The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอม 2 เล่ม 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kitimapohn Wongphosan, 2024-02-02 02:00:00

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 3

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอม 2 เล่ม 3

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38 - 56 รายวิชาภาษา ไทย 4 (ท22102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร รหัสนักศึกษา 62100101127 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38 - 56 วิชาภาษาไทย 4 ท22102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนท่าบ่อ กิติมาพร วงค์โพธิ์สาร เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖6 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38 - 56 วิชาภาษาไทย 4 ท22102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนท่าบ่อ นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร รหัสนักศึกษา ๖2๑๐๐๑๐๑๑๒๗ เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖6 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


1. แผนผังโรงเรียนท่าบ่อ 2. ตารางสอน


3. ก าหนดงานที่โรงเรียนมอบหมายให้ปฏิบัติ การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาครั้งนี้ ทางโรงเรียนได้มอบหมายหน้าที่งานบริการ โดยให้ ปฏิบัติงานต่าง ๆ ดังนี้ ที่ ค าสั่งที่ เรื่อง หน้าที่ 1 408/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน “วันสถาปนาโรงเรียนท่าบ่อ ครบรอบ 75 ปี” คณะกรรมการฝ่ายตกแต่งสถานที่ 2 424/2566 การลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 คณะกร รมก า รบ ริก า รจ่ ายชุด อุปกรณ์การเรียน 3 447/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการครูเวรจุด เสี่ยงศาลานาตรีชนโรงเรียน ท่าบ่อ ภาคเรียนที่ 2 ประจ า ปีการศึกษา 2566 คณะกรรมก ารครูเวรจุดเสี่ยง ศาลานาตรีชนวันจันทร์ 4 463/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ ด า เ นิ น ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ศึ กษ า เ พื่ อ รั บ ร าง วั ล พระราชทาน ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ประจ าปีการศึกษา 2566 คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ 5 492/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน “กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ 2567” - คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ - คณะกรรมการฝ่ายจัดเตรียม ภัตราหารและเครื่องไทยธรรม - คณะกรรมการฝ่ายปฏิคม 6 502/2566 แ ต่ง ตั้ง คณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ด า เนิ น ก า ร ส อบ ก ล าง ภ า ค ภ าคเ รียนที่ 2 ปีก า รศึกษ า 2566 - รับข้อสอบแต่ละวิชาด้วยตนเอง ที่กองอ านวยการ - ก ากับห้องสอบให้เป็นไปด้วย ค ว ามเ รียบ ร้อย ต ามก าหน ด ระยะเวลาสอบในตารางสอบ - กรรมการที่ควบคุมห้องสอบใน ระดับชั้นมัธยมตัน ปฏิบัติหน้าที่ ก ร รมก า รส า ร องใน ร ะดับ ชั้น มั ธ ยมศึกษ า ต อนป ล า ย แ ล ะ กรรมการควบคุมห้องสอบระดับ มั ธ ย ม ป ล า ย ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่


ที่ ค าสั่งที่ เรื่อง หน้าที่ ก ร ร ม ก า ร ส า ร อง ใ น ร ะ ดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น 7 27/2567 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ จัดโครงการแนะแนวการศึกษา ต่อ ชั้นมัธยมศึกษ าปีที่ 4 ปี การศึกษา 2567 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ฝ่ า ย ส ถานที่, เครื่องเสียง, บันทึกภาพ 4. โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน 4 ท22102 โรงเรียนท่าบ่อ 1) ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาการอ่าน ออกเสียงบทร้อยแก้ว และร้อยกรอง บทบรรยาย กลอนบทละคร กลอน นิทานและการละเล่นพื้นบ้าน จับใจความส าคัญสรุปความและอธิบายรายละเอียด เขียงผังความคิด อภิป ร าย แสดงคว ามคิดเห็น ข้อโต้แย้ง วิเคร าะห์จ าแนกข้อเท็จจ ริง ข้อมูลสนับสนุน ความสมเหตุสมผล บทความ บันทึก เรียงความย่อความ บทสนทนา การเขียนพรรณนาและบรรยาย การพูดอวยพร พูดโน้มน้าวใจ พูดรายงาน การสร้างค าซ้อน การสร้างประโยคการสร้าง ค าราชาศัพท์ สุภาษิต ภาษาบาลีสันสกฤต วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีวรรณกรรม ทั้งบันเทิงคดีสารคดี สรุปความรู้ ความคิด การเขียนรายงานจากสื่อสิ่งพิมพ์ สารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อน าไปใช้ในชีวิตจริง และน าไปอ้างอิงประกอบอาชีพในศตวรรษที่ 21 ได้ โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทักษะการใช้ภาษา ทักษะ การสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล บันทึกและอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถน า ความรู้ที่ได้รับนั้นไปใช้สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีมารยาทในการอ่าน การเขียน การพูด การฟัง เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ การอ่าน การเขียน การฟัง การดูและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมมีคุณธรรมในการใช้ภาษาตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม มีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่เรียนรู้ น้อมน าโครงการในพระราชด าริ เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติมุ่งมั่นในการท างานรักความเป็นไทย มีจิสาธารณะและน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน รหัสตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ท 1.1 ( ม.2/1-8 ) ท 2.1 ( ม.2/1-8 ) ท 3.1 ( ม.2/1-6 ) ท 4.1 ( ม.2/1,2,4 )


