แผนการจดั การเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นอนุบาลเพญ็ ประชานกุ ลู
นางสาวสุกัญญา ทองเพญ็
รหัสประจำตัวนักศกึ ษา ๖๐๑๐๐๑๔๗๑๐๘
สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์(ชวี วทิ ยา)
การฝกึ ปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา ๒
รหสั วิชา ED๑๘๕๐๑ (INTERNSHIP IN SCHOOL ๒)
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี
ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 รหัสวชิ า ว15101
เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และให้นักเรียนบรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ผู้จดั ทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้พ้ืนฐานใหเ้ ข้าใจอย่างถ่องแท้ และนำปัญหาที่พบจาก
ประสบการณ์ และความรู้ที่ได้จากการอบรมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคนิค และวิธีการสอน การวัดผล
ประเมินผล จิตวิทยาการเรียนรู้ ตลอดจนความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง มาจัดทำแผนการจัดการ
เรยี นร้ใู นครัง้ นี้
แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ในหน่วยการเรียนรู้จะมีรายละเอียดของกิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อ แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รวมทั้งยังมีใบกิจกรรมประกอบด้วย สามารถนำไปให้
นักเรียนทำประกอบกับการสอนได้ ซึ่งจะทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปอย่างราบรื่น เพื่อให้
ผู้เรียนบรรลุมาตรฐาน การเรยี นร้ไู ดเ้ ต็มศกั ยภาพอยา่ งแท้จริง
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ส อนเองและ
เป็นประโยชนต์ ่อผูส้ อนในรายวิชาเดียวกัน และผู้สอนแทนเป็นอยา่ งมาก หากผิดพลาดประการใดผู้จัดทำก็ขอ
อภยั มา ณ โอกาสนี้
สกุ ัญญา ทองเพ็ญ
- 1 พฤศจิกายน 2564
สารบัญ
เรอ่ื ง หน้า
คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………….…..ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………….…..ข
ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์………………………………..…..1
คุณภาพของผู้เรยี นวทิ ยาศาสตร์ เม่อื จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6……………………………………………...…9
คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน…………………………………………………………………………………………………...11
สดั สว่ นคะแนนและตารางแจกแจงคะแนน………………………………………..………………………………….13
โครงสร้างหลกั สูตรรายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน…………………………………………………………………….14
การวิเคราะห์ตวั ชี้วัดเพ่ือกำหนดน้ำหนักคะแนน…………………………………………………………………….19
กำหนดการสอน…………………………………………………………………………………………………………………20
หน่วยการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 แรงลัพธ์และแรงเสยี ดทาน
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 19……………………………………………………………………………………28
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 20……………………………………………………………………………………34
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 21……………………………………………………………………………………40
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 22……………………………………………………………………………………46
หน่วยการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 เสยี งและการได้ยิน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 23……………………………………………………………………………………52
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 24……………………………………………………………………………………59
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 25……………………………………………………………………………………67
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 26……………………………………………………………………………………74
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 27……………………………………………………………………………………79
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 28……………………………………………………………………………………84
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 29……………………………………………………………………………………89
หน่วยการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 ดาวและแผนทดี่ าว
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 30……………………………………………………………………………………95
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 31…………………………………………………………………..……………….100
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 32……………………………………………………………………..…………….105
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 33………………………………………………………………………..………….111
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 34…………………………………………………………………………..……….116
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 35……………………………………………………………………………..…….121
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 36………………………………………………………………………………..….126
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………131
ภาคผนวก ก ใบกิจกรรมที่ 1-19…………………………………………………………………………..132
ภาคผนวก ข ใบงานหน่วยที่ 5-7…………………………………………………………………………..153
ภาคผนวก ค แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรยี น………………………………………………………171
ภาคผนวก ง แบบประเมนิ …………………………………………………………………………………..192
1
ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
สาระที่ 1 : วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวิตกบั สิ่งมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลงแทนท่ี
ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิง่ แวดล้อมรวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป.5 1. บรรยายโครงสร้างและลักษณะของ • สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีโครงสร้างและ
สิ่งมีชีวิต ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ซ่ึง ลักษณะ ที่เหมาะสมในแต่ละแหล่งที่อยู่ซึ่ง
เป็นผลมาจาก การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตใน เป็นผลมาจาก การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
แต่ละแหลง่ ท่อี ยู่ เพื่อให้ดำรงชีวิตและ อยู่รอดได้ในแต่ละ
แหล่งที่อยู่ เช่น ผักตบชวามี ช่องอากาศใน
กา้ นใบ ชว่ ยให้ลอยน้ำได้ตน้ โกงกาง ที่ขึ้นอยู่
ในป่าชายเลนมีรากค้ำจุนทำให้ลำต้น ไม่ล้ม
ปลามคี รีบช่วยในการเคล่ือนท่ีในน้ำ
2. อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งส่งิ มชี วี ิตกับ • ในแหล่งที่อยู่หนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตจะมี
สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์ ซึ่งกันและกันและสัมพันธ์กับ
สิ่งมีชีวิต กับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อ สิ่งไม่มีชีวิต เพื่อ ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
การดำรงชวี ติ เช่น ความสัมพันธ์กัน ด้านการกินกันเป็น
3. เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าท่ี อาหาร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัยและ
ของ สิ่งมชี วี ิตทีเ่ ป็นผผู้ ลติ และผู้บรโิ ภคในโซ่ เลย้ี งดูลูกออ่ น ใช้อากาศในการหายใจ
อาหาร • สง่ิ มีชีวิตมีการกนิ กนั เปน็ อาหาร โดยกินต่อ
4. ตระหนักในคณุ ค่าของส่ิงแวดล้อมท่ีมีต่อ กัน เป็นทอดๆในรูปแบบของโซ่อาหาร ทำ
การ ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วม ให้สามารถ ระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต
ในการดแู ล รกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม เปน็ ผผู้ ลิตและ ผู้บรโิ ภค
2
มาตรฐาน ว 1.2 : เข้าใจสมบัติของสงิ่ มชี ีวิต หน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มชี ีวติ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะตา่ งๆ ของพชื ที่ทำงานสมั พนั ธก์ ัน รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป.5 - -
มาตรฐาน ว 1.3 : เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป.5 1. อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการ • สิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์และมนุษย์เมื่อโต
ถ่ายทอด จากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์และ เต็มที่จะมี การสืบพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวน
มนุษย์ และดำรงพันธุ์โดยลูก ที่เกิดมาจะได้รับ
