The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthapat_aa, 2021-09-19 05:46:21

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

 
 
 
 

 

หลกั สูตรสถานศึกษา

  พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
  พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐)

โรงเรยี นสุมเสา วทิ ยา

สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สตู รสถานศึกษา
พทุ ธศักราช ๒๕๖๒

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐)

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา

สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  ก

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ประกาศโรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
เรื่อง ใหใ้ ชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
……………………………….

ตามท่ีโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนสุมเส้าวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๒
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยเริ่มใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับนักเรียนทุกระดับช้ันในปีการศึกษา ๒๕๕๓
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ได้เพ่ิมรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องรับกับนโยบายเร่งด่วนของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีเวลาในการทํากิจกรรมเพ่ือพัฒนา
ความรู้ ความสามารถและทักษะ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสํานึกรับผิดชอบต่อ
สงั คม ยึดมน่ั ในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษตั ริย์ และมีความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย ตลอดจนการเรียน
การสอนในวิชาประวัติศาสตร์ และหน้าท่ีพลเมือง โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ได้ดําเนินการจัดทําหลักสูตรโรงเรียน
สุมเส้าวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ให้สอดคล้องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียน
และปรับมาตรฐานและตัวช้ีวัด สอดคลอ้ งกับ คําสั่ง สพฐ. ที่ ๑๒๓๙/๖๐ และประกาศ สพฐ. ลงวนั ท่ี ๘ มกราคม
๒๕๖๑ เปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยแลว้

ท้ังนี้หลักสูตรโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เม่ือวันท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงประกาศใหใ้ ชห้ ลักสตู รโรงเรียนต้งั แตบ่ ัดน้ีเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

ลงชือ่ ลงชือ่
(นายดวงปี กอ้ นกลมเปรี้ยว) (นายประภาส จันทร์เอบิ )

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้อํานวยการโรงเรยี นสุมเส้าวิทยา

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  ข

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ นาํ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคําสั่ง

กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคําสั่งสาํ นักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ

ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคําสั่งให้

โรงเรียนดําเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปี

การศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐาน

การเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มี

คุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนสุมเส้าวิทยา จึงได้ทําการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม เพื่อนําไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและ
จัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนําหลักสูตรไปสู่การ
ปฏิบัติ โดยมีการกําหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความ
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกําหนดทิศทางในการจัดทําหลักสูตรการ
เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อ
ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมี
ทักษะในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กําหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทําให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุก

ระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทําให้การจัดทํา

หลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่อง

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา

หลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการ

เรียนรู้และตัวชี้วัดที่กําหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัด

การศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  ค

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสําเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย
ที่เกี่ยวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทํางานอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดําเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา
เยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กําหนดไว้

(นายประภาส จนั ทรเ์ อิบ)
ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  ง

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้

ประกาศโรงเรยี น ก
คาํ นาํ ข
สารบญั ง
ส่วนที่ 1 ส่วนนํา 1
1
ความนาํ 1
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรชั กาลที่ 10 2
วสิ ยั ทศั น์ / หลกั การ / จุดหมาย ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 3
จุดเน้น/เปา้ หมาย ของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ 4
วิสยั ทศั น์ / พนั ธกิจ / เป้าประสงค์ของโรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา 5
สมรรถนะสาํ คญั ของผเู้ รียน 5
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 6
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 6
มาตรฐานการเรยี นรู้ 7
ตวั ชว้ี ัด 7
สาระการเรยี นรู้ 9
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 13
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 15
ส่วนท่ี 2 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา 15
ระดบั การศกึ ษา 15
การจัดเวลาเรียน 17
โครงสรา้ งเวลาเรียน 18
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา 19
โครงสร้างหลกั สตู รชนั้ ปี 28
สว่ นที่ 3 คาํ อธบิ ายรายวชิ า 35
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 54
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 71
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 90
กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 137
กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 156
กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ 176
กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพฯ 202
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  จ

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้

สารบญั (ตอ่ ) 219
223
เร่ือง 226
232
ส่วนที่ ๔ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 234
กิจกรรมแนะแนว 241
กิจกรรมนกั เรยี น 243
กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์

ส่วนที่ 5 การวดั และประเมนิ ผลและเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  1