ท 5.1 ( ม.2/1-5 ) รวมทั้งหมด 29 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 จ านวน 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน 1 การอ่าน ท 1.1 ม. 2/1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/7 การอ่านเป็นทักษะการรับสารที่จ าเป็น ต่อก า รศึกษ าห าคว ามรู้อย่ างม าก เพราะเป็นการรับความรู้ความคิดของผู้ ส่งสาร การอ่านมี ๒ ประเภท ได้แก่ การอ่านออกเสียง และการอ่านในใจ นักอ่านที่ดีจะต้องมีความสามารถทั้ง การอ่านออกเสียงและอ่านในใจเพื่อ น าไปใช้ให้เป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนเอง และบุคคลอื่น 5 6 2 ค ายืมจาก ภาษาต่างประเทศ ท 4.1 ม. 2/5 ป ร ะ เ ท ศไ ท ย มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ต่ าง ป ร ะ เ ท ศ ท า ใ ห้ มี ก า ร ยื ม ค า ภาษาต่างประเทศมาใช้ ซึ่งเรียกว่าค า ยืม การยืมค าภาษาต่างประเทศส่ง อิทธิพลต่อภาษาไทยหลายประการ เช่น เ สี ยงพยัญ ชน ะต้น แ ล ะตั ว ส ะกด เสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนแปลงไป 5 6 3 กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง ท 5.1 ม.2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง พระราชนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรมี ความดีเด่นด้วยกระบวนพร รณนา สภาพธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต ให้ความรู้ ที่หลากหลายเกี่ยวกับสัตว์และพืช ผ่านบทประพันธ์ที่มีความไพเ ร าะ 5 6


หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน งดงามด้วยกลวิธีการใช้ถ้อยค าอย่างมี ศิลปะ 4 การฟังและการดูอย่าง วิเคราะห์และวิจารณ์ ท 2.1 ม. 2/6 ม. 2/7 ม. 2/8 การฟังและการดูเป็นทักษะการรับสาร ทั้ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ ค ว า ม เพลิดเพลิน ถ้ารับสารอย่างวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้จะช่วยให้พิจ า รณ า แยกแยะสาร และประเมินคุณค่าของ สารจะเป็นการใช้ความคิดพิจารณาสาร นั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 6 5 กลอนดอกสร้อยร าพึงใน ป่าช้า ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 กลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้ามีที่มา จากกวีนิพนธ์อังกฤษ กวีน ามาแปลและ ดัดแปลงให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม และสังคมไทย เนื้อหามุ่งแสดงความ จริงเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ ซึ่งสอดคล้อง กับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา โดยใช้ ภาษาที่ไพเราะสื่อความได้ชัดเจน 7 6 6 ค าราชาศัพท์ ท 4.1 ม. 2/4 การใช้ค าราชาศัพท์เป็นวัฒนธรรมการ ใช้ภาษาที่ส าคัญของไทย ผู้ใช้ภาษา จะต้องเลือกใช้ค าให้เหมาะสมกับล าดับ ชั้นต่างๆ ของบุคคล ทั้งด้านชาติวุฒิ วัยวุฒิ และคุณวุฒิ การใช้ค าราชาศัพท์ แ บ่ ง เ ป็ น ร า ช า ศั พ ท์ ส า ห รั บ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี พระ บรมวงศานุวงศ์ข้าราชการ พระสงฆ์ และสุภาพชน ในหน่วยนี้จะกล่าวถึง ก า ร ใ ช้ ค า ร า ช า ศั พ ท์ ส า ห รั บ พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุ วงศ์เท่านั้น 5 6


หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน 7 การพูด ท 3.1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 การพูดในโอกาสต่างๆ เป็นทักษะ ทางการพูดที่นักเรียนต้องรู้หลักการ และวิธีการพูด เพราะจะท าให้นักเรียน ป ฏิ บั ติได้ อ ย่ าง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มี ประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะในการพูดอวยพร พูดโน้มน้ าวใจ ห รือแม้แต่ก า รพูด รายงาน 6 6 8 การเขียน ท 2.1 ม. 2/6 ม. 2/7 ม. 2/8 รูปแบบการเขียนเพื่อการสื่อสารมี หลายประเภท เช่น การเขียนจดหมาย กิจธุระ และการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นต้น การเขียนจดหมายกิจธุระได้ ถูกต้องสื่อให้เห็นถึงความเป็นผู้มีความรู้ และมีมารยาทอันดีงาม ส่วนการเขียน วิเค ร า ะห์ วิ จ า รณ์เป็น ก า ร พั ฒ น า ประสิทธิภาพก ารเขียนให้ม ากขึ้น อีกทั้งยังเป็นรูปแบบการเขียนที่เปิด โอกาสให้แสดงความรู้ ความคิดเห็น โต้แย้งในเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล ทั้งนี้ ต้องค านึงถึงหลักการวิเคราะห์วิจารณ์ และมารยาทในการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ ด้วย 7 6 9 โคลงสุภาษิตพระราช นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เจ้าอยู่หัว ท 5.1 ม.2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางศ์ โคลง สุภาษิตนฤทุมนาการ และโคลงสุภาษิต อิศปปกรณ า เป็นพระราชนิพนธ์ใน พระบ าทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เนื้อหาเป็นค าสอนแนะ แนวทาง และแสดงให้เห็นความส าคัญ ในการน าคติ ค าสอน สิ่งที่ควรปฏิบัติ และสิ่งที่ควรละเว้นไปใช้ในการด าเนิน ชีวิต 5 6 10 ก า ร ศึ กษ า วิ เ ค ร า ะห์ วรรณกรรมท้องถิ่น ท 5.1 ม. 2/2 วรรณกรรมท้องถิ่นมีความส าคัญในแง่ ของการบันทึกชีวิตและภูมิปัญญาของ 6 6


หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน ม. 2/3 ม. 2/4 คนในท้องถิ่นต่างๆ ทั้งในภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง และภาคใต้ การศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นจึงเป็น การศึกษาวิถีชีวิตและภูมิปัญญาของคน ในท้องถิ่นต่างๆ อันถือเป็นมรดกส าคัญ ของชาติ รวมระหว่างเรียน 56 60 สอบกลางภาค 2 10 สอบปลายภาค 2 30 รวม 60 100


5) ก าหนดการสอน รายวิชาภาษาไทย 4 ท22102 ก าหภาคเรียนที่ 2รายวิชาภาษาไทย 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสอัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคเรียน 6หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชหน่วยที่ 1 การอ่าน 1 1 พ.ย. 66 1 พ.ย. 66 2 พ.ย. 66 2 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม2 2 พ.ย. 66 3 พ.ย. 66 3 พ.ย. 66 6 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม3 6 พ.ย. 66 7 พ.ย. 66 7 พ.ย. 66 7 พ.ย. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม4 8 พ.ย. 66 8 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น.


