ ้าลดลง อุณหภูมิของน้าในบ่อเล้ียงสัตวน์ ้า
มีผลกระทบโดยตรงต่ออตั ราการกินอาหารของสัตวน์ ้าโดยท่ีสัตวน์ ้าในเขตร้อนจะกินอาหารดีท่ีสุดท่ี
อุณหภูมิประมาณ 30 องศาเซลเซียส และกินอาหารนอ้ ยลงเมื่ออุณหภูมิต่ากวา่ 21 องศาเซลเซียส และ
กินอาหารน้อยที่สุ ดเมื่อเล้ียงในสภาพน้ าที่มีอุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส หรื อมีอุณหภูมิ 32
องศาเซลเซียส ดงั แสดงในภาพท่ี 7.1 ส่งผลถึงปริมาณความต้องการอาหารของสัตวน์ ้าน้อยลง
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อปลาและกุง้ แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกนั ไป ดงั แสดงในตารางท่ี 7.1
อุณหภูมิต่าสุด อุณหภมู ิสูงสุด
Lower Lethal Limit Upper Lethal Limit
อุณหภมู ิท่ีเหมาะสม
การเจ ิรญเ ิตบโต (growth) (Optimum)
อณุ หภูมิ (temperature)
ภาพที่ 7.1 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอุณหภูมิและการเจริญเติบโตของสตั วน์ ้า
ท่ีมา : Goddard (1996) อา้ งโดย เวยี ง (2540)
240
ตารางที่ 7.1 ระดบั อุณหภมู ิที่เหมาะสมสาหรับการเพาะเล้ียงปลาและกงุ้
ชนิดสัตวน์ ้า อุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการเจริญเติบโต (องศาเซลเซียส)
เรนโบวเ์ ทราต์ 12.00-18.00
ปลาไน 23.00-25.00
ปลากดอเมริกา 28.00-30.00
ปลาไหลญี่ป่ ุน 23.00-30.00
ปลาดุกรัสเซีย 25.00-27.50
ปลานิล 25.00-30.00
กุง้ คุรุม่า 18.60-27.65
กุง้ กา้ มกราม 25.00-30.00
กงุ้ กลุ าดา 28.00-33.00
ที่มา : ดดั แปลงจาก Shiguene (1968)
2.3.2 คุณภาพน้า ถา้ น้าในบ่อเล้ียงมีคุณภาพไม่เหมาะสมต่อการดารงชีพของสัตวน์ ้า
เช่น ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายน้าต่า ปริมาณแอมโมเนียสูง
ปริมาณไฮโดรเจนซลั ไฟด์สูง เป็ นตน้ โดยเฉพาะออกซิเจนที่ละลายในน้า เม่ือน้ามีออกซิเจนต่า
มีผลทาใหส้ ัตวน์ ้ากินอาหารนอ้ ยลง โดยทว่ั ไปออกซิเจนในน้าในบอ่ เล้ียงสัตวน์ ้ามีปริมาณนอ้ ยท่ีสุด
ในตอนเชา้ มืดและพบวา่ จะค่อย ๆ เพม่ิ ปริมาณสูงในตอนสายและสูงสุดในช่วงบ่าย จากน้นั เม่ือเยน็
ลงออกซิเจนจะค่อย ๆ ลดลงจนเหลือนอ้ ยท่ีสุดในตอนเชา้ มืดของอีกวนั สัตวน์ ้ากินอาหารดีข้ึนเมื่อ
มีออกซิเจนในน้ามากเกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงควรให้อาหารในช่วงสายหรือบ่าย และไม่ควรให้
อาหารสตั วน์ ้าในตอนกลางคืน ซ่ึงเป็นช่วงที่ในน้ามีออกซิเจนนอ้ ย เพราะนอกจากสัตวน์ ้ากินอาหาร
ไม่ดีแล้ว ยงั ทาให้อาหารเหลือมากเป็ นสาเหตุให้ออกซิเจนในน้าน้อยลง จะส่งผลทาให้สัตวน์ ้า
ไม่กินอาหารหรือกินอาหารไดน้ อ้ ยลง
2.3.3 ความหนาแน่นของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้าที่อยรู่ วมกนั อยา่ งหนาแน่นทาให้สิ่งแวดลอ้ ม
เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากของเสียที่ขบั ถ่าย และมีโอกาสไดร้ ับอาหารไม่ทวั่ ถึง ทาให้เกิดการแย่ง
อาหารกนั สัตวน์ ้าท่ีมีร่างกายขนาดเลก็ หรือมีร่างกายอ่อนแอจะมีโอกาสไดก้ ินอาหารนอ้ ย
241
3. อตั ราการกนิ อาหารของสัตว์นา้
อตั ราการกินอาหารของสัตวน์ ้าในแต่ละวนั ควรเท่ากบั ปริมาณอาหารที่สัตวน์ ้าสามารถกิน
ไดต้ ่อวนั ปริมาณอาหารท่ีสัตวน์ ้ากินไดห้ รือเรียกว่า “อตั ราการให้อาหารของสัตวน์ ้า” ข้ึนอยกู่ บั
ปัจจัยหลายอย่าง ท่ีสาคัญคือ คุณภาพน้ า อุณหภูมิ ออกซิเจนท่ีละลายในน้า ขนาดและการ
เจริญเติบโตของสัตวน์ ้า และระดบั พลงั งานในอาหาร ซ่ึงสัตวน์ ้าต่างชนิดกนั และขนาดต่างกนั จะมี
อตั ราการกินอาหารไม่เท่ากนั ดงั ตวั อยา่ งการให้อาหารปลาชนิดต่าง ๆ ตามขนาดของปลา ที่แสดง
ในตารางท่ี 7.2 - 7.5
ตารางท่ี 7.2 อตั ราและความถ่ีในการใหอ้ าหารตามขนาดของปลาแซลมอน
น้าหนกั ปลา (กรัม) อตั ราการใหอ้ าหาร (อุณหภูมิ 15.4 องศาเซลเซียส)
อาหาร (เปอร์เซ็นต)์ จานวนคร้ัง/วนั
