กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ ในจงั หวดั เชียงราย | ๑
กล่มุ ชาติพันธ์ุ
ในจงั หวดั เชยี งราย
๒ | กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ ในจงั หวดั เชยี งราย
กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ ในจงั หวดั เชียงราย | ๓
คานา
นายพสิ นั ต์ จนั ทรศ์ ิลป์ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวนโยบายในการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาว
วัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งราย กะเหรี่ยงตามท่ีกระทรวงวัฒนธรรมเสนอ เม่ือวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓
โดยมีประเด็นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ ชาติพันธ์ุและวัฒนธรรม การจัดการ
ทรัพยากร สิทธิในสัญชาติ การสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม การศึกษาใน
ด้านท่ีเก่ียวกับการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม และกระทรวงวัฒนธรรม
มนี โยบายการบรู ณาการทางานของกระทรวง เพ่ือผลกั ดันการทาฐานข้อมูล
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและการข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทาง
วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาฐานข้อมูลมรดก
ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุในพื้นท่ีเพื่อเตรียมข้อมูลขึ้น
ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ของกรมสง่ เสริมวัฒนธรรม ตอ่ ไป
จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์
มีวัฒนธรรมและองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่แตกต่างและความ
หลากหลายในองคค์ วามรู้ภมู ปิ ัญญาและศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิน่ ทมี่ กี ารสั่งสม
และสืบทอดมาอย่างต่อเน่ืองและปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน และได้ตระหนัก
ถึงการพัฒนาฐานข้อมูลมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุใน
พ้ืนที่ เป็นสิ่งที่ควบคู่มากับสังคมไทย และสิ่งเหล่าน้ี เป็นมรดกท่ีสาคัญของ
แต่ละท้องถ่ิน ซึ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ความภาคภูมิใจ ที่คนไทย
ทุกคนควรจะต้องร่วมกันส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน วัฒนธรรมของกลุ่ม
ชาติพันธุ์เหลา่ น้ี สบื ไป
เพ่ือเป็นการส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน และอนุรักษ์ฟ้ืนฟู
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่ม
ชาติพันธุ์ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาหนังสือกลุ่ม
ชาติพนั ธุ์ในจังหวัดเชยี งราย ขึ้น โดยหวงั เปน็ อยา่ งยิง่ ว่าหนังสือเลม่ นี้จะเป็น
ส่วนหน่ึงในการส่งเสรมิ สนับสนุน สืบสาน และการพัฒนาฐานข้อมูลมรดก
ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุจังหวัดเชียงราย เพ่ือสารวจ
และจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานภาพรวมของแต่ละกลุ่มชาติพันธ์ุ จานวน ๑๘
ชาตพิ ันธ์ุ ของกลุ่มชาตพิ ันธใ์ุ นพื้นทีจ่ งั หวัดเชียงราย ในการพฒั นาฐานขอ้ มูล
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุในพ้ืนที่ และเตรียมข้อมูล
เพ่ือข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
ตอ่ ไป
สำนักงำนวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย
กนั ยำยน ๒๕๖๔
๔ | กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ ในจังหวดั เชียงราย
สารบัญ สารบญั สารบญั
๑ ๔๗ ๗๔
ข้อมูลเก่ียวกับ ชาติพันธุ์ ชาตพิ นั ธุ์
ชาตพิ นั ธุ์ศึกษา
อาข่า (Akha) ลว๊ั ะ (Lua)
๒๙
๘๒
ชาตพิ ันธ์ุ
ชาติพันธ์ุ
ลาหู่ (Lahu)
ขมุ (Khamu)
๓๗ ๕๘ ๙๒
ชาตพิ นั ธ์ุ ชาติพันธ์ุ ชาติพนั ธุ์ ดาระอั้ง
ลซี ู (Li-shaw) อว้ิ เมีย่ น (Dara-ang)
(Iu Mien)
กลุม่ ชาตพิ นั ธ์ุ ในจังหวดั เชียงราย | ๕
สารบัญ สารบญั สารบญั
๑๐๑ ๑๒๖ ๑๕๐
ชาติพนั ธุ์ ชาตพิ ันธุ์ ชาติพนั ธุ์
ม้ง (Hmong) กะเหรี่ยง ไทอสี าน
(Tai Esan)
(Karen)
๑๑๘ ๑๓๙ ๑๖๐
ชาติพนั ธุ์ ชาติพันธุ์ ชาติพนั ธุ์
บซี ู (Bisu) จีนยนู นาน ไตเขนิ
(Chinese Yunnan) (Tai Khun)
๖ | กล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย
สารบญั สารบญั
๑๗๐ ๒๐๒ ๒๒๕
ชาติพันธุ์ ชาติพันธุ์ ชาตพิ นั ธุ์
ไทใหญ่ (Shan) ไทยวน ไทล้ือ
(Tai Yaun) (Tai Lue)
๑๘๔ ๒๑๖ ๒๓๕
ชาติพันธ์ุ ชาติพนั ธ์ุ ภาพลงพน้ื ที่
เก็บข้อมูล
ไตหย่า ไทยอง
(Tai Yong)
(Tai Yha)
กลุ่มชาติพนั ธ์ุ ในจังหวดั เชียงราย | ๗
สว่ นท่ี ๑ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
ขอ้ มลู ทว่ั ไป
กล่มุ ชาติพนั ธุ์ ในจงั หวัดเชียงราย | ๑
ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
๒ | กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย
๑. ทมี่ า ความสาคัญ และการทบทวนวรรณกรรมชาตพิ นั ธ์ุศกึ ษา ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
ประเทศไทยมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมค่อนข้างมาก นอกจากประชากรชาวไทยท่ัวไปแล้วยังมีกลุ่ม
ชาติพันธ์ทุ ห่ี ลากหลายและต้งั ถิ่นฐานกระจายอยใู่ นภมู ภิ าคต่าง ๆ มภี าษา วัฒนธรรมและประเพณที ่แี ตกตา่ งกนั ไปจาก
ชนกลุ่มใหญ่ ปจั จบุ ันมีกลุม่ ชาตพิ นั ธอุ์ าศยั อยู่ในประเทศไทยบริเวณพืน้ ท่ีครอบคลุมประมาณ ๖๗ จังหวดั จานวน ๕๖
กลุ่ม มีประชากรรวมประมาณ ๖,๑๐๐,๐๐๐ คน จาแนกพ้ืนที่จากลักษณะการต้ังถ่ินฐานได้ ๔ ลักษณะ ได้แก่ กลุ่ม
แรกเป็นกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นท่ีสูง หรือ “ชนชาวเขา” จานวน ๑๓ กลุ่ม ได้แก่ กะเหร่ียง ม้ง (แม้ว) เย้า (เม่ียน) ลีซู
(ลซี อ) ลาหู่ (มเู ซอ) อาข่า (อีกอ้ ) ลวั ะ ถ่นิ ขมุ จีนฮ่อ ตองซู คะฉนิ่ และปะหล่อง (ดาราองั้ ) จากนนั้ กลุม่ ท่ีสองเป็นกลุ่ม
ชาตพิ นั ธต์ุ ้งั ถิน่ ฐานในพ้นื ที่ราบ จานวน ๓๘ กลุ่ม ไดแ้ ก่ มอญ ไทลือ้ ไททรงดา ไทใหญ่ ไทเขิน ไทยอง ไตหยา่ ไทยวน
ภูไท ลาวคร่ัง ลาวแง้ว ลาวกา ลาวต้ี ลาวเวียง แสก เซเร ปรัง บรู (โซ่) โซ่ง โว (ทะวิง) อึมปี ก๋อง กุลา ชอุโอจ (ชุองุ้ )
กูย (ส่วย) ญัฮกรู (ชาวบน) ญ้อ โย้ย เขมรถ่ินไทย เวียดนาม (ญวน) เญอ หม่ีซอ (บีซู) ชอง กระชอง มลายู กะเลิง
และลาวโซ่ง (ไทยดา) ส่วนกลุ่มที่สามเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ต้ังถิ่นฐานในทะเล หรือ “ชาวเล” จานวน ๓ กลุ่ม ได้แก่
มอแกน มอแกลน และอูรักละโว้ย และกลุ่มท่ีสี่สุดท้ายเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอาศัยอยู่ในป่า จานวน ๒ กลุ่ม ได้แก่
มลาบรี (ตองเหลอื ง) และซาไก (มันน)ิ
ทกุ วนั น้ี มคี าทใ่ี ช้เรียกกลุ่มชาติพนั ธต์ุ ่าง ๆ ในประเทศไทยหลากหลายแตกต่างกัน เชน่ ชนกลุ่มน้อย ชาวชาติ
พันธุไ์ ทย ชนเผา่ พนื้ เมืองไทย และชาวไทยภูเขา แตก่ ็เปน็ การยากท่จี ะระบใุ หช้ ัดเจนว่าประเทศไทยเรามกี ล่มุ ชนเหล่านี้
อยู่จานวนกี่กลุ่ม และรวมแล้วมีประชากรไทยท่ีเข้าข่ายเป็นกลุ่มชนเช่นน้ีอยู่จานวนเท่าใด เพราะในความเป็นจริง
ด้วยความที่ประเทศไทยเราเป็นสังคมแห่งชาวพุทธ มีจิตใจโอบอ้อมอารี เอ้ืออาทร ยิ้มแย้มแจ่มใสและต้อนรับผู้มา
เยือนด้วยไมตรีจิต และบ้านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์ ในน้ามีปลา ในนามีข้าว ใครมาอยู่ก็มีความสุข จึงทาให้การ
อพยพเข้ามาอยู่อาศัยในประเทศไทยของกลุ่มชนต่าง ๆ จึงยังไม่ยุติ มีการลักลอบเข้ามา ค่อย ๆ ทยอยขนของและ
โยกย้ายมาอยู่แบบคอ่ ยเป็นค่อยไป เหมอื นนา้ ซมึ บอ่ ทราย ดงั นน้ั การบอกจานวนหรอื จัดแบ่งกลุ่มชาวชาตพิ นั ธุ์ ชนเผ่า
พ้ืนเมือง และชาวไทยภูเขา จึงยังไม่ทาให้ชัดเจนได้ แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อมูลกลุ่มชาติพันธ์กลุ่มหลักจานวน
๖ ชาติพันธ์ุ ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุกลุ่มใหญ่ มีจานวนประชากรมาก ที่คนไทยเรารู้จักคุ้นเคย เพราะมีบทบาทอยู่ใน
ประเทศไทยมานานแล้ว รวมถึงชาวต่างประเทศก็รู้จักและอยู่ในความสนใจในสถานะสีสันทางชาติพันธุ์ของประเทศ
ไทย จนมีชอื่ เรียกเปน็ ภาษาอังกฤษว่า Sixth Major Hilltribes of ThaiIand กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ ๖ กลมุ่ หลักประกอบด้วย
กะเหร่ียง หรือ ปกาเกอะญอ ลาหู่ หรอื มูเซอ อาขา่ หรือ อีก้อ สามกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มชาติพันธทุ์ ่ีอาศยั อยู่ทางตอนเหนือ
ของประเทศไทยและแถบชายแดนประเทศพม่า โดยมีการอพยพผ่านเข้ามาไทยทางประเทศพม่า จึงมีอิทธิพลของ
ชาวพม่าผสมติดมาดว้ ย เช่นช่อื เรียกชนเผ่าว่า อีก้อ หรือ มูเซอ นัน้ เป็นภาษาพม่า และกลุ่มชาตพิ ันธอ์ุ กี สามเผ่าพันธ์ุ
คือ ชนเผ่าจากประเทศจีนที่ผ่านประเทศไทยเข้ามาทางประเทศลาว และพม่า แต่มีอิทธิพลจีนเข้มแข็ง อันได้แก่
ชาวไทยภูเขาเผ่ามง้ หรอื แมว้ ชาวไทยภเู ขาเผา่ เมี่ยน หรอื เย้า และชาวไทยภเู ขาเผา่ ลีซอ หรือ ลซี ู
สาหรับกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มย่อย ๆ นอกจาก ๖ กลุ่มใหญ่ดังกล่าวแล้ว ยังมีกลุ่มชาติพันธ์ุที่เป็นกลุ่มเล็ก
กลุ่มน้อย มีจานวนประชากรไม่มาก ไม่ค่อยมีข้อมูลปรากฏในสังคมมากนัก อันได้แก่ กลุ่มลัวะ กลุ่มละเวือะ กลุ่มขมุ
กลุ่มไตหย่า และกลุ่มมะราบรี หรือ ผีตองเหลือง เป็นต้น นอกจากน้ันยังมีกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหม่ ท่ีได้รับพระมหา
กรุณาธิคุณอย่างเป็นพเิ ศษจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนารถบพิตร ให้มีบทบาทและ
ตัวตนในสังคมไทย ได้แก่ กลุ่มดาระอ้ัง กลุ่มคะฉิ่น และกลุ่มปะโอ เป็นต้น และในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ท้ัง ๓ กลุ่มน้ี
กล่มุ ชาติพันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย | ๓
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” แต่ละกลุ่มก็ยังมกี ารแตกแขนงต่าง ๆ ออกไปตามคติหลาย ๆ อย่าง เช่น ตามถ่ินที่อยู่ ตามภาษาพูด ตามชาติตระกลู
หรือ ตามรูปแบบวัฒนธรรมประเพณีฯ อีกมากมาย เช่น ชาวลาหู่ หรือ มูเซอ ยังแบ่งออกเป็นมเู ซอดา หรือมูเซอแดง
มูเซอเหลือง มูเซอเชเละ เป็นต้น ชาวม้ง แบ่งออกเป็น ม้งขาว ม้งดา ม้งลาย กะเหรี่ยง หรือ ปกาเกอะญอ แบ่งเป็น
สะกอ และ โปว เป็นตน้
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทยมีความหลากหลาย มีวิถีชีวิตท่ีคล้ายคลึงและแตกต่างกันไปโดยสภาพเศรษฐกิจ
สังคม ตามจารีตประเพณีเป็นการปรับตัวเข้ากับฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพภูมิสังคมที่ต้ังถ่ินฐานอยู่โดย
“กลุ่มชาติพันธ์ุบนพ้ืนท่ีสูง” หรือชนชาวเขาจะตั้งถ่ินฐานตามแนวเทือกเขาบนพ้ืนที่สูงที่สลับซับซ้อน มีลักษณะเป็น
สังคมเกษตร ด้วยการทาไร่ ทานา เล้ยี งสัตวแ์ ละพง่ึ พิงอาศัยป่าและสายน้าในลาห้วยเปน็ วิถีชวี ิตท่ีพ่งึ พิงธรรมชาติและ
อาศัยผลผลิตจากป่าเป็นหลัก สาหรับ “กลุ่มชาติพันธตุ์ ั้งถิ่นฐานบนพ้ืนที่ราบ” ส่วนใหญ่มีวิถีการดารงชีวิตท่ีกลมกลนื
กับคนไทยทั่วไปโดยมีอาชีพเกษตรกรรม ทานา ทาสวน เลี้ยงสัตว์แต่ยังพึ่งพิงใช้ประโยชน์จากป่าโดยมีแนวโน้ม
เปล่ียนแปลงไปสู่สังคมเมืองมากขึ้นแต่ยังคงอัตลักษณ์และวฒั นธรรมของตนเองอยู่ ส่วน “กลุ่มชาติพันธ์ุท่ีตั้งถ่ินฐาน
ตามหมู่เกาะหรือชายฝ่ังทะเล” ดารงชีวิตอยู่ทั้งบนบกและในทะเล ประกอบอาชีพประมงเป็นหลัก เรียกว่า ชาวเล
และกลุม่ ชาติพนั ธุ์กลุม่ เลก็ ๆ ดารงชวี ติ ดว้ ยการล่าสัตว์และเก็บของป่า ไดแ้ ก่ มลาบรี (ตองเหลือง) ทางภาคเหนอื และ
ซาไก (มันนิ) ทางภาคใต้เป็นกลุ่มที่มีชีวิตผูกผันอยู่กับป่าอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้กลุ่มชาติพันธ์ุเหล่านี้แทบทุกกลุ่ม ต่างก็มี
วัฒนธรรมประเพณีท่ีสืบทอดกันต่อ ๆ มาเป็นของตนเอง วัฒนธรรมประเพณีเหล่านมี้ ีที่มาจากหลายๆ แหล่ง ทั้งจาก
ภมู ปิ ญั ญาด้งั เดมิ ของชาติพันธ์ุ ทง้ั อทิ ธิพลของจีนถิน่ ทอี่ ยู่อาศัยดงั้ เดมิ และท้ังประเทศที่เดินทางผ่านมารวมเข้าดว้ ยกัน
แต่สิ่งที่สง่ อิทธิพลต่อพวกเขาอยา่ งเดน่ ชดั อีกสองเร่ืองสาคญั กค็ ือ เร่อื งของการเดินทางอพยพยา้ ยถ่นิ และเรอ่ื งของการ
ใช้ชวี ิตในธรรมชาตบิ นพืน้ ทปี่ า่ เขาลาเนาไพร ทหี่ ล่อหลอมชวี ิตของกล่มุ ชาติพนั ธ์ใุ ห้มีลกั ษณะพิเศษเฉพาะ จนเปน็ อยา่ ง
ทีเ่ ห็นกันในปจั จบุ ัน
วัฒนธรรมประเพณีท่ีทุกกลุ่มชาติพันธุ์สืบทอดต่อกันมามีหลายอย่าง ดังนี้ อย่างแรก คือ วัฒนธรรมการ
ประกอบอาหารและการถนอมอาหาร อาหารของกลุ่มชาติพันธุ์แทบทุกชนเผ่าส่วนใหญ่จะเป็นอาหารง่าย ๆ ข้ันตอน
การทาไม่ยุ่งยาก และใช้ส่วนประกอบในการทาอาหารไม่มากนัก อาจกล่าวได้ว่าเตรียมพร้อมเสมอ สาหรับการย้ายท่ี
อยู่ และการเดินทางรอนแรม ส่วนเรอ่ื งการถนอมอาหารก็จะใชว้ ธิ กี ารคล้าย ๆ กนั คอื เรยี บง่ายไมย่ งุ่ ยาก เปน็ การใช้
วธิ ตี ากแดดและรมควันเป็นหลกั สว่ นในเรื่องการใช้ชวี ิตอยู่ ในธรรมชาติ ภมู ิปญั ญาอนั น่าสนใจยิ่งของ ชาวไทยภเู ขาก็
คือ การปลูกพืชไรห่ มนุ เวียน การลา่ สัตว์ และการใช้อาหารเป็นยา หรือคือภูมคิ วามรดู้ ้านการสมุนไพรท้งั หลายนั่นเอง
อย่างต่อมา คือ เร่ืองของศิลปหัตถกรรม ซ่ึงเป็นการนาส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่ในธรรมชาติรอบตัว มาประดิดประดอยเป็น
เคร่ืองใชไ้ ม้สอยต่าง ๆ หลากหลาย กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์แต่ละเผ่าพนั ธกุ์ ็มีฝมี อื ยอดเยย่ี มอย่างยง่ิ ในหลากหลายแขนง ท้ังงาน
จักสานไม้ไผ่ งานผ้าเย็บปักถักร้อย งานผลิตเครื่องประดับประจาเผ่าเฉพาะตน งานแกะสลักไม้ และงานพวกเครอ่ื ง
โลหะต่าง ๆ เป็นต้น ทาให้เกิดผลงานช้ินเย่ียมจานวนมาก โดยมีช่วงเวลาหนึ่งท่ีมีชาวต่างประเทศเริ่มเข้ามาทาความ
รู้จกั กับกลมุ่ ชาตพิ นั ธุต์ ่าง ๆ ในประเทศไทยครงั้ แรก ดว้ ยความเห็นคุณค่าและมีเงินทนุ กล้าทมุ่ เท จึงกวาดซ้อื ผลงานชนิ้
งามเหล่านั้นออกไป เม่อื เวลาผา่ นไป เวลากลายเปน็ สง่ิ มีค่ามากขน้ึ ชนเผา่ มฝี ีมือร่นุ เก่าหมดไป ผลงานชิ้นเย่ียมชนิ้ ใหม่
ก็มีน้อยลง และสิ่งท่ีจะเหมือน ๆ กันอีกสิ่งหน่ึงของกลุ่มชาติพันธุ์แทบทุกเผ่าพันธ์ุ คือ การใช้เครื่องประดับเงินติดตวั
เพราะเงนิ เป็นส่งิ มีคา่ และม่ันคงกว่าธนบตั ร
๔ | กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ ในจังหวดั เชยี งราย
ความคล้ายคลึงกันของวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีสาคัญอีกเรื่องหนึ่ง คือ การเคารพนับถือผีบรรพบุรุษ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
ทุกวันน้ีแม้กลุ่มชาติพันธ์ุหลายชนเผ่าจะมีการเปลี่ยนไปนับถือศาสนาหลักอ่ืน ๆ แล้ว แต่การนับถือบูชาผีบรรพบุรุษ
พอ่ แม่ปยู่ ่าตายายผูล้ ่วงลับซึง่ จะไดร้ ับการจัดทาห้ิงบชู าและเซ่นไหว้ในโอกาสที่เหมาะสม กย็ งั ไม่เคยเสื่อมคลายไปจาก
ชวี ติ พวกเขาเลย และจะให้ความสาคัญเป็นอนั ดับแรกเสมอ เม่อื เกดิ เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ขึน้ ในครอบครัว ไมว่ ่าจะทาอะไร
ผีบรรพบุรุษก็มักจะได้รับการกล่าวอ้างถึงและปฏิบัติบูชาอย่างสม่าเสมอ วัฒนธรรมประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์อยา่ ง
สุดท้าย คือ ดนตรี เครื่องดนตรีหลักของกลุ่มชาติพันธ์ุจะเป็นเคร่อื งเป่าและเคร่ืองดีด เคร่ืองเป่าท่ีมีลักษณะเป็นแคน
น้าเต้า จะมีอยู่ในเกือบทุกกลุ่มชาติพันธุ์ ต่างกันที่ขนาดและชื่อเรียก เช่น ชนเผ่าม้ง จะเรียกว่า เค่ง ชนเผ่าลีซู
จะเรียกว่า ซ่ือรึ เป็นต้น ส่วนเคร่ืองดนตรียอดฮิตอีกสองประเภทก็คือ พิณ และขลุ่ย ก็เป็นท่ีแพร่หลายในหลายเผ่า
ตา่ งกันตรงขนาด รูปรา่ งของกล่องเสียง และช่อื เรียกเช่นเดียวกัน นอกจากนี้เครื่องดนตรอี กี ชนดิ หน่ึงซง่ึ สูญหายไปจาก
สงั คมไทยนานแล้ว แตก่ ลับยงั มีอยใู่ นสงั คมชาวไทยภูเขา น่นั คือ จง้ิ หนอ่ ง เปน็ ไม้ไผ่ช้ินเลก็ ๆ ท่ีสามารถเป่าหรอื ดีดให้
เปน็ เสียงดนตรไี ด้๑
ในภาพรวมวิถีชีวิตและจารีตประเพณีของกลุ่มชาติพันธใ์ุ นประเทศไทยประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
โดยมีความเป็นอยู่ท่เี ก่ียวพันและพงึ่ พงิ ปา่ ทรัพยากรธรรมชาตจิ ึงมคี วามสาคัญต่อวถิ ีชีวิตของพวกเขาชนชาติพันธ์ุกลุ่ม
ต่าง ๆ เหล่านี้มีโครงสร้างทางสังคมที่หลากหลายมีวฒั นธรรมประเพณีและภาษาของตนมีความเชื่อตามศาสนาสากล
ท้ังพุทธ คริสต์และอิสลาม และยังยึดถือความเช่ือตามประเพณีโดยมีการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพิธีกรรมท่ี
เกี่ยวกับชีวิตสุขภาพอนามัยและการทามาหากินท่ีอาศัยธรรมชาตินอกจากน้ีกลุ่มชาติพันธ์ุจะมีลักษณะพิเศษ
คอื มคี วามสามารถในทางศลิ ปหัตถกรรมและงานชา่ งฝีมือโดยเฉพาะการทอผา้ เย็บผา้ เยบ็ ปักประดษิ ฐ์และการตเี หล็ก
ซึ่งมีลักษณะเด่นท่ีสะท้อนอตั ลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพนั ธุ์ของตน ด้วยเหตุนี้แต่ละกลุ่มจึงมีเครอื่ งแต่งกาย
ประจาเผ่าของตนเองที่มีรปู แบบสีสันท่ีสวยงาม มีเคร่ืองประดับ ที่แสดงอัตลักษณ์เฉพาะตัว มีศิลปะการแสดงต่าง ๆ
เปน็ อัตลกั ษณเ์ ฉพาะกลุม่ ทงั้ การรอ้ ง - รา และดนตรีซง่ึ ทั้งหมดนี้เป็นทุนทางวฒั นธรรมทมี่ คี ณุ ค่า
อยา่ งไรกต็ าม กลุม่ ชาติพนั ธทุ์ ี่หลากหลายเหล่าน้ีส่วนใหญ่ผสมกลมกลนื ภายใต้นโยบายบรู ณาการของรัฐและ
มีฐานะเป็นพลเมืองของรัฐไทย แต่เป็นกลุ่มเสี่ยงท่ีมีโอกาสจะได้รับผลกระทบสูงกวา่ คนกลุ่มอน่ื จากการเปลี่ยนแปลง
ทาให้ต้องประสบปัญหาในมิติต่าง ๆ ทั้งความมัน่ คง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดล้อม ทา่ มกลางสถานการณ์
โลกและประเทศที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดเป็นความท้าทายในการดาเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ุต่าง ๆ
โดยเฉพาะภาวะวกิ ฤตทางภาษาและวัฒนธรรม แมจ้ ะมคี วามพยายามอนุรกั ษ์ไว้ในระดบั หนึ่ง
การศึกษาทางด้านชาติพันธ์ุให้ความสาคัญด้านชาติพันธุ์สภาวะ (Ethnicity) เพราะเป็นส่ิงที่ช่วยช้ีให้เห็น
คณุ สมบัติทางชาติพันธุ์ท่กี ลุม่ สังคมต่าง ๆ พยายามค้นหาและอธิบายสถานะตัวตนทางสังคมของตน คาอธิบายดงั กลา่ ว
เกิดขึ้นโดยมีเง่ือนไขของบริบทเป็นองค์ประกอบสาคัญ บริบทต่างๆ เหล่านั้นมีผลต่อการสร้างคาอธิบายตัวตนและ
ฐานะทางชาติพันธุ์ทั้งจากมุมมองของคนนอกและคนใน ช่วงเวลาที่ผ่านมาในอดีตโดยเฉพาะในช่วงสมัยอาณานิคม
(colonial period) ทฤษฎีวิวฒั นาการมนุษยแ์ ละวิวัฒนาการสงั คมไดค้ รอบงาความรูท้ างชาติพันธุด์ ว้ ยแนวคิดเร่อื งเชื้อ
ชาติ (race) จนเกิดความคิดเร่ืองเชื้อชาตินิยม (racism) อันส่งผลอย่างรุนแรงต่อความขัดแย้งทางสังคมในระดับโลก
นกั มานุษยวิทยาได้พยายามตง้ั ขอ้ เสนอให้ใช้คาว่ากลุ่มชาตพิ นั ธุ์ (ethnic group) แทนคาว่าเช้ือชาติ ทาให้เรมิ่ มีการใช้
๑อภินันท์ บัวหภักดี (๒๕๖๒). ค่าล้า...วัฒนธรรมชาวไทยภูเขาhttp://www.culture.go.th/culture_th/ewt_news.php?nid=
๔๒๖๙&filename=index
กล่มุ ชาติพันธุ์ ในจงั หวัดเชยี งราย | ๕
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” คาว่าชาติพันธ์อุ ธบิ ายกลุ่มสังคมอย่างกว้างขวางขึ้น ความคิดต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นต่อมาในช่วงสมัยหลังอาณานิคม (post-
colonial period) ซ่ึงเป็นเวลาที่รัฐสมัยใหม่ได้เติบโตและมีบทบาทข้ึนมาก ทาให้รัฐมีอิทธิพลสาคัญต่อคาอธิบายทาง