หนดการสอน 2 ปีการศึกษา 2566 ัสวิชา ท22102 หน่วยการเรียน 3 คาบ/สัปดาห์ 60 ชั่วโมง 60 : สอบกลางภาค 10 : สอบปลายภาค 30 ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 1.1 ม. 2/1 ความส าคัญของการอ่าน 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 1.1 ม. 2/1 การอ่านออกเสียง 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 1.1 ม. 2/1 อ่านออกเสียงท านองเสนาะ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ท 1.1 ม. 2/5 การอ่านในใจเพื่อวิเคราะห์และประเมินค่า 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช9 พ.ย. 66 9 พ.ย. 66 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม5 9 พ.ย. 66 10 พ.ย. 66 10 พ.ย. 66 13 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. มหน่วยที่ 2 ค ายืมจาก ภาษาต่างประเทศ 6 13 พ.ย. 66 14 พ.ย. 66 14 พ.ย. 66 14 พ.ย. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม7 15 พ.ย. 66 15 พ.ย. 66 16 พ.ย. 66 16 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม8 16 พ.ย. 66 17 พ.ย. 66 17 พ.ย. 66 20 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/6 ม. 2/11 ม. 2/7 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 1.1 ม. 2/1 ม. 2/5 ม. 2/7 การทดสอบท้ายหน่วยที่ 1 1 รวม 5 ชั่วโมง ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/5 ค ายืมจากภาษาต่างประเทศ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 4.1 ม. 2/5 สาเหตุที่ค ายืมจากภาษาต่างประเทศมาใช้ใน ภาษาไทย 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/5 การใช้ค ายืมจากภาษาต่างประเทศ 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช9 20 พ.ย. 66 21 พ.ย. 66 21 พ.ย. 66 21 พ.ย. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม10 22 พ.ย. 66 22 พ.ย. 66 23 พ.ย. 66 23 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. มหน่วยที่ 3 กาพย์ห่อโคลง ประพาส ธารทองแดง 11 23 พ.ย. 66 24 พ.ย. 66 24 พ.ย. 66 27 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม12 27 พ.ย. 66 28 พ.ย. 66 28 พ.ย. 66 28 พ.ย. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม13 29 พ.ย. 66 29 พ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น.


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/5 การโต้วาทีใช้ภาษาไทยดีกว่าภาษาเทศ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 4.1 ม. 2/5 การทดสอบท้ายหน่วยที่ 2 1 รวม 5 ชั่วโมง ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 เนื้อหากาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 1 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ท 4.1 ม. 2/1 เนื้อหากาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 2 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช30 พ.ย. 66 30 พ.ย. 66 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม14 30 พ.ย. 66 1 ธ.ค. 66 1 ธ.ค. 66 4 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม15 4 ธ.ค. 66 5 ธ.ค. 66 5 ธ.ค. 66 5 ธ.ค. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มหน่วยที่ 4 การฟังและการดู อย่างวิเคราะห์ และวิจารณ์ 16 7 ธ.ค. 66 8 ธ.ค. 66 8 ธ.ค. 66 11 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม17 6 ธ.ค. 66 6 ธ.ค. 66 7 ธ.ค. 66 7 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/6 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 ลักษณะค าประพันธ์ 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/2 ม. 2/4 การวิเคราะห์เนื้อหาและน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน 1 รวม 5 ชั่วโมง ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 3.1 ม. 2/1 การฟังอย่างวิเคราะห์และวิจารณ์ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 3.1 ม. 2/1 ม. 2/6 การดูอย่างวิเคราะห์และวิจารณ์ 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช18 11 ธ.ค. 66 12 ธ.ค. 66 12 ธ.ค. 66 12 ธ.ค. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม19 13 ธ.ค. 66 13 ธ.ค. 66 14 ธ.ค. 66 14 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม20 14 ธ.ค. 66 15 ธ.ค. 66 15 ธ.ค. 66 18 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. มสอบกลางภาคเรียนหน่วยที่ 5 กลอนดอกสร้อย ร าพึงในป่าช้า 21 18 ธ.ค. 66 19 ธ.ค. 66 19 ธ.ค. 66 19 ธ.ค. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 วิเคราะห์และวิจารณกระทู้ค าถาม 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 3.1 ม. 2/3 การวิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดูจากสื่อ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 ม. 2/6 ทดสอบท้ายหน่วยที่ 4 1 รวม 5 ชั่วโมง น ข้อสอบปรนัย 30 ข้อ 10 คะแนน ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช22 20 ธ.ค. 66 20 ธ.ค. 66 21 ธ.ค. 66 21 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม23 21 ธ.ค. 66 22 ธ.ค. 66 22 ธ.ค. 66 23 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม24 25 ธ.ค. 66 26 ธ.ค. 66 26 ธ.ค. 66 26 ธ.ค. 66 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม25 27 ธ.ค. 66 27 ธ.ค. 66 28 ธ.ค. 66 28 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม26 28 ธ.ค. 66 29 ธ.ค. 66 29 ธ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 5.1 ม. 2/1 ลักษณะค าประพันธ์กลอนดอกสร้อยร าพึงใน ป่าช้า 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 เนื้อเรื่องกลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า 1 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 เนื้อเรื่องกลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า 2 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 5.1 ม. 2/3 บทวิเคราะห์ด้านเนื้อหาและวรรณศิลป์ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ท 5.1 ม. 2/3 ม. 2/4 บทวิเคราะห์ด้านสังคมและข้อคิดจากเรื่อง 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช1 ม.ค. 67 09.15 - ๑0.05 น. หน่วยที่ 6 ค าราชาศัพท์ 27 1 ม.ค. 67 2 ม.ค. 67 2 ม.ค. 67 2 ม.ค. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม28 3 ม.ค. 67 3 ม.ค. 67 3 ม.ค. 67 3 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม29 4 ม.ค. 67 5 ม.ค. 67 5 ม.ค. 67 8 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม30 8 ม.ค. 67 9 ม.ค. 67 9 ม.ค. 67 9 ม.ค. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/6 รวม 6 ชั่วโมง ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/4 ความหมายและหมวดหมู่ค าราชาศัพท์ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 4.1 ม. 2/4 ล าดับชั้นพระมหากษัตริย์และพระราชวงศา นุวงศ์ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/4 การใช้ค าราชาศัพท์ 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 4.1 ม. 2/4 การใช้ค าราชาศัพท์ส าหรับพระสงฆ์และ สุภาพชน 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช31 10 ม.ค. 67 10 ม.ค. 67 11 ม.ค. 67 11 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. มหน่วยที่ 7 การพูด 32 11 ม.ค. 67 12 ม.ค. 67 12 ม.ค. 67 15 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม33 15 ม.ค. 67 16 ม.ค. 67 16 ม.ค. 67 16 ม.ค. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม34 17 ม.ค. 67 17 ม.ค. 67 18 ม.ค. 67 18 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม35 18 ม.ค. 67 19 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น.