0.5 - 1.5 9.1 5
1.5 - 2.5 7.2 4
2.5 - 3.5 5.9 2
3.5 - 5.0 4.8 1
5.0 - 7.5 4.7 1
7.5 -11.5 3.3 1
11.5 -15.0 3.2 1
มากกวา่ 18 2.8 1
ที่มา : Hardy (1989) อา้ งโดย เวยี ง (2540)
ตารางท่ี 7.3 อตั ราและความถี่ในการใหอ้ าหารตามขนาดของปลากดหลวง
น้าหนกั ปลา (กรัม) อตั ราการใหอ้ าหาร (อุณหภมู ิ 26-30 องศาเซลเซียส)
70 อาหาร (เปอร์เซ็นต)์ จานวนคร้ัง/วนั
100
130 3.0 1
160
190 3.0 1
270
340 3.0 1
2.8 1
2.5 1
2.2 1
1.8 1
242
ตารางท่ี 7.3 อตั ราและความถี่ในการใหอ้ าหารตามขนาดของปลากดหลวง (ต่อ)
น้าหนกั ปลา (กรัม) อตั ราการใหอ้ าหาร (อุณหภมู ิ 26-30 องศาเซลเซียส)
อาหาร (เปอร์เซ็นต)์ จานวนคร้ัง/วนั
400 1.6 1
460 1.4 1
500 1.1 1
ที่มา : Lovell (1977) อา้ งโดย เวยี ง (2540)
ตารางท่ี 7.4 อตั ราและความถ่ีในการใหอ้ าหารตามขนาดของปลาไหลญ่ีป่ ุน
น้าหนกั ปลา (กรัม) อตั ราการใหอ้ าหาร (อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส)
0.4-0.5 อาหาร (เปอร์เซ็นต)์ จานวนคร้ัง/วนั
50
150 6-8 2-4
ที่มา : ดดั แปลงจาก เวยี ง (2540)
6-8 1
2-3 1
ตารางที่ 7.5 อตั ราและความถ่ีในการใหอ้ าหารตามขนาดปลานิล
น้าหนกั ปลา (กรัม) อตั ราการใหอ้ าหาร
1 อาหาร (เปอร์เซ็นต)์ จานวนคร้ัง/วนั
1-5
5-20 10-30 8
20-100
มากกวา่ 100 6-10 6
ท่ีมา : เวยี ง (2540)
4-6 4
3-4 3-4
33
การให้อาหารสัตวน์ ้ามากเกินไป จะลดประสิทธิภาพการใชป้ ระโยชน์อาหาร โดยเพ่ิมค่า
อตั ราการเปล่ียนอาหารเป็ นเน้ือ ดงั น้นั การให้อาหารในอตั ราพอดีกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้า
แต่ละชนิด จะทาให้สัตวน์ ้าไดร้ ับประโยชน์จากอาหารและมีอตั ราการเจริญเติบโตท่ีดี นอกจากน้ี
243
ยงั เป็นการควบคุมคุณภาพน้าให้มีความเหมาะสมต่อการเล้ียงสัตวน์ ้า ท้งั ยงั เป็ นการประหยดั ตน้ ทุน
ดา้ นอาหารอีกดว้ ย อตั ราการใหอ้ าหารสัตวน์ ้าแตล่ ะชนิด ดงั แสดงในตารางท่ี 7.6
ตารางที่ 7.6 อตั ราการกินอาหารของปลาแต่ละชนิด
ชนิดปลา อตั ราการกินอาหารต่อวนั อา้ งอิง
(เปอร์เซ็นต)์
ปลาช่อน 6.5 Pandian (1967)
ปลากะโห้ 6.3 Seenappa and Devaraj (1991)
ปลาดุก 15.8 Reddy and Katre (1979)
ปลาหมอเทศ 6.5 Pandian and Raghuraman (1972)
ปลากระบอก 8.0 Kiran and Paulraj (1988)
ปลานวลจนั ทร์น้าจืด 13.9 Sampath and Ravindran (1988)
ที่มา : เวยี ง (2540)
นอกจากปัจจยั ท่ีกล่าวแลว้ ยงั มีปัจจยั อื่น ๆ ที่มีผลต่ออตั ราการกินอาหารของสัตวน์ ้าเช่นกนั
ไดแ้ ก่ ความเขม้ ของแสงและช่วงเวลาระหวา่ งวนั มีความสาคญั ต่อการกินอาหารของสัตวน์ ้า สัตวน์ ้า
ท่ีหากินในเวลากลางคืน จะตอ้ งมีต่อมรับกลิ่นและรับรสท่ีดี ซ่ึงแตกต่างจากสัตวน์ ้าท่ีหากินเวลา
กลางวนั จาเป็นตอ้ งใชส้ ายตาในการหาอาหาร
3.1 ช่วงเวลาในการให้อาหารสัตวน์ ้า ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการให้อาหารสัตวน์ ้า
ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั หลกั ๆ 2 ประการ คือ ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้าและอุณหภมู ิของน้า
3.2 ความถ่ีในการให้อาหารสัตวน์ ้า ความถ่ีในการให้อาหารสัตวน์ ้าข้ึนอยูก่ บั ปัจจยั
หลัก ๆ ดังต่อไปน้ี คือ ขนาดสัตว์น้า ชนิดของสัตว์น้าและปริมาณอาหารในกระเพาะอาหาร
โดยทว่ั ไป สัตวน์ ้าจะเกิดความตอ้ งการอาหารต่อเมื่ออาหารได้ถูกย่อยจนไม่มีเหลือในกระเพาะ
อาหารและจะไม่ตอ้ งการอาหารต่อเม่ือในกระเพาะอาหารของสัตวน์ ้ามีอาหารจนเต็ม สาหรับสัตวน์ ้า
ที่ไมม่ ีกระเพาะอาหาร เช่น ปลาไน ไม่มีกระเพาะเป็ นที่พกั อาหาร อาหารเดินทางเร็วจึงหิวเร็วกวา่ และ
กินอาหารบอ่ ยคร้ังกวา่ ปริมาณอาหารที่กินจะมากกวา่ ปลาท่ีมีกระเพาะ
3.3 คุณสมบตั ิชวนกินของอาหาร การจะให้สัตวน์ ้าไดก้ ินอาหารท่ีผลิตข้ึนอยา่ งเต็มที่
