แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 30 95
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 เรื่องดาวและแผนท่ีดาว 14 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรยี นรยู้ ่อย 7.1 เร่ือง ดาวเคราะห์ 2 ช่ัวโมง
ครผู ู้สอน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นท่ี 2/2564
สาระที่ 3 : วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์และระบบสรุ ิยะ รวมทั้งปฏสิ ัมพันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะท่ีส่งผลตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป. 5 1. เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของดาว • ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็น
เคราะห์ และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มีทั้งดาว
ฤกษ์ และดาวเคราะห์ดาวฤกษเ์ ปน็ แหล่งกำเนิด
แสง จึงสามารถมองเห็นได้ส่วนดาวเคราะห์
ไม่ใช่ แหล่งกำเนิดแสง แต่สามารถมองเห็นได้
เนื่องจาก แสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาว
เคราะหแ์ ลว้ สะทอ้ นเข้าสู่ตา
1. กำหนดเปา้ หมายของการจดั การเรยี นรู้
1.1สาระการเรียนรู้/เน้อื หาการเรยี นรู้
- ดาวเคราะห์
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเร่อื งท่เี รียน
ดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แต่มองเห็นได้จากแสงสว่างของดาวฤกษ์ที่ตก
กระทบและสะท้อนเข้าตา ดาวเคราะห์บนท้องฟ้ามี 8 ดวง โคจรรอบดวงอาทิตย์ คอื ดาวพุธ ดาวศุกร์
โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
96
1.3 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้: เมอ่ื ผู้เรียนจบกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถ
ดา้ นความรู้ อธบิ ายลกั ษณะกลมุ่ ดาวเคราะหบ์ นท้องฟ้าได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทักษะกระบวนการ สบื ค้นข้อมลู เก่ียวกบั ลักษณะและความสำคัญของดาวเคราะห์ในระบบ
(P: Process) สรุ ยิ ะได้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นสามารถทำงานร่วมกับผอู้ ่ืน และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานท่ีได้รับ
(A: Attribute) มอบหมาย
ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
ตวั แปร
การวดั
การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร
การคำนวณ/การใชต้ วั เลข การตั้งสมมตฐิ าน
การจำแนกประเภท การทดลอง
การจดั กระทำและสอื่ ความหมายข้อมลู การตคี วามหมายข้อมูลและลง
การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส และสเปสกับ ข้อสรุป
เวลา การสร้างแบบจำลอง
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเห็นจากข้อมูล
2. การจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบ 5E
ช่วั โมงที่ 1
2.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูตงั้ คำถามกระต้นุ ความสนใจของนกั เรยี น โดยมแี นวคำถามดังน้ี
- ตอนกลางคืนนอกจากดวงจันทร์แลว้ นกั เรยี นมองเห็นสิง่ ใดบนทอ้ งฟา้ อกี
- นกั เรียนรจู้ กั ดาวอะไรบา้ ง
2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การ
เรียนรูเ้ รื่อง ดาวเคราะห์
2.2 ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ดาวเคราะห์ ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 หน้า
146 และตั้งคำถามเพือ่ ทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน
97
2. ครสู อบถามนักเรียน โดยมีแนวคำถามดงั น้ี
- นกั เรียนรู้จักดาวเคราะห์ในระบบสุริยะหรือไม่ มีอะไรบ้าง
จากน้ันครใู ห้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นในการตอบคำถาม
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน และให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและ
ความสำคญั ของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะจากแหล่งการเรยี นร้ตู ่างๆ เชน่ หนังสือเรยี น หอ้ งสมดุ และ
อนิ เทอรเ์ น็ต จากนัน้ ใหส้ รุปตามความเขา้ จของนกั เรยี นลงในสมุดบันทกึ
2.3 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครูสุ่มเลือกนักเรียนแต่ละกลุ่มให้อธิบายและนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน และใช้คำถาม
กระตนุ้ ความเข้าใจของนักเรียน โดยมแี นวคำถาม ดังนี้
- ดาวเคราะห์ ได้แก่ ดาวดวงใดบ้าง แต่ละดวงมีลักษณะและความสำคัญอย่างไรในระบบ
สุรยิ ะ
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ กย่ี วกับลกั ษณะและความสำคัญของดาวเคราะห์
ชั่วโมงท่ี 2
2.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูให้นักเรียนนำผลการสืบค้นมาตอบคำถามในใบกิจกรรมที่ 14 เรื่อง ลักษณะและความสำคัญของ
ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะ แลว้ ส่งใหค้ รตู รวจสอบความถกู ตอ้ ง
2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นต้ังคำถามในสิ่งที่สงสัย แล้วอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องดาวฤกษ์ เพื่อขยาย
ความรแู้ ละเชือ่ มโยงเข้าสกู่ ารเรียนร้เู รื่องดาวฤกษ์ หรือกลมุ่ ดาวฤกษ์
2.5 ข้ันประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกต้องในใบกิจกรรมที่ 14 เรื่อง ลักษณะและความสำคัญของดาวเคราะหใ์ นระบบ
สุริยะ เพอื่ ประเมนิ ผล
2. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมของนักเรียนระหวา่ งเรียน
3. ครตู รวจสอบการตอบคำถาม การตัง้ คำถามในระหว่างการรว่ มกจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
3.1 สอื่ /อุปกรณก์ ารเรียนรู้
3.1.1 หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกิจกรรมที่ 14 เรือ่ ง ลักษณะและความสำคญั ของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะ
3.2 แหลง่ การเรยี นรู้
3.2.1 ห้องเรียน
3.2.2 ห้องสมุด
3.2.3 อนิ เทอร์เนต็
98
4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ กี ารวัดผลการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ - การถาม-ตอบ ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - การนำเสนองานหน้าชน้ั
• อธิบายลักษณะกลุ่มดาวเคราะห์บน
ท้องฟ้าได้ เรียน
ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและ - การถามตอบ
ความสำคัญของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ได้
ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - การสงั เกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) - การสังเกตพฤติกรรม 8 คะแนนข้ึนไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ ได้ทักษะกระบวนการทาง
มอบหมาย วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือว่าผ่าน
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills) เกณฑ์
การสงั เกต
การจำแนกประเภท
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล
การลงความเห็นจากข้อมูล
99
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 31 100
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 7 เร่ืองดาวและแผนทด่ี าว 14 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรูย้ ่อย 7.2 เรื่อง ดาวฤกษ์ 2 ช่ัวโมง
ครูผู้สอน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระที่ 3 : วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษแ์ ละระบบสรุ ิยะ รวมทง้ั ปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะที่สง่ ผลตอ่ สิง่ มชี วี ิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ
ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป. 5 1. เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของดาว • ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็น
เคราะห์ และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มีทั้งดาว
ฤกษ์ และดาวเคราะห์ดาวฤกษเ์ ป็นแหล่งกำเนิด
แสง จึงสามารถมองเห็นได้ส่วนดาวเคราะห์
ไม่ใช่ แหล่งกำเนิดแสง แต่สามารถมองเห็นได้
เนื่องจาก แสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาว
เคราะห์แล้ว สะทอ้ นเขา้ สตู่ า
1. กำหนดเปา้ หมายของการจดั การเรียนรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เนอ้ื หาการเรียนรู้
- ดาวฤกษ์
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเรอ่ื งที่เรยี น
ดาวฤกษ์ หมายถึง ดาวท่ีมีแสงสวา่ งในตวั เอง มักปรากฏบนท้องฟา้ ในยามคำ่ คืน
101
1.3 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้: เมอื่ ผู้เรียนจบกิจกรรมการเรยี นรู้ ผู้เรียนสามารถ
ดา้ นความรู้ อธิบายลักษณะกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าได้
(K: Knowledge)
ด้านทักษะกระบวนการ สบื คน้ ข้อมูลเกยี่ วกับกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟา้ ได้
(P: Process)
ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี นสามารถทำงานร่วมกับผู้อืน่ และมีความรบั ผดิ ชอบต่องานท่ีได้รบั
