The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ สาระฯ ศาสนา ม.2 2.63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jidaporn11, 2020-12-23 05:06:17

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ สาระฯ ศาสนา ม.2 2.63

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ สาระฯ ศาสนา ม.2 2.63

48

ตอนท่ี 2
คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1. ประชาชนชาวอินโดนเี ซียสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาอะไร แล้วผู้ท่นี ับถือพระพทุ ธศาสนาสว่ นใหญ่อาศยั
อยใู่ น บริเวณใด

ชาวอนิ โดนเี ซียสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาอิสลาม ส่วนผนู้ ับถอื พระพุทธศาสนาสว่ นใหญ่อาศัยอยใู่ น
เกาะบาหลี
2. รฐั บาลอนิ โดนีเซยี มสี ่วนสนบั สนุนพระพุทธศาสนาในเรื่องใดบ้าง

1) รบั รองวา่ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาหนงึ่ ของอินโดนเี ซยี
2) วันวสิ าขบูชาเป็นวันหยุดราชการ และสนับสนนุ การจดั งานฉลองเนื่องในวนั วสิ าขบชู า
เป็นเวลานานนบั เดือน

3. กจิ กรรมทางพระพุทธศาสนาของอนิ โดนเี ซยี ได้แก่อะไรบ้าง
จดั ตัง้ สมาคมเพื่อสอนพระพุทธศาสนาแก่เยาวชน มีการบรรยายธรรมะ สอนปฏบิ ตั สิ มาธิ

ออกวารสารทางพระพทุ ธศาสนา เปน็ ตน้

4. ประชาชนชาวมาเลเซียส่วนใหญ่นับถอื ศาสนาอะไร และมีผนู้ ับถือพระพุทธศาสนาร้อยละเทา่ ไร
ชาวมาเลเซยี ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม และมผี ้นู บั ถอื พระพุทธศาสนา รอ้ ยละ 19

5. สมาคมทางพระพุทธศาสนาท่ีสาคัญของมาเลเซยี ได้แก่อะไรบ้าง
สมาคมผูส้ อนพระพทุ ธศาสนา ยุวพุทธสมาคมแห่งมาเลเซีย สมาคมชาวพทุ ธแห่งมาเลเซยี ศูนย์
สมาธวิ ิปัสสนาแหง่ ชาวพทุ ธมาเลเซีย

6. ประเทศใด ได้มาจัดตง้ั วัดทางพระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย
พม่า ศรลี งั กา จีน และไทย

49

บันทกึ หลังกำรสอน

1.ผลกำรจดั กำรเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ปัญหำและอุปสรรค์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.แนวทำงแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .................................................ผูบ้ นั ทกึ
(ครผู ูส้ อน นางสาวจดิ าภรณ์ ถิ่นตองโขบ)
ตาแหนง่ ครผู ู้สอน

50

แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ี 3

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 2

หนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง ประวตั ิและควำมสำคัญของพระพทุ ธศำสนำ ภำคเรยี นที่ 2

แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ 3 ควำมสำคัญของพระพทุ ธศำสนำ เวลำ 2 ชว่ั โมง

ผูส้ อน นำงสำวจิดำภรณ์ ถิ่นตองโขบ

1. จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้
1.1 ตวั ชี้วดั
ส 1.1 ม.2/2 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ท่ชี ว่ ยเสริมสร้าง

ความเข้าใจอนั ดี กับประเทศเพอื่ นบา้ น
ม.2/3 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะทเ่ี ป็น

รากฐานของวฒั นธรรม เอกลักษณ์ของชาติ และมรดกของชาติ
ม.2/4 อภปิ รายความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือกับการพฒั นา

ชมุ ชน และการจดั ระเบียบสังคม
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา ท่ชี ่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกบั ประเทศ

เพื่อนบา้ นได้
2) วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรมได้
3) วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาในฐานะทเี่ ป็นเอกลกั ษณ์และมรดกของชาติได้
4) วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชมุ ชน และการจดั ระเบยี บสงั คม

ได้

2 สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด
พระพุทธศาสนามีความสาคัญในฐานะที่เป็นรากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณข์ องชาติ และมรดก

ของชาติ อกี ท้ังยังมีส่วนในการพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบียบสังคม

3 สำระกำรเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
1) ความสาคัญของพระพุทธศาสนาทชี่ ่วยเสรมิ สรา้ งความเข้าใจอนั ดีกับประเทศเพอื่ นบ้าน
2) ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทยในฐานะทีเ่ ปน็
-รากฐานของวฒั นธรรม
-เอกลกั ษณแ์ ละมรดกของชาติ
3)ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการพฒั นาชมุ ชนและการจัดระเบยี บสงั คม

4 สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 5) ทักษะการทาให้กระจ่าง
4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 6) ทักษะการสร้างความรู้
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล
2 )ทกั ษะการวิเคราะห์

51

3) ทกั ษะการตคี วาม 7) ทักษะกระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณาณ
4)ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็
4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

5 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์/ค่ำนยิ ม
5.1คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1)มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ
2)ใฝเ่ รียนรู้
3)มงุ่ มั่นในการทางาน

6. กจิ กรรมกำรเรียนรู้
วิธสี อนแบบ สบื เสำะหำควำมรู้ (Inquiry Method : 5E)

ขัน้ ที่ 1 กระต้นุ ควำมสนใจ
1.ครูให้นักเรยี นดภู าพการประชุมชาวพุทธนานาชาติ ณ ศูนยก์ ารประชมุ สหประชาชาติ

กรงุ เทพมหานคร และให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเดน็ ต่อไปน้ี
1) การประชมุ ของชาวพุทธนานาชาติดงั ในภาพนี้ ให้ข้อคิดอย่างไรบ้าง
2) นกั เรยี นคิดว่า กิจกรรมดังในภาพนจ้ี ะสง่ ผลดีต่อพระพุทธศาสนาอย่างไรโดยครคู อย

กระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นทุกคนมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หำ
2. ครใู ห้นกั เรยี นกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1) รว่ มกันศึกษาความรเู้ ร่ือง ความสาคัญของ

พระพทุ ธศาสนา จากหนงั สอื เรยี น หนงั สอื ค้นควา้ เพิม่ เติม หอ้ งสมุด และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ โดยให้
ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้

1) พระพุทธศาสนาช่วยสร้างความเข้าใจอนั ดีกับประเทศเพือ่ นบ้าน
2) พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย
3) พระพทุ ธศาสนาเป็นเอกลักษณ์และมรดกของสังคมไทย
4) พระพุทธศาสนากับการพัฒนาชมุ ชน
5) พระพุทธศาสนากบั การจดั ระเบียบสงั คมแล้วบนั ทึกความรทู้ ไี่ ด้จากการศกึ ษาลงในแบบ
บนั ทกึ การอ่าน

ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ำยควำมรู้
3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอธบิ ายความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการ ศึกษาใหเ้ พื่อนฟงั ตามประเด็นท่กี าหนด

ผลดั กันซักถามข้อสงสยั และอธิบายจนทกุ คนมีความเข้าใจชดั เจนตรงกนั

52

4. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ
หลกั ธรรมใดของพระพุทธศาสนาที่ประชาชน ทกุ คนในประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบ้านปฏบิ ัติ
แล้วจะนาไปสคู่ วามเขา้ ใจอันดตี อ่ กนั

(ความเมตตาท้ังกาย วาจา ใจ ความเอื้อเฟ้ือแบ่งปัน รวมทัง้ แบ่งปันผลประโยชนร์ ะหว่างกัน)

ขัน้ ที่ 4 ขยำยควำมเข้ำใจ
5. สมาชิกแต่ละกลุ่มจับค่กู นั ทาใบงานที่ 1.8 เรือ่ ง ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา โดยทาใบงานคู่

ละ 1 ตอน
6. สมาชกิ แต่ละคูผ่ ลัดกันเลา่ ผลงานในใบงานท่ี 1.8 ของคู่ตน ใหเ้ พื่อนคู่อื่นฟัง โดยสมาชกิ ในกลมุ่

ชว่ ยกนั ตรวจสอบความ ถกู ต้อง
7. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-2

. 7.1. นกั เรยี นคดิ วา่ พระพทุ ธศาสนามคี วามสาคัญต่อสังคมไทยอย่างไรบ้าง
(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน ดุลยพินจิ ของครูผ้สู อน)
7.2. นักเรียนคิดว่า พระพทุ ธศาสนามคี วามสาคัญต่อการพัฒนาชมุ ชนต่างๆ ของไทยอยา่ งไร
(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อย่ใู น ดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล
8. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มผลัดกนั นาเสนอผลงานในใบงานที่ 1.8 กลุม่ ละ 1 ตอน หรอื ตามความเหมาะสม

ครตู รวจสอบผลงานของแตล่ ะกลุ่มและให้คาแนะนาเพิ่มเติม

 ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันทาแผน่ พับ เรือ่ ง ประวตั แิ ละความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา
โดยให้ครอบคลุมประเดน็ ตามทกี่ าหนด ดังนี้
1) การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศเพื่อนบ้าน
2) การวเิ คราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาท่ีช่วยเสรมิ สร้างความเขา้ ใจอันดีกับประเทศเพื่อน

บา้ น
3) การวเิ คราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาท่เี ปน็ รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณ์ และมรดก

ของชาติ
4) การวเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาในการพัฒนาชมุ ชน และจดั ระเบียบสังคม

53

7. กำรวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมือ เกณฑ์

วิธกี ำร ใบงานท่ี 1.8 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1.8
ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น แบบบันทกึ การอ่าน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน
สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
สังเกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มั่นในการ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ทางาน
ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

8.สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
8.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน พระพทุ ธศาสนา ม.2
2) บตั รภาพ
3) ใบงานที่ 1.8 เรื่อง ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมดุ
2) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ
- http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/03

บตั รภาพ 54

ภำพกำรประชมุ ชำวพทุ ธนำนำชำติ ณ ศูนย์กำรประชุมสหประชำชำติ กรงุ เทพมหำนคร

ภำพกำรประชมุ ชำวพทุ ธนำนำชำติ ณ ศนู ยก์ ำรประชมุ สหประชำชำติ กรุงเทพมหำนคร

ท่ีมำ : http://www.mcu.ac.th/site/news_in.php?NEWSID=8900

55

ใบงานท่ี

1.8 ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาทช่ี ่วยสรา้ งความ

เขา้ ใจอนั ดกี บั ประเทศเพ่อื นบา้ น

สร้างความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศเพือ่ นบ้าน

ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาท่ีช่วยสรา้ ง
ความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน

สรา้ งสมั พนั ธไมตรี ตามหลกั สาราณียธรรม

56

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหภ์ าพ ชุดท่ี 1-4 แลว้ เขยี นบรรยายใตภ้ าพทส่ี อดคลอ้ งกบั