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 4.1 ม. 2/4 ทดสอบท้ายหน่วยที่ 6 1 รวม 5 ชั่วโมง ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 3.1 ม. 2/4 หลักส าคัญของการพูดในโอกาสต่างๆ 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 3.1 ม. 2/6 มารยาทในการพูด 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 3.1 ม. 2/4 การพูดอวยพร 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ท 3.1 ม. 2/4 การพูดโน้มน้าว 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช19 ม.ค. 67 22 ม.ค. 67 ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม36 22 ม.ค. 67 23 ม.ค. 67 23 ม.ค. 67 23 ม.ค. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม37 24 ม.ค. 67 24 ม.ค. 67 24 ม.ค. 67 25 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. มหน่วยที่ 8 การเขียน 38 25 ม.ค. 67 26 ม.ค. 67 26 ม.ค. 67 29 ม.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม39 29 ม.ค. 67 30 ม.ค. 67 30 ม.ค. 67 30 ม.ค. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/11 ม. 2/6 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 3.1 ม. 2/5 หลักการพูดรายงาน 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 3.1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ทดสอบท้ายหน่วยที่ 7 1 รวม 6 ชั่วโมง ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 2.1 ม. 2/3 มารยาทในการเขียน 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 2.1 ม. 2/3 การเขียนเรียงความ 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช40 31 ม.ค. 67 31 ม.ค. 67 1 ก.พ. 67 1 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม41 1 ก.พ. 67 2 ก.พ. 67 2 ก.พ. 67 5 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม42 5 ก.พ. 67 6 ก.พ. 67 6 ก.พ. 67 6 ก.พ. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม43 7 ก.พ. 67 7 ก.พ. 67 8 ก.พ. 67 8 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม44 8 ก.พ. 67 9 ก.พ. 67 9 ก.พ. 67 12 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 2.1 ม. 2/3 การเขียนพรรณนา 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 2.1 ม. 2/3 การเขียนบรรยาย 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 2.1 ม. 2/3 การเขียนจดหมายกิจธุระ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 2.1 ม. 2/3 การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 2.1 ม. 2/3 ทดสอบท้ายหน่วยที่ 8 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชหน่วยที่ 9 โคลงสุภาษิตพระ ราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว 45 12 ก.พ. 67 13 ก.พ. 67 13 ก.พ. 67 13 ก.พ. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม46 14 ก.พ. 67 14 ก.พ. 67 15 ก.พ. 67 15 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม47 15 ก.พ. 67 16 ก.พ. 67 16 ก.พ. 67 19 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม48 19 ก.พ. 67 20 ก.พ. 67 20 ก.พ. 67 20 ก.พ. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม49 21 ก.พ. 67 21 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น.