(A: Attribute) มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การกำหนดและควบคุมและควบคุม
(Sc.P: Science Process Skills) ตวั แปร
การสังเกต การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ
การตง้ั สมมติฐาน
การวดั การทดลอง
การตคี วามหมายข้อมูลและลง
การคำนวณ/การใช้ตัวเลข
การจำแนกประเภท ข้อสรุป
การจัดกระทำและสือ่ ความหมายข้อมูล การสรา้ งแบบจำลอง
การหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั
เวลา
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเห็นจากข้อมูล
2. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 5E
ช่วั โมงท่ี 1
2.1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูชวนนักเรยี นสนทนาเกี่ยวกับเร่ืองดาวบนท้องฟา้ ด้วยการตงั้ คำถามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี น
โดยมีแนวคำถามดงั น้ี
- ตอนกลางคนื จะมองเห็นกลุม่ ดาวบนท้องฟา้ กล่มุ ดาวพวกนีเ้ รียกว่าอะไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ : กลมุ่ ดาวฤกษ์)
- นักเรียนรู้จักกลุม่ ดาวใดบ้าง
(ตวั อย่างคำตอบ กลุม่ ดาวนายพราน กลมุ่ ดาวจระเข้ กลุ่มดาวหมีใหญ่)
2. ครูใหน้ ักเรียนร่วมกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั คำถาม
102
2.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครใู ห้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ดาวฤกษ์ หน้า 147 ในหนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5
หน้า 147
2. ครูใหน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ 5 กลุม่ ให้ตวั แทนแต่ละกล่มุ จบั สลากหัวขอ้ ท่ีครกู ำหนด ดังน้ี
- กลมุ่ ดาวแมงปอ่ ง
- กลมุ่ ดาวนายพราน
- กลมุ่ ดาวแกะ
- กลุม่ ดาวคนั ช่งั
- กลมุ่ ดาววัว
3. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ทำการสบื ค้นขอ้ มลู เพิ่มเติมจากแหลง่ เรยี นร้ทู ี่ครกู ำหนดตามหวั ข้อท่ีไดร้ ับ
2.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลงานการสืบค้นหน้าชน้ั เรยี น
2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปความร้เู กีย่ วกับกลมุ่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าว่า
“ดาวฤกษ์ หมายถึง ดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง เกิดจากการหดตัวของกลุ่มฝุน่ และแก๊ส จากนั้นจึงเกิดการ
สะสมตัวจนมีมวลมากพอ และเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชัน ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของดาวฤกษ์
ดาวบนท้องฟ้าในยามค่ำคนื เรียกวา่ กลุ่มดาวฤกษ์”
“กลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้ามีรปู ร่างและช่ือเรียกแตกตา่ งกันไปตามความเชื่อและวัฒนธรรมของคนในแต่ละ
ประเทศ แต่นกั ดาราศาสตร์ได้จำแนกไว้เปน็ กลุ่มๆ ใหง้ า่ ยตอ่ การเรียกช่ือและการศึกษาวา่ กลุ่มดาวฤกษ์”
ชว่ั โมงที่ 2
2.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูให้นักเรียนจัดทำสมุดภาพกลุ่มดาวบนท้องฟ้า ได้แก่ กลุ่มดาวแมงป่อง กลุ่มดาวนายพราน กลุ่ม
ดาวแกะ กลมุ่ ดาวคนั ชงั่ พรอ้ มขอ้ ความบรรยายประกอบ
2. ครใู ห้นักเรียนทำใบงานท่ี 1 เรื่อง ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
2.5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation)
1. ครปู ระเมนิ ผลสมุดภาพการเรียนรขู้ องนกั เรียน
2. ครูประเมินความถกู ตอ้ งของใบงานท่ี 1 เร่อื ง ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
3. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
4. ครตู รวจสอบการตอบคำถาม การต้งั คำถามในระหวา่ งการรว่ มกิจกรรมเปน็ รายบุคคล
103
3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรียนรู้
3.1 สอ่ื /อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้
3.1.1 หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน ป.5
3.1.9 ใบประเมินผลสมดุ ภาพ
3.1.10 ใบงานท่ี 1 เรือ่ ง ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 หอ้ งเรยี น
3.2.2 ห้องสมดุ
3.2.3 อนิ เทอร์เนต็
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวดั ผลการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - การถาม-ตอบ ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายลักษณะกลุ่มดาวฤกษ์บน - ตรวจใบงาน
ท้องฟ้าได้
- การนำเสนองานหน้าช้นั ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75
ด้านทกั ษะกระบวนการ(P: Process) เรยี น
• สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มดาวฤกษ์บน
ท้องฟา้ ได้ - การสังเกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 8 คะแนนข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
(A: Attribute)
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น - การสังเกตพฤติกรรม ไดท้ ักษะกระบวนการทาง
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือวา่ ผ่าน
มอบหมาย
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกณฑ์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสงั เกต
การจำแนกประเภท
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ข้อมูล
การลงความเหน็ จากขอ้ มูล
104
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 32 105
กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 7 เรอื่ งดาวและแผนที่ดาว 14 ชั่วโมง
หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อย 7.3 เรื่อง ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ 2 ช่ัวโมง
ครูผู้สอน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระที่ 3 : วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษแ์ ละระบบสุริยะ รวมทัง้ ปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยะทสี่ ง่ ผลต่อสิง่ มชี วี ติ และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ
ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป. 5 1. เปรียบเทียบความแตกตา่ งของดาว • ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็น
เคราะห์ และดาวฤกษจ์ ากแบบจำลอง บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มีทั้งดาว
ฤกษ์ และดาวเคราะหด์ าวฤกษ์เปน็ แหล่งกำเนิด
แสง จึงสามารถมองเห็นได้ส่วนดาวเคราะห์
ไม่ใช่ แหล่งกำเนิดแสง แต่สามารถมองเห็นได้
เนื่องจาก แสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาว
เคราะหแ์ ล้ว สะทอ้ นเขา้ สู่ตา
1. กำหนดเปา้ หมายของการจัดการเรียนรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาการเรียนรู้
- ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเรอ่ื งท่ีเรียน
ดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แต่มองเห็นได้จากแสงสว่างของดาวฤกษ์ที่ตก
กระทบและสะท้อนเข้าตา ดาวเคราะหบ์ นทอ้ งฟ้ามี 8 ดวง โคจรรอบดวงอาทิตย์ คอื ดาวพุธ ดาวศุกร์
โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวฤกษ์เป็นดาวที่มีแสง
สว่างในตัวเอง มกั ปรากฏบนทอ้ งฟา้ ในยามคำ่ คนื ในลกั ษณะเปน็ กล่มุ ๆ เรียกกนั ว่า กลมุ่ ดาวฤกษ์
106
1.3 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้: เม่อื ผู้เรียนจบกิจกรรมการเรยี นรู้ ผูเ้ รยี นสามารถ
ด้านความรู้ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างดาวเคราะห์กับกลุ่มดาวฤกษ์บนทอ้ งฟา้
(K: Knowledge) ได้
ดา้ นทักษะกระบวนการ สบื ค้นข้อมลู เกี่ยวกับความแตกตา่ งระหวา่ งดาวเคราะห์กบั กลมุ่ ดาวฤกษบ์ น
(P: Process) ท้องฟ้าได้
ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนสามารถทำงานรว่ มกับผู้อนื่ และมีความรบั ผิดชอบตอ่ งานที่ไดร้ ับ
(A: Attribute) มอบหมาย
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การกำหนดและควบคุมและควบคุม
(Sc.P: Science Process Skills) ตัวแปร
การสงั เกต การกำหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร
การวดั การตงั้ สมมติฐาน
การคำนวณ/การใช้ตวั เลข การทดลอง
การจำแนกประเภท การตีความหมายข้อมูลและลง
การจัดกระทำและส่อื ความหมายข้อมูล
การหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับ ข้อสรุป
การสร้างแบบจำลอง
เวลา
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเหน็ จากข้อมูล
2. การจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู บบ 5E
ชั่วโมงท่ี 1
2.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูกระตุ้นความสนใจและทบทวนความรู้เดิมด้วยการชวนนักเรียนเล่นเกมทายคำปริศนา เกี่ยวกับกับ
ชอื่ ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ โดยปฏิบัติดงั นี้
- ครใู บค้ วามหมายใหน้ กั เรียนชว่ ยกันทายชื่อของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะและกลุ่มดาวฤกษ์
เช่น กลุม่ ดาวทม่ี ีแสงสวา่ งยามค่ำคืน?
- ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ทายชือ่ ของดาวเคราะหใ์ นระบบสรุ ยิ ะและกลมุ่ ดาวฤกษ์
(ตัวอย่างคำตอบ: กลมุ่ ดาวฤกษ์)
107
2.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครใู ห้นกั เรยี นแต่ละคนศึกษาข้อมูลความแตกตา่ งดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์ หน้า 148 – 149 ในหนังสือ
เรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 4-5 คน แล้วมอบหมายใหน้ ักเรียนเปรยี บเทยี บความแตกต่างของดาว
เคราะห์และดาวฤกษ์เพิ่มเติมจากหนังสือเรียน โดยให้สืบค้นความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น
หนงั สืออ้างอิง หอ้ งสมุด อนิ เทอร์เนต็
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาอภิปรายร่วมกัน จากนั้นให้ช่วยกันวิเคราะห์
เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง โดยเขียนลงกระดาษชารต์ เปน็ ตารางเปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ ชัดเจน
2.3 ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอตารางการเปรียบเทียบความแตกต่างของดาว
เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ พร้อมอธบิ ายตามทไ่ี ดร้ ่วมกนั วเิ คราะหไ์ ว้
2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ องคค์ วามร้เู รอื่ งความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
ช่วั โมงท่ี 2
2.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูตั้งคำถาม ถามเพื่อทบทวนความรู้และเพื่อเชื่อมโยงความรู้ไปสู่เรื่อง ปรากฏการณ์การขึ้นและตก
ของกลุ่มดาวฤกษ์ โดยมีแนวความคดิ ดังนี้
- ทำไมดาวเคราะห์จึงไม่มแี สงสวา่ งในตัวเอง แตด่ าวฤกษ์กลับมีแสงสวา่ งในตวั เอง
- ตำแหน่งของดาวฤกษ์มีส่วนสัมพันธ์กับการขึ้นและการตกของกลุ่มดาวตนเองหรือไม่
อย่างไร
- ดาวฤกษด์ วงใดท่ีเป็นดาวบอกทิศแก่นกั เดนิ ทาง
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำความรู้ที่ได้ศึกษาตอบลงในใบกิจกรรมที่ 15 เรื่อง ความแตกต่างของดาว
เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ แลว้ นำเสนอครเู พื่อตรวจสอบความเขา้ ใจและความถูกต้อง
3. ครูให้นักเรยี นทำใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง แบบจำลองดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
2.5 ขั้นประเมนิ (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกต้องในใบกิจกรรมที่ 15 เรื่อง ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ เพื่อ
ประเมินผล
2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของใบงานที่ 2 เรอื่ ง แบบจำลองดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
3. ครตู รวจสอบโดยประเมนิ พฤตกิ รรมการร่วมกิจกรรมของนกั เรียนระหวา่ งเรยี น
4. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตง้ั คำถามในระหวา่ งการร่วมกจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
108
3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรียนรู้
3.1 สอื่ /อุปกรณก์ ารเรียนรู้
3.1.1 หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 15 เรอ่ื ง ความแตกตา่ งของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
3.1.3 ใบงานท่ี 2 เร่ือง แบบจำลองดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
3.1.3 อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน เชน่ ภาพดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ต่างๆ กระดาษชาร์ตสำหรับให้
นกั เรียนนำเสนองาน
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 ห้องเรียน
3.2.2 หอ้ งสมดุ
3.2.3 อนิ เทอรเ์ น็ต
109
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการวัดผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ - ตรวจใบงาน ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - การถาม-ตอบ
• เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างดาว
เคราะห์กบั กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าได้ - การนำเสนองานหนา้ ช้นั
เรยี น
ด้านทักษะกระบวนการ(P: Process) - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75
• สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความแตกต่าง ปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุ่ม
ระหว่างดาวเคราะห์กับกลุ่มดาวฤกษ์บน
ท้องฟ้าได้ - การถามตอบ
- ตรวจใบกจิ กรรม
ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - การสังเกตพฤติกรรม ได้คะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนข้ึนไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสงั เกตพฤติกรรม ไดท้ ักษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือวา่ ผ่าน
การสังเกต
การจำแนกประเภท เกณฑ์
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ข้อมูล
การลงความเหน็ จากขอ้ มลู
110
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 33 111
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 เรอ่ื งดาวและแผนท่ดี าว 14 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นร้ยู ่อย 7.4 เร่ือง ปรากฏการณข์ ้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ 2 ชั่วโมง
ครผู สู้ อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรยี นที่ 2/2564
สาระที่ 3 : วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทง้ั ปฏสิ ัมพันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะที่สง่ ผลต่อสิ่งมชี ีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ
ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป. 5 2. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทาง • การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด
การขึ้น และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน จาก จินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง
ท้องฟ้า และอธิบาย แบบรูปเส้นทางการ ๆ ที่ ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่
ข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ บนท้องฟ้าใน ละดวง เรียงกันที่ตำแหน่งคงที่และมีเส้นทาง
รอบป การขึ้น และตกตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซึ่งจะ
ปรากฏ ตำแหน่งเดิม การสังเกตตำแหน่งและ
การขึ้น และตกของดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์
สามารถ ทำได้โดยใช้แผนที่ดาว ซึ่งระบุมุมทิศ
และมุมเงย ที่กลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกต
สามารถใช้มือ ในการประมาณค่าของมุมเงย
เมอื่ สงั เกตดาว ในทอ้ งฟา้
1. กำหนดเปา้ หมายของการจดั การเรียนรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เน้อื หาการเรียนรู้
- ปรากฎการณก์ ารขึ้นและตกของกล่มุ ดาวฤกษ์
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเรือ่ งทเี่ รียน
ปรากฏการณ์การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์
ดังนน้ั การหมุนรอบตัวเองของโลกจงึ ทำให้เรามองเหน็ ดาวบนทอ้ งฟ้ามกี ารเคลื่อนที่
112
1.3 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้: เม่ือผู้เรยี นจบกิจกรรมการเรยี นรู้ ผู้เรียนสามารถ
ด้านความรู้ อธิบายปรากฏการณก์ ารขนึ้ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทักษะกระบวนการ สบื ค้นขอ้ มูลเกี่ยวกบั ปรากฏการณก์ ารขน้ึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ได้
(P: Process)
ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนสามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื และมีความรับผิดชอบตอ่ งานท่ีได้รบั
(A: Attribute) มอบหมาย
ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสงั เกต การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
ตัวแปร
การวัด
การกำหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ
การคำนวณ/การใช้ตัวเลข การต้งั สมมติฐาน
การทดลอง
การจำแนกประเภท การตคี วามหมายข้อมูลและลง
การจดั กระทำและสอ่ื ความหมายข้อมูล
ขอ้ สรุป
การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั การสรา้ งแบบจำลอง
เวลา
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเหน็ จากข้อมลู
2. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E
ชว่ั โมงท่ี 1
2.1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 2 คนออกมาเป็นอาสาสมัครในการตอบคำถามกระตุ้นความสนใจ โดยมีแนว
คำถามดงั นี้
- ปรากฎการณก์ ารขน้ึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษเ์ กิดไดอ้ ยา่ งไร
- ทำไมเราจึงมองเหน็ กลมุ่ ดาวบนท้องฟ้าเคล่ือนที่ได้
2. ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับคำตอบของคำถาม จากนน้ั ครอู ธิบายเพ่ิมเติมให้
นักเรียนเขา้ ใจเพ่อื เช่ือมโยงไปสกู่ ารเรียนรูเ้ ร่ือง ปรากฎการณก์ ารขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์
113
2.2 ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง ปรากฎการณ์การ
ขึ้นและตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ ในหนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 หนา้ 150 – 151
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมากลุ่มละ 1 คน และให้ผลัดกันออกมาอธิบายความรู้เกี่ยวกับ
ปรากฎการณก์ ารขน้ึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ให้เพ่ือนๆ ได้ฟงั และร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็
ชั่วโมงที่ 2
2.3 ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ทำใบกจิ กรรมท่ี 16 เร่ือง ปรากฎการณ์การข้ึนและตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์
2. เมื่อทุกกลุ่มทำเสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบการนำเสนอว่าถู กต้อง
หรอื ไม่ และแก้ไขสว่ นทบ่ี กพร่อง
3. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
4. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งและสรปุ เพิม่ เตมิ เกยี่ วกบั ปรากฏการณก์ ารขน้ึ และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์
2.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูตั้งคำถาม ถามเพอ่ื ทบทวนความรู้โดยมแี นวความคดิ ดงั นี้
- ทำไมการขึ้นและการตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ในแตล่ ะเดือนจึงไม่เหมือนกัน
- เส้นทางการข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ในประเทศไทยเป็นอยา่ งไร
2. ใหน้ ักเรยี นตอบเพื่อทบทวนความรูแ้ ละครูอธิบายเพ่ิมเติม พร้อมกบั ให้นักเรยี นกลับไปสังเกตว่า ในช่วง
อาทติ ยน์ ี้กลุ่มดาวฤกษ์ขน้ึ และตกทิศทางใดบ้าง และเป็นกล่มุ ดาวฤกษ์กลมุ่ ใด
3. ครูใหน้ กั เรยี นทำใบงานที่ 3 เร่อื ง การข้ึนและตกของดวงดาว
2.5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกต้องในใบกจิ กรรมที่ 16 เรอ่ื ง ปรากฏการณก์ ารขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ เพ่ือ
ประเมินผล
2. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งของใบงานที่ 3 เรือ่ ง การขึน้ และตกของดวงดาว
3. ครูตรวจสอบโดยประเมินพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมของนกั เรียนระหวา่ งเรียน
4. ครตู รวจสอบการตอบคำถาม การต้งั คำถามในระหว่างการรว่ มกิจกรรมเปน็ รายบุคคล
114
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหลง่ เรียนรู้
3.1 สื่อ/อุปกรณ์การเรยี นรู้
3.1.1 หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน ป.5
3.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 16 เรื่อง ปรากฏการณก์ ารขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์
3.1.3 ใบงานท่ี 3 เร่ือง การขน้ึ และตกของดวงดาว
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 ห้องเรยี น
3.2.2 หอ้ งสมุด
3.2.3 อนิ เทอรเ์ นต็
4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีการวัดผลการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบกิจกรรม ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75
• อธิบายปรากฏการณ์การขึ้นและตก
ของกลุม่ ดาวฤกษ์ได้ - การถาม-ตอบ
ดา้ นทักษะกระบวนการ(P: Process) - การนำเสนองานหน้าชัน้
• สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์การ
ขน้ึ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ได้ เรยี น
ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
(A: Attribute) - การนำเสนองานหนา้ ชน้ั ผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ เรียน
มอบหมาย
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ - ตรวจใบงาน
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต - การสงั เกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
การพยากรณ/์ การทำนาย
การจัดกระทำและสื่อความหมาย 8 คะแนนข้ึนไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
ขอ้ มูล
การลงความเหน็ จากข้อมลู - การสังเกตพฤติกรรม ได้ทกั ษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือวา่ ผา่ น
เกณฑ์
115
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 34 116
กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 เร่ืองดาวและแผนทด่ี าว 14 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นรยู้ ่อย 7.5 เรื่อง ทรงกลมท้องฟ้า 2 ชั่วโมง
ครผู สู้ อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนท่ี 2/2564
สาระท่ี 3 : วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์และระบบสรุ ยิ ะ รวมทัง้ ปฏสิ มั พันธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะที่สง่ ผลตอ่ ส่ิงมชี ีวติ และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ
ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป. 5 2. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทาง • การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด
การขึ้น และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน จาก จินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง
ท้องฟ้า และอธิบาย แบบรูปเส้นทางการ ๆ ที่ ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่
ขน้ึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ บนท้องฟ้าใน ละดวง เรียงกันที่ตำแหน่งคงที่และมีเส้นทาง
รอบป การขึ้น และตกตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซึ่งจะ
ปรากฏ ตำแหน่งเดิม การสังเกตตำแหน่งและ
การขึ้น และตกของดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์
สามารถ ทำได้โดยใช้แผนที่ดาว ซึ่งระบุมุมทิศ
และมุมเงย ที่กลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกต
สามารถใช้มือ ในการประมาณค่าของมุมเงย
เม่ือสังเกตดาว ในท้องฟา้
1. กำหนดเป้าหมายของการจดั การเรยี นรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เนอื้ หาการเรยี นรู้
- ทรงกลมท้องฟ้า
1.2 สาระสำคญั /ความคิดรวบยอดของเร่อื งที่เรยี น
ทรงกลมท้องฟ้า เปน็ ทรงกลมสมมติขนาดใหญ่มรี ัศมอี นนั ต์ โดยมโี ลกอยู่ท่ีจดุ ศูนย์กลางของทรงกลม
117
1.3 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้: เมื่อผู้เรียนจบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผู้เรียนสามารถ
ดา้ นความรู้ อธบิ ายความหมายของทรงกลมท้องฟา้ ได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทักษะกระบวนการ จัดทำแผ่นพบั คำศัพท์ดาราศาสตร์เรื่องทรงกลมท้องฟา้ ได้
(P: Process)
ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนสามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืน และมีความรบั ผิดชอบต่องานท่ีได้รบั
(A: Attribute) มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสงั เกต การกำหนดและควบคุมและควบคุม
การวัด ตัวแปร
การคำนวณ/การใชต้ วั เลข การกำหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร
การต้งั สมมตฐิ าน
การจำแนกประเภท การทดลอง
การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูล การตีความหมายข้อมูลและลง
การหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกบั ข้อสรุป
เวลา การสร้างแบบจำลอง
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเหน็ จากข้อมูล
2. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ 5E
ชัว่ โมงท่ี 1
2.1 ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครตู ัง้ คำถามกระต้นุ ความสนใจ โดยมแี นวคำถามดงั นี้
- ทรงกลมท้องฟา้ สมั พนั ธ์กับเวลากลางคนื อยา่ งไร
- ทรงกลมทอ้ งฟ้ามอี ยจู่ รงิ หรือไม่
