The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

108สุกัญญา ทองเพ็ญ สาขาวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mayffk-2012, 2022-03-03 01:32:40

108สุกัญญา ทองเพ็ญ สาขาวิทยาศาสตร์

108สุกัญญา ทองเพ็ญ สาขาวิทยาศาสตร์

45

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 22 46

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เรื่องแรงลัพธแ์ ละแรงเสียดทาน 9 ช่วั โมง
หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อย 5.4 เร่ือง ข้อดีและข้อเสยี ของแรงเสยี ดทาน 2 ช่ัวโมง
ครผู สู้ อน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นท่ี 2/2564

สาระท่ี 2 : วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 : เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุลักษณะการ

เคลือ่ นทีแ่ บบต่างๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป. 5 4. ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการ • แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่าง

เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุจาก ผิวสัมผัส ของวัตถุ เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของ

หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ วัตถุนั้น โดย ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่อยู่น่ิง

5. เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและ บนพื้นผิวหนึ่ง ให้เคลื่อนที่แรงเสียดทานจาก

แรง ท่อี ยใู่ นแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถ พื้นผิวนั้นก็จะต้าน การเคลื่อนที่ของวัตถุแต่ถ้า

วัตถกุ ำลังเคล่ือนท่ี แรงเสียดทานก็จะทำให้วัตถุ

นน้ั เคลอ่ื นท่ีชา้ ลง หรอื หยุดนิง่

1. กำหนดเปา้ หมายของการจัดการเรียนรู้

1.1 สาระการเรยี นรู้/เน้ือหาการเรียนรู้
- การลดและเพ่มิ แรงเสยี ดทาน

1.2 สาระสำคญั /ความคิดรวบยอดของเร่ืองทีเ่ รยี น
แรงเสยี ดทานทเ่ี กดิ ขึน้ ในชีวิตประจำวันมีทั้งผลดแี ละผลเสยี ขน้ึ อยกู่ บั กจิ กรรมท่ีกระทำ

47

1.3 จุดประสงค์การเรยี นรู้: เม่ือผู้เรยี นจบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผู้เรยี นสามารถ

ดา้ นความรู้ อธบิ ายผลของแรงเสยี ดทานท่ีเกิดข้ึนในชวี ิตประจำวันได้

(K: Knowledge)

ด้านทักษะกระบวนการ สำรวจแรงเสียดทานท่ีเกดิ ข้ึนในชีวิตประจำวนั ได้

(P: Process)

ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรยี นมีความมุ่งม่นั ในการทำงาน และมีความรับผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ บั

(A: Attribute) มอบหมาย

ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)

 การสังเกต  การกำหนดและควบคุมและควบคุม
ตวั แปร
 การวัด
 การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ัติการ
 การคำนวณ/การใชต้ ัวเลข  การต้ังสมมตฐิ าน
 การจำแนกประเภท  การทดลอง
 การจัดกระทำและสอื่ ความหมายข้อมูล  การตีความหมายข้อมลู และลง

 การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับ ข้อสรุป
เวลา  การสรา้ งแบบจำลอง

 การพยากรณ/์ การทำนาย

 การลงความเห็นจากข้อมูล

2. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ 5E โดยใชร้ ูปแบบออนไลน์ผ่าน Google Meet

ชวั่ โมงที่ 1

2.1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครกู ล่าวทักทายนักเรยี น พร้อมกบั ชีแ้ จงจดุ ประสงคใ์ นการเรียนรผู้ า่ น Google Meet
2. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรือ่ ง ข้อดแี ละข้อเสยี ของแรงเสยี ดทาน
3. ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นและพูดคุยกันว่า แรงเสียดทานเกย่ี วข้องกบั การดำเนนิ
ชวี ติ ประจำวนั ของเราอยา่ งไร
4. ครูอธบิ ายเพ่ิมเติม และยกตวั อย่างให้นักเรียนฟงั ว่า ในขณะทนี่ กั เรยี นวิ่งในสนามหญา้ แรงเสียดทาน
ระหวา่ งพื้นรองเท้ากับพื้นหญ้า ช่วยทำใหน้ กั เรียนไม่ลืน่ ขณะล้มขณะวิง่

48

2.2 ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคนศึกษาเนื้อหา ข้อดีและข้อเสยี ของแรงเสียดทาน ในหนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 หน้า 119
2. ครูให้นักเรียนสำรวจแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน แล้วบันทึกข้อมูลลงในใบกิจกรรม ที่ 4
เรอ่ื ง ผลของแรงเสยี ดทาน

ชัว่ โมงท่ี 2
2.3 ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

1. ครใู ห้นักเรยี นช่วยกันสรุป ใหม้ คี วามเข้าใจตรงกนั และเพอื่ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น
2. ครสู ุ่มนักเรยี น 3-5 คนมาเสนอผ่าน Google Meet โดยมคี รูตรวจสอบความถูกตอ้ ง
3. ครูอธิบายและสรุปเรอ่ื ง การลดและเพมิ่ แรงเสียดทาน โดยใชส้ อื่ Power Point
2.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูตั้งคำถาม เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจ โดยมคี ำถาม ดังนี้

- ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า ถ้าไม่มีแรงเสียดทาน จะมีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนเรา
หรอื ไม่ อย่างไร
2. ครใู หน้ ักเรียนทำใบงานท่ี 7 เรอ่ื ง ทศิ ของแรงเสียดทาน เพื่อขยายความเขา้ ใจ
2.5 ข้นั ประเมิน (Evaluation)
6. ครปู ระมนิ นกั นกั เรยี นโดยการใชเ้ กมออนไลน์ Kahoot
7. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของแรงเสียดทาน
8. ครูให้นักเรียนถ่ายรูปใบงานและใบกิจกรรม ที่ทำเสร็จแล้ว ส่งลงในอัลบั้ม Line วิชาวิทยาศาสตร์ ครู
ตรวจสอบเพอ่ื ประเมินผล
9. ครตู รวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการรว่ มกิจกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
10. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตั้งคำถามในระหว่างการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนเป็น
รายบุคคล

3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
3.1 ส่ือ/อปุ กรณก์ ารเรียนรู้
3.1.1 หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน ป.5
3.1.2 ใบกิจกรรมที่ 4 เร่ือง ผลของแรงเสียดทาน
3.1.3 ใบงานท่ี 7 เร่อื ง ทิศของแรงเสยี ดทาน

49

3.1.4 Power point เรอ่ื ง ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของแรงเสียดทาน
3.1.5 Application Google Meet
3.1.6 เกมออนไลน์ Kahoot เรื่อง ข้อดแี ละขอ้ เสียของแรงเสยี ดทาน
3.1.7 แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรียน เร่ือง ขอ้ ดีและข้อเสยี ของแรงเสยี ดทาน
3.2 แหลง่ การเรยี นรู้
3.2.1 อินเทอรเ์ น็ต

4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธกี ารวัดผลการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมนิ ผล
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - การถาม-ตอบ ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75
- การนำเสนองานผ่าน
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายผลของแรงเสียดทานที่เกิดข้ึน Google Meet
ในชีวิตประจำวันได้ - ตรวจใบงาน และใบ ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
8 คะแนนขึ้นไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process) กจิ กรรม
• สำรวจแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นใน - การสังเกตพฤติกรรม ไดท้ ักษะกระบวนการทาง
ชวี ิตประจำวันได้ วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผา่ น
ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - การสังเกตพฤติกรรม
(A: Attribute) เกณฑ์
• นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
 การสงั เกต
 การพยากรณ/์ การทำนาย
 การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ข้อมูล
 การจำแนกประเภทขอ้ มลู

50

51

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 เสียงและการได้ยิน
แผนที่ 23-29

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 52

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรื่องเสยี งและการได้ยิน 14 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ย่อย 6.1 เร่ือง การเกิดเสียง 3 ชั่วโมง
ครผู ู้สอน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นที่ 2/2564

สาระที่ 2 : วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กบั เสียง แสง และคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้งั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. 5 1. อธิบายการได้ยนิ เสยี งผ่านตัวกลางจาก • การไดย้ ินเสยี งตอ้ งอาศัยตวั กลาง โดยอาจเป็น

หลกั ฐาน เชิงประจกั ษ์ ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะส่งผ่าน

ตวั กลางมายงั หู

1. กำหนดเป้าหมายของการจัดการเรยี นรู้

1.1 สาระการเรยี นรู้/เนอ้ื หาการเรยี นรู้
- หลักการของการเกิดเสยี ง

1.2 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดของเร่อื งทเ่ี รียน
เสยี งเกิดจากการส่ันของวัตถุ วตั ถทุ ที่ ำใหเ้ กิดเสยี งเปน็ แหล่งกำเนิดเสยี งตามธรรมชาติ และ
แหลง่ กำเนิดเสียงท่ีมนษุ ยส์ ร้างขึน้ เสียงเคล่ือนทอี่ อกจากแหลง่ กำเนดิ เสยี งทุกทศิ ทาง

53

1.3 จดุ ประสงค์การเรียนรู้: เม่อื ผู้เรยี นจบกจิ กรรมการเรียนรู้ ผูเ้ รียนสามารถ

ด้านความรู้ อธบิ ายหลักการเกิดเสยี งได้

(K: Knowledge)

ด้านทกั ษะกระบวนการ ทดลองเรื่องหลกั การเกิดเสียงได้

(P: Process)

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรยี นสามารถทำงานร่วมกับผู้อนื่ และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานท่ีไดร้ บั

(A: Attribute) มอบหมาย

ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)

 การสงั เกต  การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
 การคำนวณ/การใชต้ ัวเลข ตวั แปร
 การวดั
 การจำแนกประเภท  การกำหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ
 การจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมูล
 การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส และสเปสกับ  การตัง้ สมมติฐาน
 การทดลอง
เวลา
 การพยากรณ/์ การทำนาย  การตีความหมายข้อมูลและลง
 การลงความเหน็ จากข้อมูล ข้อสรปุ

