The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ สาระฯ ศาสนา ม.2 2.63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jidaporn11, 2020-12-23 05:06:17

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ สาระฯ ศาสนา ม.2 2.63

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ สาระฯ ศาสนา ม.2 2.63

1

2

คำนำ
พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียน
เป็นสาคัญซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาทักษะภาษาในการส่ือสารในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่าง เต็มศักยภาพ ซ่ึง
สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 มีหลักการพัฒนาคนไทยให้เป็นคนดี มีวินัยใน
ตนเอง ดาเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ ก้าวทันส่ือเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
พร้อมท้ังปลูกฝังให้รักท้องถิ่นและมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ไดจ้ ัดเนื้อหาท่ีทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ส่ิงเหล่านี้ ได้อย่างสมบูรณ์ในมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันที่
3 (ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3)

แผนการจดั การเรียนรู้วชิ าสงั คมศึกษา เลม่ น้ี ได้เสนอกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ท่ีนักเรียนมีโอกาส
ได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความคิดเห็น ปฏิบัติกิจกรรมอย่างอิสระ และสร้างสรรค์ มีความสุขในการเรียน ซ่ึง
ประกอบ ดว้ ยแผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา สาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ จานวน 16 แผน ใช้เวลา 40
ชัว่ โมง โดยมกี ารวดั และประเมนิ ผลท่ีถูกต้อง เพอื่ ประเมนิ ความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ของนกั เรียน

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ี คงเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ทาให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกับนักเรียน และเกิดผลดีต่อสถานศึกษา
ตลอดจนเป็นประโยชนต์ อ่ ผูท้ ส่ี นใจ

นางสาวจิดาภรณ์ ถนิ่ ตองโขบ

ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย

สำรบญั 3ข
เรือ่ ง
คานา ข
สารบญั
ตอนท่ี 1 ส่วนนำ หน้ำ

วิสยั ทัศน์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ข

วิสยั ทศั น์หลักสูตรโคกโพธิไ์ ชยศึกษา 5
วสิ ยั ทัศน์หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ 5
สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน 6
ตอนที่ 2 กำรวิเครำะห์หลักสูตร 7
ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
คาอธบิ ายรายวชิ า 10
โครงสร้างรายวชิ า 13
โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ 14
ตอนท่ี 3 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นรู้สำสนำ ศีลธรรม จรยิ ธรรม 15
หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี 1 ประวัติและควำมสำคัญของพระพุทธศำสนำ
18
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 พระพุทธศาสนาในประเทศเพอื่ นบ้าน 28
50
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การนับถอื พระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบัน
72
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา 90
109
หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ 2 พุทธประวตั ิ พระสำวก ศำสนกิ ชนตัวอยำ่ ง และชำดก
124
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พทุ ธประวัติ และชาดก 122
126
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 ประวัตพิ ทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า 147
156
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 ศาสนิกชนตวั อย่าง 164

หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ 178
142
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 พระรัตนตรยั

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 ขนั ธ์ 5

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 สมบตั ิ 4 และวบิ ัติ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 อกศุ ลกรรมบถ 10 และอบายมุข 6

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 11 สขุ 2 (สามสิ สุข และนริ ามสิ สขุ )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 สตปิ ัฏฐาน 4 และมงคล 38

หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ 4 พระไตรปิฎกและพุทธศำสนสภุ ำษิต

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13 พระไตรปิฎก

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 14 พุทธศาสนสุภาษติ

ตอนท่ี 4 แบบประเมนิ

1

วสิ ัยทัศน์หลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มุง่ พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ี
มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยึดม่ัน
ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน
รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั บนพ้ืนฐานความเชอ่ื ว่า ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

หลกั กำร

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีหลกั การที่สาคัญ ดงั นี้
1.เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติมจี ุดหมายและมาตรฐานการเรยี นร้เู ปน็
เป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้ืนฐานของความเปน็ ไทย
ควบคู่กับความเปน็ สากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถิน่

4. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่มีโครงสรา้ งยืดหยนุ่ ท้งั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้

5. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั

6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุม่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ หมำย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ดงั นี้

1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. มีความรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ

3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกาลงั กาย

2

4. มคี วามรักชาติ มีจติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลกยดึ มัน่ ในวิถชี วี ติ และการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

5. มจี ติ สานกึ ในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาส่ิงแวดล้อม

มีจติ สาธารณะที่ม่งุ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสงิ่ ที่ดงี ามในสงั คม และอย่รู ่วมกันในสังคมอยา่ งมีความสุข

วสิ ยั ทัศน์โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศกึ ษำ

โรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา มุง่ พฒั นาผูเ้ รยี น ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สูค่ วามเปน็ สากล
ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายในปี 2565

พนั ธกิจ (MISSION)

1. สง่ เสริมคณุ ภาพผู้เรยี นใหใ้ หไ้ ดม้ าตรฐานการศึกษา
2. พัฒนาผ้เู รียนสู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาครูและบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชพี มุ่งสคู่ วามเป็นมืออาชีพ
4. เพมิ่ ประวิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการได้มาตรฐานโดยมสี ่วนรว่ ม
5. ส่งเสรมิ ใหผ้ บู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร และผูเ้ รยี น ดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เป้ำประสงค์ (GOAL)

1. ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม นาความรู้ อยรู่ ว่ มสังคมอยา่ งมีความสขุ
2. ผูเ้ รียนมคี ณุ ภาพตามเปาหมายของมาตรฐานสากล

3. ครู และบคุ ลากรมคี วามเปน็ มืออาชีพ

4. มีการบริหารจัดการได้มาตรฐานอยา่ งมีคณุ ภาพ โดยเนน้ การมีสว่ นร่วม ผูร้ บั บรกิ ารพึงพอใจ

5. ผ้บู รหิ าร ครู บคุ ลากร และนักเรยี นมีทักษะชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กลยทุ ธโ์ รงเรียน

1. พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
3. ส่งเสริมครแู ละบคุ ลากรสู่มอื อาชีพ
4. สง่ เสริมการบรหิ ารจัดการให้ไดม้ าตรฐานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเน้นการมสี ว่ นร่วม

5. ส่งเสริมผูบ้ ริหาร ครู บคุ ลากร และนักเรียนมีทกั ษะชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูส้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นกลุ่มสาระที่พัฒนาความคิดของมนุษย์
ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองมีวิสัยทัศน์ พร้อมที่จะแข่งขันและ
ร่วมมอื อยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงภายในปี 2554

3

พนั ธกิจ
1. บรหิ ารการจัดการเรียนการสอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม โดยยดึ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ

มุ่งเนน้ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ / ประสิทธผิ ล ตามหลกั ธรรมาภิบาล และหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. จดั บรรยากาศส่ิงแวดลอ้ มภายในโรงเรียนท่เี อ้ือต่อการเรยี นรแู้ ละสง่ เสริมการใช้แหลง่ เรียนรู้

ภายนอกโรงเรียน

3. สร้างความพร้อมและพัฒนาบุคลากรในด้านการใช้ส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้
วชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

เป้ำประสงค์
นักเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียน มีศักยภาพในการศึกษาต่อ

ประกอบอาชพี และดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข

กลยทุ ธ์
1. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ

วฒั นธรรม เชงิ บรู ณาการให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาบรรลตุ ามสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และทักษะการดารงชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ

2. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรในกล่มุ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ให้เปน็
ครมู อื อาชีพมที ักษะในการปฏิบตั งิ านสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้และพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

3. พัฒนาสมรรถนะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู้และบริหารจัดการเพื่อให้เกิด
ประโยชนส์ งู สดุ

4. จดั บรรยากาศสง่ิ แวดลอ้ มและแหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียนใหเ้ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้

5. ใช้กระบวนการวจิ ัยเพื่อพัฒนาการจดั การเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม

4

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นโคกโพธิไ์ ชยศึกษา มงุ่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังน้ี
1. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษา

ถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองเพอื่ แลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพื่อขจดั และลด
ปัญหาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไมร่ ับข้อมูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใชว้ ิธีการส่อื สาร ท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสงั คม

2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอื่ การตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ท่เี ผชิญได้
อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พนั ธแ์ ละการ
เปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใชใ้ นการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทเี่ กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทกั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ น
การดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน
สงั คมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พนั ธ์อันดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรบั ตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จักหลกี เลย่ี ง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน

5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8 ประกำร

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อ่ืนในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่อื สัตยส์ ุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งมน่ั ในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์เพิม่ เติมให้สอดคล้องตามบริบทและ
จดุ เนน้ ของตนเอง

5

ทำไมตอ้ งเรยี นสังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม

สังคมโลกมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ชว่ ยให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ วา่ มนุษยด์ ารงชีวติ อยา่ งไร ทง้ั ในฐานะปัจเจกบคุ คล และการ
อย่รู ว่ มกนั ในสงั คม การปรับตัวตามสภาพแวดลอ้ ม การจัดการทรพั ยากรที่มีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยงั ชว่ ย
ใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจถึงการพัฒนา เปลีย่ นแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จัยต่างๆ ทาใหเ้ กิดความเข้าใจใน
ตนเอง และผู้อืน่ มีความอดทน อดกลนั้ ยอมรับในความแตกตา่ ง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้
ในการดาเนินชวี ิต เป็นพลเมืองดขี องประเทศชาติ และสังคมโลก

เรียนร้อู ะไรในสงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมวา่ ดว้ ยการอยรู่ ว่ มกันในสงั คม ท่ีมคี วามเชื่อม

สัมพนั ธ์กนั และมีความแตกต่างกนั อย่างหลากหลาย เพื่อช่วยใหส้ ามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม
เปน็ พลเมืองดี มีความรบั ผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยไดก้ าหนดสาระ
ตา่ งๆไว้ ดังน้ี

 ศำสนำ ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม
ของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่
รว่ มกันอยา่ งสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบาเพ็ญประโยชน์ต่อ
สงั คมและส่วนรวม

 หน้ำท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และกำรดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็น
พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้าน
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน
สังคมไทยและสังคมโลก

 เศรษฐศำสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

 ประวัติศำสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ
มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก
เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย
วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมท่ีสาคญั ของโลก

 ภูมิศำสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ
ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนท่แี ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของส่ิง
ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสมั พันธข์ องมนษุ ยก์ บั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิง่ ที่มนษุ ย์สร้างข้ึน การ
นาเสนอข้อมลู ภูมสิ ารสนเทศ การอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มเพือ่ การพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน

6

ตำรำงวเิ ครำะห์หลกั สตู ร รำยวิชำ สังคมศกึ ษำ รหสั วิชำ ส 22103

ภำคเรยี นที่ 2 ผู้สอน นำงสำวจิดำภรณ์ ถน่ิ ตองโขบ

จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 ชว่ั โมง/สปั ดำห์ ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2

สดั สว่ นคะแนน ระหวำ่ งภำค ปลำยภำค = 70 : 30

สำระ/ มำตรำฐำน ตัวชว้ี ดั จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้

สำระที่ 1 ศำสนำ ศลี ธรรม 1. อธิบายการเผยแผ่ 1. นกั เรียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั เผย
แผ่พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ
จริยธรรม พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ี สู่ประเทศเพ่ือนบา้ น (K)
2. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายเผยแผ่
มำตรฐำน ส 1.1 รู้ และเข้ำใจประวัติ ตนนับถือสู่ประเทศเพ่ือนบา้ น พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือสู่
ประเทศเพื่อนบา้ น ได้ (P)
ควำมสำคัญ ศำสดำ หลักธรรมของ 3. นักเรียนตระหนักถงึ คุณค่าความสาคญั
ของเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่
พระพุทธศำสนำหรือศำสนำที่ตนนับ ตนนับถอื ส่ปู ระเทศเพื่อนบา้ น (A)