2. แสดงความอยากรู้อยากเห็น โดยการถาม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จาก
คำถาม เกี่ยวกับลักษณะที่คล้ายคลึงกันของ พ่อแม่ทำให้มีลักษณะทางพันธุกรรมที่
ตนเองกับ พอ่ แม่ เฉพาะ แตกต่างจากสิง่ มชี วี ติ ชนดิ อื่น
• พืชมีการถ่ายทอดลักษณะทาง
พนั ธุกรรม เช่น ลกั ษณะของใบ สีดอก
• สัตว์มีการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม เช่น สีขน ลักษณะของขน
ลักษณะของหู
• มนุษย์มีการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม เช่น เชิงผมที่หน้าผากลักยิ้ม
ลักษณะหนังตาการห่อลนิ้ ลกั ษณะของติ่ง
หู
3
สาระที่ 2 : วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสารการเกดิ
สารละลายและเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.5 1. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เม่ือ • การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการ
ทำให้ สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้ เปลี่ยนแปลง ทางกายภาพ เมื่อเพิ่มความ
หลักฐาน เชิงประจักษ์ ร้อนให้กับสสารถึง ระดับหนึ่งจะทำให้
สสารที่เป็นของแข็งเปลี่ยน สถานะเป็น
ของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว และ
เมื่อเพิ่มความร้อนต่อไปจนถึงอีกระดับ
หน่ึง ของเหลวจะเปล่ยี นเปน็ แก๊ส เรยี กว่า
การกลายเป็นไอแต่เม่ือลดความร้อนลงถึง
ระดับหนึ่ง แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็น
ของเหลว เรียกว่า การควบแน่น และถ้า
ลดความร้อนต่อไปอีกจนถึง ระดับหน่ึง
ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง
เรียกว่า การแข็งตัว สสารบางชนิด
สามารถ เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็น
แก๊สโดยไม่ผ่าน การเป็นของเหลว
เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊ส บางชนิด
สามารถเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดย
ไม่ผ่านการเป็นของเหลวเรียกว่าการ
ระเหดิ กลับ
2. อธิบายการละลายของสารในน้ำ โดยใช้ • เมื่อใส่สารลงในน้ำแล้วสารนั้นรวมเป็น
หลักฐาน เชงิ ประจกั ษ์ เน้ือเดียวกันกับน้ำทั่วทุกส่วน แสดงว่า
สารเกิด การละลาย เรียกสารผสมที่ได้ว่า
สารละลาย
3. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อ • เมือ่ ผสมสาร 2 ชนิดขึ้นไปแลว้ มีสารใหม่
เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยใช้ เกิดขึ้น ซึ่งมีสมบัติต่างจากสารเดิมหรือ
หลกั ฐาน เชงิ ประจกั ษ์ เมื่อสารชนิดเดียว เกิดการเปลี่ยนแปลง
แล้วมีสารใหม่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงน้ี
4
เรียกว่า การเปลี่ยนแปลง ทางเคมีซ่ึง
สังเกตได้จากมีสีหรือกลิ่นต่างจาก
สารเดิม หรือมีฟองแก๊ส หรือมีตะกอน
เกิดขึ้น หรือมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของ
อุณหภมู ิ
4. วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผัน • เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สาร
กลับได้ และการเปลย่ี นแปลงที่ผนั กลับไม่ได้ สามารถ เปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้เป็น
การเปลี่ยนแปลง ที่ผันกลับได้เช่น การ
หลอมเหลว การกลายเป็นไอ การละลาย
แต่สารบางอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลง
แลว้ ไมส่ ามารถเปลยี่ นกลับเปน็ สารเดิมได้
เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้เช่น
การเผาไหม้การเกิดสนมิ
มาตรฐาน ว 2.2 : เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงทีก่ ระทำต่อวัตถุลักษณะการเคลื่อนที่
แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.5 1. อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรง • แรงลัพธ์เป็นผลรวมของแรงที่กระทำต่อ
หลายแรงในแนว เดียวกันที่กระทำต่อ วัตถุโดย แรงลัพธ์ของแรง 2 แรงที่กระทำต่อ
วัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่ง จากหลักฐาน วัตถุเดียวกัน จะมีขนาดเท่ากับผลรวมของ
เชิงประจกั ษ์ แรงทง้ั สองเม่ือแรง ทัง้ สองอยู่ในแนวเดียวกัน
2. เขียนแผนภาพแสดงแรงท่กี ระทำต่อ และมีทิศทางเดียวกัน แต่จะมีขนาดเท่ากับ
วัตถุที่อยู่ใน แนวเดียวกันและแรงลัพธ์ ผลต่างของแรงทั้งสอง เมื่อแรงทั้งสองอยู่ใน
ทกี่ ระทำต่อวตั ถุ แนวเดยี วกันแตม่ ีทิศทาง ตรงข้ามกัน สำหรับ
3. ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่ วัตถุที่อยู่นิ่งแรงลัพธ์ที่ กระทำต่อวัตถุมีค่า
กระทำต่อวัตถุ เป็นศนู ย์
• การเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ
สามารถเขียนได้โดยใช้ลูกศร โดยหัวลูกศร
แสดง ทิศทางของแรง และความยาวของ
ลูกศรแสดง ขนาดของแรงที่กระทำตอ่ วตั ถุ
5
4. ระบุผลของแรงเสียดทานท่ีมีต่อการ • แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่าง
เปลีย่ นแปลง การเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุจาก ผิวสัมผัส ของวัตถุ เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของ
หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ วัตถุนั้น โดย ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่อยู่
5. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน นิ่งบนพื้นผิวหนึ่ง ให้เคลื่อนที่แรงเสียดทาน
และแรง ที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำ จากพื้นผิวนั้นกจ็ ะต้าน การเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตอ่ วัตถ แต่ถ้าวัตถุกำลังเคลื่อนท่ี แรงเสียดทานก็จะ
ทำใหว้ ัตถนุ ัน้ เคล่ือนที่ชา้ ลง หรือหยดุ นงิ่
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณท์ ีเ่ กีย่ วข้องกับเสยี ง แสง
และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง • การได้ยินเสียงต้องอาศัยตัวกลาง โดยอาจ
จากหลกั ฐาน เชงิ ประจกั ษ์ เป็น ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะ
สง่ ผ่าน ตวั กลางมายงั หู
2. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย • เสียงที่ได้ยินมีระดับสูงต่ำของเสียงต่างกัน
ลกั ษณะและ การเกิดเสียงสงู เสียงต่ำ ขึ้นกับ ความถี่ของการสั่นของแหล่งกำเนิด
3. ออกแบบการทดลองและอธิบาย เสียง โดยเมื่อ แหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วย
ลักษณะและ การเกิดเสียงดัง เสียง ความถี่ต่ำจะเกิดเสียงต่ำ แต่ถ้าสั่นด้วย
ค่อย ความถี่สูงจะเกิดเสียงสูง ส่วน เสียงดังค่อยท่ี
4. วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัด ไดย้ ินข้นึ กบั พลังงานการส่นั ของ แหล่งกำเนิด
ระดบั เสียง เสียง โดยเมื่อแหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วย
5. ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่อง พลงั งานมากจะเกิดเสียงดงั แต่ถา้ แหล่งกำเนิด
ระดับเสียง โดยเสนอแนะแนวทางใน เสียง สนั่ ดว้ ยพลงั งานน้อยจะเกิดเสียงคอ่ ย
การหลีกเลย่ี งและลด มลพิษทางเสียง • เสียงดังมาก ๆ เป็นอันตรายต่อการได้ยิน
และ เสยี งทีก่ ่อใหเ้ กิดความรำคาญเป็นมลพิษ
ทางเสียง เดซิเบลเปน็ หนว่ ยที่บอกถงึ ความดัง
ของเสียง
6
สาระท่ี 3 : วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว
ฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ
ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป.5 1. เปรียบเทียบความแตกต่างของดาว • ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่ง
เคราะห์ และดาวฤกษจ์ ากแบบจำลอง เป็น บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มี
ทั้งดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์ดาวฤกษ์เป็น
แหล่งกำเนิดแสง จึงสามารถมองเห็นได้ส่วน
ดาวเคราะห์ไม่ใช่ แหล่งกำเนิดแสง แต่
สามารถมองเห็นได้เนื่องจาก แสงจากดวง
อาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว สะท้อน
เขา้ สูต่ า
2. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและ • การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ
เส้นทางการขึ้น และตกของกลุ่มดาว เกิดจาก จินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาว
ฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบาย แบบรูป ฤกษ์ต่าง ๆ ที่ ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมี
เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาว ดาวฤกษ์แต่ละดวง เรียงกันที่ตำแหน่งคงที่
ฤกษ์ บนท้องฟา้ ในรอบป และมีเส้นทางการขึ้น และตกตามเส้นทาง
เดิมทุกคืน ซึ่งจะปรากฏ ตำแหน่งเดิม การ
สังเกตตำแหน่งและการขึ้น และตกของดาว
ฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์สามารถ ทำได้โดยใช้
แผนที่ดาว ซึ่งระบุมุมทิศและมุมเงย ที่กลุ่ม
