ระยะ ๒๐ ปี ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
คำ�นำ�
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
หรอื เรยี กสน้ั ๆ วา่ แผน ๕ ปี เกดิ จากการน�ำ วสิ ยั ทศั นก์ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ ประกอบดว้ ย
๖ มติ ิ มาพัฒนาวตั ถุประสงคใ์ หม้ ีความชัดเจน เปน็ รปู ธรรม โดยแยกประเด็น ความ
รับผิดชอบรายหน่วยงาน (สำ�นัก) โดยนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และผู้รับผิดชอบ
ด้านการวางแผนของหน่วยงานในสังกัดและกำ�กับของกรุงเทพมหานคร รวมท้ังตัวแทน
ภาคประชาชนไดท้ บทวน ตรวจสอบ และรว่ มกนั จดั ท�ำ แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
และน�ำ มาจดั ท�ำ เปน็ แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
ฉบบั น้ี
อนง่ึ แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) เกดิ จาก
ความร่วมแรงร่วมใจของตัวแทนภาคประชาชน ข้าราชการกรุงเทพมหานคร และ
ทีมนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้ร่วมกันยกร่างแผนน้ีขึ้น โดยมีพ้ืนฐาน
มาจากการที่สำ�นักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร และคณะรัฐศาสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ไดด้ �ำ เนนิ การจัดทำ�แผนวิสยั ทศั น์ของประชาชนเพ่ือการพฒั นา
กรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี หรือวิสัยทัศน์กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ ไว้แล้วในปี
พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา ทีมที่ปรึกษาฯ และกรุงเทพมหานคร ได้มีความพยายาม
ใช้กระบวนการ “จากล่างขึ้นบน” เพ่ือให้ชาวกรุงเทพฯ เป็นผู้กำ�หนดอนาคตเมือง
กรงุ เทพมหานครรว่ มกัน โดยได้เรมิ่ ตน้ ด้วยการน�ำ วสิ ยั ทศั นก์ รุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ น�ำ
มาพัฒนาวัตถปุ ระสงค์ ให้มคี วามชัดเจน เป็นรปู ธรรมมากข้นึ และกำ�หนดแนวทางการ
ขบั เคลอื่ นในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ เพ่อื มุ่งใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทัศน์กรงุ เทพฯ “มหานคร
แหง่ เอเชีย” ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๑
(พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) ฉบบั น้ี จะช่วยใหห้ นว่ ยงานและผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ งเข้าใจสาระของแผน
ดังกล่าวง่ายขึ้น และร่วมกันเป็นพลังขับเคล่ือนการพัฒนาเมืองกรุงเทพฯ ของเรา
ใหก้ า้ วสกู่ ารเปน็ มหานครชน้ั น�ำ ของเอเชยี และเปน็ เมอื งทจ่ี ะใหล้ กู หลานชาวกรงุ เทพฯ ของเรา
ไดส้ รา้ งครอบครวั และสรา้ งบา้ นแปงเมอื งกรงุ เทพฯ ให้เจรญิ กา้ วหน้าสืบไป
คณะผ้จู ัดท�ำ
สารบญั
หน้า ๑
บทนำ� ๖
กอ่ นจะมาเปน็ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ๒๗
ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) ๒๗
ประเดน็ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ๒๙
ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) ๒๙
๓๐
ส�ำนกั การแพทย ์ ๓๓
๓๔
วสิ ัยทศั น ์ ๓๔
ภารกิจพน้ื ฐานและผลส�ำเรจ็ หลกั ๓๕
ความเช่ือมโยงกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ๓๗
แผนยุทธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน ๓๗
ภารกจิ ยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๓๘
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๔๐
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๔๕
๔๖
ส�ำนกั อนามัย ๔๖
๔๗
วิสัยทศั น์ ๔๙
ภารกจิ พ้นื ฐานและผลส�ำเร็จหลัก ๔๙
ความเชื่อมโยงกับแผนพฒั นากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๔๙
แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ๕๑
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๕๓
แผนการลงทนุ ของหน่วยงาน
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง
สำ� นักการศึกษา
วสิ ัยทัศน ์
ภารกจิ พนื้ ฐานและผลส�ำเรจ็ หลกั
ความเช่ือมโยงกับแผนพัฒนากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
แผนยุทธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน
ภารกจิ ยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ
แผนการลงทุนของหนว่ ยงาน หนา้
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง
๕๓
ส�ำนกั การโยธา ๕๓
๕๕
วสิ ัยทศั น์ ๕๗
ความเชื่อมโยงกับแผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๕๘
แผนยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงาน ๖๒
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๖๕
แผนการลงทุนของหนว่ ยงาน ๖๖
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง ๖๘
๖๙
สำ� นกั การระบายน้ำ� ๗๑
๗๑
วสิ ยั ทศั น ์ ๗๔
ความเช่อื มโยงกับแผนพัฒนากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๗๖
แผนยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงาน ๗๗
ภารกิจยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๗๘
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๗๙
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๘๑
๘๑
ส�ำนกั สิ่งแวดลอ้ ม ๘๔
๘๖
วสิ ยั ทศั น์ ๘๘
ความเชื่อมโยงกบั แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๘๘
แผนยุทธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน ๘๙
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๙๑
แผนการลงทนุ ของหน่วยงาน ๙๒
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง
ส�ำนักวัฒนธรรม กฬี าและการทอ่ งเท่ียว
วิสยั ทัศน์
ความเช่ือมโยงกบั แผนพัฒนากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี
หน้า
แผนยุทธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน ๙๖
ภารกจิ ยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๐๑
แผนการลงทนุ ของหน่วยงาน ๑๐๓
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง ๑๐๓
๑๐๕
ส�ำนักเทศกจิ ๑๐๗
๑๐๗
วิสยั ทศั น์ ๑๐๘
ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๑๐๙
แผนยุทธศาสตร์ของหนว่ ยงาน ๑๐๙
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๑๐
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๑๑๑
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๑๑๓
๑๑๓
ส�ำนักพัฒนาสงั คม ๑๑๕
๑๑๙
วสิ ยั ทศั น ์ ๑๒๓
ความเชอื่ มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๑๒๓
แผนยทุ ธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน ๑๒๕
ภารกจิ ยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๒๗
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๑๒๗
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๑๒๙
๑๓๒
ส�ำนักการจราจรและขนสง่ ๑๓๓
๑๓๔
วสิ ยั ทศั น ์
ความเชอื่ มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี
แผนยทุ ธศาสตร์ของหนว่ ยงาน
ภารกจิ ยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ
แผนการลงทนุ ของหน่วยงาน
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง
สำ� นักผังเมือง หน้า
วสิ ยั ทัศน์ ๑๓๕
ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๑๓๗
แผนยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงาน ๑๓๗
ภารกจิ ยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๓๙
แผนการลงทนุ ของหน่วยงาน ๑๔๒
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๑๔๓
๑๔๓
สำ� นักปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ๑๔๕
๑๔๗
วิสยั ทศั น์ ๑๔๗
ความเชอื่ มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๑๔๙
แผนยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงาน ๑๕๐
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๕๑
แผนการลงทนุ ของหนว่ ยงาน ๑๕๑
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๑๕๓
๑๕๕
สำ� นักปลัดกรุงเทพมหานคร ๑๕๕
๑๕๙
วิสัยทัศน ์ ๑๖๓
ความเชอื่ มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๑๖๕
แผนยุทธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน ๑๖๕
ภารกิจยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๖๗
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๑๖๙
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง ๑๖๙
๑๗๑
สำ� นักการคลงั ๑๗๕
วสิ ัยทศั น ์
ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี
แผนยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงาน
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ
หนา้
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๑๗๕
กรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง ๑๗๖
๑๗๗
สำ� นักงบประมาณกรงุ เทพมหานคร ๑๗๙
๑๗๙
วสิ ยั ทัศน์ ๑๘๑
ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ๑๘๒
แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ๑๘๓
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๑๘๓
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๑๘๕
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๑๘๗
๑๘๗
ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ๑๙๒
๑๙๖
วสิ ยั ทัศน ์ ๑๙๘
ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๑๙๘
แผนยทุ ธศาสตร์ของหนว่ ยงาน ๑๙๙
ภารกิจยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ ๒๐๑
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๒๐๑
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๒๐๔
๒๐๗
สำ� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการกรงุ เทพมหานคร ๒๐๘
๒๐๘
วสิ ยั ทศั น ์ ๒๐๙
ความเชอื่ มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ป ี ๒๑๐
แผนยทุ ธศาสตรข์ องหน่วยงาน
ภารกิจยุทธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ
แผนการลงทนุ ของหน่วยงาน
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง
ภาคผนวก
นยิ ามค�ำศัพท ์
บทนำ� 1
บทนำ�
กอ่ นจะมาเปน็ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
2 มหาแนหค่งรเอเชยี
จากวสิ ยั ทัศน์กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕
สูว่ ัตถปุ ระสงค์เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร และ
ตัวชวี้ ดั ผลส�ำเร็จในการจดั ท�ำแผนพฒั นา
กรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๗๕)
ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ท�ำ แ ผ น พั ฒ น า
กรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ -
๒๕๗๕) หรอื แผนยทุ ธศาสตร์ กทม. ในครงั้ นเ้ี รมิ่ ตน้
ด้วยการน�ำวิสัยทัศน์กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕
ซงึ่ ประกอบดว้ ย ๖ มติ ิ ไดแ้ ก่ มหานครปลอดภยั
มหานครสีเขยี ว สะดวกสบาย มหานครส�ำหรบั
ทกุ คน มหานครกะทดั รดั มหานครประชาธปิ ไตย
และมหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้
มาพัฒนาเป็นวัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติการ และ
ตวั ชี้วัดผลส�ำเรจ็ ให้มีความชัดเจน เป็นรปู ธรรม
มากข้ึน ในการน้ี คณะที่ปรึกษาได้ร่วมกับ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน และผู้รับผิดชอบ
ด้านการวางแผนของส�ำนักยุทธศาสตร์และ
ประเมินผล และส�ำนักอื่น ๆ รวมท้ังหน่วยงาน
ในก�ำกบั ของกรงุ เทพมหานคร และส�ำนกั งานเขต
บทนำ� 3
ทงั้ ๕๐ เขต รว่ มกนั ทบทวนตรวจสอบความหมาย ระดับประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยและทีมงาน
และนัยเชิงปฏิบัติการของวิสัยทัศน์ด้านต่าง ๆ ทป่ี รกึ ษาพบวา่ มาตรการและโครงการขบั เคลอื่ น
ใหเ้ กดิ ความชดั เจน รวมทงั้ มกี ารวเิ คราะหส์ ภาพ ยุทธศาสตร์ที่มีอยู่แล้วยังไม่เพียงพอ หรือไม่
ของปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหาร สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านน้ัน ๆ ได้
จัดการ ด้านกฎหมาย การบริหารแผนและ จึงได้พัฒนามาตรการและโครงการขับเคล่ือน
ประเมนิ ผล การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล การคลงั เพ่ิมเติมตามที่เห็นสมควร ในการน้ีหน่วยงาน
และงบประมาณ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เจา้ ภาพ และทมี ทปี่ รกึ ษาไดป้ ระชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
โดยก�ำหนดให้เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๗ รว่ มกบั กลมุ่ ประชาชน กลมุ่ ธรุ กจิ หรอื หนว่ ยงาน
ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ ๒๐ ปี ภาครัฐท่ีเก่ียวข้องโดยตรง เพื่อร่วมกันก�ำหนด
กอ่ นทจ่ี ะก�ำหนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร และ มาตรการและโครงการริเริ่มใหม่ ๆ ตามที่เห็น
ตวั ชวี้ ดั ผลส�ำเรจ็ แตล่ ะดา้ นโดยล�ำดบั การด�ำเนนิ การ สมควรดว้ ยเช่นเดียวกัน
ในขน้ั ตอนนี้ ใชก้ ระบวนการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ในขั้นตอนต่อมา คณะท่ีปรึกษาและ
ระหว่างคณะทีป่ รกึ ษา และผมู้ ีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนจากหน่วยงานใน
ในสังกัดกรุงเทพมหานคร สังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมกันจัดแบ่งและ
อนง่ึ นอกจากวสิ ยั ทศั นก์ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ ก�ำหนด “หน่วยงานเจ้าภาพหลัก” ท่ีจะเป็น
แลว้ คณะทป่ี รกึ ษาและนกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน ผรู้ บั ผดิ ชอบมาตรการ โครงการขบั เคลอื่ นตา่ ง ๆ
และเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบด้านกาวางแผนของ และมอบหมายใหห้ นว่ ยงานเจา้ ภาพรว่ มกบั คณะ
หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ได้น�ำ ท่ปี รกึ ษาแตล่ ะด้านได้ก�ำหนดรายละเอียด ของ
แนวคดิ ของแผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๑๒ ปี มาตรการและโครงการขับเคลื่อนต่าง ๆ ซึ่ง
(พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๓) และแผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ประกอบด้วย
๑๒ ปี ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙) ทมี่ ใี ช้
อยู่ในปัจจุบันมาประกอบการพิจารณา ในการ ๑. หน่วยงานเจ้าภาพ (ส�ำนัก) ที่มีหน้าท่ี
ก�ำหนดวัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติการและตัวช้ีวัด รบั ผิดชอบหลัก
ผลส�ำเร็จด้วยเชน่ เดยี วกัน
ก�ำหนดมาตรการ และโครงการขับเคล่ือน ๒. วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติการ ผลผลิต
ยุทธศาสตร์ (เปา้ หมายเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร) และตวั ชว้ี ดั ผล
ในขน้ั ตอนน้ี ทมี ทปี่ รกึ ษาและนกั วเิ คราะห์ ผลิตของมาตรการและโครงการขับ
นโยบายและแผน และผู้ที่เก่ียวข้อง ได้ร่วมกัน เคลอ่ื น (ซง่ึ จะตอ้ งเชอ่ื มโยงกบั ตวั ชวี้ ดั ผล
ตรวจสอบมาตรการและโครงการขบั เคลอ่ื นตา่ ง ๆ ส�ำเร็จของยุทธศาสตร์ด้านน้ัน ๆ อย่าง
ตามทปี่ รากฏใน “วสิ ยั ทศั นก์ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕” เปน็ รูปธรรม และมคี วามเปน็ ไปได)้
รวมทั้งที่ปรากฏในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
ระยะ ๑๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๓) และคัดเลือก ๓. กิจกรรมและกระบวนการ / ข้ันตอน
มาตรการและโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ ด�ำเนนิ งาน
ท่ีมี “นัยส�ำคัญ” มาพัฒนาเป็นมาตรการและ
โครงการในแผนยุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนา ๔. ช่วงเวลาด�ำเนนิ การ (ปีงบประมาณ)
กรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) ๕. จ�ำนวนเงนิ งบประมาณรวม งบประมาณ
นอกจากน้ัน หากหน่วยงานเจ้าภาพ
ลงทุน และงบประมาณด�ำเนนิ การ
ก�ำหนดมาตรการและโครงการสนับสนุนด้าน
การบรหิ ารจัดการ
ในขนั้ ตอนน้ี ทมี ทปี่ รกึ ษาดา้ นโครงสรา้ ง
องค์การ กฎหมาย การเงนิ การคลัง และการ
4 มหาแนหค่งรเอเชยี ท�ำการประมาณการตัวเลขการเงินการคลัง
บรหิ ารงานบคุ คล รว่ มกบั ส�ำนกั หนว่ ยงานการ ในภาพรวม (รายได้ และขดี ความสามารถในการ
พาณชิ ยข์ องกรงุ เทพมหานคร และส�ำนกั งานเขต ระดมเงนิ ลงทนุ เปรยี บเทยี บกบั รายจา่ ยตามแผน
ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาองค์การ ยุทธศาสตร์ และรายจ่ายด�ำเนินการร่วมกัน)
กฎหมาย การเงินการคลัง และการบริหาร ตัวเลขรายละเอียดในส่วนน้ีจะน�ำเสนอไว้ในภาค
ทรัพยากรบุคคล น�ำมาตรการและโครงการ ผนวกของแผนยุทธศาสตร์
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ ซ่ึงส�ำนักและหน่วยงาน จัดท�ำร่างแผนยุทธศาสตร์ ระยะ ๒๐ ปี
เจ้าภาพต่าง ๆ ได้จัดท�ำข้ึนในขั้นท่ีผ่านมา แผนยทุ ธศาสตร์ ระยะ ๕ ปี และแผนปฏิบตั ิ
มาประมวลและก�ำหนดมาตรการและโครงการ การประจ�ำปี
รเิ ร่มิ ด้านการบรหิ ารจดั การ เพ่อื สนบั สนุน การ ในขั้นตอนต่อมา คณะท่ีปรึกษา และ
ขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรด์ า้ นอน่ื ๆ ทกี่ �ำหนดไวแ้ ลว้ เจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์นโยบายและแผนจากหน่วย
ข้างต้น ให้ประสบผลส�ำเรจ็ งานในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ไดน้ �ำรายละเอยี ด
อน่ึง หากปรากฏว่าข้อเสนอเก่ียวกับ ที่ได้จากข้ันตอนที่ผ่านมา ไปจัดท�ำร่างแผน
มาตรการและโครงการรเิ รม่ิ ดา้ นตา่ ง ๆ ทหี่ นว่ ย พัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
งานเจ้าภาพจดั ท�ำขนึ้ นั้น เกินขดี ความสามารถ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) แผนยทุ ธศาสตร์ ระยะ ๕ ปี
ด้านการบริหารจัดการ ท่ีจะปรับตัวให้มีก�ำลัง หรอื แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
เพียงพอท่ีจะสนับสนุนการเคลื่อนมาตรการและ ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) และแผน
โครงการด้านอ่ืน ๆ ได้ ก็จะเสนอให้ทีมงานที่ ปฏิบัติการประจ�ำปี หรือแผนปฏิบัติราชการ
ปรกึ ษาส่วนกลาง จัดการประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร กรงุ เทพมหานครประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยยึด
เพอ่ื ทบทวนและปรบั มาตรการและโครงการรเิ รมิ่ ตามรปู แบบทก่ี �ำหนดไวใ้ นกรอบการด�ำเนินงาน
ดา้ นตา่ ง ๆ ใหส้ มดลุ กบั ขดี ความสามารถดา้ นการ
บรหิ ารจดั การท่เี ป็นไปไดม้ ากทีส่ ุด
จัดท�ำประมาณการด้านการเงินการคลังใน จัดเวทีรับฟงั ความคดิ เห็น
ภาพรวม ในขน้ั ตอนตอ่ มา คณะทปี่ รกึ ษาไดจ้ ดั เวที
อนึ่ง แม้โครงการนี้ จะเน้นการจัดท�ำ รับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับร่างแผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (Strategic Plan) และแผนปฏิบตั ิการประจ�ำปีจากผูบ้ ริหาร กทม.
ของ กทม. เปน็ หลกั มไิ ดร้ วมถงึ แผนการด�ำเนนิ และประชาชนทัว่ ไป เพือ่ น�ำมาปรบั ปรุงแก้ไขให้
งาน (Operation Plan) แต่อยา่ งใด อยา่ งไร สมบรู ณย์ ิ่งขน้ึ ก่อนทจ่ี ะสง่ มอบให้ กทม. ตาม
ก็ตาม ในการประเมนิ ขีดความสามารถด้านการ กรอบภาระงานทีก่ �ำหนดไว้
เงนิ การคลงั ของ กทม. นน้ั จ�ำเปน็ ตอ้ งประมาณ
รายจ่ายรวมของ กทม. ในช่วงเวลาของแผนฯ สง่ มอบแผนฯ ให้ กทม.
เพอ่ื เปรียบเทียบกบั ประมาณการรายได้ และขีด ในขั้นตอนสุดท้าย คณะที่ปรึกษาได้จัด
ความสามารถในการระดมเงินลงทุนของ กทม. พมิ พ์แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
ในชว่ งเวลาเดยี วกนั ดงั นนั้ ทมี งานทป่ี รกึ ษาดา้ น (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร
การเงินการคลัง จะร่วมกับนักวิชาการและ ระยะ ๒๐ ปี ระยะ ท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
แผนงานของส�ำนักการคลังและงบประมาณฯ และแผนปฏบิ ตั ริ าชการกรงุ เทพมหานครประจ�ำปี
พ.ศ. ๒๕๕๘ ส่งให้ กทม. น�ำไปสู่การปฏิบัติ
บทนำ� 5
เพื่อการพัฒนากรุงเทพมหานครสู่เป้าหมาย การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารชว่ งท่ี ๒
“มหานครแห่งเอเชยี ” ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ เปน็ การก�ำหนดมาตรการ และโครงการ
สรุปการแปลงวิสัยทัศน์กรุงเทพมหานคร ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยกิจกรรม
พ.ศ. ๒๕๗๕ สกู่ ารปฏิบตั ิ ดังนค้ี ือ
เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการน�ำวสิ ยั ทศั นก์ รงุ เทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๗๕ มาพัฒนาเป็นวัตถุประสงค์ ๑. ตรวจสอบมาตรการและโครงการทป่ี รากฏ
เชงิ ปฏิบัตกิ าร และตัวชี้วดั ผลส�ำเร็จ ใน ๖ มิติ ในวสิ ัยทศั นก์ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ และ
ใหม้ คี วามชดั เจน เปน็ รปู ธรรม ดว้ ยกระบวนการ คัดเลือกมาตรการและโครงการท่ีมี
มีส่วนร่วมจากเจ้าหน้าท่ีและผู้บริหารของ “นยั ส�ำคญั ”
กรุงเทพมหานครทกุ ภาคส่วนและภาคประชาชน
ในการเขา้ รว่ มประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารรวม ๓๙ ครง้ั ๒.ปรับปรุงมาตรการและโครงการ ที่
โดยแบ่งเปน็ กลมุ่ / ชว่ งใหญ่ ๆ ๓ ช่วงดังน้ีคือ คัดเลอื กแลว้ ใหม้ ีรายละเอียดครบถว้ น
การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารช่วงที่ ๑ สมบูรณ์ (หน่วยงานท่ีรับผิดชอบหลัก
จัดโครงสร้างวิสัยทัศน์ และก�ำหนด และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งอน่ื ๆ วตั ถปุ ระสงค์
ตวั ชวี้ ดั ผลส�ำเรจ็ ของประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ แตล่ ะดา้ น ตวั ชว้ี ดั ผลผลิต ซ่งึ เช่ือมโยงกับผลส�ำเร็จ