ถือและศำสนำอ่ืน มีศรัทธำที่ถูกต้อง

ยึดม่ัน และปฏิบัติตำมหลักธรรม

เพือ่ อยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสขุ

2. วเิ คราะห์ความสาคัญของ 1. นักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั
พระพุทธ- ศาสนา หรือศาสนาที่ พระพทุ ธ- ศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถือท่ี
ตนนับถอื ทช่ี ่วยเสรมิ สรา้ งความ ช่วยเสริมสร้างความเขา้ ใจอันดกี ับประเทศ
เขา้ ใจอนั ดกี ับประเทศเพ่ือนบ้าน เพอ่ื นบา้ น (K)

2. นกั เรียนสามารถวิเคราะห์พระพทุ ธ-
ศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือทช่ี ว่ ย
เสรมิ สรา้ งความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศ
เพ่อื นบา้ นได้ (P)
3. นกั เรียนตระหนักถงึ คุณค่าความสาคญั
ของพระพทุ ธ- ศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับ
ถือที่ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอันดีกบั
ประเทศเพ่ือนบ้าน(A)

7

สำระ/ มำตรำฐำน ตัวชวี้ ัด จุดประสงค์กำรเรยี นรู้

3. วิเคราะหค์ วามสาคัญของ 1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั
พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ี ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรอื
ตนนับถอื ในฐานะทีเ่ ป็นรากฐาน ศาสนาท่ตี นนับถือในฐานะทีเ่ ป็นรากฐาน
ของวฒั นธรรม เอกลักษณข์ อง ของวัฒนธรรม เอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละ
ชาตแิ ละมรดกของชาติ มรดกของชาติ(K)
2. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์ความสาคญั
ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับ
ถือในฐานะท่ีเป็นรากฐานของวฒั นธรรม
เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติได้
(P)
3. นกั เรียนตระหนกั ถึงคุณคา่ ความสาคัญ
ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั
ถือในฐานะท่ีเปน็ รากฐานของวฒั นธรรม
เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ (A)

4. อภปิ รายความสาคัญของพระ 1. นักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั

พทุ ธ -ศาสนา หรือศาสนาทต่ี น ความสาคญั ของพระพทุ ธ -ศาสนา หรือ

นบั ถอื กบั การพัฒนาชุมชนและ ศาสนาท่ตี นนบั ถือกับ การพัฒนาชุมชน

การจัดระเบียบสังคม และการจัดระเบียบสงั คม(K)

2. นักเรยี นสามารถอภปิ รายความสาคัญ

ของพระพุทธ -ศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับ

ถือกับ การพัฒนาชมุ ชนและการจัด

ระเบยี บสังคมได้ (P)

3. นักเรยี นตระหนกั ถึงคุณค่าความสาคญั
ของพระพทุ ธ -ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับ
ถอื กับ การพัฒนาชมุ ชนและการจัด

ระเบยี บสังคม(A)

8

สำระ/ มำตรำฐำน ตัวชวี้ ดั จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้

5. วเิ คราะห์พทุ ธประวตั ิหรือ 1. นักเรียนมคี วามรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั
ประวตั ิศาสดาของศาสนาทตี่ น พุทธประวัติหรอื ประวัตศิ าสดาของศาสนาท่ี
นับถอื ตามที่กาหนด ตนนับถือตามท่ีกาหนด (K)
2. นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์วิเคราะห์พทุ ธ
6. วิเคราะห์และประพฤติตน ประวตั หิ รือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตน
ตามแบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ิต นบั ถอื ตามท่กี าหนดได้ (P)
และข้อคิดจากประวัติสาวก 3. นักเรยี นตระหนกั ถงึ คุณคา่ ความสาคญั
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชน ของพุทธประวตั หิ รือประวตั ิศาสดาของ
ตวั อย่างตามท่กี าหนด ศาสนาทตี่ นนับถือตามท่กี าหนด (A)

1. นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการ
ดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัตสิ าวก
ชาดก/เร่ืองเล่าและศาสนิกชนตวั อยา่ ง
ตามที่กาหนด (K)
2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และประพฤติ
ตนตามแบบอยา่ งการดาเนินชวี ติ และขอ้ คิด
จากประวัตสิ าวก ชาดก/เรื่องเล่าและศา
สนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนดได้ (P)
3. นักเรียนตระหนักถงึ คุณคา่ ความสาคญั
ของการดาเนินชวี ติ และข้อคดิ จากประวตั ิ
สาวก ชาดก/เร่ืองเล่าและศาสนกิ ชน
ตัวอยา่ งตามท่กี าหนด (A)

7. อธบิ ายโครงสรา้ ง และ 1. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับ
สาระสงั เขปของพระไตรปิฎก พระไตรปิฎก หรือคัมภรี ์ของศาสนาที่ตน
หรือคมั ภีรข์ องศาสนาทต่ี นนับ นบั ถือ (K)
ถอื 2. นกั เรียนสามารถอธบิ ายโครงสร้าง และ
สาระสังเขปของพระไตรปิฎก หรอื คัมภีร์
ของศาสนาที่ตนนบั ถือได้ (P)
3. นกั เรยี นตระหนกั ถึงคุณคา่ ความสาคญั
ของพระไตรปฎิ ก หรือคมั ภีร์ของศาสนาท่ี
ตนนบั ถอื (A)

9

สำระ/ มำตรำฐำน ตัวชี้วดั สำระกำรเรียนรู้

สำระท่ี 1 ศำสนำ ศีลธรรม 8. อธบิ ายธรรมคณุ และข้อ 1. นกั เรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับ
จริยธรรม ธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔ ธรรมคณุ และข้อธรรมสาคัญในกรอบ
หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทีต่ น อรยิ สัจ ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทต่ี น
มำตรฐำน ส 1.1 รู้ และเข้ำใจ นบั ถือ ตามท่ีกาหนด เห็น นบั ถอื ตามท่ีกาหนด เหน็ คุณคา่ และ
ประวตั ิ ควำมสำคญั ศำสดำ คุณค่าและนาไปพัฒนา นาไปพฒั นา แกป้ ัญหาของชมุ ชนและ
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศำสนำหรอื แก้ปญั หาของชุมชนและสงั คม สงั คม (K)
ศำสนำทต่ี นนบั ถอื และศำสนำอื่น มี 2. นกั เรยี นสามารถอธิบายธรรมคณุ และ
ศรัทธำทถ่ี กู ตอ้ ง ยดึ มั่น และปฏิบตั ิ ข้อธรรมสาคญั ในกรอบอริยสัจ ๔ หรอื
ตำมหลักธรรม เพื่ออย่รู ว่ มกันอยำ่ ง หลกั ธรรมของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตามที่
สนั ตสิ ขุ กาหนด เห็นคุณคา่ และนาไปพฒั นา
แกป้ ญั หาของชมุ ชนและสังคมได้ (P)
3. นักเรียนตระหนกั ถึงคุณค่าความสาคัญ
ของธรรมคุณ และข้อธรรมสาคัญในกรอบ
อรยิ สัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาทต่ี น
นบั ถือ ตามทก่ี าหนด เห็นคุณคา่ และ
นาไปพฒั นา แกป้ ญั หาของชุมชนและ
สงั คม(A)

9. เหน็ คุณค่าของการพฒั นาจิต 1. นกั เรยี นมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การ
เพ่ือการเรยี นรู้และดาเนินชีวิต พัฒนาจติ การคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร (K)
ดว้ ยวิธคี ดิ แบบโยนโิ สมนสิการ 2. นกั เรียนสามารถอธิบายการพฒั นาจติ
คือ วธิ คี ิดแบบอุบายปลกุ เร้า การคดิ แบบโยนิโสมนสกิ ารได้ (P)
คณุ ธรรม และวธิ คี ดิ แบบอรรถ 3. นักเรียนเหน็ คุณค่าของการพฒั นาจิต
ธรรมสัมพนั ธ์ หรอื การพัฒนาจิต เพื่อการเรยี นรู้และดาเนนิ ชีวติ ดว้ ยวธิ คี ดิ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับ แบบโยนโิ สมนสกิ ารคือ วธิ คี ิดแบบอุบาย
ถอื ปลุกเร้าคุณธรรม และวิธคี ิดแบบอรรถ

ธรรมสมั พันธ์ หรือการพฒั นาจติ ตาม
แนวทางของศาสนาทีต่ นนับถือ (A)

10

สำระ/มำตรำฐำน ตัวช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้

สำระท่ี 1 ศำสนำ ศลี ธรรม จริยธรรม 10. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหาร 1. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั สวด
จติ และเจริญปญั ญาด้วยอานา มนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ และเจริญปัญญา
มำตรฐำน ส 1.1 รู้ และเข้ำใจประวตั ิ ปานสติ หรอื ตามแนวทางของ ด้วยอานาปานสติ หรอื ตามแนวทางของ
ควำมสำคัญ ศำสดำ หลกั ธรรมของ ศาสนาทต่ี นนบั ถือ ศาสนาท่ีตนนบั ถือ (K)
พระพทุ ธศำสนำหรอื ศำสนำทต่ี นนบั 2. นกั เรยี นสามารถสวดมนต์ แผเ่ มตตา
ถือและศำสนำอื่น มศี รทั ธำท่ีถกู ต้อง บริหารจิตและเจรญิ ปัญญาดว้ ยอานาปาน
ยึดม่นั และปฏิบัติตำมหลกั ธรรม เพือ่ สติ หรอื ตามแนวทางของศาสนาทีต่ นนบั
อยู่รว่ มกันอย่ำงสันตสิ ุข ถือได้ (P)
3. นกั เรียนตระหนกั ถึงคุณค่าความสาคญั
ของการสวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและ
เจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื ตาม
แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ (A)

11. วิเคราะหก์ ารปฏิบตั ิตนตาม 1. นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การ
หลักธรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมทางศาสนาท่ตี นนับ
เพอื่ การดารงตนอยา่ งเหมาะสม ถือ เพื่อการดารงตนอย่างเหมาะสมในกระแส
ในกระแสความเปลยี่ นแปลงของ ความเปลยี่ นแปลงของโลก และการอยู่
โลก และการอยู่ร่วมกนั อยา่ ง ร่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุข (K)
สันติสุข 2. นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์การปฏิบตั ติ น
ตามหลักธรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ เพ่อื
การดารงตนอย่างเหมาะสมในกระแสความ
เปลี่ยนแปลงของโลก และการอยู่ร่วมกนั
อย่างสนั ติสุขได้ (P)
3. นักเรียนตระหนกั ถงึ คุณค่าความสาคญั
ของการปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่
ตนนับถือ เพ่อื การดารงตนอย่างเหมาะสมใน
กระแสความเปลีย่ นแปลงของโลก และการ
อยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติสุข (A)

11

สำระ/มำตรำฐำน ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรู้

มำตรฐำน ส 1.2 1. ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คล 1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การ
ปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคล ตา่ ง ๆ
เข้ำใจ ตระหนักและปฏิบัติตน ตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาท่ตี นนับถอื ตามหลกั ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตามทก่ี าหนด
เป็นศำสนิกชนท่ีดี และธำรงรักษำ ตามที่กาหนด (K)
2. นักเรียนสามารถปฏบิ ัติตนอย่าง
พระพทุ ธศำสนำหรือศำสนำ ทตี่ นนบั เหมาะสมต่อบุคคล ต่าง ๆ ตามหลัก
ศาสนาทต่ี นนับถือ ตามที่กาหนดได้ (P)
ถอื 3. นกั เรียนตระหนักถึงคุณคา่ ความสาคัญ
ของการปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อบคุ คล
2. มมี รรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนท่ดี ี ตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาท่ตี นนับถือ ตามที่
ตามที่กาหนด กาหนด(A)
1. นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการ
3. วิเคราะหค์ ณุ คา่ ของศาสนพิธี และ มรรยาทของความเปน็ ศาสนิกชนที่ดี ตามท่ี
ปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกต้อง กาหนด(K)
2. นักเรียนมมี รรยาทของความเป็นศาสนิก
ชนที่ดี ตามทก่ี าหนด (P)
3. นกั เรียนตระหนกั ถึงคุณคา่ ความสาคัญ
ของกามรี มรรยาทของความเป็นศาสนกิ ชน
ที่ดี ตามท่ีกาหนด(A)
1. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับศา

สนพิธี และปฏบิ ัติตนได้ถกู ต้อง(K) (P)

2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์คุณค่าของศา

สนพธิ ี และปฏบิ ตั ิตนได้ถกู ต้อง(P)

3. นกั เรียนตระหนักถงึ คุณคา่ ความสาคัญ

ของศาสนพิธี และปฏบิ ตั ติ นได้ถูกต้อง (A)

12

4. อธิบายคาสอนท่เี ก่ียวเนื่องกับ 1. นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับคา
วนั สาคญั ทางศาสนา และปฏิบตั ิตน สอนที่เกยี่ วเน่ืองกับ วันสาคัญทางศาสนา
ได้ถูกต้อง (K)
2. นกั เรียนสามารถอธบิ ายคาสอนที่
เกี่ยวเนือ่ งกับวนั สาคญั ทางศาสนา และ
ปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกต้อง (P)
3. นักเรยี นตระหนกั ถึงคุณคา่ ความสาคญั
ของคาสอนที่เกย่ี วเนอ่ื งกับ วันสาคญั ทาง
ศาสนา (A)

5. อธบิ ายความแตกต่างของศาสนพธิ ี 1. นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับ

พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนา ความแตกตา่ งของศาสนพธิ ีพิธีกรรม ตาม

อื่น ๆ เพื่อนาไปสกู่ ารยอมรบั และความ แนวปฏิบัติของศาสนาอื่น ๆ เพือ่ นาไปสู่

เขา้ ใจซง่ึ กนั และกนั การยอมรบั และความเขา้ ใจซึ่งกนั และกัน

(K)

2. นักเรียนสามารถอธิบายความแตกต่าง

ของศาสนพิธีพิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติ

ของศาสนาอื่น ๆ เพอ่ื นาไปสูก่ ารยอมรบั

และความเขา้ ใจซ่งึ กนั และกัน (P)

3. นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าความสาคญั

ของความแตกตา่ งของศาสนพิธีพิธีกรรม

ตาม แนวปฏิบัติของศาสนาอ่ืน ๆ เพ่อื

นาไปส่กู ารยอมรบั และความเข้าใจซง่ึ กัน

และกัน (A)

13

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

รำยวชิ ำ สังคมศกึ ษำ รหสั วชิ ำ ส22103

ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี 2 ภำคเรยี นท่ี 2 3 ชวั่ โมง / สปั ดำห์

60 ช่ัวโมง / ภำคเรียน 1.5 หนว่ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาวิเคราะห์ความเปน็ มา การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเข้าสูป่ ระเทศตา่ ง ๆ ทั่วโลก และการนบั

ถอื พระพุทธศาสนาในประเทศเหล่านั้นในปัจจบุ ัน ศึกษาความสาคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐาน

ของ

วัฒนธรรมไทย และเอกลกั ษณ์ของชาติไทย ศึกษาและวเิ คราะห์ประวัติบคุ คลสาคัญทางพระพุทธศาสนา

ศกึ ษาหลักธรรม วเิ คราะห์ข้อมลู สารสนเทศในสังคมไทยเก่ียวกบั การทาความดีตามหลกั จรยิ ธรรมทางศาสนา

และคา่ นยิ ม ศึกษาวิเคราะห์บุคคลที่เป็นตัวอย่างกระทาความดีทางศลี ธรรมในสงั คมทวีปเอเชีย ศกึ ษา

เก่ียวกับศาสนพธิ ี พิธกี รรมภูมิปัญญาท้องถิ่นเก่ยี วกับศาสนพิธี พธิ กี รรมทางศาสนา ศึกษาวเิ คราะห์หลักการ

บรหิ ารจิต

และเจรญิ ปญั ญา

โดยกระบวนการคิดวเิ คราะห์กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอดกระบวนการสืบคน้ กระบวนการ

กลุ่มกระบวนการปฏบิ ัติกระบวนการแก้ปญั หากระบวนการเชงิ เหตผุ ลกระบวนการทางจริยธรรม

กระบวนการขัดเกลาทางสงั คม

ศกึ ษาวเิ คราะห์ความเป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธปิ ไตยในทอ้ งถิน่ ศกึ ษาเก่ียวกับสิทธมิ นษุ ยชน

เอกลักษณ์ของท้องถิ่นและชาติศึกษาค้นควา้ ระบบการเมืองการปกครองของไทยที่ใชใ้ นปัจจุบัน หลักการ

เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญฉบับปัจจบุ นั

โดยกระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการประชาธิปไตย กระบวนการแกป้ ัญหา

กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน

กระบวนการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ

เพ่ือให้ตระหนักถึงคุณค่าในความเป็นพลเมืองดีและความสาคญั ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

ทาประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติ รักประเทศชาติ รกั ท้องถ่นิ รักและภมู ใิ จในความเปน็ ไทย รู้เทา่ ทนั

สถานการณ์ มีค่านิยมท่ีดีตอ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย มรี ะเบยี บวินัย ซ่ือสตั ย์ เพื่อคุ้มครอง

ปกปอ้ งตนเองและคนอ่นื ให้ดาเนินชีวิตในสังคมได้อยา่ งสันติสขุ เหน็ คุณคา่ ในภูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทย

อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย

รหสั ตวั ช้ีวดั
ส 1.1 ม.2/1-11 ส 1.2 ม.2/1-5 ส 2.1 ม.2/1-4 ส 2.2 ม.2/1-2

รวมทั้งหมด 22 ตวั ช้ีวัด

14

โครงสรำ้ งรำยวิชำและกำหนดหน่วยกำรเรยี นรู้
รหสั ส22103 รำยวิชำ สังคมศึกษำ ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี 2
ภำคเรียนท่ี 2 เวลำเรยี น 3 ชว่ั โมง/สปั ดำห์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ลาดบั ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ เวลาเรยี น นา้ หนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน (100)
ที่ ตัวชี้วัด 31-33 10

1 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและควำมสำคญั ของ ส 1.1 ม.2/1 ม.2/2 34-39 6

พระพุทธศำสนำ ม.2/3 ม.2/4 40-42 5
-การเผยแผ่และการนบั ถือพระพุทธศาสนาใน 43-45 3
46-48 2
ประเทศเพื่อนบ้าน 49-52 8

-วเิ คราะหค์ วามสาคัญของพระพุทธศาสนา

2 หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี 2 ประวัติพระสำวก ศำสนิกชน ส 1.1 ม.2/4 ม.2/6

ตวั อยำ่ งและชำดก

-พทุ ธประวตั ิ

-ประวตั พิ ุทธสาวกพุทธสาวกิ า

-ศาสนิกชนตวั อย่าง

-ชาดก

3 หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 3 หลักธรรมทำง ส 1.1 ม.2/8

พระพทุ ธศำสนำ

-พระรัตนตรัย

-อรยิ สจั 4

4 หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ 4 พระไตรปิฎกและพุทธศำสน ส 1.1 ม.2/7 ม.2/8

สภุ ำษติ

-โครงสร้างและสาระสาคัญของพระไตรปิฎก

-พทุ ธศาสนสุภาษิต

5 หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี5 หนำ้ ทช่ี ำวพุทธและมำรยำท ส 1.2 ม.2/1 ม.2/2

ชำวพุทธ

-หน้าที่ชาวพทุ ธ

-มารยาทชาวพทุ ธ

6 หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี6 วันสำคัญทำงพระพทุ ธศำสนำ ส 1.2 ม.2/1 ม.2/4

และศำสนำพธิ ี ม.2/2
-วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา

-ศาสนาพิธี

7 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 7 กำรบรหิ ำรจติ และกำรเจรญิ ส 1.1 ม.2/9 ม.2/10 15

ปัญญำ 53-56 9
-การบริหารจติ และการเจริญปัญญา
-การเจรญิ ปญั ญาโดยการคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร 57-59 7

8 หน่วยกำรเรียนรูท้ ี่ 8กำรปฏิบตั ติ นตำมหลกั ธรรม ส 1.1 ม.2/11

ทำงพระพุทธศำสนำ
-การปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมในกระแสความ
เปล่ียนแปลงของโลก

-การปฏบิ ตั ติ นเพ่ือการอยู่รว่ มกันอยา่ งสันตสิ ุข

16

โครงสรำ้ งแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้

สงั คมศึกษำ 3 ส 22101 ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 2

ภำคเรยี นที่ 1 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต 3 ชวั่ โมง ต่อ สปั ดำห์

สดั ส่วนคะแนน ระหว่ำงภำค ปลำยภำค = 70 : 30

หน่วยกำรเรียนรู้/แผนกำร เรือ่ ง เวลำ

จัดกำรเรยี นรู้ (ช่วั โมง)

สำระกำรเรียนรู้ ศำสนำ ศีลธรรม จรยิ ธรรม 1
7
ปฐมนเิ ทศ 3
2
หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ 1 ประวตั แิ ละควำมสำคญั ของพระพุทธศำสนำ 2
5
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 พระพุทธศาสนาในประเทศเพ่ือนบา้ น 1
2
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพ่ือนบ้านในปจั จบุ ัน 2
12
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา
2
หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 2 พุทธประวตั ิ พระสำวก ศำสนิกชนตัวอยำ่ ง และชำดก 2
2
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 พุทธประวัติ และชาดก 2
2
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 ประวัตพิ ทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า 2
4
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 ศาสนกิ ชนตวั อย่าง 2
2
หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ่ี 3 หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ 1
30
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 พระรตั นตรยั

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ขนั ธ์ 5

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 สมบตั ิ 4 และวบิ ัติ 4

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 อกุศลกรรมบถ 10 และอบายมขุ 6

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11 สุข 2 (สามิสสุข และนริ ามสิ สขุ )

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 สติปฏั ฐาน 4 และมงคล 38

หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ 4 พระไตรปฎิ กและพทุ ธศำสนสุภำษติ

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 13 พระไตรปิฎก

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 พทุ ธศาสนสุภาษิต

สอบปลำยภำค

รวมท้ังส้ิน

17

หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 1
เรื่อง ประวัตแิ ละควำมสำคัญของพระพทุ ธศำสนำ

18

แผนกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ี่ 1

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 2

หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง ประวตั แิ ละควำมสำคญั ของพระพทุ ธศำสนำ ภำคเรียนท่ี 2

แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่ 1 พระพุทธศำสนำในประเทศเพ่ือนบ้ำน เวลำ 3 ชั่วโมง

ผสู้ อน นำงสำวจิดำภรณ์ ถนิ่ ตองโขบ

1. จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้
1.1 ตัวช้วี ดั
ส 1.1 ม.2/1อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือสู่ประเทศเพ่ือนบา้ น
12 จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศพมา่ อินโดนีเซีย มาเลเซยี สงิ คโปร์ ลาว

กัมพชู า และเวียดนามได้
2) อธบิ ายสภาพการนบั ถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจบุ ันได้

2 สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด
พระพุทธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ สปู่ ระเทศเพ่ือนบ้าน สง่ ผลให้มกี ารเสริมสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดีระหว่าง

ประเทศเพื่อนบ้าน

3 สำระกำรเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
-การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สูป่ ระเทศเพื่อนบา้ นและการนบั ถือพระพุทธศาสนาของ

ประเทศเพ่ือนบ้านในปจั จบุ นั

4 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3) ทกั ษะการจดั กล่มุ
2) ทกั ษะการตีความ 4) ทกั ษะการสร้างความรู้
4.3ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

5 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์/คำ่ นิยม
5.1คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1)มวี ินยั รับผิดชอบ
2)ใฝ่เรียนรู้
3)มุ่งมัน่ ในการทางาน

19

6. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้

วิธีสอนตำมรปู แบบ โมเดลซปิ ปำ (CIPPA Model)