2. ให้นักเรียนรว่ มกันตอบและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั ทรงกลมท้องฟ้า
2.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาความรู้เร่ือง ทรงกลมท้องฟ้า ในหนังสือรายวิชาพ้นื ฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.5 หน้า 151-152
118
2. ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งค้นคว้าในห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต โดยมอบหมายให้
นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มค้นหาความหมายของศัพท์ทางดาราศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับเร่ืองทองกลม
ท้องฟา้ แล้วจัดทำเป็นแผน่ พบั คำศพั ทน์ า่ รู้
ชวั่ โมงที่ 2
2.3 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครูให้นักเรียนส่งตวั แทนกลุ่มนำผลงานแผ่นพับมานำเสนอและอภิปรายหน้าชั้นเรียน และให้แต่ละกลุ่ม
เปรยี บเทยี บและตรวจสอบความถกู ตอ้ งรว่ มกัน
2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายผลการนำเสนอของแตล่ ะกลุ่ม และสรปุ ความร้เู ก่ียวกับทรงกลมท้องฟา้
3. ครตู ง้ั คำถามเพ่อื ทดสอบความเข้าใจและเชื่อมโยงความรู้ไปสเู่ ร่ืองแผนทดี่ าว โดยมีแนวคำถาม ดังนี้
- การศึกษาดาวบนท้องฟา้ จำเปน็ ตอ้ งมีอุปกรณ์สำคัญอะไรชว่ ยในการดูดาว
- แผนที่ดาว คอื อะไร
2.4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั หาคำตอบ และชว่ ยกันตอบพร้อมแสดงความคดิ เหน็
2. ครูเฉลยคำตอบ จากนั้นให้นักเรียนเปิดดูภาพแผนที่ดาว รูปที่ 7.5 และรูปที่ 7.6 หน้า 153 ในหนังสือ
รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.5 เพอื่ ขยายความรแู้ ละเตรยี มเรยี นเร่อื งแผนทด่ี าว
3. ครูให้นกั เรียนทำใบกจิ กรรมที่ 17 เร่ือง ศพั ทด์ าราศาสตร์นา่ รู้ โดยเขยี นศพั ท์ทางดาราศาสตร์ที่ช่วยกัน
ค้นควา้ ลงไป แลว้ นำเสนอครหู ลังเรยี นจบช่วั โมง
2.5 ขั้นประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถกู ต้องของใบกิจกรรมที่ 17 เรื่อง ศพั ท์ดาราศาสตรน์ ่ารู้ เพ่ือประเมนิ ผล
2. ครูตรวจสอบโดยประเมนิ พฤติกรรมการรว่ มกิจกรรมของนกั เรียนระหว่างเรยี น
3. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การต้งั คำถามในระหวา่ งการร่วมกิจกรรมเป็นรายบคุ คล
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
3.1 ส่อื /อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้
3.1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 17 เรื่อง ศัพท์ดาราศาสตร์น่ารู้
3.2 แหล่งการเรียนรู้
3.2.1 ห้องเรียน
3.2.2 หอ้ งสมดุ
3.2.3 อนิ เทอรเ์ นต็
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วธิ ีการวัดผลการเรียนรู้ 119
จุดประสงค์การเรียนรู้
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายความหมายของทรงกลมท้องฟ้า - การถาม-ตอบ
ได้
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ(P: Process) - การนำเสนองานหนา้ ช้นั ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75
• จดั ทำแผน่ พับคำศัพทด์ าราศาสตร์เรื่อง เรียน
ทรงกลมท้องฟา้ ได้
ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - การสงั เกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) 8 คะแนนข้ึนไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสงั เกตพฤติกรรม ได้ทักษะกระบวนการทาง
(Sc.P: Science Process Skills) วทิ ยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือวา่ ผ่าน
การสังเกต
การวัด เกณฑ์
การจัดกระทำและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล
การลงความเห็นจากข้อมลู
120
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 35 121
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 เร่อื งดาวและแผนทดี่ าว 14 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ย่อย 7.6 เร่ือง แผนท่ดี าว 2 ช่ัวโมง
ครผู ู้สอน นางสาวสกุ ัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนท่ี 2/2564
สาระที่ 3 : วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์และระบบสรุ ยิ ะ รวมทัง้ ปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ิยะทส่ี ่งผลตอ่ ส่ิงมชี วี ติ และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป. 5 2. ใช้แผนท่ีดาวระบตุ ำแหนง่ และเส้นทาง • การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด
การขึ้น และตกของกลุม่ ดาวฤกษบ์ น จาก จินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง
ท้องฟ้า และอธิบาย แบบรปู เสน้ ทางการ ๆ ท่ี ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่
ขน้ึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ บนทอ้ งฟ้าใน ละดวง เรียงกันที่ตำแหน่งคงที่และมีเส้นทาง
รอบป การขึ้น และตกตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซึ่งจะ
ปรากฏ ตำแหน่งเดิม การสังเกตตำแหน่งและ
การขึ้น และตกของดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์
สามารถ ทำได้โดยใช้แผนที่ดาว ซึ่งระบุมุมทิศ
และมุมเงย ที่กลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกต
สามารถใช้มือ ในการประมาณค่าของมุมเงย
เมื่อสงั เกตดาว ในท้องฟ้า
1. กำหนดเป้าหมายของการจัดการเรยี นรู้
1.1 สาระการเรยี นรู้/เนือ้ หาการเรียนรู้
- ส่วนประกอบของแผนท่ีดาว
- วธิ กี ารใชง้ านแผนท่ดี าว
1.2 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดของเร่ืองทเ่ี รยี น
แผนที่ดาว เป็นแผนทีท่ ้องฟ้าบอกตำแหน่งของดาวบนท้องฟ้า โดยการบอกมุมทิศและมุมเงยของดาว
ทส่ี งั เกต จงึ เป็นเครือ่ งมือทใ่ี ช้ประกอบการสังเกตดวงดาวบนทอ้ งฟ้า
122
1.3 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้: เมอ่ื ผู้เรียนจบกิจกรรมการเรยี นรู้ ผเู้ รียนสามารถ
ดา้ นความรู้ อธิบายการใช้แผนที่ดาวบอกทศิ และปรากฏการณ์ขึ้น-ตกของดวงดาวได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทักษะกระบวนการ สาธิตการใชง้ านแผนท่ดี าวได้
(P: Process)
ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียนสามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื และมีความรบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีได้รบั
(A: Attribute) มอบหมาย
ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต การกำหนดและควบคุมและควบคมุ
การวดั ตัวแปร
การคำนวณ/การใช้ตัวเลข การกำหนดนยิ ามเชิงปฏิบัติการ
การจำแนกประเภท การตั้งสมมติฐาน
การจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมูล การทดลอง
การตคี วามหมายข้อมูลและลง
การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกับ
เวลา ขอ้ สรุป
การสรา้ งแบบจำลอง
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเห็นจากข้อมลู
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ 5E
ช่ัวโมงท่ี 1
2.1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครตู ้ังคำถามให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคิดเกย่ี วกับเหน็ วา่
- นกั เรียนเคยไปดูดาวหรอื ไม่ ตอนนี้ดาวนกั เรยี นใช้เครอ่ื งมอื อะไรในการช่วยดดู าว
- การดูดวงดาวบนท้องฟา้ ต้องรู้ตำแหน่ง เพราะดาวบนทอ้ งฟา้ มีการเปล่ยี นตำแหนง่ ไปเร่อื ย ๆ
นักเรยี นจะรตู้ ำแหนง่ การดดู าวได้ดว้ ยวิธีใด
2. ใหน้ ักเรยี นช่วยกันแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การดดู าว เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรยี นร้เู ร่อื ง แผนที่ดาว
123
2.2 ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องเกี่ยวกับแผนที่ดาว หน้า 153-154 ในหนังสือเรียนพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.5
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนที่ดาวให้นักเรียนฟังว่า แผนที่ดาวจะบอกตำแหน่งของกลุ่มดาวต่างๆ
บนท้องฟ้า โดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ แผนที่ดาวด้านที่เป็นขั้วฟ้าใต้ แผนที่ดาวด้านที่เป็นขั้วฟ้า
เหนือ
3. ครูอธิบายวธิ ีการใช้แผนที่ดาวให้นักเรียนฟงั แล้วให้นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ศึกษาวิธีใช้แผนท่ี
ดาว จากหนังสือเรยี นพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.5 หนา้ 154-155 ของ สสร.