พระพทุ ธศาสนา เป็นรากฐานของวฒั นธรรมไทย

ภาพชุดท่ี 1

57

ภาพชดุ ท่ี 2

58

ภาพชดุ ท่ี 3

59

ภาพชดุ ท่ี 4

60

ตอนที่ 3
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1. เอกลกั ษณ์ของสงั คมไทยอนั เน่อื งมาจากพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

2. มรดกของพระพุทธศาสนาต่อสงั คมไทย ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

3. พระพุทธศาสนามสี ว่ นสาคญั ในการพฒั นาชุมชนดา้ นวตั ถุอยา่ งไรบา้ ง จงอธบิ าย พรอ้ ม
ยกตวั อยา่ ง

4. พระพุทธศาสนามคี วามสาคญั ในการพฒั นาชุมชนในดา้ นจติ ใจอย่างไร และสง่ ผลดใี นเรอ่ื งใดบา้ ง

5. พระพุทธศาสนามสี ว่ นสาคญั ในการจดั ระเบยี บสงั คมอยา่ งไรบา้ ง

ใบงานที่ 61

1.8 ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา เฉลย

ตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาทช่ี ว่ ยสรา้ งความ
คาชี้แจง

เขา้ ใจอนั ดกี บั ประเทศเพ่อื นบา้ น (ตวั อยา่ ง)

ไม่ขดั ขวางการนบั ถอื ไมแ่ บง่ แยกการทานุบารงุ รบั ฟงั ขอ้ คดิ ขอ้ เสนอแนะ ไมก่ ล่าวโจมตกี นั
ศาสนาอนื่ แต่ละศาสนา และประสานประโยชน์

สทิ ธเิ สรภี าพ ใหค้ วามเอ้อื เฟ้ือแกล่ ทั ธิ สรา้ งความปรองดอง ละเวน้ การสรา้ ง
ในการเผยแผศ่ าสนา ขอ้ พพิ าท
ศาสนาอนื่ ทเี่ ผยแผเ่ ขา้ มาสปู่ ระเทศ สมานฉนั ท์

การสรา้ งสมั พนั ธไมตรตี ามแนวทางพระเจา้ อโศกมหาราช

สร้างความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศเพือ่ นบ้าน

เมอื่ มติ รประเทศ ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาที่ช่วยสรา้ ง ยอมรบั กฎกตกิ า
ประสบภยั กใ็ หค้ วาม ความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน ทนี่ านาชาตกิ าหนด
ช่วยเหลอื
สร้างสมั พนั ธไมตรี ตามหลกั สาราณียธรรม มคี วามคดิ เหน็ ตรงกนั
เมตตา กบั ประเทศอนื่
กายกรรม

เมตตา เมตตา มหี ลกั ความประพฤติ แบ่งปนั ผลประโยชน์ทเี่ กดิ ข้นึ หรอื
วจกี รรม มโนกรรม เสมอกบั มติ รประเทศ ไดม้ าโดยชอบธรรมแกม่ ติ รประเทศ

ไมก่ ลา่ วโจมตี มจี ติ ใจปรารถนาดี ดาเนนิ นโยบายต่างประเทศให้ ประเทศทรี่ า่ รวยใหค้ วาม
ตเิ ตยี น ยกยอ่ ง ไม่คดิ หวาดระแวง สอดคลอ้ งกบั หลกั องคก์ าร ชว่ ยเหลอื ประเทศยากจน
ชมเชย มติ รประเทศ สหประชาชาติ หรอื แบง่ ปนั การใช้
ตามโอกาสสมควร ทรพั ยากรธรรมชาติ

(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

ตอนที่ 2 62
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหภ์ าพ ชุดท่ี 1-4 แลว้ เขยี นบรรยายใตภ้ าพทส่ี อดคลอ้ งกบั
(ตวั อยา่ ง)
พระพทุ ธศาสนา เป็นรากฐานของวฒั นธรรมไทย

ภาพชุดที่ 1

ประเพณีและพธิ กี รรมของพระพทุ ธศาสนา เป็นการสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ ขี องสงั คมและชุมชน
(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

ภาพชดุ ที่ 2 63

(ตวั อยา่ ง)

การสรา้ งสรรคผ์ ลงานดา้ นศลิ ปะนนั้ ไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากพระพุทธศาสนาจงึ ถ่ายทอดออกมาเป็นศลิ ปะแขนง
ต่างๆ ทงั้ ดา้ นจติ รกรรม ประตมิ ากรรม สถาปตั ยกรรม และดนตรที สี่ อดแทรกไปกบั กจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนา

(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

ภาพชุดท่ี 3 64

(ตวั อยา่ ง)

พระพทุ ธศาสนา เป็นสว่ นสาคญั ของวถิ กี ารดาเนินชวี ติ ตงั้ แต่เกดิ จนตาย ความเชอื่ ทางพระพุทธศาสนา ทาให้
เกดิ พธิ กี รรมทแี่ สดงความเป็นมงคลแกช่ วี ติ เชน่ บวช แต่งงาน ทาบญุ อายุ พธิ ศี พ การรกั ษาศลี เป็นตน้

(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

ภาพชุดท่ี 4 65

(ตวั อยา่ ง)

ภาษาไทย มรี ากฐานมาจากภาษาบาลแี ละภาษาสนั สกฤต เป็นภาษาทแี่ สดงถงึ ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา
(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

66

ตอนที่ 3
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1. เอกลกั ษณ์ของสงั คมไทยอนั เน่อื งมาจากพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

1) ความเมตตากรุณา คอื คนไทยมจี ติ ใจสงสารผอู้ นื่ เหน็ ใจผมู้ คี วามทุกข์ ชอบชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่
2) ความเป็นคนใจกวา้ ง คอื ไม่เหน็ แก่ตวั มนี ้าใจไมตรตี ่อทุกคน
3) ความเป็นคนไม่ยดึ มนั่ ถอื มนั่ คอื ไมโ่ ลภ เมอื่ มกี ารสญู เสยี กม็ หี ลกั ธรรมยดึ มนั่ ทางใจไมใ่ หเ้ ศรา้ โศก
จนเกนิ ไป

2. มรดกของพระพุทธศาสนาต่อสงั คมไทย ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

1) มรดกทางรปู ธรรม ไดแ้ ก่ โบราณวตั ถุ โบราณสถาน เช่น วดั วาอาราม สถปู เจดยี ์ พระพทุ ธรปู ภาพ
จติ รกรรม เป็นตน้

2) มรดกทางนามธรรม เป็นการปลกู ฝงั กลอ่ มเกลาคนไทยใหเ้ ป็นคนใจบญุ เอ้อื เฟ้ือเผอื่ แผ่ โอบออ้ มอารี
เป็นมติ รกบั ทุกคน อ่อนน้อมถ่อมตน กตญั ญกู ตเวที

3. พระพทุ ธศาสนามสี ว่ นสาคญั ในการพฒั นาชุมชนดา้ นวตั ถุอยา่ งไรบา้ ง จงอธบิ าย พรอ้ ม
ยกตวั อยา่ ง

พระสงฆซ์ งึ่ เป็นผชู้ ้นี าใหค้ นประพฤตดิ ปี ระพฤตชิ อบ มสี ว่ นรว่ มเป็นผชู้ ้นี าใหป้ ระชาชนไดพ้ ฒั นาทางดา้ น
วตั ถุ เชน่ ครบู าศรวี ชิ ยั นาชาวบา้ นสรา้ งทางข้นึ ดอยสเุ ทพ พระพะยอมกลั ยาโณ เป็นผรู้ เิ รมิ่ การสรา้ งโรงงาน
ปรบั ปรุงของเกา่ ทใี่ ชแ้ ลว้ มาเป็นของใหมเ่ ป็นการสรา้ งงานใหแ้ ก่ประชาชน เป็นตน้

4. พระพทุ ธศาสนามคี วามสาคญั ในการพฒั นาชุมชนในดา้ นจติ ใจอย่างไร และส่งผลดใี นเรอ่ื งใดบา้ ง

การอบรมสงั่ สอนหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาของพระภกิ ษุสง่ ผลต่อการพฒั นาจติ ใจของประชาชนใน
ดา้ นวนิ ยั มคี วามสามคั คี ความซอื่ สตั ย์ ไม่เหน็ แก่ตวั ขยนั หมนั่ เพยี ร สง่ ผลต่อการอยรู่ ว่ มกนั อย่างมคี วามสขุ
สงบเรยี บรอ้ ย

5. พระพทุ ธศาสนามสี ว่ นสาคญั ในการจดั ระเบยี บสงั คมอยา่ งไรบา้ ง

พระพุทธศาสนามวี ธิ กี ารปลกู ฝงั คนในสงั คมใหม้ จี ติ สานกึ ในสงิ่ ทดี่ ี หา้ มใจตนเองไมใ่ หก้ ระทาในสงิ่ ทผี่ ดิ
โดยใชส้ ตปิ ญั ญาพจิ ารณาตนเอง และไมก่ ระทาผดิ สง่ ผลใหก้ ระทาตามกฎระเบยี บของสงั คม โดยไม่ตอ้ ง
ใชว้ ธิ กี ารลงโทษตามกฎหมาย เป็นการปรามบุคคลมใิ หก้ ระทาผดิ ศลี ธรรมและกระทาผดิ กฎหมาย

