The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ปี 2563 และชุมชนมาตรฐานสูง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by athens_publishing, 2021-12-21 11:01:34

โครงการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ปี 2563

โครงการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ปี 2563 และชุมชนมาตรฐานสูง

Keywords: ชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน,ชุมชนมาตรฐานสูง,การเคหะแห่งชาติ

ตารางที่ 4-5 เกณฑก ารใหคะแนนตวั ชี้วัดดานสงั คมและชมุ ชน

SOC5 มีกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรภู ายในชมุ ชนและถา ยทอดความรูสชู มุ ชนอน่ื

0.00 ไมมกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรูภายในชุมชนและถายทอดความรสู ชู มุ ชนอื่น

1.00 ทปี่ ระชมุ แจงวา มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรูภายในชุมชนและถายทอดความรสู ชู ุมชนอนื่

1.50 มวี ิทยากรผถู ายทอดความรใู หแกสมาชกิ ในชุมชนเขา ประชุม / มรี ูปถาย
2.00 มวี ิทยากรผถู ายทอดความรใู หแกส มาชิกในชุมชน ชมุ ชนอืน่ ๆ หรอื องคกรทอ งถิน่ เขา ประชุม / มรี ูปถา ย

ชุมชนมที รพั ยากรมนษุ ยท่ีมอี งคความรู (เชน วิทยากรผูใ หความรดู านดา นหนึ่ง) ซ่งึ สามารถถา ยทอดใหแกส มาชิกในชมุ ชน ชมุ ชนอน่ื ๆ หรอื
ในระดับองคการบรหิ ารสวนทอ งถิ่น/หมบู า น/ตาํ บล/จงั หวัด

SOC6 มกี ารสงเสริมใหความรดู านสุขภาพอนามัย หรอื มีแผน/ระบบการจัดการ
ในภาวะโรคระบาด

0.00 ไมม กี ารสง เสรมิ ใหค วามรดู านสุขภาพอนามัย และ/หรอื มแี ผน/ระบบการจัดการในภาวะโรคระบาด
0.50 ที่ประชมุ แจง วา ชมุ ชนมีกลมุ อสม./กจิ กรรมใหค วามรดู า นสุขภาพอนามัย/แผนรับมือโรคระบาด อยางใดอยา งหนึ่ง
1.00 ท่ปี ระชมุ แจงวา ชุมชนมที งั้ กลุม อสม. กจิ กรรมใหค วามรูดานสุขภาพอนามยั และแผนรบั มอื โรคระบาด
1.50 มีกลุม อสม. เขารวมประชมุ มีภาพถายกิจกรรมใหความรดู านสุขภาพอนามยั หรือ มีคมู ือแผนรับมือโรคระหบาด
2.00 มีกลุม อสม. เขารวมประชุม มภี าพถายกิจกรรมใหค วามรูดานสขุ ภาพอนามยั และ มคี ูม อื แผนรบั มือโรคระหบาด

ชุมชนมีกิจกรรมสงเสรมิ และใหความรูด า นสุขภาพอนามยั โดยมีสง ทบ่ี งบอกดงั นี้ (สามารถเปนกจิ กรรมออนไลนไ ด)
1) กลมุ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) หรอื กลมุ ทีช่ วยจัดการโรคระบาด (เชน COVID-19 ไขเลอื ดออก ฯลฯ)
2) กจิ กรรมใหความรดู านสขุ ภาพอนามยั อืน่ ๆ 3) มีแผน/คมู อื ที่สามารถปฎิบัตไิ ดท นั ทีทท่ี องถนิ่ ประกาศภาวะโรคระบาด

SOC7 มีกจิ กรรมกลมุ จติ อาสาหรือบาํ เพญ็ ประโยชนต อชมุ ชน

0.00 ไมม กี ลุมจติ อาสา/ธนาคารเวลา
0.50 ที่ประชุมแจง วา ชุมชนมี 1) กลมุ จิตอาสา หรอื 2) ระบบธนาคารเวลา แตไมม ีหลักฐานหรือตัวแทนเขารว มประชุม
1.00 ทป่ี ระชุมแจงวา ชุมชนมี 1) กลมุ จติ อาสา และ 2) ระบบธนาคารเวลา แตไมม ีหลักฐานหรือตัวแทนเขา รวมประชุม
1.50 มี 1) ตวั แทนกลมุ จติ อาสาเขารว มประชุม หรือ 2) มีหลกั ฐานหรือเอกสารเก่ียวกบั ระบบธนาคารเวลา
2.00 มี 1) ตวั แทนกลุมจติ อาสาเขา รว มประชมุ และ 2) มหี ลักฐานหรอื เอกสารเกยี่ วกบั ระบบธนาคารเวลา

ชุมชนมกี ารจัดกจิ กรรมกลุมจิตอาสา หรอื กจิ กรรมดานการบาํ เพ็ญประโยชนตอ ชมุ ชน เชน
1) กลมุ จิตอาสา 2) ระบบธนาคารเวลา

SOC8 มกี จิ กรรมทางประเพณหี รือวนั สําคญั อยา งนอ ยปล ะ 4 ครัง้

0.00 ไมมีการจัดกจิ กรรมทางประเพณหี รอื วันสําคัญ
0.50 มกี ารจดั กิจกรรมทางประเพณหี รือวนั สาํ คญั ปล ะ 1 คร้ัง
1.00 มีการจดั กิจกรรมทางประเพณีหรือวันสําคัญปละ 2 คร้ัง
1.50 มีการจดั กิจกรรมทางประเพณหี รอื วันสาํ คัญปล ะ 3 ครั้ง
2.00 มกี ารจัดกจิ กรรมทางประเพณีหรือวันสําคัญปละ 4 ครัง้ ขึ้นไป

ชุมชนมกี ิจกรรม เชน วนั ข้นึ ปใ หม วันเด็ก วนั สงกรานต วนั พอ วันแม วนั เขา พรรษา การทาํ บุญตามประเพณีทอ งถิ่น วันลอยกระทง หรอื
กิจกรรมทางประเพณหี รือวนั สาํ คญั โดยนบั รวมท้ังกจิ กรรมทชี่ ุมชนจัดข้ึนเอง หรือมีการสง ตวั แทนอยา งไปรว มกับชุมชนอืน่ หรอื สว น
ปกครองทองถิน่ โดยมีรูปถายกจิ กรรมเหลานั้นเปนหลักฐานใหแกผ ปู ระเมนิ

45

ตารางที่ 4-5 เกณฑก ารใหคะแนนตัวช้ีวัดดานสังคมและชมุ ชน

SOC9 มกี จิ กรรมดา นกฬี าหรือสนั ทนาการ
0.00 ไมม กี ารจัดกจิ กรรมดานกีฬาหรอื สันทนาการ
0.50 มีการจดั กจิ กรรมดา นกฬี าหรือสันทนาการ 1 กิจกรรมตอ ป/กลุม/ทมี /ชมรม
1.00 มกี ารจดั กจิ กรรมดา นกีฬาหรือสนั ทนาการ 2 กจิ กรรมตอป/กลมุ /ทีม/ชมรม
1.50 มีการจดั กิจกรรมดา นกีฬาหรอื สนั ทนาการ 3 กิจกรรมตอป/กลมุ /ทมี /ชมรม
2.00 มกี ารจัดกจิ กรรมดานกีฬาหรอื สนั ทนาการ 4 กิจกรรมตอ ป/กลมุ /ทมี /ชมรม ขน้ึ ไป
ชุมชนมีกลมุ กจิ กรรมดา นกีฬาและสันทนาการ เชน ทมี กฬี า กลุมแอโรบคิ ชมรมดนตรี หรือ กลุม งานฝมอื /งานศลิ ป

SOC10 มีระบบการดูแล (กิจกรรมสรางสุข) ผสู งู อายุ ผูพิการ หรอื ผูปวยตดิ เตียง
0.00 ไมมีระบบการดูแล (กจิ กรรมสรา งสขุ ) ผสู ูงอายุ ผพู ิการ หรอื ผูป วยตดิ เตยี ง
ทีป่ ระชมุ แจง วา ชุมชนมีกลุมกจิ กรรมเพ่อื ผูสงู อายุ กลุมอาสาดูแลผูส งู อายุ ผูพ กิ าร หรอื ผปู วยตดิ เตยี ง แตไ มมีตวั แทน
1.00 จากกลมุ เขารวมประชมุ หรอื หลักฐานเอกสาร/ภาพถาย มาแสดง

2.00 มีตวั แทนจากกลมุ กิจกรรมเพอ่ื ผสู งู อายุ กลุมอาสาดแู ลผสู งู อายุ ผูพ ิการ หรือ ผปู ว ยตดิ เตียง เขา รว มประชุม หรือ มี
หลกั ฐานเอกสาร/ภาพถา ย

ชมุ ชนมกี จิ กรรมเพ่ือผสู งู อายุ และ/หรือ ระบบการดแู ลผสู ูงอายุ ผูพิการ หรือ ผปู ว ยติดเตียง

SOC11 มีภาคีเครือขา ยทง้ั ภาครฐั และเอกชนใหก ารสนับสนนุ หรือเขา รวมกิจกรรมทจี่ ัด
0.00 ไมมีภาคีเครือขายทง้ั ภาครัฐและเอกชนใหก ารสนับสนุนหรอื เขารว มกิจกรรมท่ีจัด
0.50 มหี นังสอื ขอความอนุเคราะห/หนงั สือขอบคุณ 1 กิจกรรม
1.00 มีหนงั สอื ขอความอนุเคราะห/หนังสอื ขอบคุณ 2 กจิ กรรม
1.50 มหี นงั สอื ขอความอนุเคราะห/หนังสอื ขอบคณุ 3 กจิ กรรม
2.00 มีหนังสือขอความอนเุ คราะห/หนงั สอื ขอบคณุ 4 กิจกรรม

กิจกรรมตา งๆทีช่ มุ ชนจัดขึ้นมีองคก ารบริหารสว นทอ งถน่ิ หนวยงานภาครัฐ หรือผูประกอบการเอกชน โดยแสดงหลักฐาน เชน ภาพถา ย

หนังสือขอความอนุเคราะหสนบั สนุนกิจกรรม หรอื หนังสอื ขอบคุณท่ไี ดส นบั สนุนกิจกรรม

SOC12 มีแผนการพัฒนาชมุ ชนอยางตอเน่ือง
0.00 มแี ผนการพฒั นาชมุ ชนอยางตอเนอ่ื ง
0.50 ทป่ี ระชุมแจง วา ชุมชนกําลงั จะมแี ผนการพัฒนาชมุ ชน
1.00 ที่ประชมุ แจง วา ชุมชนมแี ผนการพฒั นาชมุ ชน แตไมม ีเลมหรอื คมู อื มาแสดงตอ ผปู ระเมนิ
1.50 ชุมชนมแี ผนการพฒั นาชุมชนเปน เลมหรอื คมู ือ แตย ังไมลงมือปฎิบัติ
2.00 ชุมชนมแี ผนการพัฒนาชุมชนเปน เลมหรอื คูม อื และไดล งมือปฎบิ ตั แิ ลว

ชมุ ชนมีแผนการพัฒนาชุมชนเปนเลม หรือคมู อื และไดล งมอื ปฎิบตั ิแลว

SOC13 ความโดดเดนทางดานสังคมทเี่ ปนบริบทเฉพาะของชุมชน

1.00 ชุมชนมคี วามโดดเดน ทางดา นกิจกรรมสังคมและชุมชนที่เปน เอกลักษณ
2.00 คะแนนเปน ไปตามดุลพินจิ ของผปู ระเมิน พรอ มเหตุผลทม่ี าสนบั สนุน
3.00
4.00 การใหบ รกิ ารแกผอู ยูอาศยั (แบบสอบถาม)
5.00
6.00 ผอู ยูอาศัยไดร ับความพงึ พอใจนอ ยที่สุด (1/6)
SOC14 ผอู ยอู าศยั ไดรับความพงึ พอใจนอย (2/6)
ผอู ยูอาศัยไดร ับความพึงพอใจคอ นขา งนอ ย (3/6)
0.17
0.33
0.50
0.67 ผูอยูอาศยั ไดรบั ความพึงพอใจคอ นขางมาก (4/6)
0.83 ผอู ยูอาศยั ไดรับความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยอู าศัยไดร บั ความพงึ พอใจมากท่ีสุด (6/6)

46

ตารางที่ 4-5 เกณฑก ารใหค ะแนนตัวชี้วัดดานสังคมและชุมชน

SOC15 มีมนุษยสมั พันธ เปนทปี่ รึกษา และพงึ่ พาได (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยูอาศยั ไดรบั ความพงึ พอใจนอ ยท่ีสดุ (1/6)
0.33 ผูอยอู าศัยไดรับความพึงพอใจนอ ย (2/6)
0.50 ผอู ยอู าศยั ไดรับความพึงพอใจคอนขางนอย (3/6)
0.67 ผอู ยอู าศัยไดร ับความพึงพอใจคอนขางมาก (4/6)
0.83 ผอู ยูอาศยั ไดร บั ความพงึ พอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยูอ าศัยไดร บั ความพึงพอใจมากท่สี ดุ (6/6)

SOC16 การดูแลใหเปน ไปตามกฎระเบียบ/วัฒนธรรมการอยรู ว มกันที่ดี (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยอู าศัยไดร ับความพงึ พอใจนอ ยทสี่ ุด (1/6)
0.33 ผอู ยอู าศยั ไดรับความพึงพอใจนอย (2/6)
0.50 ผอู ยูอ าศยั ไดร ับความพึงพอใจคอนขา งนอ ย (3/6)
0.67 ผูอยูอาศัยไดร ับความพึงพอใจคอ นขางมาก (4/6)
0.83 ผูอ ยอู าศัยไดรับความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยูอ าศัยไดรบั ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ (6/6)

SOC17 การสอ่ื สารขอ มูลขา วสารตา งๆ (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอ ยูอาศัยไดรับความพงึ พอใจนอ ยทสี่ ุด (1/6)
0.33 ผอู ยอู าศยั ไดรบั ความพงึ พอใจนอ ย (2/6)
0.50 ผูอยูอาศยั ไดรับความพงึ พอใจคอนขางนอ ย (3/6)
0.67 ผอู ยอู าศัยไดรบั ความพึงพอใจคอ นขางมาก (4/6)
0.83 ผูอยูอาศัยไดร บั ความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจมากท่ีสดุ (6/6)

SOC18 การสง เสริมใหผอู ยูอาศัยมสี ว นรว มกับชมุ ชน (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยูอ าศยั ไดรับความพงึ พอใจนอยที่สดุ (1/6)
0.33 ผูอยูอาศัยไดร บั ความพงึ พอใจนอย (2/6)
0.50 ผอู ยอู าศัยไดรับความพงึ พอใจคอนขางนอ ย (3/6)
0.67 ผูอยูอ าศัยไดรับความพงึ พอใจคอ นขา งมาก (4/6)
0.83 ผอู ยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยอู าศยั ไดรับความพึงพอใจมากทส่ี ดุ (6/6)

SOC19 กิจกรรมหรอื โครงการตา งๆท่ชี ุมชนจดั ข้ึน (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยูอ าศยั ไดร ับความพงึ พอใจนอ ยที่สดุ (1/6)
0.33 ผูอยอู าศัยไดรับความพงึ พอใจนอย (2/6)
0.50 ผอู ยูอาศัยไดรบั ความพึงพอใจคอ นขางนอ ย (3/6)
0.67 ผูอยอู าศยั ไดร ับความพึงพอใจคอนขา งมาก (4/6)
0.83 ผอู ยูอ าศัยไดร ับความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยูอาศยั ไดร ับความพึงพอใจมากทสี่ ุด (6/6)

SOC20 ความซ่อื สตั ย โปรง ใส และมีจรยิ ธรรมในการทํางาน (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยอู าศยั ไดร ับความพึงพอใจนอ ยท่ีสดุ (1/6)
0.33 ผูอยอู าศัยไดรบั ความพงึ พอใจนอย (2/6)
0.50 ผูอ ยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจคอนขา งนอ ย (3/6)
0.67 ผูอยอู าศยั ไดรับความพงึ พอใจคอนขางมาก (4/6)
0.83 ผูอยอู าศยั ไดรบั ความพงึ พอใจมาก (5/6)
1.00 ผูอยูอาศยั ไดร บั ความพงึ พอใจมากท่ีสุด (6/6)

47

ตารางที่ 4-6 เกณฑก ารใหคะแนนตวั ชวี้ ดั ดานสิ่งแวดลอม
EVR1 มีกิจกรรมเสรมิ สรา งการใชเ วลาวา งใหเปน ประโยชนส ําหรบั เยาวชน
0.00 ไมม ีกจิ กรรมสาํ หรบั เด็กและเยาวชน

1.00 มกี จิ กรรมสาํ หรับเยาวชน 1 กิจกรรม/ป

2.00 มีกจิ กรรมสาํ หรบั เยาวชน 2 กจิ กรรม/ป ขนึ้ ไป

มกี ิจกรรมท่ีถกู ออกแบบมาเพอื่ เสรมิ สรา งการใชเวลาวา งใหเปนประโยชนของเยาวชนในชมุ ชน เพอ่ื ปองการขอ งแวะกบั ยาเสพติดและอบายมุข

EVR2 มีการประสานงานดา นความปลอดภัยรว มกับหนวยงานภายนอก

0.00 ไมมกี ารประสานงานดา นความปลอดภัยรวมกับหนว ยงานภายนอก

1.00 ทีป่ ระชมุ แจงวา ชมุ ชนมีการประสานงานดานความปลอดภัยรว มกบั หนว ยงานภายนอกอยางเปน ระบบ

2.00 มตี ัวแทนจาก สถานตี าํ รวจในทอ งท่ี อบต./เทศบาล หรือ หมูบ าน/ตาํ บล มารว มประชมุ

ชมุ ชนมีความรวมมอื กบั หนวยงานภายนอก เชน สถานีตํารวจในทอ งที่ องคก ารบรหิ ารสว นทอ งถ่ิน หมบู าน/ตาํ บล/อาํ เภอ อยางเปนระบบ ใน

การประชุมควรมตี วั แทนจากสถานตี ํารวจในทองที่ องคการบริหารสว นทอ งถ่ิน (อบต./อบจ./เทศบาล) หรือ เจาหนา ทขี่ องรฐั ดานการปกครอง

(กาํ นนั /ผูใหญบาน) มาเขารว มประชุมดว ย

EVR3 มีระบบหรอื กลุมผทู ําหนา ทตี่ รวจสอบดแู ลดา นความปลอดภัย ยาเสพติด/อบายมขุ

0.00 ไมม ีระบบหรือกลมุ ผูทาํ หนาทตี่ รวจสอบดูแลดา นความปลอดภัย ยาเสพติด/อบายมขุ

1.00 ท่ปี ระชุมแจง วา ชมุ ชนมรี ะบบ ขั้นตอน กลมุ หรือผูทาํ หนาทต่ี รวจสอบดูแลภายในชุมชน เชน ตํารวจบา น อปพร. หรือ ชรบ. รปภ.
แตไมมีตัวแทนเขา รวมประชมุ

2.00 มีตวั แทนจาก ตํารวจบา น อปพร. หรอื ชรบ. เขา รวมประชุม และ/หรือ มี รปภ./กลองวงจรปด ใหเหน็ เปน ประจกั ษ

ชมุ ชนมรี ะบบ ขั้นตอน กลุม หรอื ผูทาํ หนาที่ตรวจสอบดแู ลภายในชุมชน เชน ตํารวจบา น อปพร. ชรบ. รปภ. หรอื กลองวงจรปด

EVR4 มกี จิ กรรมดานการปอ งกันสาธารณภัยหรอื ตานยาเสพตดิ รวมกับภาคีเครอื ขา ย

0.00 ไมมีกิจกรรมดา นการปองกันสาธารณภยั หรือตา นยาเสพตดิ รว มกับภาคเี ครอื ขาย
1.00 มีกจิ กรรมดา นการปอ งกันสาธารณภยั หรอื ตา นยาเสพตดิ 1 กจิ กรรม/ป
2.00 มกี จิ กรรมดานการปอ งกันสาธารณภยั หรือตา นยาเสพติด 2 กจิ กรรม/ป ข้ึนไป
ชุมชนมกี จิ กรรมดา นการปองกันสาธารณภยั เชน อัคคีภัย อทุ กภยั ปฐมพยาบาล โรคระบาด หรือตอ ตา นยาเสพตดิ รว มกับเครือขา ยภายนอก
ชมุ ชน โดยมีภาพถา ยมาแสดงตอ ผูประเมิน

EVR5 ไมพบ/ไมมรี ายงานคดีสําคัญหรือรายแรงทเี่ กดิ ภายในชุมชน

0.00 พบคดีสาํ คญั หรอื รายแรงทเี่ กิดภายในชมุ ชนในรอบ 1 ป

1.00 ทป่ี ระชมุ แจงวา ไมพ บ/ไมม รี ายงานคดสี าํ คัญหรือรา ยแรงท่ีเกดิ ภายในชมุ ชน

2.00 มีตวั แทนจาก สน.ทองท่ี กาํ นัน หรือผูใหญบา น (เจาหนาทีข่ องรัฐ) เขารวมประชมุ

มีเจา หนา ท่ีจากสถานตี าํ รวจทอ งที่ หรือ มตี ัวแทนจากหนว ยงานการปกครองภาครัฐ (ตวั แทนของกาํ นนั /ผูใหญบา น) ยนื ยนั ในทีป่ ระชุมวา ไม
พบ/ไมมรี ายงานคดสี าํ คัญหรอื รายแรง (คดที ีเ่ กนิ กวา อํานาจศาลแขวง หรอื มีโทษจาํ คุกเกนิ 3 ป) ทเ่ี กิดภายในชมุ ชนในรอบ 1 ปที่ผานมา

48

ตารางที่ 4-6 เกณฑการใหคะแนนตวั ช้ีวดั ดา นส่ิงแวดลอ ม
EVR6 มีระบบหรอื มีการประสานงานกับหนว ยงานภายนอกดา นการจัดการขยะ
0.00 ชมุ ชนมขี ยะสะสมและไมม ีการจัดการขยะทเี่ ปน ระบบ

2.00 ชุมชนมรี ะบบกาํ จัดขยะ เชน มเี ตาเผาขยะ และ/หรือ มีการประสานงานกับหนว ยงานทอ งถิ่นเพอื่ มาเกบ็ ขยะอยา งสมํ่าเสมอ

ชุมชนมีระบบกาํ จัดขยะท่วั ไป เชน ใชเตาเผาขยะ และ/หรือ มีการประสานงานกบั หนวยงานทอ งถ่ินเพ่ือมาเกบ็ ขยะอยางสมา่ํ เสมอ

EVR7 มีระบบการจดั การขยะอินทรีย

0.00 ไมม รี ะบบการจดั การขยะอนิ ทรยี 

1.00 ทป่ี ระชมุ แจง วา ชมุ ชนมีบอเลย้ี งไสเดอื น บอทาํ ปุย หมัก จุดทิง้ ขยะอนิ ทรีย หลุมถงั เจาะรู หรอื วธิ ีการจัดการขยะอนิ ทรยี แ บบอืน่ ๆ

2.00 ชมุ ชนมบี อเลย้ี งไสเ ดอื น บอทาํ ปุย หมกั จดุ ทงิ้ ขยะอินทรีย หลมุ ถงั เจาะรู หรอื วธิ ีการจัดการขยะอินทรยี แบบอ่นื ๆ ใหเห็นเปน ประจักษ

ชุมชนมรี ะบบการจัดการขยะอนิ ทรยี  เชน บอ เลีย้ งไสเ ดอื น บอทําปุยหมัก จุดท้ิงขยะอนิ ทรีย หลมุ ถังเจาะรู

EVR8 มรี ะบบการจดั การคดั แยกขยะอันตราย/ขยะเปนพิษจากขยะทัว่ ไป

0.00 ไมมรี ะบบการจดั การคัดแยกขยะอันตราย/ขยะเปน พิษจากขยะทัว่ ไป
1.00 ที่ประชมุ แจง วา ชมุ ชนมีระบบการจัดการคัดแยกขยะอันตรายขยะเปน พษิ จากขยะทั่วไป
2.00 ชมุ ชนมีจุดทงิ้ ขยะอนั ตรายใหเ ห็นเปน ประจักษ
ชมุ ชนมีระบบการจัดการคัดแยกขยะอนั ตราย/ขยะเปนพิษจากขยะท่ัวไป เชน จุดท้ิงขยะอันตราย

EVR9 มีการรณรงคใ หลดการใชถ งุ พลาสตกิ /โฟม โดยใชถ ุงผาแทน

0.00 ไมม มี ีการรณรงคใ หลดการใชถุงพลาสตกิ /โฟม โดยใชถุงผา แทน
1.00 ทป่ี ระชุมแจงวา ชมุ ชนมกี ารรณรงคใหช มุ ชนลดการใชถ ุงพลาสติก/โฟม โดยใชถ งุ ผาแทน
2.00 มปี ายการรณรงคใ หช มุ ชนลดการใชถุงพลาสติก/โฟม โดยใชถ งุ ผาแทน แสดงไวอยางเดนชัด
มปี า ยการรณรงคใ หชมุ ชนลดการใชถ งุ พลาสตกิ /โฟม โดยใชถุงผาแทน แสดงไวอ ยางเดน ชดั

EVR10 มีระบบการสรางรายไดจ ากขยะรไี ซเคลิ ทเี่ ปนสว นกลางของชมุ ชน

0.00 ไมม ีระบบการสรางรายไดจากขยะรีไซเคลิ ทเ่ี ปนสวนกลางของชมุ ชน
1.00 มรี ะบบการขายขยะรไี ซเคิลสวนกลางวธิ ใี ดวธิ หี นึ่ง แตไ มม หี ลกั ฐานมาแสดง
2.00 มีเอกสารแสดงบญั ชกี ารขายขยะรีไซเคิลสวนกลาง / โครงการธนาคารขยะ / โครงการขยะแลกไข
มีระบบการสรางรายไดจ ากขยะรไี ซเคิลทเ่ี ปน สวนกลางของชุมชน เชน กรงรีไซเคิล การซ้อื ขายขยะรีไซเคลิ โดยเงินท่ขี ายไดเขา บญั ชสี ว นกลาง
หรอื โครงการธนาคารขยะ

EVR11 มีการใชจ ลุ ินทรยี ใ นการกาํ จดั กลิน่ และบาํ บัดนาํ้ เสยี ในเบ้อื งตน /มีวธิ กี ารพเิ ศษในการจัดการนํา้ เสียในชุมชน

0.00 ชุมชนไมม กี ารผลิต EM หรอื ไมมีระบบการจัดการนาํ้ เสยี ในชมุ ชน
0.50 ท่ปี ระชมุ แจงวา ชมุ ชนมีการผลติ EM หรือ มีระบบหรือวธิ กี ารพเิ ศษในการจัดการนา้ํ เสียในชมุ ชน
1.00 ท่ปี ระชมุ แจงวา ชมุ ชนมกี ารผลิต EM และ มรี ะบบหรอื วธิ กี ารพิเศษในการจดั การนํา้ เสยี ในชมุ ชน
1.50 มีถงั /ขวด EM หรือ มีภาพถา ยระบบหรอื วิธกี ารพเิ ศษในการจัดการนาํ้ เสีย หรือสามารถเห็นเปนประจกั ษ
2.00 มีถงั /ขวด EM และ มภี าพถายระบบหรอื วธิ กี ารพเิ ศษในการจัดการนาํ้ เสยี หรอื สามารถเหน็ เปนประจกั ษ
มกี ารจัดการน้าํ เสียในชุมชน เชน การใชจ ุลินทรยี ใ นการบาํ บัดนํา้ เสีย (มถี งั EM สวนกลาง หรอื มีการผลิต EM เปนขวด) เพ่อื ลดสแี ละกลิน่
รบกวนผูอยอู าศัย และมีระบบหรือวิธกี ารพเิ ศษในการจัดการนํ้าทีใ่ ชแ ลว เชน มีบอ /เครอ่ื งบําบดั น้าํ เสีย และ/หรอื มีการนํานํ้าเสยี กลบั มาใชใหม
หรอื มีการนําน้ําเสยี ไปใชในการเกษตรโดยตรง