และมีประสิทธิภาพ จะตอ้ งทาให้สัตวน์ ้ายอมรับอาหาร เพราะถ้าอาหารมีคุณค่ามีสารอาหารตรง
ตามความตอ้ งการของสตั วน์ ้า สตั วน์ ้าจึงไดร้ ับประโยชน์จากอาหารสูงข้ึน ดงั น้นั ในการผลิตอาหาร
สตั วน์ ้าจะตอ้ งพฒั นาสูตรอาหารให้มีคุณสมบตั ิท่ีชวนกิน เพ่ือท่ีจะดึงดูดให้สัตวน์ ้ากินอาหารที่ผลิต
244
ไดเ้ ร็วข้ึนและมากข้ึน เมื่อสัตวน์ ้ากินอาหารไดเ้ ร็วข้ึนจะลดการสูญเสียคุณค่าของอาหาร และยงั ไม่
ทาใหส้ ภาพน้าเน่าเสียอีกดว้ ย
โดยธรรมชาติปลาสามารถรับรสของอาหารไดโ้ ดยตุ่มรับรสอาหาร (test bud) ที่พบอยู่
ทว่ั ไปบริเวณปาก เหงือก ส่วนหัว หนวด และบนครีบ ตุ่มรับรสอาหารทาหน้าที่ในการตรวจหา
อาหารและตรวจคุณภาพอาหาร ส่วนต่อมรับกลิ่น จะอยูภ่ ายในช่องจมูก นาความรู้สึกเก่ียวกบั การ
รับกล่ิน ปลาแต่ละชนิดมีความเร็วต่อการรับกลิ่นแตกต่างกนั ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ประสิทธิภาพของต่อม
รับกลิ่นของปลา ดงั น้นั คุณสมบตั ิของอาหารท่ีมีผลทาให้สตั วน์ ้ากินอาหารไดด้ ีและเร็วข้ึน มีดงั น้ี
3.3.1 ลกั ษณะของอาหาร อาหารสาเร็จรูปที่ผลิตข้ึนให้ปลากิน ตอ้ งมีลกั ษณะ
ใกลเ้ คียงกนั หรือเหมือนกบั อาหารธรรมชาติที่สัตวน์ ้าคุน้ เคย นอกจากน้ีการเคลื่อนไหวของอาหาร
ยงั จาเป็นสาหรับสตั วน์ ้าท่ีล่าเหยอ่ื เป็ นอาหาร เพราะเป็ นการกระตุน้ ให้สัตวน์ ้ากินอาหารเร็วข้ึนและ
มากข้ึน
3.3.2 กลิ่นและรสชาติของอาหาร อาหารท่ีมีกลิ่นคาวและรสชาติท่ีสัตวน์ ้า
ชอบ จะเพ่ิมความชวนกินให้กบั สัตวน์ ้ามากข้ึน ซ่ึงกล่ินและรสอาจไดจ้ ากการผสม ปลาป่ น น้ามนั
ปลา น้ามนั ปลาหมึก กุง้ ป่ น กากน้าตาล และสารอ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสมจะทาใหส้ ัตวน์ ้ากินอาหารไดด้ ีข้ึน
3.3.3 ความอ่อนนุ่มของอาหาร อาหารท่ีมีลกั ษณะอ่อนนุ่ม ไม่หยาบหรือแข็ง
เกินไป มีผลทาใหส้ ตั วน์ ้ากินและใชป้ ระโยชน์จากอาหารไดด้ ี ซ่ึงส่งผลใหส้ ัตวน์ ้ามีการเจริญเติบโต
ดีข้ึนกวา่ สัตวน์ ้าท่ีไดร้ ับอาหารแขง็ กระดา้ ง
3.3.4 ความทนทานของอาหารเมื่ออยใู่ นน้า เป็ นคุณสมบตั ิหน่ึงที่ทาให้สัตวน์ ้า
กินอาหารได้มากน้อยเพียงใด โดยทว่ั ไปพบว่า อาหารท่ีมีความทนทานในน้าสูงจะช่วยรักษา
คุณสมบตั ิชวนกินหรือความน่ากินของอาหารไวไ้ ดน้ านกวา่ อาหารที่มีความทนทานในน้าต่า แต่ถา้
อาหารอยใู่ นน้านานเกิน 1 ชวั่ โมง ทาใหอ้ าหารถูกชะลา้ งกลิ่นและลดความน่ากินของอาหารลงได้
3.3.5 ขนาดของอาหาร อาหารท่ีมีขนาดเหมาะสมกบั ขนาดของสัตวน์ ้า ทาให้
สัตวน์ ้ากินอาหารไดง้ ่ายข้ึน ทาให้สัตวน์ ้ามีความอยากกินอาหารมากข้ึน แต่ถา้ อาหารมีขนาดใหญ่
เกินไป สัตวน์ ้าตอ้ งใชเ้ วลานานในการกดั แทะ ทาให้การกินอาหารยากลาบาก สัตวน์ ้าอาจจะเบื่อ
และไม่ยอมกินอาหารในคร้ังต่อไป นอกจากน้ีอาหารท่ีเหลือจากสัตวน์ ้ากิน จะละลายและสูญเสีย
ไป ทาให้คุณภาพน้าเสียได้ และถา้ อาหารมีขนาดเล็กเกินไป สัตวน์ ้าตอ้ งใช้พลงั งานและเสียเวลา
ในการกินอาหาร ทาให้อาหารสูญเสียคุณค่าได้เช่นกนั สาหรับขนาดของเม็ดอาหารท่ีเหมาะสม
สาหรับสตั วน์ ้าแตล่ ะชนิดจะมีความแตกต่างกนั ดงั แสดงในตารางท่ี 7.7
245
ตารางที่ 7.7 ขนาดของเมด็ อาหารท่ีเหมาะสมสาหรับปลาแต่ละชนิด
ปลาเทราต์ ปลากดหลวง
ขนาดปลา (กรัม) ขนาดอาหาร (มิลลิเมตร) ขนาดปลา (กรัม) ขนาดอาหาร (มิลลิเมตร)
นอ้ ยกวา่ 0.5 0.5 0.02- 0.25 0.42-0.82
0.5 - 0.9 0.8 0.25- 1.50 0.85-1.40
0.9 - 2.3 1.1 1.50- 5.00 1.40-2.80
2.3 - 4.5 1.6 5.00-20.00 2.80-4.00
4.5 - 6.1 2.3
6.1 - 9.1 2.3
9.1 -22.0 4.7
ที่มา : เวยี ง (2540)
วมิ ล (2537) กล่าววา่ ความสาคญั ในการเล้ียงสตั วน์ ้า นอกจากตอ้ งอาศยั อาหารท่ีมีคุณภาพท่ี
ดีแลว้ การใหอ้ าหารดว้ ยวธิ ีท่ีถูกตอ้ ง ทาให้สัตวน์ ้าน้นั ไดป้ ระโยชน์จากอาหารไดอ้ ยา่ งเต็มที่ การให้