แบบทดสอบหลังเรยี น 67
เรื่อง ประวัตแิ ละควำมสำคญั ของพระพุทธศำสนำ

คำชี้แจง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. การท่พี ระเจ้าอนรุ ุทมหาราชสงั่ ใหท้ าลายเมือง ค. องค์กรยุวพุทธมีการอบรมและบรรยาย
สธุ รรมวดี และนาพระสงฆม์ อญพรอ้ มพระไตรปิฎกขึ้น เป็นภาษาอังกฤษและภาษาจนี กลาง
ไปยงั เมืองพกุ าม มผี ลสาคัญในขอ้ ใด ง. ผลติ พระพิมพ์ดนิ ดบิ และเครื่องรางของขลงั
ก. พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติพม่า และพระพุทธรปู พระโพธสิ ัตว์
ข. มกี ารทาสังคายนาพระไตรปิฎกเป็นคร้งั แรก 6.สลุ ต่านมลั โมชาห์ แห่งมาเลเซีย มสี ว่ นทาให้อิทธิพล
ค. พระมหากษัตรยิ ท์ รงมีอทิ ธิพลต่อ ของพระพทุ ธศาสนาเส่อื มลงในดนิ แดนมาเลเซยี
พระพุทธศาสนา อยา่ งไร
ง. พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทแผ่ขยายที่ ก. พระองค์เล่ือมใสศาสนาอิสลาม
อาณาจักรพม่า ข. ส่ังหา้ มประชาชนศึกษาธรรมะของ
2. กษตั ริย์พมา่ พระองค์ใด ทรงเป็นองค์อุปถัมภใ์ น พระพทุ ธศาสนา
การทาสังคายนาพระธรรมวนิ ยั คร้ังที่ 5 ค. ต่อตา้ นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดนิ แดน
ท่เี มืองมัณฑะเลย์ ของมาเลเซีย
ก. พระเจ้ามนิ ดง ง. สัง่ ใหท้ หารทาลายศาสนสถาน พระพุทธรูป
ข. พระเจา้ มนูหะ และใหป้ ระชาชนนับถือศาสนาอิสลาม
ค. พระเจ้าอนุรุทธมหาราช 7. พระพุทธศาสนาในประเทศลาวเสื่อมลงเน่ืองจาก
ง. พระเจ้าธรรมเจดีย์ศรีปิฎกธร สาเหตุ ในข้อใด
3. หลักฐานในข้อใดทีแ่ สดงวา่ พระพทุ ธศาสนา ก. ลาวถูกปกครองโดยระบอบคอมมวิ นิสต์
นิกายมหายานเคยเปน็ ทน่ี ับถือกันอยา่ งแพรห่ ลายใน ข. ประชาชนขาดความศรทั ธาเล่ือมใสใน
ประเทศอินโดนีเซีย พระพุทธศาสนา
ก. กษตั รยิ ร์ าชวงศ์ไศเลนทร์ปกครองอาณาจกั ร ค. พระมหากษัตรยิ ์ของลาวบางพระองค์ไม่
ศรีวชิ ัย เลือ่ มใสพระพทุ ธศาสนา
ข. พระโสณเถระมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ง. ลาวเป็นอาณานคิ มของฝรั่งเศส และตอ่ มาถกู
ค. พระพิมพ์ดินดบิ และรปู พระโพธิสัตว์ ปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์
ง. การสรา้ งพระพุทธรูปศิลปะปาละ 8. ในสมัยพระมหากษัตริยข์ องกัมพูชาพระองคใ์ ดท่ี
4. ในสมยั ของพระเจ้าไชยเชษฎาธริ าช ทรงสรา้ งส่ิง ได้รับเอาพระพุทธศาสนานิกายธรรมยตุ จากเมืองไทย
สาคัญเก่ียวกับพระพุทธศาสนาในข้อใด มาประดิษฐานท่ีประเทศกัมพูชาเปน็ ครงั้ แรก
ก. พระพทุ ธรปู พระองค์ต้ือ วดั พระแก้ว ก. พระเจา้ หรริ ักษ์รามาธบิ ดี
ข. พระพุทธรูปปัญจโลหะ ข. พระเจ้าชยั วรมันที่ 1
ค. วัดมโนรมย์ วดั อโุ บสถ ค. พระเจ้าชยั วรมันท่ี 7
ง. พระบาง ง. พระเจา้ ตามลนิ ทะ
5. การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในสงิ คโปร์มี 9. ในรัชสมยั ของพระเจ้าชัยวรมนั ที่ 7 ของกมั พูชา
หลากหลายวิธีการ ยกเวน้ ข้อใด ไดท้ านุบารงุ พระพุทธศาสนาหลายประการ ยกเว้นข้อ
ก. การแปลตาราและคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา ใด
เป็นภาษาตา่ งๆ ก. ทรงสรา้ งนครธม
ข. จัดตงั้ โรงเรยี นสอนพระพุทธศาสนา และ ข. ทรงสร้างปราสาทบายน
โรงเรยี นอบรมศาสนจารย์ ค. ทรงจดั ตั้งโรงเรียนสอนปรยิ ตั ิธรรมช้นั สูง
ง. ทรงรับเอาพระพทุ ธศาสนานิกายลงั กาวงศ์
เข้ามาเผยแผ่

10. สาเหตุสาคญั ท่ีทาให้พระพุทธศาสนาในประเทศ ค. จดั กิจกรรมพระพทุ ธศาสนากับนานาชาติ 68
กมั พชู าเส่ือมลง คืออะไร ง. เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเปน็ ภาษาอังกฤษ

ก. พระมหากษัตริยไ์ ม่เล่ือมใสใน 15. คาสอนของพระพทุ ธศาสนาใหร้ ู้จักละอายและ

พระพุทธศาสนา เกรงกลวั ตอ่ การทาช่วั มีผลสาคญั ในเร่ืองใด
ข. ประชาชนขาดความศรัทธาใน
ก. การป้องกนั การทาผิด
พระพทุ ธศาสนา ข. ความรบั ผิดชอบในการทางาน
ค. ลทั ธคิ อมมวิ นสิ ต์ และนโยบายของเฮงสัมริน ค. การปฏบิ ัติตามกฎระเบียบของสงั คม
ง. การเปล่ยี นแปลงการปกครองของกมั พูชา ง. การทางานร่วมกันในสงั คมด้วยความสามัคคี
11.ปจั จบุ ันประเทศเพ่ือนบ้านของไทยในข้อใดยงั นบั 16.การที่ชาวไทยมพี ธิ ีกรรมทางพระพทุ ธศาสนาตา่ งๆ
ถือพระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติทุกประเทศ ในเรื่องการบวช แตง่ งาน ทาบญุ อายุ พธิ ศี พ แสดงถงึ
ก. พม่า ลาว มาเลเซยี พระพทุ ธศาสนามคี วามสาคัญตอ่ เร่อื งใด
ข. มาเลเซีย พมา่ สิงคโปร์ ก. ความเปน็ สิริมงคล
ค. อนิ โดนเี ซีย ลาว พมา่ ข. วงจรชีวติ ของบุคคล
ง. พมา่ ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม สงิ คโปร์ ค. ความเชื่อของชาวพุทธ
12. ข้อใดแสดงถงึ ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาท่ี ง. การพัฒนาทางวัตถุคู่กบั จติ ใจ
สง่ ผลในดา้ นศลิ ปะ 17. สถานการณ์เกยี่ วกบั การนับถือพระพุทธศาสนา
ก. พิธีลอยกระทง ในประเทศมาเลเซยี ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง
ข. ประเพณีสงกรานต์ ก. ชาวพุทธในมาเลเซยี นบั ถือพระพุทธศาสนา
ค. สวดมนตเ์ ป็นภาษาบาลี
ง. จติ รกรรมฝาผนงั ในวดั โพธิ์ นกิ ายมหายาน และเถรวาท
13. พทุ ธสมาคมแห่งสิงคโปร์ส่วนใหญ่มีจดุ ประสงค์ ข. มกี ารจัดต้ังสมาคมทีด่ าเนินกิจกรรมทาง
สาคัญในเร่ืองใดมากท่สี ุด
ก. เผยแผ่และดาเนนิ กจิ กรรมทาง พระพทุ ธศาสนาหลายสมาคม
ค. พระพุทธศาสนามบี ทบาทในหมชู่ าวจีน ไทย
พระพุทธศาสนาและกิจการทางสาธารณ
กศุ ล พม่าซึ่งเป็นพลเมืองของมาเลเซยี
ข. จดั พิธีกรรมในวันสาคัญของพระพุทธศาสนา ง. ประชาชนชาวมาเลเซียนบั ถอื
ใหเ้ ปน็ แนวทางเดียวกัน
ค. รณรงค์ให้ชาวสงิ คโปร์ทุกคนนบั ถือ พระพทุ ธศาสนามากเปน็ ลาดบั ท่ีสาม ตอ่
พระพุทธศาสนานิกายหนิ ยาน จากศาสนาอสิ ลามและศาสนาครสิ ต์
ง. ผลิตหนังสอื และวารสารตา่ งๆ เก่ยี วกบั 18. ข้อใดจดั เปน็ เอกลกั ษณ์ของคนไทย ที่เปน็ ผลมา
พระพุทธศาสนา จากคาสอนของพระพุทธศาสนา
14. เวียดนามมบี ทบาทสาคัญทางพระพุทธศาสนา ก. รักความเป็นไทย
กบั ประเทศต่างๆ ที่นับถือพระพุทธศาสนาอยา่ งไร ข. มีเมตตากรณุ า ใจกวา้ ง
ก. เปน็ เจา้ ภาพในการจดั ประชุมชาวพทุ ธ ค. ใฝเ่ รียนรู้ แสวงหาความรู้
นานาชาติ เนือ่ งในวันวิสาขบชู า ง. ยึดมั่นในขนบธรรมเนยี มประเพณี
ข. แลกเปลี่ยนสมณทูตกบั ประเทศไทย กมั พชู า 19. ข้อใดจัดเป็นมรดกทางรปู ธรรมของ
พระพุทธศาสนา
ก. ความเอื้อเฟื้อ ข. ใจบุญสนุ ทาน
ค. จติ รกรรมฝาผนงั ง. กตญั ญูกตเวที
20. หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาในข้อใด ที่

สามารถนาไปใช้ในการสรา้ งสัมพนั ธไมตรีระหวา่ ง

ประเทศ

ก. เมตตามโนกรรม ข. สาราณียธรรม

ค. สังคหวัตถุ 4 ง. อธิปไตย 3

69

เฉลย

1. ง 2. ก 3. ค 4. ก 5. ง 6. ง 7. ง 8. ก 9. ค 10. ค
11. ง 12. ง 13. ก 14. ก 15. ค 16. ข 17. ง 18. ข 19. ค 20. ข

70

บันทึกหลังกำรสอน

1.ผลกำรจัดกำรเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ปญั หำและอปุ สรรค์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.แนวทำงแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .................................................ผูบ้ นั ทกึ
(ครผู ู้สอน นางสาวจดิ าภรณ์ ถิน่ ตองโขบ)
ตาแหนง่ ครผู ูส้ อน

71

หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี 2
เร่อื ง พทุ ธประวัติ พระสำวก ศำสนิกชนตัวอย่ำง และชำดก

72

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4

กล่มุ สำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 2

หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง พุทธประวัติ พระสำวก ศำสนกิ ชนตัวอยำ่ ง และชำดก ภำคเรียนที่ 2

แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่ 4 พทุ ธประวัติ และชำดก เวลำ 2 ชว่ั โมง

ผูส้ อน นำงสำวจิดำภรณ์ ถ่ินตองโขบ

1. จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้
1.1 ตัวชวี้ ัด
ส 1.1 ม.2/5 วิเคราะหพ์ ุทธประวัตหิ รือประวตั ิศาสดาของศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามที่กาหนด
ม.2/6 วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ติ และข้อคดิ จากประวัติสาวก

ชาดก เรื่องเล่า และศาสนกิ ชนตัวอย่างตามที่กาหนด
1.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1) วิเคราะห์ข้อคดิ จากพุทธประวตั ิ ตอนผจญมาร การตรัสรู้ และการสั่งสอนได้
2) บอกแนวทางการนาข้อคิดจากพุทธประวัติไปประยุกตป์ ฏิบตั ใิ นการดาเนินชวี ติ ได้
3) วิเคราะหข์ ้อคิดที่ไดจ้ ากมติ ตวนิ ทุกชาดกและราโชวาทชาดก และแนวทางการนาไป

ประยุกตใ์ ช้ ในการดาเนินชวี ิตได้

2 สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด
การวิเคราะห์พุทธประวัติ และชาดก โดยใช้การคิดวิเคราะหอ์ ยา่ งมีเหตผุ ลน้ัน ย่อมทาให้ได้ข้อคดิ