ดาวน้ันปรากฏ ผูส้ ังเกตสามารถใช้มือ ในการ
ประมาณค่าของมุมเงยเมื่อสังเกตดาว ใน
ท้องฟ้า
7
มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อส่ิงมชี วี ิต
และส่ิงแวดลอ้ ม
ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแต่ละ • โลกมีทั้งน้ำจืดและน้ำเค็มซึ่งอยู่ในแหล่งน้ำ
แหล่ง และระบุ ปริมาณน้ำที่มนุษย์ ต่าง ๆ ที่มีทั้งแหล่งน้ำผิวดิน เช่น ทะเล
สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ จาก มหาสมทุ ร บงึ แมน่ ้ำ และแหล่งน้ำใตด้ นิ เชน่
ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ น้ำในดิน และ น้ำบาดาล น้ำทั้งหมดของโลก
แบ่งเป็นน้ำเค็ม ประมาณร้อยละ 97.5 ซึ่งอยู่
ในมหาสมทุ ร และแหล่งน้ำอ่นื ๆ และท่ีเหลือ
อีกประมาณ ร้อยละ 2.5 เป็นน้ำจืด ถ้า
เรียงลำดับปริมาณ น้ำจืดจากมากไปน้อยจะ
อยู่ที่ ธารน้ำแข็ง และ พืดน้ำแข็ง น้ำใต้ดิน
ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวและน้ำแข็ง ใต้ดิน
ทะเลสาบ ความชื้นในดิน ความชื้นใน
บรรยากาศ บงึ แมน่ ้ำ และน้ำในสง่ิ มีชวี ิต
2. ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำโดย • น้ำจืดที่มนุษย์นำมาใช้ไดม้ ีปริมาณน้อยมาก
นำเสนอแนวทาง การใช้น้ำอย่าง จึงควรใช้น้ำอย่างประหยัดและร่วมกัน
ประหยดั และการอนุรกั ษ์น้ำ อนุรกั ษ์นำ้
3. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการ • วัฏจักรน้ำ เป็นการหมุนเวียนของน้ำที่มี
หมนุ เวยี นของนำ้ ในวฏั จักรนำ้ แบบรูป ซ้ำเดิม และต่อเนื่องระหว่างน้ำใน
บรรยากาศ น้ำผิวดิน และน้ำใต้ดิน โดย
พฤติกรรมการดำรงชีวิต ของพืชและสัตว์
สง่ ผลต่อวัฏจกั รนำ้
4. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ • ไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน้ำ
หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง จาก เล็ก ๆ โดยมีละอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่น
แบบจำลอง ละออง ละออง เรณูของดอกไม้เป็นอนุภาค
แกนกลาง เมื่อ ละอองน้ำจำนวนมากเกาะ
กลุ่มรวมกันลอยอยู่สูง จากพื้นดินมาก
เรยี กวา่ เมฆ แต่ละอองนำ้ ที่เกาะกลุม่ รวมกัน
อยู่ใกล้พื้นดิน เรียกว่า หมอก ส่วนไอน้ำท่ี
ควบแน่นเป็นละอองน้ำเกาะอยู่ บนพื้นผิว
8
วัตถุใกล้พื้นดิน เรียกว่า น้ำค้าง ถ้าอุณหภูมิ
ใกล้พื้นดินต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง น้ำค้างก็จะ
กลายเปน็ น้ำค้างแขง็
5. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน • ฝน หิมะ ลูกเห็บ เป็นหยาดนำ้ ฟ้าซึ่งเป็นนำ้
หิมะ และ ลูกเหบ็ จากขอ้ มูลที่รวบรวม ที่มี สถานะต่าง ๆ ที่ตกจากฟ้าถึงพื้นดิน ฝน
ได้ เกิดจาก ละอองน้ำในเมฆที่รวมตัวกันจน
อากาศไม่สามารถ พยุงไว้ได้จึงตกลงมา หิมะ
เกิดจากไอน้ำในอากาศ ระเหิดกลับเป็นผลึก
น้ำแข็ง รวมตัวกันจนมีน้ำหนัก มากขึ้นจน
เกินกว่าอากาศจะพยุงไว้จึงตกลงมา ลูกเห็บ
เกิดจากหยดน้ำที่เปลี่ยนสถานะเป็นน้ำแข็ง
แล้วถูกพายุพัดวนซ้ำไปซ้ำมาในเมฆฝนฟ้า
คะนอง ที่มีขนาดใหญ่และอยู่ในระดับสูงจน
เปน็ กอ้ นน้ำแข็ง ขนาดใหญข่ น้ึ แลว้ ตกลงมา
9
ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คณุ ภาพของผู้เรยี นวิทยาศาสตร์ เม่อื จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
❖ เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตใน
แหล่งทอ่ี ยู่ การทำหนา้ ที่ของสว่ นต่าง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบย่อยอาหาร ของมนุษย์
❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย
การเปล่ยี นแปลงทางเคมีการเปลยี่ นแปลงท่ีผนั กลบั ไดแ้ ละผันกลับไม่ได้และการแยกสาร อย่างง่าย
❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและ ผลของแรงต่าง ๆ
ผลที่เกิดจากแรงกระทำต่อวัตถุความดัน หลักการที่มีต่อวัตถุวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบื้องต้นของ
เสียง และแสง
❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏ ของดวงจันทร์
องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ความแตกต่างของ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์การ
ขนึ้ และตกของกลุม่ ดาวฤกษก์ ารใช้แผนทีด่ าว การเกิดอุปราคา พฒั นาการและประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ
❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง หยาดน้ำ
ฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิด ซากดึกดำบรรพ์การเกิดลมบก ลม
ทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์
เรอื นกระจก
❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าที่ของ
ตน เคารพสทิ ธขิ องผอู้ ่นื
❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตาม ความสนใจ
คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหา ที่จะสำรวจตรวจสอบ
วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสม ในการเก็บ
รวบรวมข้อมลู ท้ังเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ
❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการ สำรวจตรวจสอบใน
รูปแบบทเี่ หมาะสม เพ่ือสือ่ สารความร้จู ากผลการสำรวจตรวจสอบได้อยา่ งมี เหตุผลและหลกั ฐานอา้ งองิ
10
❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ เรื่องที่จะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มี หลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คดิ เห็นผู้อน่ื
❖ แสดงความ รับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้ รับมอบหมายอย่างมุ่งมนั่ รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์
จนงานลลุ ่วงเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์
❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใช้ความรู้และ กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงาน ของผู้คิดค้นและศึกษาหา
ความรเู้ พมิ่ เติม ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามทกี่ ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ
❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ มอย่างร้คู ณุ คา่
11
คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ว15101 วิทยาศาสตร์ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 80 ชั่วโมง
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา วเิ คราะห์ โครงสร้างและลกั ษณะของส่ิงมชี ีวติ ที่หมาะสมกับการดำรงชีวิต ซึง่ เปน็ ผลมาจากการ
ปรับ และ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตซ่ึงเป็นผลมาจากการปรับตวั ของสิ่งมชี ีวิตใน
แต่ละแหล่งที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิง่ มีชวี ติ และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชวี ิต
เพื่อประโยชนต์ ่อการดำรงชีวิต โซ่อาหารและบทบาทหนา้ ที่ของสิ่งมชี ีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร
คณุ ค่าของสง่ิ แวดล้อมท่ีมตี ่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชวี ติ โดยมสี ่วนรว่ มในการดูแรักษาสิ่งแวดล้อม ลักษณะทาง
พนั ธุกรรมท่ีมีการถ่ายทอดจากพ่อแม่ส่ลู ูก ของพชื สัตว์ และมนษุ ย์ ลกั ษณะท่คี ลา้ ยคลงึ กันของตนเองกับพ่อแม่
การเปลยี่ นสถานะของสสารเมื่อทำใหส้ สารร้อนขึ้น หรอื เยน็ ลง การละลายของสารในน้ำ การเปลี่ยนแปลงของ
สารเมอื่ เกิดการเปลยี่ นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงท่ผี ันกลบั ได้และการเปล่ียนแปลงท่ผี ันกลับไมไ่ ด้ วิธีการ
หาแรงลพั ธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกนั ที่กระทำต่อวัตถุอยู่นิ่ง แผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุท่ีอยู่ใน
แนวเดียวกนั และแรงลพั ธ์ทีก่ ระทำตอ่ วัตถุ การใชเ้ คร่ืองชงั่ สปริงในการวดั แรงที่กระทำต่อวตั ถุ ผลของแรงเสียด
ทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ การเขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน และแรงที่อยู่ในแนว
เดียวกันทก่ี ระทำต่อวัตถุ การได้ยินสียงผา่ นตวั กลาง ลกั ษณะและการเกดิ เสียงสงู เสียงตำ่ ออกแบบการทดลอง
และอธบิ ายลักษณะและการเกดิ เสียงดัง เสยี งคอ่ ย การวดั ระดับเสยี งโดยใช้เครอ่ื งมอื วัดระดับเสียง แนวทางใน
การหลกี เส่ยี งและลดมลพษิ ทางเสียง ความแตกตา่ งของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษจ์ ากแบบจำลอง การใช้แผนที่
ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของ
กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณน้ำในแต่ละแหล่ง ปริมาณน้ำที่มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