49

ตารางที่ 4-6 เกณฑก ารใหค ะแนนตัวชีว้ ัดดานสง่ิ แวดลอ ม

EVR12 มีระบบการใชพลงั งานทม่ี ีประสทิ ธิภาพ หรือ มีพลังงานสะอาดใช

0.00 ไมม ี

1.00 ที่ประชุมแจงวา มีการเปลยี่ นมาใชห ลอด LED หรือ มีแผงโซลาเซลล หรือ การประหยัดพลงั งาน/พลงั งานสะอาดรูปแบบอน่ื ใด

2.00 มหี ลักฐาน (หรอื ในเชิงประจักษ) วามกี ารเปล่ยี นมาใชหลอด LED หรอื มีแผงโซลา เซลล หรือ การประหยดั พลังงาน/พลงั งานสะอาด
รปู แบบอน่ื ใด

ชมุ ชนสามารถบริหารตน ทนุ พลงั งานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน เปลย่ี นมาใชห ลอดไฟ LED ทําใหส ามารถชว ยลดคาไฟฟา หรอื มีพลังงาน

สะอาดใช เชน แผงโซลาเซลล หรือ อืน่ ๆ

EVR13 ความโดดเดน ทางดา นสิง่ แวดลอมที่เปน บริบทเฉพาะของชุมชน

1.00

2.00
3.00 ชมุ ชนมคี วามโดดเดน ทางดา นกิจกรรมทางสิง่ แวดลอ มท่เี ปน เอกลักษณ
4.00 คะแนนเปน ไปตามดลุ พนิ จิ ของผปู ระเมิน พรอ มเหตุผลทม่ี าสนับสนนุ

5.00
6.00

EVR14 ความสะอาดภายในโครงการ (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจนอยทสี่ ดุ (1/6)

0.33 ผอู ยูอ าศัยไดร บั ความพงึ พอใจนอ ย (2/6)

0.50 ผูอยอู าศยั ไดร ับความพงึ พอใจคอ นขางนอย (3/6)

0.67 ผูอยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจคอนขางมาก (4/6)

0.83 ผอู ยูอาศัยไดร ับความพึงพอใจมาก (5/6)

1.00 ผอู ยูอาศยั ไดรับความพึงพอใจมากทสี่ ุด (6/6)

EVR15 ไฟฟา และแสงสวา งในชุมชน (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอ ยูอ าศัยไดรับความพงึ พอใจนอ ยที่สดุ (1/6)

0.33 ผูอ ยูอ าศยั ไดร ับความพึงพอใจนอ ย (2/6)

0.50 ผูอยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจคอนขา งนอ ย (3/6)

0.67 ผอู ยูอาศยั ไดร ับความพงึ พอใจคอ นขางมาก (4/6)

0.83 ผอู ยอู าศยั ไดรบั ความพงึ พอใจมาก (5/6)

1.00 ผูอยูอาศัยไดร ับความพงึ พอใจมากที่สุด (6/6)

EVR16 สภาพถนนและการจราจร (แบบสอบถาม)

0.17 ผอู ยอู าศัยไดรับความพงึ พอใจนอยทสี่ ุด (1/6)

0.33 ผอู ยูอ าศยั ไดรบั ความพึงพอใจนอย (2/6)

0.50 ผอู ยูอาศัยไดรบั ความพึงพอใจคอนขางนอย (3/6)

0.67 ผูอยอู าศยั ไดรบั ความพงึ พอใจคอ นขา งมาก (4/6)

0.83 ผอู ยอู าศัยไดรบั ความพึงพอใจมาก (5/6)

1.00 ผูอยอู าศัยไดรับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ (6/6)

50

ตารางที่ 4-6 เกณฑการใหค ะแนนตัวช้ีวัดดานสงิ่ แวดลอ ม

EVR17 ทัศนียภาพ พ้ืนทสี่ เี ขยี ว และสภาพอากาศในชมุ ชน (แบบสอบถาม)

0.17 ผอู ยอู าศัยไดรับความพึงพอใจนอยท่ีสดุ (1/6)
0.33 ผูอยูอ าศัยไดร บั ความพงึ พอใจนอ ย (2/6)
0.50 ผูอยูอาศัยไดรับความพงึ พอใจคอนขา งนอย (3/6)
0.67 ผอู ยูอาศยั ไดรบั ความพงึ พอใจคอนขางมาก (4/6)
0.83 ผูอยอู าศัยไดรับความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยอู าศัยไดรับความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ (6/6)

EVR18 พน้ื ทพี่ ักผอ นหยอนใจและออกกาํ ลงั กาย (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยอู าศัยไดรบั ความพึงพอใจนอยทส่ี ุด (1/6)
0.33 ผอู ยอู าศยั ไดรบั ความพึงพอใจนอย (2/6)
0.50 ผอู ยูอาศัยไดร ับความพงึ พอใจคอ นขางนอ ย (3/6)
0.67 ผูอยูอาศยั ไดร บั ความพึงพอใจคอ นขางมาก (4/6)
0.83 ผอู ยอู าศยั ไดรบั ความพงึ พอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยอู าศยั ไดร บั ความพึงพอใจมากท่สี ุด (6/6)

EVR19 ระบบดูแลความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสิน (แบบสอบถาม)

0.17 ผอู ยูอ าศยั ไดรบั ความพึงพอใจนอยทสี่ ดุ (1/6)
0.33 ผูอยูอาศยั ไดรบั ความพงึ พอใจนอย (2/6)
0.50 ผูอยูอาศัยไดรบั ความพึงพอใจคอ นขางนอ ย (3/6)
0.67 ผอู ยอู าศยั ไดรับความพึงพอใจคอ นขางมาก (4/6)
0.83 ผูอ ยอู าศยั ไดรับความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผูอยอู าศยั ไดร ับความพึงพอใจมากทส่ี ดุ (6/6)

EVR20 การสาธารณสุขของชุมชน (แบบสอบถาม)

0.17 ผูอยอู าศัยไดร บั ความพึงพอใจนอ ยท่สี ดุ (1/6)
0.33 ผูอยอู าศยั ไดร ับความพึงพอใจนอ ย (2/6)
0.50 ผูอยอู าศัยไดร บั ความพงึ พอใจคอ นขา งนอ ย (3/6)
0.67 ผอู ยอู าศยั ไดรับความพงึ พอใจคอ นขางมาก (4/6)
0.83 ผูอยอู าศัยไดร ับความพึงพอใจมาก (5/6)
1.00 ผอู ยูอาศัยไดรับความพงึ พอใจมากท่สี ุด (6/6)

EVR21 การใชถุงพลาสตกิ ในระดับครวั เรือน (แบบสอบถาม)

0.33 ผูอยอู าศยั ทง้ิ ถงุ พลาสติกโดยไมค ดั แยก (1/3)
0.67 ผูอ ยูอาศัยลด/จาํ กัดการใชถ ุงพลาสตกิ (2/6)
1.00 ผูอยูอาศัยใชถ งุ ผา แทนการใชถ งุ พลาสติก (3/6)

EVR22 การจดั การขยะรีไซเคิล ในระดับครวั เรือน (แบบสอบถาม)

0.33 ผอู ยูอาศัยทง้ิ ไมคดั แยกขยะ (1/3)
0.67 ผอู ยอู าศัยคัดแยกขยะบา งเปน ครงั้ คราว (1/3)
1.00 ผูอยูอาศัยคดั แยกขยะอยา งสมํา่ เสมอ (1/3)

EVR23 การจดั การนาํ้ มันพืชที่ไมใชแ ลว ในระดบั ครวั เรือน (แบบสอบถาม)

0.33 ผอู ยอู าศยั ทิ้งนา้ํ มนั พชื ทใ่ี ชแ ลว ลงทอ (1/3)
0.67 ผูอยอู าศัยทงิ้ น้ํามันพชื ที่ใชแ ลว โดยใสถ ุงแยกท้งิ (1/3)
1.00 ผอู ยอู าศัยนํา้ มนั พืชทีใ่ ชแลวไปขาย/บริจาค/ทิ้งในจุดเฉพาะทีช่ ุมชนจัดไว (1/3)

EVR24 การจดั การขยะเปย ก/ขยะอนั ตราย ในระดบั ครัวเรอื น (แบบสอบถาม)

0.33 ผูอ ยูอ าศัยทิง้ ขยะเปย ก/ขยะอันตรายโดยไมค ดั แยก (1/3)
0.67 ผอู ยอู าศัยทิ้งขยะเปยก/ขยะอนั ตรายโดยใสถุงแยกทิ้ง (1/3)
1.00 ผูอยูอาศยั นําขยะเปยก/ขยะอันตราย ไปทาํ ปยุ หมัก หรือ ท้งิ ในจุดเฉพาะที่ชุมชนจัดไว (1/3)

51

ภาพท่ี 4-1 แบบประเมินผลชุมชนมาตรฐานสูง (ดานหนา )
คะแนนสว นที่ 1 : การประเมินโดยผเู ชย่ี วชาญโดยใชแ บบประเมนิ

เกณฑตัวชีว้ ัด เกณฑการใหค ะแนน รายงาน
ผล/เอกสาร
ดานเศรษฐกจิ (20 คะแนน)
0 0.5 1 1.5 2 เชงิ ประจกั ษ์

มีพื้นท่สี าํ หรับใหมีผปู ระกอบการไดจําหนายสินคา หรือบริการ

ชุมชนมีการสง เสริมอาชีพ/การจัดต้งั วิสาหกิจชมุ ชน ทีส่ ามารถผลิตสนิ คา หรอื บริการ

สามารถสรางรายไดจ ากภายนอกชมุ ชน 6 คะแนน / โปรดระบเุ หตผุ ล
ผปู ระกอบการสามารถสรางแบรนดส นิ คา เกณฑการใหค ะแนน รายงาน
มกี ารสนับสนุนเงินเพือ่ ใชใ นกจิ กรรมของชมุ ชน และ/หรอื มเี งนิ กองทุนพเิ ศษ/เฉพาะ
จดุ ประสงค ทนี่ อกเหนือไปจากเงินสว นกลาง ผล/เอกสาร
ความสามารถในการจายคา เชา หรือ ผอนชาํ ระคา เชา ซอื้
การไดถอื ครองกรรมสทิ ธ์ใิ นหนวยท่ีอยูอาศัย 0 0.5 1 1.5 2 เชงิ ประจกั ษ์
ความโดดเดน ทางดา นเศรษฐกจิ ท่เี ปน บรบิ ทเฉพาะของชุมชน

เกณฑตวั ช้ีวัด

ดา นสังคมและชมุ ชน (30 คะแนน)

มีชอ งทางประชาสัมพนั ธและรับฟง ความคดิ เหน็ จากผอู ยูอ าศัย 2 ชองทางขึน้ ไป
มกี ารรว มประชุมรว มกับผอู ยูอ าศยั แบบเปน ทางการอยา งนอยปล ะ 2 คร้งั

มกี ารนาํ ขอ คดิ เหน็ ท่ไี ดร บั จากผอู ยูอ าศัยมาปรบั ปรงุ การทาํ งานหรอื การใหบรกิ าร

มีการทาํ งานเชงิ รกุ หรอื การทาํ งานในลกั ษณะตอยอดหรือปอ งกันปญหา 6 คะแนน / โปรดระบุเหตผุ ล
มีกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรภู ายในชมุ ชนและถายทอดความรสู ชู มุ ชนอน่ื

มกี ารสงเสริมใหความรูดา นสุขภาพอนามัย หรอื มแี ผน/ระบบการจัดการ
ในภาวะโรคระบาด

มกี ิจกรรมกลมุ จิตอาสาหรอื บาํ เพญ็ ประโยชนต อ ชมุ ชน
มกี ิจกรรมทางประเพณีหรอื วันสาํ คัญ อยางนอ ยปละ 4 ครั้ง
มกี ิจกรรมดานกฬี าหรือสนั ทนาการ
มรี ะบบการดแู ล (กจิ กรรมสรา งสขุ ) ผูสูงอายุ ผพู กิ าร หรอื ผปู ว ยติดเตยี ง
มภี าคเี ครอื ขายทงั้ ภาครฐั และเอกชนใหการสนับสนนุ หรือเขา รวมกจิ กรรมที่จดั
มแี ผนการพฒั นาชุมชนอยา งตอ เนอ่ื ง
ความโดดเดนทางดา นสงั คมท่เี ปนบรบิ ทเฉพาะของชุมชน

52

ภาพที่ 4-2 แบบประเมินผลชุมชนมาตรฐานสงู (ดานหลงั ) เกณฑการใหคะแนน รายงาน
ผล/เอกสาร
ดา นส่งิ แวดลอม (30 คะแนน)
0 0.5 1 1.5 2 เชงิ ประจกั ษ์
มกี จิ กรรมเสริมสรา งการใชเ วลาวางใหเ ปนประโยชนส าํ หรบั เยาวชน 6 คะแนน / โปรดระบุเหตผุ ล
มกี ารประสานงานดา นความปลอดภัยรวมกบั หนว ยงานภายนอก

มีระบบหรอื กลุม ผทู ําหนาทตี่ รวจสอบดแู ลดานความปลอดภยั ยาเสพตดิ /อบายมุข

มีกจิ กรรมดานการปอ งกนั สาธารณภัยหรอื ตา นยาเสพติดรวมกับภาคีเครือขา ย

ไมพบ/ไมม ีรายงานคดสี าํ คัญหรอื รายแรงทเี่ กิดภายในชมุ ชน
มรี ะบบหรือมกี ารประสานงานกับหนวยงานภายนอกดานการจัดการขยะ
มรี ะบบการจดั การขยะอนิ ทรยี 
มีระบบการจัดการคดั แยกขยะอนั ตราย/ขยะเปน พิษจากขยะท่ัวไป
มีการรณรงคใหลดการใชถ ุงพลาสตกิ /โฟม โดยใชถ งุ ผาแทน
มรี ะบบการสรางรายไดจ ากขยะรีไซเคลิ ที่เปน สว นกลางของชุมชน
มีการใชจ ุลนิ ทรียใ นการกาํ จดั กลน่ิ และบาํ บดั นํ้าเสยี ในเบื้องตน และ/หรือ มรี ะบบ
หรือวธิ ีการพิเศษในการจดั การนาํ้ เสียในชุมชน
มีระบบการใชพ ลังงานทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ หรือ มีพลังงานสะอาดใช
ความโดดเดน ทางดานสง่ิ แวดลอมท่เี ปนบรบิ ทเฉพาะของชุมชน

53

ภาพท่ี 4-3 ตวั อยางแบบสอบถามชุมชนมาตรฐานสูง (ดานหนา )

แบบสอบถามสําหรบั ผอู ยูอ าศัยในชมุ ชน

แบบสอบถามนจี้ ัดทําขึน้ เพ่อื รวบรวมขอ มลู ประกอบการประเมนิ ตัวชว้ี ัดโครงการชุมชนมาตรฐานสูง มีทง้ั หมด 2 หนา

ใชเ วลาไมเ กนิ 10 นาที คณะผูด าํ เนนิ การสํารวจขอขอบพระขอบคุณเปน อยางสงู ที่ทานไดส ละเวลาชว ยตอบแบบสอบถาม

สว นที่ 1 : ขอ มูลทว่ั ไปของผตู อบแบบสอบถาม

1 อายุ ป
2 เพศ (3)  เพศทางเลอื ก
(1)  ชาย (2)  หญิง (2)  ประถมศกึ ษา
3 การศึกษา (4)  มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช.
(1)  ไมไดศึกษา (6)  ปรญิ ญาตรี
(3)  มธั ยมศกึ ษาตอนตน
(5)  ปวส./อนปุ ริญญา (2)  คา ขาย/ธรุ กิจสว นตวั
(7)  สงู กวาปริญญาตรี (4)  พนกั งาน/ลูกจาง บริษทั เอกชน
4 อาชีพหลกั (6)  วชิ าชพี (เชน หมอ ทนาย ศิลปน ฯลฯ)
(1)  วางงาน/อยูระหวางรองงาน (8)  พอบาน/แมบ าน
(3)  ขา ราชการ/รัฐวสิ าหกจิ (10)  เกษตรกร
(5)  นกั เรียน/นกั ศึกษา (2)  ตํ่ากวา 10,000 บาท/เดอื น
(7)  เกษียณ (ลูก-หลาน เล้ียง)/ขาราชการบํานาญ (4)  20,001-30,000 บาท/เดือน
(9)  รบั จา งทวั่ ไป (6)  มากกวา 40,000 บาท/เดอื น
5 รายไดตอ เดือน (3)  ผเู ชา
(1)  ไมม ีรายได (3)  มากกวา 10 ป
(3)  10,001-20,000 บาท/เดือน (2)  ประกนั สงั คม มาตรา 33/ มาตรา 39
(5)  30,001-40,000 บาท/เดือน (5)  บตั รทอง/30 บาท รกั ษาทุกโรค
6 สถานภาพการอยอู าศยั
(1)  เจา ของ (2)  ผูอาศยั (โครงการหลักประกันสขุ ภาพถวนหนา)
7 ระยะเวลาอาศยั อยูในชมุ ชน
(1)  นอยกวา 5 ป (2)  6-10 ป
8 ระบบประกันสขุ ภาพท่ที า นใชเ ปนหลัก
(1)  ไมมี
(3)  ประกนั สขุ ภาพของตนเอง/ทที่ าํ งาน
(5)  สวัสดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา ราชการ

สวนท่ี 2 : โปรดทําเครอื่ งหมาย √ เพอ่ื แสดงวิธดี านบรหิ ารการจดั การขยะ

ทา นมีการคดั แยกและรวบรวมมลู ฝอยเพื่อรอการเกบ็ ขน หรอื นาํ ไปกาํ จัด และไมมมี ลู ฝอยตกคางภายในครวั เรือน
1 ถุงพลาสตกิ
2 (ข1ย)ะรีไซทเค้งิ ลิโด(ยขไมวดค ัดแแกยวก, ขวด(พ2ล) าสติกล,ดเกศาษรใโชลหะ) (3)  ใชถ ุงผา แทน

(1)  ทงิ้ โดยไมคัดแยก (2)  คัดแยกบา ง (3)  คัดแยกสม่ําเสมอ
3 นาํ้ มนั พชื ท่ไี มใชแ ลว
(1)  ทิง้ ลงทอ (2)  ใสถ ุงแยกทิง้ (3)  นําไปขาย/บริจาค/ทิง้ ในจุดเฉพาะท่ีจัดไว
4 ขยะเปย ก/ขยะอันตราย
(1)  ท้ิงตามปกติ (2)  ใสถ ุงแยกท้งิ (3)  นาํ ไปทําปุยหมกั /ท้ิงในจุดเฉพาะท่ีจดั ไว

ขอ เสนอแนะในการปรับปรุง

54

ภาพที่ 4-4 ตัวอยางแบบสอบถามชมุ ชนมาตรฐานสูง (ดา นหลงั )

สวนท่ี 3 : ความพึงพอใจตอการทาํ งานของคณะกรรมการชุมชน/ คณะกรรมการนิตบิ คุ คล (โปรดแสดงความคิดเห็น)

1. ทา นมีความพงึ พอใจตอ การทํางานของคณะกรรมการชุมชน/คณะกรรมการนติ บิ คุ คล ในเรอื่ งดงั ตอไปนใ้ี นระดบั ใด

การปฏิบตั ิงานดานตางๆ ระดบั ความพึงพอใจ
นอ้ ย คอ่ นขา้ ง คอ่ นขา้ ง มาก
ทสี ดุ นอ้ ย นอ้ ย มาก มาก ทสี ดุ

1 การใหบ ริการแกผ อู ยอู าศยั 1 2 3 4 5 6
เชน่ การเฝ้าระวังความปลอดภัย, การจัดกจิ กรรม, การดูแลความเป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ย การใช ้ 5
เงนิ และทรัพยส์ นิ ของชมุ ชนอยา่ งคุม้ คา่ ฯลฯ 5 6
5 6
2 มมี นษุ ยสัมพันธ เปน ที่ปรกึ ษา และพึ่งพาได 12 3 4 5 6
กรรมการชมุ ชน/เจา้ หนา้ ทนี ติ บิ คุ คล มมี นุษยส์ ัมพันธ์ สามารถชว่ ยประสานงาน และเป็ นที 5
ปรกึ ษาพงึ พาใหท้ า่ นได ้ 5 6

3 การดูแลใหเปน ไปตามกฎระเบยี บ/ วัฒนธรรมการอยรู ว มกันทด่ี ี 12 3 4 6
เชน่ การจัดระเบยี บทจี อดรถ, การใหล้ งทะเบยี นผเู ้ ชา่ , การหา้ มวางสงิ กดี ขวาง ฯลฯ 6

4 การสือ่ สารขอ มลู ขาวสารตา งๆ 1 2 3 4
เชน่ การใหข้ า่ วสารตา่ งๆ, การแจง้ เรอื งกจิ กรรม, การแจง้ กฎระเบยี บ, ขอ้ มลู สาธารณสขุ ฯลฯ
ทังรปู แบบป้าย บอกกลา่ ว และออนไลน์

5 การสงเสริมใหผ ูอยูอาศยั มีสว นรว มกบั ชมุ ชน 12 3 4
การนําความคดิ เห็นของผอู ้ ยอู่ าศยั ไปปฏบิ ัติ การใหค้ วามสําคัญตอ่ สมาชกิ ในชมุ ชน ใน
หลากหลายชอ่ งทาง

6 กิจกรรมหรือโครงการตา งๆทีช่ ุมชนจัดข้ึน 12 3 4
เพอื เพมิ คณุ ภาพชวี ติ ในชมุ ชน เชน่ กจิ กรรมตามประเพณ/ี วันสําคัญ กฬี า การฝึกอบรมให ้
ความรตู ้ า่ งๆ ทังชอ่ งทางปกติ หรอื ระบบออนไลน์

7 ความซ่ือสตั ย โปรงใส และมจี รยิ ธรรมในการทํางาน 12 3 4
ในความรสู ้ กึ หรอื ความรับรขู ้ องทา่ นทมี ตี อ่ คณะกรรมการชมุ ชน/นติ บิ คุ คล

ขอ เสนอแนะในการปรบั ปรุง

สวนท่ี 4 : ความพึงพอใจตอสาธารณปู โภคและสิง่ แวดลอมในการดาํ เนนิ ชีวติ ภายในชมุ ชน (โปรดแสดงความคิดเหน็ )

2. ทานมีความพึงพอใจตอสาธารณูปโภคและสง่ิ แวดลอมในการดําเนินชวี ิตภายในชุมชนในเรอ่ื งดงั ตอ ไปนใี้ นระดบั ใด

สาธารณูปโภคและสิง่ แวดลอม นอ้ ย ระดบั ความพงึ พอใจ มาก
ทสี ดุ คอ่ นขา้ ง คอ่ นขา้ ง ทสี ดุ
นอ้ ย นอ้ ย มาก มาก
6
1 ความสะอาดภายในโครงการ 12 3 4 5 6
เชน่ การลา้ งทําความสะอาดพนื ทสี ว่ นกลาง การบรหิ ารจัดการขยะ 5 6
5 6
2 ไฟฟา และแสงสวางในชมุ ชน 12 3 4 5 6
มหี ลอดไฟใหแ้ สงสวา่ งเพยี งพอในเวลากลางคนื และ ไมม่ มี มุ อบั มมุ มดื 5 6
5
3 สภาพถนนและการจราจร 1 2 3 4 6
ถนนภายในโครงการไมช่ าํ รดุ และ สามารถจัดการจราจรไดด้ เี มอื เทยี บกับจํานวนรถทังหมด 5

4 ทัศนยี ภาพ พื้นท่ีสเี ขียว และสภาพอากาศในชมุ ชน 12 3 4
พนื ทปี ลกู ตน้ ไมเ้ พยี งพอ ทศั นยี ภาพสวยงาม และไมม่ มี ลพษิ ทางอากาศ

5 พื้นท่ีพักผอ นหยอ นใจและออกกาํ ลังกาย 12 3 4
สวนหยอ่ มสาธารณะ สนามเด็กเลน่ พนื ทอี อกกําลงั กาย

6 ระบบดแู ลความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ยส นิ 12 3 4
การสอดสอ่ งดแู ลความปลอดภยั (เชน่ ตํารวจบา้ น อาสากภู ้ ยั รปภ. กลอ้ งวงจรปิด ฯลฯ)

7 การสาธารณสขุ ของชมุ ชน 1 2การรับมอื กับโรคระบาดโควดิ 19 การทําลายแหลง่ เพาะพนั ธุย์ งุ ลาย การดูแลสขุ ภาพคนใน 3 4
ชมุ ชน ผสู ้ งู อายุ ผปู ้ ่ วยตดิ เตยี ง

ขอ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ

55

4.3 โครงการบานเอือ้ อาทรลาดกระบงั 1
โครงการบานเอ้ืออาทรลาดกระบัง 1 เปนชุมชนท่ีอยูในการดูแลของ สช.รมเกลา 2 ตั้งอยูท่ี 718 ถนน

หลวงแพง แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กทม. ลักษณะเปนอาคารสูง 5 ชั้น รวมจํานวน 31 อาคาร รวม 1,360
หนวย มีประชากรกวา 5,000 คน (จดทะเบียนนิติบุคคลเมื่อป พ.ศ. 2554) ดําเนินการบริหารชุมชนในรูปแบบ
นิติบุคคลอาคารชดุ ปจจุบันมี นายเอกลักษณ แกวอินตา เปนประธานนิติบุคคล และ นายชานนท เจริญผิว เปน
ผูจัดการนิติบุคคล ขับเคลื่อนการบริหารจัดการชุมชน ท้ังรับผิดชอบงานพัฒนาชุมชนโครงการบานเอ้ืออาทร
ลาดกระบัง 1 บรหิ ารงานโดย บรษิ ทั จดั การทรพั ยส นิ และชุมชน จํากัด

ภาพมมุ สงู ของโครงการบานเออื้ อาทรลาดกระบงั 1

แผนผังโครงการบา นเออ้ื อาทรลาดกระบัง 1

56

ลกั ษณะทางกายภาพของชุมชน
โครงการบานเอื้ออาทรลาดกระบัง 1 เปนโครงการที่มีอาณาเขตมีทางเขาออกทางเดียวจึงเปนโครงการท่ีมี

ความพรอมดานสาธารณปู โภค-สาธารณูปการขัน้ พ้นื ฐานท่จี าํ เปน และมีพ้ืนทส่ี วนกลางสาํ หรับใชป ระโยชนร วมกนั คอื

 ศูนยชุมชน เปนสถานที่สําหรับดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมกันของชุมชน เชน การประชุมกรรมการบริหาร
ชุมชน กจิ กรรมทางศาสนา/วฒั นธรรม และกิจกรรมทางสงั คมตาง ๆ ฯลฯ

 ลานกฬี า เปน พืน้ ท่ีสําหรบั ผูอยูอาศยั ในชุมชนทุกกลมุ วยั มาใชป ระโยชนรว มกันในการออกกาํ ลังกาย