สาคัญ ซ่ึงสามารถนามาเตือนสติ และเป็นหลกั ในการประพฤติตนอยา่ งเหมาะสม

3 สำระกำรเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) สรุปและวเิ คราะห์พุทธประวัติ
-การผจญมาร
-การตรัสรู้
-การส่ังสอน
2) ชาดก
-มิตตวินทุกชาดก
-ราโชวาทชาดก

4 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 3) ทักษะการวิเคราะห์
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการตคี วาม
2) ทกั ษะการแปลความ
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

73

5 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์/คำ่ นยิ ม
5.1คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1)มีวินยั รบั ผิดชอบ
2)ใฝเ่ รยี นรู้
3)มุง่ มัน่ ในการทางาน

6. กิจกรรมกำรเรยี นรู้
วิธีสอนแบบ กระบวนกำรกลุ่มสัมพนั ธ์

ข้นั ที่ 1 นำเขำ้ สู่บทเรยี น
สอ่ื การเรียนรู้ : บัตรภาพ
1. ครใู หน้ ักเรียนผลัดกนั เลา่ ความรเู้ ดมิ ทน่ี ักเรยี นเคยเรยี น เร่อื ง พทุ ธประวัติ และให้นักเรียนช่วยกนั

เสนอข้อคิดที่ได้จากการศกึ ษาพทุ ธประวัติ
2. ครเู ล่าพทุ ธประวัติ ตอน ผจญมาร ใหน้ กั เรยี นฟงั พร้อมให้ดภู าพพุทธประวตั ิ ตอน ผจญมาร และ

ใหน้ กั เรียนช่วยกนั วเิ คราะห์ความหมายของคาวา่ มาร ซ่ึงนักเรยี นอาจตอบไดห้ ลากหลาย ครเู ชอื่ มโยงการ
วิเคราะห์ใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า “มาร” ตามภาษาธรรม อาจหมายความวา่ กเิ ลส ไดแ้ ก่ โลภะ โทสะ และโมหะ
ท่รี บกวนพระทัยพระพุทธองค์ในขณะนั่งสมาธนิ ัน่ เอง เสนามาร กค็ ือ กิเลสเล็กๆ น้อยๆ ทเ่ี ป็นบรวิ ารของโลภะ
โทสะ โมหะ ส่วนพระแมธ่ รณี ก็คอื บารมีทง้ั 10 ขอ้ ที่พระพุทธองค์ทรงบาเพญ็ มา เป็นคุณความดี
เปน็ กาลังใจให้ต่อสู้อานาจของกิเลสทงั้ ปวงและตรสั รใู้ นท่สี ุด

ขัน้ ท่ี 2 จัดกำรเรียนรู้
ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ : 1. หนงั สอื เรียน พระพุทธศาสนา ม.2
2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่ 2.1

3. นักเรยี นแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 8 คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรือ่ ง

พุทธประวัติ ตอน ผจญมาร ตรสั รู้ และเทศนาสงั่ สอน จากหนงั สอื เรยี น เอกสารประกอบการสอน หนังสอื

คน้ คว้าเพ่ิมเตมิ ห้องสมดุ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ จากนัน้ บนั ทึกความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษาลงในแบบบนั ทกึ

การอา่ น

4. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มฝกึ ตัง้ คาถาม จากพทุ ธประวตั ิทไี่ ด้ศึกษา มากลมุ่ ละ 10 ขอ้ พร้อมเฉลยคาตอบ

5. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มผลดั กนั ถามคาถามกบั สมาชิกกลุ่มอนื่ เรยี งตามลาดับ ดังนี้

- กลมุ่ ที่ 1 ถามกลุ่มที่ 2 - กล่มุ ที่ 4 ถามกลุ่มที่ 5

- กลุม่ ที่ 2 ถามกลมุ่ ท่ี 3 - กลุ่มท่ี 5 ถามกลุ่มท่ี 6

- กลมุ่ ท่ี 3 ถามกลมุ่ ที่ 4 - กลมุ่ ท่ี 6 ถามกลุม่ ที่ 1

6. นกั เรยี นกลมุ่ ผูถ้ ามจะเป็นฝ่ายเฉลยคาตอบ ครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง ถ้ากลุ่มใดตอบไม่ถูกหรือ

ตอบยงั ไมค่ รบถว้ นตามคาถาม กลมุ่ ผถู้ ามจะเปน็ ผู้เสริมให้ถกู ต้องครบถ้วน

7. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันทาใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง พทุ ธประวัติ ซงึ่ ในใบงานจะประกอบด้วย 2 ตอน

ดงั นี้

- ตอนท่ี 1 เปน็ การเรียงลาดับเหตกุ ารณใ์ นพทุ ธประวัติ

74

- ตอนที่ 2 เป็นการตอบคาถามเชงิ วิเคราะหเ์ กี่ยวกับพุทธประวตั ิ
8. ครูและนักเรยี นช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานท่ี 2.1
9. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด
10. ครเู ลา่ ชาดกซึ่งเป็นเรื่องราวของพระโพธิสตั วบ์ าเพ็ญบารมี เพ่อื จะไปเสวยชาตเิ ปน็ พระพุทธเจา้ ให้
นักเรียนฟัง ซ่งึ อยู่ในสตุ ตันตปิฎก นิกายขทุ ทก ในเร่ือง มิตตวินทกุ ชาดก และราโชวาทชาดก
11. ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั วิเคราะหข์ ้อคิดท่ีได้จากการฟงั ชาดกเรื่อง มิตตวนิ ทกุ ชาดก และราโชวาท
ชาดก

ขั้นที่ 3 สรปุ และนำหลักกำรไปประยกุ ตใ์ ช้

12. ครูใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันสรุปสาระสาคญั ของพระพทุ ธประวัติ มิตตวินทุกชาดก และราโชวาทชาดก
และข้อคิดสาคญั ท่ีได้จากการศึกษา

13. นกั เรียนช่วยกันยกตัวอย่างข้อคดิ ท่ีได้จากการศึกษาเก่ียวกับ พทุ ธประวตั ิ มติ ตวินทุกชาดก
และราโชวาทชาดก พร้อมกับแนวทางการนาไปประยกุ ตป์ ฏิบตั ิ ครูตรวจสอบความถูกต้อง และชว่ ยเสนอแนะ
เพม่ิ เติม

14. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด
นกั เรียนสามารถนาข้อคดิ จากการศกึ ษาพุทธประวัติไปประยกุ ต์ปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างไรบา้ ง
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น ดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน)

ขั้นที่ 4 วดั และประเมินผล
ส่อื การเรียนรู้ : ใบงานท่ี 2.1

15.ครวู ัดและประเมินผลนกั เรียนจากการทาใบงานท่ี 2.1 และการอภปิ รายร่วมกันตามประเด็นที่ครู
กาหนด

16.ครสู งั เกตพฤติกรรมการทากจิ กรรมกลุม่ ร่วมกันของนักเรียน

75

7.กำรวดั และประเมนิ ผล

วิธีกำร เคร่อื งมอื เกณฑ์

ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ (ประเมินตามสภาพจรงิ )
ที่ 2 ที่ 2

ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจแบบบนั ทึกการอ่าน แบบบนั ทึกการอ่าน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
มุง่ ม่ันในการทางาน และมีความอดทน อด

กลน้ั

8. สอ่ื /แหล่งกำรเรียนรู้
8.1สอ่ื การเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรยี น พระพทุ ธศาสนา ม.2
2) เอกสารประกอบการสอน
3) บัตรภาพ
4) ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง พุทธประวัติ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมดุ
2)แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ
-http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/04
-http://www.dharma-gateway.com/buddha/chadok-05/chadok-050209.htm
-http://www.dharma-gateway.com/buddha/chadok-02-01/chadok-020101.htm

แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี 2 76

คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1.เหตกุ ารณใ์ นพทุ ธประวัติตอนผจญมารนัน้ ภาษา 5.เพราะเหตุใด พระพุทธเจา้ ทรงต้งั พระทัยมน่ั คงวา่

ธรรม คาว่า “มาร” หมายถึงอะไร จะต้องสอนปญั จวคั คีย์ หลังจากตรสั ร้แู ลว้

ก. ศตั รู ข. กิเลส ก. ปญั จวัคคีย์สามารถบรรลุพระอรหนั ต์ได้เรว็

ค. ตัณหา ง. ความเชื่อ ข. ชว่ ยเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดนิ แดน

2.เจ้าชายสิทธตั ถะทรงศึกษาวชิ าในขอ้ ใด ตา่ งๆ

กบั อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุททกดาบส ค. ปญั จวัคคยี ์เคยรบั ใช้เมื่อครง้ั ที่พระพุทธเจ้า

รามบตุ ร ทรงบาเพ็ญเพยี ร

ก. ความรทู้ างศิลปศาสตร์ ง. ต้องการใหป้ ญั จวคั คีย์เป็นสกั ขีพยานแห่งการ

ข. ฝกึ จติ บาเพ็ญตบะ ตรสั รขู้ องพระองค์

ค. บาเพญ็ ทุกกรกริ ยิ า 6.เพราะเหตุใด พระพุทธเจ้าจึงทรงแตง่ ต้ังพระสารี

ง. ฝึกปฏบิ ตั โิ ยคะ บุตรและพระโมคคัลลานะ เป็นอัครสาวก

3.ให้เรียงลาดับการค้นคว้าทางพ้นทุกขข์ อง ก. เพราะรเู้ ร่ืองพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี

พระพทุ ธเจา้ จากก่อนไปหลัง สามารถเปน็ กาลงั สาคญั ช่วยพระพุทธองค์

ก. ฝกึ ปฏิบตั โิ ยคะ  บาเพญ็ ตบะ ทางานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

 บาเพ็ญเพียรทางจิต  บาเพ็ญทุกกร ข. เพราะเป็นผู้ท่จี ดั ไดว้ า่ เป็นทย่ี อมรบั ของหมู่

กิริยา สงฆส์ าวกของพระพุทธเจา้
ค. เพราะเปน็ ผู้ทอ่ี ยู่ในตระกลู สูง และมีอาวโุ ส
ข. บาเพ็ญทุกกรกริ ยิ า  บาเพ็ญตบะ กว่าพระภิกษุอนื่

 ฝกึ ปฏิบัติโยคะ  บาเพญ็ เพียรทางจติ ง. เพราะเคยเป็นศิษยร์ นุ่ แรกของพระพทุ ธเจา้
7. ใครเป็นผู้ทอี่ ุปตสิ สะมีความศรทั ธาจนกระทั่งเขา้
ค. ฝึกปฏบิ ตั ิโยคะ  บาเพญ็ ตบะ ไปอุปสมบทในพระพทุ ธศาสนา