 การสรา้ งแบบจำลอง

2. การจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ 5E

ชัว่ โมงท่ี 1

2.1 ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครนู ำกระดง่ิ ข้นึ มาชูบรเิ วณหนา้ หอ้ งเรียน และตัง้ คำถามกบั นักเรียน
- ส่ิงทีอ่ ยู่ในมอื ครูเรยี กว่าอะไร
- ถ้าครูส่นั กระดิง่ นกั เรียนคดิ ว่าจะเกดิ อะไรขึน้
2. ครูตงั้ คำถามต่อวา่ “นักเรยี นเคยสงสัยหรอื ไมว่ า่ เสียงคืออะไรและเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร” โดยคำถามน้ีเป็น
การโยงไปสู่เรือ่ งการเกิดเสียง เพื่อให้นักเรียนเกิดความสงสัยในประเด็นปัญหาและนำไปสู่ข้ันตอนการ
หาคำตอบ

54

2.2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กนั แล้วให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ สืบค้นคำตอบจากประเดน็ คำถาม
ทไ่ี ด้ต้ังไว้ โดยศกึ ษาความรเู้ ร่ือง เสียงกบั การได้ยนิ หนา้ 126-128 ในหนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 และสืบคน้ ข้อมูลความรจู้ ากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ
เชน่ ห้องสมดุ อนิ เทอรเ์ น็ต
2. เม่ือนักเรยี นช่วยกันสบื ค้นข้อมลู ท่ีเป็นคำตอบของคำถามได้แล้ว ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มจดบนั ทกึ ลง
สมดุ

2.3 ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสืบค้น หนา้ หอ้ งเรยี น
2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรปุ และอภิปรายผลทีไ่ ด้การค้น แล้วใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั สรปุ ออกมา
ในรปู แบบของแผนภาพลงในใบกิจกรรมที่ 5 เร่ือง การเกิดเสียง
3. ครสู รุปเร่อื งการเกดิ เสียงวา่ “เสียงเกดิ จากการส่ันสะเทือนของวตั ถุ หรือเกิดจากการสน่ั สะเทือนของ
แหลง่ กำเนดิ เสยี ง”

2.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลุ่มยกตวั อยา่ ง เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ในชีวติ ประจำวัน ที่เมื่อเกิดการส่นั สะเทือนแล้วทำ
ให้เกิดเสยี ง กลมุ่ ละ 2 ตัวอยา่ ง

2.5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation)
1. ครตู รวจสอบความถูกต้องในใบกจิ กรรมท่ี 5 เร่ือง การเกิดเสียง เพอ่ื ประเมนิ ผล
2. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตัง้ คำถามในระหว่างการร่วมกิจกรรมเป็นรายบุคคล

ช่วั โมงท่ี 2
2.1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1. ครูกล่าวทักทายและทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิดเสียงว่า เสียงเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่เกิดจาก
การสั่นสะเทือนของวตั ถุ หรือการสัน่ สะเทือนของแหลง่ กำเนิด เช่น การดดี กีตาร์ การสีซอ

2. ครูหยิบไม้บรรทดั พลาสตกิ ออกมาหนา้ หอ้ งเรยี น พรอ้ มกบั ต้งั คำถามกระตุ้นความคิดนักเรยี นวา่
- ส่งิ ทอี่ ย่ใู นมือครูเรียกวา่ อะไร
- ถา้ ครถู อื ไมบ้ รรทดั ไวน้ ิง่ ๆ นักเรียนคิดวา่ จะเกิดเสียงหรือไม่
- นกั เรยี นคดิ วา่ เราสามารถทำใหไ้ ม้บรรทดั นีเ้ กดิ เสยี งได้หรือไม่

3. ครตู ั้งคำถามตอ่ อีกวา่ “ถา้ นักเรียนสามารถทำใหไ้ ม้บรรทัดน้ีเกดิ เสยี งได้ นกั เรียนมวี ธิ กี ารอย่างไรท่ีทำ
ให้เกิดเสียง” โดยคำถามนี้ครูไม่จำเป็นต้องบอกคำตอบนักเรียน แต่ถามเพื่อให้นักเรียนเกิดความ

55

สงสัยในประเด็นปัญหาและนำไปสู่ขั้นตอนการหาคำตอบผ่านการทำกิจกรรมที่ 6 เรื่อง เสียงจากไม้
บรรทัด
2.2 ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุม่ กล่มุ ละเทา่ ๆ กนั แลว้ ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทำกิจกรรมเรอื่ ง เสยี งจากไม้บรรทัด
โดยให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษาข้ันตอนการทดลองในใบกิจกรรมท่ี 6 เรื่อง เสียงจากไมบ้ รรทดั โดยครู
ทำหนา้ ทคี่ อยใหค้ ำแนะนำเม่อื นักเรียนเกิดความสงสัย หรือไม่สามารถดำเนนิ การทดลองได้
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มเมื่อทำการทดลองแลว้ ใหจ้ ดบนั ทึกข้อมูลที่ได้ ลงในตารางบันทึกผลการสำรวจในใบ
กิจกรรมท่ี 6 เรอื่ ง เสยี งจากไม้บรรทัด
2.3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดลองหน้าห้องเรยี น
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดยครูใช้คำถามหลังทำกิจกรรม
ดงั น้ี

- ขณะที่ปลายไม้บรรทดั อย่นู ่งิ ได้ยินเสียงหรอื ไม่
- เมือ่ กดปลายไมบ้ รรทดั แล้วปล่อย จะเกิดผลอย่างไร
- การกดปลายไม้บรรทัดครั้งแรก กับการกดด้วยแรงมากขึ้นครั้งที่ 2 มีผลเหมือนกันหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
- ในการทำกิจกรรมน้นี กั เรยี นใชป้ ระสาทสัมผัสใดบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและอภิปรายผลที่ได้จากการทำกิจกรรมเรื่อง เสียงจากไม้บรรทัด และให้
นักเรียนเขียนลงในใบกจิ กรรมให้สมบรู ณ์

ช่วั โมงท่ี 3
2.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)

1. จากการทำกิจกรรม ทำให้นักเรียนทราบว่านักเรียนสามารถทำให้ไม้บรรทัดเกิดเสียงได้ โดยเสียงจะ
เกิดเมื่อไม้บรรทัดสัน่ สะเทือน และจากการทำกิจกรรมในครัง้ น้ีนักเรียนเคยสงสัยไหมว่าเสียงที่เราพดู
หรอื ร้องเพลงเกดิ จากการส่นั ของอวยั วะใดในร่างกาย โดยทำดงั นี้
- ครใู หน้ ักเรียนพดู ช่ือตนเองพรอ้ มกับใหน้ ักเรยี นใช้มือตนเองแตะทีล่ ำคอด้านหนา้
- ครถู ามนกั เรียนวา่ จากการสมั ผัสนักเรยี นร้สู ึกอย่างไร

2. เมื่อนกั เรียนตอบคำถามเสรจ็ ครอู ธิบายเพ่ิมเติมความร้ใู หก้ ับนกั เรยี นวา่
“จากการสมั ผสั นักเรยี นจะรู้สึกว่า มอี วยั วะบางอย่างเกิดการส่ันอยภู่ ายในลำคอ ซงึ่ อวัยวะน้ันคือเส้นเสียง
โดยเมือ่ เราพดู หรือร้องเพลง เสน้ เสยี งท่อี ยู่ในลำคอจะสนั่ สะเทือน จงึ ทำใหเ้ กดิ เสียงขึ้นมา เช่นเดียวกันกับ
การดีดสายเครื่องดนตรี เช่น กีตาร์ หรือการตีกลอง จะทำให้สายกีตาร์ หรือหนังกลองสั่นสะเทือน การ

56

สั่นสะเทือนนี้ส่งผลให้อนุภาคของอากาศสั่นไปด้วย ทำให้เกิดพลังงานเสียงเคลื่อนที่มายังหูของเรา ทำให้
เราไดย้ ินเสียง”
3. ครูให้นกั เรยี นทำใบงานที่ 1 เรื่อง การเกดิ เสยี ง
2.5 ขนั้ ประเมนิ (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกต้องในใบกจิ กรรมท่ี 6 เรื่อง เสยี งจากไม้บรรทดั เพอื่ ประเมนิ ผล
2. ครตู รวจสอบความถกู ตอ่ งในใบงานที่ 1 เรือ่ ง การเกดิ เสียง เพอ่ื ประเมนิ ผล
3. ครูตรวจสอบโดยประเมนิ พฤติกรรมการร่วมกิจกรรมของนักเรียนระหวา่ งเรยี น
4. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตัง้ คำถามในระหว่างการร่วมกิจกรรมเปน็ รายบุคคล

3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรยี นรู้
3.1 สอื่ /อุปกรณ์การเรียนรู้
3.1.1 หนังสือเรยี นวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 5 เร่ือง การเกดิ เสยี ง
3.1.3 ใบกจิ กรรมที่ 6 เรื่อง เสียงจากไม้บรรทดั
3.1.4 ใบงานท่ี 1 เรื่อง การเกิดเสียง
3.1.5 อุปกรณ์การเรยี น เชน่ สมดุ บันทึก ไม้บรรทดั
3.2 แหลง่ การเรยี นรู้
3.2.1 ห้องเรยี น
3.2.2 ห้องสมุด
3.2.3 อินเทอร์เน็ต

57

4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วิธีการวัดผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การประเมนิ ผล
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
- ตรวจใบงาน ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge)
• อธบิ ายหลกั การเกดิ เสียงได้ - การถาม-ตอบ

- การนำเสนองานหนา้ ชน้ั

เรยี น

ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process) - สังเกตพฤตกิ รรมการ ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• ทดลองเรอ่ื งหลกั การเกดิ เสียงได้ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่ม