ขนั้ ท่ี 1 ทบทวนควำมรเู้ ดิม

1. ครตู ั้งคาถามให้นักเรยี นตอบ หรือเป็นการทายปญั หา ตวั อยา่ งคาถาม เชน่
- ประเทศใดบา้ งในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่นี ับถือ พระพุทธศาสนา
- เพราะเหตุใด นักเรยี นจึงคดิ ว่า ประเทศเหล่านั้นนับถอื พระพุทธศาสนา
2. ครเู ฉลยคาตอบใหน้ ักเรียนร้วู ่า ประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่ีประชาชนส่วนใหญย่ งั นบั ถือ

พระพุทธศาสนาหรือนับถือพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ ได้แก่ พม่า สิงคโปร์ ลาว กมั พูชา
เวียดนาม และไทย
3. ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรยี นเข้าใจว่า พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผ่ เข้ามาในดนิ แดนต่างๆ ในเอเชียตะวันออก
เฉยี งใต้ ได้แก่ พม่า อินโดนเี ซีย มาเลเซีย สงิ คโปร์ ลาว กมั พูชา และเวียดนาม แต่ในบางประเทศมี
อุปสรรคหลายประการท่ที าใหก้ ารเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาไมป่ ระสบความสาเรจ็
4. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด

เพราะเหตุใด ประเทศเพอ่ื นบ้านของไทยหลายประเทศจึงนับถือพระพุทธศาสนา
(เพราะพระมหินทเถระและคณะได้ไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนายังลงั กา ซึง่ ทาให้เป็นศูนย์กลางในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาไปยงั ประเทศต่างๆ บริเวณเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้)

ขน้ั ท่ี 2 แสวงหำควำมรู้ใหม่
5. ครูแบ่งนกั เรียนเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ 6 คน คละกนั ตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเกง่ ปาน

กลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน เรยี กกลุ่มนว้ี ่า กลุ่มบ้าน ในกรณที นี่ กั เรียนในห้องมีจานวนมากอาจมีหลายกลมุ่
ให้สมาชิกแต่ละคนเลอื กหมายเลขประจาตวั 1-6 ตามลาดบั พรอ้ มต้ังชือ่ กลุ่ม

6. ครูให้นกั เรยี นท่มี หี มายเลขเดยี วกนั รวมกนั เปน็ กลุ่มใหม่ เรยี กกลุ่มน้วี ่า กลุ่มผเู้ ชย่ี วชาญ โดยให้นักเรยี น
นัง่ รวมกลุ่มกนั เพ่อื รว่ มกันศึกษาความรูเ้ ก่ยี วกบั การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศเพอ่ื นบา้ น จาก
หนงั สอื เรยี น หนงั สือคน้ คว้าเพ่มิ เตมิ ห้องสมดุ และแหล่งข้อมูลสารสรเทศ ตามหัวขอ้ ท่กี าหนดให้ ดังนี้
- กลุ่มหมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรอ่ื ง พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศพม่า
- กลมุ่ หมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรือ่ ง พระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศอินโดนีเซีย
- กลุ่มหมายเลข 3 ศกึ ษาความรู้เรอื่ ง พระพุทธศาสนาเขา้ สูป่ ระเทศมาเลเซีย
- กลุ่มหมายเลข 4 ศึกษาความร้เู รอื่ ง พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศสิงคโปร์
- กล่มุ หมายเลข 5 ศึกษาความร้เู รอ่ื ง พระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศลาว
- กลมุ่ หมายเลข 6 ศกึ ษาความรู้เร่อื ง พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศกัมพชู าและเวยี ดนาม

7. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศึกษาความรตู้ ามหัวข้อท่ีไดร้ บั มอบหมาย แลว้ บันทึกความรู้ท่ไี ดจ้ ากการศึกษา
ลงในแบบบันทึกการอ่าน

ข้นั ที่ 3 ศกึ ษำทำควำมเขำ้ ใจขอ้ มูล/ควำมรู้ใหม่ และเช่ือมโยงควำมร้ใู หม่กับควำมรู้เดิม
8. สมาชกิ กลมุ่ ผเู้ ช่ยี วชาญรว่ มกันศึกษาทาความเข้าใจความร้ใู หม่ และเช่ือมโยงความรู้ใหม่กบั ความร้เู ดิม

และช่วยกันทาใบงาน ดงั นี้
- กลุ่มหมายเลข 1 ทาใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศพมา่
- กลมุ่ หมายเลข 2 ทาใบงานที่ 1.2 เร่อื ง พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศอินโดนเี นยี

20

- กล่มุ หมายเลข 3 ทาใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง พระพุทธศาสนาเขา้ ส่ปู ระเทศมาเลเซยี
- กลุ่มหมายเลข 4 ทาใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศสิงคโปร์
- กลมุ่ หมายเลข 5 ทาใบงานที่ 1.5 เรื่อง พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศลาว
- กลุ่มหมายเลข 6 ทาใบงานท่ี 1.6 เรื่อง พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศกมั พูชาและเวยี ดนาม

9. สมาชิกกลุ่มผเู้ ช่ียวชาญช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของ ใบงาน และชว่ ยกนั สร้างความเขา้ ใจ
เก่ียวกบั เนอ้ื หาสาระที่กลุ่มรบั ผิดชอบจนมคี วามกระจ่างชัดเจนดี แล้วกลบั เข้าสกู่ ลุม่ บ้าน

10. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ
นักเรยี นคดิ ว่า ประชาชนในประเทศเพื่อนบา้ นประเทศใดที่มคี วามเครง่ ครัดในการปฏิบตั ิตนตาม
หลกั ธรรม ของพระพทุ ธศาสนามากทส่ี ดุ อธบิ ายเหตุผล

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ น ดลุ ยพนิ จิ ของครูผู้สอน)

ข้นั ท่ี 4 แลกเปลีย่ นควำมรู้ควำมเข้ำใจกบั กลุ่ม
11. สมาชิกกลุ่มบา้ นแต่ละหมายเลขผลดั กันอธบิ ายความรู้ และสรุปคาตอบในใบงานที่ตนรับผดิ ชอบ

ให้กับสมาชิกหมายเลขอื่นฟงั เรยี งตามลาดบั หมายเลข 1-6 หรืออาจให้ถา่ ยทอดความรู้แกเ่ พ่ือนตามความ
สมคั รใจ โดยไม่ต้องเรียงตามหมายเลขก็ได้ แต่ทุกคนต้องถ่ายทอดความรู้จนครบทุกคน หากใครไมเ่ ข้าใจใน
เรื่องใดให้ผลัดกันถามสมาชกิ ผู้ถา่ ยทอดความรู้ จนกระท่ังมีความเขา้ ใจตรงกัน

ขน้ั ที่ 5 สรุปและจดั ระเบียบควำมรู้
12. ครใู ห้นกั เรยี นทุกคนผลัดกนั สรปุ ความรเู้ กย่ี วกับการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศเพื่อนบ้าน

แล้วร่วมกันเขยี นแผนผังความคดิ เรอ่ื ง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าส่ปู ระเทศเพ่ือนบ้าน ลงในกระดาษท่คี รู
แจกให้

ข้ันท่ี 6 ปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงำน
13. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานในใบงานที่ 1.1-1.6 โดยวิธกี ารจับสลาก ครูและเพื่อนกลุ่ม

อ่นื รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง และใหข้ ้อเสนอแนะ
14. นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ

นักเรยี นคิดว่า พระพุทธศาสนามีส่วนสาคัญในการเสรมิ สร้างลกั ษณะนิสัยของคนไทยอย่างไรบ้าง จง
ยกตัวอยา่ งพรอ้ มเหตุผล

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยู่ใน ดลุ ยพนิ ิจของครผู ูส้ อน)

ขัน้ ท่ี 7 ประยุกตใ์ ช้ควำมรู้
15. ครูแนะนาให้นกั เรียนนาความรู้เก่ียวกบั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สูป่ ระเทศเพอ่ื นบ้าน ไปใช้เป็น

พ้นื ฐานความรู้ในการศึกษาเกี่ยวกับการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจบุ นั

21

7 การวัดและประเมินผล

วธิ กี ำร เครอ่ื งมอื เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการ แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้
(ประเมนิ ตามสภาพจริง)
เรียนรทู้ ี่ 1 ท่ี 1
ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1.2 ใบงานท่ี 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานท่ี 1.3 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1.4 ใบงานท่ี 1.4 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1.5 ใบงานท่ี 1.5 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1.6 ใบงานที่ 1.6 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจแบบบันทกึ การอา่ น แบบบนั ทึกการอ่าน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล รายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ มั่นใน
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
การทางาน

8. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียน พระพุทธศาสนา ม.2
2) ใบงานที่ 1.1 เร่ือง พระพทุ ธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศพมา่
3) ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง พระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ประเทศอนิ โดนเี ซยี
4) ใบงานท่ี 1.3 เร่ือง พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศมาเลเซีย
5) ใบงานที่ 1.4 เรือ่ ง พระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศสงิ คโปร์
6) ใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง พระพทุ ธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศลาว
7) ใบงานที่ 1.6 เรอ่ื ง พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศกัมพชู าและเวียดนาม
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมดุ
2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
- http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/01
- http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/02

แบบทดสอบก่อนเรยี น 22
เรื่อง ประวัตแิ ละควำมสำคัญของพระพุทธศำสนำ

คำชี้แจง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. การท่พี ระเจ้าอนรุ ุทมหาราชสงั่ ใหท้ าลายเมือง ค. องค์กรยวุ พุทธมีการอบรมและบรรยาย
สธุ รรมวดี และนาพระสงฆม์ อญพรอ้ มพระไตรปิฎกขึ้น เปน็ ภาษาองั กฤษและภาษาจนี กลาง
ไปยงั เมืองพกุ าม มผี ลสาคัญในขอ้ ใด ง. ผลติ พระพิมพ์ดินดบิ และเครื่องรางของขลัง
ก. พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติพม่า และพระพุทธรปู พระโพธสิ ัตว์
ข. มกี ารทาสังคายนาพระไตรปิฎกเป็นคร้งั แรก 6.สลุ ตา่ นมัลโมชาห์ แหง่ มาเลเซีย มสี ว่ นทาใหอ้ ิทธิพล
ค. พระมหากษัตรยิ ท์ รงมีอทิ ธิพลต่อ ของพระพุทธศาสนาเส่อื มลงในดนิ แดนมาเลเซยี
พระพุทธศาสนา อยา่ งไร
ง. พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทแผ่ขยายที่ ก. พระองคเ์ ลื่อมใสศาสนาอิสลาม
อาณาจักรพม่า ข. สง่ั หา้ มประชาชนศกึ ษาธรรมะของ
2. กษัตริย์พมา่ พระองค์ใด ทรงเป็นองค์อุปถัมภใ์ น พระพทุ ธศาสนา
การทาสังคายนาพระธรรมวนิ ยั คร้ังที่ 5 ค. ต่อตา้ นการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในดินแดน
ท่เี มืองมัณฑะเลย์ ของมาเลเซยี
ก. พระเจ้ามินดง ง. ส่งั ใหท้ หารทาลายศาสนสถาน พระพทุ ธรูป
ข. พระเจ้ามนูหะ และใหป้ ระชาชนนบั ถือศาสนาอสิ ลาม
ค. พระเจา้ อนุรุทธมหาราช 7. พระพุทธศาสนาในประเทศลาวเสื่อมลงเนื่องจาก
ง. พระเจ้าธรรมเจดีย์ศรีปิฎกธร สาเหตุ ในขอ้ ใด
3. หลักฐานในข้อใดทีแ่ สดงวา่ พระพทุ ธศาสนา ก. ลาวถูกปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์
นิกายมหายานเคยเปน็ ทน่ี ับถือกันอยา่ งแพรห่ ลายใน ข. ประชาชนขาดความศรทั ธาเล่ือมใสใน
ประเทศอินโดนีเซีย พระพุทธศาสนา
ก. กษตั รยิ ร์ าชวงศ์ไศเลนทร์ปกครองอาณาจกั ร ค. พระมหากษัตรยิ ์ของลาวบางพระองค์ไม่
ศรีวชิ ัย เลอื่ มใสพระพุทธศาสนา
ข. พระโสณเถระมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ง. ลาวเป็นอาณานคิ มของฝรั่งเศส และตอ่ มาถกู
ค. พระพิมพ์ดนิ ดบิ และรปู พระโพธิสัตว์ ปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์
ง. การสรา้ งพระพุทธรูปศิลปะปาละ 8. ในสมัยพระมหากษัตรยิ ์ของกัมพชู าพระองคใ์ ดท่ี
4. ในสมยั ของพระเจ้าไชยเชษฎาธริ าช ทรงสรา้ งส่ิง ได้รับเอาพระพุทธศาสนานิกายธรรมยุตจากเมืองไทย
สาคัญเก่ียวกับพระพุทธศาสนาในข้อใด มาประดิษฐานทีป่ ระเทศกัมพูชาเปน็ ครงั้ แรก
ก. พระพทุ ธรปู พระองค์ต้ือ วดั พระแก้ว ก. พระเจา้ หรริ ักษ์รามาธิบดี
ข. พระพุทธรูปปัญจโลหะ ข. พระเจ้าชัยวรมันที่ 1
ค. วัดมโนรมย์ วดั อโุ บสถ ค. พระเจ้าชยั วรมันที่ 7
ง. พระบาง ง. พระเจา้ ตามลนิ ทะ
5. การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในสงิ คโปร์มี 9. ในรชั สมยั ของพระเจ้าชยั วรมนั ที่ 7 ของกมั พชู า
หลากหลายวิธีการ ยกเวน้ ข้อใด ไดท้ านบุ ารงุ พระพุทธศาสนาหลายประการ ยกเวน้ ข้อ
ก. การแปลตาราและคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา ใด
เป็นภาษาตา่ งๆ ก. ทรงสรา้ งนครธม
ข. จัดตงั้ โรงเรยี นสอนพระพุทธศาสนา และ ข. ทรงสร้างปราสาทบายน
โรงเรยี นอบรมศาสนจารย์ ค. ทรงจดั ตั้งโรงเรียนสอนปรยิ ตั ิธรรมชน้ั สงู
ง. ทรงรับเอาพระพทุ ธศาสนานกิ ายลงั กาวงศ์
เข้ามาเผยแผ่