 บาเพญ็ ทกุ กรกิริยา  บาเพ็ญเพยี ร ก. พระอัสสชิ
ทางจิต

ง. บาเพญ็ ตบะ  ฝกึ ปฏิบตั โิ ยคะ ข. พระวัปปะ

 บาเพญ็ ทุกกรกิรยิ า  บาเพญ็ เพยี ร ค. พระโกณฑัญญะ

ทางจติ ง. พระมหานามะ
4.เหตกุ ารณ์กอ่ นพระพุทธเจา้ ตรัสรู้ ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
8. ข้อใดจดั เปน็ คุณธรรมอันเป็นแบบอยา่ งของพระ
ก. ทรงรับหญา้ กสุ ะจากนางสุชาดา
สารีบุตร
ข. ทรงรับข้าวมธุปายาสจากนายโสตถิยะ
ก. เป็นผูม้ ีความอดทนเป็นอย่างยงิ่ และมีความ
ค. พระองคเ์ สดจ็ ข้ามแมน่ า้ เนรัญชราไปทางฝั่ง
อ่อนนอ้ มถ่อมตน
ตะวันออก
ข. เปน็ ผมู้ ีความใฝ่รู้อย่างยิ่ง และเปน็ ผฝู้ กึ ฝน
ง. ประทับนั่งขดั สมาธิ ณ โคนต้นโพธิ์ ผนิ พระ
ตนเองเสมอ
พกั ตรไ์ ปทางทิศตะวันออก
ค. เป็นผู้มีปัญญาหลักแหลม และมีความกตญั ญู

เป็นเลศิ

ง. เปน็ ผู้นาทด่ี ี และมีความออ่ นน้อมถ่อมตน

77

9.อปุ สรรคสาคญั ในการบาเพ็ญเพยี รทางจติ ของ 15. คณุ ธรรมอันเปน็ แบบอย่างของพระเจา้ พมิ พิสาร
พระโมคคลั ลานะ คืออะไร
คือข้อใด
ก. เกิดความง่วง
ข. มีความเบ่ือหน่าย ก. มคี วามกตัญญูกตเวที มีฤทธ์ิมาก
ค. มีความท้อถอย
ง. เปน็ ผูม้ ีฤทธ์ิ ข. มีความกล้าหาญ มีความเสยี สละ
10. ขอ้ ใดจัดเป็นคณุ ธรรมอนั เป็นแบบอย่างของ
พระโมคคัลลานะ ค. มคี วามใฝร่ ูอ้ ย่างยง่ิ เปน็ ผนู้ าที่ดี
ก. เป็นผ้มู ปี ญั ญาเป็นเลิศ และเป็นผ้นู าทีด่ ี
ข. มคี วามกตัญญู และมีปญั ญาเปน็ เลิศ ง. เป็นผู้นาทีด่ ี ม่ันคงในพระรตั นตรยั
ค. มีความอดทนย่ิง และเป็นผ้ถู ่อมตน
ง. เปน็ ผนู้ าท่ีดี และมีความกตัญญู 16.พระราชกรณยี กิจของพระมหาธรรมราชาลิไทยข้อ
11.ข้อใดจดั เปน็ คุณธรรมอนั เป็นแบบอย่างของนาง
ขุชชุตตรา ใดทแ่ี สดงวา่ มสี ว่ นสาคญั ในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
ก. มคี วามเสยี สละ และเอาใจใสใ่ นการทานุ
ก. โปรดใหย้ กผนังก้ันนา้ ตั้งแตส่ ุโขทยั ถงึ
บารุงพระพุทธศาสนา
ข. เป็นผู้ฝึกตนเองอยู่เสมอ และเอาใจใสใ่ น พษิ ณุโลก

หนา้ ท่ี ข. ทรงพระราชนพิ นธ์เรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง
ค. มคี วามซ่ือสตั ย์ และมีความกตญั ญู
ง. มีความกตัญญู และมคี วามเสียสละ ค. ทรงสร้างวัดปา่ มะม่วง และวัดเวฬุวัน
12. นางขชุ ชุตตรา ได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้า
ว่า เปน็ เลิศกว่าอบุ าสกิ าทั้งหลายในดา้ นใด ง. โปรดใหส้ ร้างปราสาทราชมณเฑียร
ก. เป็นธรรมกถกึ
ข. ความซ่ือสตั ย์ 17. คณุ ธรรมอนั เปน็ แบบอย่างของพระมหาธรรม
ค. เป็นแบบอย่าง
ง. ความใฝ่รู้ ราชาลไิ ทย คือข้อใด
13. พระสารีบตุ ร เป็นเอตทัคคะในด้านใด
ก. ปญั ญา ก. มีความกตัญญูอย่างย่งิ
ข. ฤทธมิ์ าก
ค. แสดงธรรม ข. มคี วามเสยี สละ กลา้ หาญ
ง. การจาพระวนิ ยั
14. ถ้านักเรยี นอ่านหนงั สอื แลว้ งว่ งนอน นักเรียนจะ ค. เปน็ ผู้มคี วามอดทนอย่างยิง่
คดิ ถงึ แนวทางการปฏบิ ัติของผใู้ ด
ก. พระสารีบตุ ร ง. เปน็ ผูใ้ ฝห่ าความรู้อยู่เสมอ มีปัญญาเปน็ เลศิ
ข. นางขชุ ชตุ ตรา
ค. พระโมคคัลลานะ 18. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณว
ง. พระเจา้ พมิ พสิ าร
โรรสทรงมีคุณธรรมอันเปน็ แบบอย่างหลายประการ

ยกเว้น ขอ้ ใด

ก. ทรงมคี วามอ่อนนอ้ มถ่อมตนเปน็ เลศิ

ข. ทรงมคี วามเปน็ ผู้นาเปน็ เลิศ

ค. ทรงมหี ิรโิ อตตปั ปะเป็นเลิศ

ง. ทรงมีความใฝ่ร้ใู ฝ่ศึกษา

19. การศึกษามติ ตวินทกุ ชาดก จะทาให้ได้ข้อคดิ ถึง

ผลเสียของเรอื่ งใด

ก. ความโลภ ข. ความโกรธ

ค. ความคดโกง ง. ความตระหนี่

20. การศึกษาราโชวาทชาดก ทาใหไ้ ดข้ ้อคิดดงั คา

กลา่ วข้อใด

ก. อยา่ เห็นกงจักรเป็นดอกบัว

ข. ความพยายามนาไปสคู่ วามสาเรจ็

ค. การทาดีย่อมได้รบั สงิ่ ทดี่ ตี อบแทน

ง. ความกตัญญูกตเวทเี ปน็ เครอ่ื งหมายของคนดี

78

เฉลย

1.ข 2. ง 3.ค 4. ง 5. ง 6.ก 7.ก 8.ค 9.ก 10.ค
11. ข 12. ก 13. ก 14. ค 15. ง 16. ข 17. ก 18. ข 19. ก 20. ค

79

เอกสารประกอบการสอน

พุทธประวตั ิ ตอน ผจญมำร

พระพทุ ธเจา้ ตอน ผจญมาร

80

ผจญมำร

ณ วันเพญ็ เดือน 6 วนั เดียวกบั ที่ไดท้ รงเสวยขา้ วมธปุ ายาสแล้วนนั้ พระสทิ ธัตถมหาบุรษุ ทรง
บาเพญ็ เพยี รลุม่ ลึกเป็นครงั้ สดุ ทา้ ย พระอาทิตยล์ ับขอบฟ้าไปแลว้ พระองค์กาลังจะร้แู จ้งทจ่ี ะตรัสรู้นั้น
ก็มวี สวดั ดีมารยกพลมารมาขัดขวางการบรรลธุ รรมขัน้ สงู สุดนี้ โดยมารมาท้ังทางบก ทางอากาศ
พยายามจะฟาดฟันใหย้ ่อยยบั ณ ที่นนั้ ไม่มใี ครเหลืออยูเ่ ลย แม้เทวดาท้ังหลายกก็ ลัวพญามาร จงึ เหลอื
แต่พระองคผ์ เู้ ดยี ว พระองคท์ รงตรสั สูด้ ้วยพระทยั ไม่หวน่ั ไหว พระแมธ่ รณจี งึ ผดุ ข้ึนมาเป็นพยานใน
ความดที ่ีพระองค์ไดห้ ล่ังทักษิโณทก ลงบนแผ่นดินในกาลก่อนทกุ ๆ ชาติ ทร่ี วมไวใ้ นมวยผมของพระแม่
ธรณี โดยการบดิ น้าออกมาจากเกศา ทาให้น้าท่วมพสธุ าขึน้ หมูม่ ารท้งั หลายหนไี ปส้ินและทรงชนะมาร
ในท่สี ดุ

คตธิ รรมจำกภำพ
1. สติ คอื ความรตู้ วั ทั่วพร้อม ควบคุมใหจ้ ิตมั่นคงไม่หวน่ั ไหว จะหยุดยงั้ สง่ิ เลวรา้ ยทเ่ี กิดขนึ้ ได้

ดงั ท่พี ระพุทธองค์ทรงใชส้ ตสิ ู้กบั มารที่มาผจญได้สาเรจ็
2. การทาความดที ม่ี ากย่งิ ขนึ้ และยาวนาน (เปน็ กัมมสกั ก-กมั มโยนิ) ความดีที่สง่ั สมไวน้ จ้ี ะเป็น

เกราะก้ันกาบังเหตุรา้ ย
3. พยาน เปน็ หลกั ฐานแสดงร่องรอยในการกระทาเปน็ สง่ิ จาเป็นทุกยุคสมัย ดังเช่น พระแมธ่ รณี

เป็นพยานสาคัญว่า มหาบุรษุ ผนู้ ้ไี ด้ทาความดมี าหลายกลั ป์ โดยหลง่ั น้าไวบ้ นแผน่ ดนิ ท่ีพระ
แมธ่ รณีเกบ็ ไว้ท่มี วยผม ซ่งึ เม่ือบดิ ออกมาทาใหน้ ้าทว่ มพสธุ ายงั พญามารให้หนีไปสิ้น
4. มาร คือ อุปสรรคหรือกเิ ลส บางทเี รียกว่า กเิ ลสมาร ได้แก่ ตณั หา ความอยาก ความต้องการ
ราคะ ความรัก ความหลงในกาม โมหะ ความอจิ ฉาริษยา เกลียดชัง จะขจดั ออกจากตนได้
โดยการละ การวาง อย่างมุง่ มั่นเด็ดเดี่ยว เขม้ แขง็ ตอ่ สง่ิ ยวั่ ยุ ดงั พทุ ธองคท์ ่ีชนะมารได้
5. ผทู้ ี่คดิ ดี ทาดี ย่อมชนะผู้คิดร้ายทาร้าย ดังคากล่าวทว่ี ่า ธรรมย่อมชนะอธรรม

ที่มำ : จิตรลดา ศริ ิรตั น์ และแม้นเดือน สขุ บารงุ . 2542. พระพทุ ธเจ้ำตรัสรไู้ ด้อยำ่ งไร.
กรุงเทพมหานคร : เลยี่ งเชียง.