- ตรวจใบกจิ กรรม

ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - การสังเกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) - การสงั เกตพฤติกรรม 8 คะแนนข้นึ ไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ ไดท้ กั ษะกระบวนการทาง
มอบหมาย วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผา่ น
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills) เกณฑ์
 การสังเกต
 การวัด
 การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล
 การทดลอง

58

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 24 59

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 เร่ืองเสียงและการได้ยิน 14 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ย่อย 6.2 เรื่อง แหล่งกำเนิดเสียง 3 ชั่วโมง
ครูผสู้ อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นที่ 2/2564

สาระท่ี 2 : วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับเสยี ง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 5
1. อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจาก • การไดย้ ินเสียงต้องอาศยั ตัวกลาง โดยอาจเป็น

หลักฐาน เชงิ ประจกั ษ์ ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะส่งผ่าน

ตวั กลางมายงั หู

1. กำหนดเปา้ หมายของการจดั การเรียนรู้

1.1 สาระการเรียนรู้/เน้ือหาการเรียนรู้
- ประเภทของแหลง่ กำเนดิ เสียง

1.2 สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดของเรื่องทเี่ รยี น
เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่ทำให้เกิดเสียงเป็นแหล่งกำเนิดเสียงตามธรรมชาติ และ
แหลง่ กำเนิดเสยี งทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขึ้น เสียงเคล่อื นที่ออกจากแหล่งกำเนิดเสียงทุกทิศทาง

60

1.3 จุดประสงค์การเรียนรู้: เม่อื ผเู้ รียนจบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผ้เู รียนสามารถ

ดา้ นความรู้ 1. จำแนกเสียงที่ได้ยินตามประเภทของแหล่งกำเนิดเสียงได้

(K: Knowledge) 2. อธบิ ายวิธกี ารทำใหเ้ กิดเสยี งได้

ด้านทกั ษะกระบวนการ สร้างแบบจำลองแหลง่ กำเนิดเสยี งจากกระดาษได้
(P: Process)
ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
(A: Attribute) มอบหมาย

ดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การกำหนดและควบคุมและควบคุม
(Sc.P: Science Process Skills) ตัวแปร

 การสงั เกต  การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร

 การวัด  การต้ังสมมตฐิ าน

 การคำนวณ/การใช้ตัวเลข  การทดลอง
 การจำแนกประเภท
 การจัดกระทำและสอื่ ความหมายขอ้ มูล  การตีความหมายข้อมูลและลง
ขอ้ สรปุ
 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับ
เวลา  การสร้างแบบจำลอง

 การพยากรณ/์ การทำนาย

 การลงความเหน็ จากข้อมลู

2. การจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ 5E

ชั่วโมงท่ี 1

2.1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูนำนกหวดี มาเป่าหน้าห้องเรยี น พรอ้ มกับโบกมือคล้ายตำรวจจราจร (อาจจะแสดงท่าทางอื่นได้ตาม
ความเหมาะสม เพื่อดึงดูดความสนใจของนกั เรียน)
2. ครูตั้งคำถามกระตุ้นความสนใจนักเรียนว่า จากการแสดงพฤติกรรมของครูเมื่อครู่ นักเรียนจะได้ยิน
เสยี งนกหวดี ซึ่งนกหวดี เปน็ วตั ถทุ ่ีสามารถทำให้เกิดเสียงได้ เราเรียกสิ่งทที่ ำให้เกดิ เสยี งได้น้ันว่าอะไร
3. ครูสรุปประเด็นคำถามโดยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งที่ทำให้เกิดเสียงนั้นเรียกว่า “แหล่งกำเนิด
เสยี ง”

61

4. เพื่อให้นักเรียนเข้าใจแหล่งกำเนิดเสียงมากยิ่งขึ้น ครูร้องเพลง “หากพวกเรากำลังสบาย” ให้นักเรียน
ฟัง พรอ้ มกับให้นักเรยี นตบมือเปน็ จงั หวะตามเพลง
เนื้อเพลงหากพวกเรากำลงั สบาย
“หากพวกเรากำลงั สบายจง ตบมอื พลนั
หากพวกเรากำลังสบายจง ตบมอื พลนั
หากพวกเรากำลงั มสี ุข หมดความทุกข์ไปแล้วทุกสง่ิ
มวั ประวงิ อะไรกันเล่า จง ตบมอื พลนั ”

5. ครูตงั้ คำถามกระต้นุ ความคดิ นักเรยี น โดยมแี นวคำถาม ดังน้ี
- จากการท่คี รูรอ้ งเพลงเมื่อครู่น้ี นักเรยี นคิดว่า มีแหล่งกำเนิดเสียงทั้งหมดกี่แหล่ง

(ถา้ หากนกั เรยี นไม่สามารถตอบได้ ครอู าจจะช่วยโดยการบอกแนวคำตอบ)
- เสียงพดู ของครกู บั เสยี งตบมือ นักเรยี นคิดว่าแหลง่ กำเนิดเสยี งท้ังสองนีแ้ ตกต่างกันอยา่ งไร

(ถา้ หากนกั เรยี นไม่สามารถตอบได้ ครอู าจจะชว่ ยโดยการบอกแนวคำตอบ)
6. ครูสรปุ ประเด็นคำถามโดยช้ีใหเ้ ห็นวา่

“แหล่งกำเนิดเสียงทั้งสองมีความแตกต่างกันคอื เสน้ เสียงเปน็ แหลง่ กำเนิดเสยี งในการพูดของ
ครู โดยเสยี งจากการพูดเปน็ เสยี งทีเ่ กิดจากธรรมชาตสิ ร้างข้นึ ธรรมชาติสรรค์สรา้ งใหม้ นษุ ย์สามารถพูด
หรือสื่อสารได้ด้วยเสียง แต่เสียงจากการตบมือ แหล่งกำเนิดเสียงคือมือของเรา เป็นเสียงที่เราเป็น
ผู้กระทำให้เกิดขึ้น นั่นคือเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้นมา ดังนั้นเราจึงแบ่งแหล่งกำเนิดเสียงออกเป็น 2
ประเภทคือ แหลง่ กำเนดิ เสียงจากธรรมชาติ และแหล่งกำเนิดเสยี งทม่ี นษุ ยส์ ร้างข้นึ ”
7. ครูตง้ั คำถามชวนคิดตอ่ วา่

- เสียงฟ้าร้อง เสยี งวทิ ยุ เสียงดนตรี เสียงน้ำตก และเสียงอ่ืนๆ เสยี งเหลา่ นเ้ี ปน็ เสียงประเภทใด
- แลว้ เราได้ยนิ เสยี งเหล่าน้ีได้อยา่ งไร
โดยคำถามนี้ครูไม่จำเป็นต้องตอบนักเรียน แต่ให้นักเรียนได้ศึกษาผ่านการทำกิจกรรมเรื่อง
แหล่งกำเนิดเสยี งและการไดย้ นิ เสยี ง
2.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่องแหล่งกำเนิดเสียง
หนา้ 127- 128 ในหนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5
2. ครูเปดิ คลิปวีดโิ อเกย่ี วกับเสยี งต่าง ๆ แล้วให้นักเรียนปรึกษากนั ในกล่มุ โดยช่วยกนั ระบวุ า่
- เสียงท่ีไดย้ ินมีเสยี งอะไรบา้ ง
- แต่ละเสยี งมีแหลง่ กำเนิดมาจากอะไร

62

- ให้จำแนกเสียงที่ได้ยินตามประเภทของแหล่งกำเนิดเสียง และจดบันทึกลงในสมุดบันทึกของ
นกั เรียน โดยใหเ้ วลาในการตอบ 10 นาที และเมอ่ื หมดเวลาครูจะเป่านกหวีด 1 ครงั้

3. เมอ่ื หมดเวลาครูเปา่ นกหวีด 1 คร้ัง เพือ่ เป็นสญั ญาณวา่ หมดเวลาในการตอบแล้ว
4. ครูพูดเชื่องโยงเนื้อหาว่า จากการเป่านกหวีดของครูนักเรียนแต่ละกลุ่มจะทราบทันทีว่าหมดเวลาใน

การตอบแล้ว และทุกกลุ่มก็จะหยุดทำกิจกรรมทันที ทั้งนี้เป็นเพราะนักเรียนทุกคนได้ยินเสียงนกหวดี
ให้สญั ญาณ แล้วนักเรียนเคยคิดหรอื ไมว่ ่า เราไดย้ ินเสียงนกหวีดได้อย่างไร
5. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ สบื ค้นขอ้ มูลเก่ียวกบั การได้ยนิ เสียงว่า มกี ระบวนการและองคป์ ระกอบอย่างไร
จากหนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5

ช่ัวโมงที่ 2
2.3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)

1. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอข้อมลู ที่ได้จากการทำกจิ กรรมหน้าหอ้ งเรยี น
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุป โดยเขียนลงในใบกิจกรรมที่ 7 เรื่อง แหล่งกำเนิดเสียงและ

การไดย้ ินเสียง โดยร่วมกันสรปุ ออกมาในรูปแบบของแผนผังความคดิ
2.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)

1. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างแหล่งกำเนิดเสียงท่ีนอกเหนือจากท่ีเรียนในวันนี้ โดยเป็นแหล่งกำเนิดเสียงที่
นักเรียนพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน พร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นแหล่งกำเนิดเสียงประเภทใด กลุ่มละ 2
ตัวอย่าง

2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการได้ยินเสียงว่า “เมื่อแหล่งกำเนิดเสียงสั่นจะส่งพลังงานผ่านอากาศรอบ
แหล่งกำเนิดเสียง ทำให้อากาศบริเวณรอบๆ เกิดการสั่นสะเทือนไปด้วย ซึ่งอากาศเป็นตัวกลางในการ
นำพลงั งานเสยี งเคลอื่ นท่ไี ปยังหขู องเรา จงึ ทำให้เราได้ยินเสยี ง”

3. ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ เก่ียวกับหูว่า “ในหูของเราจะมอี วัยวะหนึง่ เรียกว่า เย่อื แกว้ หู ซึง่ เย่ือแก้วหูมลี กั ษณะ
เปน็ เยือ่ บาง ๆ อยู่ลึกเขา้ ไปในรหู ู เราต้องระวงั อย่าให้เยื่อแก้วหไู ด้รบั อนั ตราย เพราะอาจทำให้หูหนวก
ได้ เชน่ การไม่ฟงั เสยี งดังจนเกนิ ไป ไม่แคะหูด้วยของแขง็ หรือของมีคม ไมต่ ะโกนเสยี งดังใส่หเู พ่อื น”

4. ครใู ห้นกั เรยี นทำใบงานที่ 2 เร่อื ง แหลง่ กำเนิดเสียง
2.5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation)

1. ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งในใบกจิ กรรมท่ี 7 เร่อื ง แหล่งกำเนิดเสียงและการได้ยินเสยี ง เพื่อประเมินผล
2. ครูตรวจสอบความถกู ต้องของใบงานท่ี 2 เรื่อง แหลง่ กำเนิดเสียง เพ่ือประเมนิ ผล
3. ครูตรวจสอบโดยประเมนิ พฤตกิ รรมการรว่ มกจิ กรรมของนกั เรียนระหวา่ งเรียน
4. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การต้ังคำถามในระหว่างการรว่ มกจิ กรรมเปน็ รายบุคคล

63

ชวั่ โมงท่ี 3
2.1 ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)

1. ครูชวนนักเรียนสนทนาทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการได้ยินเสียง โดยพูดเชื่อมโยงความรู้ให้นักเรียน
เห็นว่า การได้ยินเสียงมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ แหล่งกำเนิดเสียง ตัวกลางในการนำเสียงและ
อวัยวะการรับเสียง โดยองค์ประกอบทั้ง 3 ประการ มีกระบวนการทำงานที่สัมพันธ์กันจึ งทำให้เรา
สามารถได้ยนิ เสยี งได้

2. ครูหยิบโทรศัพท์มาแล้วแสดงท่าทางว่า คุยโทรศัพท์ จากนั้นครูตั้งคำถามกระตุ้นความสนใจของ
นกั เรยี น โดยมแี นวคำถาม ดงั นี้
- เมื่อครู่นี้ อุปกรณ์ที่ทำให้ครูพูดคุยกับคนอื่นได้แม้จะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตาม เราเรียกอุปกรณ์นี้
วา่ อะไร
- นกั เรียนรู้หรือไมว่ า่ เราไดย้ ินเสยี งจากการคุยโทรศพั ท์ได้อย่างไร

3. เมอ่ื นกั เรียนตอบคำถามเสรจ็ ครพู ูดต่อว่า “ถา้ นกั เรยี นอยากร้วู า่ ไดย้ ินเสยี งได้อยา่ งไร วนั น้คี รจู ะพา
นกั เรียนทกุ คนมาประดษิ ฐ์โทรศพั ท์อยา่ งง่ายกนั ”

2.2 ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูให้นักเรียนจับคู่กัน แล้วให้นักเรียนแต่ละคู่ทำกิจกรรมประดิษฐ์ โทรศัพท์อย่างง่าย โดยครูแนะนำ
อุปกรณใ์ ห้นกั เรยี น
2. นักเรียนแต่ละคู่ลงมือปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนการประดิษฐ์โทรศัพท์อย่างง่าย โดยศึกษาจากรูปที่ 6.4 หน้า
128 ในหนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5
3. เมื่อประดิษฐ์เสร็จเรียบร้อย ครูให้นักเรียนแต่ละคู่ทดลองการได้ยินเสียง โดยการผลัดกันพูดและผลัด
กันฟัง

2.3 ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ครูส่มุ เรยี กนักเรียนบางคอู่ อกมานำเสนอข้อมลู ท่ีได้จากการทดลองหน้าห้องเรียน
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ผลการทำกิจกรรม โดยครูใชค้ ำถามท้ายกจิ กรรม โดย
มีแนวคำถาม ดงั นี้
- เสยี งพดู ผา่ นแก้วกระดาษจากผพู้ ูดถึงผู้ฟงั ได้อยา่ งไร
- ในการทดลองนี้ เส้นด้ายเปรยี บเสมือนอะไร
- ถ้าเสน้ ด้ายหยอ่ นจะเกดิ ผลอยา่ งไร
3. จากการทดลองครูสรุปประเด็นเกี่ยวกับการได้ยินเสียงว่า “ในขณะที่เราพูดจะทำให้อากาศรอบ
แหล่งกำเนดิ สนั่ สะเทือนแล้วสง่ ผ่านไปยังเส้นด้าย ทำใหเ้ ส้นด้ายสนั่ สะเทือนและส่งผ่านไปยังเยื่อแก้วหู

64

ของคนฟัง ทำให้เย่ือแก้วหูส่ันสะเทือน เกิดเปน็ เสียงพูดให้คนฟังได้ยนิ โดยเมือ่ แหล่งกำเนิดเสียงส่ันจะ
ทำให้เกดิ เสยี งดงั ขนึ้ แล้วเสยี งจะค่อยๆ เบาลงเรอื่ ย ๆ จนไม่ไดย้ นิ เสยี งเมือ่ แหล่งกำเนิดเสยี งหยดุ ส่นั ”

2.4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูใหน้ กั เรยี นยกตัวอยา่ งวธิ กี ารทำใหแ้ หลง่ กำเนิดเสยี งสน่ั
2. จากการตอบคำถามของนักเรียน ครูสรุปประเด็นให้นักเรียนเห็นว่า การทำให้แหล่งกำเนิดเสียงสั่นมี
หลายวิธี ไดแ้ ก่ ดีด สี ตี เป่า เคาะ หรือเกิดจากแรงลม แรงนำ้ และอ่นื ๆ

2.5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation)
1. ครูประเมนิ การเรียนรู้ของนกั เรียนจากการตอบคำถามในชน้ั เรยี น
2. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤตกิ รรมการร่วมกจิ กรรมของนักเรยี นระหว่างเรียน

3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
3.1 ส่อื /อุปกรณ์การเรยี นรู้
3.1.1 หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ป.5
3.1.4 ใบกจิ กรรมที่ 7 เรอื่ ง แหลง่ กำเนดิ เสียงและการไดย้ ินเสียง
3.1.3 ใบงานท่ี 2 เรื่อง แหลง่ กำเนดิ ของเสยี ง
3.1.5 อปุ กรณก์ ารเรียนการสอน เช่น นกหวดี วดิ โี อเสยี งต่าง ๆ โทรศัพท์ เชอื ก
3.2 แหล่งการเรียนรู้
3.2.1 หอ้ งเรียน
3.2.2 ห้องสมดุ
3.2.3 อนิ เทอรเ์ น็ต

4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัดผลการเรยี นรู้ 65
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
เกณฑก์ ารประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบงาน ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75
• จำแนกเสียงที่ได้ยินตามประเภทของ
แหลง่ กำเนดิ เสยี งได้ - ตรวจใบกิจกรรม
• อธบิ ายวิธกี ารทำใหเ้ กดิ เสยี งได้
- การถาม-ตอบ

- การนำเสนองานหน้าช้ัน

เรยี น

ดา้ นทักษะกระบวนการ(P: Process) - สังเกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• สร้างแบบจำลองแหล่งกำเนิดเสียงจาก ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม
กระดาษได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การสังเกตพฤติกรรม ได้คะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย

ดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ - การสงั เกตพฤติกรรม ได้ทักษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วิทยาศาสตร์ 3 ใน 5 ถือว่าผ่าน
 การสังเกต เกณฑ์
 การจำแนกประเภท
 การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล
 การพยากรณ/์ การทำนาย
 การสร้างแบบจำลอง

66

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 25 67

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรือ่ งเสียงและการได้ยิน 14 ช่ัวโมง
หน่วยการเรียนร้ยู ่อย 6.3 เร่ือง การเคล่อื นท่ีของเสียง 1 2 ช่ัวโมง
ครผู ูส้ อน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นท่ี 2/2564

สาระที่ 2 : วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับเสียง แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 5 1. อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจาก • การได้ยินเสยี งตอ้ งอาศัยตัวกลาง โดยอาจเป็น

หลกั ฐาน เชิงประจักษ์ ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะส่งผ่าน

ตวั กลางมายังหู

1. กำหนดเปา้ หมายของการจัดการเรียนรู้

1.1 สาระการเรยี นรู้/เน้ือหาการเรียนรู้
- การเคล่อื นทีข่ องเสยี ง

1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเรอื่ งทเี่ รยี น
เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่ทำให้เกิดเสียงเป็นแหล่งกำเนิดเสียงตามธรรมชาติ และ

แหล่งกำเนดิ เสยี งท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เสียงเคลอื่ นท่ีออกจากแหลง่ กำเนดิ เสียงทุกทศิ ทาง

68

1.3 จุดประสงค์การเรียนรู้: เม่อื ผเู้ รยี นจบกจิ กรรมการเรียนรู้ ผเู้ รยี นสามารถ

ด้านความรู้ อธบิ ายทิศทางการเคล่ือนทขี่ องเสียงได้

(K: Knowledge)

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ทดลองทศิ ทางการเคลือ่ นท่ขี องเสยี งได้

(P: Process)

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

(A: Attribute) มอบหมาย

ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

(Sc.P: Science Process Skills)

 การสังเกต

 การวัด  การกำหนดและควบคุมและ
 การคำนวณ/การใชต้ ัวเลข
ควบคมุ ตวั แปร

 การจำแนกประเภท  การกำหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ

 การจัดกระทำและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู  การตัง้ สมมติฐาน