10. สาเหตุสาคญั ท่ที าใหพ้ ระพุทธศาสนาในประเทศ ค. จดั กิจกรรมพระพทุ ธศาสนากับนานาชาติ 23
กมั พชู าเส่ือมลง คืออะไร ง. เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเปน็ ภาษาอังกฤษ

ก. พระมหากษัตริย์ไม่เลื่อมใสใน 15. คาสอนของพระพทุ ธศาสนาให้รู้จักละอายและ

พระพทุ ธศาสนา เกรงกลวั ตอ่ การทาช่วั มีผลสาคญั ในเร่ืองใด
ข. ประชาชนขาดความศรทั ธาใน
ก. การป้องกนั การทาผิด
พระพุทธศาสนา ข. ความรบั ผิดชอบในการทางาน
ค. ลทั ธคิ อมมิวนิสต์ และนโยบายของเฮงสัมริน ค. การปฏบิ ัติตามกฎระเบียบของสงั คม
ง. การเปลี่ยนแปลงการปกครองของกมั พูชา ง. การทางานร่วมกันในสงั คมด้วยความสามัคคี
11.ปจั จบุ ันประเทศเพ่ือนบา้ นของไทยในข้อใดยงั นบั 16.การที่ชาวไทยมพี ธิ ีกรรมทางพระพทุ ธศาสนาตา่ งๆ
ถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติทุกประเทศ ในเรื่องการบวช แตง่ งาน ทาบญุ อายุ พธิ ศี พ แสดงถงึ
ก. พม่า ลาว มาเลเซีย พระพทุ ธศาสนามคี วามสาคัญตอ่ เร่ืองใด
ข. มาเลเซยี พม่า สิงคโปร์ ก. ความเปน็ สิริมงคล
ค. อนิ โดนีเซีย ลาว พมา่ ข. วงจรชีวติ ของบุคคล
ง. พมา่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม สงิ คโปร์ ค. ความเชื่อของชาวพุทธ
12. ข้อใดแสดงถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนาท่ี ง. การพัฒนาทางวัตถุคู่กบั จติ ใจ
สง่ ผลในดา้ นศลิ ปะ 17. สถานการณ์เกยี่ วกบั การนับถือพระพุทธศาสนา
ก. พิธีลอยกระทง ในประเทศมาเลเซยี ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง
ข. ประเพณสี งกรานต์ ก. ชาวพุทธในมาเลเซยี นบั ถือพระพุทธศาสนา
ค. สวดมนต์เปน็ ภาษาบาลี
ง. จติ รกรรมฝาผนังในวดั โพธิ์ นกิ ายมหายาน และเถรวาท
13. พทุ ธสมาคมแห่งสงิ คโปร์สว่ นใหญ่มีจดุ ประสงค์ ข. มกี ารจัดต้ังสมาคมทีด่ าเนินกิจกรรมทาง
สาคัญในเร่ืองใดมากที่สดุ
ก. เผยแผ่และดาเนนิ กจิ กรรมทาง พระพทุ ธศาสนาหลายสมาคม
ค. พระพุทธศาสนามบี ทบาทในหมชู่ าวจีน ไทย
พระพทุ ธศาสนาและกจิ การทางสาธารณ
กศุ ล พม่าซึ่งเป็นพลเมืองของมาเลเซยี
ข. จดั พิธกี รรมในวันสาคัญของพระพุทธศาสนา ง. ประชาชนชาวมาเลเซียนบั ถอื
ใหเ้ ปน็ แนวทางเดยี วกนั
ค. รณรงค์ให้ชาวสงิ คโปร์ทุกคนนบั ถือ พระพทุ ธศาสนามากเปน็ ลาดบั ท่ีสาม ตอ่
พระพุทธศาสนานิกายหนิ ยาน จากศาสนาอสิ ลามและศาสนาคริสต์
ง. ผลิตหนังสือ และวารสารตา่ งๆ เกีย่ วกบั 18. ข้อใดจดั เปน็ เอกลกั ษณ์ของคนไทย ที่เปน็ ผลมา
พระพุทธศาสนา จากคาสอนของพระพุทธศาสนา
14. เวียดนามมบี ทบาทสาคัญทางพระพุทธศาสนา ก. รักความเป็นไทย
กบั ประเทศต่างๆ ทน่ี ับถือพระพุทธศาสนาอยา่ งไร ข. มีเมตตากรณุ า ใจกวา้ ง
ก. เปน็ เจ้าภาพในการจดั ประชุมชาวพทุ ธ ค. ใฝเ่ รียนรู้ แสวงหาความรู้
นานาชาติ เนอ่ื งในวันวิสาขบชู า ง. ยึดมั่นในขนบธรรมเนยี มประเพณี
ข. แลกเปลยี่ นสมณทูตกับประเทศไทย กมั พชู า 19. ข้อใดจัดเป็นมรดกทางรปู ธรรมของ
พระพุทธศาสนา
ก. ความเอื้อเฟื้อ ข. ใจบุญสนุ ทาน
ค. จติ รกรรมฝาผนงั ง. กตญั ญูกตเวที
20. หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาในข้อใด ที่

สามารถนาไปใช้ในการสรา้ งสัมพนั ธไมตรีระหวา่ ง

ประเทศ

ก. เมตตามโนกรรม ข. สาราณียธรรม

ค. สังคหวัตถุ 4 ง. อธิปไตย 3

24

เฉล 3. ค 4. ก 5. ง 6. ง 7. ง 8. ก 9. ค 10. ค
เฉลย 13. ก 14. ก 15. ค 16. ข 17. ง 18. ข 19. ค 20. ข

1. ง 2. ก
11. ง 12. ง

25

ใบงำนที่ 1.1 พระพุทธศำสนำเขำ้ สู่ประเทศพมำ่

1.
1คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. พระพุทธศาสนานิกายใด ไดเ้ ผยแผเ่ ข้าสปู่ ระเทศพม่าในระยะแรก และเข้ามาทางเมืองใด

2. เพราะเหตุใด พระเจา้ อนรุ ทุ ธมหาราชจึงยกกองทัพไปสูร้ บกับพระเจา้ มนูหะ ผู้ครองเมอื งสธุ รรมวดี

3. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจึงไดแ้ ผ่ขยายไปทั่วอาณาจักรพมา่ ในสมัยพระเจ้าอนรุ ุทธ

4. พระมหากษัตรยิ ์พม่าพระองค์ใด ทส่ี ่งคณะสมณทูตไปสบื ทอดพระพุทธศาสนาทล่ี ังกา

5. กษัตริย์พมา่ พระองค์ใด ทที่ รงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทาสงั คายนาพระธรรมวนิ ัย คร้ังที่ 5 และกระทา
ท่เี มืองใด

6. เพราะเหตุใด หลังจากมกี ารทาสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั คร้ังที่ 5 แล้ว พระพุทธศาสนาในพม่าจึงได้รับ

7. ผนู้ าของพม่าทจี่ ัดใหม้ ีการสังคายนาพระไตรปฎิ ก คร้งั ที่ 6 (ฉฏั ฐสังคายนา) ในประเทศพมา่ คอื ใคร

8. การทาสังคายนาพระไตรปฎิ ก ครั้งท่ี 6 นน้ั มีพระเถระผู้เช่ียวชาญพระไตรปฎิ กจากประเทศใด

26

เฉลย

ใบงำนที่ 1.1 พระพุทธศำสนำเข้ำสปู่ ระเทศพม่ำ

คำช้ีแจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

1. พระพทุ ธศาสนานิกายใด ได้เผยแผ่เขา้ สปู่ ระเทศพม่าในระยะแรก และเข้ามาทางเมืองใด

นิกายเถรวาท และผ่านเขา้ มาทางเมอื งสุธรรมวดี หรือสะเทิม

2. เพราะเหตุใด พระเจ้าอนรุ ทุ ธมหาราชจงึ ยกกองทัพไปสู้รบกับพระเจ้ามนูหะ ผูค้ รองเมอื งสธุ รรมวดี

เพราะพระเจ้ามนูหะไมย่ ินยอมใหพ้ ระไตรปิฎกจานวนตามทพี่ ระเจา้ อนรุ ทุ ธส่งพระราชสาสนไ์ ปทลู ขอ

3. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจึงไดแ้ ผ่ขยายไปท่วั อาณาจักรพม่าในสมยั พระเจ้าอนุรุทธ

เพราะพระเจ้าอนรุ ทุ ธมหาราชทาสงครามชนะพระเจา้ มนูหะ แล้วนาพระสงฆม์ อญและพระไตรปิฎกไปยังเมอื ง
พุกาม

4. พระมหากษัตรยิ ์พม่าพระองค์ใด ทส่ี ่งคณะสมณทูตไปสืบทอดพระพุทธศาสนาท่ลี งั กา

พระเจา้ นรปตสิ ทิ ธุ

5. กษัตริย์พมา่ พระองค์ใด ทท่ี รงเป็นองค์อปุ ถัมภ์ในการทาสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั ครง้ั ที่ 5 และกระทา
ที่เมืองใด

พระเจ้ามินดง และกระทาท่ีเมืองมัณฑะเลย์

6. เพราะเหตุใด หลังจากมีการทาสังคายนาพระธรรมวินัย คร้งั ที่ 5 แล้ว พระพุทธศาสนาในพมา่ จึงไดร้ ับ

เพราะพมา่ ตกเปน็ เมอื งข้นึ ของอังกฤษ

7. ผ้นู าของพมา่ ทจ่ี ดั ให้มีการสงั คายนาพระไตรปิฎก ครัง้ ที่ 6 (ฉัฏฐสงั คายนา) ในประเทศพม่า คอื ใคร