อาหารแก่สตั วน์ ้านอ้ ยเกินไปอาจทาใหส้ ัตวน์ ้าอดอาหารและไมเ่ จริญเติบโต ในขณะที่ให้อาหารมาก
เกินไป นอกจากเป็นการสิ้นเปลืองแลว้ ยงั ทาใหค้ ุณภาพของน้าเสียและเป็นอนั ตรายต่อสัตวน์ ้าได้
4. วธิ ีการให้อาหารสัตว์นา้
จุดมุ่งหมายในการให้อาหารสัตวน์ ้า คือ ตอ้ งการให้สัตวน์ ้าไดร้ ับอาหารอย่างเต็มท่ีและ
เพียงพอ เพื่อให้สัตวน์ ้าสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ดงั น้นั วิธีการให้
อาหาร ตอ้ งเอ้ือใหส้ ัตวน์ ้าสามารถเห็นอาหารไดง้ ่าย กินไดอ้ ย่างรวดเร็วและกินไดม้ ากที่สุด ไม่มี
อาหารเหลือตกคา้ งท่ีจะทาให้น้าเน่าเสียได้ นอกจากน้ี ยงั ทาใหส้ ัตวน์ ้ามีสุขภาพสมบูรณ์แขง็ แรงดี
อีกดว้ ย
4.1 วธิ ีการใหอ้ าหารสตั วน์ ้า แบง่ เป็น 2 ช่วง คือ ช่วงการอนุบาล และช่วงการเล้ียงจนถึงจบั
ขาย ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี
4.1.1 การให้อาหารสัตวน์ ้าช่วงการอนุบาล การให้อาหารในช่วงน้ีตอ้ งระมดั ระวงั และ
เอาใจใส่เป็ นพิเศษ เพราะสัตวน์ ้าในวยั น้ีมีขนาดของปากที่เล็ก และระบบการยอ่ ยอาหารยงั พฒั นา
ไม่สมบูรณ์ สัตวน์ ้าในวยั น้ีตอ้ งการอาหารอย่างต่อเนื่อง เพ่ือที่จะนาไปพฒั นาระบบการย่อยและ
อวยั วะส่วนอื่น ๆ ให้มีความสมบูรณ์ หากสัตว์น้าวยั น้ีได้รับอาหารไม่เพียงพอ จะส่งผลให้การ
พฒั นาอวยั วะต่าง ๆ และระบบการยอ่ ยอาหารไม่สมบูรณ์ ปลาวยั อ่อนบางชนิดเมื่อแรกเกิดจะมีถุง
246
ไข่แดง ดงั น้ันในช่วงน้ียงั ไม่จาเป็ นตอ้ งให้อาหาร แต่เมื่อถุงไข่แดงยุบควรให้อาหารทนั ที ซ่ึงจะ
แตกต่างกันตามชนิดของสัตว์น้าและอุณหภูมิที่ใช้ในการเล้ียงสัตวน์ ้า นอกจากน้ีสัตวน์ ้าชนิด
เดียวกนั การยบุ ของถุงไขแ่ ดงไม่พร้อมกนั หากการใหอ้ าหารไมท่ นั เวลาหรือรอจนสัตวน์ ้าใชอ้ าหาร
ในถุงไข่แดงจนหมด จะทาให้สัตวน์ ้าขาดสารอาหารได้ และอาจทาให้สัตวน์ ้ามีการเจริญไม่เต็มท่ี
ถึงตายได้ จึงควรให้อาหารม้ือแรกสาหรับสัตวน์ ้าท่ียงั มีถุงไข่แดง ก่อนท่ีถุงไข่แดงจะยุบก่อน
ประมาณ 1 วนั เพอ่ื ป้ องกนั การขาดสารอาหารม้ือแรกสาหรับสัตวน์ ้า แต่ปริมาณการให้ไม่ควรมาก
เกินไปเพราะจะทาใหน้ ้าเน่าเสียได้
ชนิดของอาหารม้ือแรก จะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั นิสัยการกินอาหารสัตวน์ ้าวยั อ่อนที่เริ่มกิน
อาหารและอาหารตอ้ งมีขนาดเล็กใกลเ้ คียงกบั อาหารท่ีมีชีวติ ที่สัตวน์ ้ากินตามธรรมชาติ กรณีท่ีเป็ น
อาหารท่ีเตรียมข้ึน ควรมีขนาด 0.1-0.5 มิลลิเมตร มีสารอาหารที่ครบถว้ น เพียงพอ และมีกลิ่นรส
ชวนกิน โดยทวั่ ไป นิยมให้ในสภาพแหง้ และสภาพสด หากเป็ นอาหารแห้งส่วนมากจะขาดความ
น่ากิน จึงตอ้ งแกไ้ ขโดยการเติมรสชวนกิน และก่อนใหต้ อ้ งบดให้ละเอียดเป็ นผง หรือมีขนาดเล็ก
พอเหมาะ ส่วนอาหารสดควรมีความสดสูง และจดั เตรียมดว้ ยวธิ ีท่ีถูกตอ้ งจากอุปกรณ์ท่ีสะอาด หาก
ไม่ใชท้ นั ทีและตอ้ งการเก็บในระยะส้ันอาจเก็บในตูเ้ ย็น แต่ถ้าตอ้ งการเก็บนานควรเก็บในสภาพ
แช่แขง็ ที่สาคญั ควรใชอ้ าหารในสภาพสด
ในช่วงท่ีสัตวน์ ้ายงั ใชอ้ าหารจากถุงไข่แดง สตั วน์ ้ามีการรวมกลุ่มอยบู่ ริเวณพ้ืนทอ้ งน้า และ
เมื่อถุงไข่แดงยุบจะพยายามเคล่ือนตวั ข้ึนสู่ผิวน้า เป็ นลกั ษณะอาการท่ีตอ้ งการอาหารของสัตวน์ ้า
จึงควรให้อาหารชนิดที่ลอยอยูใ่ นน้าไดน้ าน ๆ และลอยไปมาเขา้ ในปากของสัตวน์ ้าได้ เนื่องจาก
สัตวน์ ้าวยั น้ียงั ไม่สามารถว่ายน้าหาอาหารได้ การให้อาหารมีชีวิตในช่วงน้ีจึงนบั วา่ ดีที่สุด แต่ถา้
หากจาเป็ นตอ้ งให้อาหารแห้งเป็ นผง ให้ใช้วิธีการโรยบนผิวน้า ส่วนอาหารสดตอ้ งบดให้ผ่าน
ตะแกรง ตาถ่ีก่อน โดยใชป้ ๊ัมลมช่วยให้อาหารมีการลอยน้าไดน้ านข้ึน นอกจากน้ีแรงลมจะทาให้
อาหารลอยเขา้ ในปากลูกสตั วน์ ้าไดด้ ี
หลังจากที่ลูกสัตว์น้ายอมรับอาหารม้ือแรกแล้ว ควรให้กินอาหารน้ันโดยวิธีเดียวกัน