โดยทีมท่ีปรึกษา ร่วมกับทีมยุทธศาสตร์ และ ของประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ต่ี อ้ งการขบั เคลอื่ น
นักวิชาการ / นักวิเคราะห์นโยบายและแผนของ บริบทการปฏิบัติการ (กลุ่มประชากร
ส�ำนกั และส�ำนกั งานเขตทง้ั ๕๐ เขต รว่ มกนั ด�ำเนนิ การ เปา้ หมาย สถานท่ี เวลา) กิจกรรมและ
ดงั นี้ กระบวนการด�ำเนนิ งาน และงบประมาณ)
๑. ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ โครงสรา้ งยทุ ธศาสตร์ ๓. ก�ำหนดมาตรการ / โครงการใหม่ ๆ ทจ่ี �ำเปน็
ใน “วิสยั ทัศน์กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕” เพิ่มเติม เพ่ือให้มีมาตรการ / โครงการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพียงพอในการ
๒. ตรวจสอบ / ตคี วาม “วตั ถปุ ระสงค”์ และ บรรลุเปา้ หมายทีก่ �ำหนด
ตัวชีว้ ัดผลส�ำเรจ็ ”
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารช่วงท่ี ๓
๓. ก�ำหนดวัตถปุ ระสงคเ์ ชิงปฏิบัตกิ าร และ รับฟังความเห็นจากคณะผู้บริหาร
ตวั ชว้ี ดั ผลส�ำเรจ็ ของยทุ ธศาสตรแ์ ตล่ ะดา้ น กทม. และรับฟังความเห็นจากประชาชน
ชาวกรงุ เทพมหานคร
6 มหาแนหคง่ รเอเชีย
ประเดน็ ยุทธศาสตร์
การพัฒนาตามแผนพัฒนา
กรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕)
ในการจดั ท�ำแผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร กรงุ เทพฯ จะเป็นเมอื งหลวงของเอเชยี เปน็ พลงั
ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) เปน็ การน�ำ ส�ำคญั ในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ สงั คมในภมู ภิ าค
แผนวิสัยทัศน์ของประชาชนเพื่อการพัฒนา อาเซยี น และในทวีปเอเชยี คนท่วั โลกเมอื่ นกึ ถงึ
กรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ไปสูก่ ารปฏิบัติ ทวปี เอเชยี จะนกึ ถงึ เมอื งกรงุ เทพฯ ของเรา ใน
ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม สามารถน�ำพา ฐานะเปน็ เมอื งชน้ั น�ำในดา้ นเศรษฐกจิ ภาคบรกิ าร
กรุงเทพมหานครให้เจริญเติบโตสู่การเป็น ความปลอดภัย ความสวยงาม สะดวกสบาย น่า
มหานครแห่งเอเชียท่ามกลางการเปล่ียนแปลง อยู่ และเปน็ มติ รต่อสงิ่ แวดลอ้ ม ในขณะเดียวกนั
สู่ประชาคมอาเซียน (Asean Community) และ เมืองกรุงเทพมหานครยังมีเอกลักษณ์เฉพาะใน
ท่ามกลางกระแสการเปล่ียนแปลงของบริบท ด้านความเรยี บง่าย มีเสนห่ ์ และมีชีวติ ชีวา
แวดล้อมในด้านต่าง ๆ ทั้งในภูมิภาคเอเชียและ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ
ประชาคมโลก ๒๐ ปี ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) เป็นแผน
กระบวนการจดั ท�ำแผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร พัฒนาซ่ึงบูรณาการแผนยุทธศาสตร์และแผน
ระยะ ๒๐ ปี ไมไ่ ดเ้ ริม่ จากศูนย์ เน่ืองจากในปี ปฏิบัติการภายใต้แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๕๕ กทม. ไดจ้ ดั ท�ำวสิ ยั ทศั นก์ รุงเทพฯ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) มปี ระเด็น
พ.ศ. ๒๕๗๕ ไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว นอกจากน้นั ยทุ ธศาสตร์ หรอื วิสยั ทัศนย์ อ่ ยใน ๖ มิติ ของ
ยังได้จัดท�ำแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ วสิ ยั ทศั นก์ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ ประกอบกบั มิติ
๑๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๓) ไวแ้ ลว้ เชน่ กนั ดงั นนั้ ท่ี ๗ คอื การบรหิ ารจดั การ ซงึ่ ไดก้ �ำหนดแนวทาง
การจดั ท�ำแผนพฒั นากรงุ เทพมหานครระยะ ๒๐ ปี การพัฒนาด้านกฎหมาย การบริหารแผนและ
(พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) จึงสามารถน�ำเอาสิง่ ท่มี ี ประเมนิ ผล การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล การคลงั
อยแู่ ลว้ น้ี มาเปน็ พนื้ ฐานในการด�ำเนนิ การตอ่ ไปได้ และงบประมาณ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาพในฝนั ของเมืองกรงุ เทพมหานครใน ๒๐ ปี เพือ่ เป็นกลไกสนับสนุนการขบั เคลือ่ นท้ัง ๖ มิติ
ขา้ งหนา้ ในมมุ มองของชาวกรงุ เทพฯ กค็ อื ของวิสยั ทัศนก์ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ สมู่ หานคร
“ใน ๒๐ ปี ขา้ งหนา้ เมอื งกรงุ เทพมหานคร แห่งเอเชียอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังนี้
ของเราจะก้าวข้ึนเป็น “มหานครแห่งเอเชีย”
บทนำ� 7
ตารางที่ ๑ ประมวลประเดน็ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นากรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๗๕
๑. มหานครปลอดภัย
ประเดน็ ตวั ชีว้ ัด ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๑.๑ ปลอด คุณภาพแหล่งนำ้� ธรรมชาติ
มลพิษ ๑. รอ้ ยละของปรมิ าณนำ้� เสยี ชมุ ชน ไม่นอ้ ยกว่า ไมน่ ้อยกว่า ไม่นอ้ ยกว่า ไม่นอ้ ยกว่า
ทไ่ี ดร้ บั การบ�ำบดั รอ้ ยละ ๔๐ รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๕๕ รอ้ ยละ ๖๐
๒. จ�ำนวนจุดตรวจวัดน้ำ� คลอง ไม่น้อยกวา่ ไม่น้อยกว่า ไมน่ อ้ ยกวา่ ไม่นอ้ ยกว่า
มีค่าเฉล่ียออกซเิ จนละลายนำ้� ร้อยละ ๖๐ ร้อยละ ๖๕ รอ้ ยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐
(DO) มากกว่าหรือเท่ากับ
๒.๐ มิลลกิ รัม / ลติ ร
๓. จ�ำนวนจดุ ตรวจวัดทน่ี �้ำคลอง ไมน่ อ้ ยกวา่ ไม่นอ้ ยกว่า ไม่น้อยกวา่ ไม่น้อยกว่า
มคี า่ เฉลี่ยออกซิเจนละลายนำ�้ รอ้ ยละ ๔๐ ร้อยละ ๔๕ ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐
(DO) มากกวา่ หรอื เท่ากบั ๓.๐
มลิ ลิกรัมตอ่ ลิตร
การจัดการมูลฝอยและของเสีย
อนั ตราย
๑. รอ้ ยละของมูลฝอยท่ีสามารถ ปฐี าน ไมน่ อ้ ยกวา่ ไมน่ อ้ ยกว่า ไมน่ อ้ ยกวา่
น�ำกลับไปใชป้ ระโยชนเ์ พมิ่ ขน้ึ ร้อยละ ๒๐ ร้อยละ ๓๐ ร้อยละ ๔๐
คุณภาพอากาศและเสียง
๑. รอ้ ยละของค่าเฉล่ีย ๒๔ ช่ัวโมง รอ้ ยละ - - -
ของฝนุ่ ละอองไมเ่ กนิ ๑๐ ไมครอน ๑๐๐
(PM๑๐) ทีจ่ ุดตรวจวัดพน้ื ทที่ ว่ั ไป
๒. ร้อยละของค่าเฉลย่ี ๒๔ ชว่ั โมง ไมน่ อ้ ยกวา่ ไมน่ ้อยกว่า ไมน่ อ้ ยกวา่ ไม่นอ้ ยกวา่
ของฝนุ่ ละอองไมเ่ กนิ ๑๐ ไมครอน ร้อยละ ๙๕ ร้อยละ ๙๕ รอ้ ยละ ๙๘ รอ้ ยละ ๙๘
(PM๑๐) ท่จี ุดตรวจรมิ เส้นทาง
จราจร
๓. รอ้ ยละของค่าเฉลีย่ ๒๔ ชว่ั โมง ปฐี าน ลดลง ลดลง ลดลง
ของฝ่นุ ละอองไมเ่ กิน ๒.๕ ร้อยละ ๕ ร้อยละ ๑๐ ร้อยละ ๑๕
ไมครอน (PM๒.๕) ของปีฐาน ของปีฐาน ของปีฐาน
๔. ร้อยละของจ�ำนวนข้อมลู - รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ
คผา่า่ เนฉเลกย่ีณฑ๘ม์ ชาตว่ั โรมฐงากนา๊ ซ(โเทอโยี ซบนกบั (O3) ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
จ�ำนวนขอ้ มูลทง้ั หมด)
8 มหาแนหค่งรเอเชีย
ประเดน็ ตวั ชว้ี ดั ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๕. รอ้ ยละของจ�ำนวนขอ้ มลู คา่ เฉลยี่ ปีฐาน ลดลง ลดลง ลดลง
๑ ชั่วโมงก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ร้อยละ ๕ ร้อยละ ๑๐ ร้อยละ ๑๕
ต(NรOวจ2)วดั ผร่ามิ นเเสกน้ ณทฑา์มงจารตารจฐราน ทีจ่ ดุ ของปฐี าน ของปีฐาน ของปฐี าน
๖. ร้อยละของคา่ เฉลี่ยรายปขี อง ปฐี าน ลดลง ลดลง ลดลง
เบนซินในแตล่ ะจดุ ตรวจวัดมคี ่า รอ้ ยละ ๕ ร้อยละ ๑๐ ร้อยละ ๑๕
ลดลงจนอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน ของปีฐาน ของปีฐาน ของ ปีฐาน
๗. รอ้ ยละของแหลง่ ก�ำเนดิ มลพิษ ร้อยละ ๑๕ ร้อยละ ๒๕ รอ้ ยละ ๓๕ รอ้ ยละ ๕๐
ทางเสียงทไี่ ด้รบั การควบคมุ
๑.๒ ๑. อตั ราการเกิดอาชญากรรม ร้อยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๖๐ รอ้ ยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐
ปลอด ทกุ ประเภทลดลง (ตอ่ ประชากรแสนคน)
อาชญา-
กรรม ๒. อัตราการจบั กุมและด�ำเนินคดี รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๘๐
และ เพ่ิมขน้ึ
ยาเสพติด
๓. จ�ำนวนศูนย์เฝา้ ระวงั จดุ ตรวจ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๙๐ ร้อยละ
เฝ้าระวังอาชญากรรมและยาเสพติด ๑๐๐
ในชมุ ชนเพ่มิ ข้นึ
๔. จ�ำนวนสภาพแวดล้อมชมุ ชนท่ี รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐ รอ้ ยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐
เปน็ จดุ เสย่ี งได้รบั การปรบั ปรงุ
ใหเ้ ป็นพื้นท่ีปลอดภัยเพมิ่ ขึ้น
๕. อัตราส่วนของกล้องวงจรปิด ร้อยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐ ร้อยละ ๙๐ ร้อยละ
(CCTV) ตอ่ พนื้ ทเ่ี พ่มิ ขึน้ ๑๐๐
๖. จ�ำนวนเครอื ขา่ ยเฝ้าระวงั ไม่ตำ่� กวา่ ไมต่ ่�ำกวา่ ไม่ตำ่� กว่า ไมต่ ่�ำกว่า
อาชญากรรมในชุมชน ๘,๒๑๖ คน ๑๖,๔๓๒ ๓๒,๘๖๔ ๖๕,๗๒๘
คน คน คน
๗. ระดบั ความพึงพอใจและ ร้อยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๖๐ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๘๐
ความเชื่อมนั่ ของประชาชนตอ่
การควบคมุ อาชญากรรมเพม่ิ ขึน้
๘. จ�ำนวนพน้ื ทีช่ มุ ชนแพร่ระบาด รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐ รอ้ ยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐
ยาเสพตดิ ลดลง
๙. จ�ำนวนผเู้ ข้ารับการบ�ำบดั รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐ รอ้ ยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐
ยาเสพตดิ เพม่ิ ข้ึน
๑๐. อัตราการก่อการร้าย - ไม่เกิน ไมเ่ กิน ๐ คร้ัง
๒ ครั้ง ๑ ครัง้
๑๑. ร้อยละความเชอื่ ม่ัน ของ รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐ ร้อยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐
ชาวตา่ งชาตติ อ่ กรงุ เทพมหานคร
เพมิ่ ขน้ึ
บทนำ� 9
ประเดน็ ตวั ชวี้ ัด ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๑.๓ ๑. จ�ำนวนอบุ ตั ิเหตุท่เี กยี่ วขอ้ ง กับ ๐ ๐ ๐๐
ปลอด รถขนส่งมวลชน ๒๖,๕๐๐ ๒๑,๖๐๐ ๑๗,๖๐๐ ๑๔,๔๐๐
อบุ ตั ิเหตุ ๒. จ�ำนวนครัง้ ของอบุ ตั เิ หตุ
ทางรถยนตล์ ดลง
(เฉลย่ี รอ้ ยละ ๔ ต่อปี)
๓. จ�ำนวนผบู้ าดเจบ็ จากอบุ ัติเหตุ ๑๒,๒๐๐ ๑๐,๐๐๐ ๘,๑๐๐ ๖,๖๐๐
ทางรถยนตล์ ดลง
(เฉลย่ี ร้อยละ ๔ ตอ่ ป)ี
๔. จ�ำนวนผู้เสยี ชวี ติ ลดลง ๓๐๙ ๒๓๙ ๑๘๕ ๑๔๓
(เฉลย่ี รอ้ ยละ ๔ ตอ่ ป)ี
๑.๔ ๑. ความยาวแนวป้องกันน้ำ� ทว่ ม ๑.๐๐๐ ๑.๕๐๐ ๑.๕๐๐ -
ปลอด รมิ แม่นำ้� เจ้าพระยาที่กอ่ สรา้ งเสร็จ
ภยั พบิ ัติ เพ่ิมเติม (กม.)
๒. ความยาวแนวปอ้ งกันน�้ำทว่ ม ๐.๕๐๐ ๐.๒๐๐ - -
ตามแนวคลองบางกอกน้อยและ
คลองมหาสวสั ดท์ิ ก่ี ่อสรา้ งเสรจ็
เพ่มิ เติม (กม.)
๓. ความยาวคนั ปอ้ งกันนำ�้ ทว่ ม ๑.๕๐๐ ๔.๐๐๐ - -
พนื้ ทด่ี า้ นตะวนั ออกภายในคนั กน้ั นำ้�
พระราชด�ำรทิ ก่ี อ่ สรา้ งเสรจ็ เพมิ่ เตมิ
(กม.)
๔. ระยะเวลาในการแก้ไขปญั หา ๑๒๐ ๑๑๐ ๑๐๐ ๙๐
น�้ำท่วมขังในถนนสายหลัก (นาท)ี
(กรณีฝนไม่เกนิ ๑๐๐ มม.ตอ่ ชม.)
๕. ความยาวของแนวกอ่ สรา้ ง ๑๕๘.๘๐๐ ๓๑๗.๖๐๐ ๔๗๖.๔๐๐ ๕๗๑.๖๗๔
เข่อื น ค.ส.ล. ทส่ี รา้ งเพิม่ ขนึ้ (กม.)
๖. ความยาวของคลองทข่ี ุดลอก ๑๕๘.๘๐๐ ๓๑๗.๖๐๐ ๔๗๖.๔๐๐ ๕๗๑.๖๗๔
เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพการระบาย
และกกั เกบ็ นำ�้ (กม.)