นายอนู ุ

8. การทาสังคายนาพระไตรปฎิ ก ครัง้ ที่ 6 นั้น มีพระเถระผู้เชีย่ วชาญพระไตรปฎิ กจากประเทศใด

ไทย ศรลี งั กา ลาว และกมั พชู า

27

ใบงำนท่ี 1.2 พระพทุ ธศำสนำเขำ้ สู่ประเทศอนิ โดนเี ซีย

คำชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. พระพทุ ธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศอินโดนีเซยี ในช่วงพทุ ธศตวรรษทีเ่ ท่าไร

2. มขี อ้ สันนิษฐานวา่ พระพุทธศาสนานกิ ายใดเขา้ มาแพร่หลายในอินโดนเี ซยี อธบิ ายเหตุผล

3. กษัตริยร์ าชวงศ์ใด แห่งศรวี ิชัย ท่ีมกี ารแลกเปลยี่ นวฒั นธรรมด้านศาสนากบั กษตั รยิ ร์ าชวงศป์ าละ
แห่งแควน้ เบงกอล

4. พระพทุ ธศาสนาในอินโดนีเซยี เริม่ เสอื่ มลงเมอื่ อาณาจักรใดเส่ือมอานาจ

5. กษัตรยิ ์แหง่ อาณาจักรมชั ปาหิตพระองค์ใด ประกาศหา้ มเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรของ
พระองค์อธิบายเหตผุ ล

6. ปจั จบุ นั ศาสนาใด เป็นศาสนาประจาชาติของอนิ โดนีเซีย

7. ปจั จุบนั ยงั มชี าวอินโดนีเซยี ในแถบใดท่ยี ังคงมีความศรทั ธาเลอ่ื มใสในพระพทุ ธศาสนา

8. พระพุทธศาสนานิกายใด ยังมีผู้ศรัทธาเลื่อมใสอย่างประปรายในดนิ แดนบางสว่ นของอินโดนเี ซยี

ใบงำนที่ 1.2 พระพุทธศำสนำเข้ำส่ปู ระเทอนิ โดนีเซีย 28

เฉลย

คำชี้แจง ให้นักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี
1. พระพุทธศาสนาเข้าส่ปู ระเทศอนิ โดนีเซียในช่วงพทุ ธศตวรรษท่เี ทา่ ไร
ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ 3

2. มขี ้อสันนิษฐานว่า พระพทุ ธศาสนานิกายใดเข้ามาแพรห่ ลายในอนิ โดนเี ซยี อธิบายเหตผุ ล
พระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน เพราะมีหลักฐานสาคญั คือ พระพมิ พ์ดนิ ดบิ และรปู พระโพธสิ ัตว์

3. กษัตริย์ราชวงศ์ใด แห่งศรวี ชิ ัย ที่มีการแลกเปล่ียนวฒั นธรรมดา้ นศาสนากับกษตั ริยร์ าชวงศป์ าละ
แห่งแคว้นเบงกอล
ราชวงศ์ไศเลนทร์

4. พระพุทธศาสนาในอนิ โดนีเซยี เริ่มเสอ่ื มลงเม่ืออาณาจักรใดเสื่อมอานาจ
อาณาจักรศรวี ิชยั

5. กษตั รยิ ์แห่งอาณาจักรมัชปาหิตพระองค์ใด ประกาศหา้ มเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรของ
พระองค์ อธบิ ายเหตผุ ล

ระเด่นปาทา เพราะพระองค์มีศรัทธาเล่ือมใสในศาสนาอสิ ลามมาก

6. ปัจจบุ นั ศาสนาใด เป็นศาสนาประจาชาติของอนิ โดนีเซยี
ศาสนาอสิ ลาม

7. ปัจจบุ ันยงั มชี าวอนิ โดนเี ซยี ในแถบใดที่ยังคงมีความศรทั ธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา
ชวา สุมาตรา และเกาะบาหลี

8. พระพุทธศาสนานิกายใด ยังมีผู้ศรทั ธาเลื่อมใสอย่างประปรายในดนิ แดนบางสว่ นของอนิ โดนเี ซีย
นิกายมหายาน

29

ใบงำนท่ี 1.3 พระพุทธศำสนำเขำ้ สปู่ ระเทศมำเลเซยี

1.3

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. พระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ประเทศมาเลเซียในชว่ งพทุ ธศตวรรษทเี่ ทา่ ไร

2. พระพุทธศาสนานิกายแรกทเ่ี ข้ามาเผยแผใ่ นประเทศมาเลเซยี คือนิกายใด

3. หลกั ฐานท่แี สดงว่า ประชาชนชาวมาเลเซียนบั ถือพระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน คืออะไร

4. พระพุทธศาสนาซึ่งเจริญรุ่งเรืองบนแหลมมลายู ได้รับความกระทบกระเทอื นในรัชสมัยของกษตั ริย์

5. เพราะเหตใุ ด พระพทุ ธศาสนาในอาณาจกั รมะละกาจึงเสือ่ มลง

6. สุลตา่ นมลั โมชาห์ มีสว่ นทาลายพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร

7. การทกี่ ษัตรยิ ม์ าเลเซยี สง่ั ใหร้ าษฎรนับถอื ศาสนาอสิ ลาม มผี ลต่อพระพุทธศาสนาอย่างไร

8. พระพทุ ธศาสนาในประเทศมาเลเซยี ได้รับการฟื้นฟูจากคณะสมทตู ของประเทศใด

ใบงำนท่ี 1.3 พระพุทธศำสนำเขำ้ ส่ปู ระเทศมำเลเซยี 30

เฉลย

คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้
1. พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศมาเลเซยี ในช่วงพุทธศตวรรษทีเ่ ทา่ ไร
เมอ่ื ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 3

2. พระพุทธศาสนานิกายแรกท่เี ข้ามาเผยแผใ่ นประเทศมาเลเซียคือนิกายใด
นิกายเถรวาท

3. หลกั ฐานทแี่ สดงว่า ประชาชนชาวมาเลเซียนบั ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายาน คืออะไร
รูปพระโพธสิ ตั ว์ หรือพระพิมพด์ ินเผา พระพิมพ์ดินดบิ

4. พระพทุ ธศาสนาซ่ึงเจรญิ รงุ่ เรืองบนแหลมมลายู ได้รบั ความกระทบกระเทือนในรัชสมยั ของกษตั ริย์
พระเจ้าปรเมศวร

5. เพราะเหตใุ ด พระพทุ ธศาสนาในอาณาจกั รมะละกาจงึ เสื่อมลง
กษตั รยิ ์ไปนับถือศาสนาอสิ ลาม

6. สุลต่านมัลโมชาห์ มีส่วนทาลายพระพุทธศาสนาอย่างไร
ส่ังทาลายศาสนสถาน พระพุทธรปู เทวรูปของพระพุทธศาสนา

7. การท่ีกษตั รยิ ม์ าเลเซยี ส่ังใหร้ าษฎรนับถือศาสนาอิสลาม มผี ลตอ่ พระพุทธศาสนาอย่างไร
อิทธพิ ลของพระพุทธศาสนานกิ ายมหายานส้ินสดุ ลง

8. พระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย ได้รบั การฟืน้ ฟจู ากคณะสมทูตของประเทศใด
ไทย ศรีลังกา และพมา่

31

ใบงำนที่ 1.4 พระพุทธศำสนำเขำ้ สปู่ ระเทศสงิ คโปร์

1.4

คำชแี้ จง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี
1. พระพทุ ธศาสนานิกายใด ไดเ้ ผยแผ่เข้าสูป่ ระเทศสิงคโปร์
2. สิงคโปรม์ ีสมาคมของชาวพุทธประมาณเทา่ ใด
3. วดั ทางพระพุทธศาสนาของสิงคโปรใ์ นปจั จบุ นั สว่ นใหญ่เป็นวัดนกิ ายใด
4. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาจึงมคี วามเจริญรุ่งเรืองและประดษิ ฐานม่ันคงในสงิ คโปร์
5. วัดฝา่ ยนกิ ายเถรวาทท่สี าคัญในสงิ คโปร์ ไดแ้ กว่ ัดใด
6. การเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายมหายานในสงิ คโปร์ มีลกั ษณะอย่างไร
7. พุทธสมาคมของชาวจนี ในสิงคโปร์ มกี ิจกรรมสาคัญทางพระพุทธศาสนาอยา่ งไร
8. องค์กรยุวพทุ ธแห่งสิงคโปร์ มีกิจกรรมสาคัญทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร

ใบงำนที่ 1.4 พระพุทธศำสนำเขำ้ สู่ประเทศสงิ คโปร์ เฉลย 32

คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1. พระพทุ ธศาสนานิกายใด ได้เผยแผ่เขา้ สปู่ ระเทศสงิ คโปร์
นกิ ายมหายาน

2. สงิ คโปร์มสี มาคมของชาวพุทธประมาณเท่าใด
ประมาณ 2,000 สมาคม

3. วดั ทางพระพุทธศาสนาของสิงคโปรใ์ นปจั จบุ ันส่วนใหญ่เปน็ วดั นกิ ายใด
นกิ ายมหายาน

4. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาจึงมคี วามเจรญิ ร่งุ เรืองและประดษิ ฐานม่ันคงในสิงคโปร์
เพราะคนสงิ คโปรส์ ว่ นใหญ่เป็นชาวจนี ซง่ึ นบั ถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน

5. วัดฝา่ ยนกิ ายเถรวาทท่ีสาคญั ในสงิ คโปร์ ไดแ้ กว่ ัดใด
วัดศรลี ังการามายณะ ของศรีลงั กา และวัดอานันทเมตยาราม ของไทย

6. การเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายมหายานในสงิ คโปร์ มีลักษณะอย่างไร
การแปลตาราและคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนาเปน็ ภาษาตา่ งๆ จัดต้งั โรงเรยี นอบรมศาสนจารย์

โรงเรียนสอนพระพุทธศาสนา
7. พทุ ธสมาคมของชาวจีนในสงิ คโปร์ มกี จิ กรรมสาคญั ทางพระพุทธศาสนาอยา่ งไร

บริจาคอาหาร เครื่องน่งุ ห่ม ยารักษาโรคแก่ผู้ยากไร้ มอบทุนการศกึ ษาใหแ้ ก่นักเรียนทยี่ ากจน
ชว่ ยเหลอื การฌาปนกิจสงเคราะห์ ตง้ั ศูนย์สงเคราะหเ์ ด็กกาพรา้ และคนชรา
8. องค์กรยุวพทุ ธแห่งสิงคโปร์ มีกิจกรรมสาคัญทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร

การแสดงพระธรรมเทศนา การแสดงปาฐกถา การอภิปรายธรรม การจัดพิธกี รรมทาง
พระพุทธศาสนาในโอกาสสาคัญ และการแปลคมั ภีร์และเอกสารทางพระพุทธศาสนา เปน็ ต้น

33

ใบงำนที่ 1.5 พระพุทธศำสนำเข้ำสูป่ ระเทศลำว

1.5

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้
1. พระพุทธศาสนาได้เผยแผเ่ ขา้ ส่ปู ระเทศลาวในสมัยพระมหากษัตรยิ ์พระองค์ใด

2. มลู เหตสุ าคัญที่ทาให้พระพุทธศาสนาเผยแผ่เขา้ สปู่ ระเทศลาว คืออะไร

3. เจ้าเมืองใด มีสว่ นสาคญั ในการให้การสนบั สนนุ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนามายังประเทศลาว

4. ผู้มีบทบาทสาคัญในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาที่อาณาจกั รล้านช้าง คือใคร