ต่อเน่ืองไปไดร้ ะยะหน่ึง แลว้ จึงเปล่ียนแปลงอาหารและวิธีการเม่ือสัตวน์ ้ามีขนาดใหญ่ข้ึน กรณีที่
อาหารม้ือแรกเป็นอาหารผง ควรปรับเปล่ียนเป็นอาหารเกล็ด ตามขนาดของสัตวน์ ้า หากเป็ นอาหาร
สด ควรปรับเปล่ียนเป็ นอาหารแหง้ เพราะอาหารสดไม่สะดวกในการเก็บรักษา และการนาไปใช้
และถา้ เป็ นอาหารมีชีวิต ตอ้ งปรับเปล่ียนเป็ นอาหารสดหรืออาหารแห้งให้เร็วที่สุด เพราะอาหาร
มีชีวติ ราคาจะแพง ปริมาณและคุณภาพไม่แน่นอน การผลิตใชต้ น้ ทุนสูง และมีขนาดไม่สัมพนั ธ์กบั
ขนาดของสตั วน์ ้า
247
การใหอ้ าหารสัตวน์ ้าในช่วงการอนุบาลน้ี ควรให้อาหารในท่ีท่ีสัตวน์ ้าพบเห็นไดง้ ่าย และ
สามารถเก็บเศษอาหารท่ีเหลือได้สะดวก จะช่วยลดปัญหาการเน่าเสียของน้าได้มาก วิธีการที่ดี
จะตอ้ งไม่กองอาหารไวก้ บั พ้ืนบ่อโดยตรง แต่ควรใส่อาหารไวใ้ นภาชนะ เช่น ถาด จาน กระบะ
เป็นตน้ แลว้ แขวนภาชนะใส่อาหารต่ากวา่ ผวิ น้าประมาณ 10-15 เซนติเมตร ในที่กลางแจง้ หรือในที่
ท่ีมีแสงเพยี งพอ ก่อนใหอ้ าหารทุกคร้ัง ควรนาภาชนะใส่อาหารออกไปทาความสะอาด พร้อมกบั ใช้
สายยางดูดเก็บเศษอาหารที่หล่นกองอยใู่ ตภ้ าชนะอาหาร นอกจากน้ีในช่วงการอนุบาล ควรควบคุม
อุณหภูมิและออกซิเจนในน้าให้อยใู่ นระดบั ท่ีเหมาะสมกบั การกินอาหารของสัตวน์ ้าอยา่ งต่อเนื่อง
เป็ นสิ่งจาเป็ น
4.1.2 การให้อาหารสัตวน์ ้าช่วงการเล้ียงจนถึงจบั ขาย การให้อาหารสัตวน์ ้าในช่วงน้ี
ค่อนขา้ งทาไดง้ ่ายและสะดวกกว่าการให้อาหารในช่วงอนุบาล เพราะสัตวน์ ้ามีขนาดใหญ่ข้ึน และ
ไม่มีการเปล่ียนชนิดของอาหารเหมือนช่วงอนุบาล หลกั การใหอ้ าหารในช่วงน้ีคือ ตอ้ งใหอ้ าหารที่
สัตวน์ ้าสามารถหาอาหารไดง้ ่ายและกินอาหารไดม้ ากท่ีสุด ในปัจจุบนั นิยมใช้วิธีการให้อาหาร
สตั วน์ ้าโดยใชแ้ รงงานคนและเครื่องทุน่ แรง ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี
1) การให้อาหารโดยใชแ้ รงงานคน การใหอ้ าหารดว้ ยแรงงานคน ใชไ้ ดก้ บั การให้
อาหารทุกชนิดและทุกสภาพ วิธีน้ีถึงแมอ้ าหารจะกระจายไม่สม่าเสมอ แต่จะไม่กองเป็ นจุด และ
ระหว่างการใหอ้ าหารยงั ทาให้สามารถสังเกตสุขภาพของสัตวน์ ้าจากพฤติกรรมการกินอาหารดว้ ย
แต่ขอ้ เสียของการให้อาหารดว้ ยแรงงานคน คือ ไม่เหมาะกบั ฟาร์มที่มีขนาดใหญ่ เพราะตอ้ งใช้
แรงงานมาก การให้อาหารสัตวน์ ้าในบ่อท่ีมีขนาดเล็ก นิยมใช้วิธีการหว่านบนคนั บ่อจนรอบ
สาหรับบ่อท่ีมีขนาดใหญ่ มกั ใชเ้ รือพายหรือเรือหางยาวช่วยลาเลียงอาหารและหวา่ นในเรือ แต่ตอ้ ง
หวา่ นใหก้ ระจายอยา่ งสม่าเสมอและทว่ั บอ่ การหวา่ นอาจทาให้อาหารกองอยทู่ ี่จุดเดิมซ่ึงเป็ นสาเหตุ
ใหส้ ัตวน์ ้าไดร้ ับอาหารไม่ทว่ั ถึง ดงั แสดงในภาพที่ 7.2
ภาพท่ี 7.2 การใหอ้ าหารโดยใชแ้ รงงานคน
ที่มา : วชิ าญ (2554)
248
2) การให้อาหารโดยใช้เครื่องทุ่นแรง การให้อาหารวิธีน้ี นิยมใช้ในฟาร์มหรือ
บ่อเล้ียงที่มีขนาดใหญ่ท่ีมีการเล้ียงสัตวน์ ้าจานวนมากและมีตน้ ทุนการเล้ียงสูง เคร่ืองทุ่นแรงที่นิยม
ใชใ้ นปัจจุบนั สาหรับการให้อาหารมี 2 ประเภท คือ เคร่ืองใหอ้ าหารประจาที่ และเครื่องใหอ้ าหาร
เคล่ือนที่ เครื่องให้อาหารประจาท่ีที่รู้จกั กนั อย่างแพร่หลาย คือ เครื่องให้อาหารแบบอตั โนมตั ิ
(automatic feeder) และเครื่องใหอ้ าหารตามความตอ้ งการของสัตวน์ ้า (demand pendulum feeder)
ความแตกต่างที่สาคญั ในหลกั การของเคร่ืองให้อาหารประจาที่ดงั กล่าวคือ เครื่องให้อาหารแบบ
อตั โนมตั ิทางานดว้ ยระบบไฟฟ้ าหรือระบบไฮโดรลิค จะปล่อยอาหารต่อเนื่องเป็ นจงั หวะตามเวลา
ท่ีกาหนด ดงั แสดงในภาพท่ี 7.3
ภาพท่ี 7.3 เคร่ืองใหอ้ าหารอตั โนมตั ิ
ที่มา : เอกอนนั ต์ (2553)
ขอ้ เสียของเคร่ืองใหอ้ าหารอตั โนมตั ิแบบประจาที่ คือ ไม่เหมาะกบั อาหารสดหรืออาหาร
เปี ยก และท่ีสาคญั เม่ือปล่อยออกจากเครื่องมกั จะกองเป็ นจุด ซ่ึงเป็ นสาเหตุทาให้สัตวน์ ้ามีขนาด