 ลานอเนกประสงค เปนพ้ืนที่สวนกลางของชุมชนเพ่ือใชในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ซึ่งผูอยูอาศัยในชุมชน
สามารถใชประโยชนไดอ ยางหลากหลาย

 ลานตลาด เปน พื้นท่ีสําหรับประกอบอาชพี ของผูอ ยูอาศยั ในชมุ ชนซ่ึงต้งั อยูห นาโครงการ
โครงการบานเอ้ืออาทรลาดกระบัง 1 ดําเนินการบริหารจัดการชุมชนในรูปแบบนิติบุคคลอาคารชุดที่ผาน
กระบวนการเลอื กตั้งจากผูอยูอาศัยในชุมชน โดยแตงต้ัง คุณเอกลักษณ แกวอินตา ดํารงตําแหนงประธานฯ และคุณ
ชานนท เจริญผิว ดาํ รงตําแหนงผูจัดการนิติ ทําหนาท่ีเปนแกนหลักในการบริหารกิจกรรมของชุมชน ครอบคลุมทั้ง
ดานเศรษฐกิจ ดานสังคมและชุมชน และดานส่ิงแวดลอม ซึ่งมีการบริหารจัดการกิจกรรมของชุมชนไดอยางเปน
รูปธรรม และมีระบบการทํางานท่ีมีมาตรฐาน ไมวาจะเปนในดานการอํานวยความสะดวกใหแกผูอยูอาศัยในการ
ชําระคา สวนกลาง คาสาธารณปู โภค ตลอดจนคาใชจ ายอื่น ๆ ดา นการรักษาความปลอดภัยถือเปนจุดเดนของชุมชน
เนื่องจากมีการนําระบบกลองวงจรปดมาใชในชุมชนมากกวา 600 ตัว ซึ่งเปนการสรา งความม่ันใจในความปลอดภัย
ใหกับผูอาศัย อีกทั้งยงั เปนการสรา งมูลคาเพิ่มใหกับทรัพยสินของชุมชน โดยชุมชนมีคณะกรรมการท่ีเปน จิตอาสา
และเปนแกนหลักท่เี ขม แข็ง สามารถพัฒนาชมุ ชนไดครอบคลุมทั้ง 3 ดาน ในการเปนชุมชนตน แบบท่ีมีมาตรฐานสูง
(Smart Model) และมีเอกลักษณเฉพาะบริบทของชุมชน ตามแนวทางของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
Development) ดังนี้

มิตดิ านเศรษฐกจิ
โครงการบานเอ้ืออาทรลาดกระบัง 1 มีรายไดหลักจากการจัดเก็บคาสวนกลาง และการจําหนายนํ้าใหกับผู

อยูอาศัยในชุมชน ซ่ึงไมเพียงพอกับการบริหารจัดการชุมชนไดท ั้งหมดสงผลใหเกิดหนี้สินจากการคาใชจายที่สงู กวา
รายได คณะกรรมการฯ จงึ ไดม แี นวคดิ สรา งรายไดจ ากทรัพยากรท่ีมอี ยใู นชมุ ชน ไดแก การบริหารจัดการพ้ืนที่วางให
เกิดประโยชน เชน ใหเชาพ้ืนท่ีตั้งเคร่ืองทําน้ําด่ืมหยอดเหรียญ เครื่องซักผาอัตโนมัติ เปนตน จนสามารถบริหาร
หนีส้ ินเดมิ ใหห มดไปและสรา งรายไดเขา สูชมุ ชน เมอื่ ชุมชนมีรายไดเพิม่ ขึน้ ก็สามารถนํารายไดมาพัฒนาและชวยเหลือ
ผอู ยอู าศยั ในชมุ ชนใหม คี ุณภาพความเปนอยทู ด่ี ีข้ึนตามไปดว ย

การบริหารจัดการรายไดของโครงการบานเอื้ออาทรลาดกระบัง 1 มีการติดประกาศรายรับ รายจายใหผูอยู
อาศยั ในชมุ ชนทราบทุกเดอื น อกี ทงั้ ยังมีการสรุปรายงานโดยมีผูตรวจสอบบัญชีรับรอง และแจงใหผอู ยูอาศัยทราบใน
การจัดประชุมใหญประจาํ ป จึงสามารถสรา งความเขาใจกับผอู ยูอาศัยและไมเกิดความขัดแยงในชุมชน เนอ่ื งจากการ
ปฏบิ ตั งิ านเปน ไปดว ยความโปรง ใส ตรวจสอบได และผูอยูอ าศัยสว นใหญเ ขาใจ ปฏิบัติตามกฎระเบียบของชุมชนเปน
อยา งดี โดยในชวงแรกอาจจะมปี ญ หาการไมป ฏิบตั ิตามบา ง แตเ ม่ือผูอยอู าศยั เหน็ การบริหารงานของคณะกรรมการฯ
และเห็นเปลีย่ นแปลงที่ดีขน้ึ จากการขบั เคล่ือนกิจกรรมโครงการตาง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับเงินที่จายไป ผูอยูอาศัยจึง
ยอมรบั และเชอื่ ใจการบริหารงาน

มีการสงเสรมิ อาชีพใหกลมุ แมบานทําน้ําพริกรสชาติตาง ๆ และสงเสริมกลุมผูสูงอายุใหทําขนมกระหรี่ปป
จนกลายเปนผลิตภัณฑของฝากและใชชื่อสินคาวา “ของฝากจากโครงการเอ้ืออาทรลาดกระบัง 1” โดยจําหนาย

57

ภายในชุมชนและโครงการของการเคหะแหง ชาตพิ ืน้ ทใี่ กลเคียง สง ผลใหกลุมผสู ูงอายุและกลมุ แมบานมีรายไดเพ่ิมข้ึน
จากการใชเวลาวางใหเปนประโยชน จนเมื่อเกิดสถานการณ Covid-19 การรวมกลุมเพ่ือผลิตสินคาไมสามารถ
ดําเนินการได เนื่องจากการกําหนดมาตรฐานการเวนระยะหาง การรวมกลุมทํากิจกรรมตาง ๆ จึงไมสามารถ
ดาํ เนนิ การตอ ได

นอกจากน้ีสถานการณ Covid-19 ยังสงผลตอรายไดของผูอยูอาศัยในชุมชนเปนอยางมาก เน่ืองจากผูอยู
อาศยั บางสวนมีรายไดล ดลงและบางคนตกงานกะทนั หนั สง ผลใหผอู ยูอาศัยบางสวนไมสามารถชําระคาบริการตา ง ๆ
เชน คานํ้า คาไฟ คาสวนกลาง เปนตน คณะกรรมการนิติ จึงรวมกันหาทางออกเพ่ือแกปญหาโดยมีมาตรการชะลอ
หน้ี ใหผูอยูอาศัยที่ไดรับผลกระทบสามารถคางชําระคาบริการตาง ๆ ได และใหเปนไปตามระเบียบของชุมชนท่ี
กําหนดไว หลังจากนหี้ ากผูใดไมรีบดําเนินการ ละเลยไมปฏิบัติตามระเบียบของชุมชนจะมีการประกาศเสียงตามสาย
การประชาสัมพันธตดิ ปาย และการใหคณะกรรมการไปแจงเตือนยังหองพัก หากไมสามารถปฏิบัตติ ามไดตองนําเขา
ทป่ี ระชุมเพื่อพจิ ารณาหาทางออกเพอื่ แกปญหาตอไป แตเหตุการณเ หลานเี้ กิดข้ึนไดยาก เน่ืองจากผูอยูอาศัยทน่ี ี่สวน
ใหญทาํ งานในหนว ยงานราชการ รฐั วสิ าหกิจ และบรษิ ัทขนาดใหญ ทาํ ใหมีผลกระทบตอรายไดไ มมากนกั

มติ ดิ า นสงั คมและชมุ ชน
โครงการบานเอ้ืออาทรลาดกระบัง 1 เปนชมุ ชนท่ีมีความหลากหลายดานประชากร เน่ืองจากคนท่ีมาอาศัย

สวนใหญเปนคนตางถ่ิน สงผลใหเกิดปญหามากมายในชุมชน ทั้งการนํ้าสัตยเล้ียงมาขับถายในพ้ืนที่ ความขัดแยงที่
จอดรถ ความไมเปนระเบียบในชุมชน คณะกรรมการจะประชุมรวมกันเพื่อหาทางออกในการแกไขปญหา และ
แลกเปลี่ยนรับฟงความคิดเห็นรวมกันทุกเดือน โดยมีการจัดทําแผนการทํางานในรูปแบบมวลชลสัมพันธอยาง
ตอเน่ือง อีกท้ังยังแจงรายละเอียดใหผูอยูอาศัยไดทราบทั่วกันผานเสียงตามสายและการติดปายประกาศ ซ่ึงการใช
เสียงตามสายเปน ชองทางหลักในการประชาสัมพันธกิจกรรม โครงการตาง ๆ ของชุมชน ผูอยูอาศัยจึงทราบขอมูล
และขาวสารการดําเนินงานของชุมชน ดังกรณีการประชาสัมพันธขอความรวมมือเปนจิตอาสาชุมชน เนื่องจากมี
ปญหาการลกั ขโมยเกิดขน้ึ และสงผลตอความไมปลอดภยั ของผูอยูอาศัย หลังจากที่มกี ารประชาสัมพันธเสียงตามสาย
เพื่อขอจิตอาสาไปฝกอบรมเปนตํารวจอาสา (ตํารวจบาน) ตามโครงการตาสับปะรดของสถานีตํารวจนครบาล
จรเขนอย ผูอยูอาศัยใหความสนใจในการเขารวมเปนจิตอาสาจํานวนมาก จนชุมชนกลายเปนศูนยฝกอบรมของ
ตํารวจอาสา (ตํารวจบา น)

จากหลาย ๆ ปญ หาทเ่ี กิดขึ้นในชุมชน คณะกรรมการนิติบุคคลไดห าแนวทางแกไขปญหาเพ่ือใหผอู ยอู าศยั มี
คุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน โดยการใหบริการดานสงั คมและการสรางกิจกรรมการมสี วนรวมในชมุ ชนดําเนนิ งานผานการลง
มติความเห็นชอบรวมกันในเวทีประชุมใหญทุกป และจัดทําเปนแผนพัฒนาชุมชน ซ่ึงกิจกรรมตาง ๆ จะดําเนินงาน
ตามแผนงานท่ีวางไว อาทิ การจัดกิจกรรมวันสําคัญตาง ๆ ไดแก การจัดกิจกรรมวันพอ วันแม วันเด็ก วันสงกรานต
(วันผูสูงอายุ) การจัดกิจกรรมแขงกีฬาตานยาเสพติด การจัดทําลูวิ่ง การติดตั้งกลองวงจรปด ฯลฯ ทําใหชุมชนมี
กิจกรรมสรางการมีสวนรวมอยางหลากหลาย ทัง้ ยังมกี ารทํากิจกรรมรวมกับภาคีเครือขายทงั้ จากหนวยงานภาครัฐ
และภาคเอกชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมและสนับสนุนการทํากิจกรรมแกชุมชน ทําใหเกิดการขยาย
ภาคีเครือขายไดม าก เชน การมีศูนยบริการคนพิการกรงุ เทพมหานคร (ลาดกระบัง) ต้ังอยูในชุมชน ซึง่ ชวยสนับสนุน
สงเสริม ดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ผูพิการ ในชุมชน และในภาคเอกชนมีบริษัทชางสายรุง จํากัด เขามาสนับสนุน
งบประมาณการดาํ เนินกิจกรรมและชว ยแจกสิ่งของในสถานการณ Covid-19

โครงการบา นเอ้ืออาทรลาดกระบัง 1 มีความโดดเดนในดา นชุมชนที่มีความปลอดภัยสูง ซ่งึ เปนผลมาจาก
การรวมคิด รวมทํา และรวมกันตัดสินใจแกไขปญหาความไมปลอดภัยในชุมชน จึงมกี ารติดต้ังกลอ งวงจรปดท้ังส้ิน

58

618 ตวั ซ่ึงอาคารหน่ึงจะมีกลอ งจาํ นวน 16 ตวั แบงออกเปนบริเวณโดยรอบอาคาร ๆ ละ 6 ตัว บนอาคารชั้นละ 2 ตัว
รวมทง้ั หมด 31 อาคารมีกลอ งวงจรปด 496 ตัว ท่ีเหลืออีก 122 ตัว ติดตั้งในพื้นท่ีสวนกลางครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีใน
ชุมชน จนเปนที่มาของ “ชุมชนตาทิพย” (ตาสับปะรด) หลังจากมีการตดิ ตั้งกลองวงจรปดแลว สามารถแกไขปญหา
การโจรกรรม และลดปญ หาขอรองเรียนจากการท้ิงขามกําแพงไปนอกชุมชน เน่ืองจากหาผูกระทาํ ความผิดไดงายข้ึน
โดยมีมาตรการตักเตือน ซ่ึงหากมีการทําซ้ําอีกจะใชมาตรการที่รุนแรงขึ้นตามระเบียบของชุมชน สงผลใหผูอยูอาศัย
ไมกลา กระทาํ ผดิ ซา้ํ อีก หรือหากมีปญหากรณอี ื่นใดผูอยูอาศัยสามารถมาทําเรอื่ งขอดูกลองวงจรปดได โดยการเขียน
บันทึกคาํ รอ งขอดกู ลองวงจรปดใหเ ปน ลายลกั ษณอักษร เจาหนาท่ีก็จะดําเนินการเปดกลองวงจรปดไดตามคํารองขอ
ดังนั้น การตดิ ตัง้ กลองวงจรปดจงึ เปนวิธกี ารทสี่ ําคญั ในการชว ยแกไ ขปญ หา ภายในชุมชนไดเ ปน อยา งดี

มติ ดิ า นสง่ิ แวดลอม
โครงการบานเอื้ออาทรลาดกระบัง 1 มีการจัดการส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะเรื่องขยะ ไดรับการสนับสนนุ จาก

สํานักงานเขตลาดกระบังเปนผูสนับสนุนถังขยะระบบ Complexter และจัดทําจุดแยกขยะจํานวน 3 จุด รวมไปถึง
การรณรงคประชาสมั พันธเ พ่อื คดั แยกขยะทีร่ ไี ซเคิลได เชน พลาสตกิ แกว โลหะ พลาสตกิ ใส น้ํามันพืชใชแ ลว เปน ตน
ซึ่งสามารถลดปริมาณขยะที่ทง้ิ ออกนอกชุมชนไดมาก ท้ังยังทําใหชุมชนมีความสะอาดและเปนระเบียบเรียบรอยขึ้น
นอกจากนี้ยังไดดําเนินโครงการขยะรีไซเคิล เพ่ือแกไขปญหาขยะท่ียั่งยืน โดยการนําองคความรูที่ไดจากการเคหะ
แหงชาติ และตัวอยา งจากส่ือตาง ๆ มาปรบั ใช เชน การทาํ นํา้ หมัก EM โดยรวมกันทําและแจกจายใหแกผูอยูอ าศยั ใช
เทลงในทอน้ําเพือ่ กาํ จัดไขมนั อดุ ตัน ซง่ึ เปนตนเหตขุ องการรัว่ ซมึ ทอน้าํ อดุ ตนั และแตกในที่พกั อาศยั

นอกจากนี้ยังไดพัฒนาสภาพแวดลอมโดยรอบชุมชนใหนาอยขู ึ้นโดยการสรางท่ีออกกําลังกายสําหรับผูอยู
อาศยั ในชุมชนเปนลูวิ่งระยะทาง 350 เมตร การทําลานออกกําลังกายและสนามเด็กเลน การปรับแตงกิ่งไม การวาด
รปู บนผนังตกึ เปน ลวดลายสวยงาม ฯลฯ รวมถึงการสนับสนุนการประหยัดพลังงานโดยการเปลี่ยนหลอดไฟเสาไฟฟา
สวนกลางใหเ ปนหลอดไฟ LED ท้ังหมด สงผลใหคา ไฟฟาสวนกลางในชุมชนลดลง 50% และกําลังพัฒนาโครงการใช
พลงั งานสะอาดโดยการตดิ ต้งั แผง Solar Cell ในชมุ ชน เพ่ือเปนแนวทางในการตอยอดขยายผลไปสูการขายไฟใหกับ
การไฟฟาตอ ไปในอนาคต

เม่อื วเิ คราะหเพ่ิมเตมิ จากผลการประเมนิ (ตารางที่ 4-6) พบวา ในมิติเศรษฐกิจผูอยูอาศัยในชุมชน มีรายได
เฉลย่ี ตอเดอื นตอ หวั 13,083.33 บาท คดิ เปนรอยละ 63 เมื่อนํามาเปรยี บเทียบกับรายไดเฉล่ียตอเดือนตอหัวของคน
ไทยซึง่ อยทู ี่ 20,700.54 บาท* สวนอตั ราการมีงานทําของชุมชนอยูท ่ีรอ ยละ 68 ในมิติสังคมและชุมชน ผลการสํารวจ
ความคิดเห็นของผูอยูอาศัยที่มีตอ การทํางานของคณะกรรมการชุมชนในดานตาง ๆ อยูในระดับทีส่ ูงกวารอยละ 80
สะทอนใหเหน็ ถึงจาํ นวนขอรองเรียนทตี่ ํ่าและการทํางานของคณะกรรมการชุมชนเปนทเ่ี ปนทีพ่ ึงพอใจของผูอยูอาศัย
ในระดบั ท่ีสูง ในสวนของอาชญากรรมชุมชนบานเอื้ออาทรลาดกระบัง 1 ไมพ บคดีที่สําคัญหรอื รายแรงในระยะ 1 ปท่ี
ผานมา ในมิติสิ่งแวดลอม ชุมชนมีระบบการจัดการขยะท่ีมีประสทิ ธิภาพ ผูอยูอาศัยในชุมชนใหความรวมมอื ในการ
ลดการใชถุงพลาสติก คดั แยกขยะรีไซเคลิ ตลอดจนจัดการกับนํ้ามันพืชท่ีใชแลว ขยะเปยก และขยะอันตรายไดอยาง
มีประสิทธิภาพ ดังผลการสํารวจท่ีมีคะแนนในระดับท่ีสูงถึงกวารอยละ 80 นอกจากน้ีชุมชนยังมีการสงเสริมการใช
นา้ํ หมักจุลนิ ทรีย (EM) เพ่ือการบาํ บดั นํา้ เสียในเบ้ืองตน ดว ย

* https://www.thansettakij.com/content/414823

59

ตารางท่ี 4-6 ผลการประเมินชมุ ชนบา นเออ้ื อาทรลาดกระบงั 1

หนวยทอี่ ยอู าศยั ท้งั หมด โอนแลว เหลือ คาํ้ ประกัน เชา ซ้อื อน่ื ๆ CHK
จํานวนหนวย 1,360 1,246 114 99 14 1 -
ลูกคา ค้าํ ประกนั และเชาซือ้ รวมท้ังหมด (หนวย) 113 1.70
คางชาํ ระธนาคารเกนิ 90 วนั / คางคา เชาซ้อื เกิน 2 เดอื น 15 2 1.84
รวมลกู คา ทีม่ ปี ญ หา 17
รวมลูกคาสถานะปกติ 96
ECO6 ลูกคา ค้ําประกนั และเชาซือ้ สถานะปกติ ตอ ทง้ั หมด 0.85 x 2 =
ECO7 ลกู คา โอนกรรมสิทธิ์แลว ตอ จํานวนหนวยท้งั หมด 0.92 x 2 =

ECO9 อัตราการวางงานตํา่ คําตอบ 1 2 3 4 5
จาํ นวนแบบสอบถามทัง้ หมด 136 7 26 9 26 8
ไมนาํ มาคํานวณ (5,7,ไมร ะบุ) 35 6 7 8 9 10 ไมระบุ
ใชค ํานวณ (1,2,3,4,6,8,9,10) 101 2 20 25 0 6 7
วา งงาน 32 0.32 (1,8)
มีงานทํา 69 0.68 (2,3,4,6,9,10)

ECO10 รายไดข องผอู ยูอาศัยในชุมชน 123456
จํานวนคําตอบ 132 37 38 22 23 6 6
1 ไมมีรายได - -
2 ตํา่ กวา 10,000 บาท 9,000 342,000
3 10,001-20,000 บาท 15,000 330,000
4 20,001-30,000 บาท 25,000 575,000
5 30,001-40,000 บาท 35,000 210,000
6 มากกวา 40,000 บาท 45,000 270,000
รวมรายไดข องชุมชน 1,727,000 - 342,000 330,000 575,000 210,000 270,000
รายไดเ ฉลีย่ ตอ คน (ชมุ ชน) 13,083.33 รายไดเ ฉลีย่ ตอคน (คนไทย) 20,700.54
คะแนนสําหรบั ตวั ชว้ี ัด 0.63

ผลการประเมนิ ตามตวั ช้วี ดั คะแนน
ECO1 มพี ืน้ ทีส่ ําหรับใหมีผูประกอบการไดจาํ หนายสนิ คาหรือบริการ 2.00
ECO2 ชุมชนมกี ารสงเสริมอาชพี /การจดั ต้งั วสิ าหกิจชุมชน ท่ีสามารถผลติ สินคา หรอื บรกิ าร 2.00
ECO3 สามารถสรา งรายไดจ ากภายนอกชุมชน 2.00
ECO4 ผูป ระกอบการสามารถสรา งแบรนดส นิ คา 2.00

ECO5 มกี ารสนบั สนนุ เงินเพอื่ ใชในกจิ กรรมของชมุ ชน และ/หรือ มเี งนิ กองทนุ พเิ ศษ/เฉพาะจุดประสงค ท่ี 2.00
นอกเหนือไปจากเงนิ สวนกลาง
1.70
ECO6 ความสามารถในการจา ยคาเชา หรือ ผอ นชาํ ระคา เชาซือ้ 1.84
ECO7 การไดถ อื ครองกรรมสทิ ธใิ์ นหนวยทอ่ี ยูอาศัย 3.00
ECO8 ความโดดเดน ทางดา นเศรษฐกจิ ทีเ่ ปน บริบทเฉพาะของชุมชน 0.68
ECO9 อัตราการวางงานตํา่ 0.63
ECO10 รายไดข องผอู ยอู าศัยในชมุ ชน 2.00
SOC1 มีชอ งทางประชาสัมพันธและรับฟงความคดิ เห็นจากผอู ยูอาศยั 2 ชอ งทางขึน้ ไป 2.00
SOC2 มีการรวมประชมุ รว มกบั ผอู ยูอาศยั แบบเปนทางการอยา งนอยปล ะ 2 ครงั้ 21.85

รวมผลการประเมินตัวช้วี ดั ECO1-ECO10 และ SOC1-SOC2 89.15

รวมผลการประเมินทุกตวั ช้วี ดั

60

ผลการประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด คะแนน

SOC3 มกี ารนาํ ขอ คดิ เห็นท่ีไดร ับจากผูอ ยูอ าศัยมาปรับปรงุ การทาํ งานหรือการใหบ ริการ 2.00
SOC4 มกี ารทํางานเชงิ รกุ หรอื การทํางานในลักษณะตอ ยอดหรือปอ งกนั ปญหา 2.00
SOC5 มีกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูภายในชุมชนและถา ยทอดความรสู ชู มุ ชนอื่น 2.00
SOC6 มีการสง เสรมิ ใหความรูด า นสขุ ภาพอนามัย หรือ มีแผน/ระบบการจัดการในภาวะโรคระบาด 2.00
SOC7 มีกจิ กรรมกลุม จติ อาสาหรือบาํ เพ็ญประโยชนตอ ชมุ ชน 2.00
SOC8 มกี จิ กรรมทางประเพณหี รือวนั สาํ คัญ อยา งนอยปละ 4 ครง้ั 2.00
SOC9 มกี ิจกรรมดานกฬี าหรอื สนั ทนาการ 2.00
SOC10 มีระบบการดแู ล (กิจกรรมสรางสขุ ) ผสู ูงอายุ ผูพกิ าร หรอื ผปู ว ยตดิ เตยี ง 2.00
SOC11 มีภาคเี ครอื ขา ยทงั้ ภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนหรือเขารวมกิจกรรมทีจ่ ดั 2.00
SOC12 มีแผนการพัฒนาชมุ ชนอยา งตอ เน่อื ง 2.00
SOC13 ความโดดเดน ทางดานสงั คมทเี่ ปน บรบิ ทเฉพาะของชมุ ชน 6.00
SOC14 การใหบริการแกผ อู ยอู าศัย 0.85
SOC15 มีมนษุ ยสัมพนั ธ เปน ท่ีปรึกษา และพึ่งพาได 0.82
SOC16 การดูแลใหเ ปน ไปตามกฎระเบียบ/วฒั นธรรมการอยรู วมกนั ท่ีดี 0.87
SOC17 การส่ือสารขอ มูลขาวสารตา งๆ 0.84
SOC18 การสงเสริมใหผอู ยูอาศัยมสี ว นรวมกบั ชมุ ชน 0.88
SOC19 กิจกรรมหรอื โครงการตางๆทช่ี ุมชนจดั ข้นึ 0.86
SOC20 ความซ่ือสตั ย โปรงใส และมีจรยิ ธรรมในการทาํ งาน 0.86
EVR1 มีกจิ กรรมเสริมสรา งการใชเวลาวางใหเปน ประโยชนส าํ หรับเยาวชน 2.00
EVR2 มกี ารประสานงานดา นความปลอดภัยรว มกบั หนว ยงานภายนอก 2.00
EVR3 มีระบบหรอื กลมุ ผทู ําหนาทต่ี รวจสอบดแู ลดานความปลอดภยั ยาเสพติด/อบายมุข 2.00
EVR4 มีกจิ กรรมดานการปองกันสาธารณภัยหรอื ตา นยาเสพตดิ รว มกบั ภาคเี ครือขาย 2.00
EVR5 ไมพ บ/ไมมีรายงานคดีสําคญั หรอื รา ยแรงทีเ่ กดิ ภายในชุมชน 2.00
EVR6 มีระบบหรอื มีการประสานงานกับหนวยงานภายนอกดา นการจดั การขยะ 2.00
EVR7 มีระบบการจัดการขยะอนิ ทรยี  0.00
EVR8 มรี ะบบการจดั การคดั แยกขยะอนั ตราย/ขยะเปนพษิ จากขยะท่วั ไป 2.00
EVR9 มีการรณรงคใ หล ดการใชถ งุ พลาสติก/โฟม โดยใชถ ุงผาแทน 2.00
EVR10 มีระบบการสรา งรายไดจ ากขยะรไี ซเคลิ ท่เี ปน สวนกลางของชมุ ชน 2.00
EVR11 มีการใชจลุ ินทรียในการกําจดั กล่ินและบาํ บัดนํ้าเสียในเบ้ืองตน หรอื 1.50
มีวธิ ีการพิเศษในการจดั การนํ้าเสียในชุมชน
EVR12 มรี ะบบการใชพลงั งานท่ีมีประสิทธภิ าพ หรอื มีพลังงานสะอาดใช 1.50
EVR13 ความโดดเดน ทางดานสิ่งแวดลอ มทเ่ี ปนบรบิ ทเฉพาะของชุมชน 5.00
EVR14 ความสะอาดภายในโครงการ 0.88
EVR15 ไฟฟา และแสงสวางในชุมชน 0.85
EVR16 สภาพถนนและการจราจร 0.84
EVR17 ทัศนียภาพ พนื้ ท่สี เี ขยี ว และสภาพอากาศในชมุ ชน 0.85
EVR18 พน้ื ทพี่ กั ผอ นหยอ นใจและออกกาํ ลังกาย 0.87
EVR19 ระบบดแู ลความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยสนิ 0.82
EVR20 การสาธารณสุขของชุมชน 0.86
EVR21 การใชถ งุ พลาสติก ในระดบั ครัวเรอื น 0.84
EVR22 การจัดการขยะรีไซเคลิ ในระดบั ครวั เรอื น 0.85
EVR23 การจัดการน้ํามันพชื ที่ไมใ ชแ ลว ในระดบั ครัวเรือน 0.85
EVR24 การจดั การขยะเปยก/ขยะอนั ตราย ในระดับครัวเรอื น 0.81
67.30
รวมผลการประเมนิ ตัวชวี้ ดั SOC3-SOC20 และ EVR1-EVR23
89.15
รวมผลการประเมินทุกตวั ช้วี ดั