แนวทางการใช้นน้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้ำ แบบจำลองการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ
กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และ น้ำค้างแข็ง จากแบบจำลอง และกระบวนการเกิดฝน หิมะ และ
ลูกเหบ็ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธบิ าย การทำงาน การคาดกรณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูลติดต่อสื่อสารและทำงานรว่ มกันประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวม ประเมิน
นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเตอร์เน็ตที่หลากหลายเพือ่
แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธขิ องผู้อื่น แจ้งผู้เกย่ี วข้องเม่อื พบขอ้ มลู หรอื บคุ คลที่ไมเ่ หมาะสม
12
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา หาความรู้ การสำรวจตรว ตรวจสอบ การสืบ
คั้นข้อมลู การเปรียบเทยี บข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม
ตัวช้ีวัด
ว 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว 1.3 ป.5/1 ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 2.3 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1 ป.5/2
ว 3.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 4.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
รวม 31 ตัวชีว้ ัด
13
สัดสว่ นคะแนน
ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30
ความรคู้ วามเข้าใจ : ทักษะกระบวนการ : คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
68 : 19 : 13
หน่วย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ คะแนนระหว่างภาค คะแนน
ปลายภาค
การเรยี นรู้ ก่อนกลางภาค กลางภาค หลงั กลางภาค
10
1 แรงลัพธ์และแรงเสยี ดทาน 10 10 20
2 เสยี งและการได้ยิน 20 10
3 ดาวและแผนทีด่ าว 20
ตารางแจกแจงคะแนน
หน่วยการเรยี นรู้ กอ่ นกลางภาค คะแนนระหว่างปี หลังกลางภาค คะแนน หมาย
KP A กลางภาค KPA ปลายภาค เหตุ
1. แรงลพั ธ์และแรงเสยี ดทาน 34 3 ---
2. เสียงและการได้ยิน 88 4 KPA --- K 70 : 30
3. ดาวและแผนทดี่ าว -- - 10 - - 776 -
11 12 7 10 - - 776 10
รวม --- 20
30 20 - - 20 -
30
20
14
ตารางโครงสรา้ งหลักสตู ร รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลกั สูตรโรงเรียนอนุบาลเพญ็ ประชานกุ ูล
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 2 หนว่ ยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง
ลำดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนกั
เรยี นรู/้ ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน
1 แรงลัพธแ์ ละแรงเสยี ด ว 2.2 แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของ
ทาน แรง 2 แรงที่กระทำต่อวัตุที่อยู่น่ิง 9 10
ป.5/1 ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามทิศทาง
ป.5/2 ของแรงลัพธ์นั้น ถ้าแรงมีทิศทาง
ป.5/3 เดียวกันจะเสริมกัน และถ้าแรง
ป.5/4 ทิศทางตรงกันข้ามจะหักล้างกันมี
ป.5/5 ค่าเป็นศูนย์
แรงเสียดทาน เป็นแรงท่ี
เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ
สองชิ้น โดยผิววัตถุหนึ่งต้านทาน
การเคลอ่ื นที่ของผวิ วตั ถุอกี ผวิ หนึ่ง
กจิ กรรมตา่ งๆ ตอ้ งการแรง
เสยี ดทานไมเ่ ท่ากัน จึงต้องมกี าร
เพมิ่ หรอื ลดแรงเสยี ดทานให้
เหมาะสมกับกิจกรรมที่กระทำ
แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจำวันมีทั้งผลดีและผลเสีย
ขนึ้ อยู่กับกจิ กรรมที่กระทำ
15
ลำดับท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั
2 เสียงและการได้ยนิ เรียนร้/ู ตัวช้วี ดั (ช่ัวโมง) คะแนน
ว 2.3 เสียงเกิดจากการสัน่ ของ
วัตถุ วตั ถุท่ที ำให้เกิดเสียงเป็น 14 20
ป.5/1 แหล่งกำเนดิ เสียงตามธรรมชาติ
ป.5/2 และแหลง่ กำเนดิ เสยี งท่ีมนุษย์สร้าง
ป.5/3 ขน้ึ เสยี งเคล่อื นทอ่ี อกจาก
ป.5/4 แหลง่ กำเนดิ เสียงทุกทิศทาง
ป.5/5
เสียงเกิดจากการสั่นของ
วตั ถุ วตั ถุที่ทำใหเ้ กิดเสียงเปน็
แหลง่ กำเนิดเสยี งตามธรรมชาติ
และแหล่งกำเนดิ เสียงท่ีมนุษย์สรา้ ง
ขึน้ เสียงเคลอ่ื นทอ่ี อกจาก
แหล่งกำเนิดเสียงทุกทิศทาง
เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ วัตถุท่ี
ทำให้เกดิ เสยี งเปน็ แหลง่ กำเนดิ เสียง
ตามธรรมชาติ และแหล่งกำเนิด
เสยี งทม่ี นษุ ย์สร้างขึน้ เสยี งเคล่ือนท่ี
อ อ ก จ า ก แ ห ล ่ ง ก ำ เ น ิ ด เ ส ี ย ง ทุ ก
ทิศทาง
เสียงเกดิ จากการสั่นของ
วตั ถุ วตั ถทุ ่ีทำใหเ้ กิดเสียงเป็น
แหลง่ กำเนดิ เสียงตามธรรมชาติ
และแหล่งกำเนดิ เสยี งท่ีมนุษย์สร้าง
ข้ึน เสียงเคลอื่ นทอ่ี อกจาก
แหล่งกำเนดิ เสยี งทุกทิศทาง
ความดังของเสยี งเกิดจาก
ระดับการส่ันสะเทือนของเสยี ง ถา้
สั่นสะเทือนมากจะไดย้ ินเสียงดัง
16
ลำดบั ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนกั
เรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั (ชัว่ โมง) คะแนน
มาก ถ้าสัน่ สะเทือนน้อยจะได้ยนิ
เสยี งค่อย ความดงั ของเสียงจะ
สมั พนั ธ์กับความเข้มของเสยี ง และ
ระยะห่างจากแหลง่ กำเนิดเสยี ง
แหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วย
พลังงานมาก จะทำให้เกิดเสียงดัง
แต่ถ้าแหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วย
พลังงานนอ้ ย จะเกิดเสยี งค่อย
เสยี งท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความ
รำคาญ หรอื เสยี งทดี่ งั มาก ๆ จน
กอ่ ให้เกดิ อนั ตรายต่อการไดย้ ิน
เรียกว่า มลพิษทางเสยี ง
3 ดาวและแผนทีด่ าว ว 3.1 ดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่มีแสง 14 20
ป.5/1 สว่างในตัวเอง แต่มองเห็นได้จาก
ป.5/2 แสงสว่างของดาวฤกษ์ที่ตกกระทบ
และสะท้อนเข้าตา ดาวเคราะห์บน
ท้องฟ้ามี 8 ดวง โคจรรอบดวง
อาทิตย์ คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์
ดาวยเู รนัส และดาวเนปจนู
ดาวฤกษ์ หมายถงึ ดาวทม่ี ี
แสงสวา่ งในตัวเอง มักปรากฏบน
ท้องฟ้าในยามคำ่ คืน
ดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่มี
แสงสว่างในตัวเอง แต่มองเห็นได้
จากแสงสว่างของดาวฤกษ์ที่ตก
17
ลำดับที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนัก
เรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน
กระทบและสะท้อนเข้าตา ดาว
เคราะห์บนท้องฟ้ามี 8 ดวง โคจร
รอบดวงอาทิตย์ คือ ดาวพุธ ดาว
ศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาว
เนปจูน ส่วนดาวฤกษ์เป็นดาวที่มี
แสงสว่างในตัวเอง มักปรากฏบน
ท้องฟ้าในยามค่ำคืนในลักษณะเป็น
กลมุ่ ๆ เรียกกันวา่ กลุ่มดาวฤกษ์
ปรากฏการณ์การขึน้ และ
ตกของกลุม่ ดาวฤกษเ์ กดิ จากโลก
หมุนรอบตวั เองและโคจรรอบดวง
อาทติ ย์ ดังนนั้ การหมนุ รอบตัวเอง
ของโลกจงึ ทำให้เรามองเหน็ ดาวบน
ท้องฟา้ มีการเคล่ือนท่ี
ทรงกลมท้องฟา้ เปน็ ทรง
กลมสมมติขนาดใหญ่มีรัศมีอนันต์
โดยมโี ลกอยทู่ จ่ี ดุ ศูนย์กลางของทรง
กลม
แผนท่ดี าว เปน็ แผนที่
ทอ้ งฟา้ บอกตำแหนง่ ของดาวบน
ท้องฟา้ โดยการบอกมุมทิศและมมุ
เงยของดาวท่สี ังเกต จึงเปน็
เครือ่ งมอื ท่ีใชป้ ระกอบการสังเกต
ดวงดาวบนทอ้ งฟา้
18
ลำดับที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนัก
เรียนรู/้ ตวั ช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
มมุ เงย เป็นมุมที่มีแขนของ
มมุ แขนหน่ึงอยูใ่ นระดับสายตาและ
อีกแขนหนงึ่ เชอ่ื มระหว่างตาของผู้
สังเกต และวัตถุ ซึง่ อยูส่ ูงกว่า
ระดบั สายตา
สอบกลางภาค 1 20
สอบปลายภาค 2 30
รวมทัง้ หมด 40 100
19
การวเิ คราะห์ตวั ช้ีวัดเพอ่ื กำหนดนำ้ หนกั คะแนน
คะแนนเกบ็
ลำ ัดบช่ัวโมงท่ีสอน
ลำดบั ตวั ชว้ี ัด จำนวนชั่วโมงท่ีสอน
ที่ คะแนน ัตว ี้ช ัวด
้ดานความ ู้ร(K)
้ดานทักษะ (P)
คุณ ัลกษณะ
(A)
กลางภาค
ปลายภาค
1 ว 2.2 ป.5/1 1 14 1 1 2-
2 ว 2.2 ป.5/2 2 1 4 1 1 2-
3 ว 2.2 ป.5/3 3 13 1 2-
4 ว 2.2 ป.5/4 4-6 3 4 1 1 2-
5 ว 2.2 ป.5/5 7-9 3 5 1 1 1 2 -
6 ว 2.3 ป.5/1 10-19 10 13 4 4 1 2 2
7 ว 2.3 ป.5/2 20 1 7 1 1 1 2 2
8 ว 2.3 ป.5/3 21 1 7 1 1 1 2 2
9 ว 2.3 ป.5/4 22 1 7 1 1 1 2 2
10 ว 2.3 ป.5/5 23 1 6 1 1 22
11 ว 3.1 ป.5/1 24-29 6 19 3 3 3 - 10
12 ว 3.1 ป.5/2 30-37 8 21 4 4 3 - 10
รวม 12 ตัวช้ีวดั 37 37 100 18 19 13 20 30
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 กำหนดการสอน 20
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 2 หน่วยกติ เวลา 40 ชั่วโมง
วัน / เดอื น /ปี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ / หน่วยย่อย จำนวนคาบ
01/11/2564-08/11/2564 3