ต่างกนั เนื่องจากสัตวน์ ้าขนาดใหญ่กวา่ จะกีดกนั ไม่ให้สัตวน์ ้าขนาดเล็กเขา้ มากินอาหาร ดงั น้ัน
ควรที่จะทาการคดั แยกขนาดของสัตวน์ ้าที่มีขนาดใหญ่กว่าออกไปเล้ียงอีกบ่อหน่ึง และควรเพ่ิม
จานวนเครื่องใหอ้ าหารใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของบ่อ จะช่วยลดปัญหาการกีดกนั การกินอาหารของ
สัตวน์ ้าไดม้ าก
ส่วนเคร่ืองให้อาหารตามความต้องการของสัตวน์ ้า ประกอบด้วยสื่อท่ีสามารถควบคุม
กลไกการปล่อยอาหารซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนแขนที่ยื่นยาวออกไปในน้า เพื่อให้สัตวน์ ้าสัมผสั เม่ือหิว
หรือเม่ือตอ้ งการอาหาร ดงั น้นั ตามหลกั การแลว้ เคร่ืองให้อาหารแบบน้ีจะปล่อยอาหารเมื่อสัตวน์ ้า
ตอ้ งการ แต่บางคร้ังสัตวน์ ้าอาจจะสัมผสั กบั เครื่องให้อาหาร โดยที่ไม่ตอ้ งการอาหารหรือจากการ
สมั ผสั จากคล่ืนลมธรรมชาติ อาจทาใหอ้ าหารเหลือตกคา้ งในบ่อเล้ียงได้
249
สาหรับเคร่ืองให้อาหารแบบอตั โนมตั ิ เคล่ือนที่เหมาะกบั ฟาร์มท่ีมีขนาดใหญ่และบ่อที่มี
เน้ือท่ีกวา้ ง นิยมใชใ้ นตา่ งประเทศ ส่วนใหญ่ติดต้งั เครื่องหวา่ นอาหารในรถแทรกเตอร์ เคร่ืองหวา่ น
อาหารมีประสิทธิภาพสูง หว่านอาหารได้กวา้ งไกล เคร่ืองให้อาหารทางานด้วยเครื่องยนต์ หรือ
มอเตอร์ไฟฟ้ า มีสวิตซ์ควบคุมช่วงเวลาการหว่านอาหาร ระหว่างรถเคล่ือนที่ผูข้ บั ข่ีสามารถ
ปฏิบตั ิงานหวา่ นอาหารไปดว้ ยพร้อม ๆ กนั
ปัญหาที่เครื่องให้อาหารแบบอตั โนมตั ิปล่อยอาหารท้งั ท่ีปลาไม่ตอ้ งการเป็ นสาเหตุทาให้
อาหารเหลือ ปัญหาน้ีมกั เกิดข้ึนเน่ืองจากกาหนดเวลาในการใหอ้ าหารถ่ีเกินไป หรือกาหนดปริมาณ
อาหารท่ีใหแ้ ต่ละคร้ังมากเกินไป แต่การใชเ้ คร่ืองให้อาหารประจาที่ท้งั แบบอตั โนมตั ิและแบบตาม
ความตอ้ งการของสัตวน์ ้า ช่วยประหยดั แรงงานและสามารถควบคุมให้สัตวน์ ้าไดร้ ับอาหารในเวลา
พร้อมกนั หรือใกลเ้ คียงกนั
เน่ืองจากวิธีการให้อาหารแบบต่าง ๆ ดงั กล่าวมาแลว้ มีคุณสมบตั ิเฉพาะตวั และมีท้งั ขอ้ ดี
และขอ้ เสีย จึงตอ้ งพิจารณาเลือกใชว้ ธิ ีการท่ีสอดคลอ้ งกบั นิสัยการกินอาหารของสัตวน์ ้าแต่ละชนิด
ให้มากที่สุด โดยทว่ั ไปเม่ือให้อาหารลงไปในน้า สัตวน์ ้าจาพวกกินเน้ือจะกินอาหารทนั ทีที่ผิวน้า
และมกั จะไม่ตามลงไปกินอาหารจมลงสู่ก้นบ่อ กรณีน้ีควรให้อาหารเป็ นจุดหรือเป็ นที่ ตลอด
ช่วงเวลาการใหอ้ าหาร แต่ตอ้ งใหห้ ลาย ๆ จุดตามขนาดของบ่อ ส่วนสัตวน์ ้าท่ีกินพืชจะไม่กินอาหาร
ท่ีให้ทนั ที ส่วนใหญ่จะตามไปกินอาหารที่ก้นบ่อ ดงั น้ันการให้อาหารสัตวน์ ้าประเภทน้ี นิยมใช้
วธิ ีการหวา่ นใหอ้ าหารกระจายอยา่ งสม่าเสมอทว่ั บอ่ จะให้ผลดีกวา่ การใหอ้ าหารเป็ นจุดหรือโดยใช้
เคร่ืองใหอ้ าหารแบบอตั โนมตั ิ
4.2 ขอ้ ควรพจิ ารณาในการใหอ้ าหารสตั วน์ ้า มี ดงั น้ี
4.2.1 พฤติกรรมการกินอาหาร ควรทราบพฤติกรรมการกินอาหารของสัตวน์ ้า เช่น
พฤติกรรมความตอ้ งการกินอาหารและพฤติกรรมเมื่อกินอาหารอ่ิม เพ่ือจะไดใ้ หอ้ าหารในปริมาณที่
เหมาะสม
4.2.2 การฝึ กสัตวน์ ้าให้กินอาหาร ควรฝึ กให้สัตวน์ ้าไดก้ ินอาหารเป็ นเวลาทุกวนั
และสม่าเสมอ การฝึ กเช่นน้ีเพ่ือให้สัตวน์ ้าไดอ้ าหารอยา่ งทวั่ ถึง และควรให้อาหารประจาท่ีบริเวณ
เดียว เพอ่ื ฝึกใหส้ ัตวน์ ้ากินอาหาร ซ่ึงช่วยลดการเน่าเสียของน้าและพ้นื บอ่
4.2.3 การกระตุน้ การกินอาหารของสัตวน์ ้า ควรมีการกระตุน้ การกินดว้ ยการให้
อาหารสดในบางม้ือ เพ่ือเป็นการกระตุน้ ใหส้ ัตวน์ ้ามีความตอ้ งการอยากกินอาหารตลอดเวลา
4.2.4 ตน้ ทุนอาหารสัตวน์ ้า ควรพิจารณาตน้ ทุนอาหารกบั ราคาสัตวน์ ้าที่เล้ียง หาก
อาหารมีราคาสูงแต่สัตวน์ ้ามีราคาต่า ตอ้ งเลือกใช้อาหารท่ีมีราคาถูกกว่า แมว้ า่ จะไดผ้ ลผลิตลดลง
250
กต็ าม หรือการใหอ้ าหารท่ีมีโปรตีนต่ากวา่ ที่สตั วน์ ้าตอ้ งการ เพื่อเป็ นการลดตน้ ทุนค่าอาหารสัตวน์ ้า