 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับ  การทดลอง

เวลา  การตีความหมายข้อมูลและลง

 การพยากรณ/์ การทำนาย ขอ้ สรปุ

  การลงความเหน็ จากข้อมูล  การสรา้ งแบบจำลอง

2. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ 5E

ช่ัวโมงที่ 1

2.1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครใู หน้ ักเรยี นจัดโตะ๊ เรยี นเปน็ รูปตวั ยู จากน้ันกระต้นุ ความสนใจโดยการให้นักเรยี นร้องเพลง หากพวก
เรากำลงั สบาย แล้วเดินไปรอบๆ หอ้ ง พร้อมกับใหน้ ักเรยี นตบมอื ตามจังหวะของเพลง
2. ครูตง้ั คำถามกระต้นุ ความคดิ นักเรียนวา่
- ในขณะที่ครอู ยู่หนา้ ห้อง นกั เรียนทกุ คนไดย้ ินเสยี งครรู อ้ งเพลงหรือไม่
- ในขณะท่ีครอู ยู่บริเวณหลังห้อง นักเรยี นทกุ คนไดย้ ินเสยี งครรู อ้ งเพลงหรอื ไม่
3. ครูเดินออกไปนอกห้องแล้วเรียกชื่อนักเรียนคนใดคนหนึ่ง แล้วเดินกลับเข้ามาในห้องพร้อมกับถาม
นักเรยี นว่า

69

- ในขณะทคี่ รอู ยู่นอกห้องเรยี น นกั เรียนทกุ คนไดย้ ินเสยี งครูเรียกชื่อของเพื่อนหรือไม่
- ในขณะทคี่ รูอยใู่ นบริเวณหนา้ ห้องเรยี น หลงั ห้องเรียน และนอกห้องเรยี น นักเรยี นไดย้ ินเสียง

แตกตา่ งกนั หรอื ไม่
4. ครูสุ่มเรียกนักเรียนที่นั่งบริเวณหน้าห้องเรียนกับนักเรียนที่นั่งบริเวณหลังห้องเรียนออกมา แล้วถาม

นกั เรียนว่า
- ขณะทค่ี รรู ้องเพลงอยู่หน้าห้องเรยี น นักเรยี นทง้ั สองคนไดย้ ินเสียงอยา่ งไร
- ในขณะที่ครอู ยูน่ อกห้องเรยี น นกั เรยี นทง้ั สองคนได้ยินเสียงอยา่ งไร

5. ครูสรุปประเด็นจากคำถามว่า “ตำแหน่งของผู้ฟังกับตำแหน่งของแหล่งกำเนิดเสียงมีผลต่อการได้ยิน
เสียง ถ้านักเรียนซึ่งเปน็ ผู้ฟังอยูใ่ กล้กับครูซ่ึงเป็นแหล่งกำเนดิ เสียงก็จะไดย้ ินเสียงดัง แต่ถ้านักเรียนอยู่
ไกลจากครูก็จะได้ยินเสียงเบาลง แต่ทั้งนี้ไม่ว่าครูจะอยู่บรเิ วณไหนของหอ้ ง นักเรียนกย็ งั ได้ยินเสียงครู
และการทเ่ี ราไดย้ ินเสียงนัน้ นักเรียนคดิ วา่ เสียงมที ศิ ทางการเคล่ือนท่อี ย่างไร”

2.2 ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาความรู้เร่ือง การเคล่ือนท่ีของเสียง หน้า 128-129 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
2. ครูกำหนดตำแหน่งของนกั เรียนท่ีเปน็ ผู้ฟังว่า ใครอยู่โซนไหน ซึ่งแบ่งเป็น 3 โซน คือ โซนหน้าหอ้ งเรียน
โซนกลางห้องเรยี น และโซนหลงั ห้องเรยี น
3. ครใู หน้ ักเรียนคนหนึง่ ถอื วทิ ยุอยู่หน้าหอ้ ง แล้วเปดิ วทิ ยุ
4. ครใู ห้นกั เรยี นคนหนึ่งยืนกลางหอ้ งและตีกลอง 3 ครัง้
5. ครใู ห้นกั เรยี นทุกคนฟังเสยี งกลองและเสียงวิทยุ
6. ใหน้ ักเรียนเปล่ียนตำแหนง่ ทีน่ ง่ั จนทกุ คนน่ังครบทั้ง 3 โซน และจดบนั ทกึ ผลลงในใบกจิ กรรมท่ี 8 เรื่อง
ทศิ ทางการเคลอื่ นท่ขี องเสียง (ตอนที่ 1)

ชัว่ โมงที่ 2
2.3 ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

1. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม โดยครูใช้คำถามทา้ ยกจิ กรรมดังนี้
- นักเรียนแต่ละคนได้ยินเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงหรือไม่ ถ้าได้ยินแต่ละคนได้ยินเสียง
แตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร
- เสยี งจากแหล่งกำเนิดเสยี งเคลือ่ นท่ีไปในทศิ ทางใดบ้าง
- เสียงจากแหล่งกำเนิดเสยี งเคลอ่ื นท่ผี ่านอะไร ก่อนจะมาถงึ หขู องนกั เรียน

2. จากประเด็นคำถามครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ผลออกมาในรูปแบบของตาราง ดงั นี้

(ตวั อย่างตารางการสรุปผล) 70
ประเด็นคำถาม
1. การไดย้ ินเสยี ง ดัง/เบา คำตอบ
ขึ้นกับหลายสาเหตุ เช่น ระยะห่างของแหล่งกำเนิด
2. ทิศทางการเคล่ือนทขี่ องเสียง เสียงกบั ผู้ฟงั ลกั ษณะของแหล่งกำเนดิ เสยี ง
3. ตัวกลาง เสียงเคลื่อนทไ่ี ปไดท้ ุกทศิ ทางรอบแหล่งกำเนิดเสียง
เสียงต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ซึ่งใน
4. ตวั อย่างของตัวกลางอื่นๆ กิจกรรมนี้ตัวกลางคอื อากาศ
เช่น น้ำ โตะ๊ เรียน

จากคำถามครูสรุปประเด็นเก่ยี วกบั ทิศทางการเคลอื่ นท่ีของเสียงอกี ครั้งว่า
“การท่เี ราได้ยนิ เสียง ไม่ว่าเราจะอยูต่ รงสว่ นใดของหอ้ งเรียน เชน่ ด้านหนา้ ดา้ นหลงั อยูส่ งู กวา่ หรอื ต่ำ
กว่าแหล่งกำเนิดเสียง แสดงว่าเสียงเคลื่อนที่ผ่านอากาศไปได้ทุกทิศทางรอบแหล่งกำเนิดเสียง แต่
อาจจะได้ยินไม่เท่ากัน เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น ระยะห่างของแหล่งกำเนิดเสียงกับผู้ฟัง
ลกั ษณะของแหล่งกำเนดิ เสียงและการมสี ่ิงกีดขวาง”
2.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูอธิบายความรเู้ พ่มิ เตมิ ใหก้ ับนักเรียนว่า
“เสียงเดินทางออกจากแหล่งกำเนิดเสียงโดยเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง เสียงเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ี
หนึ่งโดยเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เสียงเดินทางผ่านตวั กลาแต่ละชนิด
ได้ไม่เท่ากัน โดยเสียงเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็งได้เร็วที่สุด รองลงมาเป็นของเหลว และแก๊ส
ตามลำดับ”
2. ครใู หน้ กั เรียนทำใบกจิ กรรมท่ี 9 เรื่อง ทศิ ทางการเคลื่อนที่ของเสยี ง (ตอนที่ 2)

2.5 ข้นั ประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกต้องของใบกิจกรรม เรื่อง ทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง เพื่อประเมินผลการ
เรยี นรู้
2. ครูประเมินผลการเรียนร้ขู องนักเรียนจากการตอบคำถามในชน้ั เรียน
3. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการร่วมกจิ กรรมของนักเรียนระหวา่ งเรียน

71

3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรยี นรู้

3.1 สอ่ื /อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้

3.1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกิจกรรมที่ 8 เรือ่ งทิศทางการเคล่อื นท่ีของเสยี ง (ตอนที่ 1)
3.1.3 ใบกจิ กรรมที่ 9 เรอื่ งทศิ ทางการเคล่อื นทีข่ องเสียง (ตอนท่ี 2)
3.1.4 อปุ กรณก์ ารเรียนการสอน เช่น วิทยุ ซดี ีเพลง
3.2 แหล่งการเรียนรู้
3.2.1 หอ้ งเรยี น
3.2.2 หอ้ งสมดุ
3.2.3 อนิ เทอรเ์ น็ต

4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัดผลการเรยี นรู้ 72
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เกณฑ์การประเมนิ ผล

ด้านความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75
• อธิบายทศิ ทางการเคลือ่ นทีข่ องเสียงได้
- การถาม-ตอบ

- การนำเสนองานหน้าชั้น

เรียน

ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process) - สังเกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75
• ทดลองทิศทางการเคล่ือนท่ีของเสียงได้ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลมุ่

ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - การสังเกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสังเกต
(A: Attribute) 8 คะแนนขึน้ ไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย

ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ - การสงั เกตพฤตกิ รรม ได้ทักษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผ่าน
 การสังเกต เกณฑ์
 การทดลอง
 การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ข้อมลู
 การลงความเห็นจากข้อมูล

73

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26 74

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เรอ่ื งเสียงและการไดย้ นิ 14 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นรู้ย่อย 6.4 เรื่อง การเคล่อื นที่ของเสยี ง 2 2 ชั่วโมง
ครูผสู้ อน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นที่ 2/2564

สาระท่ี 2 : วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 5 1. อธิบายการได้ยินเสยี งผา่ นตัวกลางจาก • การไดย้ ินเสยี งต้องอาศัยตัวกลาง โดยอาจเป็น

หลักฐาน เชงิ ประจกั ษ์ ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะส่งผ่าน

ตัวกลางมายงั หู

1. กำหนดเปา้ หมายของการจัดการเรียนรู้

1.1 สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาการเรียนรู้
- การเคลอ่ื นท่ขี องเสียง

1.2 สาระสำคญั /ความคิดรวบยอดของเร่ืองท่ีเรยี น
เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่ทำให้เกิดเสียงเป็นแหล่งกำเนิดเสียงตามธรรมชาติ และ