5. ผู้ใด มอบพระบาง พระไตรปิฎก และหนอ่ ศรมี หาโพธ์ิแก่พระเจ้าฟา้ งมุ้

6. พระเจ้าสามแสนไทยทรงทานุบารงุ พระพทุ ธศาสนาอย่างไรบ้าง

7. พระพทุ ธศาสนาในประเทศลาว มคี วามเจริญรุ่งเรืองถงึ ขีดสุดในสมัยใด

8. พระพุทธรปู ท่สี าคัญของลาว ไดแ้ ก่พระพทุ ธรปู องค์ใด
9. วัดสาคัญในประเทศลาว ได้แก่วัดอะไรบ้าง
10. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาในลาวจึงเสื่อมลง

ใบงำนที่ 1.5 พระพุทธศำสนำเข้ำสปู่ ระเทศลำว 34

เฉลย

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. พระพทุ ธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสปู่ ระเทศลาวในสมัยพระมหากษัตรยิ ์พระองค์ใด

พระเจา้ ฟา้ งมุ้

2. มูลเหตุสาคัญที่ทาให้พระพุทธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ สู่ประเทศลาว คอื อะไร

พระนางแก้วยอดฟา้ พระมเหสขี องพระเจ้าฟา้ งมุ้ มคี วามนับถือพระพุทธศาสนา

3. เจ้าเมอื งใด มสี ว่ นสาคญั ในการให้การสนบั สนุนการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนามายงั ประเทศลาว

เจา้ เมอื งอินทปัตย์ ในอาณาจกั รกมั พชู า

4. ผูม้ ีบทบาทสาคัญในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาที่อาณาจักรลา้ นช้าง คือใคร

พระมหาปาสมนั ตเถระกับพระมหาเทพลงั กา และพระสงฆ์ 20 รปู

5. ผู้ใด มอบพระบาง พระไตรปิฎก และหน่อศรมี หาโพธิ์แกพ่ ระเจา้ ฟ้าง้มุ

พระเจ้าศรจี ลุ ราชแหง่ เมืองอนิ ทปตั ย์ ในอาณาจกั รกัมพูชา

6. พระเจ้าสามแสนไทยทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนาอยา่ งไรบา้ ง

สร้างวัดมโนรมย์ วัดอุโบสถ หอสมดุ สาหรับคน้ ควา้ พระไตรปฎิ ก และโรงเรียนปรยิ ัติธรรม

7. พระพุทธศาสนาในประเทศลาว มคี วามเจริญรงุ่ เรืองถึงขีดสุดในสมัยใด

พระเจ้าไชยเชษฐาธริ าช

8. พระพุทธรปู ทีส่ าคัญของลาว ได้แก่พระพทุ ธรูปองค์ใด

พระองค์ตอ้ื พระเสรมิ พระสกุ พระใส พระอินทรแ์ ปลง พระองคแ์ สน

9. วดั สาคญั ในประเทศลาว ได้แก่วัดอะไรบ้าง

วัดป่าเรอื ศรีสงิ ขร วดั ปา่ กนั ทอง วัดศรีเมือง วดั พระแกว้

10. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาในลาวจึงเส่อื มลง

ลาวตกเปน็ เมืองข้ึนของฝรั่งเศส และตอ่ มาถูกปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์

35

ใบงำนที่ 1.6 พระพุทธศำสนำเขำ้ สู่ประเทศกัมพชู ำ

1.6 และเวยี ดนำม

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปนี้
1. พระพทุ ธศาสนาได้เผยแผเ่ ข้าสูป่ ระเทศกมั พชู าในชว่ งท่อี าณาจกั รใดของกัมพชู ากาลังร่งุ เรอื ง

2. รชั สมัยของพระเจา้ ชัยวรมนั ที่ 7 ได้สรา้ งโบราณสถาน โบราณวัตถทุ ่สี าคญั ของพระพุทธศาสนาไว้

3. กมั พชู ามีการจดั ตั้งศาลาบาลีชน้ั สูง และมกี ารนานิกายธรรมยุตจากเมืองไทยเข้ามากัมพูชาครั้งแรก
ในสมยั ใด

4. สาเหตสุ าคญั ท่ีการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาถูกสกัดก้ันในกมั พูชา คืออะไร

5. รัฐบาลกัมพูชามีการฟนื้ ฟูพระพทุ ธศาสนาภายหลังสงครามกลางเมืองอย่างไรบา้ ง

6. ในสมัยราชวงศ์ใด ท่ีพระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานไดร้ ับการนบั ถอื อย่างแพรห่ ลายจากชาวเวยี ดนาม

7. เพราะเหตุใด พระภกิ ษสุ งฆข์ องเวียดนามจงึ เปน็ ท่เี คารพศรัทธาจากชาวเวยี ดนาม

8. พระพุทธศาสนาในเวียดนามเสื่อมลงในสมยั ราชวงศ์ใด

9. ใครเปน็ ผคู้ วบคมุ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเวียดนาม และทาลายคัมภีร์และหนังสอื
พระพทุ ธศาสนา

10. เหตกุ ารณ์ใด จัดว่าเปน็ วิกฤติทางพระพุทธศาสนาทเี่ ลวร้ายท่สี ุดในเวียดนาม

ใบงำนที่ 1.6 พระพุทธศำสนำเขำ้ สูป่ ระเทศกัมพูชำ 36
และเวียดนำม
เฉลย

คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1. พระพทุ ธศาสนาได้เผยแผเ่ ขา้ สู่ประเทศกมั พชู าในชว่ งท่อี าณาจกั รใดของกมั พูชากาลังร่งุ เรือง

อาณาจกั รฟูนนั

2. รัชสมยั ของพระเจา้ ชยั วรมันท่ี 7 ได้สร้างโบราณสถาน โบราณวัตถทุ สี่ าคญั ของพระพุทธศาสนาไดแ้ ก่
อะไรบ้าง

นครธม ปราสาทบายน พระพุทธรปู ชยั พุทธมหานาถ

3. กัมพชู ามีการจัดต้ังศาลาบาลีช้นั สูง และมีการนานิกายธรรมยุตจากเมืองไทยเขา้ มากมั พูชาครั้งแรก
ในสมยั ใด

รัชสมัยพระเจา้ หรริ กั ษ์รามาธบิ ดี (นักองดว้ ง)

4. สาเหตุสาคญั ที่การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาถูกสกัดกั้นในกัมพูชา คอื อะไร

การท่ีลทั ธิคอมมวิ นสิ ตเ์ ข้าไปปกครองกัมพูชาและทางกัมพชู ามีนโยบายไมใ่ หป้ ระชาชนนบั ถอื ศาสนา

5. รฐั บาลกัมพูชามีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาภายหลังสงครามกลางเมืองอย่างไรบา้ ง

ส่งเสรมิ ชาวกัมพชู าใหเ้ ขา้ รับการอปุ สมบท สนับสนุนใหม้ ีพระสงฆเ์ ขา้ รว่ มในพิธีกรรมของทางราชการ
กาหนดใหว้ นั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนาเปน็ วนั หยุดทางราชการ และบรู ณปฏิสงั ขรณว์ ดั ทไ่ี ดร้ บั ความเสียหาย
จากสงคราม

6. ในสมัยราชวงศ์ใด ท่ีพระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานได้รับการนบั ถอื อย่างแพร่หลายจากชาวเวียดนาม

ราชวงศด์ ินห์

7. เพราะเหตุใด พระภกิ ษุสงฆข์ องเวียดนามจึงเป็นท่เี คารพศรัทธาจากชาวเวยี ดนาม

มีความรอบรู้ทางพระพทุ ธศาสนาด้านวชิ าการ เชน่ กฎหมาย วรรณคดี รัฐศาสตร์ จรยิ ศาสตร์ ปรชั ญา
โหราศาสตรแ์ ละแพทย์ศาสตร์

8. พระพทุ ธศาสนาในเวยี ดนามเส่ือมลงในสมัยราชวงศ์ใด

สมยั ราชวงศ์ตรนั ราชวงศเ์ ลตอนปลาย

9. ใครเปน็ ผู้ควบคุมการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในเวียดนาม และทาลายคัมภีร์และหนังสือ
พระพุทธศาสนา

รัฐบาลฝรั่งเศส

10. เหตกุ ารณใ์ ด จดั วา่ เปน็ วกิ ฤติทางพระพุทธศาสนาทีเ่ ลวร้ายทส่ี ุดในเวยี ดนาม

คอมมิวนสิ ตเ์ ขา้ ไปปกครองเวยี ดนาม วดั และพระสงฆถ์ กู ทาลาย ทด่ี นิ ของวัดถกู ยึดเป็นของรัฐ หา้ มประกอบ
พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา

37

บนั ทึกหลังกำรสอน

1.ผลกำรจัดกำรเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ปญั หำและอปุ สรรค์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.แนวทำงแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .................................................ผบู้ ันทกึ
(ครูผู้สอน นางสาวจดิ าภรณ์ ถ่นิ ตองโขบ)
ตาแหนง่ ครผู สู้ อน

38

แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ 2

กลุ่มสำระกำรเรียนร้สู งั คมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 2

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ประวตั ิและควำมสำคัญของพระพุทธศำสนำ ภำคเรยี นที่ 2

แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ 2 กำรนบั ถอื พระพุทธศำสนำของประเทศเพือ่ นบำ้ นในปัจจบุ นั เวลำ 2 ชว่ั โมง

ผู้สอน นำงสำวจิดำภรณ์ ถ่ินตองโขบ

1. จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้
1.1 ตัวชี้วดั
ม.2/1 อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถอื สู่ประเทศเพื่อนบา้ น
1.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. รู้และเขา้ ใจสภาพการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบนั ได้
2. อธบิ ายสภาพการนบั ถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพ่ือนบา้ นในปจั จบุ ันได้

2 สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด
ประชาชนของประเทศเพ่ือนบา้ นทน่ี ับถือพระพุทธศาสนาสว่ นใหญ่จะอยูใ่ นประเทศพม่า สงิ คโปร์ ลาว

กัมพชู า และเวียดนาม

3 สำระกำรเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง
การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศเพื่อนบ้านและการนับถือพระพทุ ธศาสนาของ

ประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจบุ นั

4 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3) ทกั ษะการจดั กลมุ่
2) ทกั ษะการตคี วาม 4) ทักษะการสรา้ งความรู้
4.3ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

5 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์/คำ่ นยิ ม
5.1คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1)มวี ินยั รับผิดชอบ
2)ใฝเ่ รียนรู้
3)มุ่งมัน่ ในการทางาน

39

6. กิจกรรมกำรเรยี นรู้

วธิ สี อนโดยกำรจัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมอื : เทคนคิ เล่ำเรื่องรอบวง

ขั้นนำเข้ำสบู่ ทเรียน

1.ครนู าภาพหรอื ตัวอยา่ งข่าวเกยี่ วกับกจิ กรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศลาว กัมพชู า พม่า
สิงคโปร์ และเวียดนาม มาให้นักเรียนดู หรอื เลา่ ใหน้ ักเรยี นฟงั แลว้ ให้นักเรียนแสดงความคิดเหน็ ในประเดน็
ต่อไปน้ี
- นกั เรียนมคี วามประทับใจในกจิ กรรมใด อธบิ ายเหตผุ ล
- กิจกรรมดงั กล่าว มีผลต่อการสบื ทอดพระพุทธศาสนาอย่างไร

2. ครูอธบิ ายเชื่อมโยงให้นักเรียนเขา้ ใจว่า ประเทศเพ่อื นบา้ นของไทยทป่ี ระชาชนสว่ นใหญน่ บั ถอื
พระพทุ ธศาสนา คือ ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม พมา่ ส่วนมาเลเซียและอนิ โดนีเซียนนั้ ประชาชนส่วนใหญ่นบั ถือ
ศาสนาอสิ ลาม

3. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด
นักเรยี นคดิ วา่ การท่ปี ระเทศเพ่อื นบ้านสว่ นใหญน่ บั ถอื พระพุทธศาสนาส่งผลดอี ย่างไร

(ทาใหม้ ีความเข้าใจในวฒั นธรรมทางดา้ นศาสนา และมคี วามสัมพันธ์ทีด่ ตี ่อกัน)