อีกทางหน่ึงได้
4.2.5 การเปลี่ยนอาหารชนิดใหม่ ไม่ควรเปล่ียนทนั ที ควรฝึ กให้สัตวน์ ้าคุน้ เคยกบั
อาหารใหม่ระยะ 3-4 วนั จึงทาการเปลี่ยนอาหารท้งั หมด ในระหว่างการเล้ียงสัตวน์ ้า ไม่ควร
เปลี่ยนแปลงอาหารท้งั หมดทนั ที เพราะจะทาใหส้ ัตวน์ ้าไม่ยอมรับอาหารใหม่ได้
4.2.6 หมน่ั สุ่มเช็คอตั ราการแลกเน้ือและอตั ราการเจริญเติบโต ในระหวา่ งการเล้ียง
สัตวน์ ้า ผเู้ ล้ียงตอ้ งหมน่ั สุ่มเช็คอตั ราการแลกเน้ือและอตั ราการเจริญเติบโต เช่น น้าหนกั เฉล่ีย ทุก ๆ
5-10 วนั เพื่อนาผลท่ีไดม้ าประเมินอตั ราการเจริญเติบโต และอตั ราการแลกเน้ือ เป็ นการประเมิน
ประสิทธิภาพการให้อาหาร หากไม่เหมาะสมควรปรับปรุงวิธีการให้อาหารต่อไป เช่น ให้อาหาร
บ่อยคร้ังข้ึน หรือปรับเปล่ียนสูตรอาหาร เป็นตน้
4.2.7 ขนาดอาหาร ให้อาหารที่มีขนาดพอดีกบั ปากและเพียงพอกบั ความตอ้ งการ
ของสัตวน์ ้า โดยสัตวน์ ้าขนาดเล็กควรไดร้ ับอาหารต่อวนั มากและให้บ่อยคร้ัง ส่วนสัตวน์ ้าขนาด
ใหญ่ข้ึนควรใหป้ ริมาณอาหารและจานวนคร้ังท่ีใหอ้ าหารต่อวนั ลดลง
4.2.8 ควรสร้างกระบะสาหรับใส่อาหาร ใส่อาหารให้สัตวน์ ้ากิน เม่ือสัตวน์ ้ากิน
อาหารไม่หมด ตอ้ งเกบ็ อาหารที่เหลือข้ึนเพ่ือป้ องกนั อาหารเหลือซ่ึงเป็ นสาเหตุใหน้ ้าเน่าเสียได้
5. ปริมาณการให้อาหาร การคานวณและปรับปริมาณการให้อาหารสัตว์นา้
5.1 ปริมาณการใหอ้ าหารสัตวน์ ้า
ความสาเร็จในการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้า นอกจากจะตอ้ งเตรียมบ่อท่ีดี เตรียมน้าในบ่อที่ดี
การคดั เลือกลูกพนั ธุ์สตั วน์ ้าที่ดี อาหารและปริมาณอาหารก็เป็ นอีกปัจจยั หน่ึงท่ีมีความสาคญั ต่อการ
เพาะเล้ียงสัตวน์ ้า การเล้ียงสตั วน์ ้าบางชนิด ตน้ ทุนที่เกี่ยวกบั อาหารอาจจะมากถึง 50 เปอร์เซ็นตข์ อง
ตน้ ทุนท้งั หมด ดงั น้ันผูป้ ระกอบการธุรกิจฟาร์มสัตวน์ ้าจะตอ้ งเขา้ ใจเก่ียวกบั อาหารสัตวน์ ้า และ
วธิ ีการให้อาหารสัตวน์ ้าตลอดจนตอ้ งเรียนรู้ลกั ษณะนิสัย และพฤติกรรมการกินอาหารของสัตวน์ ้า
ท่ีเล้ียงดว้ ย
การท่ีจะทราบวา่ ปริมาณอาหารท่ีให้สัตวน์ ้าน้นั เพียงพอหรือไม่ ซ่ึงปริมาณอาหารที่ให้จะ
เพียงพอหรือไม่เป็นสิ่งที่สังเกตยาก เพราะสัตวน์ ้าที่เล้ียงอาศยั อยใู่ นน้าทาใหไ้ ม่สามารถมองเห็นได้
ชดั เจนเหมือนกบั การให้อาหารสัตวบ์ ก ปริมาณอาหารท่ีให้มีความสาคญั ต่อการเจริญเติบโตของ
สัตวน์ ้าเป็นอยา่ งมาก กล่าวคือ ถา้ ใหป้ ริมาณนอ้ ยหรือไม่พอกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้าจะมีผลทา
ให้สัตว์น้าท่ีเล้ียงเจริญเติบโตช้า แต่ถ้าให้อาหารปริมาณมากเกินไป สัตวน์ ้ากินอาหารไม่หมด
อาหารท่ีเหลืออยู่จะเป็ นสาเหตุสาคญั ทาให้น้าในบ่อเล้ียงเน่าเสีย และยงั เป็ นการสิ้นเปลืองอาหาร
โดยเปล่าประโยชนแ์ ละทาใหต้ น้ ทุนการผลิตสตั วน์ ้าสูงดว้ ย
251
5.2 การคานวณปริมาณการใหอ้ าหาร
ดงั ท่ีได้กล่าวมาแล้วขา้ งต้นว่าปริมาณอาหารที่ให้กบั สัตวน์ ้า จะต้องพอดีกับความ
ตอ้ งการของสตั วน์ ้า เพราะถา้ ใหป้ ริมาณนอ้ ยเกินไปไม่เพียงพอกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้าแลว้ จะ
ทาให้สัตว์น้าเจริญเติบโตช้า อ่อนแอและเป็ นโรคตายในที่สุด สัตว์น้าบางชนิดถ้ามีอาหาร
ไม่เพยี งพอ ก็อาจจะกินกนั เองได้ แต่ถา้ ให้อาหารปริมาณเกินความตอ้ งการของอาหารที่เหลืออาจมี
ผลทาใหน้ ้าเสีย ดงั น้นั การให้อาหารให้ปริมาณพอดีกบั ความตอ้ งการของสัตวน์ ้าจะตอ้ งมีการปรับ
ปริมาณหรือคานวณให้พอดีกบั ความตอ้ งการ ซ่ึงอาจจะมีหลายวิธีการและแตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั
ผเู้ ล้ียงจะนาแนวทางใดมาใช้ อาจมีแนวทางปฏิบตั ิดงั น้ี
5.2.1 โดยการคาดคะเนจากการกินอาหารของสตั วน์ ้าแตล่ ะชนิด วธิ ีน้ีผเู้ ล้ียงจะตอ้ ง