81

พทุ ธประวตั ิ ตอน ตรสั รู้

พระพุทธเจ้า ตอน ตรัสรู้

82

ตรัสรู้
ในวนั เพ็ญเดือนวสิ าขะ หลังจากท่ีพระสทิ ธัตถมหาบรุ ษุ ฉันขา้ วมธปุ ายาสของนางสชุ าดา แลว้
ทรงรับหญ้าคา จากโสตถยิ พราหมณ์ 8 กา ปลู าดเป็นอาสนะท่ีใตต้ น้ โพธิ์ริมฝัง่ แม่นา้ เนรัญชรา
ประทับนัง่ บนอาสนะแลว้ อธิษฐานวา่ “หากไม่ได้ตรัสรกู้ จ็ ะไมล่ ุกจากท่นี ี้ แมเ้ ลือดและเน้ือจะเหอื ดแห้ง
ไปเหลอื แต่เอน็ และกระดกู กต็ าม” จากน้นั ทรงบาเพ็ญสมาธิ มั่นคงลุม่ ลึกไปโดยลาดบั ในยามต้นของ
ราตรีนั้น พระองค์ไดห้ ยง่ั รู้อดีตชาติอนั ยาวไกล ในยามท่ีสอง ได้หยั่งรู้ การเกดิ และอุบตั ิของสรรพ
สตั ว์ดว้ ยอานาจของกรรม และในยามสุดท้ายแห่งราตรีพระองค์ไดห้ ย่งั รหู้ นทางอนั เปน็ ขอ้
ปฏิบตั ิทจ่ี ะทาให้ดับทุกขท์ ัง้ ปวงได้ กลา่ วคือ พระองคร์ แู้ จ้งอรยิ สัจ 4 ได้แก่ ร้แู จ้ง ทกุ ข์ สาเหตุของทกุ ข์
ความดับทุกข์ และขอ้ ปฏิบตั ิใหถ้ งึ ความดับทกุ ข์ พระองคจ์ ึงไดน้ ามว่า พระสมั มาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้
โดยชอบด้วยความสามารถของพระองค์เอง ขณะมีพระชนมายไุ ด้ 35 พรรษา

คติธรรมจำกภำพ
1. การไดเ้ รยี นรู้เรื่องใดหรือทางานใดๆ ก็ตาม ต้องตั้งใจ มีสมาธมิ ่นั คง จึงจะเข้าใจทางานน้นั ๆ

ไดด้ ี ดงั ที่พระสิทธตั ถะมหาบุรุษได้บาเพญ็ สมาธิอันเป็นรากฐานสาคญั ท่ีทาให้ตรสั รู้เปน็
พระพุทธเจ้า
2. อริสจั 4 มหี ลักสาคัญอยวู่ ่า การจะเรยี นรู้เร่ืองใดก็ตามต้องเรียนร้ใู ห้สมั พันธ์เช่ือมโยงกนั เปน็
เหตเุ ปน็ ผลของกนั และกนั เพราะทกุ สิง่ สัมพันธก์ ันเป็นปจั จัยของกนั และกัน หากเรียนรแู้ บบ
แยกสว่ น โดดเด่ยี วไมส่ ัมพันธ์กับเรอ่ื งอ่ืน ก็ไม่สามารถใช้ความรูน้ น้ั ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ และ
หากเรียนจรยิ ธรรมเป็นสว่ นๆ ก็ไมส่ ามารถก่อใหเ้ กดิ สานึกทางจริยธรรมแก่ผู้เรยี นได้

ท่มี ำ : จิตรลดา ศริ ริ ัตน์ และแม้นเดือน สขุ บารงุ . 2542. พระพุทธเจำ้ ตรสั รไู้ ด้อย่ำงไร.
กรงุ เทพมหานคร : เลยี่ งเชียง.

83

พทุ ธประวตั ิ ตอน ปฐมเทศนำ

พระพุทธเจา้ ตอน ปฐมเทศนา

84

ปฐมเทศนำ

เมื่อตัดสินพระทัยทจี่ ะนาความจริงทรงสงั่ สอนผู้อ่ืนให้พน้ ทุกข์ พระพุทธเจ้าจึงทรงเดินทางออก
จากสถานท่ตี รัสรู้ แล้วเสดจ็ ไปยังป่าอสิ ิปตนมฤคทายวนั ดว้ ยทรงราลึกถงึ นักบวช (ปญั จวัคคีย์) ทงั้ 5
รูป และได้ทรงแสดงธรรมปฐม-เทศนาในวนั ขึ้น 15 คา่ เดือน 8 มีข้อความสาคัญ คอื ทรงปฏิเสธ
วิธีการทรมานกายให้ลาบาก และการปล่อยตนไปตามความใคร่ ทง้ั สองน้ไี ม่เปน็ ไปเพ่ือการตรัสรู้ ให้
ปฏิบัติตามทางสายกลาง คือ ปฏบิ ตั ิตามอริยสัจ 4 และมรรค 8 ที่กลา่ วโดยยอ่ คือ ศลี สมาธิ ปัญญา
เมอ่ื แสดงธรรมจบลง โกณฑญั ญะ บรรลโุ สดาบัน ทรงปีตยิ นิ ดีมาก เปล่งคาอุทนว่า “อัญญาสิ วต โภ
โกณฑญั โญ” แปลวา่ “โกญฑัญญะ ได้รแู้ ล้วหนอ” ปฐมเทศนาคร้งั นน้ั เรยี กวา่ “ธมั มจกั กัปปวตั ตน
สูตร” เปน็ เสมือนวงล้อ ไปส่คู วามเจริญ

คติธรรมจำกภำพ
1. โลกเรม่ิ สวา่ งไสวแล้ว คือ การสอนใหค้ นรคู้ วามจริงทาส่ิงถูกตอ้ งไดจ้ ากคนหน่ึงไปสู่คนหนึ่ง

เป็นเหมือนจุดเทียน ปัญญาให้เกิดขึ้นในโลก ดังท่ีพระองค์ตดั สนิ ใจสอนธรรมทย่ี ากเหลอื เกนิ
แลว้
2. ความกตัญญเู ปน็ เครื่องหมายของคนดี สงั คมท่ีกตัญญรู ูค้ ุณต่อคนท่ีมคี ุณ เปน็ สงั คมท่ีเจริญ
ดังทพ่ี ระองค์ทรงเลือกที่จะสอนปญั จวัคคยี ก์ ่อนผ้อู น่ื ด้วยกตัญญูท่ีปัญจวคั คีย์เคยมาดูแลขณะ
บาเพญ็ ทุกกรกริ ยิ า
3. การเลือกสอนหรอื สรา้ งผ้นู าต้องเลือกผทู้ ีม่ ีศีล สมาธิ ปญั ญาอยแู่ ล้วจะงา่ ยต่อการเข้าใจ
บรรลธุ รรมไดง้ ่าย จะทาใหเ้ กิดกาลังใจขยายงานต่อไป ดงั ทีพ่ ระองคท์ รงเลือกปญั จวัคคียท์ ี่
มศี ีล สมาธิ ปญั ญาแก่กล้าอยู่แล้ว
4. การสอนหรอื ชี้แนะให้ผู้ประพฤติตาม ต้องพยายามยดึ หลกั การให้ชัดเจน เชน่ ทรงสอนปัญจ
วัคคยี ใ์ หเ้ ดนิ สายกลาง (มรรค 8) เป็นทางสู่ความสาเร็จ ใหเ้ ลิกปฏิบตั ทิ างสดุ โต่งไปทางกาม
คุณ และทรมานตนเอง
5. ผ้ใู ฝ่รู้ ใฝเ่ รียน ต้องอ่อนนอ้ มถ่อมตน จะมผี ู้เมตตาถา่ ยทอดวิชาความร้ใู ห้ ดงั ทป่ี ญั จวัคคยี ต์ ้อง
ลดละทิฐมิ านะ จึงไดโ้ อกาสฟังธรรมและบรรลุธรรมตามได้

ทม่ี ำ : จติ รลดา ศิริรัตน์ และแม้นเดือน สุขบารงุ . 2542. พระพุทธเจำ้ ตรสั ร้ไู ดอ้ ย่ำงไร.
กรงุ เทพมหานคร : เลีย่ งเชยี ง.

85

บตั รภาพ



ภำพพระพุทธเจำ้ ตอนผจญมำร

ทม่ี า : วทิ ย์ วศิ ทเวทย์ และเสฐยี รพงศ์ วรรณปก. [ม.ป.ป.]. หนังสือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม.2.
พมิ พค์ รงั้ ท่ี 9. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.

86

ใบงำนที่ 2.1 พุทธประวัติ

ตอนท่ี 1

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นนาหมายเลขหน้าข้อความไปเรยี งลาดับตามเหตุการณ์พุทธประวัติในกรอบด้านลา่ ง

1. พระสทิ ธตั ถะทรงบาเพ็ญ 2. เม่ือพระสทิ ธตั ถะผนวชแลว้ 3. พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ไปตรัส
เพยี รทางจิต ได้พยายามศึกษาคน้ คว้าทาง สอนธมั มจกั กัปปวัตตนสตู ร
พน้ ทุกข์ ว่าด้วย อริยสัจ 4 ประการ
แกป่ ญั จวคั คยี ์

4. พระสิทธัตถะทรงฝึกปฏบิ ตั ิ 5. พระสทิ ธตั ถะปฏบิ ัตสิ มาธิ 6. พระพุทธเจา้ ประทาน
โยคะกบั อาฬารดาบส ใตต้ น้ มหาโพธ์จิ นสามารถ อปุ สมบทให้แก่ยสกุมารและ
กาลามโคตร และอุททก รูแ้ จง้ หรือตรสั รอู้ ริยสจั 4 สหายอกี 54 คน สง่ ใหไ้ ป
ดาบส รามบุตร ประกาศพระพุทธศาสนา

7. พระสิทธตั ถะเสด็จไปยงั 8. พระสิทธตั ถะรบั หญา้ กสุ ะ 9. พระพทุ ธเจ้าโปรดให้
ตาบลอุรเุ วลาเสนานคิ ม จากพราหมณโ์ สตถิยะ พระสารีบุตร และพระโมค-
ทรงรบั ขา้ วมธปุ ายาส มาปูลาดเปน็ อาสนะ คัลลานะเปน็ พระอัครสาวก
จากนางสุชาดา ณ โคนต้นมหาโพธ์ิ เบอ้ื งขวาและเบื้องซ้าย

10. พระสิทธตั ถะทรงบาเพ็ญ 11. หลังจากพระพุทธเจ้าทรง 12. พระสทิ ธตั ถะทรงบาเพ็ญ
ตบะหรือทรมานตนหลาย แสดง “อนัตตลักขณสูตร” ทุกกรกริ ยิ า ด้วยการกัดฟัน
อยา่ ง (ว่าดว้ ยไตรลักษณ์) ปญั จ- กลั้นลมหายใจ อดอาหาร
วคั คยี ไ์ ดบ้ รรลุอรหันตผล

13. โกณฑัญญะ หัวหนา้ ปญั จ- 14. อญั ญาโกณฑญั ญะ เป็น 15. พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรด
วัคคียไ์ ด้ “ดวงตาเหน็ พระสงฆส์ าวกรปู แรกของ ชฎลิ สามพ่นี อ้ ง พร้อมดว้ ย
ธรรม” ทันทที ่ีฟงั ปฐม พระพทุ ธศาสนา บริวาร
เทศนาจบ