ชาตพิ นั ธข์ุ องคนแตล่ ะกลมุ่ เพื่อการสร้างองคป์ ระกอบของความเปน็ พลเมอื งท่แี ตกต่างกนั ไป ความคิดทใี่ ห้ความสาคัญ
ต่อลักษณะสังคมแบบพหุวัฒนธรรม (multiculturalism) ความคิดว่าด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชน (human rights) อันมี
ผลต่อประเด็นสิทธิทางวัฒนธรรม สิทธิทางชาติพันธุ์ ไปจนถึงความคิดว่าด้วยชนพ้ืนถิ่นด้ังเดิม (indigenousness)
ความคิดเหล่าน้ีต่างก็ส่งผลต่อความเคลื่อนไหวและการสร้างคาอธิบายทางชาติพันธุข์ องกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในกรณี
ของประเทศไทยเองรัฐไดม้ ีการจดั ต้งั สานักกิจการชาตพิ ันธ์ุสังกัดกระทรวงพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ซึ่งมี
หน้าทห่ี ลกั เพอ่ื การยุติการเลือกปฏิบตั ิทกุ รูปแบบต่อเชอ้ื ชาติ สผี ิว เช้อื สาย หรือกาเนิดทางชาตหิ รือชาตพิ ันธ์ุ พรอ้ ม ๆ
ไปกับการสร้างความเข้มแข็งให้กบั องค์กรกลุ่มชาติพันธต์ุ ่าง ๆ รวมทั้งสนับสนนุ ให้เกิดกิจกรรมสร้างความรูแ้ ละความ
เป็นธรรมทางสังคม จากสภาวะปัจจุบันท่ีสังคมมีการเปล่ียนผ่านมาสู่บริบทที่เรียกกันว่าโลกาภิวัตน์ ซึ่งเกิดขึ้นและ
ดาเนินร่วมไปกับลักษณะของกระบวนการทางเศรษฐกิจแบบเสรนี ิยมใหม่ ได้ส่งผลและมีอิทธิพลต่อความเคลื่อนไหว
และความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังประกอบด้วยมิติความสัมพันธ์อันสลับซับซ้อน
และแนน่ อนว่ามีผลกระทบต่อปรากฏการณ์ทางดา้ นชาตพิ ันธุ์สภาวะของกลมุ่ ชาติพนั ธ์ตุ า่ ง ๆ อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ศนู ยม์ านษุ ยวิทยาสิรนิ ธร (องค์การมหาชน) ได้มกี ารจัดทาฐานข้อมลู กลุ่มชาตพิ ันธ์ใุ นประเทศ
ไทยขึ้น มีการแนะนากลุ่มชาติพันธุ์ท้ังส้ิน ๓๖ กลุ่ม มีการจาแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามตระกูลภาษา ๕ ตระกูล คือ กลุ่ม
ตระกลู ภาษาไท - กะได กลุ่มตระกลู ภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มตระกูลภาษาจนี -ทิเบต กลมุ่ ตระกลู ภาษาออสโตรเน
เช่ียน กลุ่มตระกูลภาษาม้ง - เมี่ยน เน่ืองจากกลุ่มชาตพิ ันธม์ุ ีความหลากหลายมากข้ึน และมีวิถีชีวิตท่ีเปลี่ยนแปลงไป
ตามบริบททางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของประเทศไทย ซ่ึงเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก ในปี พ.ศ.๒๕๕๒
จึงได้มีการปรับช่ือเรยี กชาติพันธ์ุ (Ethnonym) ตามที่คนในใช้เรียกตนเอง (Endonym หรือ Autonym) เพราะช่ือท่ี
คนอื่นเรียก (exonym) มกั จะมนี ัยความหมายไปในทางเหยยี ดหยามและมอี คติ ทาให้กลุ่มท่ีถกู เรยี กดว้ ยช่ือเหลา่ นน้ั ไม่
พึงพอใจ ดังนน้ั ในปี ๒๕๕๘ ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรินธร จึงทาการพฒั นาฐานข้อมลู กลมุ่ ชาตพิ นั ธใุ์ นประเทศขึ้นใหม่ โดย
แนะนากลุ่มชาติพันธ์ุตามช่ือท่ีกลุ่มเรียกตนเองหรือต้องการให้สังคมเรียก ตลอดจนค้นคว้าวิจัยให้มีเนื้อหาทันสมัย
แสดงให้เห็นพลวัตและอัตลักษณ์ทางชาติพันธ์ุที่เกี่ยวข้องกับบริบทและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในปัจจุบัน โดยมุ่ง
หมายท่ีจะสื่อสารกบั สาธารณะ ให้บคุ คลทัว่ ไปมคี วามเข้าใจเร่อื งความหลากหลายทางชาตพิ ันธ์ุและรู้จักวฒั นธรรมของ
กลมุ่ ชาติพันธ์ุมากขึน้ ๒
ในประเทศไทยไดจ้ ัดใหม้ กี ารพฒั นากลุ่มชาตพิ นั ธ์ุบนพ้นื ท่ีสูงจากทางหน่วยงานของรฐั จานวนหลายหน่วยงาน
และหลายโครงการภายใต้นโยบายการแก้ไขความม่ันคงของชาติ การพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุในระยะแรกมุ่งเน้นในการ
จัดต้ังถิ่นฐานถาวร การสารวจสถานะบุคคล การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และการอนุรักษ์และพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติ แต่จากการปฏิรูประบบราชการในปี ๒๕๔๕ ส่งผลให้โครงสร้างงานบริหารของหนว่ ยงานต่าง ๆ
เปลี่ยนแปลงไป ขาดหน่วยงานรบั ผิดชอบที่ชัดเจน การพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์จึงหยุดชะงักไม่ต่อเน่ือง จึงส่งผลกระทบ
ต่อความมั่นคงของชาติทาใหก้ ลมุ่ ชาติพนั ธ์รุ วมตัวกนั เรยี กร้องสัญชาติ การย้ายถนิ่ และตอ่ มามนี โยบายการแก้ไขปญั หา
๒ศูนยม์ านษุ ยวิทยาสิรนิ ธร
๖ | กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ ในจงั หวดั เชยี งราย
ยาเสพติดตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิชนพน้ื เมือง พ.ศ.๒๕๕๐ ผลการพฒั นากล่มุ ชาติพนั ธโุ์ ดยรวมในระยะ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
ท่ผี ่านมา แม้วา่ จะส่งผลให้ความเป็นอยู่และคุณภาพชีวติ ของประชาชนกลุ่มชาติพันธ์ุดขี ้ึน แต่การเปลี่ยนแปลงสภาพ
เศรษฐกิจ สังคม การปกครองและสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการบริหารจัดการที่หลากหลาย ขาดความชัดเจน ปัญหา
ต่าง ๆ ของกลุ่มชาตพิ นั ธจ์ุ ึงยงั คงอยู่โดยเฉพาะเรือ่ งการกาหนดสถานะบุคคล การจดั ต้งั ถิ่นฐานถาวรและการไดร้ บั การ
ยอมรับ อีกท้ังยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนาที่หน่วยต่าง ๆ ได้ถูกกาหนดข้ึนอย่างหลากหลายขาดการกาหนด
จุดมุ่งหมายในการดาเนินงานร่วมกัน อย่างเป็นรูปธรรม จากสภาพการณ์ต่าง ๆ ดังกล่าว จึงเป็นเนื้อหาสาคัญในการ
จัดทาแผนแม่บทการพฒั นากลมุ่ ชาติพนั ธ์ใุ นประเทศไทย (พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐) ใจความสาคัญ ดงั น้ี
๑) ความสาคัญของกลุ่มชาติพันธ์ุในประเทศไทยจานวนมากส่วนใหญ่มีถ่ินฐานในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร
อยู่ในพืน้ ทอี่ นุรกั ษ์เกาะแก่งและพน้ื ทีบ่ รเิ วณชายแดนมีการอพยพโยกย้ายถ่ินอยู่เสมออนั เปน็ จุดออ่ นดา้ น ความมัน่ คง
ประกอบกับวิถีการดารงชีวิตของประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ยังมีสภาพยากจน ขาดโอกาสในการรับ บริการข้ันพื้นฐาน
ส่วนใหญ่ทาการเกษตรดั้งเดิมที่ต้องอาศัยธรรมชาติเป็นหลักซ่ึงมีแนวโน้มท่ีมีข้อจากัดมากข้ึน มีคุณภาพชีวิตต่ากว่า
เกณฑแ์ ละประชากรส่วนหนึ่งมพี ฤตกิ รรมทก่ี ระทบต่อความม่ันคงปลอดภยั เชน่ เก่ียวพันกับยาเสพตดิ
๒) การสืบสานการพัฒนากลุ่มชนบทบนพ้ืนท่ีสูงและกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ตามแนวพระราชดาริให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพและขยายผลใหก้ ว้างขวางเพ่ิมขึ้นเพ่ือการพัฒนาชว่ ยเหลอื ประชาชนใหส้ มดุลมั่นคงและเกิดประโยชน์สุข
๓) การดาเนินงานพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุในระยะท่ีผ่านมายังไม่บรรลุการพัฒนายังไม่สมดุลย่ังยืน จาเป็นตอ้ ง
ดาเนนิ งานอย่างต่อเนอ่ื งตอ่ ไป ไดแ้ ก่ การสารวจและกาหนดสถานะบุคคลทางกฎหมายการสารวจ และวางแผนการใช้
ประโยชน์ท่ีดิน เพื่อจัดตั้งถิ่นฐานถาวร การยกระดับการดารงชีวิตและการจัดบริการพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจและสังคม
การสนบั สนนุ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มทั้งในดา้ นการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และดา้ นความมั่นคง
๔) สถานการณ์ตา่ ง ๆ มีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาและส่งผลกระทบต่อชมุ ชนและประชาชนกลุ่ม ชาตพิ ันธ์ุ
โดยการประกอบอาชพี การเกษตรมแี นวโน้มประสบปัญหาเพ่มิ ขึน้ จากขอ้ จากัดในการใช้พ้ืนท่ี การเกษตรทรพั ยากรน้า
และดินขาดแคลนและเส่ือมโทรม สง่ ผลตอ่ การประกอบอาชีพเกษตรกรรม นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงระดับภูมิภาค
สู่สงั คมอาเซียนในขณะทกี่ ารเตรียมการรองรบั การเปลีย่ นแปลงยังไม่พร้อม ประชากรยงั ปรบั ตวั ไม่ทนั จงึ ประสบความ
ทุกขย์ ากเดอื ดรอ้ น
๕) การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ โดยปรับกระบวนทัศน์การดาเนนิ งานทัง้ การพัฒนาระบบ ขอ้ มูล
การใช้แผนเป็นเครื่องมือกาหนดผู้รับผิดชอบให้ชัดเจนในทุระกันดาร การพัฒนาบุคลากร และการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจและการยอมรบั มากขึ้น
การพัฒนากลุ่มชาติพนั ธุ์ในประเทศไทยต้องอาศัยยทุ ธศาสตร์และแนวทางดาเนินงานหลายอยา่ ง ได้แก่ การ
สืบสานการพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ตุ ามแนวพระราชดาริได้ดาเนนิ งานสนองพระราชดารใิ นการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและ
ให้มีประสิทธิภาพ โดยจัดท่ีอยู่อาศัยทากินในถิ่นฐานเดิมตามแนวทางการอยู่ร่วมกันของคนและป่า พัฒนาแหล่งน้า
และทรัพยากรดิน ส่งเสริมการเกษตรกรรมแบบครบวงจรโดยส่งเสริมการปลูกข้าว พืชเศรษฐกิจ ปศุสัตว์และการ
ประมง ส่งเสริมความรู้การเกษตรแนวใหม่และการอนุรักษ์ป่า ส่งเสริมศิลปาชีพ พัฒนาคุณภาพวิถีชีวิตและสร้าง
จิตสานึกในการเป็นพลเมืองไทยท่ดี ี สาหรบั ดา้ นการคุ้มครองสทิ ธกิ ลมุ่ ชาติพันธุใ์ นประเทศไทยไดด้ าเนนิ การสารวจและ
กาหนดสิทธิ สถานะบุคคลทางกฎหมาย กาหนดสิทธิการอยู่อาศัยทากินและจัดต้ังถิ่นฐานถาวร สารวจและวางแผน
การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน กาหนดเขตพ้ืนทีอ่ นรุ กั ษแ์ ละจัดทาทะเบยี นผถู้ ือครองทดี่ ินในพ้ืนท่อี นรุ กั ษจ์ ดั ทดี่ ินทากินตามแนว
กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ ในจังหวัดเชียงราย | ๗
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” พระราชดาริและทบทวนปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการ รวมทั้งการให้การคุ้มครองสิทธิทางวัฒนธรรม ส่วนการ
พัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ด้านความเป็นอยู่เพื่อพัฒนาอาชีพและรายได้ มีการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน กระจายบริการ
พ้ืนฐานที่เอ้ือต่อการผลิตในรูปศูนย์เรียนรู้และบริการเพ่ือพัฒนาภูมิคุ้มกันในอาชีพ การเกษตร น้าและดิน มีการ
ดาเนินการฝึกอบรมพัฒนาอาชีพส่งเสริมอาชีพในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรอย่างเป็นระบบครบวงจร ส่งเสริม
ขยายผลระบบเกษตรย่ังยืน สนับสนุนการรวมกลุ่มเพ่ือสร้างความม่ันคงในการประกอบอาชีพ และพัฒนาแหล่ง
ท่องเท่ียวเรียนรู้เชิงอัตลักษณ์และวัฒนธรรม ในขณะท่ีการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ด้านการพัฒนาคนและคุณภาพชีวิต
ของคน มกี ารจัดและกระจายบรกิ ารสังคมประเภทต่าง ๆ จดั การศกึ ษาเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาคนทุกช่วงวยั ต้งั แตว่ ยั เดก็ ถึง
วัยสูงอายุ พัฒนาและส่งเสริมสุขภาพอนามัย สนับสนุนการดาาเนินงานพระธรรมจาริก ส่งเสริมอัตลักษณ์กลุ่มชาติ
พันธ์ุต่าง ๆ โดยจัดต้ังศูนย์ศึกษาเรียนร้ใู นอัตลักษณ์กลุ่มชาติพนั ธุ์ต่าง ๆ สนับสนุนการตั้งแหล่งเรียนรู้อัตลักษณ์ และ
สนบั สนนุ การดาเนินการศึกษาวิจัยในอัตลักษณ์เสรมิ สร้างความม่ันคงปลอดภัยของประชาชนและชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ุ
ในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมท้ังการพัฒนาจัดการเรียนรู้เพ่ือเตรียมความพร้อมการก้าวสู่ประชาคม
อาเซียนและการก้าวสู่สากล นอกจากนั้นมีการจัดการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ และจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ น้า ดินและป่า
โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ส่งเสริมการปลูกป่า และอนุรักษ์ป่าตามแนวพระราชดาริ ดาเนินงานโครงการธนาคาร
อาหารชุมชนตามแนวพระราชดาริเพ่ือสร้าง ความม่ันคงด้านอาหาร และสนับสนุนส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพ่ือ
อนุรักษ์ดินและนา้ และการพัฒนาด้านการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการ โดยปรบั กระบวนทัศนก์ ารพัฒนากลุ่ม
ชาติพันธุ์ มุ่งบูรณาการดาเนินงานอย่างเป็นองค์รวมมีประชาชนกลุ่มชาติพันธ์ุเป็นศูนย์กลาง พัฒนาพร้อมกันทั้งคน
และพ้ืนท่ี พัฒนาระบบข้อมูลให้สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน พัฒนาปรับปรุงเครื่องมือและกลไกดาเนินงานมีการใช้
แผนเปน็ เครื่องมือดาเนนิ งาน กาหนดผ้รู ับผดิ ชอบทกุ ระดบั ให้ชดั เจน พฒั นาบคุ ลากรดาเนนิ งาน ใหค้ วามสาคัญกบั การ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และทบทวนปรับปรุงกฎระเบียบต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ท่ี
เปล่ียนแปลง ทั้งหลักการความสาคัญและแนวทางการดาเนินงานการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
มวี ตั ถุประสงค์เพยี งเพอ่ื ให้กลุม่ ชาติพนั ธ์ุในประเทศไทยไดร้ บั การพัฒนาและค้มุ ครองสทิ ธิความเป็นบคุ คลทางกฎหมาย
และการต้งั ถิน่ ฐาน เพ่ือเป็นพลเมืองไทยที่สมบูรณ์และมีคุณภาพ เพอื่ สร้างภมู ิคุ้มกันและโอกาสในการประกอบอาชีพ
และพัฒนายกระดับความเป็นอยู่ของประชากรกลุ่มชาติพันธ์ุสามารถพ่ึงตนเองได้และก้าวสู่กระบวนการพัฒนา
ส่วนรวม เพื่อพัฒนาคนและคุณภาพชีวิตของคนกลุ่มชาติพันธใ์ุ นประเทศไทย ให้มีการเรียนรู้อย่าง ต่อเน่ือง มีโอกาส
เขา้ ถึงบรกิ ารพน้ื ฐานและมีส่วนรว่ มในการพัฒนาและสรา้ งฐานความมั่นคงของทรพั ยากรธรรมชาติ เพอ่ื ศกึ ษาวิจัยและ
ขยายองค์ความรู้ในอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจและการยอมรับในสังคม
และเผยแพร่ในรูปศูนย์เรียนรู้ตามภูมิสังคมแต่ละท้องถ่ิน และเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการดาเนินงาน
พัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุในประเทศไทย มุ่งบูรณาการดาเนินงานอย่างเป็นองค์รวมโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้
กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุในประเทศไทยเปน็ พลเมืองท่ีมีคุณภาพ ไดร้ บั การพฒั นาเพอื่ มีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี สามารถพ่งึ ตนเองไดด้ ารง
ไวซ้ ึ่ง อัตลกั ษณข์ องตนเองและไดร้ บั สิทธิทางวัฒนธรรม ไดร้ บั การยอมรับ พรอ้ มก้าวสกู่ ระบวนการพัฒนาส่วนรวมและ
ก้าวสสู่ ากล๓
๓แผนแมบ่ ทการพัฒนากล่มุ ชาติพันธุใ์ นประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
๘ | กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ในจังหวดั เชียงราย
จากแผนแม่บทการพฒั นากลุ่มชาติพนั ธุแ์ สดงให้เห็นว่า ประเทศไทยให้ความสาคัญกบั แนวคิด “ความมั่นคง ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
ของมนษุ ย์” โดยยดึ หลกั พ้นื ฐานศกั ดศ์ิ รีของความเปน็ มนษุ ย์และได้ดาเนนิ งานด้านสิทธมิ นุษยชน การจดั บรกิ ารให้เกิด
ความเสมอภาค เปน็ ธรรมแก่ประชาชน การลดความเหลื่อมล้าในสงั คม สาหรบั ความหมายของความมัน่ คงของมนุษย์
ตามคาจากัดความของโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (UNDP) อธิบายว่า หมายถึงการท่ีประชาชนสามารถ
แสดงออกในทางเลอื กของตนอย่าง ปลอดภัยและเป็นอิสระ ประชาชนควรจะมีศกั ยภาพและไดร้ ับอานาจมากพอท่ีจะ
ดูแลรบั ผดิ ชอบตัวเอง มโี อกาสท่ี จะแสวงหาความตอ้ งการของตนเองและรายได้ท่ีเพียงพอในการดารงชีวติ ดงั นนั้ เพ่ือ
การเตรยี มความพร้อมให้แก่คน ชุมชนและสงั คม ให้มภี ูมิคมุ้ กันตอ่ การเปลย่ี นแปลงได้อย่างเหมาะสม สามารถพัฒนา
ประเทศให้ก้าวหน้าต่อไปได้ เพื่อประโยชน์สุขท่ียั่งยืนของสังคมไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จึงได้ผลักดันการเสริมสรา้ งความตระหนกั ในเรอื่ งความม่นั คงของมนุษย์โดยพฒั นามาตรฐานและตัวชี้วัดความ
มั่นคงของมนุษย์ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต และได้จัดทา “ยุทธศาสตร์
ความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๖” เพื่อเป็นเคร่ืองชี้นาการขับเคล่ือนและผลักดันให้เกิดความมั่นคงของ
มนุษย์โดยอาศัยความร่วมมือของภาคีระดับต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาค
ประชาชน เพ่อื ใหเ้ กิดการบรู ณาการในการจดั การอยา่ งมีประสิทธภิ าพ๔
ยุทธศาสตร์ความม่ันคงของมนุษย์มีการวิเคราะห์แนวโน้มความเส่ียงของสังคมไทย แนวคิดสาคัญเกี่ยวกับ
ความมั่นคงของมนุษย์ท่ีแตกต่างจากการพัฒนาทั่วไป คือ เร่ือง “ความเส่ียง” และ “กลุ่มเสี่ยง” โดยความเสี่ยง
ดังกล่าวจะตอ้ งเป็นความเส่ียงที่จะกระทบต่อสิทธิมนุษยชนข้นั พื้นฐาน และเป็นความเสย่ี งทม่ี โี อกาสจะเกิดขึน้ ได้สูง ๓
กลุ่มประชากรท่ีจะต้องให้ความสนใจมากที่สุด คือ กลุ่มที่มีโอกาสที่จะรับผลกระทบสูงกว่ากลุ่มอ่ืน ๆ หรือมี
ความสามารถในการรับมือกับผลกระทบต่ากวา่ กลุ่มอื่น ๆ ซึ่งกลุ่มชาติพนั ธแ์ุ ละชนเผ่าเป็นกลุ่มที่ถูกกระบวนการทาง
สังคมผลักดันให้ตกอยู่ในสถานะบุคคลชายขอบของสังคมนับจากอดีตจวบจนปัจจุบัน มักถูกลิดรอนสิทธิความเป็น
มนุษย์ สิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิทางวัฒนธรรม ด้วยเหตุปัจจัยดังกล่าวกลุ่มชาติพันธ์ุจึงมีความเปราะบาง
สุ่มเส่ียงต่อความไม่ม่ันคงในชีวิตและจิตใจในระดับรุนแรง และมีรายละเอียดแตกต่างจากกลุ่มเส่ียงอ่ืน โดยกลุ่ม
ชาติพันธุ์มีแนวโน้มความไม่มั่นคง มนุษย์ในอนาคต ๑๐ ปีข้างหน้าที่ควรพิจารณาประกอบด้วย ความเสี่ยงในฐานะ
กลุ่มชาตพิ นั ธทุ์ ี่ไม่มีสถานะทางกฎหมาย ความเสี่ยงจากการขาดสิทธิทางวัฒนธรรม และอคติทางชาตพิ ันธ์ุ และความ
เสยี่ งจากการขาดสิทธใิ นทรพั ยากร และความไม่มั่นคงทางเศรษฐกจิ
จากการสารวจข้อมูลงานวิจัยด้านกลุ่มชาติพันธุ์ในฐานข้อมูลงานวิจัยแห่งชาติจานวน ๒ ฐานข้อมูล โดย
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ผลงานวิจัยเก่ียวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
โดยการรวบรวมผลงานวจิ ยั เกย่ี วกับกลุ่มชาตพิ นั ธใุ์ นมติ ิต่าง ๆ ท่ไี ดร้ บั การสนับสนนุ โดยสานักงานกองทุนสนบั สนนุ การ
วิจัย (สกว.: EPMS) พบว่ามีงานวิจัยรวมท้ังส้ิน ๑๒๘ โครงการ ซ่ึงประกอบด้วยงานวิจัยและพัฒนา และวิชาการ
รวมทั้ง งานวิจัยท้องถ่ิน นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยท่ีอยู่ในระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (NRIIS)
จานวน ๒๓ โครงการ ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี
๔ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๖. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์. ศูนย์ศึกษา
สนั ติภาพและความขดั แย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖.
กล่มุ ชาติพนั ธุ์ ในจังหวดั เชยี งราย | ๙
ประเดน็ งานวจิ ัยในฐาน NRIIS จานวน ประเด็นงานวิจยั ในฐาน EPMS (สกว.) จานวน
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” การอนรุ ักษแ์ ละการใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยนื 3 การศกึ ษา 27
การบริหารจดั การทรัพยากรน้าเพ่อื 1 จดั การทรัพยากรนา้ 4
การเกษตร
การทอ่ งเท่ยี ว 8 การทอ่ งเทยี่ ว 8
พฒั นาคณุ ภาพชีวิต 1 พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 22
ลดความเหลอ่ื มลา้ 1 ความมนั่ คงและความปลอดภยั ในพ้นื ที่ 9
สุขภาพและสาธารณสุข 2 สุขภาพและสาธารณะสข 5
ผลิตภัณฑท์ ้องถ่นิ 2 ประวตั ศิ าสตร์ศลิ ปะ วฒั นธรรม 38
และภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ
การอนุรักษแ์ ละการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยง่ั ยนื 15
ข้อมลู จาก สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) 2564.
กลมุ่ ชาติพันธ์ุในประเทศไทย: งานวจิ ัยและความท้าทาย.