4. ครสู าธติ การใช้แผนที่ดาวใหน้ กั เรียนดทู ลี ะข้นั ตอนอยา่ งช้า ๆ เพื่อให้นกั เรียนสงั เกตและจดจำ
5. ให้นักเรียนแต่ละฝึกใช้แผนที่ดาวตามแบบอย่างที่ครูสาธิตให้ดู หรือให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก
เอกสารประกอบการสอน หรือสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ห้องสมุด
อนิ เทอร์เนต็
6. ครคู อยสังเกต ดูแล และให้คำแนะนำนักเรียนขณะที่นักเรยี นกำลังฝึกดูแผนทด่ี าว
ชั่วโมงที่ 2
2.3 ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ครูสุ่มนักเรียน 5-6 คน ออกมาสาธิตการใช้แผนที่ดาวหน้าชั้นเรียน และนักเรียนร่วมกันอภิปรายและ
สรุปผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม
2. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนอธิบายวิธีดูแผนที่ดาวลงในใบกิจกรรมที่ 18 เรื่อง วิธีการใช้
งานแผนทีด่ าว โดยครเู ป็นผู้ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
2.4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูตงั้ คำถามเพื่อทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนเกยี่ วกบั เร่ือง แผนทด่ี าว โดยมีแนวคำถาม ดังนี้
- นักเรียนคิดว่าการศึกษาตำแหน่งดวงดาวของนักเดินทางและนักเดินเรือสมัยโบราณศึกษา
อยา่ งไร
- การศกึ ษาตำแหน่งดวงดาวมคี วามจำเปน็ ต่อการดำเนนิ ชวี ติ ของพวกเขาอยา่ งไร
2. นกั เรียนช่วยกันตอบคำถาม
2.5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation)
1. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งในใบกจิ กรรมท่ี 18 เร่ือง วธิ กี ารใชง้ านแผนที่ดาว
2. ครูตรวจสอบโดยประเมนิ พฤตกิ รรมการรว่ มกจิ กรรมของนกั เรยี นระหว่างเรยี น
3. ครตู รวจสอบการตอบคำถาม การต้ังคำถามในระหว่างการร่วมกจิ กรรมเป็นรายบคุ คล
124
3. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
3.1 ส่อื /อุปกรณ์การเรียนรู้
3.1.1 หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 18 เร่ือง วธิ กี ารใช้งานแผนท่ีดาว
3.2 แหลง่ การเรียนรู้
3.2.1 หอ้ งเรียน
3.2.2 หอ้ งสมดุ
3.2.3 อินเทอร์เน็ต
4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผลการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมนิ ผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K: Knowledge) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
• อธิบายการใช้แผนที่ดาวบอกทิศและ
ปรากฏการณ์ขึน้ -ตกของดวงดาวได้ - การถาม-ตอบ
ดา้ นทักษะกระบวนการ(P: Process) - การนำเสนองานหนา้ ช้นั
• สาธติ การใช้งานแผนท่ีดาวได้
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรยี น
(A: Attribute)
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน - สงั เกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ ปฏิบัตกิ ิจกรรมกลุ่ม
มอบหมาย
ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - การสงั เกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
(Sc.P: Science Process Skills) 8 คะแนนขน้ึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
การสังเกต
การวดั - การสงั เกตพฤติกรรม ได้ทกั ษะกระบวนการทาง
การจัดกระทำและสื่อความหมาย วทิ ยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือวา่ ผ่าน
ขอ้ มลู
การจำแนกประเภทข้อมลู เกณฑ์
125
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 36 126
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่ืองดาวและแผนท่ดี าว 14 ช่ัวโมง
หน่วยการเรียนรูย้ ่อย 7.7 เร่ือง การหาค่ามุมเงย 2 ชั่วโมง
ครูผ้สู อน นางสาวสุกัญญา ทองเพ็ญ ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระที่ 3 : วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษแ์ ละระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสุริยะที่สง่ ผลตอ่ ส่ิงมีชีวติ และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป. 5 2. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทาง • การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด
การขึ้น และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน จาก จินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง
ท้องฟ้า และอธิบาย แบบรูปเส้นทางการ ๆ ที่ ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่
ขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ บนท้องฟ้าใน ละดวง เรียงกันที่ตำแหน่งคงที่และมีเส้นทาง
รอบป การขึ้น และตกตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซึ่งจะ
ปรากฏ ตำแหน่งเดิม การสังเกตตำแหน่งและ
การขึ้น และตกของดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์
สามารถ ทำได้โดยใช้แผนที่ดาว ซึ่งระบุมุมทิศ
และมุมเงย ที่กลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกต
สามารถใช้มือ ในการประมาณค่าของมุมเงย
เม่ือสงั เกตดาว ในทอ้ งฟ้า
1. กำหนดเปา้ หมายของการจดั การเรียนรู้
1.1 สาระการเรียนรู้/เนอ้ื หาการเรยี นรู้
- การหาค่ามุมเงย
1.2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของเรือ่ งทีเ่ รยี น
มุมเงย เป็นมุมที่มีแขนของมุมแขนหนึ่งอยู่ในระดับสายตาและอีกแขนหนึ่งเชื่อมระหว่างตาของผู้
สงั เกต และวัตถุ ซึ่งอยู่สูงกวา่ ระดับสายตา
127
1.3 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้: เมอื่ ผู้เรียนจบกจิ กรรมการเรียนรู้ ผเู้ รียนสามารถ
ดา้ นความรู้ อธิบายและบอกตำแหน่งของดวงดาวดว้ ยค่ามมุ เงยได้
(K: Knowledge)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการหาค่ามุมเงยได้
(P: Process)
ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรยี นสามารถทำงานร่วมกับผอู้ น่ื และมีความรับผิดชอบตอ่ งานท่ีได้รบั
(A: Attribute) มอบหมาย
ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills)
การสังเกต การกำหนดและควบคุมและควบคุม
การวัด ตัวแปร
การคำนวณ/การใช้ตัวเลข
การกำหนดนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ าร
การจำแนกประเภท การต้ังสมมติฐาน
การจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมลู การทดลอง
การตีความหมายข้อมูลและลง
การหาความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปส และสเปสกับ
เวลา ขอ้ สรุป
การสร้างแบบจำลอง
การพยากรณ/์ การทำนาย
การลงความเหน็ จากขอ้ มลู
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5E
ช่ัวโมงท่ี 1
2.1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครตู ัง้ คำถามเพือ่ กระต้นุ ความสนใจของนักเรียน โดยมแี นวคำถามดงั น้ี
- มุมเงยคืออะไร (ตัวอย่างคำตอบ : มุมเงย คือ มุมที่วัดจากแนวระดับไปยังตำแหน่งที่วัตถุ
ปรากฏอยู)่
- มมุ เงยเกี่ยวข้องกับแผนทีด่ าวอย่างไร (แนวคำตอบ: ใชใ้ นการหาตำแหน่งของดวงดาว)
2. นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคำถาม ครูเฉลยและอธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจวา่
“มุมเงย คือ มุมที่วัดจากแนวระดับไปยังตำแหน่งที่วัตถุปรากฏอยู่ทำให้เราสามารถนำมุมเงยไปใช้ใน
การหาตำแหนง่ ของดวงดาวได้”
128
2.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาความรเู้ ร่ือง การหาค่ามุมเงย จากหนังสอื เรียนพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ป.5 หนา้ 155-156
2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรม การหาค่ามุมเงย โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
ดังนี้ ให้นักเรียนใช้นิ้วมือและมือวัดตำแหน่งของดวงดาวในเวลากลางคืน โดยเหยียดแขนออกไปข้าง
หนง่ึ และใช้ตาอกี ข้างหนึง่ เลง็ ไปทปี่ ลายนิ้วที่กางออก หรอื กำมือให้พอดีกับมุมเงยท่จี ะวัด
ช่วั โมงท่ี 2
2.3 ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. ครสู ุ่มเลอื กนกั เรียน 5 คน ออกมานำเสนอผลงานการหาคา่ มมุ เงยท่ีบนั ทึกผลได้หนา้ ชนั้ เรียน
2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ดังน้ี
- นักเรียนเลอื กมุมทวี่ ดั ไดม้ คี ่าเทา่ ไรบา้ ง (คำตอบของนกั เรียนอยู่ในดลุ พินิจของครูผูส้ อน)
3. ครูสรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหาคา่ มุมเงย โดยให้ข้อสรุปว่า
“เราสามารถใช้ มือของเราบอกตำแหน่งของดวงดาวได้โดยการประมาณระยะมุมเงยของดวงดาว
นอกจากนเ้ี ราสามารถใชแ้ ผนท่ดี าวเพื่อบอกตำแหนง่ ดวงดาวบนท้องฟ้าที่แน่นอนได้ด้วย”
2.4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเก่ียวกับมุมเงย โดยรว่ มกันเขยี นสรปุ เปน็ แผนผังความคิดลงในใบกิจกรรมที่
19 เรอื่ ง กาหาค่ามมุ เงย
2. ครูตัง้ คำถามทบทวนความรู้ โดยมแี นวคำถามดังนี้
- ช่วงเวลาใดทเ่ี หมาะสมในการดดู าว เพราะเหตใุ ด
(คำตอบตัวอย่าง: ช่วงฤดูหนาว เพราะเป็นช่วงท่ี ท้องฟ้าโปร่ง มีเมฆน้อย ทำให้ผู้ที่ต้องการดูดาวมองเห็น
ดาวไดช้ ัดและทว่ั ท้ังทอ้ งฟา้ )
2.5 ขั้นประเมิน (Evaluation)
1. ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งในใบกจิ กรรมท่ี 19 เร่อื ง การหาคา่ มมุ เงย เพ่ือประเมินผล
2. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งของใบงานท่ี 4 เรื่อง การอา่ นค่าของมมุ เงยของตำแหนง่ ดาว
3. ครตู รวจสอบโดยประเมินพฤตกิ รรมการรว่ มกิจกรรมของนักเรียนระหวา่ งเรยี น
4. ครูตรวจสอบการตอบคำถาม การตงั้ คำถามในระหว่างการร่วมกจิ กรรมเป็นรายบุคคล
129
3. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรียนรู้
3.1 ส่ือ/อุปกรณก์ ารเรียนรู้
3.1.1 หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน ป.5
3.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 19 เร่ือง การหาค่ามมุ เงย
3.1.3 ใบงานท่ี 4 เรื่อง การอา่ นค่าของมุมเงยของตำแหน่งดาว
3.2 แหลง่ การเรยี นรู้
3.2.1 หอ้ งเรยี น
3.2.2 หอ้ งสมุด
3.2.3 อนิ เทอรเ์ นต็
4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีการวดั ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การประเมนิ ผล
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - การถาม-ตอบ ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ด้านความรู้ (K: Knowledge) - การนำเสนองานหน้าชั้น
• อธบิ ายและบอกตำแหน่งของดวงดาว
ด้วยค่ามมุ เงยได้ เรียน
ด้านทกั ษะกระบวนการ(P: Process) - ตรวจใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75
• ปฏิบตั ิกจิ กรรมการหาค่ามมุ เงยได้ - การสงั เกตพฤติกรรม
ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ไดค้ ะแนนจากการสงั เกต
(A: Attribute) - การสังเกตพฤติกรรม 8 คะแนนข้ึนไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
• นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ ไดท้ ักษะกระบวนการทาง
มอบหมาย วิทยาศาสตร์ 2 ใน 4 ถือวา่ ผ่าน
ดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Sc.P: Science Process Skills) เกณฑ์
การสงั เกต
การวดั
การจัดกระทำและส่ือความหมาย
ขอ้ มลู
การคำนวณและการใช้ตัวเลข
130
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ใบกิจกรรมที่ 1-19
133
ใบกิจกรรมท่ี 1
เรื่อง แรงลพั ธ์
คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นดภู าพแลว้ ตอบคำถาม
ใชภ้ าพเด็กเขน็ รถ หน้า 111 หนงั สอื วิทยาศาสตร์ ป.5 ของ สสร
1. จากภาพ มีแรงลัพธ์เกดิ ขน้ึ กีแ่ รง
2. ถา้ มีรถ 2 คนั รถคันที่ 1 มีเพื่อนชว่ ยเขน็ 1 คน ส่วนรถคันที่ 2 มีเพื่อนชว่ ยเข็น 2 คน แรงลัพธท์ ี่
เกิดขน้ึ แตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร
3. ถา้ รถคันทีม่ ีเพื่อนชว่ ยเข็น 2 คน ออกแรงคนละ 30 นิวตนั รถเร่ิมเคล่ือนท่ี รถคนั ทม่ี เี พ่ือนชว่ ยเขน็ 1
คน จะต้องออกแรงกน่ี วิ ตนั จึงจะทำใหร้ ถเคลื่อนที่ได้
134
ใช้ภาพเดก็ เขน็ รถ หน้า 111 หนังสอื วิทยาศาสตร์ ป.5 ของ สสร
4. จากภาพ มีแรงลัพธเ์ กิดขนึ้ กีแ่ รง
5. จากภาพ ผลรวมของแรงลัพธ์จะเป็นอยา่ งไร และสภาพการเคลอ่ื นที่ของวตั ถจุ ะเป็นอยา่ งไร
6. ภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แตกต่างกันอย่างไร
135
ใบกิจกรรมที่ 2
เร่ือง แรงเสยี ดทาน
คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นทำการทดลองเรื่อง แรงเสียดทาน ตามขั้นตอนที่กำหนด แล้วบันทึกผล
อุปกรณ์
1. กล่องกระดาษ 2 ใบ
2. หนงั สือเรียน 13 เล่ม
วธิ ที ดลอง
1. นำหนังสอื เรยี นใสก่ ล่อง โดยกล่องที่ 1 ใส่หนังสือ 5 เลม่ กล่องที่ 2 ใสห่ นังสือ 8 เลม่
2. ให้นักเรียนผลักกล่องใส่หนังสือ กล่องละ 1 คน โดยให้เริ่มผลักบนพื้นห้องเรียนพร้อมๆ กัน ให้
สังเกตและบันทกึ ผล
3. ให้นักเรียนนำกล่องเอาหนังสือเรียนออกจากกล่องทั้ง 2 กล่อง แล้วผลักกล่องเปล่าบนพื้นเรียบ
ใหส้ ังเกตและบนั ทกึ ผล
4. ผลกั กล่องเปล่าใบท่ี 2 บนพนื้ ถนนท่ีขรุขระ ใหส้ งั เกตและบันทึกผล
ตารางบนั ทึกผล
การทดลอง ลักษณะของผิวสัมผัส ระยะทางท่ีวดั ได้
ผลกั กล่องใส่หนงั สือ 5 เล่ม
ผลกั กลอ่ งใสห่ นังสือ 8 เลม่
ผลกั กล่องเปลา่ บนพืน้ เรียบ
ผลักกล่องเปล่าบนพ้ืนขรุขระ
สรปุ ผลการทดลอง
136
ใบกิจกรรมที่ 3
การลดและเพ่มิ แรงเสยี ดทาน
คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. พอ่ ใช้นำ้ มนั หลอ่ ล่นื หยอดโซ่รถจกั รยาน เพราะเหตุใด
คำตอบ
2. การใช้รถเข็นเคลอ่ื นย้ายสิ่งของมีประโยชน์อยา่ งไร
คำตอบ
3. เพราะเหตุใด กรมทางหลวงสรา้ งถนนให้มีพ้นื ผิวเรียบ
คำตอบ
4. แอมเปลี่ยนยางรถยนต์ทุกครงั้ เม่อื ตรวจสอบพบกว่าไม่มีดอกยางแล้ว เพระเหตใุ ด
คำตอบ
5. ทิพย์เลือกกระเบ้ืองปูห้องน้ำท่ีมพี ื้นผิวขรขุ ระปพู นื้ เพราะเหตุใด
คำตอบ
137
ใบกจิ กรรมที่ 4
เร่อื ง ผลของแรงเสียดทาน
คำชแี้ จง ให้นักเรยี นสำรวจแรงเสียดทานท่เี กิดขน้ึ ในชีวติ ประจำวัน แลว้ บนั ทึกข้อมูล
สถานการณท์ เ่ี กดิ แรงเสียดทาน พ้นื ผิวที่เกดิ แรงเสียดทาน ผลของแรงเสียดทาน
1.