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

สว่ นท่ี ๑
สว่ นนํา

ความนาํ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกําหนดของการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนสุมเส้าวิทยาท่ีจะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพท่ีสุจริต
ตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และ
สติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จําเป็นสําหรับการดํารงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อการ
แข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) จึงประกอบด้วยสาระสําคัญของหลักสูตร
แกนกลาง สาระความรทู้ เี่ กี่ยวข้องกบั ชมุ ชนท้องถิ่น และสาระสําคญั ท่โี รงเรยี นพฒั นาเพิ่มเติม โดยจดั เป็นสาระ
การเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และสาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม จัดกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนเป็นรายปีในระดับชั้นประถมศึกษาและรายภาคเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และกําหนด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลท่ี 10

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงตอบรับเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เม่ือวันที่ 1 ธันวาคม 2559 ความว่า “เพื่อสืบสานพระราช
ปณิธาน และเพ่ือประโยชน์ของประชาชนชาวไทยท้ังปวง” กอปรกับพระราชปณิธานด้านการศึกษาของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร คือ การสร้างคนดี พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวฯ จึงทรงมีพระราโชบาย เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานแห่งองค์พระบรมชนกนาถในการสร้างคนดี
ให้แก่บ้านเมือง โดยทรงมุ่งให้การศึกษาต้องสร้างพ้ืนฐานแก่นักเรียน 4 ด้าน ประกอบด้วย (1) การมีทัศนคติท่ี
ถกู ต้องต่อบา้ นเมือง (2) การมีพนื้ ฐานชีวิตทมี่ ั่นคง มีคุณธรรม (3) การมีงานทํา-มีอาชีพ และ (4) การเปน็ พลเมืองดี
ดังน้ัน เนื่องในวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสด็จเถลิงถวัลย์สิริราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
กระทรวงศึกษาธิการ จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตน้อมนําพระราโชบายด้านการศึกษา มาเป็นหลัก
ชัยในการสร้างนักเรียนเป็นคนดีและพัฒนาใหเ้ ป็นคนเก่ง สู่การปฏิบัติตามรอยพระยุคลบาท อย่างเป็นรูปธรรม
ด้วยการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในโรงเรียนประถมศึกษา และโรงเรียน
มธั ยมศึกษา โดยมแี นวทางดาํ เนนิ กิจกรรม ดังนี้

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  2

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

1. จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาโดยบูรณาการระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับสภาพ
ภูมิสังคมของโรงเรียน เพื่อมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ตามพระราโชบายของพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ดงั น้ี

1.1 มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง ประกอบด้วย (1) ความรู้ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง
(2) ยึดม่ันในศาสนา (3) มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และ (4) มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชน
ของตน

1.2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม ประกอบด้วย (1) รู้จักแยกแยะส่ิงท่ีผิด-ชอบ / ช่ัว-ดี
(2) ปฏิบัติแตส่ ิ่งทชี่ อบ ส่งิ ท่ีดีงาม (3) ปฏิเสธส่ิงท่ีผิด สง่ิ ที่ช่ัว และ (4) ช่วยกันสรา้ งคนดใี หแ้ ก่บา้ นเมอื ง

1.3 มีงานทํา-มีอาชีพ ประกอบด้วย (1) การเล้ียงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝน
อบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและเยาวชนรักงาน สู้งาน ทําจนงานสําเร็จ (2) การฝึกฝนอบรมทั้งใน
หลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทํางานเป็นและมีงานทําในที่สุด และ (3) ต้องสนับสนุน
ผูส้ ําเรจ็ หลกั สูตรมอี าชพี มงี านทํา จนสามารถเลย้ี งตัวเองและครอบครวั

1.4 เป็นพลเมืองดี ประกอบด้วย (1) การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าที่ของทุกคน
(2) ครอบครัว-สถานศึกษา และสถานประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทําหน้าท่ีเป็นพลเมืองดี
(3) การเป็นพลเมืองดีคือ “เห็นอะไรที่จะทําเพ่ือบ้านเมืองได้ก็ต้องทํา” เช่น งานอาสาสมัคร งานบําเพ็ญ
ประโยชน์ งานสาธารณกุศล ใหท้ าํ ด้วยความมีนํา้ ใจและความเออ้ื อาทร

2. สร้างการรับรู้เก่ียวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง และชุมชน เพ่ือให้มีความ
เข้าใจและร่วมกนั ดแู ลบตุ รหลานรว่ มกับโรงเรยี นอยา่ งใกล้ชิด

3. จัดระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลให้เต็มตามศักยภาพ
มุ่งวัดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านคุณธรรม เจตคติ และพฤติกรรม (2) ด้านสมรรถนะ
และศักยภาพสําหรับอนาคต เช่น ทักษะชีวิต ทักษะสังคม ทักษะการเรียนรู้ ทักษะการอาชีพ และ (3) ความรู้
เทา่ ที่จาํ เป็น

วสิ ัยทศั น์ / หลกั การ / จดุ หมาย ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

วสิ ยั ทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี
ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ
ท่ีจําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญบนพื้นฐาน
ความเชือ่ ว่า ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลกั การ
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มหี ลักการที่สาํ คญั ดงั นี้
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐาน ของความเป็น
ไทยควบคู่กบั ความเปน็ สากล

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  3

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คณุ ภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถ่นิ

๔. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาทม่ี ีโครงสรา้ งยดื หยนุ่ ทงั้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
๕. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสาํ คญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน ดงั นี้
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ตั ิตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ
๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นสิ ยั และรกั การออกกาํ ลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทมี่ ุ่งทําประโยชน์และสรา้ งส่งิ ท่ีดีงามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

จดุ เน้น/เป้าหมาย ของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต ๑ ได้จัดทํากรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ินขึ้น
สําหรับสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถและ
คุณลกั ษณะ ดังน้ี

๑. พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ท้องถิ่นของตนในทกุ ๆ ดา้ น
๒. พัฒนาผ้เู รียนให้มคี วามสาํ นึกที่ดี มีความรักและหวงแหนทอ้ งถ่นิ
๓. สง่ เสริมผเู้ รียนให้สามารถนาํ หลกั ปรัชญาและภมู ิปญั ญาของท้องถน่ิ มาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวนั ได้
๔. พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม
๕. มีทกั ษะการดาํ รงชวี ิตอยใู่ นสงั คมอย่างมคี วามสขุ

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  4

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

วสิ ัยทศั น์ / พันธกิจ / เปา้ ประสงคข์ องโรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา

วสิ ัยทศั น์โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดการศึกษาสอดคลอ้ งกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว จัดการเรียนรู้ให้มี
คุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ และโลกในทศวรรษที่ ๒๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียน
ทุกคนซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข เปน็ คนดมี ีคณุ ธรรม มวี ินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและ
ส่วนรวม สร้างความเสมอภาคและเพ่ิมโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างท่ัวถึง ให้มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนและผลการทดสอบระดับชาติที่สูงข้ึน มีทักษะในการส่ือสารโดยใช้ภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติท่ีจําเป็นต่อการศึกษาต่อ มีทักษะด้านวิชาชีพ
และการศึกษาตลอดชีวิต มีครูครบช้ัน ครบวิชาเอก มีการพัฒนาตนเองอย่างสมํ่าเสมอ มีส่ือ เทคโนโลยีท่ี
ทันสมยั ในการจดั การเรยี นการสอน และปรบั ปรุงใหม้ ภี ูมิทัศนท์ ีเ่ หมาะสม เพ่ือเออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้

พนั ธกจิ โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
1. สรา้ งความเสมอภาคและเพม่ิ โอกาสให้ผูเ้ รียนได้รบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานอยา่ งทั่วถึง
2. พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน
3. พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบระดบั ชาติที่สูงข้ึน
4. พัฒนาผ้เู รียนใหม้ ที กั ษะในการสอื่ สารโดยใชภ้ าษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
5. พฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีทกั ษะด้านวชิ าชีพ
6. พฒั นาผเู้ รียนให้เป็นคนดมี ีคุณธรรม มวี นิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและส่วนรวม
7. ให้มีครคู รบช้ัน ครบวิชาเอก มกี ารพฒั นาตนเองอย่างสม่ําเสมอ
8. ใหม้ ีสื่อ เทคโนโลยที ี่ทันสมัย ในการจัดการเรียนการสอน
9. ปรบั ปรงุ ให้มภี ูมทิ ัศน์ที่เหมาะสม เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้

เป้าประสงคโ์ รงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
1. ผู้เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระสูงกว่าเกณฑ์ท่ีโรงเรียนตั้งไว้และมีผลการ