จากข้อมูลงานวิจัยด้านกลุ่มชาติพันธุ์ข้างต้น แสดงให้เห็นว่ามีหลายปัญหาท่ีต้องเร่งดาเนินการแก้ไขโดยใช้
ผลการวิจัยมาเป็นกลไกในการแก้ไข โดยเฉพาะประเด็นปัญหาที่ได้รับความนิยมในการศึกษา เช่น ประเด็นด้าน
ประวัติศาสตร์ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเด็นทางการศึกษา และประเด็นด้านการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ ขณะเดียวกันก็ยังมีอีกหลายประเด็นที่ควรได้รับการพิจารณา เช่น ประเด็นด้านการอนุรักษ์
และการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งยั่งยนื ความม่ันคงและความปลอดภัยในพนื้ ท่ี การจัดการท่องเที่ยวและการบริหารจัดการ
น้า เพ่ือใหช้ มุ ชนของแต่ละกลมุ่ ชาตพิ ันธุเ์ ปน็ ชมุ ชนเข้มแขง็ มภี ูมิปญั ญาและมรดกทางวัฒนธรรมทเี่ ปน็ อัตลักษณ์ ควร
ค่าแก่การสืบทอดชั่วลูกชั่วหลาน บางชุมชนสามารถพัฒนาให้เกิดการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมให้ ผู้คนภายนอกไดเ้ ขา้
ไปเรียนรู้วถิ ีชีวิตท่ีนา่ สนใจได้ อีกทั้งยังสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย แม้ว่าการท่องเที่ยวจะอาจมีผลกระทบต่อการ
ดาเนนิ ชีวิตของกล่มุ ชาติพันธ์ุต่าง ๆ แตช่ นเผ่าเองกจ็ ะมรี ายได้จากการท่องเท่ียว เพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตของตนเองได้
ดงั ที่ผลการวจิ ัยด้านการทอ่ งเทยี่ ววิถีชีวิตชนเผา่ จงั หวัดเชียงราย ของรงั สิต เงาแกว้ และคณะ (๒๕๕๐) เร่อื ง การศกึ ษา
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวท่ีมีต่อวิถีการดาเนินชีวิตของชนเผ่า จังหวัดเชียงราย กรณีศึกษา: เปรียบเทียบจังหวัด
เชียงรายกับนครคุนหมิง เพ่ือศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตของชนเผ่าในจังหวัด
เชียงราย เพ่ือศึกษาความแตกต่างทางวิถีชีวิตของชนเผ่าในจังหวัดเชียงรายของประเทศไทย และมณฑลยูนนานของ
ประเทศจีน เพอื่ ศกึ ษาแนวทางที่จะส่งเสริม การท่องเท่ียวชนเผ่าในจงั หวดั เชยี งรายให้เกิดความยงั่ ยนื เพ่ือศึกษาความ
คิดเห็นของนักท่องเท่ียวเก่ียวกับการจัดการการท่องเที่ยวชนเผ่าของจังหวัดเชียงราย ทราบแนวทางและผลจากการ
แก้ไขผลกระทบของชนเผ่าในจังหวัดเชียงรายกับนครคุนหมิง และทราบแนวทางการสร้างความร่วมมือเพื่อป้องกัน
และแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขน้ึ จากผลกระทบจากการท่องเท่ยี วชนเผ่าในจังหวัดเชียงรายกับนครคนุ หมิง ผลการวจิ ัยพบว่า
ผลกระทบของการท่องเที่ยวท่ีส่งผลต่อการดาเนินชีวิตของชนเผ่าในจังหวดั เชียงราย มีท้ังผลดีและผลเสีย ด้านสังคม
ด้านวัฒนธรรมและด้านสิ่งแวดล้อม ส่วนด้านเศรษฐกิจมีแต่ผลดี ผลดีด้านสังคม คือ สภาพความเป็นอยู่ของชนเผ่า
ดีข้ึนมีการสร้างบา้ นเรือนขึ้นใหม่ มีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆในชีวติ ประจาวันมากข้ึน ผลเสียด้านสังคม คือ ความ
๑๐ | กลุม่ ชาติพันธ์ุ ในจังหวัดเชยี งราย
ยากลาบากในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การกักขังสัตว์เพื่อความสะดวกในการเยี่ยมชมชนเผ่าของ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
นักท่องเท่ยี ว ส่งผลให้ชนเผ่าบางกล่มุ เปลีย่ นอาชีพหรอื วิถีชวี ติ การเกษตรเพือ่ ไปขายของทรี่ ะลกึ ใหน้ ักทอ่ งเทย่ี ว เพราะ
มรี ายไดด้ ี ซง่ึ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ นิสยั เกียจครา้ นในการทางานด้านการเกษตร การกระทาทีไ่ ม่เหมาะสมต่อชนเผ่า ส่งผลต่อ
ความรู้สึกทางจิตใจของชนเผ่า ทาให้เกิดความรู้สึกต่าต้อย ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม ชนเผ่าบางกลุ่มมีการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบการบรโิ ภคอาหารไปจากเดิม เช่น การบริโภค อาหารสาเร็จรูป ซึ่งสาเหตุเกิดจากการเลียนแบบ
พฤติกรรมจากนักท่องเท่ียว นักท่องเที่ยวและไกด์บางกลุ่มนาสารเสพติดไปเสพกัน ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ผลดี
ด้านวัฒนธรรม คือ การอนุรักษ์วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชนเผ่า และโอกาสในการแลกเปล่ียนและศึกษาวัฒนธรรม
ระหว่างคนต่างเช้ือชาติกับชนเผ่า ผลเสียด้านวัฒนธรรม คือ เกิดความขัดแย้ง แข่งขันกันเองในชนเผ่า และวิถีการ
ดาเนินชีวิตของชนเผา่ เปลีย่ นไป เชน่ การนบั ถอื ผีบรรพบุรษุ เปล่ยี นเปน็ การนับถือศาสนาครสิ ต์ สง่ ผลให้พธิ กี รรมและ
ความเช่อื บางอย่างสูญหาย การแต่งกายของชนเผ่าเปลีย่ นไป ภาษาชนเผ่ายังคงใช้ในการสอื่ สารกันเองในกลุ่มแต่ต้อง
ใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศบางภาษาสื่อสารกับนักท่องเที่ยว จึงทาให้คาหรือกลุ่มคาบางคาในภาษาชนเผ่า
สูญหายไป เปลี่ยนมาใช้ภาษาไทยแทน ผลดีด้านสิ่งแวดล้อม คือ ชนเผ่ามีการอนุรักษ์น้าและป่าไม้เพ่ือธุรกิจการ
ท่องเที่ยว ผลเสียด้านสิ่งแวดล้อม คือ การท่ีมีนักท่องเท่ียวเดินทางเข้าไปชมแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติก่อให้เกิด
ปัญหาขยะและความสะอาด ผลดีด้านเศรษฐกิจ คือ ชนเผ่ามีรายได้เพ่ิมข้ึนจากการประกอบธุรกิจการท่องเท่ียว
จากการศึกษาพบว่า ชนเผ่าในจังหวัดเชียงรายกับนครคุนหมิง มณฑลยูนนาน มีวิถีการดาเนินชีวิตคล้ายกัน คือการ
ประกอบอาชีพทางการเกษตรและประกอบธุรกิจทาง การท่องเท่ียวเพ่ือเสริมรายได้ ซ่ึงการท่องเที่ยวทาให้ชนเผ่ามี
โอกาสได้แสดงศิลปวัฒนธรรมของตนเอง ถ่ายทอดแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม สร้างปฏิสัมพันธ์ กับนักท่องเท่ียว ทาให้มี
ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง และสามารถ ถ่ายทอดและเผยแพร่วัฒนธรรมของตนเองให้กับผู้อื่นได้
แต่ส่งิ แวดล้อมท่ีเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวธรรมชาตอิ าจเสอื่ มโทรมลง ซงึ่ ท้งั จังหวดั เชียงรายและมณฑลยนู นาน ต่างประสบ
ปัญหา เหมือนกัน แนวทางการสร้างความรว่ มมือเพ่ือป้องกันและแก้ปัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ จากผลกระทบทาง การท่องเท่ียว
ชนเผ่าในจังหวัดเชียงราย ใช้กลไกของผู้นาชุมชน และการสร้างเครือข่าย เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชน
สร้างจิตสานึก ภูมิปัญญาของชนเผ่าและการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมด้ังเดิมให้กับคนรุ่นใหม่ ส่วนมณฑลยูนนาน
ใช้กลไกของภาครัฐโดยมกี ารออกกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในการปกป้องรกั ษาวฒั นธรรมของตนเองไว้ หากทั้งจงั หวดั เชียงราย
และมณฑลยูนนาน นาวิธีการ และกลไกท่ีแตกต่างกันมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน อาจส่งผลดียิ่งข้ึนในการป้องกันแก้ไข
ปัญหาดงั กล่าว แนวทางท่ที าให้การท่องเท่ียวเกดิ ความยงั่ ยืน จังหวดั เชยี งรายใช้วิธกี ารให้ความรู้ โดยสถานศกึ ษาของ
ภาครัฐ สนับสนุนงบประมาณ และจดั กิจกรรมต่าง ๆ ทเี่ หมาะสมในการทอ่ งเที่ยว ส่วนมณฑลยูนนานใชอ้ งคก์ รเอกชน
สนับสนุนงบประมาณ จัดกิจกรรม ปลูกจิตสานึกให้ชนเผ่าอนุรักษ์วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ซ่อมแซมบูรณะแหล่ง
ท่องเที่ยว ดังนั้น หากทั้งจังหวัดเชียงรายและมณฑลยูนนาน ได้ร่วมเรียนรู้และนาวิธีการมาปรับใช้ อาจทาให้เ กิด
ประโยชนม์ ากยิง่ ข้นึ ๕
นอกจากนั้น นฤดีกร เดชาชัย. (๒๕๕๗) ยังได้ศึกษา การจัดการผลกระทบจากการท่องเท่ียวโดยชุมชนของ
ชนเผ่าอาข่า จังหวัดเชียงราย เพ่ือวิเคราะห์พัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชนเผ่าอาข่า จังหวัดเชียงราย
เพื่อวเิ คราะห์ผลกระทบจากการท่องเท่ียวโดยชมุ ชนของชมุ ชนชนเผ่าอาข่า จงั หวดั เชียงราย และเพื่อวิเคราะห์วิธีการ
จัดการผลกระทบจากการท่องเทย่ี วโดยชุมชน ผลการศึกษาพบวา่ พัฒนาการของการจดั การท่องเที่ยวโดยชุมชนของ
๕รังสิต เงาแก้วและคณะ. (๒๕๕๐). การศึกษาผลกระทบทางการท่องเท่ียวที่มีต่อวิถีการดาเนินชีวิตของชนเผ่า จังหวัดเชียงราย กรณีศึกษา:เปรียบเทียบ
จงั หวดั เชียงรายกบั นครคุนหมิง. กรุงเทพมหานคร : สานักงานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั .
กลุม่ ชาติพันธุ์ ในจงั หวดั เชยี งราย | ๑๑
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” ชนเผ่าอาข่า จังหวัดเชียงราย สามารถแยกออกได้ ๕ ระยะ ได้แก่๑) การสารวจพื้นที่ทางกายภาพและทุนทาง
วัฒนธรรมสู่การ ท่องเที่ยว ๒) การขยายตัวของการท่องเท่ียวรูปแบบทัวร์ป่าเข้าสู่ชุมชน ๓) การพัฒนาโครงสรา้ งพื้น
ฐานรองรับการท่องเที่ยวเข้าสู่ชุมชน ๔) การพัฒนาของการท่องเท่ียวโดยชุมชน และ ๕) การเปล่ียนแปลงของการ
จัดการท่องเท่ียวโดยชุมชนของชนเผ่าอาข่า จังหวัดเชียงราย จากการวิเคราะห์ กระบวนการจัดการท่องเท่ียวตาม
องค์ประกอบของการจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน ๔ ด้าน คือ ด้าน การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางธรรมชาติและ
ทางวัฒนธรรมสู่การทอ่ งเทยี่ ว พบว่าชุมชนนา วฒั นธรรม พิธกี รรมและภูมปิ ญั ญาอาขา่ มาเพื่อใชใ้ นกิจกรรมและการ
ให้บริการทางการท่องเที่ยว ด้านการจัดการองค์กร พบว่า ผู้นาชุมชน หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน
มีบทบาท สาคัญในการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้านการจัดการ พบวารูปแบบการดาเนินกิจกรรมการ
ทอ่ งเทย่ี วมคี วามเก่ยี วขอ้ งกับประเพณี พธิ ีกรรม ความเช่ือ และในด้านการเรียนรู้ พบว่า ชาวบ้านเกิด การเรยี นรจู้ าก
ประสบการณ์ของการต้อนรับนักท่องเที่ยวท่ีเข้าสู่หมู่บ้าน สาหรับปัจจัยท่ีมีผลต่อ พัฒนาการทางการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนของชนเผ่าอาข่า จังหวัดเชียงราย ได้แก่ ทรัพยากรทางธรรมชาติและวัฒนธรรม หน่วยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชน ผู้นาชุมชน และผลประโยชน์จากการ ท่องเท่ียว การศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนของ
ชนเผ่าอาข่า จังหวดั เชยี งราย พบว่า ผลกระทบทางบวกจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนมี ๔ ด้าน คอื ผลกระทบทางบวก
ด้าน เศรษฐกจิ ได้แกร่ ายไดจ้ ากการให้บรกิ ารทางการทอ่ งเทีย่ ว ผลกระทบทางบวกด้านสิ่งแวดล้อม ไดแ้ ก่ การกาหนด
ขอบเขตการใช้พ้ืนท่ีเพ่ือกิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างชัดเจน ผลกระทบทางบวก ด้านวัฒนธรรมและพิธีกรรม ได้แก่
การใช้กฎระเบียบ ข้อห้ามจากความเชื่อเป็นภูมิคุ้มกันเพื่อ ป้องกันผลกระทบจากการท่องเที่ยว และผลกระทบ
ทางบวกด้านสงั คม ได้แก่ การทอ่ งเท่ียว กอ่ ให้เกดิ การเรียนร้แู ลกเปลี่ยนระหวา่ งชมุ ชนกับนักทอ่ งเท่ียว ส่วนผลกระทบ
ทางลบจากการ ท่องเท่ียวโดยชุมชน มี ๔ ด้าน คือ ผลกระทบทางลบด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การกระจายรายได้และ
ผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวยังไม่ท่ัวถึงและเป็น ธรรมต่อชุมชนมากนัก ผลกระทบทางลบด้าน สังคม ได้แก่
การท่องเที่ยวเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอาชีพและการเปลี่ยนแปลงบทบาททางสังคม ผลกระทบทางลบด้าน
วัฒนธรรมและพิธีกรรม ชุมชน ได้แก่การท่องเท่ียวก่อให้เกิดปัญหาการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคและ
ผลกระทบทางลบด้านส่ิงแวดล้อม ได้แก่ ปัญหาการจัดการ ขยะภายในชุมชน วิธีการจัดการผลกระทบจากการ
ท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน คือ การใชว้ ฒั นธรรมชนเผา่ อาขา่ ไดแ้ ก่๑) ความเชื่อ พิธีกรรมและภมู ปิ ัญญา เปน็ ฐานสาคญั เพ่ือ
นาสู่วิธีการจัดการผลกระทบ จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนในด้านส่ิงแวดล้อมและด้านวัฒนธรรมและพิธีกรรม
และ ๒) ระบบ เครือญาติ เป็นฐานสาคัญเพ่ือนาสู่วิธีการจัดการผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนในด้านสังคม
และดา้ นเศรษฐกิจ๖
ในขณะท่ีประทัย พิริยะสุรวงศ์ (๒๕๖๐) ได้ศึกษางานวจิ ัยในมุมมองด้านวิถีชีวิตของชนเผ่าในจังหวดั เชียงรายท่ี
สะท้อนจากเพลงในงานวจิ ยั เร่ือง การสื่อสารบอกเล่าวิถชี วี ิตจากอดตี ถึงปัจจุบนั ดว้ ยบทเพลงร้องของชนเผ่าอาข่า จงั หวดั
เชียงราย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทเพลงรอ้ งที่แสดงถึงวถิ ีชีวิตในอดีตของชนเผ่าอาข่าในจังหวดั เชียงรายและเพื่อ
ศึกษาบทเพลงร้องท่ีแสดงถึงวิถีชีวิตปัจจุบันของชนเผ่าอาข่าในจังหวัดเชียงราย โดยใช้กลุ่มประชากรใน ๔ หมู่บ้าน คือ
บ้านอาขา่ ดอยช้าง บา้ นอาข่าแสนใจ บ้านอาขา่ ปา่ ซางและบ้านอาข่าแม่จันใต้ ผลการวจิ ยั พบว่า ๑. เพลงรอ้ งทใ่ี ช้ในอดีต
ของชนเผา่ อาข่า มคี วามชดั เจนในด้านอายุของเพลงรอ้ งดังกล่าวอยู่ในช่วงระยะเวลา ๑๐๐ ปีทผี่ ่านมา มเี นอ้ื หาของเพลง
ร้องมุ่งเนน้ ในดา้ นการดารงชีวติ วัฒนธรรม การแตง่ กายชาย-หญิง ความรัก เปน็ หลัก เพลงมเี นอื้ รอ้ ง ลลี า ทานองและการ
๖นฤดีกร เดชาชัย. (๒๕๕๗). การจัดการผลกระทบจากการท่องเท่ียวโดยชุมชนของชนเผ่าอาข่า จังหวัดเชียงราย Journal of Management Science
Chiangrai Rajabhat University Vol.12 No.2 (July - December 2017)
๑๒ | กล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย
รอ้ งในแบบเฉพาะของชนเผ่าอาขา่ โดยเพลงรอ้ งเหล่านีม้ ักนยิ มรอ้ งและใช้ในการเต้นราในลานวฒั นธรรมของชุมชน หรอื ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
แด ข่อง (Deh qahq) ซ่ึงชนเผ่าอาข่าจะใช้เป็นลานสืบทอดวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น ๒. เพลงร้องปัจจุบันของชนเผ่าอาข่า
ช่วงแรกของเพลงจะอยู่ในช่วงของการพื้นฟูวัฒนธรรม เป็นการนาบทเพลงชนเผ่าและบทเพลงที่แต่งขึ้นใหม่มาใช้นา
มวลชน เพือ่ สร้างความรู้สกึ รักเผ่าพันธุต์ นเองและธารงไว้ซ่ึงวฒั นธรรม ส่วนเพลงร้องชว่ งเวลาที่สองมกี ารรับเอาแนวเพลง
และทานองเพลงจากต่างประเทศมาดัดแปลง เนื้อหามีความเป็นสากลและเร่ิมขาดเอกลักษณ์ของบทเพลงร้องในอดีตท่ี
ผ่านมา ๓. จากการสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก (In-depthInterview) เก่ียวกับบทเพลงร้องของชนเผา่ อาขา่ ได้ข้อสรุปคือ เพลงที่อยู่
ในช่วงแรกของยุคปัจจุบันเป็นห้วงเวลาของการฟื้นฟูวัฒนธรรม เพราะการฟ้ืนฟูวัฒนธรรมด้วยเพลงมีความสาคัญย่ิงใน
การสือ่ สารดว้ ยบทเพลงภายในชนเผา่ เอง และประสบผลสาเรจ็ เป็นอย่างมาก ส่งผลให้เพลงรอ้ งมคี วามแพรห่ ลายและเป็น
ต้นแบบของเพลงในหว้ งระยะเวลาทสี่ องในเวลาตอ่ มา ๔. จากการจัดเวทีสนทนากลุม่ (Focus Group) ได้ข้อสรุปในเวทีวา่
บทเพลงร้อง ในอดีตควรถือระยะเวลาท่ีชนเผ่าอาข่าอพยพเข้ามาสู่ประเทศไทยเป็นเกณฑ์ซ่ึงจะอยู่ใน ช่วงเวลาประมาณ
๑๑๐ ปี โดยมีผู้อาวุโสบางท่านกล่าวว่าเพลงร้องบางเพลงมีอายุถึง ๒,๐๐๐ ปีน้ันยังไม่มีข้อยุติหรือหลักฐานอ้างอิงได้
ชดั เจน๗
หากย้อนเวลากลับไปเมื่อเกือบ ๒๐ ปีที่ผ่านมา ได้มีการศึกษาแนวคิดกระบวนการบูรณาการวัฒนธรรมของ
ชนเผ่าจังหวัดเชียงรายของ เสาวลักษณ์ อัศวยิ่งถาวร (๒๕๔๕) การศึกษากระบวนการบูรณาการวัฒนธรรมไทยและ
วฒั นธรรมอาข่าของนักเรยี นชาวไทยภเู ขาเผ่าอาขา่ ในระดบั ประถมศึกษา: การศกึ ษาเฉพาะกรณีนักเรียนชาวไทยภเู ขาเผ่า
อาข่า บ้านปลายฟ้า อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นการศึกษาถึงกระบวนการการศึกษาในแบบบูรณาการด้าน
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอาข่าของนักเรียนไทยภูเขาเผ่าอาข่าระดับประถมศึกษา โรงเรียนทอฝัน บ้านปลายฟ้า
อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในด้านที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมการดารงชีพ ภาษา ศาสนา ศิลปะและสังคม ผลการศึกษา
พบว่า เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านทัศนคติและการปฏิบัติตัวของเด็ก ๆ ต่อวัฒนธรรมอาข่า ที่มาจากวัฒนธรรมจาก
ภายนอกที่ผา่ นเขา้ มาทางการศกึ ษา ความเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมทคี่ วามเปน็ เมอื งเข้ามาสู่ชุมชน
มากขน้ึ เขา้ มามอี ทิ ธพิ ลตอ่ วถิ ีชวี ิตของเดก็ ๆ กลมุ่ ทีท่ าการศกึ ษามากขนึ้ กว่ารนุ่ พ่อรุ่นแมข่ องพวกเขา สานึกของความเป็น
ชาติพันธุ์อาข่ามีความยืดหยุ่นมากขึ้นระหว่างความเป็นอาข่าและความเป็นพลเมืองไทย อย่างไรก็ตาม การบูรณาการ
วัฒนธรรมไทยของเด็กช้ันประถมชนเผ่าอาข่าบ้านปลายฟ้าไม่ได้เป็นการนาเข้าไปแทนที่วัฒนธรรมอาข่าดั้งเดิมทั้งหมด
แตเ่ ปน็ การรับเข้ามาทดแทนวัฒนธรรมอาข่าท่ไี มม่ คี วามหมายในชวี ิตปัจจุบนั แล้ว การบูรณาการทางวฒั นธรรมลักษณะนี้
จงึ เปน็ ไปในลักษณะที่ทาให้การดาเนนิ ชวี ิตของเดก็ ๆ มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นในโลกปัจจุบนั ท่ีวฒั นธรรมจากภายนอก
เข้ามามีบทบาทในกลุ่มชนเผ่าอาข่ามากยิ่งขึ้น เพ่ือให้กลุ่มชาติพันธุ์อาข่ายังดารงอยู่ได้สืบต่อไปและมีความเป็นปึกแผ่น
(solidarity) ในชมุ ชนมากขึ้น๘
๗ประทยั พิริยะสรุ วงศ์. (๒๕๖๐) การสอ่ื สารบอกเล่าวิถีชีวิตจากอดตี ถึงปจั จุบนั ด้วยบทเพลงรอ้ ง ของชนเผ่าอาขา่ จงั หวดั เชยี งราย. วารสาร
วิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเชยี งราย ปีท่ี ๑๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐)
๘เสาวลักษณ์ อัศวย่ิงถาวร (๒๕๔๕) การศกึ ษากระบวนการบูรณาการวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอาขา่ ของนักเรยี นชาวไทยภเู ขาเผ่าอาข่า
ในระดบั ประถมศกึ ษา: การศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนชาวไทยภูเขาเผา่ อาขา่ บา้ นปลายฟ้า อาเภอแม่สาย จังหวัดเชยี งราย
กลมุ่ ชาติพันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย | ๑๓
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” จากข้อมูลและงานวิจัยด้านกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดเชียงราย จะเห็นได้ว่างานวิจัยที่ถูกหยิบยกมาส่วนใหญ่เป็น