09/11/2564-15/11/2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แรงลพั ธ์ 2
16/11/2564-22/11/2564 2
23/11/2564-29/11/2564 แรงลัพธ์และแรงเสียด ลักษณะของแรงเสยี ดทาน 2
30/11/2564-13/12/2564 ทาน การลดและเพมิ่ แรงเสยี ดทาน 3
14/12/2564-21/12/2564 3
27/12/2564-28/12/2564 ข้อดีและขอ้ เสียของแรงเสยี ดทาน 2
04/01/2565-10/01/2565 2
10/01/2565 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเกดิ เสียง 1
11/01/2565-17/01/2565 2
18/01/2565 เสียงและการไดย้ ิน แหล่งกำเนิดเสียง 1
24/01/2565-25/01/2565 การเคล่อื นที่ของเสียง 1 2
31/01/2565-01/02/2565 2
07/02/2565-08/02/2565 การคลอ่ื นทขี่ องเสียง 2 2
14/02/2565-15/02/2565 เสียงสงู และเสยี งต่ำ 2
21/02/2565-22/02/2565 เสยี งดังและเสียคอ่ ย 2
28/02/2565-01/03/2565 2
07/03/2565-08/03/2565 มลพิษทางเสียง 2
รวม 37 คาบ
รวม 100 วนั หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ดาวเคราะห์
ดาวและแผนท่ีดาว ดาวฤกษ์
ความแตกต่างของดาวเคราะห์
และดาวฤกษ์
ปรากฏการณ์ขึ้นและตกของกลุ่ม
ดาวฤกษ์
ทรงกลมทอ้ งฟ้า
แผนทดี่ าว
การหาคา่ มุมเงย
21
กำหนดการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตามหลกั สูตรโรงเรียนอนุบาลเพญ็ ประชานุกูล
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 2 หน่วยกิต เวลา 40 ชวั่ โมง
สปั ดาห์ หนว่ ยการเรยี นรู้/ มาตรฐานการเรียนรู้/ จุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน น้ำหนัก
ที่ สาระการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด ช่ัวโมง คะแนน
(Contents)
1 หน่วยที่ 5 แรง ว 2.2 ป.5/1 K: อธิบายการหาแรงลัพธ์ท่ี 3 5
ลัพธ์และแรงเสียด อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ กระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกัน
ทาน ของแรงหลายแรงในแนว ได้
เรื่องที่ 1 แรง เดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ P: เขียนแผนภาพแสดงแนว
ลพั ธ์ ในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่ง จาก แรงทกี่ ระทำต่อวตั ถไุ ด้
หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ A: นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน
ว 2.2 ป.5/2 การทำงาน และมีความ
เขียนแผนภาพแสดงแรงที่ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
กระทำต่อวัตถุที่อยู่ใน มอบหมาย
แนวเดียวกันและแรงลัพธ์
ทก่ี ระทำต่อวตั ถุ
ว 2.2 ป.5/3
ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัด
แรงทก่ี ระทำตอ่ วตั ถุ
2 เ ร ื ่ อ ง ท ี ่ 2 ว 2.2 ป.5/4 K: อธิบายลักษณะของแรง 2 5
ลักษณะของแรง ระบุผลของแรงเสียดทาน เสยี ดทานได้
เสียดทาน ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง P: เขียนแผนภาพแสดงแนว
การเคลื่อนที่ของวัตถุจาก แรงที่อยู่ในระนาบเดียวกับแรง
หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เสยี ดทานได้
ว 2.2 ป.5/5 A: นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน
เขียนแผนภาพแสดงแรง การทำงาน และมีความ
เสียดทานและแรง ที่อยู่ใน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
22
3 เร่ืองที่ 3 การลด แนวเดียวกันที่กระทำต่อ K: อธิบายการเพิ่มหรือลดแรง 2
และเพิ่มแรงเสียด วตั ถ เสยี ดทานในกิจกรรมต่าง ๆได้
ทาน P: สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัย
ที่มีผลต่อแรงเสียดทาน และ
การลดและเพิ่มแรงเสียดทาน
ได้
A: นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน
การทำงาน และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
4 เรื่องที่ 4 ข้อดี K: อธบิ ายผลของแรงเสยี ดทาน 2
และข้อเสียของ ทเ่ี กิดข้นึ ในชวี ติ ประจำวันได้
แรงเสยี ดทาน P: สำรวจแรงเสียดทานที่
เกดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจำวันได้
A: นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน
การทำงาน และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
5 หน่วยที่ 6 เสียง ว 2.3 ป.5/1 K: อธบิ ายหลกั การเกิดเสยี งได้ 3 9
และการไดย้ ิน อธิบายการได้ยินเสียงผ่าน P: ทดลองเรื่องหลักการเกิด
เรื่องที่ 1 การ ตัวกลางจากหลักฐาน เชิง เสยี งได้
เกดิ เสยี ง ประจกั ษ์ A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
6 เรื่องที่ 2 K: 1. จำแนกเสียงที่ได้ยินตาม 3
แหล่งกำเนิดเสยี ง ประเภทของแหล่งกำเนิดเสียง
ได้
2. อธบิ ายวิธีการทำใหเ้ กิดเสียง
ได้
P: ส ร ้ า ง แ บ บ จ ำ ล อ ง
แหล่งกำเนิดเสียงจากกระดาษ
ได้
23
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
7 เรื่องที่ 3 การ K: อธิบายทิศทางการเคลื่อนท่ี 2
เคลื่อนที่ของเสียง ของเสยี งได้ 2
1 P: ทดลองทิศทางการเคลื่อนที่ 1
1
ของเสียงได้
2
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
8 เรื่องที่ 4 การ K: อธิบายทิศทางการเคลื่อนที่
คลื่อนที่ของเสียง ของเสยี งได้
2 P: ทดลองทิศทางการเคลื่อนที่
ของเสียงผา่ นตัวกลางได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
9 สอบกลางภาค 20
3
10 เรื่องที่ 5 เสียง ว 2.3 ป.5/2 K: อธิบายความหมายการเกิด
6
สงู และเสียงตำ่ ระบุตัวแปร ทดลอง และ เสยี งสูง เสียงต่ำได้
อธิบายลักษณะและ การ P: ทดลองเรื่องการเกิดเสียงสงู
เกิดเสียงสงู เสียงตำ่ เสยี งต่ำได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
11 เรื่องที่ 6 เสียง ว 2.3 ป.5/3 K: อธิบายความหมายการเกิด
ดงั และเสียคอ่ ย ออกแบบการทดลองและ เสยี งดงั เสยี งคอ่ ยได้
อธิบายลักษณะและ การ P: สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเสียง
เกิดเสยี งดงั เสยี งคอ่ ย ดัง เสียงคอ่ ยได้
24
ว 2.3 ป.5/4 A: นักเรียนสามารถทำงาน
วัดระดับเสียงโดยใช้ ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
เคร่อื งมอื วัดระดับเสยี ง รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
12 เรื่องที่ 7 มลพิษ ว 2.3 ป.5/5 K: 1. อธิบายอันตรายที่เกิด 1 2
9
ทางเสยี ง ตระหนักในคุณค่าของ จากความดงั ของเสียงได้
ความรู้เรื่องระดับเสียง 2. บอกวิธีป้องกันอันตรายจาก
โดยเสนอแนะแนวทางใน ความดงั ของเสียงได้
การหลีกเลี่ยงและลด P: สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษ
มลพิษทางเสียง ทางเสยี งได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
13 หน่วยที่ 7 ดาว ว 3.1 ป.5/1 K: อธิบายลักษณะกลุ่มดาว 2
และแผนทดี่ าว เปรียบเทยี บความแตกต่าง เคราะห์บนทอ้ งฟา้ ได้
เรื่องที่ 1 ดาว ของดาวเคราะห์ และดาว P: สืบค้นข้อมูลเกี่ ย ว กั บ
เคราะห์ ฤกษ์จากแบบจำลอง ลักษณะและความสำคัญของ
ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
14 เรื่องที่ 2 ดาว K: อธิบายลักษณะกลุ่มดาว 2
ฤกษ์ ฤกษบ์ นทอ้ งฟ้าได้
P: สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม
ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ ได้
2A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด้ - รั บ
มอบหมาย
25
15 เรื่องที่ 3 ความ K: เปรียบเทียบความแตกต่าง 2
แตกต่างของดาว ระหว่างดาวเคราะห์กับกลุ่ม
เคราะห์และดาว ดาวฤกษบ์ นท้องฟา้ ได้
ฤกษ์ P: สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความ
แตกต่างระหว่างดาวเคราะห์
กบั กลมุ่ ดาวฤกษ์บนทอ้ งฟ้าได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
16 เ ร ื ่ อ ง ท ี ่ 4 ว 3.1 ป.5/2 K: อธบิ ายปรากฏการณ์การขึ้น 2 11
ปรากฏการณ์ข้ึน ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่ง และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์ได้
และตกของกลุ่ม และเส้นทางการขึ้น และ P: สืบค้นข้อมูลเกี่ ย ว กั บ
ดาวฤกษ์ ตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน ปรากฏการณ์การขึ้นและตก
ท้องฟ้า และอธิบาย แบบ ของกลุ่มดาวฤกษ์ได้
รูปเส้นทางการขึ้นและตก A: นักเรียนสามารถทำงาน
ของกลุ่มดาวฤกษ์ บน ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ท้องฟ้าในรอบป ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
17 เรื่องที่ 5 ทรง K: อธิบายความหมายของทรง 2
กลมทอ้ งฟ้า กลมทอ้ งฟา้ ได้
P: จัดทำแผ่นพับคำศัพท์ดารา
ศาสตรเ์ รื่องทรงกลมทอ้ งฟา้ ได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ที่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
18 เรื่องที่ 6 แผนท่ี K: อธิบายการใช้แผนที่ดาว 2
ดาว บอกทิศและปรากฏการณ์ขึ้น-
ตกของดวงดาวได้
P: สาธิตการใช้งานแผนที่ดาว
ได้
26