ทดสอบระดับชาติสูงกว่าระดบั ประเทศ
2. ผู้เรียนได้รบั ความเสมอภาคและโอกาสในการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานอย่างทั่วถึง
3. ผู้เรียนไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
4. ผ้เู รยี นสามารถใชภ้ าษาในการสื่อสารได้อย่างน้อย 4 ภาษา คือ ไทย องั กฤษ จีน ญีป่ ่นุ
5. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 มที กั ษะในงานวิชาชีพและสามารถนําความร้ทู ี่ได้ไปประกอบอาชพี ได้
6. ผ้เู รียนรอ้ ยละ 85 เป็นคนดมี คี ณุ ธรรม มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวม
7. ครคู รบวชิ าเอก ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างน้อยปกี ารศกึ ษาละ 2 คร้ัง

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา

สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  5

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

8. มีส่ือ นวัตกรรมใหมท่ ที่ นั สมัยทุกช้นั ทกุ กลมุ่ สาระ
9. มีหอ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบัตกิ าร มมุ ประสบการณ์ ที่เหมาะสม เออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้

สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ้ รยี น

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสําคญั 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใชว้ ิธกี ารสื่อสาร ที่มีประสิทธภิ าพโดยคํานึงถึงผลกระทบทมี่ ีต่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพ่อื การตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใชใ้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา
และมกี ารตดั สินใจทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทาํ งาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่

ร่วมกับผ้อู ่ืนในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซ่อื สัตยส์ ุจริต

3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้

5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 6. มุง่ ม่นั ในการทํางาน

7. รักความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  6

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตามนโยบายของ คสช. มีดงั น้ี
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
2. ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในส่ิงท่ีดีงามเพื่อสว่ นรวม
3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดตี ่อผ้อู นื่ เผื่อแผแ่ ละแบ่งปัน
7. เข้าใจเรียนรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ทถ่ี กู ต้อง
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่
9. มีสตริ ้ตู วั รู้คิด รทู้ าํ ร้ปู ฏิบตั ติ ามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
10. รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาท สมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวรู้ จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจําหน่าย และพร้อมที่จะขยาย
กิจการเมื่อมีความพร้อม เมือ่ มภี ูมิคมุ้ กันทีด่ ี
11. มีความเข้มแข็งท้ังร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ายต่ํา หรือกิเลสมีความละอายเกรง
กลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา
12. คาํ นึงถงึ ผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

มาตรฐานการเรยี นรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จงึ กําหนดใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ดงั นี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์
๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สุขศึกษาและพลศึกษา
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชีพฯ
๘. ภาษาตา่ งประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กําหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสําคัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง
ประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน
พัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และ
ประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการ
ประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  7

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพือ่ ประกนั คุณภาพดังกลา่ วเปน็ สิง่ สําคญั ทชี่ ว่ ยสะท้อนภาพการ
จัดการศกึ ษาว่าสามารถพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรูก้ ําหนดเพียงใด

ตวั ช้ีวัด

ตัวช้ีวัดระบุสิ่งท่ีนักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นําไปใช้ในการกําหนด
เนื้อหา จัดทําหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สําคัญสําหรับการวัดประเมินผลเพ่ือ
ตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรยี น

๑. ตัวช้ีวัดช้ันปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – มัธยมศึกษาปที ี่ ๓)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ซึ่งกําหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ดังนี้

ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะและ คณิตศาสตร์ : การนําความรู้ วิทยาศาสตร์ : การนําความรู้และ
วัฒนธรรมการใช้ภาษา เพ่ือการ ทั ก ษ ะ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ใน
สื่อสาร ความชื่นชม การเห็น ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ไ ป ใ ช้ ใ น การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และ
คุณค่าภูมิปัญญา ไทย และภูมิใจใน การแก้ปัญหา การดําเนินชีวิต แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่าง
ภาษาประจาํ ชาติ และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผล เป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิด
มี เ จ ต ค ติ ท่ี ดี ต่ อ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ สรา้ งสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและ
สรา้ งสรรค์

ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ องค์ความรู้ ทกั ษะสาํ คัญ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม :
ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม และคณุ ลกั ษณะ การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก
การใช้ภาษาต่างประเทศในการ อย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี
ส่อื สาร การแสวงหาความรแู้ ละ ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ศรทั ธาในหลักธรรมของศาสนา
การประกอบอาชีพ ขัน้ พืน้ ฐาน ก า ร เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ
ส่ิงแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจใน
การงานอาชีพฯ : ความรู้ ทักษะ ศิลปะ : ความรู้และทักษะใน ความเป็นไทย
และเจตคติ ในการทํางาน การ การคิดริเริ่ม จินตนาการ
จัดการ การดํารงชีวิต การประกอบ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ง า น ศิ ล ป ะ สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะ
อาชีพ และการใช้เทคโนโลยี สุ น ท รี ย ภ า พ แ ล ะ ก า ร เ ห็ น แ ล ะ เ จ ต ค ติ ใ น ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ
คณุ ค่าทางศลิ ปะ พลานามัยของตนเองและผู้อ่ืน การป้องกัน
และปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อสุขภาพ
อยา่ งถกู วิธแี ละทกั ษะในการดาํ เนนิ ชีวติ

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  8

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

วสิ ยั ทศั น์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความ
สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จําเป็นต่อ
การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่า
ทุกคนสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

จดุ หมาย
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี
ทักษะชีวติ
๓. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกาํ ลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม
มจี ติ สาธารณะท่ีม่งุ ทําประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงทีด่ งี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างมีความสุข

สมรรถนะสาํ คัญของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่อื สาร ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ความสามารถในการคิด ๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. มวี นิ ยั
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต ๔. ใฝเ่ รยี นรู้
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. อย่อู ย่างพอเพียง
๖. ม่งุ มัน่ ในการทาํ งาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๑.กจิ กรรมแนะแนว
๒.กิจกรรมนักเรียน
๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ
๖. ศลิ ปะ ๗. การงานอาชีพฯ ๘. ภาษาตา่ งประเทศ สาธารณประโยชน์

คุณภาพของผู้เรยี นระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  9

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
จาํ นวน 55 มาตรฐาน ดังน้ี

สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ การอา่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิด เพื่อนําไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดําเนินชวี ติ
สาระท่ี ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราวใน
รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรใู้ นโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนาํ มาประยกุ ตใ์ ชช้ ีวติ จริง

สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สาระที่ ๑ จาํ นวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค. ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนินการของ
จํานวนผลท่เี กิดขนึ้ จากการดําเนนิ การ สมบัติของการดาํ เนินการ และนําไปใช้

มาตรฐาน ค. ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสมั พันธ์ ฟงั ก์ชนั ลําดบั และอนุกรม และนาํ ไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแกป้ ญั หาท่ีกาํ หนดให้
สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค. ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ
นําไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาํ ไปใช้
สาระที่ ๓ สถติ ิและความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค. ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ิในการแก้ปญั หา
มาตรฐาน ค. ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนับเบ้อื งต้น ความน่าจะเปน็ และนาํ ไปใช้

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  10

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต
กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา
ส่งิ แวดล้อม รวมท้ังนําความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทํางานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทํางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนําความรู้ไปใช้
ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สารพนั ธกุ รรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมที่มผี ลต่อสงิ่ มีชีวติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวฒั นาการ
ของสิง่ มีชีวิต รวมทั้งนาํ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร
กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงท่ีกระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลอื่ นท่แี บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง
กบั เสียง แสง และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้ัง นาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์
สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผล
ตอ่ ส่งิ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสม โดยคาํ นงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  11

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคํานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทํางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม

มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาํ คญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา
ทต่ี นนับถอื และศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถกู ตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เพอื่ อยูร่ ่วมกันอย่างสนั ติสขุ

มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื
สาระท่ี ๒ หน้าทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาํ เนินชวี ิตในสังคม

มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงาม และธํารง
รกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดํารงชีวิตอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมไทย และ สงั คมโลกอย่างสนั ติสขุ

มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จุบนั ยดึ มั่น ศรัทธา และธาํ รงรกั ษาไว้
ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ
ดํารงชวี ติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ

มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ
จําเป็นของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างต่อเนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญและสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบท่เี กดิ ข้นึ

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ
และธํารงความเป็นไทย
สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลต่อกัน
ใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุป ข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนใชภ้ มู ิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วิถีการดําเนินชีวิต มีจิตสํานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการ ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนา
ทยี่ งั่ ยืน

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  12

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
สาระที่ ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์

มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวติ และครอบครวั

มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมที ักษะในการดําเนินชีวติ
สาระท่ี ๓ การเคลือ่ นไหว การออกกําลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกฬี าสากล

มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจําอย่าง
สม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ
ของการกฬี า
สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การป้องกันโรค
และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ
สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชีวติ
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา
สารเสพตดิ และความรนุ แรง

สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
สาระที่ ๑ ทศั นศลิ ป์

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิเคราะห์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้ศึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาํ วัน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทศั นศิลปท์ เ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระท่ี ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณุ ค่าทาง
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่นื ชมและประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรีทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล
สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจําวนั

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ของ
นาฏศลิ ปท์ ่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและสากล

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  13

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

สาระและมาตรฐานการเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพฯ
สาระที่ ๑ การดํารงชีวติ และครอบครวั

มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการ
จัดการทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม
และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพ่ือการดํารงชีวิต
และครอบครัว
สาระท่ี 2 การอาชพี

มาตรฐาน ง 2.๑ เข้าใจ มีทักษะท่ีจําเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพอื่
พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมเี จตนคติที่ดตี ่ออาชพี

สาระและมาตรฐานการเรยี นร้กู ลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ
สาระท่ี ๑ ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร

มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเร่ืองท่ีฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น
อยา่ งมเี หตุผล

มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก
และความคิดเห็นอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองต่าง ๆ โดยการ
พดู และการเขียน
สาระที่ ๒ ภาษาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนําไปใช้ได้
อยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ

มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กบั ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนาํ มาใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั กล่มุ สาระการเรียนรูอ้ ่ืน

มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น
พ้นื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั ชมุ ชนและโลก

มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับสังคมโลก

กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็น
มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ
วินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึกของการทําประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่น
อยา่ งมีความสขุ

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  14

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น แบง่ เป็น ๓ ลักษณะ ดังน้ี
๑. กจิ กรรมแนะแนว

เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ
คิดแก้ปัญหา กําหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม
นอกจากน้ียังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คําปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน
การมีส่วนร่วมพัฒนาผเู้ รียน

๒. กิจกรรมนกั เรยี น
เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นําผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทํางาน

ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทร และ
สมานฉนั ท์ โดยจดั ให้สอดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผเู้ รยี น ใหไ้ ดป้ ฏิบตั ดิ ้วยตนเอง
ในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทํางาน เน้นการ
ทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษา
และทอ้ งถิน่ กจิ กรรมนกั เรียนประกอบดว้ ย

๒.๑ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผ้บู าํ เพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร
๒.๒ กิจกรรมชมุ นุม ชมรม
๓. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนบําเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสงั คม ชุมชน และท้องถ่ินตามความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
เชน่ กจิ กรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสรา้ งสรรค์สงั คม

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  15

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สว่ นที่ ๒
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) ไดก้ ําหนดโครงสรา้ งของหลักสูตรสถานศกึ ษา เพ่ือใหผ้ ูส้ อนและผู้ท่ี
เกี่ยวข้องในการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษามีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

ระดบั การศกึ ษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560) จัดการศึกษา ดงั น้ี

๑. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษา
ภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคํานวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน
การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่าง
สมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ

๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สํารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะใน
การคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดําเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ
เปน็ เครือ่ งมอื ในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มคี วามสมดุลท้งั ดา้ นความรู้ ความคิด ความดงี าม และมี
ความภูมิใจในความเปน็ ไทย ตลอดจนใชเ้ ป็นพ้ืนฐานในการประกอบอาชพี หรือการศึกษาตอ่

การจดั เวลาเรยี น

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ
และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน โดยจัดใหเ้ หมาะสมตามบริบท จุดเน้นของโรงเรยี นและสภาพของผเู้ รียน ดังนี้

๑. ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียน
วนั ละ ไม่เกนิ ๕ ชั่วโมง

๒. ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวัน
ละไม่เกิน ๖ ชั่วโมง คิดน้ําหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่านํ้าหนักวิชา
เทา่ กับ ๑ หน่วยกิต (นก.)

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียนและโครงสร้าง
หลักสูตรชนั้ ปี ดังนี้

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  16

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

1. โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระท่ีเป็นเวลาเรียนพ้ืนฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม และเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รียนจําแนกแต่ละชนั้ ปี ในระดบั ช้นั ประถมศึกษาและระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ดงั น้ี

กรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั น้ี

กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓

 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ภาษาไทย (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
วิทยาศาสตร์
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

 ประวัตศิ าสตร์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
 ศาสนาศลี ธรรม จรยิ ธรรม (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.)
 หนา้ ทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
และการดาํ เนินชีวติ ในสงั คม (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
 เศรษฐศาสตร์
 ภมู ศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สขุ ศึกษาและพลศึกษา (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชีพฯ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

ภาษาตา่ งประเทศ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
 รายวิชา / กจิ กรรมทสี่ ถานศึกษา
จัดเพ่ิมเติม ตามความพร้อม (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)
และจุดเนน้
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐

(๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.)