ข้ันสอน
4. ครใู หน้ กั เรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1) รว่ มกันศึกษาความรู้เรื่อง การนับถือ

พระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจบุ ัน จากหนงั สือเรียน และหนงั สือคน้ คว้าเพม่ิ เตมิ
5. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั สาระสาคญั ของเรื่องที่ศกึ ษา
6. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 1.7 เรื่อง การนบั ถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพ่ือน

บา้ นในปัจจุบัน
7. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มผลัดกันอธบิ ายคาตอบในใบงานที่ 1.7 เรียงตามลาดบั ทีละคน แบบเล่าเรอ่ื งรอ

บวง โดยให้สมาชกิ คนอ่ืนในกลมุ่ ชว่ ยกนั อธิบายเพิม่ เติมเพื่อใหค้ าตอบมีความสมบูรณ์ แลว้ ชว่ ยกนั สรปุ เปน็
ผลงานของกล่มุ

8. ครูเฉลยคาตอบในใบงานที่ 1.7 โดยใหส้ มาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง
9. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด

ขั้นสรุป
10. นกั เรียนร่วมกันสรุปลกั ษณะของการนบั ถือพระพุทธศาสนา ในประเทศพม่า อนิ โดนีเซยี

มาเลเซีย สงิ คโปร์ ลาว กมั พชู า และเวียดนาม

40

7. กำรวดั และประเมินผล

วธิ กี ำร เคร่อื งมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 1.7 ใบงานที่ 1.7 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
รายบคุ คล

สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตความมวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ ม่ันในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ทางาน

8. สอ่ื /แหล่งกำรเรียนรู้
8.1สอ่ื กำรเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี น พระพุทธศำสนำ ม.2
2) ตวั อย่ำงข่ำว
3) บตั รภำพ
4) ใบงำนที่ 1.7 เรอ่ื ง กำรนับถอื พระพทุ ธศำสนำของประเทศเพ่อื นบำ้ นในปจั จบุ นั
8.2 แหล่งกำรเรยี นรู้


41

ตวั อย่างข่าว

เวียดนำมจัดประชมุ ชำวพุทธคร้งั ใหญท่ ีส่ ุดในประเทศ

การประชมุ เพอ่ื หาหนทางส่งเสรมิ การสอนพทุ ธศาสนา ไดจ้ ัดขน้ึ ท่จี ังหวัดบิง่ เซืองซึ่งอยทู่ างตอนใต้ของ
เวยี ดนาม เม่อื เดือนมีนาคมท่ีผ่านมา เป็นเวลา 4 วัน การ ประชุมน้ีมีช่ือว่า “พุทธศาสนากับประชาชน” จดั โดย
องค์กรสงฆ์ มีการอภปิ รายหลายหวั ข้อท่เี กย่ี วข้องกับพุทธศาสนิกชนกับการป้อง กันสภาพแวดล้อม การพัฒนาพทุ ธ
ศาสนาในชว่ งรอยต่อ และงานกุศล

ในการประชมุ ครง้ั น้ี คณะสงฆ์จากทั่วประเทศ เห็นพ้องต้องกันท่ีจะม่งุ สง่ เสรมิ ค่านยิ มทางพุทธศาสนา ใหแ้ ก่
ยุวพุทธและยวุ ชน คนหนมุ่ สาวท่ัวไป ส่งเสริมพทุ ธศาสนาในหมู่ ชุมชนชาวเวยี ดนามโพน้ ทะเลเผยแพร่การสอน
พทุ ธศาสนาในพื้นทีห่ ่างไกลและชนกล่มุ นอ้ ย และจดั กิจกรรมการกุศลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ

โดยองคก์ รสงฆ์ได้มอบบา้ น 100 หลงั แก่ผยู้ ากไร้ และบริจาครถจักรยานให้เดก็ นักเรียนยากจน รวมมูลคา่
ท้ังสนิ้ 455,000 ดอลลารส์ หรฐั (ราว 14 ล้านบาท) และเด็กยากจน 15 คนไดร้ บั การผ่าตัดหวั ใจดว้ ยเงนิ บรจิ าค

นอกจากน้ยี ังมีพธิ ีสวดอุทศิ ส่วนกศุ ลใหผ้ ูเ้ สยี ชีวติ และสวดขอพร พร้อมทั้งมีขบวนแหไ่ ปตามทอ้ งถนน เพ่ือ
สง่ เสรมิ การแก้ปัญหาสภาพแวดลอ้ มตามวถิ ีพุทธอีกดว้ ย

ทงั้ นเ้ี วยี ดนามกินเนสส์บุ๊คออฟเรคคอรด์ (เวียตบุ๊ค) หรอื หนงั สือบนั ทกึ สถติ เิ วยี ดนาม ได้บันทกึ วา่ การประชมุ
ครั้งน้เี ป็นการชุมนุมของพุทธศาสนกิ ชนทใี่ หญ่ทีส่ ดุ ในประเทศ

ท่ีมำ : ธรรมะกบั ชวี ติ . “เวยี ดนามจัดประชุมชาวพทุ ธครั้งใหญท่ ่ีสุดในประเทศ” [2554]. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก
http://www.manager.co.th/Dhamma/ViewNews.aspx?NewsID... สบื ค้น 20 กุมภาพันธ์ 2556.

42

บตั รภาพ

ภำพกำรตกั บำตรข้ำวเหนียว ในประเทศลำว

ภำพกำรบรรพชำอปุ สมบทของ
พุทธศำสนกิ ชนในประเทศกมั พูชำ

ภำพวดั ศำกยมุนคี ยำ ศำสนสถำนสำคัญทำง
พระพทุ ธศำสนำนิกำยเถรวำท ในประเทศ

สิงคโปร์

43

ใบงำนที่ 1.7 กำรนบั ถือพระพทุ ธศำสนำของประเทศเพอื่ นบำ้ นในปัจจบุ ัน

ตอนท่ี 1

คำช้แี จง ให้นกั เรียนสรุปสภาพการนับถือพระพทุ ธศาสนาของประเทศเพ่ือนบ้าน ตามหวั ขอ้ ทีก่ าหนด
1. ประเทศพม่ำ
 การนับถือพระพุทธศาสนา
 การส่งเสรมิ ด้านการปฏบิ ัติตามหลกั ธรรมและพธิ กี รรม

 วิธกี ารเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทั้งในและนอกประเทศ
2. ประเทศสิงคโปร์

 การนับถือพระพุทธศาสนา
 การส่งเสริมด้านการปฏิบตั ติ ามหลักธรรมและพธิ ีกรรม

 วธิ ีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทง้ั ในและนอกประเทศ

3. ประเทศลำว
 การนับถือพระพุทธศาสนา
 การสง่ เสรมิ ดา้ นการปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมและพิธีกรรม

 วิธกี ารเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาท้งั ในและนอกประเทศ

44

4. ประเทศกมั พูชำ
 การนบั ถือพระพุทธศาสนา
 การสง่ เสรมิ ด้านการปฏิบัติตามหลกั ธรรมและพธิ กี รรม

 วธิ กี ารเผยแผ่พระพุทธศาสนาทง้ั ในและนอกประเทศ

5. ประเทศเวยี ดนำม
 การนบั ถือพระพุทธศาสนา
 การส่งเสริมดา้ นการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมและพธิ กี รรม

 วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทง้ั ในและนอกประเทศ

45

ตอนที่ 2

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

1. ประชาชนชาวอนิ โดนเี ซียส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาอะไร แล้วผ้ทู ีน่ ับถือพระพุทธศาสนาส่วนใหญ่อาศยั
อยู่ในบรเิ วณใด

2. รฐั บาลอนิ โดนเี ซียมีสว่ นสนับสนนุ พระพทุ ธศาสนาในเรื่องใดบ้าง

3. กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของอนิ โดนีเซีย ได้แก่อะไรบา้ ง

4. ประชาชนชาวมาเลเซยี ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาอะไร และมีผู้นบั ถือพระพุทธศาสนาร้อยละเทา่ ไร

5. สมาคมทางพระพุทธศาสนาที่สาคญั ของมาเลเซีย ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง

6. ประเทศใด ได้มาจัดตง้ั วดั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซยี

46

1.7 ใบงำนท่ี 1.7 กำรนบั ถือพระพทุ ธศำสนำของประเทศเพ่อื นบำ้ นในปัจจบุ ัน

ตอนที่ 1

คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรปุ สภาพการนับถอื พระพุทธศาสนาของประเทศเพ่ือนบ้าน ตามหัวข้อทก่ี าหนด

1. ประเทศพมำ่
 การนับถือพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ
 การสง่ เสรมิ ด้านการปฏิบตั ติ ามหลักธรรมและพิธกี รรม
ปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมอย่างเคร่งครดั
 วิธกี ารเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทงั้ ในและนอกประเทศ
ด้านวปิ สั สนาในประเทศและตา่ งประเทศ

2. ประเทศสิงคโปร์
 การนบั ถือพระพุทธศาสนา ประชาชนรอ้ ยละ 42 นับถอื พระพุทธศาสนา
 การสง่ เสริมด้านการปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมและพธิ กี รรม
มกี จิ การทางสาธารณกศุ ลใหค้ วามช่วยเหลือผยู้ ากไร้
 วธิ ีการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทง้ั ในและนอกประเทศ
จดั ตัง้ พทุ ธสมาคมแหง่ สิงคโปรเ์ พอื่ เผยแผ่พระพุทธศาสนา และศนู ยป์ ฏิบตั ิพทุ ธสมาธิ
ผลิตหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์เผยแผห่ ลกั ธรรม

3. ประเทศลำว
 การนบั ถือพระพุทธศาสนา ประชาชนกว่ารอ้ ยละ 90 นับถือพระพทุ ธศาสนา
 การสง่ เสรมิ ดา้ นการปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมและพิธกี รรม
- การจัดตง้ั สถาบนั การศึกษาของสงฆ์
- การจัดหลกั สูตรการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรม
- มพี ธิ กี รรมในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา
 วิธีการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทัง้ ในและนอกประเทศ
- พระสงฆ์ลาวเขา้ มาศึกษาพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยสงฆ์ของไทย
- สร้างวัดลาวในตา่ งประเทศ เชน่ ฝร่ังเศส สหรฐั อเมรกิ า ออสเตรเลยี

47

4. ประเทศกมั พูชำ
 การนับถือพระพุทธศาสนา ประชาชนร้อยละ 95 นับถอื พระพุทธศาสนา
 การส่งเสริมดา้ นการปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมและพิธีกรรม
- มีการจัดต้งั โรงเรียนสอนพระธรรมวินัยแก่พระภิกษุ สามเณร
- รฐั บาลสนบั สนุนการบรรพชาอุปสมบท
- จดั กจิ กรรมวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
- มพี ิธกี รรมในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา

 วิธกี ารเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาท้ังในและนอกประเทศ
จัดกิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในรปู แบบธรรมยาตรา

5. ประเทศเวยี ดนำม

 การนบั ถือพระพุทธศาสนา ประชาชนส่วนใหญน่ ับถือพระพุทธศาสนา

 การสง่ เสริมดา้ นการปฏิบัติตามหลักธรรมและพธิ กี รรม
- การอบรมธรรมะ
- การสอนพระพทุ ธศาสนาในหลักสูตรของประเทศ

 วธิ ีการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทั้งในและนอกประเทศ
- รฐั บาลสนับสนนุ การอบรมและเผยแผ่ธรรมะ กาหนดหลกั สตู รพระพุทธศาสนาให้อยู่ใน
หลักสูตรการเรียนการสอนของประเทศ
- มกี ารแลกเปล่ียนสมณทตู ไทย พม่า กัมพชู า จนี
- จดั ตง้ั องคก์ รระดับชาติ 5 องคก์ ร
- มกี ารแปลพระไตรปฎิ กเป็นภาษาเวยี ดนาม
- เปน็ เจา้ ภาพในการประชุมชาวพทุ ธนานาชาติ ในวนั วสิ าขบชู า


Click to View FlipBook Version