๗. จ�ำนวนคลองหลัก ทีม่ ีการ ๐ ๑๐ ๓๒ ๖๔
บรหิ ารจัดการส่งิ ปลูกสร้างรุกล้�ำ
(คลอง)
๘. จ�ำนวนคลองหลกั ท่ีได้รับการ ๐ ๑๐ ๓๒ ๖๔
ปกั แนวเขตทด่ี นิ เขตคลองสาธารณะ
แลว้ เสรจ็ (คลอง)
10 มหาแนหค่งรเอเชีย
ประเด็น ตวั ชีว้ ดั ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๙. จ�ำนวนเขตทมี่ คี วามพร้อมของ ๒๐ ๕๐ - -
ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS)
และระบบพยากรณ์ท่ีได้เชอ่ื มต่อกับ
ระบบหลกั (เขต)
๑๐. ท่ดี ินเลนชายฝั่งทะเลท่ีเพ่ิมขน้ึ ๕๐.๐๐๐ ๑๐๐.๐๐๐ ๒๐๐.๐๐๐ ๓๐๐.๐๐๐
(เมตร)
๑๑. ขนาดป่าชายเลนท่ีเพ่ิมขึน้ ๕๐.๐๐๐ ๑๐๐.๐๐๐ ๒๐๐.๐๐๐ ๓๐๐.๐๐๐
(เมตร)
๑๒. อตั ราการกดั เซาะลดลง (เมตร) ๓.๒๓๐ <๒.๒๓๐ <๑.๒๓๐ <๐.๒๓๐
๑.๕ ๑. รอ้ ยละของอาคารสาธารณะ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
สิง่ กอ่ สร้าง ๙ ประเภททผ่ี ่านการรบั รองตาม
ปลอดภัย พรบ. ควบคุมอาคาร
๒. รอ้ ยละของอาคารทวั่ ไป ๗๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐
(อาคารสรา้ งใหม่ และดดั แปลง
ตอ่ เตมิ ) ทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารตรวจสอบ
ความปลอดภยั
๓. รอ้ ยละของอุบัติภยั ท่ีเกิดข้นึ ๐ ๐ ๐ ๐
เนื่องจากโครงสรา้ งพื้นฐาน
๔. รอ้ ยละของอบุ ัติภยั ทีเ่ กิดจาก ๐ ๐ ๐ ๐
จุดรอรถสาธารณะ / ทา่ เทียบเรือ
๑.๖ โรคไมต่ ิดตอ่
ปลอดโรค (Non-Communicable Disease)
คนเมอื ง
อาหาร ๑. ความชกุ ของภาวะอว้ น ไม่เกิน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไม่เกิน
ปลอดภัย [BMI>๒๕ kg / m2] รอ้ ยละ ๓๕ รอ้ ยละ ๓๓ ร้อยละ ๓๑ รอ้ ยละ ๓๐
๒. ความชกุ ของโรคเบาหวาน (DM) ไม่เกนิ ไม่เกนิ ไม่เกิน ไม่เกนิ
ร้อยละ ๘ รอ้ ยละ ๘ ร้อยละ ๗ รอ้ ยละ ๗
๓. ความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สงู ไม่เกนิ ไม่เกนิ ไม่เกิน ไมเ่ กนิ
(HT) ร้อยละ ๒๔ รอ้ ยละ ๒๓ รอ้ ยละ ๒๒ ร้อยละ ๒๒
๔. อัตราป่วยโรคหลอดเลือด รอ้ ยละ ๓ รอ้ ยละ ๒ ร้อยละ ๑ รอ้ ยละ ๑
กล้ามเนอ้ื หวั ใจตาย
๕. ความชุกของโรคมะเรง็ เต้านม ไมเ่ กนิ ๓๗ ไมเ่ กนิ ๓๖ ไมเ่ กิน ๓๕ ไม่เกิน ๓๔
(Breast Cancer)
๖. ความชกุ ของโรคมะเรง็ ไม่เกนิ ๑๔ ไมเ่ กิน ๑๓ ไมเ่ กิน ๑๒ ไม่เกิน ๑๑
ปากมดลกู (Cervical Cancer)
บทนำ� 11
ประเด็น ตวั ชีว้ ดั ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ย่อย
๗. อัตราการประสบอนั ตราย ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง
หรือป่วยจากการท�ำงาน รอ้ ยละ ๑๐ ร้อยละ ๑๐ รอ้ ยละ ๑๐ รอ้ ยละ ๑๐
๘. อตั ราการฆา่ ตวั ตาย อัตราการ อตั ราการ อัตราการ อัตราการ
ฆา่ ตวั ตาย ฆา่ ตัวตาย ฆ่าตวั ตาย ฆา่ ตวั ตาย
ไมเ่ กิน ไมเ่ กนิ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กิน
อตั ราเฉล่ีย อัตราเฉลยี่ อตั ราเฉลย่ี อตั ราเฉล่ยี
ของประเทศ ของประเทศ ของประเทศ ของประเทศ
๙. ความชกุ ของโรคในผสู้ งู อายุ ร้อยละ ๕ รอ้ ยละ ๔ ร้อยละ ๓ ร้อยละ ๒
โรคติดตอ่ (Communicable Disease)
๑๐. อัตราป่วยโรคไข้เลอื ดออก อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค
ไข้เลอื ดออก ไข้เลอื ดออก ไขเ้ ลอื ดออก ไขเ้ ลอื ดออก
ไม่เกนิ ๘๐ ไม่เกิน ๘๐ ไม่เกิน ๗๕ ไม่เกนิ ๗๕
เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์
ไทล์ ไทล์ ไทล์ ไทล์
ของขอ้ มลู ของขอ้ มลู ของข้อมูล ของข้อมูล
๕ ปี ๕ ปี ๕ ปี ๕ ปี
ย้อนหลงั ยอ้ นหลงั ย้อนหลงั ย้อนหลงั
๑๑. วัณโรค : ร้อยละผลส�ำเร็จ ร้อยละ ๘๐ รอ้ ยละ ๘๒ ร้อยละ ๘๔ รอ้ ยละ ๘๕
ของการรักษา ผ้ปู ว่ ยวณั โรค
๑๒. เอดส์ : รอ้ ยละหญงิ ฝากครรภ์ นอ้ ยกวา่ น้อยกว่า น้อยกว่า น้อยกวา่
ที่ตรวจพบติดเชอื้ เอดส์ใน กทม. ร้อยละ ๑ ร้อยละ ๑ ร้อยละ ๑ รอ้ ยละ ๑
๑๓. อตั ราปว่ ยโรคพษิ สุนัขบ้า อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค
พษิ สนุ ขั บา้ พิษสนุ ัขบา้ พิษสุนัขบ้า พิษสนุ ัขบา้
ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กิน
๐.๐๑ ราย ๐.๐๑ ราย ๐ ราย ๐ ราย
ตอ่ ประชากร ตอ่ ประชากร ตอ่ ประชากร ตอ่ ประชากร
แสนคน แสนคน แสนคน แสนคน
12 มหาแนหคง่ รเอเชยี
ประเด็น ตัวชว้ี ดั ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ย่อย
๑๔. อตั ราปว่ ยโรคตดิ เช้ือทางเดนิ อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค อตั ราปว่ ยโรค
หายใจ (ไข้หวัดใหญ)่ ไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดใหญ่ ไขห้ วดั ใหญ่ ไขห้ วดั ใหญ่
ไมเ่ กิน ๘๐ ไม่เกนิ ๘๐ ไมเ่ กนิ ๗๕ ไมเ่ กนิ ๗๕
เปอรเ์ ซ็นต์ เปอรเ์ ซน็ ต์ เปอร์เซน็ ต์ เปอร์เซ็นต์
ไทล์ ไทล์ ไทล์ ไทล์
ของขอ้ มูล ของขอ้ มลู ของข้อมลู ของขอ้ มลู
๕ ปี ๕ ปี ๕ ปี ๕ ปี
ย้อนหลงั ย้อนหลัง ยอ้ นหลัง ย้อนหลงั
อ่นื ๆ
๑๕. ตัวอย่างอาหาร ท่ไี ดร้ ับการ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘๐
สุ่มตรวจไม่พบการปนเป้ือนเชอ้ื โรค
๑๖. ตวั อยา่ งอาหาร ทีไ่ ด้รับการ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๙๙
ส่มุ ตรวจไม่พบการปนเปอ้ื นสารพิษ
๑๗. สถานประกอบการอาหารใน ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๘๐
พน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานครไดร้ บั ป้าย
รบั รองมาตรฐานอาหารปลอดภัย
ของกรุงเทพมหานคร
๑๘. มาตรฐานความสะอาดและ ๕๐ ๕๕ ๖๐ ๗๐
สงิ่ แวดลอ้ มของอาคาร
บทนำ� 13
๒. มหานครสเี ขยี ว สะดวกสบาย
ประเด็น ตัวช้ีวัด ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๒.๑ ๑. ความยาวทไ่ี ดด้ �ำเนนิ การน�ำสาย ๑๐๐.๐๐ - - -
ภูมิทศั น์ ต่าง ๆ ลงใต้ดนิ ช่วงแรก ๒๕.๒ กม.
สวยงาม (กม.)
ไมม่ ี
สายไฟฟา้ ๒. ความยาวทไ่ี ดด้ �ำเนนิ การน�ำสาย - ๒๕.๐๐ ๕๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
สายโทรศพั ท์ ตา่ ง ๆ ลงใตด้ นิ ชว่ งทส่ี อง ๔๑.๐ กม.
รกรงุ รัง (กม.)
๒.๒ ๑. ร้อยละของพ้นื ที่สีเขียวตอ่ พื้นที่ ไมน่ ้อยกวา่ ไม่นอ้ ยกวา่ ไมน่ ้อยกวา่ ไม่น้อยกว่า
มีพ้ืนท่ี ของกรุงเทพมหานครท้งั หมด ร้อยละ ๑๓ ร้อยละ ๑๙ รอ้ ยละ ๒๓ ร้อยละ ๒๘
สาธารณะ
พืน้ ทีส่ ีเขยี ว ๒. รอ้ ยละของประชาชนทส่ี ามารถ ไม่น้อยกวา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ ไม่นอ้ ยกว่า ไม่นอ้ ยกวา่
กระจาย เข้าถึงพ้นื ท่สี าธารณะหลกั ได้ รอ้ ยละ ๒๕ ร้อยละ ๔๕ รอ้ ยละ ๗๐ ร้อยละ
ทัว่ ทกุ พนื้ ที่ ในระยะทางไมเ่ กิน ๕ กโิ ลเมตร ๑๐๐
๒.๓ ๑. รอ้ ยละของชาวกรงุ เทพมหานคร ร้อยละ ๓๐ รอ้ ยละ ๔๐ รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๖๐
ระบบขนสง่ ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ระบบขนสง่
มวลชน มวลชนทกี่ �ำหนดเวลาเดนิ ทาง
ท่ัวถึง ได้ภายใน ๑๐ นาที
สะดวก
ประหยัด ๒. รอ้ ยละของชาวกรงุ เทพฯ ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ ๕๕ ร้อยละ ๖๐ ร้อยละ ๖๕
การจราจร ท่ไี ม่พงึ่ พารถยนตส์ ่วนบคุ คลในการ ๑๓/๑๙/๒๖ ๑๔/๒๑/๒๘ ๑๕/๒๓/๓๐ ๑๖/๒๔/๓๓
คลอ่ งตวั และ เดนิ ทางประจ�ำวนั
มที างเลอื ก ๓. ความเร็วเฉล่ยี ของยานพาหนะ
ในชว่ งเวลาเร่งด่วน (ชนั้ ใน /
ช้ันกลาง / ชัน้ นอก) กม. / ชม.
๔. ความเรว็ เฉล่ียของยานพาหนะ ๒๑/๓๒/๔๓ ๒๓/๓๕/๔๗ ๒๕/๓๘/๕๑ ๒๗/๔๑/๕๕
เฉล่ีย (ชนั้ ใน / ช้ันกลาง / ชัน้ นอก)
กม. / ชม.