61

4.4 โครงการบานเอื้ออาทรรัตนาธเิ บศร (ทา อิฐ)
โครงการบานเอื้ออาทรรตั นาธิเบศร (ทา อิฐ) ต้ังอยูหมทู ี่ 4 ตําบลบางรักนอย อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวดั

นนทบุรี 11000 พื้นที่ ท้ังชุมชนประมาณ 37 ไร มีอาคารพักอาศัย 40 อาคาร (1 อาคาร มี 5 ชั้น 44 ครอบครัว)
รวม 1,756 ครอบครัว ปจจุบันมผี ูอยูอาศัยประมาณ 5,000 คน มีกําแพงร้ัวคอนกรีตสูง 2 เมตร ลอมรอบชุมชน
ทางเขา-ออก ชุมชนมีทางเดียวดําเนินการบริหารชุมชนในรูปแบบนิติบุคคลอาคารชุดปจจุบันมี พันเอกรัชพล
ศักดิภัทรพล เปนประธานนิติบุคคล และนายวราเทพ ภูคงพันธุ ผูจัดการนิตินิติ ขับเคลื่อนการบริหารจัดการ
ชุมชน ท้งั รับผิดชอบงานพฒั นาชุมชนบานเอื้ออาทรรตั นาธเิ บศร (ทา อฐิ )

ภาพมุมสงู ของโครงการบา นเอ้ืออาทรรตั นาธเิ บศร (ทา อิฐ)

แผนผงั โครงการบา นเออ้ื อาทรรัตนาธิเบศร (ทาอฐิ )

62

ลักษณะทางกายภาพของชุมชน
โครงการบานเอื้ออาทรรัตนาธิเบศร (ทาอิฐ) เปนโครงการทีม่ ีอาณาเขตมีทางเขาออกทางเดยี วจึงเปน

โครงการท่ีมคี วามพรอมดา นสาธารณปู โภค-สาธารณูปการข้ันพ้ืนฐานที่จําเปน และมีพ้ืนทีส่ วนกลางสําหรับใช
ประโยชนรวมกัน คอื

 ศูนยชุมชน เปนสถานที่สําหรับดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมกันของชุมชน เชน การประชุม
กรรมการบริหารชุมชน กิจกรรมทางศาสนา/วฒั นธรรม และกจิ กรรมทางสงั คมตาง ๆ ฯลฯ

 ลานกีฬา เปน พน้ื ที่สําหรบั ผอู ยอู าศัยทกุ กลุมวยั มาใชป ระโยชนรวมกันในการออกกําลงั กาย
 ลานอเนกประสงค เปนพ้ืนที่สวนกลางของชุมชนเพ่ือใชในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ซึ่งผูอยู

อาศยั ในชมุ ชนสามารถใชป ระโยชนไ ดอยางหลากหลาย
 ลานตลาด เปน พน้ื ที่สาํ หรบั ประกอบอาชีพของผูอยูอาศยั ในชมุ ชนซง่ึ ต้งั อยูหนา โครงการ
 สวนสุขภาพ-พ้ืนที่สันทนาการ (เคร่ืองออกกําลังกายกลางแจง/สนามเด็กเลน/สนามตะกรอ/

สนามเปตอง และพน้ื ทพี่ ักผอ น)
 จดุ ผอ นปรนพน้ื ทคี่ า ขาย (รานคา-รา นขายอาหาร 15-20 ราน)
โครงการบา นเออื้ อาทรรัตนาธเิ บศร (ทาอิฐ) เปนชมุ ชนตนแบบที่มีเอกลักษณเ ฉพาะในการพัฒนาและ
บริหารชุมชนใหมีความเขมแข็งสามารถพ่ึงพาตนเองไดอยางยั่งยืนภายใตว ิสัยทัศน “การบริหารจัดการแบบมี
สวนรวม รวมคิด รวมทํา นําชุมชนสูความเจริญ” ไดรับรางวัลรองชนะเลิศระดับจังหวัด หมูบานเศรษฐกิจ
พอเพียง “อยูเย็นเปนสุข” ประจําป 2558 และรางวัลชนะเลิศ (ประเภทอาคารแนวสูง) “แชมปชนแชมป”
จากโครงการประกวด “ชุมชนสดใส จิตใจงดงาม”ของการเคหะแหงชาติ ประจําป 2561 อีกทั้งยังเปนชุมชน
ตนแบบในดา นการพัฒนาชุมชน และเปนพ่ีเลี้ยงใหกับชุมชนอื่น ๆ โดยชุมชนมีผูนําชุมชนที่มีจิตอาสา และมี
ทกั ษะในการทํางานเปนทีมทเ่ี ขมแข็ง สามารถพฒั นาชุมชนไดครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ในการเปนชุมชนตนแบบที่
มีมาตรฐานสงู (Smart Model) และมีเอกลักษณเฉพาะบริบทของชุมชน ตามแนวทางของการพัฒนาทย่ี ั่งยืน
(Sustainable Development) ดังนี้

มิตดิ านเศรษฐกจิ
โครงการบานเอ้ืออาทรรัตนาธิเบศร (ทาอิฐ) มีลักษณะเปนชุมชนเมือง มีความสะดวกสบายในการ

คมนาคมขนสง ต้ังอยูใ กลสถานีรถไฟฟา ศูนยราชการ กระทรวงสาธารณสขุ การตั้งอยูบนพื้นทย่ี านเศรษฐกิจ ผู
อยอู าศัยในชุมชนสวนมากประกอบอาชีพท่ีมีรายไดป ระจํา และประชากรสวนใหญเปนผูสูงอายุเปนหลัก ดังนั้น
การสงเสริมเกี่ยวกับอาชีพเพื่อสรางรายไดของชุมชน จึงสงเสริมกิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของผูสงู อายุ เชน
การรวมกลมุ แมบานทาํ กระเปาถกั ทําดอกไมจนั ทน เปนตน

ท้ังนี้ไดมีการสนับสนุนใหผูอยูอาศัยมีรายไดเสริม โดยการกําหนดจุดผอนปรนสําหรับคาขายบริเวณ
ทางเทา เพอ่ื ใหคนในชมุ ชนไดใชพ้ืนท่ีสวนกลางสรางรายได และอํานวยความสะดวกใหกับผูอยอู าศัยในการหา
ซ้ือสินคา ไมวาจะเปนการขายอาหารปรุงสุก ผัก ผลไม ชา กาแฟ รวมถึงขนมหวานตาง ๆ โดยนํารายไดจาก
เปดใหคาขายเดอื นละประมาณ 5,000.- บาท มาใชในการจัดกิจกรรมตาง ๆ ในชมุ ชน และมีการจัดตั้งสหกรณ
บริการชุมชนเพื่อใหเกิดการออมทรัพยของสมาชิกสหกรณในรูปแบบการซ้ือหุน ซึ่งสมาชิกจะไดรับสิทธิ

63

ประโยชนตาง ๆ เชน เงินกูฉุกเฉิน คาฌาปณกิจ และเปดบริการรานคาสหกรณบริการในชุมชน ซึ่งไดมีการ
จัดทําบญั ชีรายรับ-รายจาย โดยการติดปายประชาสัมพันธทุกอาคาร เพ่ือใหสมาชิกไดทราบทุกเดือน โดยเนน
การทํางานทีโ่ ปรงใส ตรวจสอบได

มิตดิ านสงั คมและชมุ ชน
ชุมชนมีความพยายามในการพัฒนาดานสังคมและชุมชนใหเปนระบบทั้งการจัดชองทางการ

ประชาสัมพันธใน Social Media ตา ง ๆ เพ่ือใหผูอยูอาศยั รับรูข อมูลขาวสารอยางครบถวน ทั้งยังเปนชองทาง
สื่อสารที่สาํ คญั ของผอู ยูอ าศยั นอกจากนน้ั ยงั มีการรับฟงความคิดเห็นผานตวั แทนซึ่งเปนหัวหนาอาคาร 40 คน
ซึ่งตัวแทนเหลานี้ผานการคัดเลือกโดยผูอยูอาศัยในแตละอาคาร สงผลใหการดําเนินงานในชุมชนฯ เกิด
ประสิทธภิ าพในการสือ่ สารรว มกันในชุมชนเปนอยางดี สามารถบริหารจัดการชุมชนรวมท้งั ภาคเครือขายตางๆ
ทาํ ใหเ กิดกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูข้ึน ผลจากการบริหารจัดการชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพสรางสังคม
ชมุ ชนทีเ่ ปน มาตรฐานเปน ทย่ี อมรับระดบั จังหวัด จึงเปนชุมชนทีห่ ลายหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ
ใหความสนใจเดินทางมาศึกษาดูงาน เชน JICA ญี่ปุน-เวียดนาม, JICA ญ่ีปุน-ลาตนิ อเมริกา (เม็กซโิ ก ชิลี),
ปากีสถาน, บคุ ลากรสาธารณสขุ , และชมุ ชนอื่น ๆ ของการเคหะแหงชาติ

มติ ดิ า นสิ่งแวดลอม
โครงการบา นเอือ้ อาทรรัตนาธเิ บศร (ทา อฐิ ) ไดด ําเนนิ การพัฒนาปรบั ปรงุ สภาพแวดลอมชุมชนใหเปน

พื้นท่ีสีเขียวเพื่อสงเสริมใหผูอยูอาศัยมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีพ้ืนที่สําหรับออกกําลังกายและพักผอนหยอนใจใน
ชุมชน โดยมีโครงการปลกู ตนไมเพ่ิม เชน มะมวงยายกลํ่า ทุเรียนนนทบุรี รวมถึงการจัดโซนสวนสุขภาพที่มี
เครื่องออกกําลังกาย สวนหยอม โดยการจัดตาง ๆ ผูอยูอาศัยจะมีสวนรวมในการออกแบบสวนหยอมในทุก
อาคาร รวมถึงการมีศูนยรักษาความปลอดภัย (ศูนยรปภ.) ภายในชุมชน มีบริการเรียกรถแท็กซ่ีใหแกผูอยู
อาศัยตลอด 24 ช่ัวโมง

ชุมชนดําเนินการบริหารจัดการขยะอยางเปนระบบ โดยกําหนดจุดท้ิงขยะเพ่ือบริการผูอยูอาศัย
จํานวน 19 จุด มีการกําหนดเวลาทําความสะอาดถังขยะ มกี ารคัดแยกขยะ และธนาคารขยะ โดยรถเก็บขยะ
ขององคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ที่จะเขามาเก็บขยะสัปดาหละ 2 วัน แมวาชุมชนจะไมสามารถจัดการ
ขยะแบบครบวงจรได ทําใหสามารถลดปริมาณขยะท่ีออกจากชุมชนไดพอสมควร สงผลใหรายจายคาจัดเก็บ
ขยะที่ตองจายใหองคก ารบริหารสวนตําบลจากเดิม 30,000 บาท/เดือน ลดเปน 15,000 บาท/เดือน โดยผูอยู
อาศัยไมต องจา ยคา ขยะรายเดือนเหมอื นชมุ ชนขางเคยี ง ต้ังแตป  2555 จนถึงปจ จุบัน

โดยในอนาคตชุมชนฯ มีแผนการพัฒนาส่ิงแวดลอมในชุมชน โดยอาจมีการนําพลังงานสะอาดมาใช
คือ การใชพลังงานแสงอาทิตย หรือใชแผงโซลาเซลล ซึ่งตองศึกษาอยางรอบดาน จากนั้นจึงนําเขาที่ประชุม
เพอ่ื ปรกึ ษาหารือกนั อกี ครัง้ ในอนาคต

มติ ดิ านสขุ ภาวะชมุ ชน
โครงการบานเอือ้ อาทรรตั นาธเิ บศร (ทาอิฐ) มีจดุ เดน ดา นการดแู ลสุขภาพ โดยใหความสําคัญกับการ

ดูแลสุขภาพของผูอยอู าศัยในชุมชนเปนสําคัญ จึงไดดําเนินโครงการ Healthy Condo เพื่อดแู ลสุขภาพผูอยู
อาศัยในชุมชนอยางเปนระบบ ลดปญหาการเขาไมถึงบริการสุขภาพขั้นพ้ืนฐานท่ีจําเปนในพ้ืนท่ี โดยไดม ีการ

64

ลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกันระหวางภาคีเครือขาย 8 หนวยงาน คือ การเคหะแหงชาติ สถาบันปองกัน
ควบคุมโรคเขตเมือง โรงพยาบาลพระน่งั เกลา กรมควบคุมโรค ศูนยอนามัยท่ี 4 สระบุรี และศูนยอนามัยท่ี 13
กรุงเทพมหานคร กรมอนามยั สํานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดนนทบุรี สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
เขต 4 องคก ารบรหิ ารสวนตําบลบางรักนอย และนติ ิบุคคลอาคารชุดบานเอื้ออาทรทา อิฐ เปดใหบรกิ ารทุกวัน
จันทรถ ึงวันศุกร เวลา 08.00 – 15.00 น. และดําเนินการขับเคลื่อนมาอยางตอเน่ืองเปนระยะเวลา 3 ป ซึ่ง
โรงพยาบาลพระน่ังเกลาเปนผูริเร่ิมนํารอง โดยใชพื้นท่ีศูนยชุมชนเปนสถานที่ใหบริการ “ศนู ยดูแลและฟนฟู
สุขภาพผูสูงอายุ” (Elderly Day Care) เพ่ือใหบริการผูสูงอายุในชุมชนไดฟนฟูทํากายภาพบําบัดและดูแล
สุขภาพของตนเอง รวมถึงการจัดระบบแจงเตือนสาํ หรับหองชุดที่มีผูปวยติดบาน-ติดเตียง หรอื ผสู ูงอายุกรณี
เกิดเหตฉุ ุกเฉิน เมอ่ื วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562 ซงึ่ เปนขับเคล่ือนกิจกรรมภายใตโครงการ Healthy Condo
โดยไดร บั การสนบั สนนุ จากสว นงานตาง ๆ ดังน้ี

1. การเคหะแหงชาติ สนับสนุนพ้ืนที่ศูนยชุมชนในโครงการบานเอ้ืออาทรเปน ที่ตั้งศูนยด แู ลและฟนฟู
สุขภาพผูสูงอายุ (Elderly Day Care) เพื่อใหบริการดานการรักษาพยาบาล ดานสง เสรมิ สุขภาพ ดา นปองกัน
โรค และฟน ฟสู ขุ ภาพใหก ับผสู งู อายรุ ะยะยาวในชมุ ชน และชุมชนขา งเคยี งการเคหะแหง ชาติ

2. สาธารณสุขจังหวดั นนทบุรี เปนหนว ยงานหลักในการสนบั สนุนอปุ กรณท างการแพทย
3. นิติบุคคลบานเอื้ออาทรรัตนาธิเบศร (ทาอิฐ) ใหการสนับสนุนคาใชจายอ่ืน ๆ ไดแก คาดูแลผูปว ย
คานา้ํ ประปา คาไฟฟา ฯลฯ
4. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ งั หวัดนนทบุรี ใหการสนับสนนุ ดา นการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
เมื่อวิเคราะหเพิ่มเติมจากผลการประเมิน (ตารางที่ 4-7) พบวา ในมิติเศรษฐกิจผูอยูอาศัยในชุมชนมี
รายไดเฉลี่ยตอเดือนตอหัว 9,063.22 บาท คิดเปน รอยละ 44 เม่ือนํามาเปรียบเทียบกับรายไดเฉลยี่ ตอเดือน
ตอหัวของคนไทยซ่ึงอยูท่ี 20,700.54 บาท* สวนอัตราการมีงานทําของชุมชนอยูท่ีรอยละ 80 ในมิติสังคมและ
ชุมชนผลการสํารวจความคิดเห็นของผูอยูอาศัยที่มีตอการทํางานของคณะกรรมการชุมชนในดานตาง ๆ อยู
ระหวางรอยละ 74-79 สะทอนใหเห็นถึงจํานวนขอรองเรียนที่คอนขางตํ่าและการทํางานของคณะกรรมการ
ชุมชนเปนที่เปนท่ีพึงพอใจของผูอยูอาศัยในระดับทีค่ อนขางสงู ในสวนของอาชญากรรมชุมชนบานเอ้ืออาทร
รัตนาธิเบศร (ทา อฐิ ) ไมพบคดที ี่สําคัญหรือรา ยแรงในระยะ 1 ปท ี่ผานมา ในมิตสิ ่ิงแวดลอมชุมชนมีระบบการ
จัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตามในการลดการใชถุงพลาสติก คัดแยกขยะรีไซเคิล ตลอดถึงการ
จัดการกับนา้ํ มันพืชท่ีใชแลว ขยะเปยก และขยะอันตราย ยังไมคอยไดรับการรว มมือจากผูอยูอาศัย ดงั ผลการ
สํารวจมีคะแนนในระดับเพียงรอยละ 58-65 ในดานการบําบัดน้ําเสียเบื้องตนชุมชนมีการสงเสริมการใชนํ้า
หมกั จุลนิ ทรยี  (EM) แตยังไมม กี ารจัดการน้ําเสยี ดว ยวิธีพเิ ศษอืน่ ใด

* https://www.thansettakij.com/content/414823

65

ตารางท่ี 4-7 ผลการประเมนิ ชุมชนบา นเออ้ื อาทรรัตนาธิเบศร (ทาอฐิ )

หนว ยทอี่ ยูอาศัย ทงั้ หมด โอนแลว เหลือ คํา้ ประกนั เชาซื้อ อน่ื ๆ CHK
จาํ นวนหนวย 1,756 1,558 198 98 99 1 -
ลูกคา ค้าํ ประกนั และเชาซื้อ รวมทง้ั หมด (หนว ย) 197 1.80
คา งชาํ ระธนาคารเกิน 90 วัน / คางคาเชา ซ้อื เกนิ 2 เดอื น 1 18 1.78
รวมลกู คา ที่มีปญหา 19
รวมลูกคาสถานะปกติ 178
ECO6 ลกู คา คํา้ ประกนั และเชา ซือ้ สถานะปกติ ตอ ทง้ั หมด 0.9 x 2 =
ECO7 ลกู คา โอนกรรมสิทธิแ์ ลว ตอ จํานวนหนว ยทง้ั หมด 0.89 x 2 =

ECO9 อตั ราการวา งงานตาํ่ คําตอบ 1 2 3 4 5
จาํ นวนแบบสอบถามทงั้ หมด 176 14 63 1 49 1
ไมน าํ มาคาํ นวณ (5,7,ไมร ะบุ) 24 6 7 8 9 10 ไมร ะบุ
ใชคํานวณ (1,2,3,4,6,8,9,10) 152 2 19 16 1 6 4
วางงาน 30 0.20 (1,8)
มีงานทาํ 122 0.80 (2,3,4,6,9,10)

ECO10 รายไดข องผอู ยูอาศยั ในชุมชน 12345 6
จาํ นวนคําตอบ 174 43 83 39 8 0 1
1 ไมมีรายได - 45,000
2 ตาํ่ กวา 10,000 บาท 9,000 - 45,000
3 10,001-20,000 บาท 15,000 747,000
4 20,001-30,000 บาท 25,000 585,000
5 30,001-40,000 บาท 35,000 200,000
6 มากกวา 40,000 บาท 45,000 -

รวมรายไดข องชมุ ชน 1,577,000 - 747,000 585,000 200,000 -
รายไดเ ฉลยี่ ตอคน (ชุมชน) 9,063.22 รายไดเ ฉลี่ยตอคน (คนไทย) 20,700.54
คะแนนสําหรับตวั ช้วี ดั 0.44

ผลการประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด คะแนน
ECO1 มพี ้ืนที่สําหรับใหมผี ปู ระกอบการไดจ ําหนายสนิ คา หรอื บรกิ าร 2.00
ECO2 ชมุ ชนมกี ารสงเสรมิ อาชีพ/การจัดต้งั วิสาหกจิ ชุมชน ท่ีสามารถผลติ สนิ คา หรือบรกิ าร 2.00
ECO3 สามารถสรางรายไดจ ากภายนอกชมุ ชน 2.00
ECO4 ผูประกอบการสามารถสรา งแบรนดส นิ คา 2.00

ECO5 มีการสนับสนุนเงินเพอื่ ใชในกจิ กรรมของชุมชน และ/หรือ มีเงนิ กองทุนพเิ ศษ/เฉพาะจดุ ประสงค ที่ 2.00
นอกเหนอื ไปจากเงินสว นกลาง
1.80
ECO6 ความสามารถในการจายคา เชา หรือ ผอนชําระคาเชา ซ้อื 1.78
ECO7 การไดถ ือครองกรรมสทิ ธใ์ิ นหนวยทอี่ ยูอาศยั 3.00
ECO8 ความโดดเดน ทางดา นเศรษฐกิจทีเ่ ปน บรบิ ทเฉพาะของชุมชน 0.80
ECO9 อัตราการวา งงานตาํ่ 0.44
ECO10 รายไดข องผูอยอู าศยั ในชุมชน 2.00
SOC1 มชี องทางประชาสัมพันธและรับฟง ความคิดเหน็ จากผูอ ยอู าศยั 2 ชอ งทางขน้ึ ไป 2.00
SOC2 มีการรว มประชมุ รวมกบั ผอู ยอู าศยั แบบเปน ทางการอยา งนอ ยปล ะ 2 คร้ัง 21.82

รวมผลการประเมนิ ตัวชว้ี ดั ECO1-ECO10 และ SOC1-SOC2 87.08

รวมผลการประเมินทุกตวั ช้วี ัด

66

ผลการประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด คะแนน

SOC3 มกี ารนาํ ขอ คดิ เห็นท่ีไดร ับจากผูอ ยูอ าศัยมาปรับปรงุ การทาํ งานหรือการใหบ ริการ 2.00
SOC4 มกี ารทํางานเชงิ รกุ หรอื การทํางานในลักษณะตอ ยอดหรือปอ งกนั ปญหา 2.00
SOC5 มีกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูภายในชุมชนและถา ยทอดความรสู ชู มุ ชนอื่น 2.00
SOC6 มีการสง เสรมิ ใหความรูด า นสขุ ภาพอนามัย หรือ มีแผน/ระบบการจัดการในภาวะโรคระบาด 2.00
SOC7 มีกจิ กรรมกลุม จติ อาสาหรือบาํ เพ็ญประโยชนตอ ชมุ ชน 2.00
SOC8 มกี จิ กรรมทางประเพณหี รือวนั สาํ คัญ อยา งนอยปละ 4 ครง้ั 2.00
SOC9 มกี ิจกรรมดานกฬี าหรอื สนั ทนาการ 2.00
SOC10 มีระบบการดแู ล (กิจกรรมสรางสขุ ) ผสู ูงอายุ ผูพกิ าร หรอื ผปู ว ยตดิ เตยี ง 2.00
SOC11 มีภาคเี ครอื ขา ยทงั้ ภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนหรือเขารวมกิจกรรมทีจ่ ดั 2.00
SOC12 มีแผนการพัฒนาชมุ ชนอยา งตอ เน่อื ง 2.00
SOC13 ความโดดเดน ทางดานสงั คมทเี่ ปน บรบิ ทเฉพาะของชมุ ชน 6.00
SOC14 การใหบริการแกผ อู ยอู าศัย 0.79
SOC15 มีมนษุ ยสัมพนั ธ เปน ท่ีปรึกษา และพึ่งพาได 0.74
SOC16 การดูแลใหเ ปน ไปตามกฎระเบียบ/วฒั นธรรมการอยรู วมกนั ท่ีดี 0.77
SOC17 การส่ือสารขอ มูลขาวสารตา งๆ 0.75
SOC18 การสงเสริมใหผอู ยูอาศัยมสี ว นรวมกบั ชมุ ชน 0.77
SOC19 กิจกรรมหรอื โครงการตางๆทช่ี ุมชนจดั ข้นึ 0.75
SOC20 ความซ่ือสตั ย โปรงใส และมีจรยิ ธรรมในการทาํ งาน 0.74
EVR1 มีกจิ กรรมเสริมสรา งการใชเวลาวางใหเปน ประโยชนส าํ หรับเยาวชน 2.00
EVR2 มกี ารประสานงานดา นความปลอดภัยรว มกบั หนว ยงานภายนอก 2.00
EVR3 มีระบบหรอื กลมุ ผทู ําหนาทต่ี รวจสอบดแู ลดานความปลอดภยั ยาเสพติด/อบายมุข 2.00
EVR4 มีกจิ กรรมดานการปองกันสาธารณภัยหรอื ตา นยาเสพตดิ รว มกบั ภาคเี ครือขาย 2.00
EVR5 ไมพ บ/ไมมีรายงานคดีสําคญั หรอื รา ยแรงทีเ่ กดิ ภายในชุมชน 2.00
EVR6 มีระบบหรอื มีการประสานงานกับหนวยงานภายนอกดา นการจดั การขยะ 2.00
EVR7 มีระบบการจัดการขยะอนิ ทรยี  0.00
EVR8 มรี ะบบการจดั การคดั แยกขยะอนั ตราย/ขยะเปนพษิ จากขยะท่วั ไป 2.00
EVR9 มีการรณรงคใ หล ดการใชถ งุ พลาสติก/โฟม โดยใชถ ุงผาแทน 2.00
EVR10 มีระบบการสรา งรายไดจ ากขยะรไี ซเคลิ ท่เี ปน สวนกลางของชมุ ชน 2.00
EVR11 มีการใชจลุ ินทรียในการกําจดั กล่ินและบาํ บัดนํ้าเสียในเบ้ืองตน หรอื 1.50
มีวธิ ีการพิเศษในการจดั การนํ้าเสียในชุมชน
EVR12 มรี ะบบการใชพลงั งานท่ีมีประสิทธภิ าพ หรอื มีพลังงานสะอาดใช 1.50
EVR13 ความโดดเดน ทางดานสิ่งแวดลอ มทเ่ี ปนบรบิ ทเฉพาะของชุมชน 5.00
EVR14 ความสะอาดภายในโครงการ 0.79
EVR15 ไฟฟา และแสงสวางในชุมชน 0.76
EVR16 สภาพถนนและการจราจร 0.81
EVR17 ทัศนียภาพ พนื้ ท่สี เี ขยี ว และสภาพอากาศในชมุ ชน 0.78
EVR18 พน้ื ทพี่ กั ผอ นหยอ นใจและออกกาํ ลังกาย 0.80
EVR19 ระบบดแู ลความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยสนิ 0.74
EVR20 การสาธารณสุขของชุมชน 0.78
EVR21 การใชถ งุ พลาสติก ในระดบั ครัวเรอื น 0.63
EVR22 การจัดการขยะรีไซเคลิ ในระดบั ครวั เรอื น 0.58
EVR23 การจัดการน้ํามันพชื ที่ไมใ ชแ ลว ในระดบั ครัวเรือน 0.65
EVR24 การจดั การขยะเปยก/ขยะอนั ตราย ในระดับครัวเรอื น 0.63
65.26
รวมผลการประเมนิ ตัวชวี้ ดั SOC3-SOC20 และ EVR1-EVR23
87.08
รวมผลการประเมินทุกตวั ช้วี ดั