การศกึ ษาขอ้ มลู ดา้ นวิถีชวี ติ ชนเผา่ ในจังหวัดเชียงราย ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นประเพณี วัฒนธรรมและความเป็นอยขู่ องกล่มุ ชาติ
พันธุ์ตา่ ง ๆ ท่อี าศยั อยูใ่ นจังหวัดเชียงราย โดยเนน้ ขอ้ มลู สาคัญไปท่กี ารศกึ ษากลุ่มชาตพิ นั ธุ์อาขา่ เป็นสว่ นใหญ่ ซึง่ ในความ
เป็นจริงแล้วยังมีกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มอื่นอีกมากมายท่ีอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย อีกท้ังข้อมูลงานวิจัยดังกล่าวยังขาด
กระบวนการสารวจ วิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผลแบบมีส่วนร่วมจากกลุ่มชาติพันธุ์ที่ต้ังรกรากถ่ินฐานอยู่ในจังหวัด
เชียงรายอย่างแท้จริง สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรายจึงมีแนวคิดท่ีจะรวบรวมข้อมูลกลุ่มชาติพันธ์ุในจังหวัด
เชียงรายด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและบูรณาการศาสตร์เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาจงั หวดั
เชยี งรายและประเทศชาติตอ่ ไปอย่างแทจ้ ริง
๒. ฐานข้อมลู ประชากร แหลง่ ท่ีต้ังชุมชน และลกั ษณะทางสังคมวฒั นธรรม
จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดหนึ่งในแถบภาคเหนือตอนบนท่ีมีประวัติศาสตร์ยาวนานมากกว่า ๗๕๐ ปี
มรี อ่ งรอยและปรากฏการณ์การเคลอ่ื นย้ายและตงั้ ถิ่นฐานของกลุ่มชาติพนั ธ์ุต่าง ๆ ในพื้นทีม่ าตงั้ แต่อดีตจนถึงปจั จุบัน
ไม่ว่าจะเป็นการเข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้านโดยผ่านชายแดน โดยเกิดขึ้นหลายระลอก หลายเงื่อนไข หลายปัจจัย
มีท้ังกลุ่มชาติพันธ์ุดั้งเดิม และกลุ่มชาติพันธ์ุที่อพยพเคล่ือนย้ายเข้ามา ต้ังถ่ินฐานอยู่ใหม่ ส่งผลให้สถานะทางสังคม
แตกตา่ งกนั การยอมรบั การเปิดเผยตนเอง การปรบั ตวั การคงอตั ลักษณ์ทางชาติพันธ์ุแตกต่างกนั ตามเง่ือนไขของการ
เขา้ มาแต่ละกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ นอกจากน้ี ดว้ ยลกั ษณะของภมู ศิ าสตร์และภูมิวฒั นธรรมของจงั หวดั เชยี งรายมเี ขตติดต่อกับ
จังหวดั อ่นื ๆ ในภาคเหนือของไทย รวมทงั้ มีเขตตดิ ตอ่ กับชายแดนประเทศเพ่อื นบา้ น ที่มีการเคลื่อนย้ายและต้งั ถน่ิ ฐาน
ของกลุ่มชาติพันธ์ุอยู่กระจัดกระจายตามพื้นท่ีต่าง ๆ ทั้งพ้ืนที่ราบ และพื้นท่ีสูง เช่น ด้านทิศเหนือติดกับประเทศ
เมียนมาร์ จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดพะเยา ทิศตะวันออกติดกับประเทศลาว เป็นต้น จังหวัด
เชียงรายจึงถือว่าเป็นอีกจังหวัดหน่ึงที่มีกลุ่มชาติพันธ์ุอาศัยอยู่หลากหลาย และมีการกระจายตัวทั่วจังหวัดเชียงราย
ดังจะเห็นได้จากแผนที่จังหวัดเชียงราย่ีแสดงการกระจายตัวของกลุ่มชาติพันธ์ุ โดยมีการรวมกลุ่มกันต้ังแต่กลุ่มที่มี
ขนาดใหญ่ระดับตาบล หมู่บ้าน ไปจนถึงกลุ่มขนาดเล็กที่อยู่ร่วมกับชนพื้นเมือง ซึ่งแต่ละกลุ่มชาติพันธ์ุน้ันก็ยังคงมี
ลกั ษณะสงั คมและวฒั นธรรม รวมถงึ อกั ลกั ษณข์ องชาตพิ นั ธ์ุ ทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป รายละเอยี ดดงั ตารางตอ่ ไปนี้
๑๔ | กลุ่มชาติพันธ์ุ ในจังหวัดเชียงราย
แผนที่จงั หวดั เชยี งราย แสดงการกระจายตัวของกล่มุ ชาตพิ ันธใ์ุ นจงั หวดั เชยี งราย ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ ในจงั หวดั เชียงราย | ๑๕
ตารางฐานข้อมลู กลุ่มชาติพันธ์ุในจงั หวดั เชยี งราย
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” กลุม่ ชาติพันธุ์ ทีต่ ง้ั ของชมุ ชน ลกั ษณะทางสงั คมและ อัตลกั ษณท์ างชาตพิ ันธุ์
วัฒนธรรม
๑. กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ ล า หู่ มี ก า ร - โครงสร้างการปกครองใน - ง า น หั ต ถ ก ร ร มปั กผ้า
ลาหู่ (Lahu) กร ะจ ายตัวตามเขตพื้นที่ อดตี ประกอบด้วย อาดอ (คะ เอกลักษณ์ลวดลายการปกั ผ้า
ต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงรายเป็น แซ) หรือผู้นำหมู่บ้าน โตโบ ของกลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่ได้
จานวนมาก ซ่ึงจะสามารถพบ คือพระหรือนกั บวช จาหล๋ี คือ รังสรรค์ลวดลายของตนเอง
กลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่กระจายตัว ช่ า ง ตี เ ห ล็ ก ใ น ปั จ จุ บั น กับสิ่งต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลง
ตั้งถ่ินฐานอยู่ใน ๑๓ อาเภอ นอกจากมีการปกครองตาม ไ ป ทั้ ง จ า ก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง
ได้แก่ อาเภอแม่ฟ้าห ล วง จารตี ประเพณีทปี่ ฏบิ ตั สิ บื ทอด ธรรมชาติ บางลวดลายจะ
อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน กันมา ท้ังนี้ยังมีการปกครอง เกี่ยวข้องกับชีวิตการเป็นนัก
โดยผใู้ หญ่บ้าน และผูน้ าชุมชน
อาเภอเวยี งป่าเปา้ อาเภอเชียง ท่ีได้รับการแต่งต้ังขึ้นมาจาก ล่าสัตว์ ตลอดจนถึงลวดลาย
แสน อาเภอเชียงของ อาเภอ สว่ นราชการอกี ดว้ ย ที่มีท่ีมาจากความเชื่อเรื่องผี
เวียงแก่น อาเภ อแม่ส าย วิญญาณ และลวดลายที่มี
- ลกั ษณะบา้ นเรอื นของชาว ความสอดคล้องกับความเช่ือ
อาเภอพญาเมง็ ราย อาเภอเทิง ลาหู่ในปัจจุบันจะมีลักษณะ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ ข อ ง ค ริ ส ต์
อาเภ อพาน อาเภ อเมือ ง ผ ส ม ผ ส า น กั บ โ ค ร ง ส ร้าง ศาสนา เช่น ลายง้าแป่ (ตา
เชียงราย และ บ้านปุยคา สมัยใหม่ มีทั้งบ้านชั้นเดียว ข่าย) ลายอ๊าเผ่เว้ (ลายดอก
หรอื บ้านแบบปลกู ยกพ้ืนใต้ถุน พริก) อ่าพู้ (ลายน้าเต้า) เป็น
ต.ป่าอ้อดอนชัย อาเภอแม่ลาว บ้าน บางบ้านมีการแยกส่วน ต้น
ระหว่างตัวบ้าน ห้องครัว และ - การเต้นจะคึ (ปอย เต เว)
บริเวณเลี้ยงสัตว์ออกจากกัน เปน็ การเต้นราในวันสาคัญเช่น
อย่างชัดเจน แต่ก็ยังสามารถ วันศีล งานประเพณีปีใหม่กิน
พ บ ลั ก ษ ณ ะ บ้ า น เ รื อ น ที่ วอ หรือแสดงเพื่อต้อนรับและ
คล้ายคลึงกับแบบดั้งเดิมได้ใน ขอบคุณแขกที่มารว่ มพิธกี รรม
บางพ้ืนท่ีคือปลูกยกพ้ืนใต้ถุน การเต้นจะคึจะเป็นการเต้น
บ้าน ส่วนของใต้ถุนบ้านน้ันมี เป็นจังหวะ โดยจะมีท่าทาง
การเลีย้ งสตั ว์ ประกอบหลากหลายท่าอย่าง
พร้อมเพรียงกัน เช่น ท่าเก่ียว
ข้าว ท่าตักข้าว และ ท่าตีข้าว
เป็นตน้
๒. กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ กล่มุ ชาติพนั ธลุ์ ซี กู ระจายตัวต้ัง - โครงสร้างการปกครองใน - การแต่งกายของผู้หญิง
ลซี ู (Lisu) ถิ่นฐานอยู่ใน ๘ อาเภอ ได้แก่ อดีต ประกอบด้วย ฆว่าทูว์ โช ชาติพันธุ์ลีซู ท่ีทุกวัยจะแต่ง
อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอ โหม่วโชตี มือหมือผะ และหน่ี กายด้วยผ้าสีสดใส สวมใส่เส้ือ
เมืองเชียงราย อาเภอแมส่ รวย ผ ะ แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น มี ก า ร ตัวหลวมแขนกระบอก ส่วน
อาเภอแม่จัน อาเภอเวียง ปกครองโดยผู้ใหญ่บ้าน และ กางเกงมีการเปล่ียนแปลงไป
ป่าเป้า อาเภอพาน อาเภอ ผู้นาชุมชนท่ีได้รับการแต่งตั้ง จากในอดีตโดยหันมาใช้ผา้ ท่ีมี
เวียงชัย และบ้านเวียงราชพลี ข้ึนมา และมีกฎระเบียบของ สีสันสดใสมากขึ้น
ตาบลดงมหาวัน อาเภอเวียง ชมุ ชนท่กี าหนดเพ่ิมข้ึนมา - การเต้นรา ร้องเพลง กัน
เชยี งรุ้ง - บ้านเรือนของชาติพันธ์ุลีซู อย่างสนุกสนานในประเพณี
ยั ง ส า ม า ร ถ พ บ เ ห็ น ลั ก ษ ณ ะ
บ้านท่ีคล้ายคลึงกับในอดีตที่ ต่างๆ โดยเฉพาะประเพณี
ผ่านมา ซึ่งหลังคาบ้านยังเป็น สาคัญ เช่น ประเพณีปีใหม่
การมุงหลังคาด้วยหญ้าไพ หรือเรียกกว่า “โข่เซยี่ย” ทา
รวมถึงลักษณะบ้านท่ีทันสมัย ให้ชาติพันธุ์ลีซูมีการสร้าง
๑๖ | กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ ในจังหวัดเชียงราย
กลุม่ ชาติพันธุ์ ทีต่ ง้ั ของชมุ ชน ลักษณะทางสังคมและ อตั ลักษณท์ างชาตพิ ันธ์ุ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
วฒั นธรรม
๓. กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ
อาข่า (Akha) โครงสร้างท่ีใช้วัสดุที่ทนทาน เคร่อื งดนตรีของตนเอง เช่น ฝู่
แข็งแรงแปรเปลี่ยนไปตาม หลู ชือบือ และหยีล่ ุ เปน็ ตน้
กาลเวลา
- ในปัจจุบันนิยมประกอบ - การถนอมอาหารเพื่อที่จะ
สามารถเก็บไว้กินในยามแล้ง
อาชีพทาการเกษตรเป็นอาชพี ไดแ้ ก่ ผักกาดดอง ผักกาดตาก
หลัก ได้แก่ การปลูกข้ าว
ข้าวโพด ถั่วเหลือง ขิง สวน แหง้ ไสก้ รอก หมูลนควนั ลาก
ล้ินจี่ และการทาสวนแบบ หอมชดู อง เป็นตน้
ผสมผสาน ยังมีการท่องเที่ยว
การทาโฮมสเตย์ อาทิเช่นใน
หมู่บ้านปางสา อาเภอแมจ่ นั มี
การทาปางสาโฮมส เตย์ที่
ดาเนนิ การโดยคนในชุมชน
กลุ่มชาตพิ นั ธอุ์ าขา่ กระจายตัว - ในสังคมอาข่า สมาชิก - อัตลักษณ์ทางพิธีกรรมโล้
ตั้งถ่ินฐานอยู่ใน ๑๒ อาเภอ ครอบครัวจะมสี มั พันธก์ ันแบบ ชิงช้า หรือ “แยะขู่ อ่าโผ่ว จา
ได้แก่ อาเภอแม่ฟ้าห ล วง เครือญาติ ความเป็นญาติ แบ” พิธีนี้ทาหลังจากพิธีปลูก
อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอ เกิดข้ึนทางสายบรรพบุรุษ คน ข้าวครั้งแรก เพื่อเป็นการ
แม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอ อาข่าจะถือการสืบสกุลสาย ฉลองและระลึกถึงและยกย่อง
เ วี ย ง ป่ า เ ป้ า อ า เ ภ อ พาน บิดาเป็นหลัก บุตรชายคนโต วีรบุรุษชาวอาข่าคือ “แยะขู่”
อาเภอเวียงชัย อาเภอเชียง ถือว่าเป็นผู้สืบสกุลและเป็น ผู้สรา้ ง หรือ “อ่าโผ่ว หมแ่ี ยะ”
แสน อาเภอเวียงเชีย ง รุ้ ง ผูร้ กั ษาสบื ทอดประเพณี ผู้ซึ่งได้ยอมสละชีวิตเพื่อชาว
อาเภอแมส่ าย อาเภอเชียงของ - กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุอาข่าในอดีต อาขา่ ในอดีตเพื่อต่อสูก้ ับแมลง
และอาเภอแม่ลาว ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ก ลุ่ ม ท่ี ไ ม่ มี ศัตรูพืช ในพิธีน้ีมีการสร้าง
“ศาสนา” แตม่ คี าว่า “บัญญัติ และโล้ชิงช้าขนาดใหญเ่ รียกว่า
อาข่า” ซ่ึงครอบคลุมไปถึง “หล่ะเฉอ” เพ่ือเป็นการฉลอง
ขนบธรรมเนียมประเพณีและ ชัยชนะของชาวอาข่าท่ีมีต่อ
พิธีการทุกอย่างในการดาเนิน แมลงศตั รูพืช
ชีวิต มีความเช่ือในเร่ืองผี โชค - ปีใหม่ลูกข่าง (ค๊าท้อง
ลาง และการเสย่ี งทาย อ่าเผ่ว) เป็นประเพณีเปลี่ยน
ฤดูกาลทามาเล้ียงชีพ เป็น
ประเพณีท่ีแสดงให้เห็นถึงการ
เปล่ียนแปลงฤดูกาลทามาหา
กิน ถือเป็นประเพณีของผู้ชาย
โดยผู้ชายทั้งเด็กและผู้ใหญ่จะ
มีการทาลูกข่าง “ฉ่อง” แล้วมี
การละเล่นแข่งตีกันเพ่ือฉลอง
ก า รเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วั ย ท่ี มี อ า ยุ
มากข้นึ
กลุ่มชาติพันธ์ุ ในจงั หวัดเชยี งราย | ๑๗
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ ทีต่ ้ังของชุมชน ลกั ษณะทางสังคมและ อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์
วฒั นธรรม
๔. กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์
อว้ิ เม่ยี น ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ อิ้ ว เ มี่ ย น - ชาวอิ้วเมี่ยนมีทัศนคติที่ - ลกั ษณะการปกั ผา้ ของชาว
๕. กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ กระจายตัวต้ังถิ่นฐานอยู่ใน นยิ มความเป็นอสิ ระ ประกอบ อิ้วเมี่ยนจะแตกต่างจากชาติ
ลวั ะ
๑๔ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง กับการต้ังหมู่บ้านอยู่อย่าง พันธ์ุอื่น โดยจะปักผ้าจาก
เชียงราย อาเภอเชียงแสน กระจัดกระจาย เป็นผลให้ ดา้ นหลงั ผ้าขนึ้ มาด้านหน้าของ
อาเภ อ เวียง แก่ น อาเภ อ ระเบียบการปกครองแบบเดิม ผ้า ดังนั้น จึงต้องจับผ้าให้
ดอยหลวง อาเภอแม่ฟ้าหลวง เป็นระบบท่ีนิยมยึดถืออยู่ ด้านหน้าคว่าลง เมื่อปักเสร็จ
อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน อย่างยืดหยุ่น ไม่มีผู้นาชาติ แต่ละแถวแล้วก็ม้วนและใชผ้ ้า
อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอ พันธุ์ท่ีมีอานาจสูงสุด ดังน้ัน ห่อไวอ้ ีกช้นั หนึ่งเพื่อป้องกันส่ิง
พญาเม็งราย อาเภ อ เ ทิ ง ชุมชนอิ้วเม่ียนจึงต่างเป็น สกปรก ชาวอ้ิวเมี่ยนมีวิธีการ
อาเภอพาน อาเภอขุนตาล อิสระไม่ขึ้นต่อกัน ในแต่ละ ปักลายผ้า ๔ แบบ ได้แก่ การ
อาเภอเชียงของ และอาเภอ ชุมชนจะมีหัวหน้าหมู่บ้าน ผู้ ปักลายเส้น (ก่ิว ก่ิว) การปัก
แม่ลาว ประกอบพิธีกรรมและคณะผู้ ลายขดั (โฉ่งเกียม) การปักลาย
อาวุโส เป็นผู้นาที่มีอานาจ แบบกากบาท (โฉ่งทิว) และ
ทางการเมอื งการปกครอง การปักไขว้ (โฉง่ ดับ ยบั )
- ครอบครัวของอ้ิวเม่ียนนน้ั - การแสดงราถาดเป็นการ
ส่วนมากจะเป็นครอบครัว แ ส ด ง ที่ จั ด แ ส ด ง ข้ึ น เ พื่ อ
ข ย า ย คื อ มี คู่ ส ม ร ส ใ น ต้อนรับและอวยพรแขกในงาน
ครอบครัวหลายคู่ เช่น ปู่ - ยา่ โ ด ย ใ ช้ ถ า ด เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์
พ่อ- แม่ ลูกชาย- ลูกสะใภ้ ประกอบการแสดงก็เพ่ือส่อื ถงึ
และหากครอบครัวใดมีลูกชาย ธรรมเนียมการต้อนรับแขก
หลายคน ก็อาจจะมีคู่สมรส ของชาวอ้ิวเมี่ยนที่มักจะนา
มากขึ้น สมาชิกในครอบครัวก็ ถ้วยน้าชาวางบนถาดและยก
อาจจะมีต้ังแต่ ๒- ๒๐ คน ซึ่ง ไปต้อนรบั แขก
ประกอบด้วย ปู่ ย่า บิดา
มารดา ลูกชาย ลูกสะใภ้ ลูก
สาวทย่ี งั ไมแ่ ตง่ งาน หลาน (ลูก
ของลูกชาย)
กลุ่มชาติพันธ์ุลัวะกระจายตัว - ระบบเครือญาติของลวั ะมี - ช า ว ลั ว ะ มี วั ฒ น ธ ร ร ม
ต้ังถิ่นฐานอยู่ใน ๑๐ อาเภอ ระบบการแต่งงานแบบผัว ประเพณีพ้ืนฐานจาก การนับ
ไดแ้ ก่ อาเภอเชยี งแสน อาเภอ เดยี วเมียเดยี ว โดยฝา่ ยหญงิ จะ ถือผี ความเชื่อเร่ืองผี แม้ส่วน
แมฟ่ า้ หลวง อาเภอเวียงปา่ เป้า เข้าไปอยู่ฝ่ายชายและนับถือผี ใหญถ่ อื พุทธ แตก่ ไ็ ม่ทิ้งการนับ
อาเภอพาน อาเภอแม่จัน
อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอ บรรพบุรุษฝ่ายชาย บุตรที่เกิด ถือผี พิธีกรรมท่ีปฏิบัติตาม
แม่สาย อาเภอแม่ลาว อาเภอ มา อยู่ในสวยเครือญาติของ ก ลุ่ ม เ ค รื อ ญ า ติ “ ผี ต ร ะ กู ล ”
เชียงของ และอาเภอแมส่ รวย ฝ่ายพ่อในครัวเรือนหนึ่ง ๆ ค ว า ม เ ช่ื อ ท่ี สื บ ท อ ด กั น ม า มี
โดยท่ัวไปประกอบด้วยสามี เหนียวแน่นมาก ดังน้ี การ
ภรรยา บุตร บุตรชายคนโต เล้ียงผีหลักเมือง(โนก สไปต)
ตอ้ งไปสร้างใหม่เมื่อแตง่ งาน การเล้ยี งผตี ะต(ู โนก ตะตู) การ
๑๘ | กลุ่มชาติพนั ธุ์ ในจงั หวดั เชยี งราย
กลมุ่ ชาติพันธ์ุ ทีต่ ้งั ของชุมชน ลักษณะทางสงั คมและ อตั ลักษณท์ างชาตพิ นั ธ์ุ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
วัฒนธรรม
๖. กล่มุ ชาติพันธ์ุ
ขมุ (Khamu) บุตรชายคนสุดท้ายจะต้อง เล้ียงผีหัวบันใด (โนกไกญโบง)
๗. กล่มุ ชาติพันธ์ุ เป็นผู้ที่ได้รับมรดกและเล้ียงดู การเลี้ยงผีเรียกขวัญ (โน
ดาราอัง้
(Dara-ang) พอ่ แม่ตลอดชีวติ กรบุก) และการเล้ียงผไี ร่, นา
กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุขมกุ ระจายตัวตั้ง - โครงสร้างการปกครองใน - การแต่งกายของคนขมุน้ัน
ถิ่นฐานอยู่ใน ๒ อาเภอ ได้แก่ อดตี เปน็ สังคมทยี่ อมรบั ระบบ ส่วนใหญ่ยังคงมีความเชื่อที่
อาเภอเชียงของ และอาเภอ อาวุโส ผู้มีอานาจจึงประกอบ เช่ือมโยงกับถ่ินฐานบ้านเกิด
เวียงแก่น ไปด้วยตัวแทนของทุกสาย เดิมอยู่น่ันคือ สาธารณรัฐ
ตระกูล หรือคณะผู้อาวุโส มี ประชาธิปไตยประชาชนลาว
บทบาทในการตัดสินใจแทน การแต่งกายของผู้หญิงมีอัต
คนในชุมชนได้ แต่ปัจจุบัน ลักษณ์ คือผา้ โพกหวั สแี ดง
ภาครัฐได้จัดระเบียบการ - การ ขับร้อง เพล ง ที่เป็น
ปกครอง จึงมีการปกครองท่ี เสมือนชีวิตจิตใจ บทเพลงที่
เป็นรูปแบบทางการ กล่าวคือ ขั บ ข า น อ อ ก ม า ส ะ ท้ อ น
มีผู้ให ญ่บ้าน ผู้ช่วย แล ะ ความรูส้ ึกของคนขมุ
คณะกรรมการหม่บู ้าน จงึ มผี ล - อ า ห า ร ช า ติ พั น ธุ์ ข มุ มี
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ด้ า น ร ส ช า ติ ที่
โครงสรา้ งอานาจแบบใหม่ แตกต่าง ไปจ ากช า ติ พั น ธ์ุ
- การนับถือศาสนาในปัจจุบัน พื้นเมือง ซึ่งแม้จะมีวัตถุดิบที่
น้ีหันมานับถือศาสนาพุทธ ค ล้ า ย ค ลึ ง กั น แ ต่ ก า ร ใ ช้
แล ะ ศ าส นาคริส ต์มากขึ้น เคร่ืองปรุงรสมีความแตกต่าง
ดัง น้ันจึง ล ดการ ปร ะกอบ กัน โดยชาวขมุจะไม่นิยมใส่
พธิ กี รรมรูปแบบเดิมอัตลักษณ์ เครื่องปรุงรสสมัยใหม่
ทางความเชื่อจึงมีลักษณะท่ี
ผสมผสานกัน เช่น เมื่อมีการ
ขึ้นบ้านใหม่ ก็จะเอาพระสงฆ์
ปู่จารยห์ รอื มัคนายก ประกอบ
พิธีบ้านใกล้เรือนเคียง หรือท่ี
ตนรู้จักมาประกอบพิธีกรรม
ด้วย
กล่มุ ชาติพันธ์ุดาราอง้ั กระจาย - ในอดีตชาวดาราอั้ง มีผูน้ า - พ่อแม่ชาวดาราอ้ัง จะ
ตัวต้ังถ่ินฐานอยู่ใน ๒ อาเภอ ที่จะดูแล เรียกว่า “พ่อใหญ่” ยึ ด ถื อ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ฏิ บั ติ
ได้แก่ อาเภอแม่สาย และ จะมีหน้าท่ีเหมือนหัวหน้าชาติ เช่นเดียวกบั ชาวพทุ ธโดยทั่วไป
อาเภอเชยี งแสน พันธุ์ ทุกคนในชาติพันธุ์ ต้อง คือ การสนับสนุนให้ลูกชาย
เชอ่ื ฟงั คาสั่งทกุ อย่างท่ีพ่อใหญ่ บวชเณรเพ่อเล่าเรียนธรรมะ
ได้บอก ในปัจ จุบันมี ก า ร และบวชพระ เพื่อแผ่ส่วนบุญ
ปกครองท่ีเปน็ รูปแบบทางการ สว่ นกุศลใหแ้ ก่บดิ ามารดา
- ชาวดาราอั้ง จะยึดถือคติ - ชาวดาราอ้ังมีฝีมือในการ
ธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า ทอผา้ ซงึ่ เกือบทกุ หลังคาเรือน
อย่างเคร่งครัด วิถีชีวิตของ จะมกี ารทอผ้า เพอื่ เอามาใช้ใน
ชาวบ้านอยู่กันอย่างสุขสงบ การตัดเส้ือและผ้าซ่ิน ในการ
ปราศจากอบายมขุ มปี ระเพณี สวมใส่เปน็ ชดุ ประจาถิ่น การ
กลุ่มชาติพันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย | ๑๙
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” กลุ่มชาติพันธุ์ ทีต่ งั้ ของชมุ ชน ลักษณะทางสงั คมและ อตั ลกั ษณ์ทางชาตพิ ันธุ์
วฒั นธรรม
๘. กล่มุ ชาติพันธุ์
มง้ (Hmong) บ้านที่เกี่ยวพันกับพุทธศาสนา ทอผ้าจะเนน้ สีแดง เขียว ขาว
๙. กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ อยา่ งแน่นแฟน้ น้าเงิน
บีซู (Bisu)
- อั ต ลั ก ษ ณ์ ใ น ด้ า น ภู มิ
ปัญญาในการถนนอมอาหาร
โดยการนาผักท่ีปลูกมาถนอม
อ า ห า ร ใ ช้ วิ ธี น า ม า ต า ก แ ห้ ง
และนาไปดอง เพ่อื เกบ็ ไว้ทาน
กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ม้งกระจายตัวต้ัง - สังคมมง้ เปน็ ระบบสังคมท่ี - อัตลักษณ์ในการใช้ใบไม้