๕. ร้อยละของผสู้ ัญจรด้วยจักรยาน รอ้ ยละ ๒ รอ้ ยละ ๔ รอ้ ยละ ๖ รอ้ ยละ ๘
๖. รอ้ ยละของผ้สู ญั จรทางนำ�้ ร้อยละ ๒ ร้อยละ ๓ รอ้ ยละ ๔ รอ้ ยละ ๕
14 มหาแนหค่งรเอเชีย
๓. มหานครส�ำหรับทุกคน
ประเด็น ตัวชว้ี ดั ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย รอ้ ยละ
รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ
๓. ระบบฐานข้อมูล ๑๐๐ ๖๐ ๘๐ ๑๐๐
มหานคร ๑. สัดสว่ นของจ�ำนวนผสู้ งู อายุ ร้อยละ
ส�ำหรับ ทั้งทตี่ ้องการได้รับความชว่ ยเหลอื ๑๐๐ รอ้ ยละ รอ้ ยละ
ทุกคน และไมไ่ ดร้ ับความช่วยเหลอื รอ้ ยละ ๗๐ ๑๐๐
อย่ใู นระบบฐานข้อมูล ๑๐๐
ร้อยละ ร้อยละ
๒. สัดส่วนของจ�ำนวนผู้พิการ ๑๐๐ ๑๐๐
ที่อยใู่ นระบบฐานข้อมูล ร้อยละ
๑๐๐
๓. สัดส่วนของจ�ำนวนผู้ด้อยโอกาส
ที่อย่ใู นระบบฐานข้อมูล รอ้ ยละ
๔๐
๔. สัดสว่ นของฐานขอ้ มูล
ในแตล่ ะเขตมีความเชอื่ มโยงกัน รอ้ ยละ
๕๐
๕. สดั สว่ นของฐานขอ้ มูลที่
ไดร้ ับการปรับให้เป็นปจั จบุ นั ร้อยละ
อยา่ งตอ่ เนือ่ งทกุ ปี ๖๐
ระบบสาธารณปู โภค
๑. สัดสว่ นของสาธารณปู โภค
ข้ันพื้นฐานเชน่ หอ้ งน้�ำสาธารณะ
ทางขนึ้ อาคาร - ทางเดนิ เท้า
ทางลาด ลฟิ ต์ สะพานลอย ฯลฯ
ท่ไี ด้รบั การปรบั ปรุงและพัฒนา
เพอ่ื ผู้สูงอายุ ผูพ้ ิการ
๒. สัดสว่ นของจ�ำนวนสิ่งอ�ำนวย
ความสะดวก เช่น รถเข็น ราวจบั
กนั ล่ืน ส�ำหรบั ผสู้ ูงอายุ ผ้พู กิ าร
และผู้ด้อยโอกาส เพ่ิมข้นึ
เมื่อเทยี บกับปี พ.ศ. ๒๕๕๖
สวสั ดกิ ารสงั คม
๑. สัดสว่ นของผสู้ งู อายทุ ่ีต้องการ
ความชว่ ยเหลอื ได้รับเบีย้ ยงั ชพี
ในอตั ราเทา่ กบั เส้นความยากจน
อย่างครอบคลมุ และครบถ้วน
บทนำ� 15
ประเดน็ ตัวชว้ี ดั ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย ร้อยละ รอ้ ยละ
๒. สดั ส่วนของผพู้ ิการทีต่ อ้ งการ ๖๐ ๑๐๐
ความชว่ ยเหลอื ไดร้ บั เบยี้ ยงั ชีพ รอ้ ยละ
ในอัตราเท่ากับเสน้ ความยากจน ๑๐๐ รอ้ ยละ
อยา่ งครอบคลุมและครบถ้วน ๑๐๐
รอ้ ยละ
๓. สดั สว่ นของผูด้ อ้ ยโอกาส ๗๐ รอ้ ยละ
ทต่ี อ้ งการความช่วยเหลอื ไดร้ ับ ๑๐๐
เบีย้ ยังชพี ในอัตราเท่ากบั รอ้ ยละ ร้อยละ
เสน้ ความยากจน อย่างครอบคลมุ ๑๐๐ ๑๐๐
และครบถ้วน ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
๘๐ ๖๐ ๑๐๐
๔. สัดสว่ นของผสู้ ูงอายุ ผูพ้ กิ าร รอ้ ยละ
และผ้ดู อ้ ยโอกาส ทต่ี อ้ งการ ๑๐๐
ความชว่ ยเหลือ ไดร้ บั การอบรม รอ้ ยละ
พัฒนาทักษะด้านภาษา เทคโนโลยี ๖๐
และอาชีพ โดยมกี ารลดหยอ่ น ร้อยละ
คา่ ใชจ้ า่ ย / คา่ เลา่ เรียน ๑๐๐
รอ้ ยละ
๕. สดั ส่วนของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ๒๐
และผ้ดู ้อยโอกาส ไดร้ ับการ
ลดหย่อนคา่ โดยสาร
๖. สัดส่วนของผสู้ งู อายุ ผู้พิการ
และผดู้ ้อยโอกาส ผดู้ อ้ ยโอกาส
ที่ต้องการความช่วยเหลือ มที อี่ ยู่
อาศัยท่ชี ่วยให้มคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ีข้ึน
๗. สัดส่วนของโรงพยาบาลส�ำหรับ
ผ้สู งู อายเุ พม่ิ ขนึ้ ให้ครอบคลุมกบั
จ�ำนวนผ้สู งู อายุ
๘. ร้อยละของผสู้ ูงอายุ ผพู้ กิ าร
ได้รบั สวสั ดกิ ารด้านกองทนุ ออม
และกองทุนชมุ ชน
เพื่อประกอบอาชีพ
๙. ร้อยละของเด็กพเิ ศษ
มีสถานศกึ ษารองรับ
อยา่ งครอบคลมุ
๑๐. สัดสว่ นของประชาชน
ที่ดอ้ ยโอกาส ได้รับการสนบั สนุน
สวสั ดิการชมุ ชน โดยชมุ ชนเอง
(ท่ีไมใ่ ช่รูปแบบการสงเคราะห์
จากภาครัฐ)
16 มหาแนหค่งรเอเชยี
ประเด็น ตวั ชว้ี ดั ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ย่อย
๓.๒ ๑. สัดสว่ นของผู้ด้อยโอกาส รอ้ ยละ ๓๐ ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ ๗๐ รอ้ ยละ
เมืองแห่ง ทางเศรษฐกจิ และแรงงานนอก ๑๐๐
โอกาส ระบบ ในกรงุ เทพมหานคร
ทาง มรี ายไดท้ ม่ี นั่ คง ร้อยละ ๓๐ ร้อยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๗๐ รอ้ ยละ
เศรษฐกิจ ๒. สัดสว่ นของผู้ด้อยโอกาส ๑๐๐
ทางเศรษฐกจิ และแรงงานนอก
ระบบ ในกรุงเทพมหานคร
มอี าชีพที่มั่นคง
๓.๓ ๑. เด็กและเยาวชนในพ้ืนที่ รอ้ ยละ ๓๐ ร้อยละ ๓๐ ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ ๗๕
การศกึ ษา กรุงเทพฯ ไดร้ บั การศกึ ษาระดับ
สำ� หรบั ปฐมวยั และระดับการศึกษาขั้นพ้ืน
ทุกคน ฐาน ๑๒ ปี และหรือ / การศึกษา
ตามอธั ยาศัยครอบคลมุ ในทุกเขต
พืน้ ท่ี
๒. โรงเรียนสงั กัด กทม. ร้อยละ ๓๐ รอ้ ยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๗๕ ร้อยละ
จดั การศกึ ษาส�ำหรบั เดก็ ๑๐๐
ท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษ
๓. นักเรยี นโรงเรียนสงั กดั กทม. ร้อยละ ๑๕ รอ้ ยละ ๒๕ รอ้ ยละ ๓๕ ร้อยละ ๕๐
มผี ลการทดสอบระดบั ชาตสิ ูงกวา่
คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ
ใน ๕ รายวชิ า ไดแ้ ก่
วชิ าภาษาไทย วชิ าคณิตศาสตร์
วิชาวทิ ยาศาสตร์ วชิ าสังคมศึกษา
และวชิ าภาษาองั กฤษ
๓.๔ ๑. จ�ำนวนชาวกรงุ เทพฯ รอ้ ยละ ๔๐ รอ้ ยละ ๖๐ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๕
สงั คม ทีเ่ รียนรู้ และร่วมสืบทอด
พหวุ ฒั นธรรม วัฒนธรรมของกลุ่มตน
๒ จ�ำนวนชาวกรุงเทพฯ ร้อยละ ๓๐ ร้อยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๖๐ รอ้ ยละ ๗๐
ทีม่ คี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั
วัฒนธรรม และอตั ลักษณข์ องกลุ่ม
อื่น ๆ อกี ทงั้ มีทศั นคติท่ดี ี ให้
ความเคารพ และยอมรบั ความเปน็
พหวุ ฒั นธรรมของ
เมอื งกรุงเทพฯ
บทนำ� 17
๔. มหานครกะทดั รัด
ประเดน็ ตัวช้วี ัด ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย ๒๕,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๓๕,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐
๔.๑ ๑. ความหนาแน่นเฉล่ยี ของ ๖๐
เมือง ประชากรในเขตกรุงเทพฯ ชนั้ ใน ๒๐
กรุงเทพ ไมเ่ กนิ ๔๐,๐๐๐ คน. / ตร.กม.
มหานคร ๕
เติบโตอยา่ ง ๒. ระยะเวลาเดนิ ทางเฉลย่ี ๕๐ ๔๐ ๓๐
มีระเบียบ ระหวา่ งแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั กบั แหลง่ งาน ๗๐
มีการใช้ ลดลงจาก ๖๐ นาที เปน็ ๓๐ นาที ๑๕ ๑๐ ๕
ประโยชน์ ๓. ระยะทางเฉลีย่ ระหว่างแหล่ง
ทด่ี ินและ ชมุ ชน กับแหลง่ สาธารณปู การหลกั
ทรัพยากร ต่าง ๆ ของเมอื ง สามารถเข้าถึงได้
อย่างมี ภายในระยะทาง ๕ กม.
ประสทิ ธภิ าพ
๔.๒ ๑. จ�ำนวนเมืองเครอื ข่าย ๑๐ ๑๕ ๒๐
กรุงเทพ (ศนู ยช์ มุ ชนย่อย) ท่ีมีศักยภาพ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
มหานครมี และองคป์ ระกอบทางดา้ นเศรษฐกจิ
ศนู ยช์ มุ ชน สงั คม และการศกึ ษาอยา่ งครบครนั
ยอ่ ย (Sub
Center) ๒. สดั สว่ นประชากร ตอ่ โครงสรา้ ง
เปน็ ระบบ พ้นื ฐานหลัก และสาธารณปู การ
ตามลำ� ดบั ของเมอื ง ทสี่ ามารถรองรับการ
ความ เพิ่มข้ึนของประชากรในอนาคต
สำ� คญั และ (รอ้ ยละ)
ศักยภาพ
พน้ื ที่เปน็
โครงขา่ ย
เชอ่ื มโยงกนั
อยา่ งมรี ะบบ
18 มหาแนหคง่ รเอเชยี
๕. มหานครประชาธปิ ไตย
ประเดน็ ตัวชี้วดั ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ย่อย
๕.๑ ๑. มหานครกรุงเทพฯ มอี งค์กร (ออก รเิ ริม่ รเิ ร่ิม ริเริม่
มหานคร บรหิ ารจดั ระบบสาธารณูปโภค กฎหมาย โครงการ โครงการ โครงการ
กรุงเทพ มหานคร (ใหเ้ ป็นองค์กรปกครอง จดั ตง้ั ) ลงทนุ พัฒนา พัฒนา
แบบ ท้องถิ่นแบบพิเศษ ลกั ษณะ พัฒนา เมือง
บูรณาการ Functional Decentralization) ระบบ Clusters เมือง
ทอ่ ร้อยสาย ในเขต Clusters
รว่ มกับ กทม. ในเขต
หน่วยงานที่ ระยะที่ ๑
เกีย่ วขอ้ ง กทม.
และเอกชน ระยะที่ ๒
ขยายผล
ริเร่มิ โครงการ
ผังเมอื งรวม พฒั นา
มหานคร
กรุงเทพฯ เมอื ง
จัดตัง้ บรษิ ทั Clusters
พัฒนาเมือง นอกเขต
กทม.
๕.๒ ๑. สภาประชาชนกรุงเทพฯ จดั เวทสี ภา เวทีสภา เวทสี ภา เวทสี ภา
เมอื ง ๒. สภาประชาชนระดับเขต ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน
ธรรมา-
ภบิ าล ปีละ ปีละ ปีละ ปลี ะ
๑๐ คร้งั ๑๕ คร้ัง ๒๐ ครง้ั ๓๐ คร้งั
จดั เวทีสภา จดั เวทสี ภา จัดเวทสี ภา จัดเวทีสภา
ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน
ระดบั เขต ระดับเขต ระดับเขต ระดบั เขต
ปีละ ๑๒ ปีละ ๑๒ ปีละ ๑๒ ปลี ะ ๑๒
ครงั้ /เขต คร้งั /เขต คร้ัง/เขต ครงั้ /เขต
๕๐ เขต ๕๐ เขต ๕๐ เขต ๕๐ เขต
๓. ระบบงบประมาณแบบมสี ว่ นรว่ ม ใชร้ ะบบภาษี ใช้ระบบ ใช้ระบบ
เพือ่ การ งบประมาณ งบประมาณ
พัฒนา แบบมี แบบมี
พนื้ ท่/ี สว่ นร่วม สว่ นรว่ ม
พฒั นา ระดับเขต ระดับ
คุณภาพ มหานคร
ชีวิต
บทนำ� 19
ประเด็น ตัวชว้ี ัด ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๕.๓ ๑. จัดตั้งเทศบาลนครใน กทม. แกไ้ ข
การกระจาย (รอ้ ยละของเทศบาลนครตามที่ กฎหมาย
อ�ำนาจสู่ กฎหมายก�ำหนด) ระเบียบ
ประชาชน บรหิ าร
ราชการ
กรุงเทพ
มหานคร
๒. เพิ่มอ�ำนาจหน้าท่ี ๑. อ�ำนาจ
ของกรงุ เทพมหานคร สอบสวน
คดีอาญา
บางประเภท
เชน่ เดยี วกบั
นายอ�ำเภอ
๒. ด้าน
การจราจร
(จาก
ส�ำนักงาน
ต�ำรวจ
แห่งชาติ)
๓. ด้าน
ขนส่ง
มวลชน
๕.๔ ความเช่อื มน่ั ของประชาชน ตอ่ รอ้ ยละ ๖๐ รอ้ ยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๕ ร้อยละ ๘๐
การเมือง ความซ่อื สัตยส์ ุจริตของหน่วยงาน
สขี าว และข้าราชการ กทม. (ร้อยละของ
ประชาชนทีเ่ ช่ือมัน่ )
ความเช่อื มั่นของประชาชน ต่อ รอ้ ยละ ๖๐ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๕
ความซอ่ื สัตย์สจุ ริตของผดู้ �ำรง
ต�ำแหนง่ ทางการเมือง (ร้อยละ
ของประชาชนท่ีเช่อื ม่ัน)