67

4.5 โครงการบา นเอื้ออาทรระยอง (วังหวา)
บานเอื้ออาทรระยอง (วังหวา) เปนชุมชนแนวราบของการเคหะแหงชาติ ที่ถอื วามีมาตรฐานสูง มีผูนํา

ชุมชนที่เกงเปนคนรุนใหมไฟแรง คิดจริง ทําจริง สามารถเปล่ียนขยะเปนรายไดเสริมใหกับผูอยูอาศัยในชุมชน
ดว ยการจัดตั้งกลุมตาง ๆ ในชุมชน เพ่ือใหทุกคนไดม ีสวนรวมในการทํากิจกรรม จนยกระดับเปนชุมชนตนแบบ

แผนทีต่ ้งั โครงการบานเอื้ออาทรระยอง (วงั หวา)

แผนท่ีต้ังโครงการบา นเอ้อื อาทรระยอง (วงั หวา )

ดา นการจดั การสง่ิ แวดลอม และเปนชมุ ชนเขม แข็งท่ีสามารถบริหารจัดการตัวเองไดอ ยางเปนรูปธรรมโดยชุมชน
มีจดุ เดน ในดานการบรหิ ารจัดการขยะอยางชัดเจน ซึ่งรับรองไดจากรางวลั ที่ไดรับมากมาย อาทิ รางวัลชนะเลิศ
จากโครงการประกวดชุมชนสดใส จิตใจงดงาม ประจําป 2559 และป 2561 ประเภทอาคารแนบราบ
ประกาศนียบัตร รับรองใหเปนชุมชนตนแบบดานการจัดการสิ่งแวดลอม ดานการจัดการขยะท่ีตนทางของ
จังหวัดระยอง รางวัลชนะเลิศจากการประกวดชุมชน Zero Waste ชุมชนปลอดขยะของกรมสงเสริมคุณภาพ

68

ส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และยังไดรับรางวัลจากหนวยงานตางๆ อีกหลาย
รางวัล ตลอดจนเปนแหลงเรียนรูของคณะศึกษาดูงานตางๆ อีกทั้งยังไดรวมจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับการ
บริหารจัดการขยะของประเทศไทย ในการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังท่ี 35 เรอื่ งของผลกระทบของขยะทะเล
(Impact of Marine Debris) การจัดการขยะจากตนทางถึงปลายทาง (Land-sea Waste Management) การ
รณรงคลดการใชพลาสติกแบบใชครัง้ เดยี ว Thailand Plastic Roadmap การจัดการขยะโดยชุมชนเอ้ืออาทร
ระยอง (วังหวา) จังหวดั ระยอง และทุน กักขยะ

การผลิตกระเปาจักสานพลาสติกและประดิษฐดอกไมจากขยะชมุ ชนจากกลุมแมบาน การคัดแยกขยะ
รีไซเคลิ ธนาคารขยะ ขยะอินทรียฐ าน การจัดการนํ้าเสียโดยใชจุลินทรียท่ีมีประสิทธิภาพ EM การทาํ ปุยหมัก
ชีวภาพ และการทํากิจกรรมปุยไสเดือนเพื่อสรางรายไดใหกับชุมชน การทําฟารมตัวอยางเพื่อเปนศูนยเรียนรู
ไดแ กการเลย้ี งไก และหมูปา ซ่ึงไมมีกล่ินรบกวนชุมชน เนื่องจากใชระบบฉีด EM.เปนละอองฝอยเพื่อกําจัดกล่ิน
ทุก 2 ช่ัวโมง โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตรพระราชาในหลวงรัชกาลที่ 9 สําหรับโครงการบานเอ้ือ
อาทรจังหวัดระยอง (วังหวา) เปนชุมชนท่ีอยูในการดูแลของการเคหะแหงชาติ มีผลงานดา นสิ่งแวดลอมที่สราง
ช่อื ใหกับชุมชน มีการบริหารจัดการชุมชนของเสียในชุมชน ภายใตโ ครงการ “Eco – Village” มีการจัดทาํ แผน
ชุมชน และจัดต้ังกลุมตา ง ๆ ตามความตองการของชุมชน สรางงาน สรางอาชีพ สรางรายไดใ หกับผูอยอู าศัยใน
ชุมชน และดานการบริหารจัดการชุมชน บริหารโครงการดวยคณะกรรมการชุมชน กําหนดกฎระเบียบการอยู
อาศัยรวมกันอยางมีระเบียบวนิ ัย โดยการจัดต้ังกลุมตาง ๆ ในชุมชน อาทิ กลุมออมทรัพย กลุมผูสูงอายุ กลุม
รักษาสิ่งแวดลอม กลุมเยาวชน กลมุ อาชีพ เปนตน ซึ่งสามารถพัฒนาชุมชนไดครอบคลุมทั้ง 3 มิติ ในการเปน
ชุมชนตนแบบท่ีมมี าตรฐานสูง (Smart Model) และมีเอกลักษณเ ฉพาะบริบทของชุมชน ตามแนวทางของการ
พัฒนาทย่ี ่ังยนื (Sustainable Development) ดงั นี้

มิตดิ านเศรษฐกิจ
โครงการบานเอ้ืออาทรระยอง (วังหวา) มีความโดดเดนเร่ืองการเปลี่ยนขยะเปนรายไดเ สริมใหแก

ผูอยูอาศัยในชุมชน และปจจุบันไดมีการวางแผนพัฒนาใหบริหารจัดการในรูปแบบของบริษัท โดยในระยะ
เริ่มตน อาจตองหางบประมาณมาดาํ เนินการเองกอ นเพ่อื รบั ซื้อขยะ พรอมกับระดมความคดิ เก่ียวกับการบริหาร
จัดการ เชน การวางแผนการรับซอื้ ขยะประเภทตาง ๆ การกําหนดราคาขยะประเภทตาง ๆ รวมไปถึงการดู
ศักยภาพการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรวาสามารถดําเนินการเองไดมากนอยเพียงใด ซ่ึงอยูใน
กระบวนการประชุมระดมความคิดเห็นรว มกันอยู รวมถึงการตรวจสอบความโปรงใสในการดําเนินการตาง ๆ
ซ่ึงอาจมีการนําระบบสหกรณเขามาปรับใช โดยไดยกตัวอยางสหกรณม หาวิทยาลัยสงขลานครินทรที่สามารถ
บริหารเงนิ ไดมากถึง 1,000 ลานบาท และอาจตองสง เสริมดา นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมเพม่ิ ข้ึนดวย

ดําเนินการสงเสริมอาชีพทํานํ้าหมักชีวภาพของชุมชน สามารถสรางรายไดเขาชุมชนไดปละประมาณ
100,000 บาท ซ่งึ ตอ ยอดมาจาก การเคหะแหงชาติ ที่สนับสนุนใหน้ําหัวเช้ือและองคค วามรู ซ่ึงมีรายไดจากการ
ทาํ ปุยจากขยะอินทรียแ ละมูลไสเ ดอื น การสง เสรมิ ใหใชว สั ดจุ ากขยะมาทําเปนผลิตภัณฑ OTOP ของชุมชน เชน
การทํากระเปา ตะกรา หมวก เปนการเพ่มิ มลู คา (DIY) ใหกบั ขยะท่เี หลือใชกลบั มามีประโยชนไ ดอ ีกครั้ง

การสงเสรมิ ใหกลุม ผูสูงอายุทําไมกวาดดอกหญา เพ่ือนาํ ไปจําหนา ยในหนวยงานราชการภายในจังหวัด
ทําใหสรา งรายไดใหแกก ลมุ ตาง ๆ ในชุมชนไดเ ปน อยางมาก ซึ่งเปนการดําเนินกิจกรรม ภายใตแนวคิดเศรษฐกิจ

69

พอเพียงเปนหลัก จนสามารถต้ังกองทุนธนาคารขยะในชุมชนไดสําเร็จเม่ือเดือนตุลาคม 2558 โดยรายไดสวน
หนง่ึ จะถกู นํามาจัดสรรเปน สวสั ดิการใหแกผูอยูอาศัย เชน หากเจ็บปวยตองพักฟนท่ีโรงพยาบาลสามารถเบิกคา
รักษาพยาบาลไดคนละ 3 คร้งั / ป เปนคา เดินทางคร้ังละ 100 บาท หรือในกรณีท่ีเสียชีวิตจะสนับสนุนใหเงิน
จาํ นวน 3,000 บาท พรอ มพวงหรีด การจดั สวสั ดกิ ารใหท ุนการศกึ ษาปละ 200 บาท เปน ตน

มิตดิ านสงั คมและชมุ ชน
จากสถานการณน้ําทวมในชุมชนแลวเกิดปญหาขยะลนและสงกลิ่นเหม็นไปทั้งชุมชน สงผลใหคุณ

สายัณห รุงเรือง หนึ่งในผูอยูอาศัยในชุมชนเกิดความตระหนักถึงปญหาขยะในชุมชนมากข้ึน และเล็งเห็นวา
ปญหาขยะเปนเร่ืองที่ตองรีบแกไขจึงไดนัดประชุมพูดคุยกับผูอยูอาศัยในชุมชนเพื่อหาทางออกปญหาขยะเนา
เสียในชุมชน จนไดแนวทางการดําเนินการจัดการขยะโดยรับสมัครอาสาสมัครในชุมชนจํานวน 29 คน มาชวย
ดําเนนิ การตา ง ๆ และขับเคลอื่ นแกไขปญหารวมกัน

การดาํ เนินการของโครงการบานเอ้ืออาทรระยอง (วังหวา) ณ ขณะน้ันยงั ไมมีการแตงต้ังคณะกรรมการ
ชุมชน จงึ ทําใหคุณสายัณห รุงเรือง เปนผูเร่ิมขับเคล่ือนการพัฒนาชุมชนและถูกเลือกใหเปนประธานชุมชนใน
เวลาตอมา และกลายเปนความโดดเดนในการมีผูนําชุมชนท่ีดี มีศักยภาพ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
สามารถบริหารจัดการชุมชนไดดี โดยในชวงแรกผูอยูอาศัยยังขาดความพรอมในการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ
ดังเชนทุกวันน้ี แตเนื่องจากผูนําชุมชนเปนผูที่มีวิสัยทัศนผนวกกับการมีทีมงานท่ีดี ทําใหการดําเนนิ การตาง ๆ
ราบร่ืน เปนไปไดด ว ยดี ซึ่งผนู าํ ชุมชนไดแบง บทบาทหนา ทใี่ นการปฏิบตั ิงานท่ชี ดั เจน แมวา ทุกคนจะมีอาชีพหลัก
แตก็สามารถบริหารจัดการและดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ภายในชุมชนฯ เพื่อประโยชนของผูอยูอาศัยและชุมชน
สวนรวมไดเปนอยางดี ในชวงแรกของการบริหารจัดการ ผูนําชุมชนไดศึกษาการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ผาน
การศกึ ษาดูงานจากหลากหลายสถานที่ และหลังจากศึกษาดูงานเรยี บรอยแลวก็นําแนวคิดและวธิ ีปฏิบัตมิ าปรบั
ใชใ นชุมชนทุกครัง้

ความสามารถท่ีทาํ ใหขยะที่ไรคาทําใหเกิดเปนมูลคาขึ้นมาไดน้ันถือเปนความสําเรจ็ ในขั้นแรกของการ
ทาํ ใหผูอยอู าศยั ใหการยอมรับในตัวผูนําชมุ ชน เพราะตองยอมรบั วาการทําใหคนมรี ายไดจ ากขยะนั้นเปนเรื่องที่
เปนไปไดยากในมุมมองของบุคคลท่ัวไป ดังน้ันการบริหารจัดการขยะจนสามารถนําความรูไปถายทอดในเวที
ระดับประเทศ และเวทีระดับโลกไดจึงเปนส่ิงท่ีนาสนใจและควรนําไปเปนตน แบบในการบริหารจัดการขยะที่ดี
เองคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงเล็งเห็นการเปนตนแบบในการบริหารจัดการขยะไปสูชุมชนอื่น ๆ ดวยเชนกัน
และวางแนวคดิ ไว ดงั น้ี

1) นาํ เรือ่ งการบริหารจดั การของชมุ ชนวงั หวาเปนตนแบบเขา ท่ปี ระชมุ
2) คัดเลือกชุมชนที่จะเขารวมทําโครงการบริหารจัดการขยะตามแบบบานเอ้ือาทรระยอง (วังหวา) ประมาณ 4-5

ชุมชน โดยทางเทศบาลเปนผูคัดเลอื กเอง เนอื่ งจากตองดูปจจัยแวดลอมเพ่ือประกอบการตัดสินใจ อาทิ ความ
พรอ มของชุมชน ขนาดของชมุ ชน จาํ นวนปริมาณขยะในแตละวัน พืน้ ท่ีในการจดั เก็บขยะ เปนตน
3) ใหแ ตละชมุ ชนดาํ เนินการโดยมีเทศบาลฯ และบา นเอ้อื าทรวงั หวา เปนพี่เลย้ี ง
4) ทาํ การประเมนิ และดผู ลสาํ เรจ็ ทเ่ี กดิ ข้นึ พรอมถอดสรุปบทเรยี นเพอ่ื ใหเกดิ แนวทางปฏิบัตแิ กช มุ ชนอ่นื ๆ ตอ ไป

การมีผูนําชุมชนและทีมงานท่ีมีความรู มีจิตอาสายังมีสวนชวยใหการดําเนินการตาง ๆ ไดรับความ
รวมมือท่ีดีจากผอู ยูอาศยั ในชุมชนใหเขามารวมดําเนินการตาง ๆ รวมกันไดเปนอยางดี ไดแก การจัดกิจกรรม
ตามประเพณีทกุ กจิ กรรมเพอ่ื เปน การเรยี กความศรัทธาที่ดีตอกันของคนบานใกลเรือนเคยี ง การเขารวมกิจกรรม

70

กลุม ตาง ๆ เชน กลุมแอโรบิค กลุมอาชีพ กลุมออมทรัพย กลุมอาสาสาธารณสุขประจําหมูบาน กลุมฌาปนกิจ
กลุมรักส่ิงแวดลอม กลุมธนาคารขยะกลุมจุลินทรีย กลุมโรงไสเดือน กลุมปุยหมักชีวภาพ เปนตน การจัด
กิจกรรมแขง ขนั กฬี า ซ่ึงโดดเดนในกีฬามวย เน่ืองจากมีนักมวยระดับโลกอาศยั อยูในชุมชนฯ นอกจากน้ียงั ไดรับ
ความรวมมือ และการสนับสนุนท่ีดีจากภาคีเครือขายทัง้ หนวยงานภาครัฐและเอกชน โดยสามารถประสานการ
ทํางานรว มกับภาคเี ครือขายตา ง ๆ ที่ใหการสนับสนุนและชวยเหลือการบริหารจัดการขยะไดเ ปนอยา งดี ท้ังการ
สนับสนุนดานงบประมาณและดานองคความรูที่เปนประโยชนตอการพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ ที่คอยอํานวยความสะดวกการผอนปรนระเบียบปฏิบัติที่อาจมีข้ันตอนที่ยุงยาก
ซับซอ น ซ่ึงทําใหการดําเนินการตาง ๆ เกิดความลาชา หากจุดใดสามารถปรับ ผอนปรน เพื่อใหการดําเนินงาน
รวดเร็วมากขน้ึ และเกดิ ประโยชนตอการดาํ เนินการของชมุ ชนก็จะใหก ารสนับสนนุ อยางเตม็ ที่ ดังคาํ กลาว

มติ ดิ านสง่ิ แวดลอ ม
โครงการบานเอื้ออาทรระยอง (วังหวา) เปนตนแบบสําคัญของการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน

โดยเฉพาะการบริหารจัดการขยะ ซ่ึงสามารถนําแนวคิดและองคความรูนําไปเผยแพรในเวทีระดับชาติและ
ระดบั ประเทศ การดแู ลสงิ่ แวดลอมในระดับชุมชนถือเปนจุดเร่ิมตน ใหชาวชุมชนตระหนักถึงการดแู ลรักษาความ
สะอาดในบานเรือน รคู ุณคาของขยะแตละประเภทที่สามารถเพ่ิมมูลคาเปนเงินได ท้ังยังทําใหองคความรูการ
บริหารจัดการขยะเปนเรือ่ งทสี่ ามารถทําไดไ มย าก

การบริหารจัดการขยะจึงเปนสวนหน่ึงท่ีชวยใหสิ่งแวดลอมโดยรอบชุมชนฯ นาอยู โดยเริ่มจากการ
บริหารจัดการขยะต้ังแตตนทางและดึงผูอยูอาศัยเขามามีสวนรวมในกิจกรรมการบริหารจัดการขยะรวมกัน จน
สามารถยกระดับเปนชุมชนตนแบบดานการจัดการส่ิงแวดลอม และเปนชุมชนเขมแข็งท่ีสามารถบริหารจัดการ
ตัวเองไดอยางเปนรูปธรรม จึงเปนชุมชนที่มีความสะอาด เน่ืองจากไมมีถังขยะกีดขวางถนน มีสภาพแวดลอม
โดยรอบทีเ่ ปน ระเบียบ มีทัศนียภาพท่ีมีพื้นที่สีเขียว มีลานกิจกรรมออกกําลังกาย และมคี วามปลอดภัย เพราะมี
การติดตั้งกลองวงจรปด และมี รปภ. จติ อาสาชว ยดแู ลความเรยี บรอยและความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง

เมื่อวิเคราะหเพ่ิมเติมจากผลการประเมนิ (ตารางที่ 4-8) พบวา ในมิตเิ ศรษฐกิจผูอยูอาศัยในชุมชนมี
รายไดเฉล่ียตอเดือนตอหัว 11,939.39 บาท คิดเปนรอยละ 58 ซึ่งเม่ือนํามาเปรียบเทียบกับรายไดเฉลี่ยตอ
เดอื นตอ หวั ของคนไทยซึง่ อยทู ี่ 20,700.54 บาท* สว นอัตราการมีงานทาํ ของชมุ ชนอยทู ่รี อยละ 73 ในมิติสังคม
และชุมชนผลการสํารวจความคิดเห็นของผูอยูอาศัยท่ีมีตอการทํางานของคณะกรรมการชุมชนในดานตาง ๆ
อยูในระดับที่สูง โดยมีคะแนนระหวาง 79-83 สะทอนถึงจํานวนขอรองเรียนท่ีนาจะอยูในระดับต่ํา และการ
ทํางานของคณะกรรมการชุมชนเปนท่ีพึงพอใจของผูอยูอาศัยในระดับที่สูง ในสวนของอาชญากรรมไมพ บคดี
สําคัญหรือรา ยแรงเกิดข้ึนที่ชมุ ชนบา นเอื้ออาทรระยอง (วังหวา ) ในระยะ 1 ปท ผ่ี านมา ในมิตสิ ิ่งแวดลอมชุมชน
มีระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ ผูอยูอาศัยในชุมชนคอนขางใหความรวมมือในการลดการใช
ถุงพลาสติก คัดแยกขยะรีไซเคิล ตลอดจนจัดการกับน้ํามันพืชท่ีใชแลว ขยะเปยก และขยะอันตราย ดังเห็น
ไดจ ากผลการสํารวจทีม่ ีคะแนนอยรู ะหวา งรอยละ 64-81 ในดานการบําบดั นํ้าเสียเบื้องตนชุมชนมกี ารสง เสริม
การใชน้ําหมกั จลุ ินทรีย (EM) แตย ังไมม กี ารจดั การน้ําเสยี ดว ยวิธีพเิ ศษอืน่ ใด

* https://www.thansettakij.com/content/414823

71

ตารางที่ 4-8 ผลการประเมินชุมชนบา นเอ้ืออาทรระยอง (วังหวา )

หนวยทอ่ี ยูอาศัย ทั้งหมด โอนแลว เหลือ คํ้าประกัน เชา ซ้ือ อื่นๆ CHK
จาํ นวนหนวย 522 336 186 142 33 11 -
ลูกคา ค้าํ ประกนั และเชา ซือ้ รวมท้ังหมด (หนวย) 175 1.92
คา งชําระธนาคารเกิน 90 วนั / คางคาเชา ซือ้ เกนิ 2 เดอื น 07 1.28
รวมลกู คา ที่มีปญ หา 7
รวมลกู คา สถานะปกติ 168
ECO6 ลูกคา ค้าํ ประกนั และเชาซือ้ สถานะปกติ ตอ ท้งั หมด 0.96 x 2 =
ECO7 ลกู คา โอนกรรมสทิ ธิแ์ ลว ตอ จาํ นวนหนวยทง้ั หมด 0.64 x 2 =

ECO9 อัตราการวางงานตํา่ คําตอบ 1 2 3 4 5
จาํ นวนแบบสอบถามท้ังหมด 100 6 24 4 32 2
ไมน ํามาคาํ นวณ (5,7,ไมร ะบุ) 16 6 7 8 9 10 ไมระบุ
ใชค ํานวณ (1,2,3,4,6,8,9,10) 84 0 11 17 1 0 3
วางงาน 23 0.27 (1,8)
มงี านทาํ 61 0.73 (2,3,4,6,9,10)

ECO10 รายไดข องผอู ยูอ าศยั ในชมุ ชน 12345 6
จํานวนคําตอบ 99 17 28 46 5 2 1
1 ไมม ีรายได - 45,000
2 ตาํ่ กวา 10,000 บาท 9,000 - 45,000
3 10,001-20,000 บาท 15,000 252,000
4 20,001-30,000 บาท 25,000 690,000
5 30,001-40,000 บาท 35,000 125,000
6 มากกวา 40,000 บาท 45,000 70,000

รวมรายไดข องชุมชน 1,182,000 - 252,000 690,000 125,000 70,000
รายไดเ ฉลีย่ ตอ คน (ชมุ ชน) 11,939.39 รายไดเ ฉล่ียตอ คน (คนไทย) 20,700.54
คะแนนสําหรบั ตวั ช้วี ัด 0.58

ผลการประเมินตามตวั ชีว้ ัด คะแนน
ECO1 มีพน้ื ทีส่ าํ หรบั ใหมผี ูป ระกอบการไดจ ําหนา ยสินคา หรือบรกิ าร 2.00
ECO2 ชุมชนมีการสง เสริมอาชพี /การจัดต้งั วสิ าหกิจชุมชน ท่ีสามารถผลิตสนิ คา หรือบรกิ าร 2.00
ECO3 สามารถสรา งรายไดจ ากภายนอกชุมชน 2.00
ECO4 ผูประกอบการสามารถสรา งแบรนดส ินคา 2.00

ECO5 มกี ารสนับสนนุ เงินเพอ่ื ใชในกจิ กรรมของชมุ ชน และ/หรอื มเี งนิ กองทุนพเิ ศษ/เฉพาะจุดประสงค ที่ 2.00
นอกเหนอื ไปจากเงินสวนกลาง
1.92
ECO6 ความสามารถในการจายคาเชา หรือ ผอนชําระคาเชาซอ้ื 1.28
ECO7 การไดถ ือครองกรรมสทิ ธ์ใิ นหนวยที่อยอู าศยั 6.00
ECO8 ความโดดเดนทางดานเศรษฐกจิ ทเี่ ปน บริบทเฉพาะของชมุ ชน 0.73
ECO9 อตั ราการวา งงานตาํ่ 0.58
ECO10 รายไดข องผูอยอู าศัยในชมุ ชน 2.00
SOC1 มีชองทางประชาสัมพันธและรบั ฟงความคิดเห็นจากผอู ยอู าศยั 2 ชองทางข้ึนไป 2.00
SOC2 มีการรวมประชุมรวมกับผอู ยูอ าศัยแบบเปน ทางการอยางนอยปล ะ 2 ครง้ั 24.51

รวมผลการประเมินตวั ช้ีวัด ECO1-ECO10 และ SOC1-SOC2 93.74

รวมผลการประเมนิ ทกุ ตัวช้ีวัด

72

ผลการประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด คะแนน

SOC3 มกี ารนาํ ขอ คดิ เห็นท่ีไดร ับจากผูอ ยูอ าศัยมาปรับปรงุ การทาํ งานหรือการใหบ ริการ 2.00
SOC4 มกี ารทํางานเชงิ รกุ หรอื การทํางานในลักษณะตอ ยอดหรือปอ งกนั ปญหา 2.00
SOC5 มีกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูภายในชุมชนและถา ยทอดความรสู ชู มุ ชนอื่น 2.00
SOC6 มีการสง เสรมิ ใหความรูด า นสขุ ภาพอนามัย หรือ มีแผน/ระบบการจัดการในภาวะโรคระบาด 2.00
SOC7 มีกจิ กรรมกลุม จติ อาสาหรือบาํ เพ็ญประโยชนตอ ชมุ ชน 2.00
SOC8 มกี จิ กรรมทางประเพณหี รือวนั สาํ คัญ อยา งนอยปละ 4 ครง้ั 2.00
SOC9 มกี ิจกรรมดานกฬี าหรอื สนั ทนาการ 2.00
SOC10 มีระบบการดแู ล (กิจกรรมสรางสขุ ) ผสู ูงอายุ ผูพกิ าร หรอื ผปู ว ยตดิ เตยี ง 2.00
SOC11 มีภาคเี ครอื ขา ยทงั้ ภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนหรือเขารวมกิจกรรมทีจ่ ดั 2.00
SOC12 มีแผนการพัฒนาชมุ ชนอยา งตอ เน่อื ง 2.00
SOC13 ความโดดเดน ทางดานสงั คมทเี่ ปน บรบิ ทเฉพาะของชมุ ชน 6.00
SOC14 การใหบริการแกผ อู ยอู าศัย 0.81
SOC15 มีมนษุ ยสัมพนั ธ เปน ท่ีปรึกษา และพึ่งพาได 0.83
SOC16 การดูแลใหเ ปน ไปตามกฎระเบียบ/วฒั นธรรมการอยรู วมกนั ท่ีดี 0.79
SOC17 การส่ือสารขอ มูลขาวสารตา งๆ 0.82
SOC18 การสงเสริมใหผอู ยูอาศัยมสี ว นรวมกบั ชมุ ชน 0.82
SOC19 กิจกรรมหรอื โครงการตางๆทช่ี ุมชนจดั ข้นึ 0.83
SOC20 ความซ่ือสตั ย โปรงใส และมีจรยิ ธรรมในการทาํ งาน 0.81
EVR1 มีกจิ กรรมเสริมสรา งการใชเวลาวางใหเปน ประโยชนส าํ หรับเยาวชน 2.00
EVR2 มกี ารประสานงานดา นความปลอดภัยรว มกบั หนว ยงานภายนอก 2.00
EVR3 มีระบบหรอื กลมุ ผทู ําหนาทต่ี รวจสอบดแู ลดานความปลอดภยั ยาเสพติด/อบายมุข 2.00
EVR4 มีกจิ กรรมดานการปองกันสาธารณภัยหรอื ตา นยาเสพตดิ รว มกบั ภาคเี ครือขาย 2.00
EVR5 ไมพ บ/ไมมีรายงานคดีสําคญั หรอื รา ยแรงทีเ่ กดิ ภายในชุมชน 2.00
EVR6 มีระบบหรอื มีการประสานงานกับหนวยงานภายนอกดา นการจดั การขยะ 2.00
EVR7 มีระบบการจัดการขยะอนิ ทรยี  2.00
EVR8 มรี ะบบการจดั การคดั แยกขยะอนั ตราย/ขยะเปนพษิ จากขยะท่วั ไป 2.00
EVR9 มีการรณรงคใ หล ดการใชถ งุ พลาสติก/โฟม โดยใชถ ุงผาแทน 2.00
EVR10 มีระบบการสรา งรายไดจ ากขยะรไี ซเคลิ ท่เี ปน สวนกลางของชมุ ชน 2.00
EVR11 มีการใชจลุ ินทรียในการกําจดั กล่ินและบาํ บัดนํ้าเสียในเบ้ืองตน หรอื 1.50
มีวธิ ีการพิเศษในการจดั การนํ้าเสียในชุมชน
EVR12 มรี ะบบการใชพลงั งานท่ีมีประสิทธภิ าพ หรอื มีพลังงานสะอาดใช 1.50
EVR13 ความโดดเดน ทางดานสิ่งแวดลอ มทเ่ี ปนบรบิ ทเฉพาะของชุมชน 6.00
EVR14 ความสะอาดภายในโครงการ 0.84
EVR15 ไฟฟา และแสงสวางในชุมชน 0.79
EVR16 สภาพถนนและการจราจร 0.72
EVR17 ทัศนียภาพ พนื้ ท่สี เี ขยี ว และสภาพอากาศในชมุ ชน 0.80
EVR18 พน้ื ทพี่ กั ผอ นหยอ นใจและออกกาํ ลังกาย 0.81
EVR19 ระบบดแู ลความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยสนิ 0.77
EVR20 การสาธารณสุขของชุมชน 0.83
EVR21 การใชถ งุ พลาสติก ในระดบั ครัวเรอื น 0.64
EVR22 การจัดการขยะรีไซเคลิ ในระดบั ครวั เรอื น 0.81
EVR23 การจัดการน้ํามันพชื ที่ไมใ ชแ ลว ในระดบั ครัวเรือน 0.77
EVR24 การจดั การขยะเปยก/ขยะอนั ตราย ในระดับครัวเรอื น 0.74
69.23
รวมผลการประเมนิ ตัวชวี้ ดั SOC3-SOC20 และ EVR1-EVR23
93.74
รวมผลการประเมินทุกตวั ช้วี ดั