87

ตอนท่ี 2
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

1. พุทธประวัติ ตอน ผจญมาร สามารถวเิ คราะห์ได้วา่ มารในที่น้ี คืออะไร

2. ขอ้ ความท่กี ล่าววา่ “ขอใหว้ สุนธรา (พระแม่ธรณี) จงเป็นพยาน” หมายความว่าอย่างไร

3. เพราะเหตุใด พระพุทธเจา้ จึงมงุ่ แสดงธรรมแกป่ ญั จวคั คีย์ แทนทจี่ ะแสดงธรรมแก่อุปกาชวี กที่มคี วาม

4. เพราะเหตุใด พระพุทธเจา้ ทรงแต่งตง้ั พระสารบี ุตร และพระโมคคลั ลานะเป็นพระอัครสาวก ท้ังทีเ่ พิ่ง

88

ใบงำนที่ 2.1 พุทธประวัติ เฉลย

ตอนที่ 1

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนนาหมายเลขหน้าข้อความไปเรียงลาดบั ตามเหตุการณ์พทุ ธประวตั ิในกรอบด้านล่าง

1. พระสิทธตั ถะทรงบาเพ็ญ 2. เมื่อพระสทิ ธตั ถะผนวชแล้ว 3. พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ไปตรัส
เพียรทางจติ ไดพ้ ยายามศึกษาค้นควา้ ทาง สอนธัมมจกั กัปปวตั ตนสูตร
พน้ ทกุ ข์ ว่าดว้ ย อริยสจั 4 ประการ
แก่ปัญจวัคคีย์

4. พระสิทธตั ถะทรงฝึกปฏิบัติ 5. พระสทิ ธัตถะปฏิบตั ิสมาธิ 6. พระพุทธเจ้าประทาน
โยคะกับอาฬารดาบส ใตต้ น้ มหาโพธ์จิ นสามารถ อุปสมบทให้แก่ยสกุมารและ
กาลามโคตร และอุททก ร้แู จ้งหรือตรัสรู้อรยิ สจั 4 สหายอีก 54 คน สง่ ใหไ้ ป
ดาบส รามบุตร ประกาศพระพุทธศาสนา

7. พระสทิ ธัตถะเสด็จไปยัง 8. พระสิทธัตถะรบั หญ้ากสุ ะ 9. พระพุทธเจ้าโปรดให้
ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม จากพราหมณ์โสตถิยะ พระสารีบตุ ร และพระโมค-
ทรงรบั ขา้ วมธปุ ายาส มาปูลาดเปน็ อาสนะ คลั ลานะเป็นพระอคั รสาวก
จากนางสุชาดา ณ โคนต้นมหาโพธิ์ เบื้องขวาและเบื้องซ้าย

10. พระสทิ ธตั ถะทรงบาเพ็ญ 11. หลงั จากพระพุทธเจ้าทรง 12. พระสทิ ธัตถะทรงบาเพ็ญ
ตบะหรอื ทรมานตนหลาย แสดง “อนตั ตลักขณสตู ร” ทกุ กรกริ ิยา ดว้ ยการกัดฟนั
อยา่ ง (วา่ ดว้ ยไตรลักษณ์) ปัญจ- กล้ันลมหายใจ อดอาหาร
วคั คีย์ได้บรรลุอรหันตผล

13. โกณฑัญญะ หัวหน้าปัญจ- 14. อญั ญาโกณฑญั ญะ เปน็ 15. พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปโปรด
วัคคียไ์ ด้ “ดวงตาเห็น พระสงฆ์สาวกรปู แรกของ ชฎิลสามพน่ี ้อง พร้อมดว้ ย
ธรรม” ทนั ทีท่ีฟงั ปฐม พระพทุ ธศาสนา บรวิ าร
เทศนาจบ

2 4 10 12 1 7 8

9 15 6 11 แ 14 13 1 3 1 5

ผ แแ
น ผผ
ก นน
าร กก
จั าร าร
ด จั จั
ก ดด

89

ตอนที่ 2
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1. พุทธประวตั ิ ตอน ผจญมาร สามารถวิเคราะหไ์ ด้ว่า มารในท่นี ี้ คอื อะไร
มาร กค็ ือ กิเลส ไดแ้ ก่ โลภะ โทสะ และโมหะ ทม่ี ารบกวนพระทยั พระพุทธองคใ์ นขณะนงั่ สมาธิ

2. ข้อความท่ีกล่าวว่า “ขอใหว้ สุนธรา (พระแม่ธรณี) จงเป็นพยาน” หมายความว่าอยา่ งไร
พระแมธ่ รณี คือ บารมที ัง้ 10 ที่พระพุทธเจ้าทรงบาเพญ็ มา เป็นกาลังใจใหต้ ่อสู้กับอานาจของ
กิเลส พระองค์จงึ สามารถเอาชนะอานาจของกิเลสท้งั ปวง และตรัสรู้ในที่สดุ

3. เพราะเหตุใด พระพุทธเจ้าจงึ มุ่งแสดงธรรมแกป่ ญั จวคั คีย์ แทนท่จี ะแสดงธรรมแก่อุปกาชวี กทีม่ คี วาม
เพราะต้องการให้เข้าใจพระพุทธองค์ในทางที่ถกู ต้อง เนื่องจากเหล่าปัญจวัคคยี ์เขา้ ใจว่าพระพทุ ธ
องค์เลิกบาเพญ็ ทกุ กรกิริยา เพราะเห็นแก่กนิ คลายความเพียร ไมม่ ีทางตรัสรู้ได้ และต้องการ

ให้ปญั จวคั คีย์เปน็ สักขพี ยานการตรสั รู้ ของพระพทุ ธองค์

4. เพราะเหตุใด พระพุทธเจ้าทรงแตง่ ตงั้ พระสารีบตุ ร และพระโมคคัลลานะเป็นพระอคั รสาวก ทง้ั ท่เี พ่ิง
เพราะต้องการให้การประกาศพระพทุ ธศาสนาเปน็ ท่ียอมรบั ของชนชาวชมพทู วีป เพราะทั้งสอง
ท่านเคยอยใู่ นวรรณะพราหมณ์ ซึ่งเป็นวรรณะท่ีคนทั่วไปนบั ถือ เพ่ือให้ท้ังสองเป็นกาลงั สาคญั ใน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

90

แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี 5

กลมุ่ สำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 2

หน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี 2 เรื่อง พุทธประวัติ พระสำวก ศำสนกิ ชนตัวอยำ่ ง และชำดก ภำคเรียนท่ี 2

แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ่ี 5 ประวตั ิพุทธสำวก พุทธสำวิกำ เวลำ 2 ชวั่ โมง

ผู้สอน นำงสำวจิดำภรณ์ ถ่นิ ตองโขบ

1.ตวั ช้ีวดั /จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้
1.1 ตวั ชี้วัด
ส 1.1 ม.2/6 วเิ คราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่างการดาเนนิ ชีวติ และข้อคิดจากประวัติสาวก

ชาดก เร่ืองเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่างตามท่ีกาหนด
1.2 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1) อธบิ ายประวตั ิของพระสารีบตุ ร พระโมคคัลลานะ นางขุชชุตตรา และพระเจา้ พิมพิสารได้
2) วเิ คราะห์ข้อคิดจากการศึกษาประวัติพระสารีบตุ ร พระโมคคลั ลานะ นางขชุ ชุตตรา และ

พระเจา้ พมิ พิสารได้

3) นาหลักคุณธรรมอนั เป็นแบบอยา่ งของพุทธสาวก พุทธสาวกิ าไปประยุกต์ปฏิบตั ิในการ
ดาเนินชีวติ ได้

2.สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด
การศกึ ษาประวัติพุทธสาวก พทุ ธสาวิกา ยอ่ มทาให้ไดข้ ้อคิดและคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างในการ

นาไปประยุกต์ปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวติ อย่างถูกต้อง

3.สำระกำรเรยี นรู้ พระโมคคัลลานะ
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง พระเจ้าพิมพิสาร
•พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา
- พระสารบี ุตร -
- นางขชุ ชตุ ตรา -

4 .สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการตีความ 3) ทกั ษะการวเิ คราะห์
2) ทักษะการแปลความ 4 )ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

91

5 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. ใฝ่เรยี นรู้ 5 .มีความกตัญญู
1. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ
2. มวี ินัย 4. มุ่งมน่ั ในการทางาน

6. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้

วิธีสอนแบบ ธรรมสำกจั ฉำ

ขัน้ นำเขำ้ สบู่ ทเรียน

1.ครูใหน้ ักเรยี นผลดั กันยกตวั อยา่ งพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ทน่ี กั เรยี นแต่ละคนประทับใจ และให้
อภปิ รายรว่ มกันในประเดน็ ต่อไปนี้

- เพราะเหตุใด นักเรยี นจงึ ประทบั ใจพุทธสาวก พุทธสาวกิ า ท่านดงั กลา่ ว

- คุณธรรมท่ีเป็นแบบอยา่ งของทา่ น คืออะไรบ้าง

2.ครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า เป็นผู้ท่ีมบี ทบาทสาคัญในการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาแตล่ ะท่านล้วนมคี ณุ ธรรมอนั เป็นแบบอย่างทพ่ี ทุ ธศาสนิกชนทกุ คนได้นาไปเปน็ แบบอย่าง และ
ประยุกตป์ ฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสม ซง่ึ นกั เรียนควรศึกษาประวัติของพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ าอยู่เสมอ

ขน้ั สอน

สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ : 1. หนังสอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.2 2. ใบงานท่ี 2.2-2.7
3. คาถามกระต้นุ ความคดิ
3.1 คณุ ธรรมอันเป็นแบบอย่างของพระสารีบุตร เร่ืองใดทน่ี ักเรยี นสามารถนาไปปฏิบตั ิได้
(เป็นผมู้ ปี ญั ญา และมคี วามกตัญญกู ตเวที)
4. แสวงหาความรู้
4.1. ครใู หน้ กั เรียนกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1) กลมุ่ ละ 8 คน จับคูก่ ันเปน็ 4 คู่

แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะค่รู ่วมกนั ศึกษาความรู้เรื่อง ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวกิ า จากหนังสือเรยี น หนงั สอื
ค้นควา้ เพ่ิมเตมิ ห้องสมดุ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ตามหัวข้อทก่ี าหนดให้ ดังนี้

- คูท่ ี่ 1 ศึกษาความรเู้ รื่อง ประวัตพิ ระสารบี ุตร
- คู่ท่ี 2 ศึกษาความรูเ้ รื่อง ประวัติพระโมคคัลลานะ
- คู่ท่ี 3 ศึกษาความรูเ้ ร่ือง ประวัตินางขชุ ชุตตรา
- คทู่ ี่ 4 ศึกษาความรู้เรื่อง ประวัตพิ ระเจา้ พิมพสิ าร
แล้วบันทกึ ความร้ทู ่ีได้จากการศกึ ษาลงในแบบบนั ทึกการอ่าน