ใช้วิธีการสังเกตการณ์กินอาหารของสัตวน์ ้าเป็ นหลกั ว่าสัตวน์ ้าท่ีเล้ียงกินอาหารอ่ิมหรือยงั วิธีน้ี
จะใชส้ ังเกตจากสตั วน์ ้าไดบ้ างชนิดเท่าน้นั ตวั อยา่ ง เช่น การกินอาหารของปลาดุกดา้ นน้นั สังเกตได้
วา่ เม่ือหวา่ นอาหารลงไปในบอ่ ปลาดุกดา้ นจะแยง่ กนั กินอาหารเป็นฝงู จนทาใหน้ ้าแตกกระจาย และ
มีเสียงดงั และเมื่อปลาดุกดา้ นกินอาหารอ่ิมแลว้ จะแยกฝงู ออกไปเสียงดงั ที่เกิดจากการแยง่ อาหารก็
หายไป และถา้ หวา่ นอาหารเพิ่มลงไปอีกปลาดุกดา้ นก็จะไม่เขา้ มากินอาหารแลว้ หรืออาจมีจานวน
ปลาเขา้ มากินอาหารนอ้ ยมาก ดงั น้นั เราก็จะทราบปริมาณอาหารท่ีจะให้ และการให้อาหารในวนั
ต่อไปเรากต็ อ้ งปรับใหม้ ากข้ึนหรือนอ้ ยลงกจ็ ากการสังเกตเวลากินอาหารนนั่ เอง
5.2.2 การคานวณปริมาณอาหารท่ีให้ท้งั หมด โดยใช้สูตรคานวณ ซ่ึงจะตอ้ งทราบ
ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ขนาดของสัตวน์ ้าที่เล้ียงระยะเวลาการเล้ียง ปริมาณอาหารท่ีให้ ซ่ึงสูตรท่ีนิยมใชใ้ น
การคานวณ คือ
R = 1 DF
S
และ N = logW log I
log R
R คือ อตั ราการเปลี่ยนน้าหนกั ในช่วงระยะเวลาก่อนการปรับการให้อาหาร
D คือ จานวนวนั ที่ใหอ้ าหารก่อนมีการปรับการให้อาหาร
F คือ อตั ราการใหอ้ าหารตอ่ วนั (คิดต่อ 1 หน่วย)
S คือ คา่ การเปลี่ยนอาหารเป็นเน้ือ
N คือ จานวนคร้ังของการปรับการใหอ้ าหาร
W คือ น้าหนกั สุดทา้ ย
I คือ น้าหนกั เริ่มตน้
252
ตัวอย่าง ถา้ ตอ้ งการเล้ียงปลาดุกดา้ นเป็นเวลา 112 วนั โดยการใหอ้ าหารสาเร็จรูปชนิดเมด็ ลอยน้าใน
อตั รา 3 เปอร์เซ็นต์ของน้าหนกั ตวั ปลาต่อวนั และปรับปริมาณอาหารที่ให้ปลากินทุก 14 วนั ให้
อาหารดงั กล่าวมีค่าอตั ราการเปลี่ยนอาหารเป็ นเน้ือเท่ากบั 1.2 น้าหนกั เร่ิมแรกที่ปล่อยปลาดุกดา้ น
ลงเล้ียงมีค่า 50 กิโลกรัม อยากทราบวา่ เม่ือครบระยะเวลาการเล้ียงแลว้ ปลาดุกดา้ นควรมีน้าหนกั
เทา่ ใด และตอ้ งใชอ้ าหารท้งั หมดเทา่ ใด
จากสูตร R = 1 DF
D = 14,
S
F = 3 = 0.03, S = 1.2
100
R = 1 (14x0.03)
1.2
= 1.35
จากสูตร N = logW log I
จากโจทย์
log R
N = 112 = 8
14
I = 50, R = 1.35
แทนค่า 8 = logW log 50
log1.35
logW = 8log 1.35 + log 50
(เมื่อ log1.35 = 0.1303 และ log50 = 1.6989)
ดงั น้นั logW = 1.0424 + 1.6989 = 2.7413
(เมื่อคา่ antilog 2.7413 = 551.18)
ดงั น้นั W = 551.18
สรุป เมื่อเล้ียงปลาดุกดา้ นครบ 112 วนั จะไดป้ ลาดุกดา้ นน้าหนกั ท้งั หมด 551.18 กิโลกรัม
และใชอ้ าหารท้งั หมด = 551.18 x 1.2 = 661.41 กิโลกรัม
การคานวณปริมาณการให้อาหารต่อวนั ซ่ึงตอ้ งทราบขอ้ มูลเกี่ยวกบั จานวนสัตวน์ ้าในบ่อ
เล้ียง ขนาดสัตวน์ ้าในบ่อเล้ียง และปริมาณอาหารท่ีสัตวน์ ้าตอ้ งการ (เปอร์เซ็นต์การกินอาหารต่อ
วนั ) สูตรท่ีใชค้ านวณมีดงั น้ี
น้าหนกั อาหารท่ีใหก้ ินตอ่ วนั = จานวนสัตวน์ ้าในบ่อ x น้าหนกั สัตวน์ ้า/ตวั x การกินอาหาร
100
253
ตัวอย่าง การคานวณปริมาณอาหารท่ีใหก้ ุง้ กินตอ่ วนั ในบ่อขนาด 3 ไร่ (3x1,600 ตารางเมตร) ซ่ึงทา
การสุ่มหาปริมาณกุง้ ท่ีเหลือในบ่อโดยการทอดแหท้งั หมด 10 คร้ัง รัศมีของแหเท่ากบั 0.9 เมตร
น้าหนกั และจานวนกงุ้ จากการทอดแห 10 คร้ัง มีดงั น้ี
จานวนคร้ัง นา้ หนัก (กรัม) จานวน (ตัว)
แหที่ 1 760 85
แหที่ 2 830 98
แหที่ 3 935 102
แหท่ี 4 702 70
แหท่ี 5 725 80
แหท่ี 6 825 92
แหที่ 7 800 88
แหท่ี 8 860 97
แหท่ี 9 740 83
แหที่ 10 635 70
รวม 7,812 865
วธิ ีการคานวณ = 7,812 กรัม
น้าหนกั รวมท้งั หมด = 865 ตวั
จานวนกุง้ ท้งั หมด 10 แห
น้าหนกั เฉล่ียต่อตวั = 7,812 9.03 กรัม
พ้นื ที่แห
865
= 3.14x0.9x0.9 = 2.54 ตารางเมตร
พ้นื ที่แห 10 คร้ัง = 2.54x10 = 25.4 ตารางเมตร
หมายถึงพ้นื ท่ีท้งั หมด 25.4 ตารางเมตร มีกุง้ อยู่ = 865 ตวั ตวั
ฉะน้นั พ้นื ท่ีบอ่ 3x1,600 ตารางเมตร มีกงุ้ อยู่ = 865x3x1,600 ตวั
25.4
= 163,464.6