73

4.6 โครงการบา นเออ้ื อาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี)
โครงการบานเอื้ออาทรประจวบครี ขี ันธ (ปราณบุรี) เปนบานแนวราบ จํานวน 506 หนวย ไดส งมอบ

กุญแจเม่ือวันท่ี 14 มกราคม 2550 มีการจัดตั้งสหกรณบริการบานเอื้ออาทรปราณบุรี จดทะเบียนวันที่ 20
สิงหาคม 2551 มีสมาชิก 178 ราย และเร่ิมรับบริหารงานชุมชนแบบบูรณาการ จากการเคหะแหงชาติ เม่ือ
วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 และ ดําเนนิ การบริหารชมุ ชนมาจนถึงวันท่ี 30 เมษายน 2555 มกี ารจัดต้ังนิติบุคคล
ชุมชนการเคหะบานเอ้ืออาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี) เม่ือวันที่ 11 มกราคม 2555 และเริ่มรับบริหาร
ชุมชนตอจากสหกรณเ ม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 จนถึงปจจุบัน ซ่ึงเทศบาลตําบลเขานอ ยไดใหความสาํ คัญ
กบั ชุมชนบา นเออ้ื อาทรประจวบครี ขี ันธ (ปราณบุร)ี เปนอยางมาก โดยใหขนึ้ ทะเบยี นเปนชุมชนและดําเนินการ
เลือกต้ังกรรมการชุมชนท่ีอยูในความรับผิดชอบของเทศบาลต้ังแตวันที่ 5 มิถุนายน 2555 คณะกรรมการชุด
ปจ จุบันเปน ชดุ ที่ 6

แผนท่ีตัง้ โครงการบานเอื้ออาทรประจวบครี ีขันธ (ปราณบุรี)

ภาพถายมุมสูงโครงการบานเออื้ อาทรประจวบครี ขี ันธ (ปราณบุร)ี

74

ลกั ษณะทางดา นกายภาพชุมชน
โครงการบานเออ้ื อาทรประจวบครี ีขันธ (ปราณบุร)ี เปนโครงการท่มี ีอาณาเขตมีทางเขาออกทางเดียว

จึงเปนโครงการที่มีความพรอมดานสาธารณูปโภค-สาธารณูปการข้ันพื้นฐานที่จําเปน และมีพ้ืนท่ีสวนกลาง
สาํ หรับใชป ระโยชนรว มกัน คือ

 ทัศนียภาพของชุมชน มีความรมรื่น(พื้นท่ีสีเขียว) ความสะอาดของทางเทา พื้นที่สวนรวม
สาธารณประโยชน พนื้ ท่ีวางในชุมชนไมใ หมีการบกุ รุก และการบาํ รุงรักษาสาธารณสมบตั ิของชมุ ชน

 ศูนยชุมชน เปนสถานที่สําหรับดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมกันของชุมชน เชน การประชุม
กรรมการบริหารชุมชน กิจกรรมทางศาสนา/วฒั นธรรม และกจิ กรรมทางสงั คมตา ง ๆ ศนู ยเ ด็กเล็ก ฯลฯ

 ลานกีฬาและลานอเนกประสงค เปนพื้นที่สําหรับผูอยูอาศัยในชุมชน ทุกกลุมวัยมาใชประโยชน
รวมกันในการออกกําลังกาย เปนพ้ืนที่สว นกลางของชุมชนเพื่อใชในการดาํ เนินกิจกรรมตาง ๆ ซึ่งผูอยู
อาศยั ในชมุ ชน สามารถมาใชประโยชนไดอยางหลากหลาย

โครงการบานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี) มีจุดเดนในดานการบริหารจัดการนํ้าท่ีดี ท้ัง
บอหนวงน้ําและบอบาํ บัด โดยใชวธิ ีการเติม EM และตดิ ต้ังนํ้าพุ เพื่อเติมอากาศใหกับน้ํา มีการบริหารจัดการ
และการบูรณาการท้ังองคกรชุมชนและผูอยูอาศัย โดยการทํางานรวมกันของทั้งคณะกรรมการนิติบุคคลการ
เคหะบานเอ้ืออาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี) และคณะกรรมการชุมชนบานเอ้ืออาทร มีการสงเสริมให
เยาวชนใสใจการกีฬา โดยมีอาจารยฝกสอนเทควันโดเพ่ือใหเยาวชนหางไกลจากยาเสพติด ซ่ึงถือวาเปน
ตนแบบของแนวทางการปฏิบัติงานไดตอไป ชุมชนมีคณะกรรมการท่ีเขมแข็ง เสียสละประโยชนสวนตัว
เพื่อสวนรวม สามารถพัฒนาชุมชนไดครอบคลุมท้ัง 3 มิติ ในการเปนชุมชนตนแบบที่มีมาตรฐานสูง (Smart
Model) และมีเอกลักษณเฉพาะบริบทของชุมชนตามแนวทางของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
Development) ดงั นี้

มติ ดิ านเศรษฐกจิ
โครงการบานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี) มีลักษณะทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญคือการดํารงอยู

ภายใตก ารเปนชุมชนเมืองท่ีมีผูอ ยูอาศัยประกอบอาชีพหลากหลายซึ่งถือเปนงานประจําหลัก อาทิ ขาราชการ
พนักงานบริษัท คาขาย ทําใหสภาพเศรษฐกิจของชุมชนอยูในสภาวะท่ีดีน่ันคือ มีรายไดเลี้ยงตนเองและ
ครอบครัว สวนการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจของชุมชนนั้นมีรายไดหลักคือ การเก็บเงินคาสวนกลางครัวเรือนละ
200 บาท โดยมคี ณะกรรมการเปน ผดู ูแลตรวจสอบ

อยางไรก็ตามการเก็บเงินคาสวนกลางอาจไมสามารถเก็บไดครบทุกหลังคาเรือน เนื่องจากมีการ
เปล่ียนแปลงผูอยูอาศัยตลอดเวลา สงผลใหการปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือการประชาสัมพันธอาจไมท่ัวถึง
ซึ่งทางชุมชนจะมีหลักปฏิบัติสําหรับผูคางคาสวนกลางคือ การประชาสัมพันธเสียงตามสายเพื่อแจงใหทราบ
หากไมปฏิบัติตามอาจมีการดําเนินคดีฟองรอง แตถือวาการเกิดคดีฟองรองเกิดข้ึนไดยากเนื่องจากมี
กระบวนการ ข้ันตอน วิธีการปฏิบัติซบั ซอน ท้งั ยงั เสยี ท้ังเวลา โอกาส และทรัพยสิน จึงอาจตองหาแนวทางการ
ประนีประนอมการชาํ ระหนใี้ นชุมชนตอ ไป

ชุมชนดําเนินการจัดประโยชนเพ่ือที่สวนกลางเพื่อสรางรายไดโดยการติดตั้งตูนํ้าดื่มท่ีสามารถสราง
รายไดใหชุมชนและนํามาเปนคาใชจายในการดูแลบํารุงรักษาอุปกรณตาง ๆ ใชในการจัดกิจกรรม รวมท้ัง

75

จัดเปนสวสั ดิการใหแกผูอยูอาศัยในชุมชน เชน การมอบพวงหรีดใหแกสมาชิกผูเสียชีวิต เปนตน นอกจากนี้
รายไดท่นี ํามาใชในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ นิติบุคลไดบริหารจัดการโดยนําเงนิ คาสวนกลางรายเดือน ๆ ละ
200 บาท มาหักออกจาํ นวน 10 บาท เพ่ือนํามาจัดสรรเปนสวัสดิการทุกระดบั ต้ังแตการเกิด แก เจ็บปวย
และเสียชีวิต ใหแกสมาชิกผูอยูอาศัยในชุมชน มีการสงเสริมอาชีพเสริมใหกับสมาชิกในชุมชน เชน
การรวมกลุมอาชีพเพาะเห็ดท่ีสามารถใหผลผลิตไดวันละ 40-50 กิโลกรัม/ วัน โดยจําหนายในชุมชนเปนหลัก
และจําหนายใหแกร า นคาภายนอกบาง

มิตดิ า นสงั คมและชุมชน
มีการสงเสริมใหเกิดกระบวนการมีสวนรว มในการขับเคลื่อนกิจกรรมของชมุ ชน และมีแผนการจัดทํา

แผนการดําเนินงานที่สอดคลองกับหนวยงานทองถ่ิน การจัดกิจกรรมประเพณีวันสําคัญตาง ๆ รวมท้ังยังมี
กิจกรรมสง เสริมอาชีพ (การเพาะเหด็ ) กิจกรรมตา นยาเสพติด/รณรงคต า นยาเสพติด การทําคันชะลอความเรว็
อบรมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เปนตน นอกจากนั้นชุมชนยังเห็นความสําคัญของการ
พัฒนาเยาวชน ไดจ ัดต้ังเปนสภาเด็กและเยาวชน ซงึ่ มกี ลุมเปตองเยาวชนและกลมุ เทควันโดเยาวชน โดยเด็ก ๆ
ท่ีเขา รว มกจิ กรรมบางสว นสามารถผลักดนั ตนเองไปสูการฝกฝนเปนเยาวชนทีมชาติ ท้ังยังเปนการใชเวลาวา งที่
เกิดประโยชนต อ ตนเอง

สําหรบั การพฒั นาสงั คมและชมุ ชนในดา นอ่ืน ๆ นั้นทางผูนําฯและสมาชิกไดม ีสวนรวมในการขับเคล่ือน
โครงการและกิจกรรมอยางสมํา่ เสมอ โดยในสวนการพัฒนาตามแผนพัฒนาชุมชนก็มีการเขารวมเวทีประชาคม
กับเทศบาลตําบลเขานอ ยเพ่ือทบทวนและปรับปรุงแผนพัฒนาชุมชน ชุมชนสามารถเสนอความตองการเขาสูท่ี
ประชมุ ระดับเทศบาลได โดยตองมเี สียงสนับสนุนมากกวา 50% ซ่ึงชุมชนไดร บั ความรวมมือในการสนับสนุนใน
การพัฒนางานของชุมชน รวมทั้งการแกไขปญหาตา ง ๆ จากเทศบาลตําบลเขานอ ยอยเู สมอ โดยเฉพาะเรื่องไฟ
สองสวางบริเวณรอบ ๆ บอหนวงน้ํา ซ่งึ ถือเปนความรับผิดชอบของเทศบาลตาํ บลเขานอ ยโดยตรง ท้ังการชาํ ระ
คาไฟฟา และการบํารุงรกั ษา

นอกจากนั้นทางชมุ ชนยังไดรบั การสนับสนนุ จากภาคีเครอื ขายหลายหนวยงานภาครฐั และเอกชน ดังน้ี
1. การเคหะแหงชาติ เปนหนวยงานหลกั ในการสนบั สนนุ ในทกุ กิจกรรมทช่ี ุมชนตอ งการ
2. สาํ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) สนับสนุนโครงการพฒั นาพนื้ ที่สขุ ภาวะของชมุ ชน
3. เทศบาลตาํ บลเขานอยชว ยดูแล สนบั สนุน และอาํ นวยความสะดวกในการดําเนนิ งานตาง ๆ ของชมุ ชน เชน
การจัดการขยะ การจัดกจิ กรรมตามประเพณี การจัดกจิ กรรมกีฬารวมกบั ชมุ ชนอืน่ อีก 10 ชมุ ชน เปนตน
4. กรมปศุสัตวอาํ เภอปราณบุรเี ขา มาชวยฉดี วคั ซนี ใหส ัตวเลย้ี งในชมุ ชนฯ
5. ศนู ยพ ฒั นาสังคมหนว ยที่ 28 จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ สนับสนนุ อปุ กรณการออกกําลงั กายในชมุ ชน
6. คายธนะรชั ตสนบั สนนุ กําลังพลมาชวยขดุ ลอกบอ นํ้า
7. หจก.อลงกตวัสดภุ ัณฑ ใหก ารสนบั สนุนการขุดลอกบอนา้ํ และการดาํ เนนิ กิจกรรมตา ง ๆ ในชุมชนฯ
8. Tesco Lotus สนบั สนนุ ส่งิ ของเพ่อื แจกจา ยในวนั สาํ คัญ ๆ ตามประเพณี
9. สมาชกิ สภาองคการบริหารสว นจงั หวดั
ทักษะความสามารถของคณะกรรมการบริหารชุมชน ในการประสานความรวมมือภาคีเครือขาย
เขามารวมในการพัฒนาชุมชน จึงเปนจุดเดนของโครงการบานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี) สงผลให
ชมุ ชนมคี ุณภาพชีวิตทีด่ ีและมีการขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมอยา งตอเน่อื งจนไดร ับรางวลั ตา ง ๆ มากมายในชุมชน

76

มติ ดิ านสิง่ แวดลอ ม
ชุมชนมีการพัฒนาส่ิงแวดลอมภายใตบริบทของชุมชนเมืองเปนหลัก ผูคนในชุมชนตางมีวิถีชีวิตที่

รบี เรงรวมท้งั การพฒั นาเปน พ้นื ท่ีเชงิ เกษตรก็ทาํ ไดย าก ดงั นั้น คณะกรรมการชมุ ชน จึงไดเล็งเห็นการพัฒนาใน
พื้นทใี่ หมีบริเวณของพื้นท่ีสีเขียวเกิดข้ึน ทําใหเกิดการพัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณบอหนวงนํ้าในชุมชน โดยการเคหะ
แหงชาติไดใหความรูและวิธีปฏิบัติตาง ๆ รวมท้ังการจัดการระบบบําบัดนํ้าเสีย มีการตรวจสอบคุณภาพนํ้า
โดยบรษิ ทั พัฒนาสิง่ แวดลอ มเขา ตรวจคณุ ภาพน้าํ เปน ประจาํ ทุกเดือน และชมุ ชนยังดําเนินการใช EM กับระบบ
บาํ บัดน้าํ เสยี ซึง่ ไดดําเนินการพฒั นาพ้นื ทีบ่ ริเวณบอหนวงน้ําใหเปนพนื้ ทส่ี ุขภาวะชุมชน

ชุมชนไดดําเนินโครงการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร กําหนดจุดทิ้งขยะ การเก็บขยะ การทํา
ความสะอาด การคดั แยกขยะกอ นทง้ิ เกบ็ ขยะสัปดาหล ะ 3 คร้ังโดยเทศบาลตําบลเขานอย ตรวจสอบถังขยะที่
ชํารุด มกี ารลางถังขยะสมํ่าเสมอ สวนขยะรีไซเคิลจะนําไปขายและนํารายไดม าพัฒนาชุมชน สวนขยะอินทรีย
จะใชถ ังสีดําเจาะรดู า นลางและวางตะแกรงเพื่อใหนํ้าจากเศษอาหารไหลลงทอระบายน้ําขางลาง และกากขยะ
อินทรยี ท่ีเหลือจะนําไปหมัก EM เพื่อทาํ เปนปุยแลวนํากลับมาใชในพื้นที่สีเขียวของชุมชนฯ อีกคร้ัง สําหรับ
นํ้ามันที่ใชแลวในครัวเรือน กรรมการชุมชน จะรับซอ้ื จากผูอยูอ าศัยเพื่อลดปญหาน้ําเนาเสียจากการทิ้งน้ํามัน
ลงทอ การดําเนินงานดงั กลา วสามารถชว ยลดปริมาณขยะในชุมชนไดเปนอยางมาก และในอนาคตมีเปาหมาย
ใหเ ปนชุมชนไรถ งั ขยะ

จากขางตนจะเห็นไดวาชุมชนมีความเขมแข็งภายใตการบริหารจัดการของกรรมการชุมชนท่ีเปนกลุม
จติ อาสา เสยี สละเวลาเพอ่ื ประโยชนของสวนรวมเปนอยางดี ทง้ั ยังพยายามประสานเครอื ขายการพัฒนาท้ังใน
ภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาชุมชนของตนใหเกิดความอยูดีมีสุขเปนหลัก จนทําใหเกิด “ปอดของ
ชุมชน” หรือพื้นที่สีเขียวขึ้น พวกเขาสามารถพัฒนาพ้ืนท่ใี หเหมาะสมกับบริบทชุมชน รวมทั้งใชพื้นท่เี หลาน้ัน
ใหเกิดประโยชนไดอยางสูงสุด และหากมีปญหาที่ตองไดรับการแกไขตางก็สามารถประสานขอความ
อนุเคราะหห รอื ความชวยเหลือจากหนว ยงานตา ง ๆ ไดเ ปนอยางดี

เมอื่ วิเคราะหเพ่ิมเตมิ จากผลการประเมิน (ตารางท่ี 4-9) พบวา ในมิตเิ ศรษฐกิจผูอยูอาศัยในชุมชน มี
รายไดเฉลีย่ ตอเดอื นตอ หัว 13,154.64 บาท คดิ เปนรอยละ 64 เม่ือนํามาเปรียบเทียบกับรายไดเฉล่ียตอเดือน
ตอ หัวของคนไทยซง่ึ อยูท ี่ 20,700.54 บาท* สวนอัตราการมงี านทําของชุมชนอยูที่รอยละ 79 ในมิตสิ ังคมและ
ชมุ ชน ผลการสาํ รวจความคดิ เห็นของผูอ ยอู าศัยท่มี ีตอการทาํ งานของคณะกรรมการชุมชนในดานตาง ๆ อยูใน
ระดับระหวางรอยละ 68-77 สะทอนใหเห็นถึงจํานวนขอรองเรียนที่คอนขางตํ่าและการทํางานของ
คณะกรรมการชุมชนเปนท่ีเปนท่ีพึงพอใจของผูอยูอาศัยในระดับท่ีคอ นขางสูง ในสว นของอาชญากรรมชุมชน
บานเอ้ืออาทรประจวบคีรีขันธ (ปราณบุรี) ไมพบคดีที่สําคัญหรือรายแรงในระยะ 1 ปที่ผานมา ในมิติ
สิ่งแวดลอม ชุมชนมีระบบการจัดการขยะท่ีมีประสิทธิภาพ การลดการใชถุงพลาสติก คัดแยกขยะรีไซเคิล
ตลอดจนการจัดการกับน้าํ มนั พืชทใี่ ชแลว ขยะเปยก และขยะอันตราย ไดรับการรวมมือทดี่ ีจากผูอยูอาศัย ซ่งึ
จากผลการสํารวจไดค ะแนนในระหวางรอ ยละ 64-79 ในดานการบําบัดน้ําเสียเบื้องตนชุมชนมีการสงเสริมการ
ใชน้ําหมักจุลินทรยี  (EM) แตสงิ่ ทีเ่ ปนจดุ เดนคอื การท่ชี ุมชนใหค วามสาํ คัญเปนพิเศษตอระบบการบาํ บัดนา้ํ เสยี

* https://www.thansettakij.com/content/414823

77

ตารางท่ี 4-9 ผลการประเมนิ ชมุ ชนบา นเออ้ื อาทรประจวบครี ขี ันธ (ปราณบุรี)

หนวยที่อยูอาศยั ทง้ั หมด โอนแลว เหลือ คา้ํ ประกัน เชา ซอ้ื อื่นๆ CHK
จาํ นวนหนว ย 506 499 770 0 -
ลกู คา คํ้าประกันและเชาซือ้ รวมทงั้ หมด (หนวย) 7 1.72
คา งชาํ ระธนาคารเกนิ 90 วนั / คางคา เชา ซอื้ เกนิ 2 เดอื น 10 1.98
รวมลูกคา ท่มี ีปญ หา 1
รวมลกู คา สถานะปกติ 6
ECO6 ลกู คา คาํ้ ประกันและเชา ซือ้ สถานะปกติ ตอ ทง้ั หมด 0.86 x 2 =
ECO7 ลูกคา โอนกรรมสิทธิ์แลว ตอ จาํ นวนหนว ยทง้ั หมด 0.99 x 2 =

ECO9 อตั ราการวา งงานตํา่ คาํ ตอบ 1 2345
จํานวนแบบสอบถามทงั้ หมด 100 5 34 10 13 4
ไมน าํ มาคาํ นวณ (5,7,ไมร ะบุ) 15 6 7 8 9 10 ไมระบุ
ใชคํานวณ (1,2,3,4,6,8,9,10) 85 1 9 13 1 8 2
วา งงาน 18
มีงานทาํ 67 0.21 (1,8)

0.79 (2,3,4,6,9,10)

ECO10 รายไดข องผูอยอู าศยั ในชุมชน 12345 6
จํานวนคําตอบ 97 15 29 36 13 3 1
1 ไมมีรายได - 45,000
2 ต่ํากวา 10,000 บาท 9,000 - 45,000
3 10,001-20,000 บาท 15,000 261,000
4 20,001-30,000 บาท 25,000 540,000
5 30,001-40,000 บาท 35,000 325,000
6 มากกวา 40,000 บาท 45,000 105,000

รวมรายไดข องชมุ ชน 1,276,000 - 261,000 540,000 325,000 105,000
รายไดเ ฉลี่ยตอคน (ชมุ ชน) 13,154.64 รายไดเ ฉล่ียตอ คน (คนไทย) 20,700.54
คะแนนสาํ หรบั ตวั ชว้ี ดั 0.64

ผลการประเมนิ ตามตวั ชี้วดั คะแนน
ECO1 มีพ้ืนทส่ี าํ หรับใหม ีผปู ระกอบการไดจ าํ หนา ยสนิ คา หรอื บรกิ าร 2.00
ECO2 ชมุ ชนมกี ารสง เสริมอาชีพ/การจดั ตง้ั วิสาหกิจชุมชน ท่ีสามารถผลิตสินคา หรอื บริการ 2.00
ECO3 สามารถสรา งรายไดจ ากภายนอกชุมชน 2.00
ECO4 ผูประกอบการสามารถสรางแบรนดส นิ คา 2.00

ECO5 มกี ารสนับสนนุ เงนิ เพอื่ ใชใ นกิจกรรมของชุมชน และ/หรอื มเี งนิ กองทนุ พิเศษ/เฉพาะจดุ ประสงค ท่ี 2.00
นอกเหนอื ไปจากเงินสว นกลาง
1.72
ECO6 ความสามารถในการจายคาเชา หรือ ผอ นชาํ ระคาเชาซ้ือ 1.98
ECO7 การไดถอื ครองกรรมสทิ ธ์ิในหนว ยทอ่ี ยอู าศัย 3.00
ECO8 ความโดดเดนทางดานเศรษฐกิจท่ีเปนบริบทเฉพาะของชมุ ชน 0.79
ECO9 อตั ราการวา งงานตาํ่ 0.64
ECO10 รายไดข องผูอยอู าศยั ในชมุ ชน 2.00
SOC1 มีชอ งทางประชาสัมพันธและรบั ฟง ความคิดเห็นจากผูอ ยูอาศัย 2 ชอ งทางข้นึ ไป 2.00
SOC2 มกี ารรว มประชมุ รว มกบั ผอู ยอู าศัยแบบเปน ทางการอยา งนอ ยปละ 2 ครั้ง 22.13