19 เรอ่ื งท่ี 7 การหา A: นักเรียนสามารถทำงาน 2
ค่ามมุ เงย ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ 2
20 สอบปลายภาค มอบหมาย 40
รวมท้ังหมด K: อธิบายและบอกตำแหน่ง
ของดวงดาวดว้ ยคา่ มมุ เงยได้
P: ปฏิบตั กิ จิ กรรมการหาค่ามุม
เงยได้
A: นักเรียนสามารถทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และมีความ
ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ่ อ ง า น ท ี ่ ไ ด ้ รั บ
มอบหมาย
30
100
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 แรงลัพธแ์ ละแรงเสยี ดทาน
แผนท่ี 19-22
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19 28
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เรอ่ื งแรงลัพธแ์ ละแรงเสียดทาน 9 ชวั่ โมง
หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อย 5.1 เร่ือง แรงลพั ธ์ 3 ชั่วโมง
ครูผ้สู อน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระที่ 2 : วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 : เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถลุ ักษณะการ
เคลือ่ นท่แี บบตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป. 5
1. อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลาย • แรงลัพธ์เป็นผลรวมของแรงที่กระทำต่อวัตถุ
แรงในแนว เดียวกันที่กระทำต่อวัตถุใน โดย แรงลัพธ์ของแรง 2 แรงที่กระทำต่อวัตถุ
กรณีที่วัตถุอยู่นิ่ง จากหลักฐานเชิง เดียวกัน จะมีขนาดเท่ากับผลรวมของแรงทั้ง
ประจกั ษ์ สองเมื่อแรง ทั้งสองอยู่ในแนวเดียวกันและมี
2.เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อ ทศิ ทางเดียวกัน แตจ่ ะมีขนาดเท่ากบั ผลตา่ งของ
วัตถุที่อยู่ใน แนวเดียวกันและแรงลัพธ์ที่ แรงทั้งสอง เมื่อแรงทั้งสองอยู่ในแนวเดียวกัน
กระทำต่อวัตถุ แต่มีทิศทาง ตรงข้ามกัน สำหรับวัตถุที่อยู่น่ิง
3.ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระทำ แรงลพั ธท์ ่ี กระทำตอ่ วตั ถุมีคา่ เป็นศนู ย์
ตอ่ วตั ถุ • การเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุ
สามารถเขยี นได้โดยใชล้ ูกศร โดยหวั ลกู ศรแสดง
ทิศทางของแรง และความยาวของลูกศรแสดง
ขนาดของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ
1. กำหนดเป้าหมายของการจดั การเรียนรู้
1.1 สาระการเรียนรู้/เนอื้ หาการเรียนรู้
- แรงลพั ธ์
- การใช้ประโยชนข์ องแรงลัพธ์
29
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเร่อื งที่เรยี น
แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรง 2 แรงทก่ี ระทำต่อวตั ุที่อยนู่ ิ่ง ทำใหว้ ตั ถเุ คล่ือนที่ไปตามทิศทาง
ของแรงลัพธ์นน้ั ถา้ แรงมที ศิ ทางเดียวกันจะเสริมกัน และถ้าแรงทิศทางตรงกันข้ามจะหักล้างกันมี
ค่าเป็นศนู ย์
1.3 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้: เมอื่ ผู้เรยี นจบกิจกรรมการเรยี นรู้ ผเู้ รียนสามารถ
ดา้ นความรู้ อธบิ ายการหาแรงลพั ธท์ ี่กระทำต่อวัตถใุ นแนวเดียวกนั ได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ เขียนแผนภาพแสดงแนวแรงที่กระทำต่อวัตถุได้
(P: Process)
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
(A: Attribute) มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต
การวดั การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
การคำนวณ/การใช้ตัวเลข ตัวแปร
การจำแนกประเภท การกำหนดนยิ ามเชิงปฏิบัติการ
การจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมูล การตัง้ สมมติฐาน
การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส และสเปสกับ การทดลอง
การตคี วามหมายข้อมูลและลง
เวลา
การพยากรณ/์ การทำนาย ขอ้ สรุป
การสรา้ งแบบจำลอง
การลงความเหน็ จากขอ้ มลู
30
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5E โดยใชร้ ปู แบบออนไลน์ผา่ น Google Meet
ชัว่ โมงท่ี 1
2.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครกู ล่าวทักทายนักเรยี น พร้อมกบั ช้แี จงจดุ ประสงค์ในการเรียนรผู้ า่ น Google Meet
2. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง แรงลัพธ์
3. ครเู ปดิ วดี ีทศั นเ์ ก่ียวกับการเล่นชักเย่อโดยที่มีคนรูปร่างต่างกัน 4 คน ยนื จบั เชือกข้างละ 2 คน โดยให้คน
ตัวใหญอ่ ย่ฝู ัง่ หน่ึง และคนตวั เลก็ อย่อู ีกฝ่งั แลว้ ตงั้ คำถามถามนักเรียนวา่
i. ถา้ เลน่ ชักเยอ่ นกั เรียนคดิ วา่ ฝ่ายใดจะเปน็ ผ้ชู นะ เพราะเหตใุ ด
ii. ถ้าแต่ละฝ่ายมีคนตวั เลก็ และคนตวั ใหญค่ ละกันอยจู่ ะเกิดอะไรขน้ึ
iii. ถ้าท้ัง 2 ฝ่าย ออกแรงเท่ากนั เชือกเคล่อื นทีห่ รอื ไม่
iv. ถา้ แต่ละทมี มีเพ่ือนเพม่ิ อีก 2 คน ผลลพั ธข์ องแรงจะเปน็ อยา่ งไร
4. ใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั การเล่นชกั เยอ่ เพ่ือเช่ือมโยงไปสกู่ ารเรยี นรเู้ รือ่ งแรงลพั ธ์
2.2 ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครใู หแ้ ต่ละคนศึกษาเร่ืองแรงลัพธ์ ในหนงั สอื เรยี นพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษา
ปที ี่ 5 หนา้ 110-112
2. ครูสาธิตกิจกรรมเรื่อง ผลของแรงที่กระทำกับวตั ถุ ในหนังสือเรียนพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน้า 113 โดยครูแสดงวิธีทำอย่างละเอียดให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียน
บันทกึ ผลการทดลองลงในสมุดบนั ทึกของนกั เรียน
ช่ัวโมงที่ 2
2.3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. ครูสุ่มนักเรียน 4-5 คน ออกมานำเสนอผลของการทดลอง เรื่องผลของแรงที่กระทำกับวัตถุ ผ่าน
Google Meet โดยครอบคลุมประเด็นทคี่ รูกำหนด
2. ครูให้นักเรยี นแต่ละคนทำใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง แรงลพั ธ์
3. ครูสุ่มตัวแทนออกมาอธิบายคำตอบในใบกิจกรรม เรื่อง แรงลัพธ์ ผ่าน Google Meet แล้วให้เพื่อน
คนอ่นื แสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เติมในสว่ นทีแ่ ตกตา่ ง
4. ครอู ธิบาย และสรปุ เพม่ิ เติมโดยใชส้ ่ือ Power Point เรอื่ ง แรงลพั ธ์ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจเก่ียวกับแรงลัพธ์
ว่า เม่ือมแี รงหลายแรงกระทำตอ่ วัตถุ แรงจะรวมกันเกิดเป็นแรงลพั ธ์ทมี่ ผี ลต่อการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ
31
ชั่วโมงท่ี 3
2.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูถามนักเรียนว่า มีใครเคยแข่งชักเย่อบ้างหรือไม่ จากนั้นครูให้ความรู้กับนักเรียนเพื่อเป็นการขยาย
ความรู้แก่นักเรียนว่า ชักเย่อเป็นกีฬาที่เกี่ยวข้องกับแรงลัพธ์ โดยฝ่ายที่ต้องการชนะต้องออกแรงให้
มากกว่าฝ่ายตรงข้ามเพ่ือให้ แรงลพั ธม์ ที ศิ ทางมาทางตนเอง และให้เชือกถูกดึงมาทางฝา่ ยตนเอง
2. ครูนำเสนอภาพการเข็นรถผู้ป่วย ภาพเข็นรถเข็นขึ้นทางลาดชันผ่าน Power Point ให้นักเรียนดู
จากน้ันอธิบายเร่อื งประโยชนข์ องแรงลพั ธใ์ หน้ ักเรียนฟัง
3. ครใู ห้นกั เรียนทำใบงานที่ 1-3 เรอ่ื งแรงลพั ธ์เพื่อขยายความเขา้ ใจของนักเรียน
2.5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation)
1. ครูประเมินนักเรียนโดยการใชเ้ กมออนไลน์ Kahoot
2. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง แรงลัพธ์
3. ครูให้นักเรียนถ่ายรูปใบงานที่ทำเสร็จแล้ว ส่งลงในอัลบั้ม Line วิชาวิทยาศาสตร์ ครูตรวจสอบเพ่ือ
ประเมนิ ผล
4. ครูตรวจสอบโดยประเมนิ พฤตกิ รรมการร่วมกิจกรรมการเรยี นของนักเรยี นระหวา่ งเรียน
5. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตั้งคำถามในระหว่างการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนเป็น
รายบคุ คล
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรียนรู้
3.1 สอื่ /อุปกรณก์ ารเรียนรู้
3.1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน ป.5
3.1.2 Power Point เรือ่ งแรงลพั ธ์
3.1.3 ใบงานที่ 1-3 เรอื่ ง แรงลัพธ์
3.1.4 ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง แรงลพั ธ์
3.1.5 อปุ กรณ์การเรยี น เชน่ เชือก เครื่องชัง่ สปรงิ ถุงทราย สมุดบนั ทกึ
3.1.6 Application Google Meet
3.1.7 เกมออนไลน์ Kahoot เร่อื ง แรงลัพธ์
3.1.8 แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรียน เร่อื ง แรงลัพธ์
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 อินเทอรเ์ น็ต
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ กี ารวัดผลการเรยี นรู้ 32
จุดประสงค์การเรยี นรู้
เกณฑก์ ารประเมินผล
ด้านความรู้ (K: Knowledge) - การถาม-ตอบ ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• อธบิ ายการหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ
ในแนวเดียวกันได้ - ตรวจใบงาน
- การนำเสนองานผ่าน
Google Meet
ด้านทกั ษะกระบวนการ(P: Process) - ตรวจสมุดบันทึก และ ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• เขียนแผนภาพแสดงแนวแรงที่กระทำ ใบงาน
ตอ่ วตั ถไุ ด้
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - การสังเกตพฤตกิ รรม ได้คะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนขน้ึ ไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
• นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสังเกตพฤตกิ รรม ได้ทักษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วิทยาศาสตร์ 3 ใน 4 ถือว่าผ่าน
การสงั เกต เกณฑ์
การคำนวณ/การใช้ตวั เลข
การวัด
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล
33
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 20 34
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 เรอ่ื งแรงลัพธ์และแรงเสยี ดทาน 9 ชัว่ โมง
หน่วยการเรียนรู้ย่อย 5.2 เร่ือง ลกั ษณะของแรงเสียดทาน 2 ช่ัวโมง
ครผู ู้สอน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนท่ี 2/2564
สาระท่ี 2 : วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 : เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุลักษณะการ
เคลอ่ื นที่แบบต่างๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 5 4. ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการ • แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่าง
เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุจาก ผิวสัมผัส ของวัตถุ เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของ
หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ วัตถุนั้น โดย ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่อยู่นิ่ง
5. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและ บนพื้นผิวหนึ่ง ให้เคลื่อนที่แรงเสียดทานจาก
แรง ที่อยใู่ นแนวเดยี วกนั ท่ีกระทำต่อวัตถ พื้นผิวนั้นก็จะต้าน การเคลื่อนที่ของวัตถุแต่ถ้า
วตั ถุกำลงั เคลื่อนท่ี แรงเสียดทานก็จะทำให้วัตถุ
นนั้ เคล่ือนท่ชี ้าลง หรือหยดุ น่งิ
1. กำหนดเป้าหมายของการจดั การเรียนรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เน้ือหาการเรียนรู้
- แรงเสียดทาน
- ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ แรงเสียดทาน
1.2 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดของเร่ืองทเี่ รียน
แรงเสียดทานเป็นแรงท่ีเกิดขึ้นระหวา่ งผิวสัมผัสของวตั ถุสองชิ้น โดยผิววตั ถหุ น่งึ ตา้ นทานการ
เคลื่อนท่ีของผิววตั ถุอีกผวิ หนึ่ง
35
1.3 จดุ ประสงค์การเรียนรู้: เมื่อผู้เรยี นจบกิจกรรมการเรียนรู้ ผเู้ รยี นสามารถ
ดา้ นความรู้ อธิบายลกั ษณะของแรงเสยี ดทานได้
(K: Knowledge)
ด้านทกั ษะกระบวนการ เขียนแผนภาพแสดงแนวแรงทอ่ี ยใู่ นระนาบเดยี วกับแรงเสียดทานได้
(P: Process)
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นมีความมุง่ ม่ันในการทำงาน และมีความรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ บั
(A: Attribute) มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต
การวดั การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
การคำนวณ/การใชต้ วั เลข ตวั แปร
การจำแนกประเภท การกำหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ
การจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมลู การตัง้ สมมติฐาน
การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกับ การทดลอง
เวลา การตคี วามหมายข้อมลู และลง
การพยากรณ/์ การทำนาย ขอ้ สรุป
การลงความเหน็ จากข้อมลู การสรา้ งแบบจำลอง
2. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ 5E โดยใชร้ ูปแบบออนไลนผ์ ่าน Google Meet
ช่ัวโมงที่ 1
2.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
5. ครูกลา่ วทักทายนกั เรียน พร้อมกับชแ้ี จงจดุ ประสงคใ์ นการเรียนรู้ผา่ น Google Meet
6. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง ลกั ษณะของแรงเสียดทาน
7. ครูนำกล่องกระดาษมา 2 ใบ กลอ่ งแรกใส่หนังสอื เรียน 5 เลม่ กล่องที่ 2 ใส่หนงั สือเรียน 8 เล่ม แล้วต้งั
คำถามกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี น โดยมแี นวคำถามดงั น้ี
- ถ้านักเรยี นผลกั กลอ่ งทัง้ 2 ใบไปบนพ้นื ห้องเรียน กลอ่ งใดไปได้ไกลทส่ี ดุ
- ถ้านักเรียนผลักกล่องใบที่ 1 บนพื้นเรียบกับพื้นขรุขระ พื้นชนิดใดทำให้กล่องเคลื่อนท่ีได้เรว็
กวา่ กัน
36
8. ครูให้นักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นพร้อมตอบคำถาม เพ่อื เช่อื ยโยงความรู้ไปสู่การเรียนรู้เรื่องแรง
เสยี ดทาน
2.2 ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
ครูกำหนดปัญหาให้นักเรยี นแต่ละคนได้สืบค้นข้อมูล โดยศึกษาความรู้เรื่อง แรงเสียดทาน ในหนังสือ
เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนา้ 116-117 และสืบค้นจากแหลง่ การเรียนร้อู ืน่ ๆ
เช่น อินเทอร์เนต็
กำหนดปญั หา คอื แรงเสยี ดทานท่เี กดิ ขึ้นระหว่างผวิ ของวัตถจุ ะมากหรอื นอ้ ยข้ึนอยู่กบั สง่ิ ใด
การทดลอง คือ การผลกั กล่องบนพืน้ เรยี บและพื้นขรุขระ จากนั้นใหน้ ักเรียนบนั ทึกผลการทดลองลง
ในสมดุ บันทึกของนักเรยี น
ชัว่ โมงที่ 2
2.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครใู ห้นักเรียนส่งตวั แทนห้องประมาณ 3-4 คน ออกมานำเสนอผลการสืบค้น ผ่าน Google Meet ใน
ประเด็นปัญหาที่กำหนดให้ โดยใช้ผลจากการทดลองผลักกล่องบนพื้นเรียบและพื้นขรุขระในการตอบ
ปัญหา โดยครเู ป็นผูต้ รวจสอบ
2. ครอู ธบิ าย และสรุปเพ่มิ เติมโดยใชส้ ่อื Power Point เรือ่ งลกั ษณะของแรงเสียดทาน ให้นักเรยี นฟังวา่
“ขนาดของแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นมากหรือน้อยขึ้นอยูก่ ับลกั ษณะของผวิ สัมผสั ท้งั 2 ชนิด คือ
- ถา้ ผิวสมั ผัสของวตั ถุเรียบจะทำใหเ้ กดิ แรงเสยี ดทานน้อย วัตถุเคลอ่ื นท่ีไดม้ าก
- ถา้ ผวิ สัมผสั ของวตั ถขุ รุขระจะทำใหเ้ กดิ แรงเสยี ดทานมาก วตั ถุเคล่ือนท่ีได้นอ้ ย”
2.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 4-5 เรอื่ ง แรงเสียดทาน และผลของแรงเสียดทาน
2. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 3 คน ออกมานำเสนอใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องแรงเสียดทาน ผ่าน Google Meet
และใหเ้ พอ่ื นคนอ่ืน ๆ ช่วยกนั แสดงความคิดเห็นในส่วนที่แตกต่าง
3. ครตู ั้งคำถามเพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจ โดยมแี นวคำถามดังน้ี
- แรงเสียดทานคืออะไร (ตัวอย่างคำตอบ : แรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเรา
พยายามเคล่ือนย้ายวตั ถแุ ละขณะวัตถเุ คล่ือนที่)
4. จากนั้นให้ครูสรุปเพิ่มเตมิ โดยเชือ่ มโยงเนอ้ื หาไปสู่เรื่องปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ แรงเสยี ดทาน
2.5 ข้ันประเมิน (Evaluation)
1. ครปู ระเมินนกั เรียนโดยใช้เกมออนไลน์ Kahoot
2. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง ลกั ษณะของแรงเสยี ดทาน
37
3. ครูให้นักเรียนถ่ายรูปใบงานและใบกิจกรรม เรื่อง แรงเสียดทาน ที่ทำเสร็จแล้ว ส่งลงในอัลบั้ม Line
วชิ าวิทยาศาสตร์ ครตู รวจสอบเพือ่ ประเมินผล
4. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมการเรียน การตอบคำถามของนักเรียนระหว่าง
เรียน
3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรียนรู้
3.1 สือ่ /อุปกรณ์การเรียนรู้
3.1.1 หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื ง แรงเสยี ดทาน
3.1.3 อุปกรณก์ ารเรียน เช่น กล่องกระดาษ หนงั สอื เรยี น สมดุ บันทกึ
3.1.4 Power Point เรอื่ ง ลกั ษณะของแรงเสยี ดทาน
3.1.5 ใบงานที่ 4 เรื่อง แรงเสยี ดทาน
3.1.6 ใบงานท่ี 5 เรื่อง ผลของแรงเสยี ดทาน
3.1.7 Application Google Meet
3.1.8 เกมออนไลน์ Kahoot เรอื่ ง ลักษณะของแรงเสียดทาน
3.1.9 แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรียน เรื่อง ลักษณะของแรงเสียดทาน
3.2 แหล่งการเรยี นรู้
3.2.1 อนิ เทอร์เน็ต
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการวัดผลการเรยี นรู้ 38
จุดประสงค์การเรียนรู้
เกณฑก์ ารประเมินผล
ด้านความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบงาน ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• อธบิ ายลกั ษณะของแรงเสยี ดทานได้
- การถาม-ตอบ
ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process)
• เขียนแผนภาพแสดงแนวแรงที่อยู่ใน - การนำเสนองานผ่าน
ระนาบเดยี วกับแรงเสียดทานได้
Google Meet
-
- ตรวจสมุดบันทึก และ ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ใบงาน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ - การสงั เกตพฤตกิ รรม ได้คะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนขน้ึ ไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
• นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสงั เกตพฤติกรรม ได้ทักษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผ่าน
การสงั เกต การทดลอง เกณฑ์
การวัด
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล
39
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 21 40
กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรอื่ งแรงลพั ธ์และแรงเสยี ดทาน 9 ชวั่ โมง
หนว่ ยการเรยี นร้ยู ่อย 5.3 เร่ือง การเพ่มิ และลดแรงเสียดทาน 2 ช่ัวโมง
ครูผูส้ อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นที่ 2/2564
สาระท่ี 2 : วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 : เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุลกั ษณะการ
เคลอ่ื นที่แบบต่างๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 5 4. ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการ • แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่าง
เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุจาก ผิวสัมผัส ของวัตถุ เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของ
หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ วัตถุนั้น โดย ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่อยู่น่ิง
5. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและ บนพื้นผิวหนึ่ง ให้เคลื่อนที่แรงเสียดทานจาก
แรง ที่อยู่ในแนวเดยี วกนั ทก่ี ระทำตอ่ วัตถ พื้นผิวนั้นก็จะต้าน การเคลื่อนที่ของวัตถุแต่ถ้า
วตั ถกุ ำลังเคลื่อนที่ แรงเสียดทานก็จะทำให้วัตถุ
นั้นเคล่ือนที่ชา้ ลง หรอื หยดุ นง่ิ
1. กำหนดเปา้ หมายของการจัดการเรียนรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เนอื้ หาการเรียนรู้
- การลดและเพิม่ แรงเสียดทาน
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเร่อื งที่เรยี น
กิจกรรมตา่ งๆ ตอ้ งการแรงเสยี ดทานไม่เท่ากัน จึงตอ้ งมกี ารเพ่ิมหรอื ลดแรงเสียดทานใหเ้ หมาะสมกบั
กิจกรรมที่กระทำ
41
1.3 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้: เมอื่ ผู้เรียนจบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผู้เรยี นสามารถ
ด้านความรู้ อธบิ ายการเพม่ิ หรือลดแรงเสียดทานในกจิ กรรมตา่ งๆได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ สืบคน้ ข้อมลู เก่ียวกบั ปจั จัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน และการลดและเพ่ิมแรง
(P: Process) เสยี ดทานได้
ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียนมีความมงุ่ ม่นั ในการทำงาน และมีความรบั ผิดชอบต่องานที่ไดร้ บั
(A: Attribute) มอบหมาย
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสงั เกต การกำหนดและควบคุมและควบคุม
การวดั ตัวแปร
การคำนวณ/การใชต้ วั เลข การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร
การจำแนกประเภท การต้ังสมมติฐาน
การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูล การทดลอง
การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับ การตคี วามหมายข้อมลู และลง
เวลา
การพยากรณ/์ การทำนาย ข้อสรปุ
การสรา้ งแบบจำลอง
การลงความเหน็ จากขอ้ มลู
2. การจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ 5E โดยใช้รูปแบบออนไลน์ผ่าน Google Meet
ช่วั โมงท่ี 1
2.1 ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
9. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรียน พรอ้ มกับชีแ้ จงจดุ ประสงคใ์ นการเรยี นรผู้ า่ น Google Meet
10. ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรือ่ ง การเพ่ิมและลดแรงเสียดทาน
2. ครยู กตวั อยา่ งสถานการณต์ ่าง ๆ ดงั น้ี
- การเดนิ บนถนน
- การยกแกว้ น้ำขึ้นดม่ื
- การข่จี กั รยาน
42
แล้วให้นักเรียนช่วยกันอธิบายลักษณะพื้นผิวที่ทำให้เกิดแรงเสียดทานและผลของแรงเสียดทานที่
อาจเกิดขน้ึ ได้จากสถานการณท์ ค่ี รูไดก้ ำหนดไว้ให้
2.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูสนทนากับนักเรยี นว่า ขณะท่ีเราทำกิจกรรมบางอยา่ งจะเกดิ แรงเสียดทานมากหรือน้อยแตกต่างกัน
จงึ จำเป็นตอ้ งลดและเพิ่มแรงเสียดทาน เพอ่ื ให้วัตถุเคลอื่ นทไ่ี ดส้ ะดวกข้นึ
2. ให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน และการลดและเพิ่มแรงเสียด
ทาน ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน้า 117-
118 และจากแหลง่ อนื่ ๆ เชน่ อินเทอร์เนต็
3. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะคนทำใบกิจกรรมท่ี 3 เรื่อง การลดและเพม่ิ แรงเสียดทาน
ชัว่ โมงที่ 2
2.3 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 5 คน ออกมานำเสนอใบกิจกรรมผ่าน Google Meet แล้วให้เพื่อนๆ ช่วยกัน
แสดงความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ในส่วนที่แตกตา่ ง
2. ครูสมุ่ เลือกนกั เรยี น 5 คน สรปุ ความรเู้ ร่ือง การลดและเพ่ิมแรงเสียดทาน เพื่อใหม้ คี วามเขา้ ใจตรงกนั
3. ครสู รุปเรอื่ งการลดและเพิ่มแรงเสยี ดทานโดยใช้ส่ือ Power Point เรื่อง การลดและเพ่ิมแรงเสียดทาน
และตง้ั คำถามเพ่อื เชอ่ื มโยงไปสู่ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของแรงเสยี ดทาน
2.4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละคนทำใบงานที่ 6 ลกั ษณะพืน้ ผวิ ต่อแรงเสียดทาน
2. ครูขออาสาสมัครนักเรียนเพื่อออกมาอธิบายผ่าน Google Meet เกี่ยวกับลักษณะของแรงเสียดทาน
และการนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของแรงเสยี ดทาน
2.5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation)
1. ครปู ระมนิ นกั นักเรยี นโดยการใชเ้ กมออนไลน์ Kahoot
2. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง การเพม่ิ และลดแรงเสียดทาน
3. ครใู หน้ ักเรยี นถ่ายรูปใบงานและใบกิจกรรม เรือ่ ง การลดและเพม่ิ แรงเสยี ดทาน ที่ทำเสรจ็ แลว้ ส่งลงใน
อลั บั้ม Line วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ครูตรวจสอบเพือ่ ประเมินผล
4. ครูตรวจสอบโดยประเมนิ พฤตกิ รรมการรว่ มกิจกรรมของนกั เรยี นระหว่างเรียน
5. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตั้งคำถามในระหว่างการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนเป็น
รายบคุ คล
43
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหลง่ เรยี นรู้
3.1 สอื่ /อุปกรณ์การเรยี นรู้
3.1.1 หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 3 เรอ่ื ง การลดและเพิ่มแรงเสียดทาน
3.1.3 ใบงานท่ี 6 ลักษณะพ้ืนผิวตอ่ แรงเสียดทาน
3.1.4 Power Point เร่อื ง การลดและเพมิ่ แรงเสยี ดทาน
3.1.5 Application Google Meet
3.1.6 เกมออนไลน์ Kahoot เรือ่ ง การเพิม่ และลดแรงเสยี ดทาน
3.1.7 แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น เรือ่ ง การเพ่มิ และลดแรงเสยี ดทาน
3.2 แหลง่ การเรยี นรู้
3.2.1 อินเทอร์เน็ต
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการวดั ผลการเรยี นรู้ 44
- ตรวจใบงานและใบ
จุดประสงค์การเรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมินผล
กจิ กรรม ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - การถาม-ตอบ
• อธิบายการเพิ่มหรือลดแรงเสียดทาน - การนำเสนองานผ่าน ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
ในกจิ กรรมต่างๆได้
Google Meet ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process) - การถาม-ตอบ 8 คะแนนข้นึ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์
• สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ
แรงเสียดทาน และการลดและเพิ่มแรง - การสังเกตพฤติกรรม ได้ทกั ษะกระบวนการทาง
เสียดทาน วทิ ยาศาสตร์ 2 ใน 3 ถือว่าผ่าน
ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - การสงั เกตพฤติกรรม
(A: Attribute) เกณฑ์
• นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต
การจำแนกประเภท
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มลู