92

5. ค้นพบความรู้/สนทนาแลกเปล่ียนความรู้
5.1. นักเรียนแตล่ ะค่สู นทนาแลกเปล่ียนความรู้ตามหวั ข้อท่ีคู่ของตนรบั ผิดชอบในการศึกษา

และชว่ ยกันทาใบงาน ดังน้ี
- คู่ท่ี 1 ทาใบงานท่ี 2.2 เร่อื ง พระสารบี ุตร
- คูท่ ี่ 2 ทาใบงานที่ 2.3 เร่อื ง พระโมคคลั ลานะ
- คทู่ ี่ 3 ทาใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง นางขชุ ชตุ ตรา
- คูท่ ่ี 4 ทาใบงานที่ 2.5 เรือ่ ง พระเจ้าพมิ พสิ าร
5.2. สมาชิกแต่ละคผู่ ลดั กันเล่าผลงานในใบงานที่ 2.2-2.5 ให้เพอื่ นคู่อ่ืนภายในกลุ่มฟัง

ตามใบงานทีต่ นรบั ผิดชอบ เป็นการแลกเปล่ยี นความรู้ระหว่างกนั
5.3.ครแู ละนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานท่ี 2.2-2.5

ชวั่ โมงที่ 2

6. วิเคราะหแ์ ละประเมินค่าความรู้

6.1.สมาชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกันวิเคราะห์และประเมินคา่ ความรทู้ ่ีกลุ่มได้จากการศึกษาเกี่ยวกับ
ประวัติของพุทธสาวก พุทธสาวิกา ตามกรอบหวั ข้อที่กาหนดให้ในใบงานท่ี 2.6 เร่ือง การวิเคราะหแ์ ละ
ประเมนิ ค่าความรู้

6.2.นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงาน หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบ
ความถกู ต้องและให้ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ จากนั้นครูและนกั เรยี นช่วยกันสรปุ ข้อคิดสาคัญทไ่ี ดร้ บั

7.พิสจู น์ความรหู้ รือปฏิบตั ิ

7.1.สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มรว่ มกันวางแผนการนาคุณธรรมอันเป็นแบบอยา่ งของพุทธสาวก พุทธ
สาวกิ า ไปปฏบิ ัติ โดยรว่ มมือกนั คดิ ตามหวั ขอ้ ที่กาหนดให้ในใบงานที่ 2.7 เรื่อง การวางแผนปฏบิ ตั ติ นตาม
คุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของพุทธสาวก พุทธสาวกิ า แล้วให้แตล่ ะคนนาไปปฏิบัตติ ามข้อตกลงของกล่มุ และ
รายงานผลการปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงระหวา่ งนักเรยี นกบั ครู

ขน้ั สรปุ

ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรเู้ กย่ี วกบั ประวัติ และคุณธรรมอันเปน็ แบบอยา่ งของพุทธสาวก พุทธ
สาวิกา

93

7. กำรวัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื เกณฑ์

วธิ กี ำร ใบงานท่ี 2.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 2.2
ตรวจใบงานท่ี 2.3 ใบงานท่ี 2.3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 2.4
ตรวจใบงานที่ 2.5 ใบงานที่ 2.4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 2.6
ตรวจใบงานท่ี 2.7 ใบงานที่ 2.5 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น
ประเมินการนาเสนอผลงาน ใบงานท่ี 2.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
สงั เกตความซ่ือสตั ย์ สุจริต มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ ใบงานท่ี 2.7 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ม่งุ มั่นในการทางาน และมีความกตัญญู
แบบบนั ทกึ การอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

8 สอ่ื /แหลง่ กำรเรยี นรู้

8.1 ส่อื การเรยี นรู้

1) หนังสือเรยี น พระพทุ ธศาสนา ม.2
2) ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง พระสารบี ตุ ร
3) ใบงานท่ี 2.3 เรอ่ื ง พระโมคคัลลานะ
4) ใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง นางขุชชุตตรา
5) ใบงานที่ 2.5 เร่อื ง พระเจ้าพิมพิสาร
6) ใบงานท่ี 2.6 เร่ือง การวิเคราะหแ์ ละประเมินคา่ ความรู้
7) ใบงานที่ 2.7 เร่ือง การวางแผนปฏบิ ตั ิตนตามคุณธรรมอันเปน็ แบบอย่างของพุทธสาวก

พทุ ธสาวิกา
8.2 แหล่งการเรียนรู้

1) หอ้ งสมุด
2) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

-http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/05
- http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/06

ใบงำนที่ 2.2 พระสำรีบุตร 94
คำชี้แจง ให้นักเรียนเตมิ คาหรือข้อความเก่ียวกบั ประวตั ิของพระสารีบุตร
มสี หายสนทิ ชอ่ื
พระสารบี ตุ ร บดิ าชอ่ื มารดาชอ่ื

อุปตสิ สะไดด้ วงตา ไดร้ บั ฟงั ธรรมจาก พบพระสาวกของ เป็นศษิ ยข์ อง
เหน็ ธรรม หมายถงึ พระเถระ ในเรอ่ื ง พระพทุ ธเจา้ ผมู้ ี
อริ ยิ าบถสารวม
น่าเล่อื มใสช่อื

อุปตสิ สะไปชวน อุปตสิ สะชวน อุปตสิ สะฟงั ธรรม ผลจากการฟงั ธรรม
อาจารยข์ องตน เพอ่ื นสนิทไปบวช เรอ่ื ง ทาใหท้ ่านอุปตสิ สะ
ไปบวช และไดร้ บั
ทว่ี ดั บรรลุ
คาตอบ คอื

คณุ ธรรมท่ีควร
ถือเป็ นแบบอย่าง

ใบงำนที่ 2.2 พระสำรีบุตร 95
คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนเตมิ คาหรอื ขอ้ ความเกย่ี วกบั ประวตั ิของพระสารีบตุ ร
เฉลย

พระสารบี ุตร บดิ าชอ่ื มารดาชอ่ื มสี หายสนิทช่อื

(อปุ ตสิ สะ) วงั คนั ตพราหมณ์ สารพี ราหมณี โกลติ ะ

อุปตสิ สะไดด้ วงตา ไดร้ บั ฟงั ธรรมจาก พบพระสาวกของ เป็นศษิ ยข์ อง
เหน็ ธรรม หมายถงึ พระเถระ ในเรอ่ื ง พระพทุ ธเจา้ ผมู้ ี
อริ ยิ าบถสารวม สญั ชยั เวลฏั ฐบตุ ร
บรรลโุ สดาปตั ตผิ ล แก่นแหง่ อรยิ สจั 4 น่าเลอ่ื มใสช่อื

พระอสั สชเิ ถระ

อุปตสิ สะไปชวน อุปตสิ สะชวน อุปตสิ สะฟงั ธรรม ผลจากการฟงั ธรรม
อาจารยข์ องตน เพ่อื นสนิทไปบวช เรอ่ื ง ทาใหท้ ่านอุปตสิ สะ
ไปบวช และไดร้ บั
ทว่ี ดั เวทนาปรคิ คหสตู ร บรรลุ
คาตอบ คอื
พระเชตวนั พระอรหนั ต์
ปฏเิ สธ

เป็นผมู้ ปี ญั ญาหลกั แหลม คณุ ธรรมที่ควร
ถอื เป็นแบบอย่าง

เป็นผมู้ นั่ คงและปรารถนาดตี ่อ มคี วามกตญั ญกู ตเวทติ าธรรม
พระพทุ ธศาสนา เป็นเลศิ

96

ใบงำนที่ 2.3 พระโมลคัลลำนะ
คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามหรอื เติมขอ้ ความส้นั ๆ เกี่ยวกบั ประวัติของพระโมคคัลลานะ

พระโมคคลั ลานะ เป็นบตุ รของ มเี พ่อื นสนิทชอ่ื เป็นศษิ ยข์ อง
ตระกูลพราหมณ์ พระอาจารยช์ อ่ื
หวั หน้าหมบู่ า้ น

ผลจากการ เมอ่ื บวชแลว้ ได้ โกลติ ะ บรรลธุ รรม ฟงั ธรรมของ
บาเพญ็ เพยี ร บาเพญ็ เพยี รทางจติ ชนั้ พระอสั สชิ
ผ่านทางใคร
ทห่ี มบู่ า้ น

พระพทุ ธเจา้ ประทาน พระพุทธเจา้ ตรสั ว่า ถา้ ปฏบิ ตั ิ พระโมคคลั ลานะ
โอวาท บอกวธิ แี กง้ ว่ ง ตามพระโอวาทแลว้ ไม่ มคี วามสามารถพเิ ศษในดา้ นใด
หายงว่ ง ใหท้ าอยา่ งไร
กป่ี ระการ

คณุ ธรรมท่ีควร
ถือเป็ นแบบอย่าง

ใบงำนท่ี 2.3 พระโมลคัลลำนะ 97
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามหรอื เติมข้อความสัน้ ๆ เกยี่ วกบั ประวัติของพระโมคคัลลานะ
เฉลย

พระโมคคลั ลานะ เป็นบตุ รของ มเี พอ่ื นสนทิ ช่อื เป็นศษิ ยข์ อง
ตระกลู พราหมณ์ พระอาจารยช์ อ่ื
(โกลติ ะ) หวั หน้าหมบู่ า้ น อปุ ตสิ สะ
สญั ชยั เวลฎั ฐบตุ ร
โกลติ คาม

ผลจากการ เมอ่ื บวชแลว้ ได้ โกลติ ะ บรรลธุ รรม ฟงั ธรรมของ
บาเพญ็ เพยี ร บาเพญ็ เพยี รทางจติ ชนั้ พระอสั สชิ
ผ่านทางใคร
ไม่สามารถบงั คบั จติ ทห่ี มบู่ า้ น โสดาบนั
ใหเ้ ป็นสมาธไิ ด้ เพราะ อปุ ตสิ สะ
ถกู ความงว่ งครอบงา กลั ลวาลมตุ ตคาม

พระพุทธเจา้ ประทาน พระพทุ ธเจา้ ตรสั ว่า ถา้ ปฏบิ ตั ิ พระโมคคลั ลานะ
โอวาท บอกวธิ แี กง้ ว่ ง ตามพระโอวาทแลว้ ไม่ มคี วามสามารถพเิ ศษในดา้ นใด
หายงว่ ง ใหท้ าอยา่ งไร
กป่ี ระการ มอี ทิ ธฤิ ทธหิ์ รอื เป็นเลศิ กว่าผอู้ นื่
นอนเสยี ในทา่ สหี ไสยาสน์ ในทางมฤี ทธมิ์ าก
8 ประการ

มคี วามอดทนยงิ่ คณุ ธรรมที่ควร
มคี วามถ่อมตนยงิ่ ถือเป็ นแบบอย่าง

มคี วามใฝร่ อู้ ยา่ งยงิ่


Click to View FlipBook Version