ถ่ินฐานอยู่ใน ๑๐ อาเภอ สืบทอดผีเรือนและมรดกผ่าน คนม้งจะมีการใช้ใบไม้ในการ
ได้แก่ อาเภอเวียงแก่น อาเภอ ฝ่ายผู้ชายเป็นหลัก เป็นระบบ ติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะการ
เทิง อาเภอเชียงของ อาเภอ แซ่ตระกูล มี ๓ ระดับ คือ ติดต่อส่ือสารของคู่บ่าวสาวใน
เวียงป่าเป้า อาเภอเชียงแสน ระดับพ่ีน้องที่ร่วมสายโลหิต ระยะท่ีค่อนข้างไกล หากใช้
อาเภอพญาเม็งราย อาเภอแม่ หรือร่วมผีเรือนเดียวกัน เป็น ภ า ษ า ธ ร ร ม ด า ใ น ก า ร
ฟ้ า ห ล ว ง อ า เ ภ อ ขุ น ต า ล กลุ่มพ่ีน้องท่ียังสามารถสืบ ติดตอ่ สอื่ สาร กจ็ ะทาให้คนอ่ืน
อาเภอเมืองเชียงราย และ ทอดกลับไปหาบรรพบุรุษคน รู้เสียงของผู้พูด และท่ีสาคัญ
อาเภอเวยี งเชียงรงุ้ เดียวกันได้ และมีรายละเอียด เสียงของใบไม้เดินทางได้ไกล
ของพิธีกรรมสาคัญเป็นแบบ กว่าเสียงตะโกนของคน จึงมี
เดียวกัน ระดับท่ีสองเป็นพ่ี การเลือกเป่าใบไม้แทนการใช้
น้ อ ง ร่ ว ม แ ซ่ ต ร ะ กู ล จ า ก ค า พู ด เ พ่ื อ ก า ร สื่ อ ส า ร ท่ี
ต า น า น เ ชื่ อ ว่ า ค น ที่ มี แ ซ่ แนบเนียน ไพเราะ
เ ดี ย ว กั น คื อ พี่ น้ อ ง ร่ ว ม - การเป่าเฆง้ (แคนม้ง)
สายเลือดเดียวกัน แม้พวกเขา - การเขียนเทยี นลายผา้ ม้ง
จะไม่รู้จักกันมาก่อน เพียงแต่ - การเล่นลูกขา่ ง
เปน็ คนในแซ่ท่ีเหมือนกัน และ - การยงิ หนา้ ไม้
ระดบั ที่สาม เปน็ ความสัมพันธ์
ระหวา่ งแซ่ น่ันคอื คนท่ไี ม่มีแซ่
เ ดี ยวกั นก็ ส า ม า รถเ ป็ น เ ค รื อ
ญ า ติ กั น ไ ด้ โ ด ย ผ่ า น ก า ร
แตง่ งาน
กลุ่มชาติพันธุ์บีซู กระจายตัว - การปกครองของชาวบีซู มี - เป็นอัตลักษณ์ท่ีสามารถ
ต้ังถิ่นฐานอยู่ใน ๓ อาเภอ ผู้ใหญ่บ้านท่ีเป็นผู้นาชุมชน พบเห็นได้หากผ่านหมู่บ้าน
ได้แก่ อาเภอแม่ลาว อาเภอ และตัวแทนส่วนราชการ และ ของชาวบีซู คือ ตาเหลว ซ่ึง
เมืองเชียงราย และอาเภอพาน มีผู้นาทางจิตวิญญาณท่ีสืบ เป็นเคร่ืองจักสานที่มีบทบาท
ท อ ด ท า ง เ ช้ื อ ส า ย ด้ ว ย ใ น ส า คั ญ ข อ ง ช า ว บี ซู ใ ช้ ใ น
ตาแหนง่ เรียกว่า “ปู่ตงั้ ” หรือ ประกอบพิธีกรรม หรือใช้เป็น
“ป่ตู า้ ง” สัญลักษณ์ในการป้องกันสิ่งไม่
ดี หรอื สิ่งชั่วรา้ ยตามความเช่อื
๒๐ | กล่มุ ชาติพันธุ์ ในจังหวัดเชยี งราย
กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ ทีต่ ัง้ ของชมุ ชน ลักษณะทางสงั คมและ อัตลกั ษณ์ทางชาติพันธุ์ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
วัฒนธรรม
๑๐. กล่มุ ชาตพิ ันธุ์
กะเหร่ยี ง - ชาวบีซูต้ังถ่ินฐานตามสาย - อาหารท่ีนิยมรับประทาน
(Karen)
ตระกูลข้างพอ่ และมีการนับถือ กันมาอยา่ งยาวนาน และยงั คง
ผีตามสายตระกูล ในภาษาบีซู เหลืออยู่ในปัจจุบันคือ ลาบ
เรียกสายตระกูลวา่ “อังเจอ” พริก โ ดยล าบพริก นี้ เ ป็ น
อาหารที่คนบีซูภูมิใจนาเสนอ
แก่คนภายนอกเป็นอย่างมาก
เป็นอาหารที่สืบทอดมาตั้งแต่
รุ่นปู่ย่าตายาย และคนบีซูยงั มี
ภาษาเป็นของตนเอง
ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธ์ุ ก ะ เ ห ร่ี ย ง - ในอดตี สังคมปกาเกอะญอ - อัตลักษณ์การทอผ้าของ
กระจายตัวต้ังถ่ินฐานอยู่ใน ๕ มีผู้นาชุมชนที่เรียกว่า “ฮี่โข่” ผู้หญิงชาวกะเหร่ียงจะได้รับ
อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง ซึ่งมีบทบาทเป็นผู้นาด้านจิต การกล่าวขานว่ามีฝีมือในการ
เชียงราย อาเภอเวีย ง ชั ย วิ ญ ญ า ณ โ ด ย ดู แ ล ก า ร ทอผ้าเก่งที่สุดเผ่าหนึ่ง โดยจะ
อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ การ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
แมส่ รวย และอาเภอดอยหลวง ค วบคุมจ ารีต ตามกรอ บ ทกั ษะฝมี ือมาจากผ้เู ป็นแม่โดย
วัฒนธรรมที่เป็นท่ียอมรับของ ทผี่ หู้ ญงิ ชาวกะเหรี่ยงมกั จะทอ
ชุมชน เสื้อผ้าไว้ใช้สวมใส่เองทั้งของ
- การแต่งงานของกะเหรี่ยง ตนเองและครอบครัว รวมถึง
ไ ม่ นิ ย ม แ ต่ ง ง า น กั บ ค น สาหรับในงานพธิ สี าคัญต่างๆ
ภายนอก เพราะประเพณี - ข้าวเบ๊อะ เป็นอาหาร
ความเชื่อต่างกัน หนุ่มสาวมี พื้นบ้านของชาวปกาเกอะญอ
อิสระในการเลือกคู่ครองของ มีลักษณะคล้าย ๆ ข้าวต้ม
ตนเอง เม่ือแต่งงานแล้วจะอยู่ ทรงเคร่ืองที่ประกอบไปด้วย
ด้วยกันแบบผัวเดียวเมียเดียว เนื้อ ผักพ้ืนบ้าน นาต้มรวมกัน
เท่านั้นตลอดไป การหย่าร้าง โดยมเี รอ่ื งเลา่ เก่ียวกับเมนูนี้ว่า
แทบจะไม่ปรากฏในสังคม หากฤดูกาลใดท่ีปลูกข้าวได้
กะเหรย่ี ง ผลผลิตไมด่ ี ส่งผลใหข้ า้ วไม่พอ
ชาวปกาเกอะญอจะนาข้าวมา
ต้มรวมกับหัวเผือก หัวมัน ผัก
หรอื พชื ผลอน่ื ๆ ท่ยี ังมีเหลืออยู่
เ พ่ื อ ใ ห้ ไ ด้ อ า ห า ร ท่ี เ พี ย ง พ อ
สาหรบั สมาชิกในครอบครัว
- เครื่องดนตรี “เตหนา่ ” ทา
ด้วยไม้อ่อนเหลาและกลึงให้
เป็นรูปเหมือนกล่องรูปทรงรีมี
ก้านยาวโก่งและโค้งสูงขึ้นไป
ใ ช้ ส า ห รั บ ดี ด แ ล ะ ร้ อ ง เ พ ล ง
ประกอบ โดยเฉพาะหนุ่ม
กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ ในจังหวดั เชยี งราย | ๒๑
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ ท่ีต้งั ของชุมชน ลกั ษณะทางสงั คมและ อัตลกั ษณ์ทางชาตพิ ันธ์ุ
วฒั นธรรม
๑๑. กลุ่มชาตพิ นั ธุ์
จีนยนู นาน ชาวปกาเกอะญอจะใช้เตหน่า
ในการเกย้ี วพาราสีหญงิ สาวใน
(Chinese Yunnan)
ยามคา่ คืน
๑๒. กลมุ่ ชาติพันธุ์
ไทอีสาน ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ จี น ยู นนาน - ในอดีตการปกครองในชุมชน - วัฒนธรรมทางภาษา ทส่ี ืบ
(Tai Esan)
กระจายตัวตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ๖ ชาวจีนยูนนานบนดอยแม่ ทอดมาจนปจั จบุ นั นี้ คอื ยังคง
อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเชยี งแสน สลองให้ความเคารพผู้อาวุโส ใช้ภาษาจนี กลางและภาษาถิ่น
โดยเฉพาะผู้นากองทัพทาง ยูนนานสื่อส าร กันในชีวิต
อาเภอแม่จัน อาเภอแม่สรวย ทหาร รูปแบบการปกครอง ประจาวัน
อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอ ค่อนข้างเข้มงวดเพร าะใช้
- อัตลักษณ์ด้านภูมิปัญญา
เชียงของ อาเภอเวียงแก่น ระเบียบวินัยแบบทหาร ใน ในด้านการแปรรูปอาหารท่ีมี
และอาเภอแม่สาย
ปัจจุบันมีการปกครองที่เป็น ช่ือเสียง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร
รปู แบบทางการ ประเภทเน้ือสัตว์หรือพืชผัก
- การรวมตัวภายในวัฒนธรรม โดยการแขวนผึ่งลมไว้ตาม
หรือการเป็นส่วนหนึ่งของ ชายคาบ้านเพ่ือเก็บรักษาไว้
ความเป็นชาติพันธ์ุของชาวจนี กิน ผลไม้บางอยา่ งก็นาไปดอง
ยูนนานเป็นการนาความเชื่อที่ เค็ม เช่น ลูกท้อ จนกลายเป็น
ปรากฏในพิธีกรรมมา ควบคมุ สิ น ค้ า จ า ห น่ า ย ใ ห้ แ ก่ นั ก
ให้คนอยู่รวมกันเป็นชุมชน ทอ่ งเทีย่ ว
และสงั คม - อาหารที่ขึ้นชื่อประเภท
- ลักษณะทางควมเชอื่ ของชาว หน่อไม้แห้ง เต้าหู้ยี้ ไส้กรอก
จีนยูนนานมีความเชื่อเรื่องส่ิง ยูนนาน เป็นอาหารจีนยูนนาน
สักการบูชา ๕ ประการ ได้แก่ บนดอยแม่สลองที่ดึงดูดใจ
ฟ้า ดิน กษัตริย์ บิดา มารดา นักท่องเทยี่ วไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
และครู
ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ ไ ท ย อี ส า น - ระบบเครือญาติของกลุ่ม - การถกั ทอผ้า การสานเสื่อ
กระจายตัวต้ังถ่ินฐานอยู่ใน ๖ ชาติพันธ์ุลาวอีสานในอดีต จะ และสานเครื่องใช้จากกก มี
อาเภอ ได้แก่ อาเภอเวียง มีการนับถือญาติท้ังสองฝ่าย ลายเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง
เชียงรุ้ง อาเภอเชียงแส น เม่ือชายหญิงแต่งงานแล้วจะ ที่คล้ายกับลายบนผ้าถุงหรือ
อาเภ อดอยห ลวง อาเภอ อาศัยอยู่บ้านฝ่ายหญิงระยะ ผ้าซนิ่
ปา่ แดด อาเภอเทิง และอาเภอ ห น่ึง ห ลังจ ากน้ันจ ะ ย้ า ย - ชาวไทย - อสี าน ยดึ ม่ันใน
เวียงชยั ออกไปต้งั เรือนใหม่ ลูกสาวมัก จารีตประเพณี ดาเนินชีวิต
ได้รับมรดกจากพ่อแม่และ ตาม "ฮีตสิบสอง" (คอื กิจกรรม
มักจะอาศัยอยู่กับพ่อแม่ของ ประเพณีในรอบ ๑๒ เดือน)
ตนหลังจากแตง่ งาน นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ แ บ บ
ชาวบ้าน คือ พุทธศาสนาที่
ปรับเข้ากับจารีตของชาวบ้าน
มุ่งท่ีจะส่ังสอนให้เป็นพลเมือง
ดี
๒๒ | กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย
กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ ท่ีตง้ั ของชมุ ชน ลักษณะทางสงั คมและ อตั ลกั ษณ์ทางชาตพิ ันธุ์ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
วัฒนธรรม
๑๓. กลมุ่ ชาติพันธ์ุ
ไทเขิน กลุ่มชาติพันธุ์ไทเขิน กระจาย - โครงสร้างทางสังคมของ - ศิลปะการแสดงที่เป็น
(Tai Kern)
ตัวตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ๓ อาเภอ ชาวไทเขิน จะมีการนับญาติ เอกลักษณ์คือ การฟ้อนนางนก
๑๔. กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ
ไทใหญ่ (Shan) ได้แก่ อาเภอแม่สาย อาเภอ ท้ังญาติจริง ญาติจากการ หรือ ฟ้อนกินรีกินรา เป็น
เชียงแสน และอาเภอเมือง แต่งงาน และสืบทอดมรดก ศิลปะการแสดงของท้ังชาวไท
เชียงราย จะมีการนับถืออาวุโสตามอายุ เขินและชาวไทใหญ่ เป็นการ
โดยมีการครองคู่ในลกั ษณะผัว ฟ้อนเลียนแบบการเคลอื่ นไหว
เดียวเมียเดียว และไม่พบ ของกินนร และการฟ้อนมอง
ปัญหาการหย่าร้างและชู้สาว เซ้ิงใช้แสดงในงานบุญฉลอง
หากเกิดปัญหาจะมีผู้อาวุโส สมโภชและขบวนแหต่ า่ ง ๆ
ชาวไทเขินเปน็ ผไู้ กลเ่ กลย่ี - หตั ถกรรมพ้นื บ้านของชาว
- ในอดีตชาวไทเขิน จะ ไทเขิน ได้แก่ การทาตุง คอื ธง
กระจ ายไปตามกลุ่มบ้าน หรือ ธงตะขาบ แบ่งเป็น ๒
ภายในเมือง มีทั้งการปลูก ประเภท คือ ตุงมงคล ตุงรูป
เรือนแบบเกา่ คือ ก่อสร้างดว้ ย คน, ตุงไส้จ๊าง และตงุ อวมงคล
ไม้ห รือก่ออิฐแด ง แ ล ะ มุ ง
หลังคาด้วยดินขอเช่นเดียวกับ
บ้านเรือนในชนบท ซึ่งปลูก
เรือนในแบบเรียบง่ายมีใต้ถุน
เรอื นบนเป็นห้องโถง ห้องนอน
หอ้ งครวั และชานบา้ น
กลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ กระจาย - การปกครองของชาวไท - การสัก เป็นอัตลักษณ์
ตัวตั้งถ่ินฐานอยู่ใน ๘ อาเภอ ใหญ่ ในอดีตจะมีผู้นาชุมชุม การแสดงการยอมรับและเกิด
ได้แก่ อาเภอเมืองเชียงราย เป็นผู้นาในการปกครองคนใน ความสัมพันธ์กันระหว่างกลุม่
อาเภอแม่สาย อาเภอพาน หมู่บ้าน แต่ในปัจจุบันการ ชนต่าง ๆ ในกลุ่มชาติพันธ์ุไท
อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอ ป ก ค ร อ ง จ ะ เ ป็ น ไ ป ต า ม ใหญ่ เป็นความเช่ือที่สัมพันธ์
แม่จนั อาเภอเชียงของ อาเภอ ระเบียบการปกครองของ กับจารีตประเพณี เหตุที่การ
เชยี งแสน และอาเภอแมส่ รวย ประเทศไทย สั ก มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ไ ท ใ ห ญ่ ใ น
- ระบบเครอื ญาตแิ ละระบบ อดีต เน่ืองจากต้องเผชิญศึก
อ า วุ โ ส เ ป็ น พื้ น ฐ า น สงครามและการอพยพหนีภัย
ความสัมพันธ์ทางสังคมของ จึ ง ต้ อ ง มี ก า ร สั ก อ ย่ า ง
ชาวไทใหญ่ แต่ละระบบเครือ แพร่หลายเพื่อสร้างขวัญและ
ญาติจะมีผู้อาวุโสเป็นกลไก กาลังใจ ลดความหวาดกลัว
ส า คั ญ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ภยั จากอันตรายตา่ ง ๆ
ความสัมพันธ์ ซึ่งระบบเครือ - ศิ ล ป ะ ก า ร แ ส ด ง ที่ มี
ญาติจะมีคาเรียกแบ่งไปตาม เอกลักษณ์ ได้แก่ การฟอ้ นนก
รุ่นและลาดับอายุ เช่น พี่ ป้า กงิ่ กะหลา่ ราโต
น้า อา ปู่ ย่า ตา ยาย เป็นต้น
กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ ในจงั หวดั เชียงราย | ๒๓
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ ท่ีต้ังของชุมชน ลักษณะทางสงั คมและ อตั ลกั ษณ์ทางชาติพนั ธ์ุ
วัฒนธรรม
๑๕. กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์
ไตหย่า (Tai Ya) โดยปู่ย่าตายายเป็นผู้อาวุโส - ด้านสถาปัตยกรรมท่ีโดด
สูงสุดและมีความสาคัญต่อ เด่นเป็นการก่อสร้างวัด หรือ
สมาชกิ ในครอบครัว จอง ในภาษาไทใหญ่ นิยม
- ระบบครอบครัวของชาว ส ร้ า ง อ า ค า ร ต่ า ง ๆ
ไทใหญ่จะอาศัยอยู่ร่วมกันใน ประกอบด้วย อุโบสถ วิหาร
ระบบเครือญาติ เริ่มต้นจาก หอฉัน กุฎีสงฆ์ อยู่ติดกันใน
หนึ่งครัวเรือน ประกอบด้วย ลักษณะเรือนหมู่แบบคนไทย
พ่อ แม่ และลูก รวมถึง ปู่ ย่า แต่สร้างหลังคาของอาคาร
ตา ยาย หรือลกู พ่ีลูกนอ้ ง มีพ่อ ต่าง ๆ ทรงยอดปราสาทแบบ
เป็นผู้นาครอบครัวทาหน้าที่ พม่ามอญ เรียกว่า ทรงพญา
ดูแลคนในครอบครัว การแบ่ง ธาตุ
พื้นท่ีใช้สอย ชายและหญิงให้ - ช า ว ไ ท ใ ห ญ่ เ ป็ นกลุ่ม
ค ว า ม ส า คั ญ กั บ เ พ ศ ช า ย ชาติพันธุเ์ ดียวในล้านนาที่นิยม
มากกว่าเพศหญิง ทานข้าวเจ้าเป็นหลัก ใช้ผัก
เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ห ลั ก ใ น ก า ร
ประกอบอาหาร โดย
เ ค ร่ื อ ง ป รุ ง ไ ด้ ม า จ า ก พื ช ผั ก
ธรรมชาติ เช่น พริก เกลือ
หอม กระเทียม เคร่ืองปรุง
สาคัญท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ
อาหารไทใหญ่คอื “ถ่ัวเนา่ ”
กลุ่มชาติพันธุ์ไตหย่ากระจาย - การปกครอง ชาวไตหย่า - เสื่อไตหย่า (เส่ือทอกก)
ตัวตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ๓ อาเภอ ท่ีเข้ามาอยู่ในประเทศไทยได้ เปน็ พืชเศรษฐกจิ ชาวไตหย่ามี
ปฏิบัติตนตามกฎหมายไทย การปลกู และนามาทอเปน็ เสื่อ
ได้แก่ อาเภอแม่สาย อาเภอ โ ดยมี กลุ่มผู้นาอย่างเป็น จนถกู เรยี กว่า “เสือ่ ไตหยา่ ”
ทางการคือคณะกรรมการ - การรักษาโรค ที่เรียกว่า
แ ม่ จั น แ ล ะ อ า เ ภ อ เ มื อ ง
เชยี งราย
ปกครองหมู่บ้าน กลุ่มผู้นา การก่าแล้ง หรือการขูดหลัง
ท า ง ศ า ส น า ที่ มี ต า แ ห น่ ง เป็นวิธีการรักษาโรคของชาว
เรียกว่า ผู้ปกครอง และ ไตหย่าที่ยังสามารถพบเจอได้
มัคนายก และมีการจัดสรร ในปัจจบุ ัน
งานออกเป็นกลุ่มย่อยอีก ๓ - เครื่องจักสานที่โดดเด่นท่ี
กลุ่ม คือ กลุ่มบุรุษ กลุ่มสตรี ชาวไตหย่ายังคงทาไว้ใช้งาน
และกลุม่ อนุชน เรียกว่า ขอนกูล่าน ที่เป็น
- ชาวไตหย่า เป็นสังคมท่ีมี ภาชนะเอนกประสงค์ ใช้บรรจุ
ความผูกพันกันทางสายโลหิต ส่ิงของเพ่ือหาบไปยังท้องนา
แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ ไร่ สวน
สืบสายโลหิตช้ันต้น หรือกลุ่ม
๒๔ | กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ในจังหวดั เชียงราย
กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ ที่ตง้ั ของชมุ ชน ลักษณะทางสงั คมและ อัตลกั ษณ์ทางชาติพันธ์ุ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
วัฒนธรรม
๑๖. กลุ่มชาติพนั ธ์ุ
ไทยวน สายตรง ส่วนกลุ่มท่ีสองคือ - ด้ า น อ า ห า ร ท่ี ยั ง ค ง มี
(Tai Yuan)
กลุ่มสายรองหรือสายอ้อม คือ เอกลักษณ์โดดเด่นคือการปรุง
อาหารที่มีรสชาติแบบเดิม ผัก
กล่มุ ญาติของเขยและสะใภ้ ซึ่ง ต่าง ๆ จะมีการนามาดองเพื่อ
ท้ังสองสายนับว่าเป็นญาติกัน เก็บไว้ทานได้นาน เช่น ดอง
ท้ังส้ิน การสืบสายตระกูลนับ แตงกวา หัวไชเท้า หัวผักกาด
ทางบดิ า อีกท้ังยังมีการดองเนื้อต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นเป็ด ไก่ ห่าน หมู
วัว ปลา โดยจะดองในโอ่งซึ่ง
เ ป็ น ภ า ช น ะ ดิ น เ ผ า ที่ ช า ว ไ ต
หย่าเรียกวา่ ต่อม หรือ ออม
กลุ่มชาติพันธ์ุไทยวน เป็นชน - ระบบครอบครัวและเครือ - อัตลักษณ์ที่โดดเด่นใ น
กลุ่มใหญ่ท่ีอาศัยอยู่ในดินแดน ญาติของชาวไทยว น เป็ น เรื่องความเชื่อพ้ืนฐานของชาว
ล้านนามาเป็นเวลานาน เรียก สังคมเครือญาติอยู่รวมกัน ไทยวน เช่น ความเชอ่ื พ้ืนบ้าน
ตนเองว่า “คนเมือง” มีการ เป็นกลุ่ม มีการสร้างบ้านอยู่ ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
กร ะจ ายกันอยู่ทั่วจัง ห วัด ในรั้วเดียวกัน มีการปลูกบ้าน ความเช่ือในศาสนาพราหมณ์
เชียงราย เพียงแต่มีต้นกาเนิด สามารถเชื่อมต่อกันไปมาได้ ความเช่ือในศาสนาพุทธ ท้ัง
สามารถเรียกระบบครอบครัว สามความเชื่อน้ีได้ถูกบูรณา
ที่ ส า ม า ร ถ บ่ ง ชี้ อั ก ลั ก ษ ณ์ ไ ด้ เช่นน้ีว่า “แบบครอบครัว การผสมผสานเป็นชุดความ
ชั ด เ จ น ท่ี สุ ด คื อ ท่ี อ า เ ภ อ
เชียงแสน
รวม” และชาวไทยวนจะถือ เชื่อในวัฒนธรรม ศาสนา และ
ญาติฝ่ายแม่เป็นสาคัญ ดังที่ มี บ ท บ า ท ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ
กฎจารีตของการแต่งงานต้อง พฤติกรรมของชาวไทยวนใน
เ ข้ า บ้ า น ฝ่ า ย ห ญิ ง แ ล ะ ลา้ นนา
ลูกหลานต้องนับถือญาติฝ่าย - ชาวไทยวนมีอัตลักษณ์
หญิง ทางพิธีกรรมเกี่ยวกับผ้าทอ
ไทยวน ในพิธีกรรมเกี่ยวกับ
การเกิด ในอดีตมีการทอผ้าพ้ืน
เ มื อ ง ไ ท ย ว น ไ ว้ ใ ช้ เ ป็ น ข อ ง
กานัลสาหรับคนทาคลอดหรอื
หมอตาแย เพื่อแสดงถึงความ
ขอบคุณ หลังจากคลอดเด็ก
แล้วแม่จะนาท่ีเตรียมไว้ห่อ
เมื่อเด็กคลอดออกมา ในพิธี
บวช คนไทยวนมีความเชื่อ
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาว่า
มารดาผู้ที่ทอผ้าให้นาคได้สวม
ใส่ ในพิธีจะได้รับอานิสงส์ไม่
น้อยไปกว่าลูกชายที่มีโอกาส
ไดอ้ อกอปุ สมบท
กลุ่มชาตพิ ันธุ์ ในจังหวดั เชยี งราย | ๒๕
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” กลมุ่ ชาติพันธุ์ ท่ตี ั้งของชุมชน ลกั ษณะทางสังคมและ อัตลักษณท์ างชาตพิ นั ธ์ุ
วฒั นธรรม
๑๗. กลุ่มชาตพิ ันธุ์
ไทยอง กลุ่มชาติพันธุ์ไทยอง กระจาย - พิธีกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ - อัตลักษณ์งานประเพณี
(Tai Yong)
ตัวตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ๔ อาเภอ ไทยองน้ันมีบทบาทในการ และกิจกรรมในรอบปีของชาว
๑๘. กลุ่มชาติพนั ธุ์
ไทล้ือ (Tai Lue) ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ฉนั เครือ ไทยองมักเป็นการแสดงความ
แมจ่ ัน อาเภอพาน และอาเภอ ญาติของคนในชุมชนแล ะ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณที่
เชยี งแสน ชุมชนใกล้เคียงซึ่งต้องพ่ึงพา ผ่านประเพณีทางศาสนา เช่น
กันในฤดูกาลหรือเทศกาล ก า ร ส ร ง น้ า พ ร ะ ธ า ตุ แ ล ะ
ตา่ ง ๆ พระพทุ ธรปู การตานสลากภัต
- พิธีกรรม ความเชื่อ ส่วน สว่ นประเพณีทเี่ กย่ี วขอ้ งกับวิถี
ใหญ่เป็นการปฏิบัติพิธีทาง ชีวิตในการแสดงความกตัญญู
พุทธศาสตร์บนพื้นฐานแบบ ตอ่ บรรพบรุ ษุ บุพการี ผู้ใหญ่ที่
พราหมณ์ อันประกอบด้วย นับถือ เช่น การฟ้อนผี การรด