๕.๕ เครอื ข่ายพลเมอื งกรงุ เทพฯ จัดต้ัง รายงานผล รายงานผล รายงานผล
พลเมือง ตดิ ตามตรวจสอบความกา้ วหน้า รายงานผล ๑๐ ครั้ง ๑๐ คร้งั ๑๐ ครงั้
กรงุ เทพฯ วสิ ัยทศั น์ฯ ปีละ ๒ ครัง้ ๑๐ ครงั้
ขบั เคลือ่ น
วสิ ยั ทัศน์
20 มหาแนหค่งรเอเชยี
๖. มหานครแหง่ เศรษฐกจิ และการเรยี นรู้
ประเดน็ ตัวชว้ี ัด ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๖.๑ ๑. สัดส่วนของผ้ปู ระกอบการ ๕๐ ๑๐๐
ศูนย์กลาง ด้านเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตร
ดา้ น ที่มกี ารซอ้ื ขายแลกเปลีย่ นสินคา้
การเกษตร ในกรุงเทพมหานคร ไดร้ บั
อตุ สาหกรรม การลงทะเบยี นในฐานข้อมลู
และบริการ
สเี ขยี ว ๒. สดั ส่วนของผู้ประกอบการ ๑๕ ๒๕ ๕๐ ๗๐
ในกรงุ เทพมหานครเข้าร่วมภาคี
การซอื้ ขายแลกเปล่ียนสนิ ค้า
ดา้ นเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตร
๓. สัดสว่ นของผูป้ ระกอบการ ๑๕ ๒๕ ๕๐ ๗๐
ด้านเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตรท่ี
เขา้ ร่วมการจดั งานแสดงสนิ ค้า
เกษตรและอาหารในระดบั ภูมภิ าค
๖.๒ ๑. ขนาดของตลาดทนุ มขี นาด ๑ ใน ๕ ๑ ใน ๔ ๑ ใน ๓ ๑ ใน ๒
ศนู ย์กลาง ตดิ อนั ดบั เมอ่ื เทยี บกบั ภมู ภิ าคอาเซยี น ๑ ใน ๓๕ ๑ ใน ๓๐ ๑ ใน ๒๕ ๑ ใน ๒๐
การค้า
การเงนิ และ ๒. ขนาดของตลาดทุนมีขนาด
การลงทุน ตดิ อันดับเมอ่ื เทียบกบั โลก
๖.๓ ๑. เมืองกรุงเทพฯ อันดบั ๑-๓ อนั ดับ ๑-๓ อนั ดับ อันดบั
ศูนย์กลาง เป็นแหล่งท่องเทย่ี วท่ีสามารถดึงดูด ๑-๓ ๑-๓
การท่อง นกั ท่องเท่ียวจากทว่ั โลก
เทย่ี วระดบั มาสูเ่ มอื งกรุงเทพมหานคร
โลก สจู่ งั หวัดตา่ ง ๆ ของไทย
และส่เู มืองอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน
และในเอเชีย
๒. อตุ สาหกรรมการท่องเท่ยี ว ไม่น้อยกว่า ไม่นอ้ ยกว่า ไม่น้อยกว่า ไมน่ อ้ ยกวา่
สามารถท�ำรายได้ ใหก้ ับ รอ้ ยละ ๑๐ รอ้ ยละ ๑๐ รอ้ ยละ ๑๐ ร้อยละ ๑๐
ชาวกรุงเทพฯ ของมลู ค่า ของมูลค่า ของมลู ค่า ของมลู ค่า
ผลิตภณั ฑ์ ผลติ ภณั ฑ์ ผลติ ภณั ฑ์ ผลิตภณั ฑ์
รวมของ รวมของ รวมของ รวมของ
กรงุ เทพ กรุงเทพ กรุงเทพ กรงุ เทพ
มหานคร มหานคร มหานคร มหานคร
บทนำ� 21
ประเดน็ ตัวชีว้ ัด ๕ ปแี รก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๖.๔ ๑. กรงุ เทพมหานครติดอันดบั ๑ ใน ๔ ๑ ใน ๓ ๑ ใน ๓ ๑ ใน ๓
ศนู ย์กลาง เมอื งในภมู ิภาคอาเซยี น ทเ่ี ปน็ ๑ ใน ๔๐ ๑ ใน ๓๐ ๑ ใน ๒๐
ธุรกจิ ตาม เมอื งนวัตกรรม-วฒั นธรรม หรอื
ฐาน Bangkok Cultural Innovation
นวัตกรรม-
วฒั นธรรม ๒. กรุงเทพมหานครตดิ อนั ดบั ๑ ใน ๕๐
เมืองของโลกทเ่ี ปน็ เมืองนวตั กรรม-
วัฒนธรรม หรือ Bangkok
Cultural Innovation
๓. กรุงเทพมหานครตดิ อนั ดับ ๑ ใน ๓๐ ๑ ใน ๒๕ ๑ ใน ๒๐ ๑ ใน ๑๕
เมอื งของโลกที่เป็นตลาดแฟชน่ั
และเครื่องประดบั นานาชาติ
๖.๕ ๑. อันดับของกรุงเทพมหานคร ๑ ใน ๕ ๑ ใน ๔ ๑ ใน ๒ อนั ดบั แรก
ศูนย์กลาง เปน็ เมืองจัดประชุม นิทรรศการ ๑ ใน ๔๐ ๑ ใน ๓๐ ๑ ใน ๒๕ ๑ ใน ๒๐
การจดั เมือ่ เปรียบเทยี บกับประเทศ
ประชุมและ ในภมู ิภาคอาเซยี น
นทิ รรศการ ๒. อันดบั ของกรุงเทพมหานคร
เป็นเมอื งจัดประชุม นทิ รรศการ
เม่อื เปรียบเทียบกบั ประเทศในโลก
๗. การบรหิ ารจัดการ
ประเด็น ตวั ชว้ี ัด ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ย่อย
๔๐ ๑๐๐
๗.๑ ๑. มกี ฎหมายการบริหารราชการ
กฎหมาย กรงุ เทพมหานครท่ปี รบั ปรุง
แกไ้ ขใหม่ เรื่องโครงสร้าง อ�ำนาจ
หน้าท่ี ที่มีความอสิ ระ ในการ
บริหาร และ มคี วามคลอ่ งตัว
ในการบริหารเมืองมหานคร
(ร้อยละของกระบวนการ
การตรากฎหมาย)
22 มหาแนหคง่ รเอเชยี
ประเดน็ ตัวชีว้ ัด ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ย่อย
๒. การถา่ ยโอนภารกจิ ของหนว่ ยงาน ๘๐ ๑๐๐
ของรัฐใหก้ รุงเทพมหานคร ตาม
กฎหมายก�ำหนดแผนขัน้ ตอนการ
กระจายอ�ำนาจฯ แผนการกระจาย
อ�ำนาจฯ และแผนปฏบิ ตั กิ าร
ก�ำหนดขน้ั ตอนการกระจายอ�ำนาจฯ
(รอ้ ยละของภารกจิ ทีถ่ ่ายโอน)
๗.๒ ๑. จดั ท�ำรายงานการประเมินผล ๒ ๑๕
การบริหาร แผนพฒั นากรุงเทพมหานคร ๕๐ ๑๐๐
แผนและ ระยะ ๒๐ ปี
ประเมินผล ๒. อัตราส่วนกลยทุ ธท์ ่ีมกี ารปรบั
หลงั การประเมิน
๗.๓ บุคลากรกรงุ เทพมหานครเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานแบบมอื อาชพี มีคุณธรรม จริยธรรม และ
การบริหาร เปน็ ทเ่ี ชือ่ ม่ันของประชาชน
ทรัพยากร
บคุ คล ๑. รอ้ ยละความเชอ่ื มนั่ รอ้ ยละ ๗๕ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๘๕ รอ้ ยละ
ของประชาชน ท่มี ตี อ่ การท�ำงาน ๙๐-๙๕
ของบุคลากรกรงุ เทพมหานคร
๒. ร้อยละความเช่ือมน่ั ร้อยละ ๖๐ ร้อยละ ๗๐ รอ้ ยละ ๘๐ รอ้ ยละ
ของประชาชนท่มี ตี ่อความซ่อื สตั ย์ ๙๐-๙๕
สจุ รติ ของบคุ ลากรกรงุ เทพมหานคร
กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็ง เอ้ือต่อความเป็นธรรม
สามารถสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งชวี ติ การทำ� งาน และชวี ติ สว่ นบคุ คลของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ตลอด
จนสามารถดึงดูดผู้มีความรู้ความสามารถสูง และสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรได้
๓. อนั ดบั การเปน็ หนว่ ยงานราชการ Top ๓๐ Top ๒๕ Top ๒๐ Top ๑๐
ทีบ่ ัณฑติ จบใหม่ต้องการเขา้ มา
ปฏบิ ัติงานมากท่ีสดุ (Employers
of Choice)
๗.๔ ๑. สดั ส่วนรายไดจ้ ากภาษที ้องถิ่น มากกวา่ มากกวา่ มากกวา่ มากกวา่
การคลัง ที่ กทม. จัดเก็บเองตอ่ รายไดร้ วม รอ้ ยละ ๓๐ ร้อยละ ๔๐ รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๕๐
และ
งบประมาณ ๒. อัตราการขยายตวั ของรายได้ มากกว่า มากกว่า มากกว่า มากกวา่
ทอ้ งถิ่นทจี่ ัดเก็บเองตอ่ อัตรา ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
การขยายตัวของเศรษฐกิจใน
กรงุ เทพมหานคร (คา่ ความยดื หยนุ่
ของภาษีท้องถนิ่ ต่อ GPP ของ
กรุงเทพมหานคร)
บทนำ� 23
ประเดน็ ตัวชวี้ ดั ๕ ปีแรก ระยะ ๑๐ ปี ระยะ ๑๕ ปี ระยะ ๒๐ ปี
ยทุ ธศาสตร์ (๒๕๕๖ - (๒๕๖๑ - (๒๕๖๖ - (๒๕๗๑ -
๒๕๖๐) ๒๕๖๕) ๒๕๗๐) ๒๕๗๕)
ยอ่ ย
๓. ร้อยละการเบกิ จ่ายงบประมาณ มากกวา่ มากกว่า มากกวา่ มากกว่า
เปรยี บเทยี บกับการประมาณการ ร้อยละ ๘๐ รอ้ ยละ ๘๕ ร้อยละ ๙๐ รอ้ ยละ ๙๕
รายจ่ายภายในปีงบประมาณ
๔. รอ้ ยละของโครงการลงทนุ / มากกวา่ มากกว่า มากกวา่ มากกว่า
การจัดซ้อื ครภุ ัณฑท์ ด่ี �ำเนนิ การได้ ร้อยละ ๘๐ รอ้ ยละ ๙๐ รอ้ ยละ ๙๕ รอ้ ยละ ๙๕
ตามแผนทีก่ �ำหนด (จ�ำนวน
โครงการ - รายการและมูลคา่ )
๕. สดั สว่ นภาระหนีร้ ะยะยาว ต่อ นอ้ ยกว่า นอ้ ยกว่า นอ้ ยกว่า นอ้ ยกวา่
รายไดร้ วมของกรุงเทพมหานคร รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ
๑๐๐ ๑๒๕
๕๐ ๗๕
๖. สดั สว่ นรายจา่ ยเพอ่ื การช�ำระหน้ี น้อยกวา่ นอ้ ยกวา่ นอ้ ยกวา่ นอ้ ยกว่า
ต่อรายจา่ ยรวม (Debt Service รอ้ ยละ ๑๕ รอ้ ยละ ๑๕ รอ้ ยละ ๑๕ ร้อยละ ๑๕
Ratio)
๗. อัตราส่วนทนุ หมนุ เวียน ๒-๓ เท่า ๓-๕ เทา่ มากกวา่ มากกวา่ ๕
(Current Ratio) ของกรงุ เทพมหานคร ๕ เทา่ เท่า
๘. ระดบั เงินสะสมตอ่ รายจา่ ย มากกวา่ มากกว่า มากกวา่ มากกว่า
ประจ�ำปีของกรงุ เทพมหานคร ร้อยละ ๕ ร้อยละ ๑๐ รอ้ ยละ ๑๐ ร้อยละ ๑๐
๗.๕ ๑. กรุงเทพมหานครมกี ารน�ำ มีระบบไอที มีระบบไอที มีระบบไอที -
ระบบ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ ตอบสนอง ตอบสนอง ตอบสนอง
เทคโนโลยี การส่อื สาร มาประยุกต์ใช้ในการ ตอ่ การ ต่อการ ตอ่ การ
สารสนเทศ ใหบ้ ริการขอ้ มลู สารสนเทศ ตอ่ บริการ บริการ บรกิ าร
ประชาชนและผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ ง ประชาชน ประชาชน ประชาชน
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ไดร้ ้อยละ ได้รอ้ ยละ ได้ร้อยละ
๕๐ ๘๐ ๑๐๐
๒. กรงุ เทพมหานคร มีการน�ำ มีระบบไอที มรี ะบบไอที มรี ะบบไอที มรี ะบบไอที
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ตอบสนอง ตอบสนอง ตอบสนอง ตอบสนอง
การสือ่ สาร มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ ตอ่ การ ต่อการ ต่อการ ต่อการ
ปฏิบตั งิ าน ส�ำหรบั ภาระหนา้ ทหี่ ลกั ปฏบิ ตั งิ าน ปฏิบตั ิงาน ปฏิบตั งิ าน ปฏิบัตงิ าน
ของกรงุ เทพมหานคร และใชใ้ นการ และการ และการ และการ และการ
บริหารงาน ส�ำหรบั ผบู้ รหิ าร บริหารงาน บริหารงาน บรหิ ารงาน บรหิ ารงาน
กรุงเทพมหานครไดอ้ ยา่ งมี ไดร้ ้อยละ ได้รอ้ ยละ ไดร้ อ้ ยละ ไดร้ ้อยละ
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล ๓๐ ๕๐ ๘๐ ๑๐๐
24 มหาแนหค่งรเอเชยี
บทนำ� 25
26 มหาแนหค่งรเอเชีย กลยทุ ธ์ / มาตรการ ฯลฯ ไปสู่การปฏบิ ัติ ให้
เมอื่ ไดม้ กี ารพฒั นาจากวสิ ยั ทศั นก์ รงุ เทพฯ บรรลเุ ปา้ หมายของตวั ชวี้ ดั ซง่ึ ก�ำหนดไวใ้ นแผนฯ
พ.ศ. ๒๕๗๕ สแู่ ผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ และหน่วยงาน
๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) แล้ว ทมี ที่ปรกึ ษา ระดบั ส�ำนัก (เจา้ ภาพหลกั ) จะท�ำหนา้ ท่กี ระจาย
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน และผู้รับผิดชอบ มาตรการโครงการ เป้าหมายของตัวชี้วัดตา่ ง ๆ
ด้านการวางแผนของหน่วยงานในสังกัดของ ไปสหู่ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งระดบั ส�ำนกั ส�ำนกั งาน
กรงุ เทพมหานคร ตลอดจนตวั แทนภาคประชาชน เขตตามสภาพพน้ื ที่ หรือกลมุ่ เปา้ หมาย