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ รวม 7 ชั่วโมง ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 5.1 ม. 2/2 บทวิเคราะห์โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 บทวิเคราะห์โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ท 5.1 ม. 2/3 การวิเคราะห์เนื้อหาและนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช22 ก.พ. 67 22 ก.พ. 67 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. มหน่วยที่ 10 การศึกษา วิเคราะห์ วรรณกรรม ท้องถิ่น 50 22 ก.พ. 67 23 ก.พ. 67 23 ก.พ. 67 26 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม51 26 ก.พ. 67 27 ก.พ. 67 27 ก.พ. 67 27 ก.พ. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม52 28 ก.พ. 67 28 ก.พ. 67 29 ก.พ. 67 29 ก.พ. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม53 29 ก.พ. 67 1 มี.ค. 67 1 มี.ค. 67 4 มี.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. ม


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/6 ม. 2/11 ม. 2/4 รวม 5 ชั่วโมง ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 วรรณกรรมท้องถิ่น 1 ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 ศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่น 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 5.1 ม. 2/2 วรรณกรรมในท้องถิ่นของตน 2 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 น าเสนอวรรณกรรมในท้องถิ่นของตน 1


หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ช54 4 มี.ค. 67 5 มี.ค. 67 5 มี.ค. 67 5 มี.ค. 67 ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ๐8.20 - 09.1๕ น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม55 6 มี.ค. 67 6 มี.ค. 67 7 มี.ค. 67 7 มี.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. 10.10 - ๑1.00 น. 10.10 - ๑1.00 น. ๑2.๕5 - ๑3.๔5 น. ม56 7 มี.ค. 67 8 มี.ค. 67 8 มี.ค. 67 11 มี.ค. 67 ๐8.20 - 09.10 น. ๐8.20 - 09.10 น. ๑0.1๐ - ๑1.0๐ น. 09.15 - ๑0.05 น. มสอบปลายภาคเรียน


ชั้น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ ม. 2/11 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น 1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/11 ท 5.1 ม. 2/4 ข้อคิดและคุณค่าที่ได้รับ 1 ม. 2/5 ม. 2/4 ม. 2/11 ม. 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 ม. 2/3 ทดสอบท้ายบทที่ 11 1 รวม 7 ชั่วโมง น ข้อสอบปรนัย 60 ข้อ 30 คะแนน รวม 60 ชั่วโมง


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเขียน เวลา 7 ชั่วโมง เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการเขียน เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร โรงเรียนท่าบ่อ ชั้นที่สอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/5 วันที่สอน 25 มกราคม ๒๕๖7 เวลา ๐8.20 - 09.10 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/4 วันที่สอน 26 มกราคม ๒๕๖7 เวลา ๐8.20 - 09.10 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/11 วันที่สอน 26 มกราคม ๒๕๖7 เวลา ๑0.10 - ๑1.00 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/6 วันที่สอน 29 มกราคม ๒๕๖7 เวลา 09.15 - ๑0.05 น. ...................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศอละรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ม. ๒/๘ มีมารยาทในการเขียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความรู้พื้นฐานการเขียนได้อย่างถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถเขียนตามหลักการเขียนได้อย่างถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน (A) ๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๔. สาระส าคัญ การเขียนเป็นทักษะที่จะต้องฝึกฝนให้ช านาญ จึงจะสามารถมีทักษะการเขียนที่ดีได้ การเขียน มีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็มีวัตถุประสงค์ในการเขียนแตกต่างกันออกไป ในชีวิตประจ าวัน ทักษะการเขียนยังต้องเป็นทักษะที่ใช้อยู่เป็นประจ า ดังนั้น นักเรียนจึงควรทราบถึงพื้นฐานของการ เขียน เพื่อที่จะสามารถท าความเข้าใจและสามารถนับไปรับใช้ในการเขียนรูปแบบอื่นๆ ต่อไป ๕. สาระการเรียนรู้ ๑. ความส าคัญของการเขียน ๒. มารยาทในการเขียน


6. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. สรุปเนื้อหา เรื่อง ความรู้พื้นฐานของการเขียน 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(กระบวนการจัดการเรียนรู้ 5 STEPS) ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนเตรียมความพร้อมในการเรียน โดยการร่วมกันตอบค าถามที่ว่า “นักเรียนเขียนเป็นหรือไม่ เพราะอะไร” นักเรียนสามารถตอบค าถามได้อย่างอิสระแต่ต้องยกเหตุผล ประกอบ เช่น เขียนเป็น เพราะเขียนถูกทุกค า เป็นต้น ขั้นระบุค าถาม ๒. หลังจากที่นักเรียนนั้นคุณครูเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาโดยการใช้ค าถามให้นักเรียน ช่วยกันคิดค าตอบ โดยตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยค าถามคือ - นักเรียนรู้หรือไม่ว่าความรู้พื้นฐานของการเขียนประกอบด้วยอะไรบ้าง ขั้นแสวงหาสารสนเทศ ๓. นักเรียนลองตอบค าถามจากที่คุณครูได้ถาม และลองค้นหาค าตอบจากหนังสือ เรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เพื่อน าข้อมูลมาตอบค าถาม โดยค าถามมีดังนี้ - นักเรียนรู้หรือไม่ว่าความรู้พื้นฐานของการเขียนประกอบด้วยอะไรบ้าง? (แนวค าตอบ : ประกอบด้วย ความส าคัญของการเขียน, จุดมุ่งหมายของการเขียน, มารยาทในการเขียน และการใช้ค าในการเขียน เป็นต้น) ขั้นสร้างความรู้ ๔. นักเรียนรับฟังอธิบายถึงความรู้พื้นฐานของการเขียน โดยมีเนื้อหา ดังต่อไปนี้ ๑. ความส าคัญของการเขียน ได้แก่ การเขียนเป็นทักษะการสื่อสารที่ท าให้มนุษย์รับรู้ความต้องการของ อีกฝ่ายหนึ่ง, การเขียนแสดงออกซึ่งภูมิปัญญาของมนุษย์, การเขียนเป็นเครื่องถ่ายทอดมรดกทางภูมิ ปัญญา, การเขียนเป็นเครื่องสร้างความสามัคคีและความเจริญรุ่งเรือง ๒. จุดมุ่งหมายของการเขียน แบ่งออกได้เป็น การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง, การเขยนเพื่ออธิบาย, การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น, การ เขียนเพื่อจินตนาการ, การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ และการเขียนเพื่อกิจธุระ มารยาทในการเขียน เช่น เขียนให้ถูกต้องตามอักขรวิธี เขียนในสิ่งที่เป็นจริง เขียนด้วยความรับผิดชอบ ใช้ถ้อยค าสุภาพไพเราะ เขียนในสิ่งที่มีคุณค่า และไม่คัดลอกงานเขียนของผู้อื่น และการใช้ค าในการเขียน เช่น ใช้ค าให้ตรงกับ ความหมาย, ใช้ค าที่แสดงความหมายได้ชัดเจน, ใช้ค าให้ถูกต้องตามชนิดของค า ใช้ค าให้เหมาะสมกับ กาลเทศะและบุคคล ใช้ค าให้กระชับและใช้ค าให้หลากหลาย ครูอธิบายเพิ่มเติมในเนื้อหาให้ละเอียด ขั้นสื่อสาร ๕. หลังจากที่นักเรียนรับฟังอธิบายความรู้ในเรื่อง ความรู้พื้นฐานของการเขียน ให้ นักเรียนสรุปความเข้าใจที่ได้เรียนเนื้อหาในชั่วโมงนี้ลงในสมุดบันทึกของตนเอง


ขั้นตอบแทนสังคม ๖. หลังจากที่จัดท าสรุปความรู้พื้นฐานของการเขียน ให้น ามาส่งคุณครูเพื่อตรวจและ ลงบันทึกคะแนนเก็บจากการส่งงานสรุป ขั้นสรุป ๖. นักเรียนและคุณครูสรุปความรู้ร่วมกันว่าในชั่วโมงเรียนนี้ ได้รับความรู้ในความรู้ พื้นฐานของการเขียนมากน้อยเพียงใด โดยใช้การตอบค าถาม ดังต่อไปนี้ ๑. นักเรียนรู้หรือไม่ว่าความรู้พื้นฐานของการเขียนประกอบด้วยอะไรบ้าง? (แนวค าตอบ : ประกอบด้วย ความส าคัญของการเขียน, จุดมุ่งหมายของ การเขียน, มารยาทในการเขียน และการใช้ค าในการเขียน เป็นต้น) ๒. จงบอกจุดมุ่งหมายของการเขียนว่ามีจุดมุ่งหมายอย่างไรบ้าง? (ค าตอบ : แบ่งออกได้เป็น การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง, การเขยนเพื่ออธิบาย, การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น, การเขียนเพื่อจินตนาการ, การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ และการเขียน เพื่อกิจธุระ) ๓. จงบอกมารยาทในการเขียนที่ควรทราบ? (ค าตอบ : เขียนให้ถูกต้องตามอักขรวิธี, เขียนในสิ่งที่เป็นจริง, เขียนด้วย ความรับผิดชอบ ถูกศีลธรรม จรรยา จารีต ประเพณี, ใช้ถ้อยค าสุภาพไพเราะ, เขียนในสิ่งที่มีคุฯค่า ก่อให้เกิดความสงบสุขแก่ประเทศชาติ และไม่คัดลอกงานเขียนของผู้อื่น เป็นต้น) 8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒. PowerPoint เรื่อง ความรู้พื้นฐานของการเขียน