2.
3.
4.
5.
138
ใบกิจกรรมท่ี 5
เร่อื ง การเกดิ เสียง
คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนเขยี นคำตอบและเขียนแผนภาพการเกดิ เสียงลงในกรอบให้ถูกต้องและสวยงาม
เสยี งคอื อะไร เสียง
เสยี งเกดิ ข้นึ ได้อยา่ งไร
………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..
………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..
…………………………………………………………………... …………………………………………………………………...
………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..
………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
139
ใบงานกิจกรรมท่ี 6
เรื่อง เสียงจากไม้บรรทดั
คำช้แี จง
1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละเทา่ ๆ กัน 3-4 กลุ่ม
2. ใหน้ กั เรยี นศึกษาขั้นตอนการทดลองจากในหนงั สือเรยี น โดยใช้อปุ กรณ์การทดลองทีค่ รูได้เตรยี มไว้ให้
3. ทำการทดลองและบนั ทึกผลการสำรวจลงในตารางบนั ทึกผลการสำรวจ
ตารางบนั ทกึ ผลการสำรวจ สงิ่ ท่ีสังเกตได้
รายละเอยี ดการทดลอง
กดครงั้ ท่ี 1 กดคร้งั ที่ 2
1. ปลายไมบ้ รรทัดย่นื ออกจากขอบโต๊ะ 15-
20 เซนติเมตร
2. ปลายไม้บรรทดั ยืน่ ออกจากขอบโต๊ะ 8
เซนติเมตร
140
ใบกิจกรรมที่ 7
เรื่อง แหล่งกำเนดิ เสียงและการไดย้ นิ เสียง
คำชแ้ี จง ให้นักเรียนสรปุ แหลง่ กำเนดิ เสียงและการได้ยินเสียงออกมาในรูปแบบของแผนผงั ความคิดลงในกรอบ
ให้สมบูรณ์และสวยงาม
141
ใบกิจกรรมที่ 8
เรื่อง ทศิ ทางการเคล่อื นที่ของเสียง (ตอนที่ 1)
คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นบันทกึ ผลการทดลองลงตารางต่อไปนี้
ตำแหน่งท่ีนง่ั ของ การได้ยินเสียง เหตุผล
นักเรยี น
……………………………………........... ……………………………………...........
หน้าหอ้ งเรียน ……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
กลางห้องเรียน ……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
หลงั ห้องเรียน ……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
142
ใบกิจกรรมท่ี 9
เรอื่ ง ทศิ ทางการเคลอื่ นทข่ี องเสยี ง (ตอนที่ 2)
คำชีแ้ จง ตอบคำถามให้ถูกตอ้ ง
1. จากภาพสถานการณ์ท่กี ำหนดให้ ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปนใี้ หถ้ ูกต้อง
พอ่ กำลงั เดนิ จากหน้าบา้ นมา
รบั โทรศพั ท์ ซึง่ หน้าบ้านหา่ ง
จากโทรศพั ท์ 7 เมตร
แม่อย่ใู นครัว กำลงั จะเดนิ มา
รับโทรศัพท์ โดยครวั ห่าง
จากโทรศพั ท์ 4 เมตร
7 เมตร
4 เมตร
นดิ กบั หนอ่ ยนัง่ อยู่บนโซฟา
หา่ งจากโทรศัพท์ 1 เมตร
1 เมตร เสยี งโทรศัพท์
2.ตอบคำถามใหถ้ กู ตอ้ ง
1.บุคคลใดบ้างทีไ่ ดย้ นิ เสียงโทรศพั ท์
คำตอบ........................................................................................................................ ...
2.เสียงโทรศพั ท์มที ศิ ทางอยา่ งไร
คำตอบ...........................................................................................................................
3.บคุ คลใดในสถานการณท์ ีไ่ ด้ยนิ เสยี งโทรศพั ท์เบาที่สดุ
คำตอบ............................................................................................................. ..............
4.บุคคลใดในสถานการณ์ท่ีไดย้ ินเสียงโทรศพั ทด์ ังพอๆกนั
คำตอบ........................................................................................................................ ...
5.เรียงลำดับการได้ยนิ เสยี งของบคุ คลในสถานการณ์จากเสียงดังมากที่สดุ ไปนอ้ ยที่สุด
คำตอบ..........................................................................................................................
143
ใบกิจกรรมที่ 10
เร่อื ง เสยี งเดินทางผ่านตัวกลาง
คำช้แี จง
1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละเท่าๆ กนั 3-4 กลุ่ม
2. ใหน้ กั เรียนทำกจิ กรรมดงั นี้
- ใหส้ มาชิกคนใดคนหนงึ่ ในกลุ่ม ทำการเคาะโต๊ะเบาๆ แล้วใหเ้ พื่อนๆ ในกลุ่มทเ่ี หลือสงั เกตเสยี งท่ี
ไดย้ นิ
- ให้เพื่อนๆ ที่ไม่ไดเ้ ป็นผ้เู คาะโต๊ะ เอาหแู นบกบั โต๊ะ แลว้ ใหเ้ พอ่ื นเคาะโต๊ะเบาๆ แล้วใหเ้ พ่ือนๆ ใน
กลุ่ม
ที่ เหลือสังเกตเสยี งทีไ่ ดย้ ิน
3. ปฏบิ ตั ิการทดลองตามข้นั ตอนและบนั ทกึ ผลการทดลองลงในตารางบันทึกผลการทดลอง
ตารางบนั ทึกผลการทดลอง
การ ผู้สังเกต ตัวกลาง เปรียบเทยี บ
เคาะ ที่เสยี งเดินทางผา่ น เสยี งทเ่ี กิดขึ้น
ครงั้ ที่ 1 ฟงั ธรรมดา ……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
ครง้ั ท่ี 2 ฟงั โดยเอาหูแนบโต๊ะ ……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
……………………………………........... ……………………………………...........
144
ใบกจิ กรรมท่ี 11
เรอ่ื ง การเกดิ เสียงสูง เสยี งต่ำ
คำช้แี จง
1. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน
2. ให้นักเรยี นศึกษาขัน้ ตอนการทดลองดังนี้
อุปกรณ์ ไมบ้ รรทัดพลาสตกิ 1 อัน
วิธที ดลอง
3.1. วางไม้บรรทัดย่ืนออกมาจากขอบโต๊ะประมาณ 20 เซนตเิ มตร ใชม้ อื กดที่ปลายไม้
บรรทดั แลว้ ปล่อย สงั เกตการสัน่ ของไมบ้ รรทดั และเสียงที่ได้ยิน แลว้ บันทึกผล
3.2. วางไม้บรรทดั ยน่ื ออกมาจากขอบโตะ๊ ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ใชม้ ดื กดทปี่ ลายไม้
บรรทัด แรงเท่าคร้งั แรก สังเกตการสนั่ ของไมบ้ รรทัดและเสียงที่ไดย้ นิ เปรียบเทยี บกบั
คร้ังแรก แลว้ บันทึกผล
3. บันทกึ ผลการสำรวจลงในตารางบนั ทกึ ผลการสำรวจ
ตารางบนั ทึกผลการสำรวจ
รายละเอียดการทดลอง การสนั่ ของไม้บรรทัด เสยี งทไี่ ด้ยนิ
สน่ั เร็ว สัน่ ชา้ เสยี งสูง เสียงตำ่
1. ปลายไม้บรรทัดยื่นออกจากขอบโต๊ะ
20 เซนตเิ มตร
2. ปลายไมบ้ รรทัดยื่นออกจากขอบโต๊ะ
10 เซนติเมตร
สรปุ ผลการทดลอง