ได้ทบทวน ตรวจสอบ และร่วมกันจัดท�ำแผน ดังนั้น แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
พัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี และ ระยะ ๒๐ ปี ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
น�ำมาจัดท�ำเป็นแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร จึงได้แสดงประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา
ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) กรุงเทพมหานคร ๗ ประเด็นยุทธศาสตร์ตาม
หรอื เรียกส้นั ๆ วา่ แผน ๕ ปี เพอื่ น�ำแผนพัฒนา ภารกจิ ของหนว่ ยงานระดบั ส�ำนกั แยกรายส�ำนกั
กรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ชว่ ง ๕ ปแี รก พร้อมท้ังแสดงความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนา
ไปสู่การปฏบิ ัติ โดยได้น�ำภารกิจของหน่วยงาน กรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ -
ระดบั ส�ำนัก ซง่ึ ถือวา่ เปน็ หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั ๒๕๗๕) ดังปรากฏในส่วนถดั ไป
ในการขับเคลื่อนแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย
สำ�นกั การแพทย์ 27
สำ�นักการแพทย์
แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)
28 มหาแนหค่งรเอเชยี
สำ�นักการแพทย์ 29
วิสัยทศั น์
องคก์ รด้านการแพทย์และสาธารณสุข ท่ีมีเครอื ข่ายบรกิ ารช้ันน�ำของประเทศ
ภารกจิ พนื้ ฐานและผลส�ำเร็จหลัก
ภารกจิ พ้นื ฐาน ๑ : บริการโรงพยาบาล
ผลส�ำเรจ็ หลัก ๑ - ประชาชนเขา้ ถึงบรกิ ารโรงพยาบาล และได้รับบริการสง่ เสริมสขุ ภาพ
ป้องกนั โรค บ�ำบัดรกั ษา และฟนื้ ฟูสุขภาพ ทม่ี ีคุณภาพ
ภารกจิ พ้ืนฐาน ๒ : บริการใหค้ วามช่วยเหลือด้านการแพทย์ ในภาวะวิกฤตฉุกเฉนิ
ผลส�ำเรจ็ หลัก ๒ - ประสบอบุ ตั เิ หตแุ ละเจบ็ ปว่ ยขนั้ วกิ ฤต ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ และ
เคลอ่ื นย้ายไปยงั สถานพยาบาลทีเ่ หมาะสม
ภารกิจพืน้ ฐาน ๓ : นโยบายและบริหารจัดการ
ผลส�ำเรจ็ หลัก ๓ -นโยบายและการบริหารงานส่วนกลาง สามารถสนับสนุนให้
การด�ำเนินงานของส�ำนักโดยองค์รวมประสบความส�ำเร็จอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
ความเชื่อมโยงกับแผนพฒั นากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕)
เปา้ ประสงค์ตามวสิ ยั ทศั นท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ มหานครปลอดภยั
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ยอ่ ย ๑.๖ ปลอดโรคคนเมอื ง อาหารปลอดภยั
เป้าประสงค์ ๑.๖.๑ เพิม่ การเข้าถึงการบริการ ในการดแู ลรกั ษาสุขภาพชาวกรงุ เทพมหานคร
เปา้ ประสงค์ ๑.๖.๒ อตั ราการป่วยตายด้วยโรคตดิ ต่อที่ส�ำคัญในเขตเมอื ง ไม่เกนิ มาตรฐานของ
ประเทศ
เปา้ ประสงค์ ๑.๖.๓ อตั ราการปว่ ยตายดว้ ยโรคไม่ติดตอ่ ท่สี �ำคัญในเขตเมืองลดลง
เป้าประสงค์ ๑.๖.๕ การสอื่ สารสาธารณะเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจแกป่ ระชาชน ในเรอ่ื งโรคคนเมอื ง
และอาหารปลอดภยั
ภารกิจพื้นฐาน ความเช่อื มโยง
บริการโรงพยาบาล • สง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ ระบบบรกิ ารและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ
เชื่อมโยงกับเป้าประสงค์ ข้อ ๑.๖.๑, ในพน้ื ทีก่ รงุ เทพฯ
๑.๖.๒, ๑.๖.๓, ๑.๖.๕ • พฒั นาเครอื ขา่ ยระบบบรกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ใน
พน้ื ทีก่ รุงเทพมหานคร
• การปอ้ งกนั โรค บ�ำบัดรักษาและฟน้ื ฟสู ขุ ภาพท่มี คี ุณภาพ
บรกิ ารให้ความชว่ ยเหลือ ผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินท่ีขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินข้ันสูง
ด้านการแพทยใ์ นภาวะวกิ ฤตฉกุ เฉิน (Advance) สามารถได้รับบริการภายใน ๑๐ นาที และส่วนของ
เชอ่ื มโยงกับเป้าประสงค์ ข้อ ๑.๖.๑ ขน้ั พืน้ ฐาน (Basic) สามารถได้รบั บริการภายใน ๑๕ นาที
30 มหาแนหค่งรเอเชีย
ปจั จัยทา้ ทาย / ปจั จยั เส่ียง ค�ำอธิบาย
ความชุกของโรคเร้ือรังของคน วถิ ชี วี ติ คนเมอื งทข่ี าดปจั จยั สง่ เสรมิ ภายใน (ความรู้ ความเขา้ ใจ
กรงุ เทพฯ เชน่ โรคความดนั โลหิตสูง ความตระหนัก ฯลฯ ต่อโรคคนเมือง) และขาดปจั จัยส่งเสรมิ
โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลอื ดสงู ภายนอก (เช่น ส่ิงแวดลอ้ ม ร้านอาหาร Fast Food ทม่ี ี
และโรคหลอดเลือดหัวใจ สูงท่ีสุด มากมายใน กทม. และเปน็ ทนี่ ยิ มของเดก็ วยั รนุ่ และผปู้ กครอง
เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ ภู มิ ภ า ค อื่ น ข อ ง ทตี่ อ้ งการความสะดวกสบายท�ำใหเ้ ดก็ เกดิ โรคอว้ น ผใู้ หญอ่ ว้ น
ประเทศไทย (ความชุกของโรค ลงพุง ขาดสวนสาธารณะ หรือพื้นท่ีสีเขียวที่เพียงพอ
ความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๒๙.๘ ขาดบรกิ ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพเชงิ รกุ ฯลฯ) ทน่ี �ำสกู่ ารสรา้ งเสรมิ สขุ
ความชุกของโรคเบาหวานร้อยละ ภาวะทางกาย และใจ
๙.๒)
การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ การอพยพยา้ ยถน่ิ ทงั้ ภายในประเทศ ตา่ งประเทศ และประเทศ
และอุบัติเก่าจากการอพยพย้ายถิ่น เพอื่ นบา้ น ตลอดจนการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น ท�ำใหเ้ กดิ การ
และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เคล่อื นย้ายของประชากร หากไมส่ ามารถควบคมุ ติดตาม ได้
(โรคอุบัติใหม่ ได้แก่ ไข้หวัดสาย อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จะเกดิ ปญั หาการแพรร่ ะบาดของโรคอบุ ตั ใิ หม่
พนั ธใ์ุ หม่ SAR มอื เท้าปาก ฯลฯ และเก่าอย่างกว้างขวาง และส่งผลต่อการสาธารณสุขของ
และอบุ ตั เิ กา่ เชน่ ทอ้ งรว่ ง ไขเ้ ลอื ดออก กรุงเทพมหานคร
มาลาเรีย และวัณโรค เป็นต้น)
แผนยทุ ธศาสตร์ของหนว่ ยงาน
เปา้ ประสงค์ / กลยทุ ธ์ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
เปา้ ประสงค์ (Objective) ๑.๖.๑ เพิ่มการเข้าถงึ บรกิ ารในการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ
ชาวกรุงเทพมหานคร
(ตัวชี้วดั ) รอ้ ยละความครอบคลุมของการเข้าถงึ บรกิ าร ในการดแู ลรกั ษา ร้อยละ ๑๐
สขุ ภาพชาวกรุงเทพฯ
กลยทุ ธ์ (Action) ๑.๖.๑.๑ สง่ เสรมิ การเข้าถึงระบบบรกิ าร
และมาตรฐานบริการสาธารณสขุ ในพ้ืนทก่ี รุงเทพฯ
(ตวั ชวี้ ดั ) รอ้ ยละของเขตทีเ่ พม่ิ การบรกิ ารดแู ล ปอ้ งกัน ควบคุม รักษาโรค ร้อยละ ๒๐
โดยรว่ มมือ และประสานกับเครอื ขา่ ยบริการสุขภาพภาครัฐ เอกชน และ
ชมุ ชน
(ตัวชีว้ ดั ) ร้อยละของเขตทีพ่ ัฒนาศกั ยภาพชุมชนในการปอ้ งกัน ควบคุม ร้อยละ ๒๐
โรคตดิ ตอ่
สำ�นักการแพทย์ 31
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
(ตัวช้ีวัด) ร้อยละความครอบคลมุ ของเขต ทจ่ี ดั บริการการแพทย์ทางเลือก รอ้ ยละ ๕
ส�ำหรบั คนเมอื ง (เชน่ การนวดแพทยแ์ ผนไทยสมนุ ไพร การแพทยแ์ นวพทุ ธ ฯลฯ)
ในหน่วยบรกิ ารทางการแพทย์
(ตวั ชวี้ ดั ) รอ้ ยละของผูป้ ่วยวกิ ฤติฉุกเฉิน ทขี่ อรับบรกิ ารทางการแพทยฉ์ กุ เฉิน ร้อยละ ๕๐
ขน้ั สงู (Advance) สามารถไดร้ บั บริการภายใน ๑๐ นาที และส่วนของ
ขนั้ พน้ื ฐาน (Basic) สามารถไดร้ ับบริการภายใน ๑๕ นาที
กลยทุ ธ์ (Action) ๖.๑.๑.๒ พฒั นาเครือขา่ ยระบบบรกิ ารด้านการแพทย์ ร้อยละ ๑๕
และสาธารณสุข ในพื้นท่กี รุงเทพฯ
(ตวั ชว้ี ัด) รอ้ ยละความครอบคลุมของเขต ท่ขี ยายบริการดูแลสุขภาพคนเมือง
ผ่านภาคเี ครอื ขา่ ยชุมชน ภาครัฐ และเอกชน
เปา้ ประสงค์ (Objective) ๑.๖.๒ อัตราป่วยตายด้วยโรคติดตอ่ ที่สำ� คัญในเขตเมอื ง ไมเ่ กิน
มาตรฐานของประเทศ
โรคตดิ ตอ่ (Communicable Disease)
(ตัวชี้วดั ) อัตราป่วยโรคไขเ้ ลอื ดออก อตั ราปว่ ยโรค
ไขเ้ ลอื ดออก ไมเ่ กนิ
๘๐ เปอร์เซ็นต์ไทล์
ของขอ้ มูล ๕ ปี
ย้อนหลงั
(ตัวช้ีวัด) วัณโรค : รอ้ ยละผลส�ำเรจ็ ของการรกั ษา ผ้ปู ว่ ยวณั โรค ร้อยละ ๘๕
(ตวั ชี้วดั ) เอดส์ : รอ้ ยละหญงิ ฝากครรภท์ ตี่ รวจพบตดิ เช้ือเอดสใ์ น กทม. นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๑
(ตัวชี้วัด) อัตราป่วยโรคพิษสนุ ขั บา้ อัตราปว่ ยโรค
พิษสนุ ัขบา้
ไมเ่ กิน ๐.๐๒ ราย
ตอ่ ประชากรแสนคน
(ตวั ชวี้ ดั ) อตั ราป่วยโรคติดเช้อื ทางเดนิ หายใจ (ไขห้ วัดใหญ)่ อัตราป่วยโรค
ไข้หวัดใหญ่ ไมเ่ กิน
๘๐ เปอร์เซน็ ตไ์ ทล์
ของข้อมลู ๕ ปี
ย้อนหลงั
32 มหาแนหค่งรเอเชีย
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
กลยทุ ธ์ (Action) ๑.๖.๒.๑ ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมในการเฝา้ ระวงั และ ๕๐
ปอ้ งกันโรคติดต่อทีส่ �ำคญั ในเขตเมือง ในเครือขา่ ยภาครฐั เอกชน และ
ประชาชน
(ตัวชี้วัด) รอ้ ยละผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ สร้างเครอื ขา่ ยเฝ้าระวังและป้องกนั
โรคติดตอ่ ทส่ี �ำคญั ในเขตเมือง ท่มี ีความตระหนกั และรว่ มมือ
กลยทุ ธ์ (Action) ๑.๖.๒.๒ เพ่มิ อตั ราความครอบคลุมของการไดร้ บั วัคซนี >๔๐
ปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ที่ส�ำคญั
(ตัวช้ีวัด) รอ้ ยละความครอบคลมุ ของการได้รบั วัคซีนปอ้ งกนั โรคไขห้ วัดใหญ่
กลยุทธ์ (Action) ๑.๖.๒.๓ เพิ่มพนู ความรเู้ พอื่ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ๕๐
ตอ่ โรคตดิ ต่อท่ีส�ำคญั ในเขตเมือง