9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนสามารถ อธิบายความรู้พื้นฐาน การเขียนได้อย่าง ถูกต้อง (K) การตอบคำถามของ นักเรียน แบบประเมินการตอบ คำถาม ตอบคำถามผ่านเกณฑ์ ในระดับ ดี ขึ้นไป คิด เป็นผ่านเกณฑ์อย่าง น้อยร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนสามารถ เขียนตามหลักการ เขียนได้อย่างถูกต้อง (P) ตรวจสรุปเนื้อหา เรื่อง ความรู้พื้นฐานของ การเขียน เนื้อหาความรู้พื้นฐาน ของการเขียน ผ่านเกณฑ์ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นผ่าน เ ก ณ ฑ ์ อ ย ่ า ง น ้ อ ย ร้อยละ ๘๐ ๓. นักเรียนมีมารยาท ในการเขียน (A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นผ่าน เกณฑ์อย่างน้อยร้อย ละ ๘๐


ตัวอย่าง PowerPoint ประกอบการสอน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน


แบบประเมินการตอบค าถาม ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนสำรวจการตอบคำถามของนักเรียนแล้วเขียนคะแนนลงในช่องที่เป็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = ๔ ดี = ๓ พอใช้ = ๒ ปรับปรุง = ๑ เลข ที่ ชื่อ – สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (๑๒) ผลการประเมิน การตอบ คำถาม (๔) การใช้ภาษา (๔) ความรวดเร็ว (๔) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.


เกณฑ์การประเมินการตอบค าถาม (Rubric Scores) ประเด็นประเมิน การตอบค าถาม เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ . ก า ร ต อ บ คำถาม ตอบคำถามได้ ถูกต้อง ชัดเจน และตรงประเด็น ตอบคำถามได้ ถูกต้อง ชัดเจน แต่ไม่ค่อยตรง ประเด็นคำถาม ตอบคำถามได้ ถูกต้อง แต่ไม่ ค่อยตรงประเด็น ตอบคำถามไม่ ถูกต้อง ๒. การใช้ภาษา ใช้ภาษาได้ ถูกต้องตาม เกณฑ์ทางภาษา ใช้ภาษาได้ ถูกต้อง แต่มีการ ใช้คำผิด ไม่เกิน ๒ คำ ใช้ภาษาได้ ถูกต้อง แต่มีการ ใช้คำผิดโดยไม่ เกิน ๔ คำ ใช้ภาษาไม่ ถูกต้อง มีการใช้ คำผิดมากกว่า ๕ คำขึ้นไป ๓. ความรวดเร็ว ตอบคำถามได้ รวดเร็ว ตอบคำถามช้า เล็กน้อย ตอบคำถามช้า ปานกลาง ตอบคำถามช้า มาก เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = ๔ ดี = ๓ พอใช้ = ๒ ปรับปรุง = ๑ เกณฑ์การตัดสิน ช่วงชั้นคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๐ - ๑๒ = ดีมาก ๗ - ๙ = ดี ๔ - ๖ = พอใช้ ๑ - ๓ = ปรับปรุง ประเด็นประเมินการตอบค าถาม รวม การตอบค าถาม การใช้ภาษา ความรวดเร็ว เกณฑ์การผ่านตั้งแต่ระดับดี ขึ้นไป สรุปผล ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร) วันที่...................................................................


แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วเขียนคะแนน ลงในช่องที่เป็นพฤติกรรมการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = ๔ ดี = ๓ พอใช้ = ๒ ปรับปรุง = ๑ เลขที่ ชื่อ - สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (๒๐) ผลการประเมิน การให้ ความ ร่วมมือใน การทำ กิจกรรม (๔) การ แสดง ความ คิดเห็น (๔) การตั้ง คำถาม (๔) การปฏิบัติ ตาม ข้อตกลง (๔) กระตือรือ ร้นในการ ทำงาน (๔) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐.


Click to View FlipBook Version