ความเชื่อด้านไสยศาสตร์ การ นา้ ดาหัว พิธเี ลีย้ งบูชาใจบา้ น
นับถือผี การสักการะเทวดา - อัตลักษณ์ในการทอผ้า
ประจ าบ้าน ประจ าเมือง ข อ ง ช า ว ไ ท ย อ ง จ ะ ใ ช้
เทวดาประจา พระธาตุ ผีปู่ย่า เทคนิคการขิด (Continuous
หรือแม้กระท่ังการเรียกขวัญ Supplementary Weft) เป็น
สู่ขวัญ ส่งเคราะห์ เป่าคาถา เทคนิคที่ชาวไทยองคุ้นเคย
เป่ากระหม่อม และทอสบื ทอดกันมานาน
กลุ่มชาติพันธุ์ไทล้ือ กระจาย ลักษณะความสัมพันธ์ทาง - วัฒนธรรมของชาวไทล้ือ
ตวั ตง้ั ถ่นิ ฐานอย่ใู น ๑๐ อาเภอ ครอบครัวและเครือญาติ เป็น น้ันเกี่ยวเน่ืองกับพุทธศาสนา
ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอ ระบบอาวุโ ส การปฏิบัติ อย่างมากซ่ึงคล้ายกับทาง
แม่จัน อาเภอขุนตาล อาเภอ กิจกรรมต่าง ๆ จะรับฟัง ลา้ นนา
เชียงของ อาเภอเทิง อาเภอ คาแนะนาของครอบครัวและ - พิธีกรรมท่ีเป็นอัตลักษณ์
เวยี งแกน่ อาเภอเมืองเชยี งราย ผู้อาวุโสเป็นหลัก ครอบครัว โดดเด่น คือ พิธีกรรมแห่พระ
อาเภอเชียงแสน อาเภอพาน ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทล้ือเป็น อุปคุต จะมีขึ้นก่อนพิธีการ
และอาเภอแมส่ าย ครอบครัวแบบขยาย หากมี สาคญั เชน่ หากจะมีงานระดับ
การแต่งงาน ฝ่ายชายจะย้าย ชุมชน เช่น “ตานหลวง” หรือ
เข้าอยู่ในบ้านของครอบครัว งานฉลองวิหาร ศาลา กุฎิ
ฝ่ายหญิงเพ่ือเป็นแรงงานแก่ กาแพงวดั ฯลฯ ชาวไทลอ้ื จะมี
ครอบครัวฝ่ายหญิง การแห่อัญเชิญพระอุปคุตเพ่ือ
มาชว่ ยหา้ มมาร ช่วยรักษางาน
ไม่ให้มารทั้งหลาย หรือส่ิงช่ัว
รา้ ยท้งั หลายมารบกวน
- อาหารของชาติพันธุ์ไทลื้อ
ท่ีมีเอกลักษณ์และเป็นเมนูหา
รับประทานยาก คือ “ลูกอ๊อด
เขียดค่ัวไทลอื้ โบราณ”
๒๖ | กลุ่มชาติพันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย
ส่วนท่ี ๒ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
๑๘ ชาตพิ นั ธ์ุ
ในจงั หวัดเชยี งราย
กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ ในจงั หวดั เชียงราย | ๒๗
ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
๒๘ | กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ ในจงั หวัดเชยี งราย
ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
ชาติพันธุ์ “ลาห”ู่
Lahu
“ชาติพันธ์ุลาหู่ (Lahu) เรียกตนเองว่า ลาหู่ ความเป็นมาของการต้ังถิ่นฐานของกลุ่มชาติ
ซึ่งแปลว่า “คน” และเรียกอย่างอ่ืนอกี คือ ลาฮู, ลาหู่ พัน ธ์ุ ลาหู่ใน ประเทศไทยนั้น Walker (๑ ๙ ๘ ๓)
นะ, ลาหู่นาเมี้ยว, ลาหู่ซิมี และช่ือท่ีผู้อ่ืนเรียก คือ ได้อธิบายถึงการตงั้ รกรากของชาตพิ นั ธลุ์ าหู่ในประเทศ
มูเซอ,โลไฮ, ลาหู่, ลาหู่แดง, ลาหู่ดา, ลาหู่เซเล มีเช้ือ ไทยกลุ่มแรกว่า เร่ิมขึ้นในราวปี พ.ศ. ๒๔๑๘
สายมาจากกลุม่ โลโล ซง่ึ เคยเจรญิ รุง่ เรืองอาศัยอย่บู นท่ี (ค.ศ. ๑๘๗๕)
ราบสูงทิเบต-ชงิ ไห่ ตอ่ มาไดม้ ีการอพยพเคล่ือนย้ายถิ่น
อยูต่ ลอดเวลาในแถบประเทศจนี พมา่ ลาว และไทย” โดยเลือกพ้ืนท่ีในการตั้งถ่ินฐานบริเวณทาง
ตอนเหนือของประเทศไทย ทั้งนี้ชาวลาหู่กลุ่มแรกที่ลี้
๑. ประวตั ิศาสตร์ความเปน็ มาของชาติพันธุ์ ภัยเข้ามาอาศัยในครั้งน้ัน เป็นผลเน่ืองมาจากความ
พ่ายแพใ้ นการต่อตา้ นการปกครองของประเทศจีนและ
ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ ล า หู่ นั้ น ทนแรงกดดันของกองทัพองค์จักรพรรดิจีนไม่ไหว จึง
เป็นกลุ่มชนที่มีเช้ือสายมาจากกลุ่มโลโล ซ่ึงเคย เคล่ือนย้ายลงมาทางใต้เร่ือย ๆ พร้อมกับชาวโลโลเผ่า
เจริญรุ่งเรือง อาศัยอยู่บนที่ราบสูงทิเบต-ชิงไห่ ได้รับ อ่ืน จนเข้ามายังดินแดนประเทศไทย ซ่ึงกลุ่มชาติพันธุ์
การยอมรับจากจีนให้มีการจัดการปกครองตนเองได้ ลาหู่ในประเทศไทยแบ่งแยกออกเป็นหลายกลุ่มย่อย
อย่างอิสระ ในช่วงศตวรรษท่ี ๑๗ และ ๑๘ ลาหู่ได้ตั้ง เช่น ลาหู่ญี ลาหู่นะ ลาหู่เชเล ลาหซู่ บี าเกียว ลาหู่ซีบา
อาณาจักรอิสระของตนเอง ทางบริเวณตอนกลางและ หลา ลาหู่แฮะก๊าย ลาหู่ฟู และลาหู่กู่เลา เป็นต้น ซึ่ง
ตอนใต้ของมณฑลยูนนานก่อนที่ชนชาติไทยใหญ่และ กล่มุ ชาตพิ นั ธุล์ าหู่ในประเทศไทยแบง่ ออกเปน็ ๔ กลุ่ม
จีนจะเข้าไปครอบครอง ต่อมาลาหู่ได้มีการอพยพยา้ ย สาคัญหลักๆ(ธันยา พรหมบุรมย์ และวิสุทธร จิตอารี
ถิ่นอยู่ตลอดเวลาในแถบประเทศจีน พม่า ลาว และ (๒๕๕๐), เครือข่ายส่ือชนเผ่าพื้นเมือง Indigenous
ไทย (ขจัดภยั บุรษุ พัฒน์, ๒๕๓๓) Media Network – IMN ภายใต้เครือข่ายชน เผ่ า
กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ในจังหวดั เชียงราย | ๒๙
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” พ้นื เมอื งแห่งประเทศไทย (ม.ป.ป.), ศูนยม์ านษุ ยวิทยา จากนั้นในพ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๘ กองทัพก๊กมินตั๋งถูก
สิรนิ ธร. กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ : ลซี .ู (๒๕๖๑) คอื โจมตีขับไล่จนต้องเคลื่อนย้ายกองบัญชาการพร้อม
กาลังพลเข้ามาต้ังกองบัญชาการและฐานที่ม่ันทาง
๑. ลาหู่แดง มีจานวนมากสุดเรียกตัวเองว่า การทหารในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ณ บริเวณ
ลาห่นู ะ ต้นน้าแม่จัน - แม่สลอง และได้อพยพครอบครัว
เครือญาติ เข้ามาต้ังบ้านเรือนในบริเวณดอยแม่สลอง
๒. ลาหู่เซเล มีจานวนเป็นอันดับสามรองจาก มากขนึ้
ลาหู่ดา เรยี กตวั เองว่า ลาหู่นาเม้ียว
ปจั จุบนั ในจงั หวดั เชียงรายพบพน้ื ทีท่ ี่กลุ่มชาติ
๓. ลาหู่ดา มีจานวนเป็นท่ีสองรองจากลาหู่ พันธ์ุลาหู่กระจายตัวต้ังถิ่นฐานอยู่ ได้แก่ อาเภอแม่ฟ้า
แดง เรียกตวั เองว่า ลายนู ะหรอื ลาหู่ คนไทยภาคเหนือ หลวง อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอเวียงป่าเป้า
เรียก ลาหดู่ า อาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ อาเภอเวียงแก่น
อาเภอแม่สาย อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเทิง อาเภอ
๔. ลาหซู่ ิ มีจานวนนอ้ ยทสี่ ุด คนไทยเรยี กลาหู่ พานและอาเภอเมอื งเชียงราย โดยจะพบกลุม่ ชาติพันธุ์
กุยหรือลาหู่เหลือง มี ๒ เชื้อสายคือ เชื้อสายบาเกียว ลาหู่มากท่ีสุดในจังหวัดเชียงรายที่อาเภอแม่ฟ้าหลวง
และบาลาน และอาเภอแม่สรวย
สาหรับในจังหวัดเชียงรายนั้น การต้ังถ่ินฐาน ๒. โครงสรา้ งทางสังคม
ของกลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่ Walker (๑๙๘๓) ได้อธิบายถึง
บันทึกของนักเดินทางชาวตะวันตกใน ค.ศ. ๑๘๙๒ ๒.๑ การปกครอง
ท่ีได้ค้นพบหมู่บ้านของชาติพันธุ์ลาหู่บริเวณแม่น้ากก ในอดีตนั้นโครงสร้างทางสังคมของชาติพันธุ์
และบนภูเขาบริเวณอาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัด ลาหู่ในระดับหมู่บ้าน จะประกอบด้วยบุคคลสาคัญ
เชียงราย และอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงเขาได้ ๓ สว่ นทส่ี าคญั คอื สว่ นทห่ี นึง่ อาดอ (คะแซ) หรือผู้นา
บันทึกว่า “ชาวลาหู่ท่ีกระจายตัวอาศัยอยู่ตามเชียงตงุ หมู่บ้าน ทาหน้าท่ีเสมือนผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้นาหมู่บ้าน
ได้รับแรงกดดันให้เคลื่อนย้ายถ่ินลงใต้เข้าสู่รัฐสยาม ในด้านการปกครอง ทาหน้าที่รักษาความสงบของ
และเลือกอาศัยทางเหนือของเชียงใหม่ซ่ึงพวกเขาพา หมู่บ้าน ส่วนที่สองโตโบ คือพระหรอื นกั บวชทาหนา้ ที่
กันอพยพเคล่ือนย้ายเข้ามาอีกหลายกลุ่มและสร้าง สั่งสอนคนให้เป็นคนดี เป็นตาแหน่งผู้นาศาสนาสูงสุด
สัมพนั ธ์ต่อกันกับคนพนื้ ราบในเมืองฝางและเมอื งเชียง ของชาวลาหู่ ทาหน้าท่ีประกอบพธิ ีกรรมติดต่อส่ือสาร
แสนอย่างรวดเร็ว” และในปี พ.ศ. ๒๔๙๒-๒๕๐๔ ชาติ ระหว่างคนกบั พระเจ้า รักษาโรคภัยไข้เจ็บ และอบรม
พันธุ์ลาหู่ท่ีอาศัยอยู่ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของพมา่ สั่งสอนคนในหมู่บ้านให้เป็นคนดี รู้จักขนบธรรมเนียม
ต้องเผชิญกับสงครามโลกคร้ังท่ีสอง และปัญหา ประเพณี และส่วนที่สามจาหลี๋ คอื ชา่ งตเี หล็ก เปน็ ผนู้ า
ทางการรเมืองภายในระหว่างรัฐบาลย่างกุ้งและกอง ฝ่ายผลิตเคร่ืองมือการเกษตร เพื่อนาไปใช้ในการ
กาลังทหารจีนคณะชาติหรือกองทัพก๊กมินตั๋ง จึงเป็น ปร ะ ก อ บอ าชีพ เครือ ข่ายส่ือ ชน เผ่าพ้ืนเมือง
เหตุใหช้ าติพันธ์ุลาหูก่ ลุ่มใหญ่ต้องอพยพถอยลงใต้และ Indigenous Media Network – IMN ภ า ย ใ ต้
กระจายอาศัยอยูใ่ นประเทศไทย ช่วงเวลาดังกลา่ วจึงมี เครือข่ายชนเผ่าพ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย (ม.ป.ป.),
เกิดการเคล่ือนย้ายของชาติพันธุ์ลาหู่กลุ่มใหญ่อีกครั้ง ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร. กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ : ลาหู่. (๒๕๖๑)
โดยเข้ามาตงั้ รกรากกระจายตวั และเคลอื่ นย้ายไปมาใน
อาณาบริเวณภูเขาสูงแนวเขตชายแดนประเทศไทย-
พม่า ด้านต้นน้าแม่จัน-แม่สลอง จังหวัดเชียงราย
๓๐ | กลุ่มชาติพันธุ์ ในจงั หวดั เชียงราย
ในปัจจุบันโครงสร้างการปกครองของชาติ เป็นองค์ประกอบหลักของการตั้งหมู่บ้านของกลุ่มชาติ ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
พันธุ์ลาหู่ในจังหวัดเชียงรายนั้น นอกจากมีการ พันธุ์ลาหู่ (สนิท วงศ์ประเสริฐ และศุภชัย สถีรศิลปิน.
ปกครองในหมู่บ้านตามจารีตประเพณีคลองธรรมท่ี ๒๕๒๖)
ปฏิบัติสืบทอดกันมา เม่ือมีการร้องเรียนกันผู้นา
หมู่บ้านจะมีการเรียกประชุมหัวหน้าครอบครัวทุก ในปัจจุบันถิ่นฐานที่ต้ังชาติพันธุ์ลาหู่ยังมีให้
หลังคาเรือนเพื่อช้ีแจง ปรึกษาและตัดสินชีข้ าด ถ้าหาก พบเหน็ คลา้ ยคลงึ กับในอดีตที่ผ่านมา คือ อยูบ่ นสันเขา
ผลการตดั สนิ เกดิ ความขดั แยง้ ขน้ึ ก็จะเชญิ ผนู้ าหม่บู ้าน ที่ลาด และพ้ืนท่ีสูงชันบนยอดเขาสูงสุด ดังเช่นใน
กับผู้อาวุโสจากหมู่บ้านอ่ืนท่ีมีความเป็นกลางมาว่า อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า
ความและตดั สินใจช้ีขาดเสมอื นผ้นู าในหมู่บา้ น ทงั้ นย้ี ัง เป็นต้น ท่ีจะพบเห็นกลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่อาศัยอยู่เป็น
มีการปกครองโดยผู้ใหญ่บ้าน และผู้นาชุมชนท่ีได้รับ จานวนมาก แต่ทั้งด้วยสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลง
การแตง่ ตั้งขนึ้ มาจากสว่ นราชการอกี ด้วย ไปทาให้กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ ได้โยกย้ายถิ่นฐานที่ตั้ง
กระจายอยู่ตามอาเภอต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงราย
๒.๒ ระบบครอบครวั และเครอื ญาติ อีกจานวนหนึ่ง จะบางกลุ่มมีการต้ังถิ่นฐานบนท่ีราบ
ครอบครัวของชาติพันธุ์ลาหู่ประกอบด้วย อย่างเช่นหมู่บ้านท่าฮ่อ ตาบลทรายขาว อาเภอพาน
หวั หนา้ ครอบครวั ภรรยา และลูก และหลายครอบครัว เป็นตน้
จะรวมกันเป็นครัวเรือนที่อยู่ในการปกครองของ
หัวหน้าครัวเรือน และทุกคนจะต้องเชื่อฟังและเคารพ ลักษณะบ้านเรือนของชาวลาหู่ส่วนใหญ่มัก
ต่อหัวหน้าครัวเรือน แต่ทั้งนี้ก็มีหลายครัวเรือนที่ ปลูกยกพ้ืนใต้ถุนบ้าน ซึ่งในส่วนของใต้ถุนบ้านนั้นมี
ประกอบด้วยครอบครัว เพียง ครอบครัว เ ดียว การเลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ หมู หมา เป็ด ควาย ลักษณะ
แ ต่ ค ร อ บ ค รั ว เ ห ล่ า น้ี ต่ อ ไ ป จ ะ เ ป็ น ค รั ว เ รื อ น ข้ึ น ม า ของเสาบ้านเป็นไม้เนือ้ แข็ง ฝาบ้านมีลักษณะเป็นฟาก
โดยการนับรวมญาติทางฝ่ายสามี ภรรยาเข้าไปด้วย หลังคาบา้ นมุงด้วยหญา้ คาหรือใบกอ้ ซ่งึ การมุงหลังคา
และโดยท่ีผู้ชายลาหู่เม่ือแต่งงานแล้วต้องไปอยู่กับ ใช้วิธีมุงฟ่อนทับกันหนาแน่นเหมือนกับวิธีการมุง
ครอบครัวของฝา่ ยหญิง (สธุ ีลักษณ์ ลาดปาละ, ๒๕๕๔) หลังคาด้วยหญ้าของคนยุโรป ส่วนของบ้านตอนหน้า
เป็นชานนอกชายคาปูด้วยไม้ฟาก มีบันไดเป็นไม้ท่อน
๓. วิถชี ีวติ ความเปน็ อยู่ ยาวพาดจากพื้นดินขึ้นไปสู่บ้าน ตอนหลังเป็นห้อง
ส่ีเหล่ียมกว้าง ๓ - ๔ เมตร มีฝาสานรอบทุกด้านตรง
๓.๑ ทอ่ี ย่อู าศัย กลางห้องมีเตาไฟ ๑ เตาใช้สาหรับทาอาหาร บริเวณ
การเลือกถิ่นฐานที่ตั้ง ชาติพันธ์ุลาหู่ในอดีตท่ี รอบ ๆ เตาไฟจะใชเ้ ป็นทน่ี อนและเป็นที่ต้อนรบั แขก
ผา่ นมามกี ารอธิบายไวว้ า่ ชาตพิ ันธ์ลุ าหูม่ ักจะเลือกทต่ี ั้ง
ท่ีสามารถเป็นทาเลในการเพาะปลูกเพ่ือการเกษตร ในปัจจุบันลักษณะบ้านเรือนของชาวลาหู่ที่
ดังนั้นจึงมักเลือกถ่ินฐานตั้งบ้านเรือนอยู่บนสันเขาที่ พบในจังหวัดเชียงราย มีลักษณะผสมผสานกับ
ลาด และบางคร้ังจะอยใู่ นพ้นื ทสี่ ูงชันบนยอดเขาสูงสุด โครงสร้างสมัยใหม่ มีลักษณะท้ังแบบบ้านชั้นเดียว
เพราะมีความเชื่อว่าจะมีความย่ังยืนเหมือนด่ังสันเขา หรอื บา้ นแบบปลกู ยกพน้ื ใตถ้ นุ บ้าน บางบ้านมีการแยก
โดยที่ลักษณะของการปลูกบ้านเรือน จะมีหลักเกณฑ์ ส่วนระหว่างตัวบ้าน ห้องครัว และบริเวณเลี้ยงสัตว์
ว่าเรือนหลังแรกท่ีต้องปลูกสร้างก่อนเรือนหลังอื่น ออกจากกันอย่างชัดเจน แต่ในขณะเดียวกันก็ยัง
คือ เรือนของผู้นาศาสนา พร้อมกับลานเต้นรา ซ่ึงถือ สามารถพบลักษณะบ้านเรือนของชาวลาหู่ที่คล้ายคลึง
กบั แบบดั้งเดมิ ได้ในบางพ้ืนที่
กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ ในจังหวดั เชียงราย | ๓๑
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” หามาได้ วิธีการปรุงจะมีพริกและเกลือเป็นหลัก
(กฤตานน เตชยานนท์ และบังอร ศิริสัญลักษณ์,
ลกั ษณะบ้านเรอื นของชาวลาห่ใู นปจั จุบนั ๒๕๕๘) ซึ่งอาหารของชาติพันธ์ุลาหู่ ตัวอย่างเช่น
น้าพริกหอมลาหู่ แกงปลีใส่ปลาแห้ง (อาป่อยจ้า)
๓.๒ การประกอบอาชพี ตาหวาย แอ๊บผักชะอม ห่อหมกสมุนไพร (ส่าจ๊อย)
ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ข อ ง ช า ติ พั น ธ์ุ ล า หู่ ใ น ต้มฝกั เขยี วใสห่ มู (อาแตะ๊ ผอื จาเว) เป็นต้น
สมัยก่อน เป็นการประกอบอาชีพการเกษตรเพื่อ
บริโภค โดยเป็นการทาไร่เลื่อนลอยใช้เวลาไร่ละ ๓ ปี ในปัจจุบันกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ มีอาหารที่
จากนนั้ จะยา้ ยไปหาแหล่งอืน่ ใหม่ พืชท่นี ยิ มปลกู ได้แก่ รับประทานที่หลากหลายขึ้น แต่ก็ยังรับประทานข้าว
ข้าว ข้าวโพด งา และพริก เป็นต้น สัตว์เล้ียงที่สาคัญ เป็นหลัก ทานพร้อมกับอาหารชนิดอื่น ๆ ท้ังอาหาร
ได้แก่ ไก่ และหมู บางหมู่บ้านอาจมีม้าไว้บรรทุกของ ดั้งเดิม และอาหารรูปแบบใหม่ ท่ีมีการปรับปรุงวิธี
(ขจัดภัย บุรุษพัฒน์., ๒๕๓๘, เครือข่ายส่ือชนเผ่า การทา และมกี ารเพิ่มเคร่อื งปรุงรสต่าง ๆ ตามยุคสมัย
พ้ืนเมือง Indigenous Media Network – IMN ภายใต้ เช่น น้าปลา น้าตาล และแหล่งที่มาของอาหาร
เครือข่ายชนเผ่าพ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย (ม.ป.ป.), บางอย่างมาจากธรรมชาติ จากการหาของป่า บางส่วน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. กลุ่มชาติพันธ์ุ : ลีซู. มาจากผักท่ีปลุกรับประทานเอง และมีเพ่ิมเติมจาก
(๒๕๖๑) การซ้ือวตั ถดุ ิบอ่นื ๆ มาจากภายนอก
แต่ในปัจจุบันนี้การประกอบอาชีพของชาติ
พันธ์ุลาหู่ได้เปลี่ยนแปลงไปตามภาวะทางสังคมท่ี อาหารชาติพันธุ์ลาหู่
เปล่ียนแปลง ชาติพันธุ์ลาหู่ในจังหวัดเชียงรายมีการ
ประกอบอาชีพท่ีหลากหลายมากขึ้นนอกจากการทา ภาพจาก : https://adaymagazine.com , https://today.line.me
เกษตร ยังมกี ารไปรับจา้ งในเมือง การคา้ ขาย อกี ด้วย
๓.๓ อาหาร
ในอดีตน้ันอาหารของชาติพันธ์ุลาหู่จะเป็น
อาหารที่รับประทานตามธรรมชาติท่ีปรุงง่าย ๆ มีข้าว
เจ้าเป็นอาหารหลัก โดยกินกับเนื้อสัตว์ป่าหรือปลาที่
๓๒ | กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุ ในจังหวัดเชยี งราย
๔. วัฒนธรรมและประเพณี ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
๔.๑ ศาสนา ประเพณีเขาะเจา๊ เว หรือปใี หมก่ ารกินวอ
ในอดีตที่ผ่านมาชาวลาหู่ส่วนใหญ่จะเช่ือในผี
และสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ หรือปรากฎการณ์เหนือธรรมชาติ ภาพจาก https://sites.google.com/a/damrong.ac.th
โดยพื้นฐานความเชื่อของลาหู่ คือการนับถือ “ก่ือซา”
ซ่ึงเป็นพระเจ้าสร้างโลกของลาหู่ท่ีนบั ถือเป็นพระบดิ า ประเพณีกินข้าวใหม่ กลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่
โ ด ย ช า ว ล า หู่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ว่ า กื่ อ ซ า เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง โ ล ก เรียกวา่ จ่าลอื จา่ เลอ เปน็ พธิ ีกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับพชื ผล
สร้างสรรค์ความดี และมีอานาจสงู สุด เป็นผทู้ ที่ าให้เรา ทางการเกษตรของลาหู่ โดยพิธนี ้ีจะเรมิ่ จัดข้นึ ในช่วงท่ี
มีความสุข และบนั ดาลสรรพสงิ่ ใหแ้ กเ่ รา ถา้ หากเราทา ต้นข้าวออกรวง ประมาณช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี
ไม่ดี ทาผิดกื่อซาก็ลงโทษเราได้ (ขจัดภัย บุรุษพัฒน์., เป็นการทาพิธีเพ่ือขอให้สิ่งศักดิ์สิทธ์ิท่ีตนนับถือดล
๒๕๓๘, เครือข่ายส่ือชนเผ่าพื้นเมือง Indigenous บันดาลให้ผลผลิตออกผลดีและมีคุณภาพ และมีความ
Media Network – IMN ภายใต้เครือข่ายชน เผ่ า เชอื่ วา่ ผลผลิตในไร่เทพเจ้าก่ือซาประทานมาให้ ถ้าไมม่ ี
พ้นื เมืองแหง่ ประเทศไทย (ม.ป.ป.), ศูนยม์ านษุ ยวิทยา ประเพณีนี้ก็ไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตมาบริโภคได้
สิรนิ ธร. กล่มุ ชาติพนั ธุ์ : ลซี ู. (๒๕๖๑)) (สมยั สทุ ธธิ รรม, ๒๕๔๑)
ในปัจจุบันความเชื่อและการนับถือศาสนา
ของกลุ่มชาติพันธ์ุ ได้เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทของ ส่วนวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ที่สืบ
การเปล่ียนแปลง ดงั นน้ั ปจั จบุ นั กลุ่มชาตพิ ันธ์ุลาหู่ยังมี ทอดกนั มายาวนาน นั่นคอื การละเลน่ ซง่ึ ชาตพิ ันธล์ุ าหู่
การนับถือกือซา บางกลุ่มหันมานับถือศาสนาพุทธ จะนิยมเล่นกันยามว่าง และช่วงที่มีพิธีกรรมทาง
และบางกลมุ่ หนั มานับถอื ศาสนาคริสต์ ศาสนา หรือประเพณี การละเล่นของกลุ่มชาติพันธ์ุ
๔.๒ ประเพณี ลาหู่เป็นไปเพ่ือความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และจะ
กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ถือเป็นอีกหนึ่งกลุ่มชาติ เนน้ การเล่นเปน็ กลมุ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมคั รสามัคคีกัน