รวมผลการประเมนิ ตัวช้วี ัด ECO1-ECO10 และ SOC1-SOC2 90.93

รวมผลการประเมนิ ทุกตวั ชว้ี ัด

78

ผลการประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด คะแนน

SOC3 มกี ารนาํ ขอ คดิ เห็นท่ีไดร ับจากผูอ ยูอ าศัยมาปรับปรงุ การทาํ งานหรือการใหบ ริการ 2.00
SOC4 มกี ารทํางานเชงิ รกุ หรอื การทํางานในลักษณะตอ ยอดหรือปอ งกนั ปญหา 2.00
SOC5 มีกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูภายในชุมชนและถา ยทอดความรสู ชู มุ ชนอื่น 2.00
SOC6 มีการสง เสรมิ ใหความรูด า นสขุ ภาพอนามัย หรือ มีแผน/ระบบการจัดการในภาวะโรคระบาด 2.00
SOC7 มีกจิ กรรมกลุม จติ อาสาหรือบาํ เพ็ญประโยชนตอ ชมุ ชน 2.00
SOC8 มกี จิ กรรมทางประเพณหี รือวนั สาํ คัญ อยา งนอยปละ 4 ครง้ั 2.00
SOC9 มกี ิจกรรมดานกฬี าหรอื สนั ทนาการ 2.00
SOC10 มีระบบการดแู ล (กิจกรรมสรางสขุ ) ผสู ูงอายุ ผูพกิ าร หรอื ผปู ว ยตดิ เตยี ง 2.00
SOC11 มีภาคเี ครอื ขา ยทงั้ ภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนหรือเขารวมกิจกรรมทีจ่ ดั 2.00
SOC12 มีแผนการพัฒนาชมุ ชนอยา งตอ เน่อื ง 2.00
SOC13 ความโดดเดน ทางดานสงั คมทเี่ ปน บรบิ ทเฉพาะของชมุ ชน 6.00
SOC14 การใหบริการแกผ อู ยอู าศัย 0.70
SOC15 มีมนษุ ยสัมพนั ธ เปน ท่ีปรึกษา และพึ่งพาได 0.68
SOC16 การดูแลใหเ ปน ไปตามกฎระเบียบ/วฒั นธรรมการอยรู วมกนั ท่ีดี 0.69
SOC17 การส่ือสารขอ มูลขาวสารตา งๆ 0.77
SOC18 การสงเสริมใหผอู ยูอาศัยมสี ว นรวมกบั ชมุ ชน 0.73
SOC19 กิจกรรมหรอื โครงการตางๆทช่ี ุมชนจดั ข้นึ 0.73
SOC20 ความซ่ือสตั ย โปรงใส และมีจรยิ ธรรมในการทาํ งาน 0.72
EVR1 มีกจิ กรรมเสริมสรา งการใชเวลาวางใหเปน ประโยชนส าํ หรับเยาวชน 2.00
EVR2 มกี ารประสานงานดา นความปลอดภัยรว มกบั หนว ยงานภายนอก 2.00
EVR3 มีระบบหรอื กลมุ ผทู ําหนาทต่ี รวจสอบดแู ลดานความปลอดภยั ยาเสพติด/อบายมุข 2.00
EVR4 มีกจิ กรรมดานการปองกันสาธารณภัยหรอื ตา นยาเสพตดิ รว มกบั ภาคเี ครือขาย 2.00
EVR5 ไมพ บ/ไมมีรายงานคดีสําคญั หรอื รา ยแรงทีเ่ กดิ ภายในชุมชน 2.00
EVR6 มีระบบหรอื มีการประสานงานกับหนวยงานภายนอกดา นการจดั การขยะ 2.00
EVR7 มีระบบการจัดการขยะอนิ ทรยี  2.00
EVR8 มรี ะบบการจดั การคดั แยกขยะอนั ตราย/ขยะเปนพษิ จากขยะท่วั ไป 2.00
EVR9 มีการรณรงคใ หล ดการใชถ งุ พลาสติก/โฟม โดยใชถ ุงผาแทน 2.00
EVR10 มีระบบการสรา งรายไดจ ากขยะรไี ซเคลิ ท่เี ปน สวนกลางของชมุ ชน 2.00
EVR11 มีการใชจลุ ินทรียในการกําจดั กล่ินและบาํ บัดนํ้าเสียในเบ้ืองตน หรอื 2.00
มีวธิ ีการพิเศษในการจดั การนํ้าเสียในชุมชน
EVR12 มรี ะบบการใชพลงั งานท่ีมีประสิทธภิ าพ หรอื มีพลังงานสะอาดใช 1.50
EVR13 ความโดดเดน ทางดานสิ่งแวดลอ มทเ่ี ปนบรบิ ทเฉพาะของชุมชน 6.00
EVR14 ความสะอาดภายในโครงการ 0.76
EVR15 ไฟฟา และแสงสวางในชุมชน 0.76
EVR16 สภาพถนนและการจราจร 0.73
EVR17 ทัศนียภาพ พนื้ ท่สี เี ขยี ว และสภาพอากาศในชมุ ชน 0.76
EVR18 พน้ื ทพี่ กั ผอ นหยอ นใจและออกกาํ ลังกาย 0.74
EVR19 ระบบดแู ลความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยสนิ 0.74
EVR20 การสาธารณสุขของชุมชน 0.79
EVR21 การใชถ งุ พลาสติก ในระดบั ครัวเรอื น 0.84
EVR22 การจัดการขยะรีไซเคลิ ในระดบั ครวั เรอื น 0.79
EVR23 การจัดการน้ํามันพชื ที่ไมใ ชแ ลว ในระดบั ครัวเรือน 0.73
EVR24 การจดั การขยะเปยก/ขยะอนั ตราย ในระดับครัวเรอื น 0.64
68.80
รวมผลการประเมนิ ตัวชวี้ ดั SOC3-SOC20 และ EVR1-EVR23
90.93
รวมผลการประเมินทุกตวั ช้วี ดั

79

บทท่ี 5
ผลการประเมินชมุ ชนเขม แขง็ พงึ่ พาตัวเองอยางยั่งยืน

ผูด ําเนนิ โครงการฯ ไดทําการประชมุ รวมกบั คณะกรรมการชุมชนและไดส าํ รวจความพงึ พอใจของผูอ ยูอาศัย ชมุ ชนระดบั
ท่ี 3 จํานวน 60 ชุมชน โดยชมุ ชนท่มี ผี ลการประเมินสงู สุด คอื บา นเออ้ื อาทรระยอง (ประแสร2 ) ท่คี ะแนน 95.15 และตาํ่ สุด
คือ บานเอือ้ อาทรอยูว ทิ ยา 1 ที่คะแนน 70.49 และไดท ําการประมวลผลรว มกบั ชุมชนระดับท่ี 2 จาํ นวน 49 ชุมชน โดย
ชมุ ชนที่มีผลการประเมนิ สูงสุด คือ เคหะชมุ ชนเชยี งราย 2 ระยะ 1 ท่คี ะแนน 83.64 และตา่ํ สดุ คือ บานเอ้อื อาทรหนองคาย
2 (มติ รภาพ) เฟส 2 ที่คะแนน 60.04 รายละเอียดของผลการประเมนิ แสดงไวใ นตารางที่ 5-1 ถึง 5-11

ตารางที่ 5-1 จํานวนชุมชนทผี่ า นการประเมนิ ผลชุมชนเขม แขง็ พึง่ พาตนเองอยางย่งั ยนื

ชช. จาํ นวน ระดับท่ี 2 ระดบั ท่ี 3 ไมผา น
ชมุ ชน ชมุ ชน ผาน ไมผ า น ชุมชน ผาน
0
ชช.1 17 4 4 0 13 13

ชช.2 40 16 16 0 24 24 0

ชช.3 19 7 7 0 12 12 0

ชช.4 33 22 22 0 11 11 0
109 49
รวมจํานวนชมุ ชน 49 0 60 60 0

ตารางท่ี 5-2 ผลการประเมินชุมชนระดบั ที่ 2 ชุมชนเขม แขง็ พ่งึ พาตนเอง (ชช.1)

ID ชมุ ชน M1 M2 แบบประเมนิ Q1 Q2 แบบสอบถาม รวม ผาน/
100 ไมผ าน
10 10 E1 E2 10 10 M3 Q3

10 10 20 20

1 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (บา้ นเกาะโพธ)ิ 8.50 9.50 7.00 5.50 9.50 8.00 15.73 15.95 79.68 ผา่ น

2 บา้ นเออื อาทรสนั ตสิ ขุ 9.00 7.50 8.50 7.00 10.00 9.00 12.18 11.09 74.27 ผา่ น

3 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (พลตู าหลวง) 9.00 9.50 8.00 3.50 9.50 8.50 12.89 16.86 77.75 ผา่ น

4 บา้ นเออื อาทรปราจนี บรุ ี (นาด)ี 7.50 9.00 7.00 3.50 9.50 7.00 11.76 11.38 66.64 ผา่ น

ตารางท่ี 5-3 ผลการประเมนิ ชุมชนระดับที่ 2 ชมุ ชนเขมแข็งพึง่ พาตนเอง (ชช.2)

แบบประเมนิ แบบสอบถาม รวม ผา น/
Q2 M3 Q3 100 ไมผา น
ID ชมุ ชน M1 M2 E1 E2 Q1
10 10 10 10 10 10 20 20 60.89 ผา่ น
บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ)
5 เฟส 1 5.50 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 15.56 14.83 60.04 ผา่ น

6 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) 5.50 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 14.84 14.70
เฟส 2

7 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (กระทมุ่ ลม้ ) 9.00 7.00 5.50 6.00 7.50 7.50 12.99 13.00 68.49 ผา่ น

80

ตารางที่ 5-3 ผลการประเมินชุมชนระดบั ที่ 2 ชมุ ชนเขมแขง็ พงึ่ พาตนเอง (ชช.2) (ตอ )

ID ชมุ ชน M1 M2 แบบประเมิน Q1 แบบสอบถาม รวม ผา น/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผ าน
10 10 10
10 10 10 20 20

8 บา้ นเออื อาทรสรุ นิ ทร์ (สลกั ได) 8.50 8.00 6.00 6.00 8.50 8.50 16.16 16.40 78.06 ผา่ น

9 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (บอ่ พลบั ) 10.00 8.50 5.50 4.50 7.50 7.00 16.07 16.46 75.53 ผา่ น
9.50 9.50 7.50 1.00 10.00 7.00 8.62 9.16 62.28 ผา่ น
10 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 5 8.00 7.00 6.50 3.50 6.00 6.50 14.16 13.99 65.65 ผา่ น
(ออ้ มนอ้ ย)

11 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 7

12 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (เสรมิ ไทย) 9.00 9.50 5.00 5.00 5.00 5.00 12.21 11.98 62.69 ผา่ น

13 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (ขขุ นั ธ)์ 9.00 8.50 7.50 6.00 7.50 9.00 16.12 16.42 80.04 ผา่ น

14 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลําภู 1 7.50 7.50 7.50 7.50 5.00 5.00 14.68 14.87 69.55 ผา่ น

15 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลําภู 2 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 14.63 14.54 74.17 ผา่ น

16 บา้ นเออื อาทรอดุ รธานี (เลยี งเมอื ง) 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 14.59 14.48 74.07 ผา่ น

17 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 1 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 12.74 13.34 71.08 ผา่ น

18 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (พระประโทน) 9.50 8.50 7.00 4.00 7.50 7.00 13.97 13.93 71.40 ผา่ น

19 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (ชอ่ งเม็ก) 6.50 6.00 7.00 6.00 7.00 8.50 15.26 15.13 71.39 ผา่ น

20 บา้ นเออื อาทรบรุ รี ัมย์ (ลาํ ปลายมาศ) 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 9.43 9.50 63.93 ผา่ น

ตารางที่ 5-4 ผลการประเมินชมุ ชนระดับท่ี 2 ชมุ ชนเขม แข็งพึง่ พาตนเอง (ชช.3)

ID ชมุ ชน M1 M2 แบบประเมิน Q1 แบบสอบถาม รวม ผา น/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผา น
10 10 10
10 10 10 20 20

21 บา้ นเออื อาทรตาก (แมส่ อด) 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.37 11.54 63.91 ผา่ น

22 บา้ นเออื อาทรพะเยา 1 9.00 8.50 6.50 10.00 8.00 8.50 9.76 9.71 69.97 ผา่ น

23 บา้ นเออื อาทรลพบรุ ี (ลาํ นารายณ)์ 8.00 9.50 8.00 7.50 8.00 9.00 10.59 10.00 70.59 ผา่ น

24 บา้ นเออื อาทรลาํ พูน (เหมอื งงา่ ) 8.00 8.50 9.00 7.50 8.50 8.50 8.94 5.03 63.97 ผา่ น

25 บา้ นเออื อาทรแพร่ ระยะ 3/2 9.00 9.50 7.50 9.00 8.00 8.50 14.35 14.36 80.21 ผา่ น

26 เคหะชมุ ชนเชยี งราย 2 ระยะ 1 9.00 10.00 6.50 9.50 10.00 10.00 14.26 14.38 83.64 ผา่ น

27 เคหะชมุ ชนเชยี งราย 2 ระยะ 2 9.50 10.00 8.50 9.00 8.00 8.50 13.31 13.37 80.18 ผา่ น

81

ตารางที่ 5-5 ผลการประเมินชุมชนระดบั ท่ี 2 ชุมชนเขม แข็งพึ่งพาตนเอง (ชช.4)

ID ชุมชน M1 M2 แบบประเมิน Q1 แบบสอบถาม รวม ผาน/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผ าน
10 10 10
10 10 10 20 20

28 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (รัษฎา) 7.50 7.50 5.00 5.00 7.50 7.50 13.00 13.00 66.00 ผา่ น

29 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 1 7.00 10.00 10.00 10.00 7.00 6.50 15.25 15.37 81.12 ผา่ น

30 เคหะชมุ ชนชมุ พร ระยะ 1 8.00 10.00 5.50 1.50 5.50 7.50 18.69 18.62 75.31 ผา่ น

31 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 2 สว่ น 2 7.50 7.50 5.00 5.00 7.50 7.50 13.00 13.00 66.00 ผา่ น

32 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (ตดิ นคิ ม) 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 13.16 13.19 71.35 ผา่ น
8.00 7.50 6.50 7.00 7.50 6.00 11.92 12.59 67.01 ผา่ น
33 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (บา้ นคลอง 7.50 8.00 6.50 5.00 7.00 6.50 12.73 12.81 66.04 ผา่ น
สวน)

34 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ลพิ อน) ระยะ 3/1

35 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ถลาง) ระยะ 1 สว่ น 3 7.50 7.50 5.00 5.00 7.50 7.50 13.00 13.00 66.00 ผา่ น

36 บา้ นเออื อาทรเพชรบรุ -ี บา้ นลาด 7.50 7.50 6.00 7.50 8.00 7.00 15.52 15.19 74.21 ผา่ น

37 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (พรอ้ มมติ ร) 7.50 8.50 3.00 4.00 8.00 6.00 14.31 14.63 65.94 ผา่ น

38 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 1 สว่ น 2 7.50 7.50 5.00 5.00 7.50 7.50 13.00 13.00 66.00 ผา่ น

39 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (แมก่ ลอง) 8.00 7.50 7.00 6.50 7.50 7.00 15.01 14.65 73.16 ผา่ น

40 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต ระยะ 3/1 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 7.00 13.01 13.04 70.55 ผา่ น

41 บา้ นเออื อาทรเศรษฐกจิ 2 8.00 7.50 7.50 6.50 7.50 7.50 13.05 13.12 70.67 ผา่ น

42 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 1 10.00 7.50 7.50 5.00 10.00 10.00 11.36 9.89 71.25 ผา่ น

43 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 2 10.00 7.50 7.50 5.00 10.00 10.00 9.41 9.42 68.83 ผา่ น

44 เคหะชมุ ชนภเู กต็ 1 ระยะ 2 (อาคารชดุ ) 7.50 7.50 5.00 5.00 7.50 7.50 13.00 13.00 66.00 ผา่ น
7.50 7.50 5.00 5.00 7.50 7.50 14.67 14.18 68.85 ผา่ น
45 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร 2 (คลองสวี า 7.50 7.50 10.00 7.50 7.50 7.50 12.86 12.86 73.22 ผา่ น
พาสวสั ด)ิ 7.50 7.50 10.00 7.50 7.50 7.50 12.86 12.86 73.22 ผา่ น
7.50 7.50 6.50 2.50 5.00 7.50 13.00 13.07 62.57 ผา่ น
46 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย
2)

47 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย
3)

48 บา้ นเออื อาทรนราธวิ าส ระยะ 1 (NPA)

49 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (นาด)ี 7.50 7.50 6.50 5.00 6.00 6.00 14.74 14.66 67.90 ผา่ น

82

ตารางท่ี 5-6 ผลการประเมนิ ชมุ ชนระดับที่ 3 ชมุ ชนเขมแขง็ พึง่ พาตนเองอยางยง่ั ยืน (ชช.1)

แบบประเมิน แบบสอบถาม รวม ผา น/
ID ชุมชน M1 M2 E1 E2 Q1 Q2 M3 Q3 100 ไมผาน
10 10 10 10 10 10 20 20

50 บา้ นเออื อาทรระยอง (ประแสร์ 2) 9.00 9.50 10.00 8.00 10.00 10.00 19.46 19.23 95.19 ผา่ น

51 บา้ นเออื อาทรระยอง (ปลวกแดง) 9.00 9.50 8.00 4.00 10.00 7.00 13.83 12.85 74.18 ผา่ น

52 บา้ นเออื อาทรระยอง (ตะพง) 9.00 9.50 8.00 8.00 10.00 10.00 15.58 14.28 84.36 ผา่ น

53 บา้ นเออื อาทรระยอง (นําคอก) 9.00 9.50 6.50 4.00 10.00 10.00 11.74 11.89 72.63 ผา่ น

54 เคหะชมุ ชนมาบตาพุด (บา้ น) 8.50 9.50 7.00 4.00 10.00 9.00 11.61 11.68 71.29 ผา่ น

55 เคหะชมุ ชนระยอง 8.50 9.50 5.00 8.00 10.00 8.00 10.56 12.28 71.84 ผา่ น

56 บา้ นเออื อาทรกบนิ ทรบ์ รุ ี 1 ปราจนี บรุ ี 9.50 10.00 8.00 7.50 9.50 10.00 11.50 12.73 78.73 ผา่ น

57 บา้ นเออื อาทรอยวู่ ทิ ยา 1 8.50 9.00 5.00 6.00 10.00 9.00 10.74 12.25 70.49 ผา่ น

58 บา้ นเออื อาทรอยวู่ ทิ ยา 2 8.50 9.00 5.00 6.00 10.00 9.00 14.57 14.06 76.13 ผา่ น

59 บา้ นเออื อาทรปัญญารามอนิ ทรา 10.00 10.00 9.00 7.00 9.50 10.00 12.37 11.97 79.84 ผา่ น

60 เคหะชมุ ชนรามคําแหง ระยะ 1 สว่ นที 2 8.50 9.00 9.00 8.00 9.00 8.50 11.87 12.18 76.05 ผา่ น

61 เคหะชมุ ชนรามคําแหง ระยะ 2 8.50 9.00 9.00 8.00 9.00 8.50 13.12 13.22 78.34 ผา่ น

62 บา้ นศรนี วมนิ ทร์ (ทาวนเ์ ฮา้ ส์ 2 ชนั ) 9.00 9.50 5.00 8.00 10.00 9.00 12.58 12.49 75.57 ผา่ น

ตารางที่ 5-7 ผลการประเมินชุมชนระดับที่ 3 ชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยา งยง่ั ยืน (ชช.2)

ID ชมุ ชน M1 M2 แบบประเมนิ Q1 แบบสอบถาม รวม ผา น/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผ า น
10 10 10
10 10 10 20 20

63 บา้ นเออื อาทรนครพนม 8.50 9.50 9.50 4.00 10.00 10.00 12.65 14.81 78.96 ผา่ น

64 บา้ นเออื อาทรอดุ รธานี (หนองสาํ โรง) 9.00 9.50 9.50 4.00 10.00 10.00 12.66 13.80 78.46 ผา่ น

65 บา้ นเออื อาทรเลย 3/2 9.00 9.50 8.00 4.00 10.00 10.00 12.31 13.52 76.33 ผา่ น

66 บา้ นเออื อาทรขอนแกน่ (เมอื งพล) 9.00 9.50 6.00 4.00 10.00 10.00 14.52 14.97 77.99 ผา่ น

67 บา้ นเออื อาทรขอนแกน่ (เมอื งพล) เฟส 2 9.00 9.50 6.00 4.00 10.00 10.00 10.62 12.70 71.82 ผา่ น

68 บา้ นเออื อาทรชยั ภมู ิ (ภเู ขยี ว) 9.00 9.50 7.00 4.00 10.00 10.00 14.18 15.31 78.99 ผา่ น

69 บา้ นเออื อาทรชยั ภมู ิ (โนนสมอ) 9.00 9.50 10.00 4.00 10.00 8.00 13.16 12.49 76.15 ผา่ น

83

ตารางที่ 5-7 ผลการประเมินชมุ ชนระดบั ที่ 3 ชมุ ชนเขมแข็งพ่งึ พาตนเองอยางยง่ั ยืน (ชช.2) (ตอ )

ID ชุมชน M1 M2 แบบประเมนิ Q1 แบบสอบถาม รวม ผา น/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผาน
10 10 10
10 10 10 20 20

70 บา้ นเออื อาทรชยั ภมู ิ (หนองนาแซง) 9.00 9.50 8.00 9.00 10.00 8.00 12.73 13.53 79.76 ผา่ น

71 บา้ นเออื อาทรยโสธร (สาํ ราญ) 9.00 9.50 7.00 4.00 10.00 10.00 15.02 15.13 79.65 ผา่ น

72 บา้ นเออื อาทรรอ้ ยเอ็ด 9.00 9.50 8.00 4.00 10.00 10.00 13.92 14.69 79.11 ผา่ น

73 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (ตลาด) 10.00 10.00 6.00 4.00 10.00 9.00 13.26 12.98 75.24 ผา่ น

74 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (ตลาด) เฟส 1 10.00 10.00 6.00 4.00 10.00 9.00 9.27 12.70 70.97 ผา่ น
ผา่ น
75 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (ตระการ 8.50 9.50 8.50 4.00 10.00 8.00 13.10 13.77 75.37 ผา่ น
พชื ผล) 9.00 10.00 10.00 4.00 10.00 10.00 17.97 17.08 88.05 ผา่ น
9.00 10.00 10.00 4.00 10.00 10.00 18.08 17.00 88.08 ผา่ น
76 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (หว้ ยคมุ ้ ) เฟส 9.00 10.00 10.00 4.00 10.00 10.00 16.85 15.03 84.88 ผา่ น
2 สว่ น 1

77 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (หว้ ยคมุ ้ ) เฟส
2 สว่ น 2

78 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (หว้ ยคมุ ้ ) เฟส
2 สว่ น 3

79 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (กนั ทรารมย)์ 9.00 9.50 8.00 4.00 10.00 7.00 12.24 11.57 71.31

80 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (กนั ทรลกั ษ์) 9.00 9.50 8.00 4.00 10.00 10.00 12.78 13.16 76.44 ผา่ น

81 บา้ นเออื อาทรบรุ รี ัมย์ (สตกึ ) 9.00 9.50 7.00 4.00 10.00 8.00 12.78 14.10 74.38 ผา่ น

82 บา้ นเออื อาทรนครราชสมี า (สงู เนนิ 3) 8.50 9.50 7.00 4.00 10.00 9.00 11.01 11.97 70.98 ผา่ น

83 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (ทงุ่ กระพังโหม) 8.00 9.00 8.50 9.00 10.00 7.50 12.45 13.61 78.06 ผา่ น

84 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (ไรข่ งิ ) 10.00 10.00 8.50 10.00 10.00 10.00 13.76 14.99 87.25 ผา่ น

85 บา้ นเออื อาทรนนทบรุ ี (วดั กู ้ 3) 9.50 10.00 6.50 9.00 9.50 10.00 11.28 10.28 76.06 ผา่ น

86 เคหะชมุ ชนพรพระร่วงประสทิ ธิ 10.00 10.00 7.00 10.00 10.00 10.00 12.62 13.42 83.04 ผา่ น

ตารางท่ี 5-8 ผลการประเมินชุมชนระดับที่ 3 ชุมชนเขม แขง็ พึง่ พาตนเองอยางยั่งยืน (ชช.3)

ID ชุมชน M1 M2 แบบประเมนิ Q1 แบบสอบถาม รวม ผาน/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผ าน
10 10 10
10 10 10 20 20

87 บา้ นเออื อาทรเชยี งใหม่ (สนั ผเี สอื ) ระยะ 1 10.00 10.00 10.00 6.00 10.00 10.00 15.32 14.96 86.28 ผา่ น

88 บา้ นเออื อาทรเชยี งใหม่ (สนั ผเี สอื ) เฟส 2 10.00 10.00 10.00 6.00 10.00 10.00 15.74 15.28 87.02 ผา่ น

89 บา้ นเออื อาทรเชยี งราย (รมิ กก) 8.50 9.50 8.00 4.00 10.00 10.00 14.06 13.79 77.85 ผา่ น

84

ตารางที่ 5-8 ผลการประเมนิ ชมุ ชนระดับที่ 3 ชมุ ชนเขมแขง็ พงึ่ พาตนเองอยางยั่งยืน (ชช.3) (ตอ )

ID ชุมชน M1 M2 แบบประเมิน Q1 แบบสอบถาม รวม ผา น/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผ า น
10 10 10
10 10 10 20 20

90 บา้ นเออื อาทรพะเยา 2 8.50 9.50 10.00 4.00 10.00 9.00 13.77 13.35 78.12 ผา่ น

91 เคหะชมุ ชนสระบรุ ี 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 9.80 9.81 79.61 ผา่ น

92 บา้ นเออื อาทรอยธุ ยา (โรจนะ) ระยะที 1 10.00 10.00 10.00 9.50 10.00 10.00 13.97 14.57 88.04 ผา่ น
10.00 10.00 10.00 9.50 10.00 10.00 13.99 14.52 88.01 ผา่ น
93 บา้ นเออื อาทรอยธุ ยา (โรจนะ) ระยะที 1 10.00 10.00 10.00 9.50 10.00 10.00 14.17 14.13 87.80 ผา่ น
สว่ น 2/1, 2/2 10.00 9.50 9.50 10.00 10.00 9.50 12.36 13.37 84.23 ผา่ น

94 บา้ นเออื อาทรอยธุ ยา (โรจนะ) ระยะที 2
สว่ น 1/1, 1/2

95 บา้ นเออื อาทรรังสติ คลอง 3

96 บา้ นเออื อาทรรังสติ คลอง 5/2 10.00 9.00 9.50 7.00 10.00 9.00 12.30 12.83 79.63 ผา่ น

97 บา้ นเออื อาทรรังสติ คลอง 7/1 8.00 9.50 10.00 7.00 10.00 7.00 11.15 12.27 74.92 ผา่ น

98 บา้ นเออื อาทรรังสติ คลอง 7/3 10.00 10.00 10.00 7.50 10.00 10.00 11.53 13.22 82.25 ผา่ น

ตารางท่ี 5-9 ผลการประเมนิ ชุมชนระดบั ที่ 3 ชมุ ชนเขมแข็งพง่ึ พาตนเองอยางยัง่ ยนื (ชช.4)

ID ชุมชน M1 M2 แบบประเมิน Q1 แบบสอบถาม รวม ผาน/
E1 E2 Q2 M3 Q3 100 ไมผา น
10 10 10
10 10 10 20 20

99 บา้ นเออื อาทรสตลู 8.50 9.50 8.50 7.50 10.00 10.00 12.91 12.02 78.93 ผา่ น

100 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 8.50 9.50 8.00 4.00 10.00 10.00 13.62 11.72 75.34 ผา่ น
1)

101 บา้ นเออื อาทรชมุ พร 8.50 9.50 10.00 4.00 10.00 10.00 16.66 15.82 84.48 ผา่ น

102 บา้ นเออื อาทรราชบรุ ี 3/2 8.50 9.50 10.00 4.00 10.00 10.00 14.75 13.08 79.83 ผา่ น

103 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสงคราม (ลาดใหญ)่ 7.00 8.50 7.00 6.00 10.00 6.50 14.81 14.82 74.63 ผา่ น

104 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (บางกระเจา้ ) 8.00 8.50 9.00 7.00 9.00 8.00 13.40 13.17 76.07 ผา่ น

105 บา้ นเออื อาทรรัฐเออื ราษฎร์ (กองทพั เรอื ) 8.50 10.00 8.00 6.00 10.00 7.00 13.94 14.30 77.74 ผา่ น

106 บา้ นเออื อาทรพระสมทุ รเจดยี ์ (วดั สาขลา) 8.50 10.00 8.50 8.00 10.00 10.00 12.59 12.89 80.48 ผา่ น

107 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (บางปู 3) 8.50 9.00 8.00 8.00 10.00 10.00 12.28 12.15 77.93 ผา่ น

108 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 3 เฟส 1 8.50 8.50 9.00 9.00 10.00 10.00 14.87 15.21 85.08 ผา่ น

109 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 3 เฟส 2 8.50 8.50 9.00 9.00 10.00 10.00 14.10 14.42 83.52 ผา่ น

85

ตารางที่ 5-10 คาเฉล่ยี ผลการประเมินชุมชนระดับที่ 2 ชุมชนเขม แขง็ พ่งึ พาตนเอง

แบบประเมนิ แบบสอบถาม รวม 100
ชช. M1 M2 E1 E2 Q1 Q2 รวม M3 Q3 รวม
10 10 10 10 10 10 60 20 20 40

ชช.1 8.50 8.88 7.63 4.88 9.63 8.13 47.63 13.14 13.82 26.96 74.59

ชช.2 7.97 7.50 6.56 5.59 6.97 6.94 41.53 13.88 13.92 27.80 69.33

ชช.3 8.57 9.07 7.64 8.57 8.29 8.64 50.79 11.23 11.20 22.42 73.21

ชช.4 7.80 7.80 6.59 5.70 7.45 7.36 42.70 13.48 13.42 26.90 69.60

คาเฉล่ยี ชมุ ชนระดบั ท่ี 2 8.02 7.97 6.82 6.01 7.59 7.47 43.88 13.26 13.30 26.56 70.43