แหลง่ กำเนิดเสียงทมี่ นษุ ย์สรา้ งข้นึ เสียงเคลอื่ นที่ออกจากแหลง่ กำเนดิ เสยี งทุกทศิ ทาง

75

1.3 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้: เม่ือผู้เรยี นจบกจิ กรรมการเรียนรู้ ผเู้ รียนสามารถ

ดา้ นความรู้ อธิบายทิศทางการเคลื่อนทข่ี องเสยี งได้

(K: Knowledge)

ดา้ นทักษะกระบวนการ ทดลองทิศทางการเคลือ่ นท่ีของเสยี งผา่ นตัวกลางได้

(P: Process)

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี นสามารถทำงานร่วมกับผูอ้ ่ืน และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานที่ได้รับ

(A: Attribute) มอบหมาย

ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

(Sc.P: Science Process Skills)

 การสงั เกต

 การวดั  การกำหนดและควบคุมและควบคมุ

 การคำนวณ/การใช้ตัวเลข ตวั แปร

 การจำแนกประเภท  การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร

 การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูล  การตัง้ สมมติฐาน
 การทดลอง
 การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกับ
เวลา  การตีความหมายข้อมูลและลง
ข้อสรปุ
 การพยากรณ/์ การทำนาย

 การลงความเหน็ จากข้อมูล  การสร้างแบบจำลอง

2. การจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ 5E
ชั่วโมงที่ 1
2.1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1. ครูกล่าวทักทายและทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงว่า เสียงเคลื่อนที่ผ่าน
ตัวกลางไปได้ทุกทิศทางรอบแหล่งกำเนิด โดยการที่เราได้ยินเสียงดังไม่เท่ากนั เนื่องจากมีปัจจัยหลาย
ประการ เช่น ระยะห่างของแหล่งกำเนดิ เสียงกับคนฟัง ลักษณะของแหลง่ กำเนดิ เสียง การมสี งิ่ กีดขวาง
เป็นต้น

2. ครตู ั้งคำถามกระตุ้นความคิดนักเรยี นวา่
- การเดนิ ทางของเสยี งตอ้ งอาศัยตัวกลางหรือไม่
- ถา้ เสียงต้องอาศัยตวั กลางในการเคล่ือนที่ นกั เรียนคิดวา่ เสียงเดินทางผ่านตวั กลางแต่ละชนิด
เสยี งทไี่ ด้ยนิ จะเป็นอย่างไร

76

3. จากประเด็นคำถามครูไม่จำเป็นต้องบอกคำตอบกับนักเรียน แต่พูดเชื่อมโยงเพื่อนำเข้าสู่กิจกรรมว่า
จากคำถามที่ครูถามนักเรียนไป นักเรียนอยากทราบหรือไม่ว่าการเดินทางของเสียงผ่านตัวกลางเป็น
อย่างไร ถ้านักเรียนอยากรู้ วันนี้เราจะมาทดลองการเดินทางผ่านตัวกลางของเสียงอย่างง่ายผ่านการ
ทำกจิ กรรม เร่ือง เสียงเดินทางผา่ นตัวกลาง

2.2 ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครใู ห้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละเทา่ ๆ กัน จำนวน 3-4 กลมุ่ และใหศ้ กึ ษาความร้เู ร่อื ง การเคล่ือนท่ีของ
เสยี ง หนา้ 128-130 ในหนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5
2. ให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งในกลมุ่ ทำการเคาะโตะ๊ เบาๆ แล้วใหเ้ พอ่ื นๆ ในกลุ่มทีเ่ หลอื สังเกตเสยี งท่ีไดย้ ิน
3. ใหเ้ พ่ือนๆทไี่ ม่ได้เปน็ ผู้เคาะโต๊ะ เอาหูแนบกับโต๊ะ แลว้ ให้เพอื่ นเคาะโต๊ะเบาๆ เหมอื นขอ้ ท่ี 2
4. ให้นักเรียนสังเกตเสียงที่ได้ยิน แล้วบันทึกผลการสังเกตทั้ง 2 ครั้งลงในใบกิจกรรมที่ 10 เรื่อง เสียง
เดินทางผา่ นตัวกลาง

ชั่วโมงท่ี 2
2.3 ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

1. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลการสงั เกตหน้าห้องเรียน
2. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับผลการทำกจิ กรรม โดยครใู ช้คำถามท้ายกิจกรรมดงั นี้

- การเคาะครง้ั ท่ี 1 เสยี งเดินทางผา่ นตัวกลางใดกอ่ นถึงหูของนักเรียน
- การเคาะครัง้ ท่ี 2 เสยี งเดินทางผา่ นตวั กลางใดกอ่ นถึงหูของนักเรยี น
3. ครูสรปุ ประเด็นถามและผลการทำกิจกรรมวา่
“จากการทำกิจกรรมและคำถามนักเรียนจะเห็นว่าการเคาะแต่ละครั้ง เสียงที่ได้ยินแตกต่างกันทั้งนี้เป็น
เพราะตัวกลางทีต่ ่างชนิดกันจงึ ทำใหเ้ ราไดย้ ินเสียงที่ไม่เหมือนกนั ท้งั ๆ ท่เี สยี งมาจากแหล่งกำเนิดที่เดียวกัน”
2.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูให้นกั เรียนยกตัวอย่างตวั กลางของเสยี งมากลุม่ ละ 2 ตัวอย่าง
2. ครใู หค้ วามรูเ้ พมิ่ เติมเกย่ี วกับการเคล่ือนท่ีของเสียงผ่านตวั กลาง โดยเสียงจะเคล่อื นท่ไี ด้เร็วหรือช้า จะ
ขึ้นกับตัวกลางของเสียง โดยเสียงเคลื่อนที่ได้เร็วในตัวกลางที่เป็นของแข็ง รองลงมาคือของเหลว
รองลงมาคือแกส๊
2.5 ข้ันประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถกู ต้องของใบกจิ กรรมที่ 10 เรอื่ ง เสียงเดนิ ทางผ่านตัวกลาง เพอ่ื ประเมินผล
2. ครปู ระเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรียนจากการตอบคำถามในชั้นเรยี น
3. ครตู รวจสอบโดยประเมนิ พฤติกรรมการร่วมกิจกรรมของนักเรียนระหวา่ งเรียน

77

3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหลง่ เรยี นรู้
3.1 สือ่ /อุปกรณ์การเรียนรู้
3.1.1 หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมที่ 10 เรื่อง เสยี งเดนิ ผา่ นตวั กลาง
3.1.3 อปุ กรณ์การเรียนการสอน เช่น โตะ๊ เรยี น
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 หอ้ งเรียน
3.2.2 ห้องสมุด
3.2.3 อินเทอรเ์ นต็

4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวัดผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การประเมินผล

ด้านความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายทิศทางการเคล่ือนทข่ี องเสยี งได้
- การถาม-ตอบ
ดา้ นทักษะกระบวนการ(P: Process)
• ทดลองทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง - การนำเสนองานหนา้ ช้นั
ผ่านตวั กลางได้
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรยี น
(A: Attribute)
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน - ตรวจใบกจิ กรรม ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย - การสังเกตพฤติกรรม ได้คะแนนจากการสงั เกต
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 8 คะแนนข้ึนไปถือว่าผ่านเกณฑ์
(Sc.P: Science Process Skills)
 การสงั เกต - การสังเกตพฤติกรรม ได้ทกั ษะกระบวนการทาง
 การพยากรณ/์ การทำนาย วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผ่าน
 การลงความเห็นจากขอ้ มูล
 การทดลอง เกณฑ์

78

79

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 27 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5
14 ช่ัวโมง
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรื่องเสยี งและการได้ยิน ภาคเรียนที่ 2/2564
หนว่ ยการเรยี นรยู้ ่อย 6.5 เรื่อง เสยี งสงู และเสยี งต่ำ
ครผู สู้ อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ

สาระท่ี 2 : วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กบั เสียง แสง และคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป. 5 2. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย • เสียงที่ได้ยินมีระดับสูงต่ำของเสียงต่างกัน

ลักษณะและ การเกิดเสยี งสูง เสียงต่ำ ขึ้นกบั ความถขี่ องการส่นั ของแหล่งกำเนิดเสียง

โดยเมื่อ แหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วยความถี่ต่ำจะ

เกิดเสียงตำ่ แต่ถ้าสั่นดว้ ยความถีส่ งู จะเกิดเสยี ง

สูง ส่วน เสียงดังคอ่ ยที่ได้ยินขึ้นกับพลงั งานการ

สั่นของ แหล่งกำเนิดเสียง โดยเมื่อแหล่งกำเนิด

เสียงสั่นด้วย พลังงานมากจะเกิดเสียงดังแต่ถ้า

แหล่งกำเนิดเสียง สั่นด้วยพลังงานน้อยจะเกิด

เสียงค่อย

1. กำหนดเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้

1.1 สาระการเรียนรู้/เนือ้ หาการเรยี นรู้

- เสยี งสูง เสยี งต่ำ

1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเร่อื งทีเ่ รียน

ความดังของเสียงเกิดจากระดับการสั่นสะเทือนของเสียง ถ้าสั่นสะเทือนมากจะได้ยินเสียงดังมาก ถ้า

สั่นสะเทือนน้อยจะได้ยินเสียงค่อย ความดังของเสียงจะสัมพันธ์กับความเข้มของเสียง และระยะห่างจาก

แหลง่ กำเนิดเสียง

80

1.3 จดุ ประสงค์การเรียนรู้: เมอ่ื ผู้เรยี นจบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผู้เรยี นสามารถ

ด้านความรู้ อธิบายความหมายการเกิดเสียงสงู เสียงตำ่ ได้

(K: Knowledge)

ดา้ นทักษะกระบวนการ ทดลองเร่ืองการเกิดเสียงสงู เสียงต่ำได้

(P: Process)

ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนสามารถทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน และมีความรับผิดชอบตอ่ งานที่ไดร้ บั

(A: Attribute) มอบหมาย

ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)

 การสงั เกต

 การวดั  การกำหนดและควบคุมและควบคุม
ตวั แปร
 การคำนวณ/การใชต้ ัวเลข
 การจำแนกประเภท  การกำหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ
 การจดั กระทำและส่อื ความหมายข้อมูล
 การตงั้ สมมุตฐิ าน
 การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกบั  การทดลอง
เวลา
 การตีความหมายข้อมลู และลง
 การพยากรณ/์ การทำนาย ขอ้ สรุป

 การลงความเห็นจากข้อมูล  การสรา้ งแบบจำลอง

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5E

2.1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูนำนกหวีด ออกมาแสดงให้นักเรียนดูและฟัง โดยเล่นให้เกิดเสียงต่ำไปเสียงสูง พร้อมกับตั้งคำถาม
ถามนกั เรยี น โดยมแี นวคำถามดังนี้
- เสยี งท่นี ักเรยี นไดย้ นิ แต่ละคร้ังมีส่งิ ใดแตกตา่ งกนั บ้าง
- เสียงที่แตกต่างกนั เปน็ เพราะอะไร
2. ให้นกั เรียนชว่ ยกันแสดงความคิดเหน็ ตามท่ีได้ยิน เพื่อเช่อื มโยงความรู้ไปสู่การเรยี นรู้เร่ือง เสียงสูงและ
เสยี งตำ่ เสียงดังและเสยี งค่อย

2.2 ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration)

1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง เสียงสูงและเสียงต่ำ
หนา้ 134-140 ในหนังสอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5

2. ครมู อบหมายให้นกั เรยี นทำกจิ กรรมที่ 11 เรอ่ื ง การเกิดเสียงสูง เสียงตำ่ โดยใช้ไมบ้ รรทัดทดลอง

81

2.3 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานำผลการทำลอง เรื่อง การเกดิ เสียงสงู เสียงตำ่ หนา้ ห้องเรยี น แล้วให้
เพอื่ นกล่มุ อน่ื ๆ ช่วยแสดงความคดิ เหน็ เพม่ิ เติมในส่วนท่ีแตกตา่ ง
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปผลการทดลอง ซงึ่ ควรสรุปได้ดงั น้ี
- ความยาวของต้นกำเนิดเสียงมีผลต่อความถี่ในการสั่น ดังนี้ ถ้าแหล่งกำเนิดมีความยาวมากก็จะสั่น
ช้าทำให้มีความถี่น้อย เสียงที่ได้จะเป็นเสียงต่ำ แต่ถ้าต้นกำเนิดมีความยาวน้อยกว่า ก็จะสั่นด้วย
ความถสี่ ูง เสยี งที่จะไดจ้ ะเป็นเสยี งสงู

2.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครตู งั้ คำถามถามนกั เรียนเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ ดงั นี้
- ลักษณะของเสยี งท่แี ตกต่างกนั มผี ลต่อความรู้สกึ ของผู้ฟังหรือไม่ อย่างไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ : มผี ล เชน่ เสียงดนตรรี อ็ ก ทำให้รู้สึกตนื่ เตน้ เรา้ ใจ เสยี งตะโดน ทำให้รู้สึกรำคาญ)
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรปุ การทำกิจกรรมลงในใบกิจกรรมที่ 11 เรื่อง การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจ
3. ครใู หน้ กั เรียนทำใบงานที่ 3 เรื่อง การเกดิ เสียงสงู เสยี งต่ำ

2.5 ขั้นประเมนิ (Evaluation)
1. ครตู รวจสอบความถกู ต้องของใบกิจกรรมท่ี 11 เร่ือง การเกิดเสยี งสูง เสยี งตำ่ เพือ่ ประเมินผล
2. ครูตรวจสอบความถกู ต้องของใบงานที่ 3 เร่ือง การเกดิ เสียงสูง เสียงต่ำ เพ่อื ประเมินผล
3. ครปู ระเมินผลการเรยี นรูข้ องนักเรียนจากการตอบคำถามในชนั้ เรียน
4. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการร่วมกจิ กรรมของนกั เรียนระหวา่ งเรยี น

3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรียนรู้
3.1 สือ่ /อุปกรณก์ ารเรยี นรู้
3.1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 11 เรอื่ ง การเกดิ เสยี งสงู เสียงตำ่
3.1.3 ใบงานที่ 3 เรอื่ ง การเกิดเสียงสูง เสยี งตำ่
3.1.4 อุปกรณ์การเรียนการสอน เช่น เครื่องดนตรี ได้แก่ นกหวีด และอุปกรณ์การทดลอง ไม้

บรรทัด
3.2 แหลง่ การเรยี นรู้
3.2.1 หอ้ งเรียน
3.2.2 ห้องสมดุ
3.2.3 อินเทอร์เนต็

4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวดั ผลการเรยี นรู้ 82
จุดประสงค์การเรียนรู้
เกณฑก์ ารประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบงาน ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายความหมายและการเกิดเสียงสูง
เสียงตำ่ ได้ - การถาม-ตอบ

- การนำเสนองานหนา้ ชน้ั

เรยี น

ดา้ นทักษะกระบวนการ(P: Process) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• ทดลองการเกิดเสยี งสงู เสยี งตำ่ ได้

ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - การสังเกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนขน้ึ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย

ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสังเกตพฤติกรรม ได้ทกั ษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วทิ ยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผ่าน
 การสงั เกต
 การจำแนกประเภท เกณฑ์
 การจดั กระทำและส่ือความหมาย
ข้อมลู
 การทดลอง

83

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 28 84

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 เรอ่ื งเสยี งและการได้ยนิ 14 ชั่วโมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อย 6.6 เร่ือง เสียงดงั และเสียงค่อย 2 ชั่วโมง
ครผู ูส้ อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นท่ี 2/2564

สาระท่ี 2 : วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กบั เสียง แสง และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 5 3. ออกแบบการทดลองและอธิบาย • เสียงที่ได้ยินมีระดับสูงต่ำของเสียงต่างกัน

ลกั ษณะและ การเกดิ เสียงดงั เสียงคอ่ ย ขน้ึ กับ ความถ่ขี องการสน่ั ของแหล่งกำเนิดเสียง

4. วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับ โดยเมื่อ แหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วยความถี่ต่ำจะ

เสยี ง เกิดเสียงตำ่ แต่ถ้าสั่นด้วยความถีส่ งู จะเกิดเสยี ง

สูง ส่วน เสียงดังค่อยท่ีได้ยินขึ้นกับพลังงานการ

สั่นของ แหล่งกำเนิดเสียง โดยเมื่อแหล่งกำเนิด

เสียงสั่นด้วย พลังงานมากจะเกิดเสียงดังแต่ถ้า

แหล่งกำเนิดเสียง สั่นด้วยพลังงานน้อยจะเกิด

เสยี งค่อย

1. กำหนดเปา้ หมายของการจดั การเรียนรู้
1.1 สาระการเรียนรู้/เนือ้ หาการเรยี นรู้

- เสียงดัง เสยี งค่อย
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเรอื่ งทเ่ี รยี น

แหลง่ กำเนิดเสียงสน่ั ด้วยพลงั งานมาก จะทำใหเ้ กิดเสยี งดัง แตถ่ ้าแหล่งกำเนิดเสียงสนั่ ดว้ ย
พลังงานน้อย จะเกิดเสียงค่อย

85

1.3 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้: เมอื่ ผู้เรียนจบกิจกรรมการเรยี นรู้ ผ้เู รียนสามารถ

ด้านความรู้ อธบิ ายความหมายการเกดิ เสียงดัง เสยี งคอ่ ยได้

(K: Knowledge)

ด้านทกั ษะกระบวนการ สืบคน้ ข้อมลู เกี่ยวกับเสยี งดัง เสยี งค่อยได้

(P: Process)

ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรยี นสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู ื่น และมีความรับผิดชอบตอ่ งานที่ไดร้ ับ

(A: Attribute) มอบหมาย

ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)

 การสงั เกต

 การวัด  การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
ตัวแปร
 การคำนวณ/การใช้ตัวเลข
 การจำแนกประเภท  การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร
 การจดั กระทำและสือ่ ความหมายข้อมลู  การต้งั สมมติฐาน
 การทดลอง
 การหาความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปส และสเปสกบั  การตคี วามหมายข้อมลู และลง
เวลา
ข้อสรปุ
 การพยากรณ/์ การทำนาย  การสรา้ งแบบจำลอง
 การลงความเหน็ จากข้อมลู

2. การจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ 5E
ชั่วโมงที่ 1
2.1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement)

1. ครเู ปิดเทปเสยี ง เช่น เสียงแมวร้อง กบั เสียงสุนัขเหา่ (อาจจะเป็นเสียงอื่นทคี่ รูผู้สอนเหน็ เหมาะสม)
2. ให้นักเรยี นฟงั แล้วตง้ั คำถามกระตุ้นความสนใจนกั เรยี น โดยมีแนวคำถาม ดงั น้ี

- เสียงที่นกั เรียนได้ยินมีความแตกตา่ งกนั อย่างไร
- ทำไมลกั ษณะเสยี งจงึ มคี วามดงั ของเสียงไมเ่ ทา่ กัน
3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมหลังได้รับคำตอบจากนักเรียนแล้ววา่ “เสียงต่าง ๆ ท่เี ราได้ยินมาจากตน้ กำเนิดเสียง
ท่ีแตกต่างกนั ทำให้เสียงมลี ักษณะแตกตา่ งกนั
4. ครูต้งั คำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรยี นร้เู ร่ือง เสียงดงั และเสยี งค่อย ดังนี้
- ความดงั ของเสียงมคี วามสมั พันธก์ ับต้นกำเนดิ เสียงอย่างไร