พันธ์ุท่ีมีประเพณี วัฒนธรรม ศิลปะการแสดง ที่สืบ ภายในกลุ่ม อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการเล่นเป็นการใช้ภูมิ
ทอดกันมีต้ังแต่บรรพบุรุษอย่างมากมาย ไม่แพ้กลุ่ม ปัญญาของชาวบ้านในการนาส่ิงของต่าง ๆ มา
อื่น ๆ ซง่ึ ตวั อยา่ งประเพณีทโ่ี ดดเดน่ ไดแ้ ก่ ประดิษฐ์เป็นของเล่น ตัวอย่างการละเล่นท่ีโดดเด่น
ประเพณีฉลองปีใหม่ กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ (อภิชาต ภัทรธรรม, ๒๕๕๒) ไดแ้ ก่
เรียกว่า ประเพณีเขาะเจ๊าเว แปลว่า ปีใหม่การกินวอ
จะจัดช่วงราวเดือนมกราคม–มีนาคม ไม่มีการ การเตน้ จะคึ (ปอย เต เว) จะเป็นการเต้นรา
กาหนดการเฉพาะเจาะจงแน่นอน จะเลือกเวลาที่ ในวันสาคัญเช่น วันศีล งานประเพณีปีใหม่กินวอ หรือ
สมาชิกส่วนใหญ่อยู่กันพร้อมหน้าและเสร็จส้ินภาระ แสดงเพ่ือต้อนรับและขอบคุณแขกท่ีมาร่วมพิธีกรรม
กิจการทางานทาไร่ ทาสวน จากการเก็บเก่ียวพืชผล การเตน้ จะคจึ ะเป็นการเตน้ เปน็ จังหวะ ตามเสยี งกลอง
แล้ว ในการประกอบพิธีจะเป็นการบวงสรวงเทพ (หรือเรียกว่า เจะโข่) ฉิ่งฉาบ (หรือเรียกว่า แซ) และ
เจ้ากือ่ ซา ในเทศกาลปีใหม่นี้ ชาวลาหู่จะนาขา้ วเหนียว ฆ้อง (หรือเรียกว่า โบโลโก่) โดยจะมีท่าทางประกอบ
น่ึงมาตาแล้วป้ันเป็นก้อนกลม เรียกว่า “อ่อผุ” หรือ
ขา้ วปกุ๊ เพื่อนาไปใชเ้ ปน็ เคร่อื งถวายตอ่ เทพเจ้ากื่อซา กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ ในจงั หวดั เชยี งราย | ๓๓
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” หลากหลายท่าอย่างพร้อมเพรียงกัน เช่น ท่าเก่ียวขา้ ว เครื่องแต่งกายมักใช้ผา้ สีดา หรอื ผ้าสีฟา้ และสแี ดง ซง่ึ
ท่าตกั ขา้ ว และ ท่าตีข้าว เป็นตน้ ข้ึนอยู่กับว่าเป็นกลุ่มใด และจากข้อค้นพบที่ผ่านมาใน
เร่ืองของการแต่งกายของชาวลาหู่ กล่าวกันว่ากลุ่ม
ก่า เคอะ เว เป็นการละเล่นเพ่ือความ ชาติพันธ์ุลาหู่น้ันมีชื่อเสียงในเย็บผ้าติดประดับปะติด
สนุกสนาน โดยมีอุปกรณ์ท่ีใช้คือ แคน โดยผู้ท่ีมีความ บนชายเสื้อ ชายผ้าถุง และมีความสามารถในการทอ
ชานาญในเร่ืองของแคน จะเป็นคนเป่าแล้วเต้นเป็น ผ้าเปน็ สายกระเป๋ายา่ ม
การละเล่นเพื่อเฉลิมฉลองในงานประเพณี เพื่อให้
เทวราช หรือกื่อซา รับทราบว่าชาวลาหู่จะเฉลิมฉลอง การแต่งกายของผู้หญิงลาหู่จะแตกต่างกันใน
ให้กับท่าน และขอให้ท่านเทพเจ้าลงมาอวยพรให้กับ แต่ละกลุ่ม คือ ผู้หญิงกลุ่มลาหู่ดา จะแต่งกายด้วยชุด
คนในชมุ ชนด้วย ยาวสดี าครอ่ มเทา้ ประดับแถบผ้า สีสนั สดใส พร้อมกับ
ปักลวดลายบริเวณรอบคอ รอบแขน และชายเสื้อ นุ่ง
๔.๓ ภาษา ซิ่นสีดายาวคร่อมเท้า ส่วนผู้หญิงกลุ่มลาหู่เหลือง
ภาษาของกลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่น้ัน มีนักภาษา ผู้หญิงโสดจะนิยมปักลายผ้าสวยงามตามบริเวณขอบ
ศาสตร์ชาวออสเตรเลีย Bradley (๑๙๗๕) ได้จัดกลุ่ม ชายเส้ือ และผ้าซ่ิน แต่เมื่อผู้หญิงเข้าพิธีแต่งงานแล้ว
ภาษาลาหู่อยู่ในกลุ่มภาษาจีน - ทิเบต (Sino - ลักษณะการตกแต่งเสื้อผ้าจะเปล่ียนแปลงไป โดยจะ
Tibetan) สาขาทิเบต - พม่า กลุ่มภาษาโลโลด้ังเดิม เปลี่ยนมานิยมลวดลายท่ีใช้เทคนิคการเย็บปะติดผ้า
(Proto-Lolo) และแตกสาขาย่อยลงมาในกลุ่มพม่า - สีสันสดใสทดแทนการปักลวดลายลงบนผืนผ้า และ
โลโล สาขาโลโลกลาง (Central-Lolo) ซึ่งอยู่ในกลุ่ม ผหู้ ญงิ กลมุ่ ลาหแู่ ดง จะสวมเสอื้ ตวั สั้นสดี า แขนยาว ผา่
เดยี วกับภาษาลซี ู และภาษาอาขา่ อก ติดแถบผ้าสีแดงที่สาบเสื้อ รอบชายเส้ือและแขน
ภาษาลาหเู่ ปน็ ภาษาที่ไม่มตี ัวอกั ษรหรอื ระบบ ตกแตง่ เสือ้ ดว้ ยกระดุมเงนิ ส่วนผา้ ซน่ิ ใชส้ ีดาเปน็ พื้น มี
การเขียนเป็นของตนเองมาก่อน ต่อมาภายหลังมหี มอ ลายสีตา่ งๆ สลบั กันอย่ทู ีเ่ ชงิ ผ้าโดยเนน้ สีแดงเป็นหลัก
สอนศาสนาจากโลกตะวันตกได้ใช้อักษรโรมันสร้าง
ระบบการเขียนภาษาลาหู่ขึ้น ภาษาลาหู่เป็นภาษาที่มี การแต่งกายของผู้ชายลาหู่ ส่วนใหญ่จะสวม
ระบบการเรียงคาแตกต่างจากภาษาไทย แต่เหมือน เส้อื แขนยาวสีดา ประดบั ดว้ ยเมด็ โลหะเงนิ และลายปัก
ภาษาพม่าเพราะมาจากภาษาตระกูลเดียวกัน คือ ตา่ งๆ ส่วนกางเกงลกั ษณะความยาวเลยเข่าคล้ายโสร่ง
ประธาน - กรรม - กริยา (ในขณะที่ภาษาไทยเรียงคา ใช้สดี า สเี ขยี ว สีฟ้า เย็บปกั ด้วยมือท่ีสวยงาม สาบเสื้อ
เป็น ประธาน - กริยา - กรรม) เช่น ประโยคที่คนไทย ดา้ นหนา้ เปดิ กว้าง
พูดว่า ฉันกินข้าว คนลาหู่จะพูดว่า “หง่าอ่อจ้าเว”
(หง่า – ฉัน, ออ่ - ขา้ ว, จ้า – กนิ . เว - คาลงทา้ ย) เป็น ช่วงเทศกาล ท้ังชายหญิงชาวลาหู่เกอื บทุกวยั
ต้น (ปนัดดา บุญยสาระนัย, ๒๕๔๙., โสฬส ศิริไสย์, จ ะ ป ร ะ ดั บ ชุ ด ข อ ง ต น ด้ ว ย ก ร ะ ดุ ม เ งิ น แ ล ะ เ ห รี ย ญ
๒๕๓๙) ซึ่งตามประเพณีปีใหม่ ผู้ชายจะโพกหัวโดยผ้าสีแดง สี
๔.๔ การแตง่ กาย ดา หรือสีขาว ท้ังนี้รูปแบบท่ีแสดงถึงความเป็นชาวลา
เ นื่ อ ง จ า ก ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ ล า หู่ แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น หู่คือ ชาวลาหู่มักจะต้องมีการสะพายกระเป๋าย่ามสี
หลายกลุ่ม ดังนั้นลักษณะการแต่งกายจึงมีความ แดงเด่น เย็บปักลวดลายหลากหลายและเดินตะเข็บ
แตกต่างกัน ซ่ึงชาวลาหใู่ นแต่ละกลุ่มมเี ครอื่ งแต่งกายที่ สีแดงรอบ ๆ กระเป๋าและในช่วงเทศกาลจะมีการ
เป็นลักษณะเฉพาะตัวในด้านสีสัน ทั้งนี้ผ้าที่ใช้ทา ประดบั เพ่ิมโดยกระดุมเงินหรอื เหรียญรปู ีอนิ เดีย (สา
๓๔ | กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ในจงั หวดั เชยี งราย
ริณีย์ ภาสยะวรรณ, ๒๕๕๔ ธันยา พรหมบุรมย์ และวิ ๔.๕ องค์ความร้แู ละภมู ิปัญญา ชาติพันธุ์ “ลาหู่”
สทุ ธร จติ อารี, ๒๕๕๐) องค์ความรู้และภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์
ลาหู่ ทาให้บุคคลอ่ืน ๆ รู้จักโดยส่งผ่านงานหัตถกรรม
ในปัจจุบันการแต่งกายของกลุ่มชาติ ปักผา้ เน่ืองจากกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุลาห่นู ยิ มตกแตง่ ลวดลาย
พันธุ์ลาหู่ท่ีพบในจังหวัดเชียงราย จะสวมใส่เส้ือผ้า บนเครื่องแต่งกายด้วยการปักเส้นด้ายสีสันต่าง ๆ
เหมือนคนพื้นราบในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั แต่เม่ือ ล ว ด ล า ย เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ช า ว ล า หู่ มี ที่ ม า ค่ อ น ข้ า ง
ถึ ง ช่ ว ง เ ท ศ ก า ล ช า ว ล า หู่ ก็ จ ะ แ ต่ ง ก า ย ส ว ม ชุ ด ต า ม หลากหลายเนื่องจากวิถีชวี ิตที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละ
ประเพณขี องกลมุ่ ตนเอง สมัย ทาให้กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ได้รังสรรค์ลวดลายการ
ปักผ้าของตนเองกับส่ิงต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป บ้างก็
การแต่งกายของชาวลาหู่ มีลักษณะคล้ายลวดลายต้นไม้ ดอกไม้ ท่ีเป็น
เอกลักษณ์มาจากลักษณะของธรรมชาติ บางลวดลาย
ภาพจาก http://www.hugchiangkham.com และ https://arit.kpru.ac.th จะเกี่ยวข้องกับชีวิตการเป็นนักล่าสัตว์ ตลอดจนถึง
ลวดลายท่ีมีที่มาจากความเชื่อเร่ืองผี วิญญาณ และ
ลวดลายที่มีความสอดคล้องกับความเชื่อในพระคัมภีร์
ของคริสต์ศาสนา และอีกกรณีหน่ึงที่ลักษณะลวดลาย
อ า จ มี ก า ร น า เ อ า รู ป แ บ บ จ า ก ช น เ ผ่ า อ่ื น เ ข้ า ม า
ผสมผสานอยู่ด้วยกันตัวอย่างลวดลายปักที่โดดเด่น
ของกลุ่มชาติพันธล์ุ าหู่ เชน่
ลายง้าแป่ (ตาข่าย) ซ่ึงวิธีการปักจะเป็นการ
ปักด้วยด้ายสีสันสดใสไขว้สลับตัดกันคล้ายลักษณะ
ของตาขา่ ยท่ีใช้ในการดกั สัตว์
ลายอ๊าเผ่เว้ (ลายดอกพริก) เป็นลายท่ี
เกี่ยวกับความเช่ือกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ว่าพริกเป็นส่ิงท่ีดี
ช่วยปกป้องคุ้มครอง กาจัดโชคร้ายไม่ให้เข้ามาแผ้ว
พานกบั มนษุ ย์ได้
ลานอ่าพู้ (ลายน้าเต้า) เป็นลายท่ีเกี่ยวกับ
ความเช่ือกลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่ โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธ์ุ
ลาหู่เหลืองท่ีนับถือศาสนาคริสต์ที่มีความเชื่อที่เล่าสืบ
ต่อกันมาว่าในคร้ังท่ีน้าท่วมโลก น้าเต้าก็เปรียบได้
เสมือนกับเรือโนอาห์ท่ีหญิงชายชาวลาหู่คู่แรกท่ีพระ
เจ้าสร้างได้เข้าไปหลบภัยในน้าเต้ายักษ์จนรอดชีวติ มา
ได้และก่อกาเนดิ เป็นชนเผ่าลาหเู่ หลืองสบื ต่อมา
กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ ในจังหวัดเชยี งราย | ๓๕
ชาติพันธุ์ “ลาหู่” ศึกษาชาติพันธ์ุและการพัฒนา สถาบันวิจัย
สังคม มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่.
ซา้ ยบน : ลายง้าแป่ (ตาข่าย) ขวาบน : อ่าพู้ (ลายนา้ เต้า) ธันยา พรหมบุรมย์ และวิสุทธร จิตอารี. (๒๕๕๐).
ล่าง : ลายอ๊าเผ่เว้ (ลายดอกพริก) การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา
หัตถกรรมท้องถิ่นและการตลาดในพื้นท่ี
ภาพจาก เอกลักษณ์และศิลปะลวดลายบนผนื ผา้ : ผา้ ทอชนเผ่ามูเซอ (ลาห่)ู โครงการหลวง: กรณีศึกษาผ้าทอชาติพันธ์ุ
https://www.sacict.or.th ลาห่.ู เชียงใหม่ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.
สาริณีย์ ภาสยะวรรณ. (๒๕๕๔). การเมืองของการ
๕. แหลง่ อ้างองิ สร้างภาพตัวแทนทางชาติพันธ์ุในพื้นที่
การทอ่ งเที่ยว: กรณศี กึ ษาโฮมสเตย์ชาวลาหู่
กฤตานน เตชยานนท์ และบังอร ศิริสัญลักษณ์. บ้ า น ย ะ ดู . ศิ ล ป ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต .
(๒๕๕๘). การด้ารงความเป็นลาหู่ในโลก มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.
สมัยใหม่. การประชุมวิชาการระดับชาติ สนิท วงศ์ประเสริฐ และศุภชัย สถีรศิลปิน. (๒๕๒๖).
มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ้าปี ๒๕ ๕ ๘. บ้ า น มู เ ซ อ . ศู น ย์ วิ จั ย ช า ว เ ข า ก ร ม
มหาวิทยาลัยรงั สิต, กรุงเทพฯ. ประชาสงเคราะห์.
สมัย สุทธิธรรม. (๒๕๔๑). มูเซอ. กรุงเทพ: บริษัท
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (๒๕๓๓). ชาวเขา. กรุงเทพฯ: ๒๐๒๐ เวิลด์ มเี ดีย.
แพร่พิทยา. โสฬส ศริ ไิ สย์. (๒๕๓๙). สารานกุ รมกลมุ่ ชนชาติลาหู่.
นครปฐม: พมิ พลักษณ์
เครือข่ายส่ือชนเผ่าพ้ืนเมือง Indigenous Media อภิชาต ภัทรธรรม. (๒๕๕๒). มูเซอ. วารสารการ
Network – IMN ภายใต้เครือข่ายชนเผ่า จดั การป่าไม้. ๓(๕). ๑๒๗-๑๔๒
พ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย (คชท). (ม.ป.ป.). Walker, Anthony R. ๑๙๘๓. The Lahu People:
คู่มือปฏิบัติการส้าหรับคนท้าส่ือกับชนเผ่า An Introduction. Highlanders of
พื้นเมืองในประเทศไทย. เชียงใหม่: โรงพิมพ์ Thailand. Kuala Lumpur: Oxford
AIPP จาากัด. University Press.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร. (๒๕๖๑). กลุ่มชาติพันธ์ุลา
บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. (๒๕๔๕). ชาวไทยภูเขา. กรุงเทพ: หู่. วนั เดือนปีท่เี ข้าถงึ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔.
มติชน. https://www.sac.or.th/databases/ethni
c-groups/ethnicGroups/๙๖.
ปนัดดา บุญยสาระนัย. (๒๕๔๙). ลาหู่ : หลากหลาย สมั ภาษณ์
ชีวิตจากขุนเขาสู่เมือง. เชียงใหม่ : ศูนย์ นายพีรัชชัย แสนทวีเดช ต.ทรายขาว อ.พาน
จ.เชยี งราย (๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔). สมั ภาษณ์
๓๖ | กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ ในจังหวัดเชยี งราย นางปอย บรรณาเลิศต.ทรายขาว อ.พาน
จ.เชยี งราย (๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔). สมั ภาษณ์
ชาติพันธุ์ “ลีซู”
ชาตพิ นั ธ์ุ “ลีซ”ู
LISU
“กลุ่มชาติพันธ์ุลีซู มีชื่อเรียกตนเองว่า ลีซู ที่เกี่ยวกับถิ่นฐานด้ังเดิมรวมถึงวัฒนธรรมชาติพันธุล์ ีซู
และชื่อท่ีผู้อื่นเรียก คือ ลีซู หรือ ลีซอ หมายถึง ชนผู้ มักจะเป็นที่รับรู้กันว่าอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ
ใฝ่รู้แห่งชีวิต มีความหมายมาจากรากศัพท์ ๒ คา คือ จีน แต่ทว่านอกเหนือจากพื้นที่ของประเทศนั้นแล้ว
คาว่า“ลี” มาจากคาว่า “อ๊ิหล่ี” ซึ่งหมายถึง จารีต ก็มีคนที่รู้จักลีซูและวัฒนธรรมลีซูไม่มากนักเน่ืองด้วย
ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีปฏิบัติแห่งชีวิต ส่วนคาที่ ขอ้ มูลประวตั ิศาสตรท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั กลมุ่ ชาติพันธ์ุลีซูน้ัน
สองคือคาว่า “ซู” มีความหมายว่า ศึกษา การเรียนรู้ ไม่มีหลักฐานท่ีแน่ชัด ทาให้ประวัติการเข้ามาตั้งถิ่น
ท้งั การเรยี นรใู้ นเชงิ ทฤษฏีและเชงิ ปฏบิ ัติ” ฐานในประเทศไทยของกลุ่มชาติพันธลุ์ ีซูนนั้ มีบันทึกไว้
หลากหลาย บ้างก็บันทึกไว้ว่าชาวลีซกู ลุ่มแรกท่ีเข้ามา
๑. ประวตั ศิ าสตร์ความเปน็ มาของชาติพนั ธุ์ ได้อาศัยอยทู่ อ่ี าเภอฝางก่อนซงึ่ ก็คือราวปี พ.ศ. ๒๔๘๘
บ้างกบ็ ันทึกวา่ น่าจะราวปีพ.ศ. ๒๔๖๔ โดยส่คี รอบครวั
ข้อมูลประวัติศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มชาติ แรกได้เดินทางเข้ามาเป็นผู้ก่อต้ังหมู่บ้านดอยช้าง
พนั ธล์ุ ีซูน้นั ไมม่ หี ลกั ฐานท่ีแน่ชัด ซง่ึ มผี ู้สนั นิษฐานไว้ว่า อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย และในปีต่อมาอีก
อาจเป็นเพราะกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูไม่มีภาษาเขียนเป็น ๑๕ ครอบครัวจงึ ไดอ้ พยพตามเขา้ มา
ของตนเอง จึงทาให้ไม่มีการจดบันทึกประวัติศาสตร์
ของตัวเอง หรืออาจเป็นไปได้ว่าในช่วงห้าศตวรรษที่ สาหรับในจังหวัดเชียงราย การเข้ามาตั้งถ่ิน
ผ่านมากลุ่มชาติพันธุ์ลีซูมีการอพยพย้ายถิ่นฐานกัน ฐานของกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุลีซู มผี อู้ ธิบายไว้วา่ เมื่อประมาณ
บ่อยคร้ัง และการย้ายถ่ินฐานแต่ละครั้งมักจะเป็นการ ปี พ.ศ ๒๔๖๔ กลุ่มชาติพันธ์ุลีซูกลุ่มแรกที่เข้ามาต้ัง
เล่ียงเพ่ือนบ้านผู้ซ่ึงมีอานาจและมีการศึกษามากกว่า ถิ่นฐานเป็นชุมชนท่ีบ้านหว้ ยส้าน อาเภอเมือง จังหวัด
การย้ายถิ่นฐานบ่อยครั้งเช่นน้ีก็อาจเป็นส่วนหน่ึงที่ทา เชียงราย ประกอบไปด้วย ๔ ครอบครัว เมื่ออยู่อาศัย
ใ ห้ ช า ว ลี ซู รู้ สึ ก ถึ ง ค ว า ม ไ ม่ จ า เ ป็ น ใ น ก า ร บั น ทึ ก ได้ประมาณ ๕ - ๖ ปี ได้มีการแยกไปอยู่ท่ีหมู่บ้าน
ประวัตศิ าสตรข์ องตัวเองข้นึ มาก็เปน็ ได้ แต่ท้งั นขี้ ้อมูล ดอยช้าง ตาบลวาวี อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ ในจังหวัดเชยี งราย | ๓๗
ชาติพันธุ์ “ลีซู” และหลังจากน้นั ตอ่ มากลมุ่ ชาติพันธลุ์ ีซไู ดโ้ ยกยา้ ยไปต้ัง ของคนชุมชน ทาาหน้าที่ให้คาปรึกษาในกิจกรรมหรอื
บ้านเรือนอยู่อาศัยในท้องที่อาเภออื่นในจังหวัด ขอ้ พพิ าทต่าง ๆ ของชมุ ชนร่วมกับฆว่าทูว์
เชียงราย
๓. มือหมือผะ คอื ผู้นาพธิ กี รรม เปน็ ผนู้ าของ
สาหรับกลุ่มชาติพันธ์ุลีซูในจังหวัดเชียงราย ชุมชนในด้านการประกอบพิธีกรรมตามกาหนดเวลา
ทอ่ี าศัยอย่ทู ่ีหมูบ่ า้ นบ้านปางสา ตาบลปา่ ตงึ อาเภอแม่ ประจาปี และเป็นผู้ดูแล “อาปาโหม่ฮี” หรือศาลเจ้า
จัน ซึ่งประชากรท่ีอาศัยอยู่ในหมู่บ้านบ้านปางสาเป็น ประจาหมู่บ้าน แต่ละชุมชนมีมือหมือผะได้เพียงคน
หมู่บ้านของหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวลีซู (ลีซอ) เดียว คนทจ่ี ะเปน็ มอื หมือผะได้คือ ผู้ชายทีเ่ ปน็ หัวหน้า
ลาหู่ (มเู ซอร์) และจีนยูนาน เปน็ กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุทอ่ี พยพ ครัวเรือนมีความรู้ในเรื่องจารีตและขนบธรรมเนียม
มาจากบ้านห้วยมะหินฝน ตาบลป่าตึง อาเภอแม่จัน ประเพณี รู้จักวิธีการและกระบวนการประกอบ
และ บ้านหัวแม่คา อาเภอแม่ฟ้าหลวง ใน พ.ศ. ๒๕๐๔ พธิ กี รรมของสว่ นรวมและมีความสมัครใจ
และหลังจากน้ันเกิดการพัฒนาหมู่บ้านครั้งแรกเม่ือ
เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๖ คุณเตือนใจ ดีเทศน์ เขา้ มา ๔. หนี่ผะ คือ หมอผีหรือร่างทรง เป็นผู้
สารวจหมู่บ้าน และในเดือนเมษายน ๒๕๑๗ ได้สร้าง ประกอบพิธีกรรมที่เก่ียวกับความโชคร้าย และปัญหา
โรงเรียนและเร่ิมมกี ารเรยี นการสอนโดยเวลากลางวัน ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ทาหน้าท่ีเป็นส่ือกลางใน
จะสอนเด็กเรียนและกลางคืนจะสอนการศึกษาผใู้ หญ่ การติดต่อสื่อสารกันระหว่างคนกับผี โดยเฉพาะอย่าง
ในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ได้เกิดศูนยส์ งเคราะห์ชาวเขาขน้ึ ย่ิงผีบรรพบรุ ุษและผอี ารกั ษท์ อ่ี ยูใ่ นบา้ น
ปจั จบุ นั ในจงั หวัดเชียงรายพบพืน้ ทีท่ ก่ี ลุ่มชาติ ในปัจจุบันโครงสร้างการปกครองของชาติ
พันธุ์ลีซูกระจายตัวตงั้ ถน่ิ ฐานอยู่ในหลายอาเภอ ได้แก่ พันธุ์ลีซูในจังหวัดเชียงราย มีการปกครองโดย
อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอ ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นาชุมชนที่ได้รับการแต่งต้ังข้ึนมา
แม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอพาน และมีกฎระเบียบของชุมชนที่กาหนดเพ่ิมขึ้นมา เช่น
และอาเภอเวียงชยั กฎระเบียบการดูแลพ้ืนท่ีป่าชุมชนของชุมชนบ้านปาง
สา ตาบลป่าตึง อาเภอแม่จัน ที่มีกฎระเบียบที่ชัดเจน
๒. โครงสรา้ งทางสังคม มีการลงโทษ อีกทั้งยังมีคณะกรรมการดาเนินงานใน
การดูแลพืน้ ท่ปี า่ ชมุ ชนอกี ด้วย ตัวอย่างของกฎระเบียบ
๒.๑ การปกครอง เช่น ห้ามบุกรุกแผ้วถางป่าชุมชน ห้ามจุดเผาป่า
ในอดีตโครงสร้างการปกครองของกลุ่มชาติ (ยกเวน้ พืน้ ท่ที ากนิ ทีต่ ิดกับพ้ืนท่ีป่าชมุ ชน ต้องทาแนว
พันธ์ุลีซู จะประกอบด้วย ส่วนของผู้นาชุมชนและสว่ น กันไฟ) ห้ามขยายพื้นที่ ทากินในเขตป่าชุมชน
ของผู้นาด้านพิธีกรรม ซ่ึงประกอบด้วยบุคคลสาคัญ ห้ามชาวบ้านนอกเขตหมู่บ้านปางสาใช้ประโยชน์จาก
ดังนี้ ป่าชุมชน เป็นต้น ส่วนการลงโทษ ยกตัวอย่างเช่น ตัด
๑. ผู้นำชุมชน หรือท่ีกลุ่มชาติพันธ์ุลีซู ต้นไม้ทาฟืน เผาถ่าน ปรับ ๓๐๐ บาท(ยกเว้นไม้ตาย
เรียกว่า ฆว่าทูว์ ซึ่งตาแหน่งน้ีจะถูกคัดเลือกและ แล้ว) จุดไฟเผาป่าปรับ ๑,๐๐๐ บาท บุกรุกพ้ืนท่ีป่า