หมายเหตุ คาเฉลี่ยคาํ นวณจากคะแนนของผลการประเมินของท้งั 49 ชุมชน

ตารางที่ 5-11 คา เฉลี่ยผลการประเมินชมุ ชนระดบั ท่ี 3 ชุมชนเขมแขง็ พ่ึงพาตนเองอยางยง่ั ยืน

แบบประเมนิ แบบสอบถาม รวม 100
ชช. M1 M2 E1 E2 Q1 Q2 รวม M3 Q3 รวม
10 10 10 10 10 10 60 20 20 40

ชช.1 8.88 9.42 7.27 6.65 9.77 9.08 51.08 13.04 13.16 26.20 77.28

ชช.2 9.08 9.65 7.92 5.13 9.98 9.31 51.06 13.30 13.86 27.16 78.22

ชช.3 9.58 9.75 9.75 7.50 10.00 9.54 56.13 13.18 13.51 26.69 82.81

ชช.4 8.32 9.18 8.64 6.59 9.91 9.23 51.86 13.99 13.60 27.59 79.46

คา เฉลี่ยชมุ ชนระดบั ที่ 3 9.00 9.53 8.28 6.20 9.93 9.29 52.23 13.35 13.59 26.94 79.16

หมายเหตุ คา เฉลย่ี คาํ นวณจากคะแนนของผลการประเมนิ ของท้ัง 60 ชมุ ชน

86

โครงการพัฒนาชมุ ชนเขมแข็งพ่งึ พาตนเองอยา งยั่งยืน ป 2563

บทท่ี 6
การวเิ คราะหและขอเสนอแนะ

จากมิติและตัวชี้วัดตาง ๆ ท่ีใชเปนเกณฑในการประเมินผลชุมชนในโครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็ง
พึ่งพาตนเองอยางย่ังยืน ป 2563 ผูดําเนินโครงการฯไดนํามาวิเคราะห พิจารณาแงมุมตางๆ และมี
ขอเสนอแนะท่ีขอนําเสนอตอการเคหะแหงชาติ เพ่ือเปนแนวทางสําหรับการพัฒนาชุมชนและการประเมินผล
ในปถ ัดไป

6.1 จุดออ นและจดุ แขง็ ของชมุ ชน
6.1.1 ดานการทํางานและการใหบริการตอชุมชนของคณะกรรมการ (M1) ผูนําชุมชนและ

กรรมการชุมชนมกี ารบรหิ ารจดั การงานดา นตาง ๆ เปน อยา งดี มคี วามเปนจิตอาสา สรางความสมั พันธกับผูอยู
อาศัย มีชองทางการรับฟงความคิดเห็นมากกวา 1 ชองทาง มีการประชาสัมพันธชองทางแสดงความคิดเห็น
หรอื ขอ มูลขาวสารอ่นื อยา งสม่ําเสมอผานเสยี งตามสายหรอื การประชมุ ผอู ยอู าศยั และเห็นไดช ัดวามีการพัฒนา
ปรับปรุงและทํางานเชิงรุกเพื่อตอยอดและปองกันปญหา อยางไรก็ตามในหลายชุมชนไมมีคณะกรรมการท่ี
ทํางานตอเนอื่ ง ทําใหในบางชว งเวลาขาดบุคลากรท่มี าทําหนาทบ่ี ริหารชุมชน และทําใหหลายกิจกรรมขาดชวง
ในการดาํ เนินงาน ในหลายชุมชนควรเพ่ิมการจดบันทึกการประชุมเพ่ือใหขอตกลงตาง ๆ สามารถออกเปนมติ
ไดอ ยา งเปน ทางการ

6.1.2 ดานการดําเนินโครงการและการจัดกิจกรรมท่ีครอบคลุมผูอยูอาศัยกลุมตาง ๆ โดยไดรับ
ความรวมมือจากภาคเี ครือขา ย (M2) ทุกชุมชนท่ีไดรับการประเมินระดับที่ 3 ในปนี้มีการจัดกิจกรรมตางๆ
หลายครั้งตอป ท้ังกิจกรรมวันสําคัญตามประเพณี กิจกรรมกีฬา กิจกรรมการฝกอบรม และกิจกรรมพัฒนา
ชุมชน ซ่ึงครอบคลุมผูอยูอาศัยทุกกลุมอายุ แตอาจขาดความตอเนื่องไปบางอันเปนผลกระทบมาจากการแพร
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การประเมินผลความสําเร็จของกิจกรรมท่ไี ดจัดไปทําโดยการ
พดู คุยแบบไมเปนทางการในกลุมของคณะกรรมการ การรวมมือประสานงานกับภาคเี ครือขายเปนจุดเดนของ
หลายชมุ ชน ซึง่ ภาคีเครอื ขายทีม่ บี ทบาทมากทสี่ ดุ มักจะเปน องคการบริหารสวนทองถิ่น ผูใหญบาน และชุมชน
อ่ืนโดยรอบ อยางไรก็ตามผูดําเนินโครงการฯ พบวามีบางชุมชนที่เขารับการประเมินในป 2563 ยังขาด
ความสัมพันธอันดีกับองคการบริการสวนทองถ่ิน หรือผูใหญบาน ในระดับที่ทําใหการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ
ของชุมชนขาดความตอเน่อื ง

6.1.3 ดานความพึงพอใจของผูอยูอาศัยท่ีมีตอคณะกรรมการชุมชน (M3) ผูดําเนินโครงการฯ
พบวาในป 2563 ผูอยูอาศัยในชุมชนระดับท่ี 3 มีความพึงพอใจตอคณะกรรมการชุมชน และ/หรือ
คณะกรรมการนิติบคุ คล (คาเฉล่ีย 13.35 คะแนน หรือรอยละ 66.75) ท่ีเพ่ิมข้ึนเล็กนอยเม่ือเทียบกับป 2562
(คาเฉลีย่ 12.64 คะแนน หรอื รอยละ 63.20) แตยงั ถอื วาไมส ูงมากนัก

6.1.4 ดานการยกระดับเศรษฐกิจภายในชุมชน (E1) สําหรับชุมชนท่ีอยูใกลเมือง วัฒนธรรมการอยู
อาศัยมีลักษณะ “ตางคนตางอยู” ทําใหกลุมอาชีพหรือวิสาหกิจชุมชนที่จัดตั้งข้ึนเพื่อการผลิตสินคา/บริการ

87

โครงการพฒั นาชุมชนเขม แข็งพง่ึ พาตนเองอยา งยง่ั ยืน ป 2563

มกั มอี ายุสน้ั อันมสี าเหตมุ าจากการขาดโอกาสทางการตลาด ไมสามารถแขงขันกับสินคา อ่ืนได ทําใหขาดความ
สนใจจากผูอยูอาศัยที่สวนใหญทํางานประจําหรือมีธุรกิจสวนตัว สินคา/บริการที่ยังพอผลิตไดมีมูลคานอย
ไมคุมกับตนทุน ทําใหในท่ีสุดกลุมก็ตองสลายไป ในสวนพ้ืนท่ีที่จัดไวใหสําหรับผูประกอบการ (ลานตลาด)
ผูสํารวจฯ มีขอสังเกตวา พ้ืนท่ีเหลานี้ในหลายชุมชน โดยเฉพาะในภูมิภาค ไมมีผูประกอบการและมักถูกท้ิงไว
โดยไมไ ดใชป ระโยชน

6.1.5 ดานการยกระดับการออมภายในชมุ ชน (E2) เปนดานที่ไมคอยไดรับความสนใจ ชุมชนสวน
ใหญจะไมมีกลุมออมทรัพยท่ีเปนในนามของชุมชนหรือที่ชุมชนดําเนินการเอง สําหรับผูอยูอาศัยที่ตองการมี
การออมในรูปแบบใดรูปแบบหน่งึ จะทําการติดตอ โดยตรงเปนการสวนตัวกับองคการบริหารสวนทองถ่ิน (เชน
ฝากเงนิ สัจจะ เงนิ ฌาปนกิจ กองทุนหมูบาน ฯลฯ) ซึ่งมีการแสดงบัญชีตอสมาชิกทุกป ในหลายชุมชนที่อาจยัง
มีกลุมออมทรัพยอยูปจจุบันก็ประสบปญหาหน้ีเสียหรือมีสมาชิกถอนตัวเปนจํานวนมาก การจัดสรรเงินจาก
สว นนเ้ี พ่อื มาชว ยกิจกรรมพัฒนาชมุ ชนหรือลงทุนในดานอน่ื ท่มี ากไปกวา การฝากเงินกบั ธนาคารจงึ แทบไมม ี

6.1.6 ดานการปลอดยาเสพติดและอบายมุข (Q1) เปนอีกดานที่ถือเปนจุดแข็งของชุมชน ซึ่งทุก
ชุมชนมีวธิ ีการจัดการดูแลรกั ษาความปลอดภัยเปน อยางดี โดยอาจมีวิธีการที่แตกตา งกันไปบางในแตละชุมชน
เชน บางชุมชนอาจมีเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย (รปภ) ในขณะท่ีบางชุมชนมีกลุมอาสาสมัครตํารวจ
(ตํารวจบาน) อปพร หรือ ชรบ เกือบทุกชุมชนมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม) คอยดูแลผูสูงอายุ ผูปวยติด
เตียง และคอยสอดสอ งดแู ลในชว งท่มี กี ารแพรระบาดของ COVID-19 ในหลายชมุ ชนมีกลองวงจรปดหรือกําลัง
มีแผนที่จะติดตั้ง/เพิ่มจํานวนกลอง ทุกชุมชนมีตูแดงและมีความสัมพันธท่ีดีกับเจาหนาที่ตํารวจในทองที่ มี
กจิ กรรมรว มกบั เครือขา ยภายนอกชุมชนบอยคร้งั และไมพ บคดีสําคญั หรือรายแรง

6.1.7 ดานการบริหารจัดการขยะ (Q2) ทุกชุมชนมีการติดตอประสานงานอยางสม่ําเสมอกับ
องคการบริหารสวนทองถิ่นเพ่ือมาเก็บขยะ 1-3 คร้ังตอสัปดาห และอาจมีเปนกรณีพิเศษ เชน ขยะอินทรีย
(ขยะเปยก) ขยะอันตราย ขยะชิ้นใหญ กิ่งไมใบไม หรือลางทําความสะอาดบริเวณจุดทั้งขยะสวนกลาง ดาน
การคัดแยกขยะรีไซเคิลผูอยูอาศัยในหลายชุมชนทําการคัดแยกจากตนทางแลวขายเองโดยตรง มีเพียงสวน
นอยทน่ี ําขยะรีไซเคลิ มาเปน กองกลางเพอื่ นาํ รายไดจากการขายขยะมาสนนั สนนุ กจิ กรรมของชมุ ชน

6.1.8 ดานความพึงพอใจของผูอยูอาศัยที่มีตอสาธารณูปโภคและสิ่งแวดลอม (Q3) ผูดําเนิน
โครงการฯ พบวาในป 2563 ผูอยูอาศยั ในชุมชนระดับท่ี 3 มีความพึงพอใจตอสาธารณูปโภคและสิ่งแวดลอ ม
(คา เฉลยี่ 13.59 คะแนน หรือ รอ ยละ 67.95) ท่ีเพมิ่ ขึ้นเลก็ นอยเมื่อเทยี บกับป 2562 (คาเฉลีย่ 12.65 คะแนน
หรือ รอ ยละ 63.25) แตยงั ถือวา ไมสูงมากนัก

6.2 ขอ เสนอแนะ
6.2.1 กิจกรรมตอเน่อื ง ผูดําเนินโครงการฯ มีความเห็นวาในการสงเสรมิ ใหชุมชนมีความเขมแข็งขึ้น

สามารถพ่ึงพาตนเองไดอยางย่ังยืน การเคหะแหงชาติควรใหการสนับสนุนกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ อยาง
ตอ เนื่องเพือ่ ใหผอู ยูอาศัยสามารถรวมตวั เปนกลุมกอน และมคี วามรสู กึ เปนไปในทางทีพ่ งึ พอใจมากขึน้

88

โครงการพฒั นาชุมชนเขมแข็งพงึ่ พาตนเองอยา งย่งั ยนื ป 2563

6.2.2 ยกเลกิ ตวั ชวี้ ดั ดา นการออมทรัพย ผูดาํ เนินโครงการฯ เห็นวาการออมทรัพย (E2) เปนตวั ชี้วัด
ที่อยูนอกเหนือจากการควบคุมของการเคหะแหงชาติ เพราะผูอยูอาศัยมีทางเลือกท่ีหลากหลายในการลงทุน
และการกูยืม และการเคหะแหงชาติไมสามารถเขาไปมีสวนรวมในการบริหารกลุมออมทรัพยของชุมชนได
ดังนั้นตัวชี้วัดดานการออมทรัพยจึงสมควรถูกตัดออกจากเกณฑการประเมินผล และนําคะแนนไปเพิ่มใหกับ
ตวั ชว้ี ดั ดา นอนื่ ๆ

6.2.3 ชว ยใหช มุ ชนสามารถขึน้ ตรงกับเทศบาลหรือแยกเปนหมูบานของตนเอง การเคหะแหงชาติ
ควรชวยเหลือใหชุมชนสามารถข้ึนตรงกับเทศบาล (กรณีอยูในเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนคร) หรือแยก
เปนหมูบานของตนเอง (กรณีอยูในเขตเทศบาลตําบลหรือองคการบริหารสวนตําบล) การเคหะแหงชาติ
สามารถชวยเหลือชุมชนในดานเอกสาร อํานวยความสะดวกในการเดินเรื่อง และเชิญชวนใหผูถือกรรมสิทธิ์
ยายทะเบยี นบานเขา มาในหนว ยอยอู าศยั ทต่ี นไดซ ้อื ไว การทาํ ใหชุมชนขึ้นตรงกับเทศบาลหรือแยกเปนหมบู าน
ของตนเองจะชวยใหชุมชนสามรถเขาถึงงบประมาณของทางราชการหรือทองถิ่นไดงายยงิ่ ข้ึน สงผลใหชุมชน
สามารถขบั เคล่ือนไดด ว ยตนเอง

6.2.4 ศูนยชุมชน ผูดําเนินโครงการฯ มีขอสังเกตวาศูนยชุมชนหลายแหงมีสภาพทรุดโทรมอันมี
สาเหตุมาจากการไมคอยไดใชป ระโยชน การเคหะแหงชาติควรจัดใหศนู ยช ุมชนมีกิจกรรมที่ตอเนือ่ ง (โดยอาจ
เปน กิจกรรมทเี่ รยี บงาย เชน มุมคาราโอเกะสาํ หรบั ผูสูงอาย)ุ เพื่อปองกันไมใหศนู ยชุมชนเกิดการทรดุ โทรมเรว็
จนเกนิ ไป

6.2.5 พื้นท่ีสําหรับผูประกอบการ พื้นท่ีลานเอนกประสงคหรือลานตลาดในหลายชุมชนไมไดใช
ประโยชน ชุมชนหลายแหงตั้งอยูในทําเลท่ีไมดีพอที่ลานเอนกประสงคหรือลานตลาดจะสามารถทําประโยชนใน
เชิงธุรกิจได พื้นท่ีเหลาน้ีจึงไมกอใหเกิดรายไดกับทั้งชุมชนและการเคหะแหงชาติ ดังนั้นจึงควรหาวิธีใหพื้นท่ี
เหลานี้เกิดประโยชนในเชิงเศรษฐกิจ ผานการลดข้ันตอนหรือระเบียบตาง ๆ โดยอาจเปนโครงการชั่วคราวท่ีทํา
รวมกันและแบง รายไดกับชมุ ชน เชน การทําเปนสถานที่บรกิ ารลา งรถ (Car Wash) ลานจอดรถใหเชา ฯลฯ

6.2.6 การประเมนิ ผลโดยใชน ้าํ หนกั ชุมชนแตละแหงมีอัตลกั ษณ บริบท และขอจํากัดที่แตกตางกัน ใน
การประเมินผลการพัฒนาชุมชนจึงควรกําหนดนํ้าหนัก (Weights) ของตัวชี้วัดใหเหมาะสมกับแตละชุมชน โดย
การลดนํ้าหนักตัวช้ีวัดที่เปนขอจํากัดหรือยากตอการแกไขได และไปเพ่ิมน้ําหนักตัวช้ีวัดท่ีเปนจุดแข็งหรือเปน
เปาหมายในการพัฒนา การกําหนดนา้ํ หนักอาจตองอาศัยกติกาที่ยุติธรรม เชน โดยปกติแตละตัวช้ีวัดมีน้ําหนัก
เทากับ 1 สวนงานของการเคหะแหงชาตทิ ่ีดูแลการพัฒนาชุมชนตองกําหนดน้ําหนักกอนการเริ่มประเมินผล โดย
ใหน้ําหนักสามารถถูกปรับลดลงไปตํ่าสุดไดไมเกิน 0.25 และเพิ่มขึ้นสูงสุดไมเกิน 1.75 รวมสองตัวช้ีวัดยังคง
เทา กบั 2 เปนตน

6.2.7 วิธีการอ่ืน ๆ ในการประเมินผล ปจจุบันการประเมินผลในโครงการชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเอง
อยางยัง่ ยืนใชวิธีการ “อิงเกณฑ” โดยชุมชนระดับที่ 3 จะตอ งได 70 คะแนน และชุมชนระดับท่ี 2 จะตองได 60
คะแนน เปนเกณฑเ พอ่ื ผานการประเมิน ในการประเมินผลสําหรับปถัด ๆ ไป หรือโครงการอ่ืน ๆ การเคหะฯ อาจ
นําวิธีการ “อิงกลุม” มาใช เชน การเทียบผลการประเมินกับคาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน ควอไทล
(Quartile) เดไซล (Decile) หรือ เปอรเ ซนไทล (Percentile) เปนตน

89

ภาคผนวก ก

แบบประเมินผลชมุ ชน และ แบบสอบถามผอู ยูอาศยั

แบบประเมินผลชุมชนเขมแขง็ พ่งึ พาตนเองอยางย่ังยืน ระดบั ที่ 1, 2, 3

คะแนนสวนท่ี 1: การประเมนิ โดยผเู ช่ียวชาญโดยใชแบบประเมิน
3 มติ ิ ๆ ละ 20 คะแนน รวม 60 คะแนน

มติ ผิ นู้ าํ และการบรหิ ารจดั การชุมชน (Management: 20 คะแนน) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

M1: การทาํ งาน/การใหบ้ รกิ ารตอ่ ชมุ ชนของคณะกรรมการมกี ารรบั ฟงั คะแนน
ความคดิ เห็นจากผอู้ ยูอ่ าศยั และนําขอ้ คดิ เห็น มาปรบั ปรงุ การทาํ งาน 0 0.5 1 1.5 2 ทไี ด้

อยา่ งตอ่ เนอื งสมาํ เสมอ (10 คะแนน)

• มชี อ่ งทางรับฟังความคดิ เห็นจากผอู ้ ยอู่ าศยั มากกวา่ 1 ชอ่ งทาง

• มกี ารประชาสมั พันธช์ อ่ งทางแสดงความคดิ เห็นใหผ้ อู ้ ยอู่ าศัยไดร้ ับทราบ

• มกี ารประชมุ /วเิ คราะห/์ พจิ ารณาขอ้ คดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะทไี ดร้ ับจากผอู ้ ยอู่ าศัย

• มกี ารนําขอ้ คดิ เห็นมาใชใ้ นการปรับปรุงการทํางาน/การใหบ้ รกิ าร

• มกี ารทาํ งานในลกั ษณะตอ่ ยอด/ป้ องกนั นอกเหนอื จากการแกไ้ ขปัญหา

M2: มกี ารดาํ เนนิ โครงการ/จดั กจิ กรรมชมุ ชนทคี รอบคลมุ ผอู้ ยอู่ าศยั 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน
กลมุ่ ตา่ งๆโดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากภาคเี ครอื ขา่ ยในภาคสว่ นตา่ งๆ (10 ทไี ด้

คะแนน)

• มกี ารจัดกจิ กรรมภายในชมุ ชนตลอดทงั ปี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 กจิ กรรม

• มกี ารจัดกจิ กรรมเพอื ประโยชนช์ มุ ชนในลกั ษณะอนื ๆนอกเหนอื จากกจิ กรรมวนั สาํ คัญ
หรอื กจิ กรรมตามประเพณี
• มกี ารจดั กจิ กรรมชมุ ชนทคี รอบคลมุ ผอู ้ ยอู่ าศยั อยา่ งนอ้ ย 2 กลมุ่ เชน่ กลมุ่ เยาวชน
กลมุ่ ผสู ้ งู วยั กลมุ่ ครอบครัว กลมุ่ คนทํางาน

• มกี ารประเมนิ ผลกจิ กรรมทจี ัดในแตล่ ะครังเพอื ปรับปรุงการจัดกจิ กรรมในครังตอ่ ๆไป

• มภี าคเี ครอื ขา่ ยเขา้ รว่ มกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของจํานวนกจิ กรรมทจี ดั

90

มติ เิ ศรษฐกจิ (Economic: 20 คะแนน) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คะแนน
E1: การยกระดบั เศรษฐกจิ ภายในชมุ ชน(10 คะแนน) 0 0.5 1 1.5 2 ทไี ด้

• มพี นื ท/ี ระบบเพอื สรา้ งและสนับสนุนผปู ้ ระกอบการในชมุ ชน 0 0.5 1 1.5 2
• มผี ปู ้ ระกอบการในชมุ ชนทเี กดิ จากระบบ/พนื ทที จี ดั ให ้
• ผปู ้ ระกอบการมกี ารรวมกลมุ่ เพอื สรา้ งความเขม้ แข็ง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คะแนน
• ผปู ้ ระกอบการสามารถสรา้ งรายไดจ้ ากภายนอกชมุ ชน 0 0.5 1 1.5 2 ทไี ด้
• ผปู ้ ระกอบการสามารถสรา้ งตราสนิ คา้ /บรกิ ารทเี ป็ นของชมุ ชน
0 0.5 1 1.5 2
E2: การยกระดบั การออมภายในชุมชน(10 คะแนน)

• มกี ลมุ่ ออมทรัพยร์ ปู แบบใดรปู แบบหนงึ ในชมุ ชน
• มรี ะบบบนั ทกึ บญั ชที ตี รวจสอบได ้
• มกี ารเปิดเผยขอ้ มลู ผลการดาํ เนนิ งานของกลมุ่ ออมทรัพยต์ อ่ สมาชกิ /สาธารณชน
อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครัง
• มกี ารจัดสรรเงนิ จากกลมุ่ ออมทรัพยม์ าชว่ ยกจิ กรรมพัฒนาชมุ ชน
• มกี ารลงทนุ /หารายไดจ้ ากภายนอกชมุ ชนทมี ากกวา่ การนําเงนิ ไปฝากธนาคาร

มติ คิ ณุ ภาพชวี ติ และสงิ แวดลอ้ ม (Quality of Life: 20 คะแนน)
Q1: การปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ (10 คะแนน)

• มรี ะบบ/ขนั ตอน/กลมุ่ /ผทู ้ ําหนา้ ทตี รวจสอบดแู ลภายในชมุ ชน
• มกี ารทาํ งานประสานรว่ มกบั หน่วยงานภายนอก เชน่ ตํารวจ
• มกี จิ กรรมในเชงิ ป้ องกันและเสรมิ สรา้ งการใชเ้ วลาทดี ี
• มกี จิ กรรมร่วมกบั เครอื ขา่ ยภายนอกชมุ ชนอยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 ครัง
• ไมพ่ บ/ไมม่ รี ายงานคดสี าํ คญั /รา้ ยแรงทเี กดิ ขนึ ภายในชมุ ชน

Q2: การจดั การขยะภายในชุมชน (10 คะแนน)
• มรี ะบบจัดการขยะทไี มท่ าํ ใหเ้ กดิ มลพษิ หรอื ความรําคาญ
• มกี จิ กรรมใหค้ วามรแู ้ ละสง่ เสรมิ การคดั แยก/จดั การขยะ
• มกี ารทาํ งานประสานรว่ มกบั หน่วยงานภายนอกอยา่ งเป็ นระบบ
• มรี ะบบ/ขนั ตอนวธิ กี ารสรา้ งรายไดจ้ ากการจัดการขยะ
• มกี ารนํารายไดจ้ ากขยะมาสนับสนุนกจิ กรรมชมุ ชน

คะแนนรวม

91

โครงการพฒั นาชุมชนเขมแขง็ พง่ึ พาตนเองอยา งยั่งยนื ป 2563

ตัวอยางแบบสอบถาม

92

โครงการพฒั นาชมุ ชนเขม แขง็ พึง่ พาตนเองอยางยั่งยืน ป 2563

ตัวอยางแบบสอบถาม

93

ความเกยี วขอ้ งของตวั ชวี ดั กบั เป้ าหมายการพฒั นาทยี งั ยนื (SDG)

มติ ิผนู ําและการบริหารจัดการชุมชน (Management: 20 คะแนน)

M1: การทํางาน/การใหบ ริการตอ ชมุ ชนของคณะกรรมการมีการรับฟง ความคดิ เหน็ จากผอู ยูอาศยั และนาํ ขอคดิ เห็นมา
ปรบั ปรงุ การทํางานอยางตอ เนือ่ งสม่าํ เสมอ (10 คะแนน)

มีชองทางรบั ฟง ความคิดเหน็ จากผอู ยอู าศยั มากกวา 1 ชอ งทาง    

มกี ารประชาสัมพนั ธชอ งทางแสดงความคดิ เห็นใหผอู ยอู าศยั ได    
รับทราบ    
   
มีการประชมุ /วเิ คราะห/พิจารณาขอ คดิ เห็น/ขอเสนอแนะที่    
ไดรับจากผอู ยอู าศัย

มกี ารนาํ ขอคดิ เห็นมาใชในการปรับปรุงการทาํ งาน/การ
ใหบริการ

มีการทาํ งานในลกั ษณะตอ ยอด/ปอ งกันนอกเหนือจากการ
แกไขปญหา

M2: มีการดาํ เนนิ โครงการ/จัดกิจกรรมชมุ ชนท่คี รอบคลุมผอู ยอู าศัยกลมุ ตา งๆโดยไดร ับความรว มมือจากภาคีเครอื ขา ยใน
ภาคสว นตางๆ (10 คะแนน)

มกี ารจดั กจิ กรรมภายในชุมชนตลอดท้ังปไ มน อ ยกวา 6 กิจกรรม    

มกี ารจดั กิจกรรมชุมชนท่คี รอบคลมุ ผอู ยูอาศัยอยางนอย 2 กลมุ    
เชน กลุมเยาวชน กลุม ผสู ูงวยั กลุมครอบครวั กลมุ คนทาํ งาน    
   
มีการประเมินผลกิจกรรมที่จัดในแตละครง้ั เพือ่ ปรับปรุงการจดั    
กิจกรรมในคร้งั ตอ ๆไป

มีภาคเี ครอื ขายเขา รวมกจิ กรรมไมนอยกวารอยละ 50 ของ
จํานวนกิจกรรมทีจ่ ดั

มกี ารจัดกจิ กรรมเพอื่ ประโยชนชุมชนในลักษณะอน่ื ๆ
นอกเหนอื จากกจิ กรรมวนั สาํ คญั หรือกจิ กรรมตามประเพณี

94


Click to View FlipBook Version