86

2.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง เสียงดังและเสียง
คอ่ ย หน้า 135-140 ในหนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
2. ครูให้นักเรียนค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียน ห้องสมุด หรือ
อินเทอรเ์ น็ต

2.3 ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอองค์ความรู้ที่ได้จากการสืบค้น หน้าห้องเรียน แล้วให้เพื่อน
กลมุ่ อืน่ ๆ ชว่ ยแสดงความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ ในสว่ นทแ่ี ตกต่าง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ว่า “ถ้าต้นกำเนิดเสียงสั่นด้วยพลังงานน้อยจะทำให้เกิดเสียงค่อย
แตถ่ า้ ตน้ กำเนิดเสียงส่ันด้วยพลังงานมากขนึ้ จะทำให้เกิดเสยี งดงั ”

ชว่ั โมงท่ี 2
2.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)

1. ครใู หน้ ักเรยี นยกตวั อย่างส่งิ ใดบ้างที่ทำใหเ้ กิดเสียงดัง และสง่ิ ใดบา้ งท่ที ำใหเ้ กดิ เสยี งคอ่ ย
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปการค้นคว้าลงในใบกิจกรรมที่ 12 เรื่อง ลักษณะของเสียง เพื่อตรวจสอบ

ความเข้าใจ
3. ครใู ห้นกั เรียนทำใบงานท่ี 4 การเกิดสียงดัง เสียงคอ่ ย
2.5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถกู ต้องของใบกิจกรรมท่ี 12 เร่ือง ลกั ษณะของเสียง เพ่อื ประเมินผล
2. ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ งของใบงานท่ี 4 การเกดิ สยี งดัง เสยี งค่อย เพ่อื ประเมินผล
3. ครูประเมินการเรียนรู้ของนกั เรียนจากการตอบคำถามในชนั้ เรยี น
4. ครตู รวจสอบโดยประเมนิ พฤตกิ รรมการร่วมกจิ กรรมของนกั เรยี นระหว่างเรียน
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
3.1 ส่ือ/อุปกรณก์ ารเรยี นรู้

3.1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 12 เร่ือง ลักษณะของเสยี ง
3.1.3 ใบงานท่ี 4 การเกดิ สยี งดงั เสยี งค่อย
3.1.4 อุปกรณก์ ารเรยี นการสอน เช่น เทปเสียงสตั ว์ หรอื เสียงตา่ ง ๆ ท่ีใช้ประกอบการสอน
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 ห้องเรยี น
3.2.2 ห้องสมดุ

87

3.2.3 อินเทอรเ์ นต็

4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการวดั ผลการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบงาน ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายความหมายและการเกิดเสียงดงั
เสียงค่อยได้ - ตรวจใบกิจกรรม

ด้านทกั ษะกระบวนการ(P: Process) - การถาม-ตอบ
• สบื คน้ ข้อมูลเก่ียวกบั เสียงดัง เสียงค่อย
ได้ - การนำเสนองานหน้าช้ัน
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
(A: Attribute) เรยี น
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ - การนำเสนองานหน้าชั้น ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรียน
(Sc.P: Science Process Skills)
 การสงั เกต - การสงั เกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
 การจำแนกประเภท 8 คะแนนข้ึนไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
 การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล - การสงั เกตพฤติกรรม ไดท้ กั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ 2 ใน 3 ถือว่าผ่าน

เกณฑ์

88

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 29 89

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 เรอ่ื งเสยี งและการได้ยิน 14 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นรยู้ ่อย 6.7 เร่ือง มลพิษทางเสียง 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนที่ 2/2564

สาระที่ 2 : วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 : เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับเสียง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. 5 5. ตระหนักในคุณค่าของความร้เู รื่อง • เสียงดังมาก ๆ เป็นอันตรายต่อการได้ยินและ

ระดับเสยี ง โดยเสนอแนะแนวทางในการ เสียงที่ก่อให้เกิดความรำคาญเป็นมลพิษทาง

หลีกเลยี่ งและลด มลพิษทางเสียง เสียง เดซิเบลเป็นหน่วยที่บอกถึงความดังของ

เสียง

1. กำหนดเปา้ หมายของการจัดการเรียนรู้
1.1 สาระการเรียนรู้/เน้ือหาการเรยี นรู้

- มลพิษทางเสียง
1.2 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดของเรื่องที่เรียน

เสยี งทกี่ อ่ ให้เกิดความรำคาญ หรือเสียงท่ีดังมากๆ จนก่อให้เกิดอนั ตรายตอ่ การไดย้ ิน เรียกวา่ มลพิษ
ทางเสียง

90

1.3 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้: เม่อื ผู้เรียนจบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผูเ้ รียนสามารถ

ดา้ นความรู้ 1. อธิบายอนั ตรายทเ่ี กดิ จากความดังของเสยี งได้

(K: Knowledge) 2. บอกวิธีป้องกันอันตรายจากความดังของเสียงได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ สบื ค้นข้อมูลเกี่ยวกบั มลพิษทางเสียงได้
(P: Process)
นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อนื่ และมีความรบั ผดิ ชอบต่องานที่ได้รบั
ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มอบหมาย
(A: Attribute)

ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
(Sc.P: Science Process Skills) ตัวแปร

 การสังเกต  การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ
 การวัด  การตงั้ สมมติฐาน
 การคำนวณ/การใช้ตวั เลข  การทดลอง
 การจำแนกประเภท  การตีความหมายข้อมูลและลง
 การจัดกระทำและสอ่ื ความหมายข้อมูล
 การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปส และสเปสกับ ข้อสรปุ
 การสรา้ งแบบจำลอง
เวลา
 การพยากรณ/์ การทำนาย
 การลงความเห็นจากข้อมลู

2. การจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ 5E
2.1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement)

1. ครูเปิดเพลงเสียงดังปกติให้นักเรียนฟัง จากนั้นเปิดเสียงเพลงเสียงดังๆ ให้นักเรียนฟัง แล้วตั้งคำถาม
กระตนุ้ ความสนใจนกั เรียน โดยมแี นวคำถาม ดังน้ี
- เสยี งเพลงแบบไหนทเี่ ปน็ อันตรายต่อหูของเรา

2.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง มลพิษทางเสียง
หนา้ 141-142 ในหนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5

91

2. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรมที่ 13 เรื่อง แหล่งกำเนิดมลพิษและแนวทางป้องกัน โดยให้
นกั เรยี นค้นคว้าหาขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เชน่ หนังสอื เรยี น หอ้ งสมดุ หรืออินเทอร์เนต็

2.3 ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอใบกิจกรรมท่ี 13 ให้ค้นคว้า เรื่อง แหล่งกำเนิดมลพิษและ
แนวทางป้องกัน หน้าห้องเรียน แล้วให้เพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ช่วยแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในส่วนที่
แตกตา่ ง
2. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความร้เู กยี่ วกบั เร่อื งมลพิษทางเสยี ง

2.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครใู ห้นักเรียนยกตวั อย่างถ้าข้างบา้ นเปิดเพลงเสียงดงั นักเรียนมีวิธแี ก้ไขอย่างไร
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ สรปุ การค้นคว้าลงในใบกิจกรรมที่ 13 เรื่อง แหล่งกำเนิดมลพิษ และแนวทาง
ป้องกนั เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ
3. ครูใหน้ ักเรียนทำใบงานที่ 5 เรื่อง มลพิษทางเสียง
4. ครูใหน้ กั เรียนทำใบงานท่ี 6 เร่ือง การป้องกันมลพิษทางเสยี ง

2.5 ขนั้ ประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกต้องของใบกิจกรรมที่ 13 เรื่อง แหล่งกำเนิดมลพิษและแนวทางป้องกัน เพื่อ
ประเมินผล
2. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งของใบงานท่ี 5 เรือ่ ง มลพิษทางเสยี ง เพอื่ ประเมนิ ผล
3. ครูตรวจสอบความถูกต้องของใบงานท่ี 6 เรื่อง การปอ้ งกันมลพษิ ทางเสยี ง เพ่อื ประเมนิ ผล
4. ครปู ระเมนิ การเรียนร้ขู องนักเรยี นจากการตอบคำถามในชนั้ เรียน
5. ครตู รวจสอบโดยประเมินพฤตกิ รรมการร่วมกจิ กรรมของนกั เรียนระหวา่ งเรียน

3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
3.1 สื่อ/อุปกรณก์ ารเรียนรู้
3.1.1 หนงั สือเรียนวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 13 เรื่อง แหล่งกำเนดิ มลพิษและแนวทางปอ้ งกัน
3.1.3 ใบงานที่ 5 เร่ือง มลพิษทางเสยี ง
3.1.4 ใบงานที่ 6 เร่ือง การปอ้ งกันมลพษิ ทางเสียง
3.1.5 อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน เชน่ เพลงตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ประกอบการสอน

92

3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 หอ้ งเรยี น
3.2.2 ห้องสมุด
3.2.3 อินเทอรเ์ นต็

4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวดั ผลการเรียนรู้ เกณฑก์ ารประเมินผล
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบงาน ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• อธบิ ายอนั ตรายที่เกดิ จากความดงั ของ
เสยี งได้ - การถาม-ตอบ
• บอกวิธีป้องกันอันตรายจากความดัง
ของเสยี งได้ - การนำเสนองานหนา้ ชัน้

เรียน

ด้านทกั ษะกระบวนการ(P: Process) - ตรวจใบกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
• สบื ค้นข้อมูลเกยี่ วกับมลพิษทางเสียงได้ - ตรวจใบงาน

ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - การสงั เกตพฤติกรรม ได้คะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนข้นึ ไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย

ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสังเกตพฤติกรรม ไดท้ กั ษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผ่าน
 การสงั เกต
 การวัด เกณฑ์
 การจัดกระทำและส่ือความหมาย
ข้อมลู
 การลงความเห็นจากข้อมูล

93

94

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 ดาวและแผนท่ดี าว
แผนที่ 30-36


Click to View FlipBook Version