(ตวั ชี้วดั ) ร้อยละผูเ้ ข้าร่วมการจดั กจิ กรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และ
ลดพฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ โรคติดตอ่ ทส่ี �ำคญั ในเขตเมอื ง
เปา้ ประสงค์ (Objective) ๑.๖.๓ อัตราป่วยตายด้วยโรคไม่ตดิ ตอ่ ท่สี ำ� คัญในเขตเมอื งลดลง
(ตัวช้วี ัด) ความชกุ ของภาวะอว้ น [BMI>๒๕ kg / m2] ไมเ่ กนิ ร้อยละ ๓๕
(ตวั ช้วี ัด) ความชุกของโรคเบาหวาน (DM) ไม่เกินร้อยละ ๕
(ตวั ช้ีวัด) ความชุกของโรคความดันโลหติ สงู (HT) ไม่เกนิ รอ้ ยละ ๒๐
(ตวั ช้ีวัด) อตั ราปว่ ยโรคหลอดเลือด กลา้ มเนือ้ หัวใจตาย ร้อยละ ๓
(ตวั ชี้วดั ) ความชกุ ของโรคมะเรง็ เต้านม (Breast Cancer) ไม่เกิน ๓๗
(ตวั ชว้ี ดั ) ความชกุ ของโรคมะเรง็ ปากมดลกู (Cervical Cancer) ไม่เกนิ ๑๔
(ตวั ชี้วัด) อตั ราการประสบอันตราย หรือป่วยจากการท�ำงาน ลดลงร้อยละ ๑๐
(ตัวชว้ี ดั ) อัตราการฆ่าตวั ตาย ไมเ่ กินอตั ราเฉลย่ี
ของประเทศ
(ตัวชว้ี ดั ) ความชกุ ของโรคในผูส้ งู อายุ รอ้ ยละ ๕
กลยทุ ธ์ (Action) ๑.๖.๓.๑ สง่ เสริมใหค้ นกรงุ เทพฯ มีพฤตกิ รรมสุขภาพที่ดี ๓๔๐ ชมุ ชน
เพ่ือลดพฤติกรรม หรอื สภาวะเส่ยี งตอ่ การเกดิ โรคไม่ติดตอ่
(ตัวชว้ี ัด) จ�ำนวนชุมชนทมี่ ีโครงการคนกรงุ เทพฯ สุขภาพดีถว้ นหนา้
กลยทุ ธ์ (Action) ๑.๖.๓.๒ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั การคดั กรอง อย่างน้อย ๑ คร้งั
ความเสย่ี งต่อโรคไมต่ ิดตอ่ ท่สี �ำคัญในเขตเมือง ตอ่ ปี
(ตวั ช้ีวัด) จ�ำนวนคร้งั ของการคัดกรองโรคคนเมอื งตอ่ ปี
สำ�นกั การแพทย์ 33
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
เปา้ ประสงค์ (Objective) ๑.๖.๕ การสือ่ สารสาธารณะเพ่ือสรา้ งความเข้าใจแกป่ ระชาชน
ในเร่อื งโรคคนเมืองและอาหารปลอดภัย
(ตัวช้วี ัด) ความครอบคลมุ ของการเขา้ ถึงส่อื สารธารณะของประชาชน รอ้ ยละ ๓๐
กลยทุ ธ์ (Action) ๑.๖.๕.๑ ส่งเสริมประชาสัมพนั ธ์ใหค้ วามร้แู ก่ประชาชน รอ้ ยละ ๓๐
ในเร่ืองโรคคนเมอื งและอาหารปลอดภยั ทกุ รปู แบบ ทุกชอ่ งทาง
(ตัวชี้วัด) ร้อยละความครอบคลมุ สอื่ ประชาสัมพนั ธใ์ นเรือ่ งโรคคนเมือง
และอาหารปลอดภยั
(ตัวชีว้ ดั ) จ�ำนวนครงั้ การจัดงาน มหกรรมสรา้ งสขุ ภาพคนกรุงเทพฯ ๔ ป/ี ครงั้ (ผเู้ ขา้ รว่ ม
(Bangkok Health Day) และรอ้ ยละของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ โครงการเพิ่มข้ึน
ร้อยละ ๕)
ภารกจิ ยทุ ธศาสตร์ : จ�ำแนกตามโครงการ
งบประมาณ (ล้านบาท)
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
๑. โครงการ เพิม่ การบรกิ ารดูแล ปอ้ งกนั ควบคมุ รกั ษาโรคโดยรว่ มมือ และ ๗๐
ประสานกับเครือข่ายบริการสขุ ภาพภาครฐั เอกชน และชมุ ชน
๒. โครงการการบรกิ ารทางการแพทย์ฉกุ เฉนิ ขัน้ สงู (Advance) สามารถ ๑๐๐
ได้รับบริการภายใน ๑๐ นาที และสว่ นของข้นั พ้นื ฐาน สามารถรับบริการ
ภายใน ๑๕ นาที
๓. โครงการขยายบรกิ ารดูแลสุขภาพคนเมอื งผา่ นภาคีเครอื ข่ายชมุ ชน ภาครฐั ๑๐๐
และเอกชน
๔. โครงการสรา้ งเครอื ข่ายเฝ้าระวังและปอ้ งกนั โรคตดิ ต่อทส่ี �ำคญั ในเขตเมอื ง ๗๐
๕. วัคซีนปอ้ งกันโรคไข้หวดั ใหญ่ ๑๐
๖. โครงการส่งเสริมสขุ ภาพของคนกรงุ เทพฯ ให้ดีถว้ นหน้า ๒๕
๗. บรกิ ารคัดกรองโรคคนเมืองอยา่ งน้อย ๑ ครง้ั / ปี (คัดกรองโรคอว้ น ๒๐
เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ปัญหา
สุขภาพจติ และโรคอื่น ๆ)
รวมเป็นเงนิ ๓๙๕
34 มหาแนหค่งรเอเชยี งบประมาณ (ล้านบาท)
แผนการลงทุนของหน่วยงาน ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
-
โครงการลงทนุ ตามแผนพัฒนากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี -
- งบประมาณ (ลา้ นบาท)
- ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
กรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง ๓๙๕
จ�ำแนกตามประเภทงบประมาณ (Budget Classification) -
๓๙๕
ภารกจิ ยุทธศาสตร์
งบลงทนุ
รวมท้งั สนิ้
สำ�นักอนามัย 35
สำ�นักอนามยั
แผนพฒั นากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี
ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐)
36 มหาแนหค่งรเอเชยี
สำ�นักอนามัย 37
วิสัยทศั น์
ประชาชนมสี ุขภาพดี ใส่ใจสุขภาพ เขา้ ถึงระบบบรกิ ารทีไ่ ดม้ าตรฐาน เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของ
ภาคีและเครอื ขา่ ย
ภารกจิ พ้นื ฐานและผลสำ� เร็จหลกั
ภารกิจพนื้ ฐาน ๑ : สร้างเสรมิ สุขภาพ ป้องกนั และควบคุมโรค
ผลส�ำเร็จหลกั ๑ - ประชาชนมสี ขุ ภาพท่ีดี มีภาวะการเจ็บปว่ ยและการตายด้วยโรคทเี่ กิด
จากพฤติกรรมเสีย่ งและโรคทีป่ อ้ งกนั ได้ลดลง
ผลส�ำเรจ็ หลัก ๒ - ลดอัตราการเจ็บป่วยและการตายที่เกิดจากโรคติดต่อ และสามารถ
ปอ้ งกนั ควบคมุ และหยุดย้ังไมใ่ หโ้ รคติดตอ่ แพรก่ ระจายไปในวงกว้าง
ผลส�ำเร็จหลกั ๓ - ป้องกันการแพร่ระบาดโรคในสัตว์เลี้ยง ลดปัญหาอันเกิดจากการ
แพรพ่ ันธุ์สตั ว์ และความไม่ปลอดภยั ท่ีเกิดจากโรคพิษสุนขั บา้
ภารกิจพ้ืนฐาน ๒ : สง่ เสรมิ สุขาภบิ าลอาหารและอนามยั ส่ิงแวดล้อม
ผลส�ำเรจ็ หลกั ๔ - ประชาชนได้บริโภคอาหารท่ีมีความปลอดภัย ปราศจากเช้ือโรคและ
สารปนเป้ือนท่ีเปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ
ผลส�ำเรจ็ หลกั ๕ - ประชาชนมสี ขุ อนามยั ทดี่ ี ปลอดภยั จากโรคและสง่ิ คกุ คามทเ่ี ปน็ อนั ตราย
ตอ่ สขุ ภาพ อนั เกดิ จากปจั จยั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มในสถานประกอบการ อาคาร
สถานที่ ทพ่ี กั อาศยั และความเสย่ี งภยั อนั ตรายทเ่ี กดิ จากสารเคมแี ละวตั ถุ
อันตราย
ภารกิจพื้นฐาน ๓ : รักษาพยาบาลปฐมภมู ิ ฟ้ืนฟูสขุ ภาพ และสาธารณสขุ มลู ฐาน
ผลส�ำเรจ็ หลกั ๖ - ประชาชนเข้าถึงระบบรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพข้ันพ้ืนฐาน
ท่ีมีคณุ ภาพ
ผลส�ำเร็จหลกั ๗ - ประชาชนมีสุขภาพปากและฟันที่ดี มีโรคฟันผุและโรคในช่องปาก
นอ้ ยลงในทกุ ชว่ งวยั ของชีวิต
ผลส�ำเร็จหลัก ๘ - ประชาชนมสี ว่ นรว่ มและมเี ครอื ขา่ ยในการดแู ลสขุ ภาพตนเอง ครอบครวั
และชมุ ชน
ผลส�ำเร็จหลกั ๙ - ประชาชนทม่ี ปี ญั หาทางสขุ ภาพ หรอื ไดร้ บั ผลกระทบจากปญั หาสขุ ภาพ
ของคนในครอบครวั มภี าวะพึ่งพา หรอื ปญั หาทางเศรษฐกจิ อันเปน็ ผล
จากปัญหาสุขภาพ หรือถูกกระท�ำรุนแรงอันมีผลต่อสุขภาพ ได้รับการ
ชว่ ยเหลือและค้มุ ครอง มีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีขน้ึ
ภารกจิ พนื้ ฐาน ๔ : ปอ้ งกนั บ�ำบัดรกั ษาและฟ้ืนฟกู ารติดยาเสพตดิ และสารเสพตดิ
ผลส�ำเร็จหลัก ๑๐ - ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงโทษและภัยของยาและสารเสพติด
รู้จักป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง ท่ีจะเข้าเก่ียวข้องกับยาและ
สารเสพตดิ
ผลส�ำเรจ็ หลกั ๑๑ - ลดภาวะเส่ียงตอ่ การเกิดทพุ พลภาพจากการใชย้ าและสารเสพตดิ และ
เพื่อให้ผู้ติดยาและสารเสพติดเข้าสู่กระบวนการบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟู
สมรรถภาพ
38 มหาแนหค่งรเอเชยี
ภารกิจพ้ืนฐาน ๕ : นโยบายและบริหารจัดการ และสนับสนุนระบบบริการสขุ ภาพ
ผลส�ำเรจ็ หลกั ๑๒ - สว่ นราชการทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั งานบรกิ ารสาธารณสขุ ของกรงุ เทพมหานคร
มียาและเวชภณั ฑ์เพียงพอ ตรงกบั ความต้องการ และไดร้ ับสนับสนุนการ
ตรวจวเิ คราะหท์ างห้องปฏบิ ัติการ ท่รี วดเรว็ และมีคณุ ภาพมาตรฐาน
ผลส�ำเรจ็ หลัก ๑๓ - นโยบายและการบรหิ ารงานสว่ นกลาง สามารถสนบั สนนุ ให้ การด�ำเนนิ งาน
ของส�ำนักโดยองค์รวม ประสบความส�ำเรจ็ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ความเช่อื มโยงกบั แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕)
เป้าประสงค์ตามวิสยั ทัศน์ท่ีเกยี่ วข้อง ได้แก่
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ มหานครปลอดภยั
ประเดน็ ยุทธศาสตรย์ อ่ ย ๑.๒ ปลอดอาชญากรรม ยาเสพติด
เปา้ ประสงค์ ๑.๒.๑ ประชาชนมคี วามปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ปราศจากยาเสพตดิ และ
การก่อการรา้ ย
ประเด็นยุทธศาสตรย์ ่อย ๑.๖ ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
เป้าประสงค์ ๑.๖.๑ เพ่ิมการเขา้ ถึงการบรกิ ารในการดูแลรักษาสขุ ภาพชาวกรุงเทพมหานคร
เป้าประสงค์ ๑.๖.๒ อัตราการป่วยตายด้วยโรคติดต่อท่ีส�ำคัญในเขตเมืองไม่เกินมาตรฐาน
ของประเทศ
เปา้ ประสงค์ ๑.๖.๓ อตั ราการป่วยตายดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ ทสี่ �ำคัญในเขตเมอื งลดลง
เป้าประสงค์ ๑.๖.๔ ส่งเสรมิ การสขุ าภิบาลสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmental Sanitation) ของ
อาคารสถาน (อาคารพักอาศัย อาคารสาธารณะ และอาคารสถาน
ประกอบการ) ใหม้ สี ขุ ลกั ษณะ หรอื สภาวะทปี่ ลอดโรค ปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ
เปา้ ประสงค์ ๑.๖.๕ การสื่อสารสาธารณะ เพ่ือสร้างความเข้าใจแก่ประชาชน ในเร่ืองโรค
คนเมืองและอาหารปลอดภัย
เป้าประสงค์ ๑.๖.๖ พฒั นาระบบข้อมูลสขุ ภาพ ของประชาชนในพ้ืนที่กรงุ เทพมหานคร
เปา้ ประสงค์ ๑.๖.๗ พัฒนาและส่งเสริมวิถีชีวิตและพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของ
คนกรงุ เทพมหานคร
เปา้ ประสงค์ ๑.๖.๘ ประชาชนในกรุงเทพฯ มีความเช่ือมั่นในความปลอดภัยของอาหาร
ทรี่ บั ประทาน