แต่งตัง้ โดยชาวบ้าน ทาหนา้ ท่ีในการปกครองชุมชน ชุมชน(ขยายพื้นที่ทากิน)ปรับ ๑,๐๐๐ บาทและให้
๒. ผู้อำวุโส หรือที่กลุ่มชาติพันธ์ุลีซู เรียกว่า ปลูกทดแทนพร้อมดูแลรักษาอีก ๓ ปี หากเป็น
โชโหม่วโชตี เป็นบุคคลท่ีมีอายแุ ละเป็นท่ีเคารพนับถือ ชาวบ้านนอกเขตหมู่บ้านปาง สา หากละ เมิด
กฎระเบยี บปรับเปน็ สองเทา่ ของหม่บู า้ น เป็นตน้
๓๘ | กลมุ่ ชาติพันธุ์ ในจงั หวัดเชียงราย
๒.๒ ผู้นา/บคุ คลสาคญั ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ เมตร และเป็นบริเวณที่มีน้าใช้ ชาติพันธุ์ “ลีซู”
ชาวลีซู เป็นชาติพันธ์ุท่ียังคงมีความเชื่อใน สะดวก มีธารนา้ ไหลผา่ น มีแอ่งน้าหรอื บอ่ นา้ ซับ ซึง่ ตกั
เรื่องของผี และวิญญาณของบรรพบุรุษ ซึ่งจะเป็นวิถี ใช้ได้ตลอดปี โดยชุมชนลีซูมักตั้งอยู่บนเนินเขา ส่วนที่
ชวี ติ ทยี่ งั คงอยูค่ ูก่ ับสงั คมของชาวลซี ู จึงยงั มีการดาเนิน สู ง ที่ สุ ด ข อ ง ห มู่ บ้ า น จ ะ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ข อ ง ศ า ล ผี ป ร ะ จ้ า
พธิ กี รรมความเช่ือต่าง ๆ ตามโอกาสสาคญั ฉะนั้นแล้ว หมู่บ้านหรือศาลผีปู่ตาผู้เฒ่าซ่ึงเป็นที่เคารพ โดยมี
ผู้นาหรือบุคคลสาคัญของกลมุ่ ชาติพันธุ์จึงเก่ียวข้องกับ ความเชื่อว่าท่านปกครองดูแลรักษาชุมชนท้าให้ชุมชน
ความเช่ือและพิธีกรรมต่าง ๆ ดังรายละเอียดใน มีความอุดมสมบูรณ์อีกทั้งเป็นการป้องกันคุณไสยให้
ขอ้ ๒.๑ ชมุ ชนอกี ดว้ ย
๒.๓ ระบบครอบครวั และเครอื ญาติ
ระบบครอบครัวและเครือญาติของชาติพันธ์ุ ในส่วนการเลือกถ่ินฐานที่ตั้งของชาติพันธุ์ลีซู
ลีซูเน้นให้ความสาคัญกับตระกูลของฝ่ายชาย ดังน้ัน ในจังหวัดเชียงรายในปัจจุบันนั้น พบว่าส่วนใหญ่ยัง
กล่มุ ชาติพนั ธุ์ลซี ูจงึ เปน็ กลุ่มชาตพิ ันธุท์ ี่สืบเช้ือสายทาง คล้ายคลึงกับในอดีต คือการเลือกพื้นที่ท้ากินจะเลือก
บิดา หากบุตรชายคนโตแต่งงานต้องนาภรรยาเข้ามา พนื้ ทีท่ ่เี ป็นเนนิ เขา มีแหล่งน้าตามธรรมชาติ เน่อื งจาก
อยู่บ้านบิดามารดาของตน ฝ่ายหญิงต้องใช้นามสกุลผู้ ต้องอาศัยแหล่งน้าตามธรรมชาติและน้าฝนในการ
เป็นสามี เซ่นไหว้บรรพบุรุษของสามี เพราะถือว่า เพาะปลูกท้า การเกษตร และน้าประปาภูเขา ดังเช่น
บุตรชายเป็นผู้ได้รับมรดกสืบแซ่สกุลและบุตรชายคน หมูบ่ า้ นปางสา อา้ เภอแม่จัน ทีม่ ีอาณาเขตทิศเหนือติด
โตเป็นใหญ่ในบรรดาพ่ีน้อง ถ้าน้องชายแต่งงาน กับป่าสงวนแห่งชาติแม่ค้า – แม่สลอง และทิศใต้ติด
บุตรชายคนโตท่ีมีครอบครัวแล้วจะแยกเรือนออกไป กบั ปา่ ชุมชนบ้านปางสา (ปา่ อุทยานแหง่ ชาติล้านา้ กก)
อยู่ต่างหาก สภาพทางครอบครัวโดยทั่วไปของกลุ่ม
ชาติพันธุ์ลีซู ผู้ชายจะมีสถานะในครอบครัวท่ีสูงกว่า ชุมชนหมูบ่ ้านปางสา
ผู้หญิงในเรื่องการตัดสินใจต่าง ๆ ในครอบครัว ดังนั้น
จะเห็นได้ว่าทั้งการสืบเชื้อสายสกุลและสถานะใน ภาพจาก ชัชวาล หลียา พ.ศ.๒๕๖๔
ครอบครัว จึงทาให้กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ลซี หู ลายครอบครัวจึง
อยากมลี กู ชายไวส้ ืบสกุล ส่วนลักษณะบ้านของชาติพันธุ์ลีซูในอดีตน้ัน
ขนาดครัวเรือน ในอดีตครอบครัว ของ ตัวบ้านจะอยู่ติดกับพื้นดินและมุงหลังคาด้วยหญา้ ไพร
ชาติพันธุ์ลีซูนั้นเป็นลักษณะครอบครัวขยาย โดยเป็น โดยสว่ นประกอบหลักของการสรา้ งบ้านคือไมไ้ ผ่ ซึง่ จะ
ครอบครัวขนาดใหญ่ มีสมาชกิ ประมาณ ๑๐ คน แตใ่ น ท้าเป็นฐานรองรับหญ้าไพรบนหลังคาและไม้ฟาก
ปัจจุบันขนาดของครอบครัวได้เปล่ียนแปลงไป โดย ส้าหรับท้าฝาผนัง ซ่ึงการสร้างบ้านด้วยหญ้าไพ ร
เป็นครอบครัวขนาดกลาง มีสมาชิก ๔ - ๕ คน ดังกล่าวจะมีการร้ือและท้าการสร้างหลังคาใหม่ทุก ๆ
ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก บางครอบครวั มีลกู ๓ - ๕ คน ๓ - ๔ ปี อย่างไรก็ตาม การสร้างบ้านแบบด้งั เดิมไม่ได้
รับความนิยมอีกต่อไปเน่ืองจากวัตถุดิบไม่สามารถหา
๓. วถิ ีชีวติ ความเปน็ อยู่ ไดง้ ่ายและคนร่นุ ใหม่มุ่งใหค้ วามสนใจกบั การสรา้ งบ้าน
ที่เน้นความทันสมัย ทนทานต่อสภาพอากาศใน
๓.๑ ทีอ่ ยู่อาศยั ปัจจุบัน และรสนยิ มสว่ นตวั กนั มากขน้ึ
การเลือกถ่ินฐานท่ีตงั้ ของชาติพันธุ์ลีซูมกั นิยม
ต้ังถิ่นฐานชุมชนอยู่ในบริเวณท่ีเป็นภูเขาซึ่งมีความสูง ปั จ จุ บั น ลั ก ษ ณ ะ บ้ า น ข อ ง ช า ติ พั น ธ์ุ ลี ซู ใ น
จังหวัดเชียงราย ยังสามารถพบเห็นลักษณะบ้านที่
กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ ในจงั หวัดเชียงราย | ๓๙
ชาติพันธุ์ “ลีซู” คล้ายคลึงกับในอดีตท่ีผ่านมา ซึ่งลักษณะหลังคาบ้าน ๓.๒ การประกอบอาชีพ
ยงั เป็นการมงุ หลงั คาดว้ ยหญา้ ไพร รวมถงึ ลักษณะบ้าน ในอดีตระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๑๓-๒๕๒๑ เป็น
ท่ีทันสมัย โครงสร้างที่ใช้วัสดุที่ทนทานแข็งแรง ยุคเศรษฐกจิ เพ่อื การยงั ชีพ อาชีพของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซู
แปรเปล่ียนไปตามกาลเวลา แต่ท้ังนี้องค์ประกอบของ จงึ เปน็ อาชีพทเี่ น้นการปลูกฝนิ่ และการทาไร่หมนุ เวียน
บา้ นยงั คลา้ ยคลึงกบั อดีตที่ผ่านมา คือจะมที เ่ี กบ็ ฟืนอยู่ ปลูกข้าวไร่ ข้าวโพด อีกทั้งยังมีการปลูกผัก พืชพันธุ์
หน้าบ้าน มีการสร้างห้องครัวแยกออกจากตัวบ้าน ต่าง ๆ ไว้สาหรับบริโภคเองด้วย เช่น ข้าวฟ่าง ขิง
มีการแยกห้องนอนของเพศชาย-หญิงอย่างชัดเจน มันฝร่ัง พริก ถั่ว ฟักทอง และแตงต่าง ๆ รวมถึงการ
โดยห้องนอนของพ่อกับลูกชายจะอยู่ด้านขวามือ เล้ียงสัตว์ เช่น หมู ไก่ เป็ด แพะ วัว และควาย
หอ้ งแม่และลกู สาวหรอื ลกู สะใภ้จะอยดู่ ้านซา้ ยมอื โดยแรกเร่ิมนั้นการเลี้ยงสัตว์ยังเป็นการเลี้ยงเพื่อการ
บริโภคในชุมชนมากกว่า แต่ต่อมาได้มีการเลี้ยงเพ่ือ
บ้านของชาตพิ ันธลุ์ ีซู หมู่บ้านปางสา อ.แมจ่ ัน จ.เชียงราย การคา้ มากข้ึน
ในปัจจุบันอาชีพชองชาติพันธ์ุลีซูในจังหวัด
แผนผงั องคป์ ระกอบของบา้ นชาตพิ ันธุ์ลซี ู เชียงราย ส่วนมากชาวลีซูนิยมประกอบอาชีพทา
หม่บู ้านปางสา อ.แมจ่ ัน จ.เชยี งราย การเกษตรเปน็ อาชีพหลกั ไดแ้ ก่ การทาไร่ปลูกขา้ วโดย
ข้าวท่ีปลูกจะเป็นการปลูกข้าวไร่และข้าวนา ทาไร่
๔๐ | กลมุ่ ชาติพันธ์ุ ในจังหวัดเชยี งราย ข้าวโพดเพ่ือเล้ียงสัตว์และขาย นอกจากนั้นยังมีการ
ปลูกถั่วเหลือง ขิง สวนล้ินจ่ี และการทาสวนแบบ
ผสมผสาน ส่วนอาชีพรอง ได้แก่ การรับจ้างทางานใน
ชมุ ชน ต่างชุมชน ตา่ งจังหวดั ตา่ งประเทศ และการหา
ของป่าขาย เช่น ก๋ง หน่อไม้ อีกทั้งยังมีอาชีพที่ทา
ร่วมกันในชุมชน เช่น การท่องเที่ยว การทาโฮมสเตย์
อาทิเช่นในหมู่บ้านปางสา อาเภอแม่จัน มีการทาปาง
สาโฮมสเตย์ท่ีดาเนินการโดยคนในชุมชน เป็นการ
ท่องเท่ียวและการพักผ่อนท่ีมีกิจกรรมต่าง ๆ อิงตาม
วิถีของชาติพันธ์ุลีซู ทาให้ชาติพันธุ์ลีซูยังอนุรักษ์
วิถีชีวิตของตนเอง และเผยแพร่วิถีชีวิตให้คนรู้จัก
ชาตพิ นั ธุล์ ีซูมากข้นึ
๓.๓ อาหาร
สาหรับอาหารของชาติพันธ์ุลีซูน้ัน เน่ืองจาก
ชาติพันธุ์ลีซูในจังหวัดเชียงรายนิยมประกอบอาชีพทา
การเกษตรเป็นหลัก ดังนั้นอาหารของชาติพันธ์ุลีซูจึง
เป็นอาหารที่ปรุงมาจากวัตถุดิบที่สามารถหาได้ง่าย
ตามพื้นที่หมู่บ้าน ทั้งน้ีอาหารท่ีเป็นที่นิยมของชาติ
พันธุ์ลีซู คือ น้าพริกมะเขือเทศ หรือในภาษาลีซู
เรียกว่า “จ๊ะสู่” ซ่ึงเป็นน้าพริกท่ีปรุงจากมะเขือเทศ ๔.๒ พธิ กี รรม ความเช่ือ ชาติพันธุ์ “ลีซู”
พริกป่น กระเทียม ผักชี เกลือ และผงชูรส วิธี กลุ่มชาติพันธ์ุลีซูเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุหน่ึงท่ีมี
รับประทานโดยเอาจ้ิมกบั ผกั สดหรอื ราดบนจานขา้ วได้ พิธี ก ร ร มที่ถือ ปฏิบัติใน รูปแบบที่หลาก หลาย
ทั้งพิธีกรรมระดับบุคคล พิธีกรรมระดับครัวเรือน
นอกจากนก้ี ลมุ่ ชาตพิ ันธล์ุ ซี ใู นจงั หวัดเชยี งราย พิธีกรรมระดับตระกูล และพิธีกรรมระดับหมู่บ้าน
ยังมีความสามารถในการถนอมอาหารที่ได้มาจาก ซ่ึงแต่ละพิธีกรรมล้วนแล้วแต่มีความหมายต่อการ
วัตถุดิบท่ีหาได้ โดยส่วนมากจะใช้วิธีการดองและตาก ดารงชีวติ ของชาตพิ ันธล์ุ ซี ทู งั้ ส้นิ ยกตวั อยา่ งเช่น
แหง้ เชน่ หนอ่ ไม้ดอง เนอ้ื สตั วต์ ากแหง้ ผักดองและผกั พิธีกรรมระดบั บคุ คล
ตากแห้ง อีกทั้งยังมีการแปรรูปวัตถุดิบจากผลิตภัณฑ์ พิธีกรรมระดับบุคคลของ ชา ติพันธ์ุ ลี ซู ส่ ว น
การเกษตรของตนเอง เช่น การทาน้าเตา้ หู้ และการทา ใหญ่จะเป็นพิธกี รรมที่เกย่ี วข้องกับสขุ ภาพร่างกายและ
เตา้ หู้กอ้ น อีกดว้ ย จิตใจของชาติพันธ์ุลีซู ซึ่งในปัจจุบันการเข้าร่วม
พิธีกรรมระดับบคุ คลของสมาชิกในครอบครัวชาติพันธุ์
๔. วฒั นธรรมและประเพณี ลีซูในจังหวัดเชียงราย สามารถยืดหยุ่นได้ตามความ
สะดวกของสมาชิกแต่ละคน พิธีกรรมระดับบุคคลมี
๔.๑ ศาสนา ดงั นี้
ความเช่ือของชาติพันธ์ุลีซูน้ัน คือมีความเช่ือ • พิธีกรรม “ต๊ะเฉำะ” จะกระทาเม่ือรู้สึกไม่
เรื่องผี การเคารพวิญญาณบรรพบรุ ษุ และศาสนาพุทธ สบาย ทานอาหารไม่อร่อย หรือเมื่อหมอผีได้
ท้ังน้ีชาติพันธ์ุลีซูท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทยส่วนใหญ่ ทาการสวดภาวนาแล้วพบว่าควรทาพิธีกรรม
ยังคงมีความเช่ือเรื่องการกราบไหว้บรรพบุรุษ หรือ นี้ โดยปกติจะทาร่วมกันกับพิธี “ซะละฉา”
ศ า ส น า ที่ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ วิ ญ ญ า ณ บ ร ร พ บุ รุ ษ หรือสร้างศาลา แต่หากต้องการทาพิธีน้ีอย่าง
“วญิ ญาณนยิ ม” รวมถงึ การใหค้ วามเคารพต่อสรรพส่ิง เดียวกท็ าไดเ้ ช่นกนั
ท่ีจาเป็นต่อการดาเนินชีวิต เช่น การทาพิธีเซ่นไหว้ • พิธีกรรม “ซะละฉำ” เป็นพิธีการสร้างศาลา
ให้กับ ผีน้า ผีเจ้าท่ี เช่น ที่ดิน ป่า ไร่ ต้นไม้ สัตว์ป่า (อาจเรียกว่า “ทานศาลา”) จะกระทาเม่ือ
และก้อนหิน เป็นต้น ส่วนศาสนาคริสต์มีการนับถือ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรงหรือให้หมอผีทาพิธี
เป็นบางส่วน และมีการนับถือศาสนาอิสลามเป็น สวดและฟังผลการสวดว่าเป็นเพราะอะไร
บางส่วนเนื่องมาจากการแต่งงานกับฝ่ายชายซ่ึงเป็น พิธีกรรมน้ีได้รับความนิยมในกลุ่มผู้อาวุโส
อิสลาม (มาจากภาคใต้) ส่วนลีซูท่ีอาศัยอยู่ในประเทศ เนื่องจากเช่ือว่าเป็นพิธีกรรมที่ทาให้พวกเขา
พม่า จนี และอนิ เดยี โดยส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาคริสต์ เหล่านน้ั อายุยืน โดยจะกระทาทกุ ๆ ๓ - ๔ ปี
ในปัจจุบันด้วยเวลาท่ีเปล่ียนแปลงไป ทาให้ มีความเช่ือว่าสถานท่ีที่เหมาะสมสาหรับทา
วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ุลีซูน้ันเปล่ียนแปลงไปด้วย พิธีกรรมคือบริเวณที่มีคนน่ังพักบ่อย ๆ เช่น
แต่ความเช่ือในเร่ืองผี และการเคารพวิญญาณ บรเิ วณแยกต่าง ๆ เวลาทมี่ ีคนเดินทางไปไร่ ก็
บรรพบุรุษยังคงมีให้ในบริบทของกลุ่มชาติพันธ์ุลีซูใน จะน่ังพักศาลาน้ีและเวลาท่ีผู้คนน่ังพักแล้ว
ปัจจุบัน ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากค่านิยมการยึดถือจารีต ประทับใจ จะพูดความรู้สึกที่ดีออกมา และ
ประเพณีทีส่ บื ทอดกันมายังมีความเหนียวแน่นจึงทาให้
ความเชื่อต่าง ๆ ต้ังแต่ในอดีตยังมีอิทธิพลต่อกลุ่มชาติ กลุ่มชาติพนั ธุ์ ในจงั หวดั เชียงราย | ๔๑
พันธลุ์ ซี ูอยนู่ ัน่ เอง
ชาติพันธุ์ “ลีซู” คาพูดดังกล่าวจะส่งผลให้เจ้าของศาลารู้สึก • พธิ กี รรม “อ๊ิดำมำลัว” เปน็ พธิ กี รรมท่เี ร่ิมทา
สบายใจและมีแรงมากขน้ึ ช่วงหลังปีใหม่ ก่อนท่ีจะลงมือทาการเกษตร
• พิธีกรรมเรียกขวัญ หรือ “โชฮำคู” จะ ใด ๆ พิธีขอขมากับ “อิด่ะมา” เพ่ือให้ความ
กระทาเมื่อมีอาการ เช่น อารมณ์แปรปรวน คุ้มครองกับเจ้าของที่จะทาไร่ พิธีกรรมน้ีจะ
หงดุ หงดิ งา่ ยเมอื่ ไดย้ นิ คนอืน่ พดู (แมค้ นอืน่ จะ ถูกจัดท่ีศาลเทพเจ้าแห่งขุนเขา โดยศาลน้ีจะ
พูดดีด้วย แต่ฟังอย่างไรก็ไม่รู้สึกสบอารมณ์) ตั้งอยู่เหนือบริเวณศาลเจ้าประจาหมู่บ้าน
จิตใจไม่สงบ บางคร้ังรู้สึกเหมือนมีเสียง หรือ "อาปาโหม่ฮี"
ออกมาจากหูหรือหูอื้อ ซึ่งหมายความได้ว่า
ขวญั หาย นอนละเมอและถูกผีอาบ่อย (แสดง • พิธีกรรม “ชูฮำเก๊ียะ” เป็นพิธีกรรมท่ีจัดทา
ว่าขวัญอยกู่ บั ผ)ี หรอื ฝนั ไมด่ ีบอ่ ยครง้ั เชน่ ฝนั พิธีกรรมท่ีจัดทาข้ึนหลังเสียชีวิตของสมาชิก
ว่ามีลูก ฝันถึงผีร้าย ฯลฯ ด้วยอาการที่กล่าว ในครอบครัว ๗ วัน พิธีกรรมนี้จัดข้ึนเพ่ือ
มาข้างต้น ทาให้ต้องมีพิธีกรรมนี้เพื่อเรียก ต้องการทราบถึงสาเหตุของการเสียชีวิต โดย
ขวัญกลบั มาสูโ่ ลกมนษุ ย์ หมอผีจะทาหน้าท่ีส่ือสารกับวิญญาณของ
พธิ กี รรมระดบั ครัวเรอื น ผู้เสียชีวิต ซ่ึงพิธีกรรมน้ีเป็นท้ังพธิ ีกรรมระดบั
• พิธีกรรม “คุ๊สัว” เป็นพิธีกรรมที่กระทาหลัง บุคคลและระดับครัวเรือน การเข้าร่วมของ
ปีใหม่ กระทาเพ่ือต้องการนาเอาสิ่งไม่ดีออก สมาชิกในครอบครัวสามารถยืดหยุ่นได้ ตาม
จากบ้าน ให้ความโชคร้ายในปีท่ีผ่านมา ความสะดวกของสมาชิกแต่ละคน
หายไปกับสง่ิ ของที่เซน่ ไหว้ในพธิ ี อาจเป็นช่วง พิธีกรรมระดับตระกูล
เดือนไหนกไ็ ดแ้ ต่ไม่ควรรอนานเกินไปเพราะมี
ความเช่ือว่าผี “คุ๊สัว” ที่เป็นผีที่ดุร้ายที่สุดใน • พิธีกรรม “ฉะลั๊วะ” จะกระทาเมื่อคนใน
บรรดาผีท้ังหมด หากล่าช้าเกินไปอาจทาให้มี ต ร ะ กู ล ใ ด ต ร ะ กู ล ห นึ่ ง ฆ่ า ตั ว ต า ย บ่ อ ย ค รั้ ง
เหตุที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้ พิธีกรรมน้ีมีความ สถานท่สี าหรับจดั ทาพิธนี ี้คือบริเวณที่มีลาธาร
จาเป็นอย่างยิ่งที่สมาชิกในครอบครัวจะต้อง เล็กๆ เพ่ือเดินข้ามเวลาท่ีทาพิธี ทั้งนี้ มีความ
เขา้ ร่วมพธิ ี เช่ือว่า เวลาที่ลอดใต้อุโมงค์ใบไม้แล้ว
• พิธีกรรม “ชือ แป๊ะ ก๊ัวะ” หรือพิธีกิน วิญญาณร้ายจะไหลไปกับลาธาร ข้อสาคัญ
ข้าวโพดใหม่ เป็นพิธีกรรมท่ีจะต้องทาในแต่ ระหว่างปฏิบัติพิธีกรรมน้ีคือ ห้ามหันหลัง
ละปี โดยจะเร่มิ ขนึ้ ในเดือน ๗ ของลีซู ซง่ึ ตรง ให้กับคนอ่ืนซึ่งอยู่ระหว่างการลอดใต้อุโมงค์
กับเดือนมิถุนายนของไทย เป็นพิธีท่ีชาวลีซู ใบไม้เช่นกัน มิเช่นน้ันวิญญาณร้ายจะตามมา
การเอาพืชผักท่ีเราปลูกหรือพืชต่างๆ มาเซ่น ดว้ ย พธิ กี รรมนมี้ อี ยู่ ๒ แบบ แบบใหญเ่ รยี กว่า
ไหว้ให้กับวิญญาณบรรพบุรุษ ส่งผลให้ “ฉะแน” หรอื “ฉะสีดา” และ “ฉะซัว” หรอื
วิญญาณบรรพบุรุษได้ทานส่ิงของเซ่นไหว้ “ฉะเล็ก” ท้ังสองสิ่งนี้ต่างกันท่ีสัตว์บูชา สุนัข
และขอขอบคุณส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีช่วยดูแลพืชผล และไก่ ที่ไม่นิยมทาแบบใหญ่ในปจั จบุ นั เพราะ
ตลอดปที ่ีผา่ นมา อตั ราการฆ่าตวั ตายยงั ไมส่ งู เกนิ ไป
โดยส่วนใหญ่พิธีกรรมระดับครัวเรือนและ
๔๒ | กลุ่มชาติพนั ธ์ุ ในจังหวัดเชียงราย
พิธีกรรมระดับตระกูล เป็นพิธีกรรมท่ีสมาชิกใน
ครอบครัวจะตอ้ งเข้ารว่ มพธิ ี แต่ในสถานการณป์ ัจจุบัน
ท่ีวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูในจังหวัดเชียงรายและ ชาติพันธุ์ “ลีซู”
จังหวัดอื่น ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไป สมาชิกในครอบครัว
ของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูได้แยกย้ายไปอาศัย หรือไป เครือ่ งเซน่ ไหว้ในพิธีบวชปา่
ทางานในแต่ละที่แตกต่างกัน ทาให้ไม่สะดวกเข้าร่วม
พิธีได้ ดงั นน้ั จึงมคี วามจาเป็นในการปรบั การปฏิบัติต่อ ภาพจาก ชชั วาล หลยี า พ.ศ. ๒๕๖๔
พิธกี รรมต่าง ๆ และต้องยอมรบั กับสถานการณ์เหล่าน้ี
๔.๓ ประเพณี
พธิ กี รรมระดับหมบู่ ำ้ น ประเพณีที่ส้าคัญของกลุ่มชาติพันธ์ุลีซู คือ
• บวชป่ำ ผู้ชายตัวแทนครอบครัวละ ๑ คน ประเพณีปีใหม่ “โข่เซย่ีย” เพราะเช่ือว่าเป็นวันส้าคัญ
นาเคร่ืองเซ่นจะมีหมูและไก่ ไปทาพิธีร่วมกัน ท่ีจะได้เริ่มต้นสิ่งดี ๆ ในชีวิต ส่วนมากในวันข้ึนปีใหม่
ทง้ั หมู่บา้ นท่ีป่าบนดอย กลุ่มชาติพันธ์ุลีซูทุกคนจะอยู่พร้อมหน้ากันทุกคนใน
• ซ่อมแซมศำลเจ้ำ (เฮ้อย่ีปำ) จะจัดขึ้นใน ครอบครัว และจะแต่งกายชุดประจ้าเผ่าชุดใหม่ท่ีมี
วันท่ี ๗ ของเดือน “เฮ้อยีปา” (เดือน ๒ ของ สีสันสวยสดงดงาม มกี ารบรรเลงดนตรรี อ้ งเพลงเต้นร้า
ลีซู) พิธีจัดข้ึนท่ีศาลเจ้า “อาปาโหม่" โดยมี ร่วมกันอย่างสนุกสนาน โดยจะจัดขึ้นในวันที่ ๑ เดือน
การทาพิธีเซ่นไหว้ “อาปาโหม่" และพัฒนา
ศ า ล เ จ้ า มี ก า ร เ ส ว น า แล ก เปลี่ยน กั น ๑ ของเดือนลีซู ซ่ึงลีซูเรียกเดือนน้ีว่า “โข่เซยี่ยอาบา”
ซึ่งผู้เข้าร่วมพิธีนี้จะมีแต่ผู้ชายเท่านั้นเท่าน้ัน
เพราะถือว่า “เฮ้อยีปา” เป็นการเฉลิมฉลอง เป็นวันที่มีความสาคัญมากสาหรับชาวลีซู เพราะ
ปีใหม่ของผู้ชาย ตลอดจนมีการขอศีลขอพร
จากเทพอาปาโหม่ เพอ่ื ให้พชื ผกั เจรญิ งอกงาม ชาวลีซูเชื่อว่าเป็นวันที่เร่ิมต้นสาหรับชีวิตและส่ิงใหม่
ทากิจกรรมใดก็ขอให้ประสบความสาเร็จทุก
อย่างใหช้ วี ิตอยอู่ ย่างมคี วามสขุ ให้ส่ิงเก่าๆ ที่ไม่ดีหมดไปพร้อมกับปีเก่า ซึ่งประเพณีปี
• พธิ ขี อบคณุ เทพ (ฉวอื แป๊ะกว๊ั ะ) มีข้นึ ในวนั ที่
๑๒ - ๑๔ เดือน ๗ “ซยี่ฮา” เป็นพิธีแสดง ใหม่ของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซู จะขึ้นจัดเป็นจ้านวน ๓ วัน
ค ว า ม ข อ บ คุ ณ เ ท พ เ จ้ า ที่ ช่ ว ย ดู แ ล รั ก ษ า
พืชพรรณธัญญาหารของชุมชน ให้มีความ โดยมีกิจกรรมต่างๆ คือ วันแรกของปีใหม่ หรือท่ีกลุ่ม
อุดมสมบูรณ์เจริญเติบโตจนได้ผลผลิตในช่วง ชาติพันธ์ุลีซูเรียกว่า “อำพูวท่ีงี” ในวันน้ี ทุกบ้าน
ตลอดปีที่ผ่านมา พิธีกรรมจะไม่เหมือนกัน
เพราะว่าแต่ละตระกูลจะมีรายละเอียดของ จะต้องต่ืนแต่เช้า เพื่อเตรียมอุปกรณ์สาหรับทาพธิ ีเซน่
ก าร ปร ะ ก อบพิธี ก ร ร มที่ไ ม่เหมือน กั น
ไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และเทพ “อาปาโหม่ว”
เครือ่ งเซน่ ไหวใ้ นพิธบี วชป่า ภาพจาก ชัชวาล หลยี า พ.ศ. ๒๕๖๔
รวมท้ังการตักน้า ในเช้าน้ีเช่ือว่าจะนามาซ่ึงโชคลาภ
และเงินทองท่ีไหลมาตามน้า นอกจากนี้จะไม่นาเศษ
ขยะท่ีกวาดท้ิงภายในบ้านไปทิ้งนอกบ้านเด็ดขาด
จนกว่าพิธีปใี หม่จะเสรจ็ สิ้น จะนาเศษขยะไปเก็บไวใ้ น
ถังขยะภายในบ้านก่อน วันที่สองสาหรับงานปีใหม่
หรือที่กลุ่มชาติพันธ์ุลีซูเรียกว่า “อำพูวง่ีง” ในวันนี้
ชาวบ้านจะมาทาพิธีดาหัวผู้นาชุมชน “ฆั่วทูวไป๊”
เพื่อขอบคุณผู้นาชุมชนท่ีดูแล และปกครองคนใน
ชุมชนให้อยู่เย็นเป็นสุขตลอดปี และจะร่วมกิจกรรม
กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ในจังหวัดเชียงราย | ๔๓