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

ปีละไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๐ ช่วั โมง ปีละไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐๐ ชว่ั โมง

ไมน่ อ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ ช่ัวโมง/ปี ไมน่ ้อยกวา่ ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  17

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กรอบโครงสรา้ งเวลาเรียน โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐)

กําหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี น ตามจดุ เน้นและบรบิ ทของโรงเรยี น ดงั นี้

กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓

 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๒0๐  ๒0๐  ๒0๐  ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ภาษาไทย ๒0๐  ๒0๐  ๒0๐  ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
วิทยาศาสตร์
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
 ประวตั ิศาสตร์
 ศาสนาศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
 หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรมและ
(๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
การดําเนินชวี ติ ในสงั คม
 เศรษฐศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
 ภูมศิ าสตร์
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)
การงานอาชีพฯ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๑6๐ ๑6๐ ๑6๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) ๘๐ ๘๐ ๘๐
 ปลี ะ 8๐ ชั่วโมง  ปลี ะ 4๐ ชั่วโมง (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)
 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
 รายวชิ า / กจิ กรรมทสี่ ถานศึกษา ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
จัดเพ่ิมเติม ตามความพรอ้ ม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
และจดุ เน้น
๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐
(๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.)

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
 ปีละ ๒๐๐ ชวั่ โมง

รวมเวลาเรียนทั้งหมด  ๑,๐4๐ ช่วั โมง/ปี  ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี  ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  18

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

โครงสร้างเวลาเรยี นหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาตอนตน้
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐)

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ไดป้ รบั เวลาเรยี นเพอื่ ความเหมาะสม ดังน้ี

สาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ชม/ปี ป.๔ ป.๕ ป.๖ ชม/ปี มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๓
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ชม/ปี
ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ชั่วโมง/สปั ดาห์
ช่วั โมง/สปั ดาห์
๔๔๔
รายวิชาพนื้ ฐาน (บงั คบั ) ๔๔๔
๓๓๓
๑.ภาษาไทย 555 200 ๑๑๑ ๑๖๐ ๓๓๓ ๑๒๐
๒0๐ ๑๖๐ ๓๓๓ ๑๒๐
๒.คณติ ศาสตร์ 555 ๘๐ ๑๑๑ ๑๒๐ ๓๓๓ ๑๒๐
๔๐ ๒๒๒ ๔๐ ๓๓๓ ๑๒๐
๓.วทิ ยาศาสตร์ ๒๒๒ ๑๑๑
๔๐ ๒๒๒ ๔๐
๔.สังคมศึกษา ศาสนา ๑๑๑ ๔๐ ๓๓๓ ๘๐
๔๐ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๔๐
และวัฒนธรรม ๑๑๑ ๔๐ ๘๐ ๑๑๑ ๔๐
๕.ประวตั ศิ าสตร์ ๑6๐ --- ๑๒๐
๘๔๐ --- ๘๔๐ ๒๒๒ ๘๐
๖.สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑๑๑ ๑๑๑ ๒๒๒ ๘๐
- --- - ๒๒๒ ๘๐
๗.ศลิ ปะ ๑๑๑ ๔๐ --- - ๓๓๓ ๑๒๐
- ๔๐ ๒๒ ๒๒ ๒๒ ๘๘๐
๘.การงานอาชีพฯ ๑๑๑ - ๑๑๑ -
- -
๙.ภาษาต่างประเทศ 444 ๔๐ ๑๑๑
8๐ ๑๑๑ ๔๐
รวมรายวิชาพน้ื ฐาน ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๑๑๑
๔๐ --- ๔๐
รายวิชาเพิม่ เตมิ (เลอื ก) ๔๐ ๔๐
๓๐ ๓๓๓ ๓๐
๑.หน้าที่พลเมอื ง --- ๑๐ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๑๐ ๑๑๑ ๔๐
--- -
๒.ภาษาไทย (เพม่ิ เติม) ๑๑๑ ๑๒๐ ๑๒๐ --- -
๑,๐4๐ ๑,๐๐๐ ๒๒๒ ๘๐
๓.คณติ ศาสตร์ (เพมิ่ เตมิ ) --- ๒๒๒ ๘๐

๔.งานฝีมอื และแปรรูป (เพิม่ เติม) - - -

๕.งานอาชีพ (เพ่ิมเติม) ---

6.ภาษาองั กฤษ (เพิ่มเตมิ ) ๑ ๑ ๑

รวมรายวิชาเพมิ่ เติม 2 2 2 ๕ ๕ ๕ ๒๐๐

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

กิจกรรมแนะแนว ๑๑๑ ๑๑๑ ๔๐

- กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๑ ๑ ๑ ๑๑๑ ๔๐
๑๑๑ ๓๐
- กิจกรรมชมุ นุม ๑๑๑
--- ๑๐
กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ ---

สาธารณประโยชน์

รวมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒๐
๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑,๒๐๐
รวมทงั้ สน้ิ ๒6 ๒6 ๒6

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  19

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒. โครงสร้างหลักสตู รชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแตล่ ะรบั ช้ัน
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และเวลาในการ
จัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนจําแนกแต่ละระดับช้ัน ในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาและระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ดังน้ี

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั ปี

ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรยี น (ชม./สปั ดาห)์
รายวิชา/กจิ กรรม (ชม./ป)ี
840 2๑
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๒0๐ 5
ท 11101 ภาษาไทย 1 ๒0๐ 5
ค 11101 คณิตศาสตร์ 1 2
ว 11101 วิทยาศาสตร์ 1 ๘๐ 1
ส 11101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 ๔๐ 1
ส 11102 ประวตั ศิ าสตร์ 1 ๔๐ 1
พ 11101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1 4๐ 1
ศ 11101 ศลิ ปะ 1 ๔๐ 1
ง 11101 การงานอาชีพฯ 1 ๔๐ 4
อ 11101 ภาษาอังกฤษ 1 ๑6๐ 2
80 1
รายวชิ าเพมิ่ เติม 40 -
ท 11201 ภาษาไทย (เพม่ิ เติม) 1 - 1
ส 11201 หนา้ ทีพ่ ลเมือง 1 40 3
อ 11201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร 1 120 1
40 (2)
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (80) 1
๏ กิจกรรมแนะแนว 40 1
๏ กจิ กรรมนกั เรียน 40
- ลกู เสอื /เนตรนารี - ผนวกในกจิ กรรมนักเรยี น
- ชุมนุม -
๏ กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ - -

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา บรู ณาการ
๏ กิจกรรมต้านทจุ ริตศกึ ษา

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ ตามโครงสร้างหลักสตู ร 1,040 26

* หมายเหตุ : 1. ชัว่ โมงเรียนรายวชิ าภาษาอังกฤษ ให้จัดการเรียนรแู้ บบเปดิ เปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน

160 ชม./ปี และรายวชิ าเพิ่มเติม 40 ชม./ปี รวมเปน็ 200 ชม./ปี

2. รายวชิ าหนา้ ท่ีพลเมอื งเป็นรายวชิ าเพมิ่ เติมที่ไมม่ ีชม.เรยี น โดยบรู ณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน

3. ผู้เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนักเรียน

4. ผู้เรยี นปฏิบัตกิ จิ กรรมตา้ นทจุ รติ ศกึ ษาแบบบูรณาการการเรยี นการสอนกับกลมุ่ สาระ

การเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา

สํานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  20

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./สปั ดาห์)

(ชม./ป)ี

รายวิชาพน้ื ฐาน 840 2๑

ท 12101 ภาษาไทย 2 ๒0๐ 5

ค 12101 คณิตศาสตร์ 2 ๒0๐ 5

ว 12101 วิทยาศาสตร์ 2 ๘๐ 2

ส 12101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 ๔๐ 1

ส 12102 ประวตั ิศาสตร์ 2 ๔๐ 1

พ 12101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 2 4๐ 1

ศ 12101 ศลิ ปะ 2 ๔๐ 1

ง 12101 การงานอาชีพฯ 2 ๔๐ 1

อ 12101 ภาษาอังกฤษ 2 ๑6๐ 4

รายวิชาเพม่ิ เตมิ 80 2

ท 12201 ภาษาไทย (เพมิ่ เติม) 2 40 1

ส 12202 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 2 --

อ 12201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 2 40 1

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 3

๏ กิจกรรมแนะแนว 40 1

๏ กิจกรรมนกั เรยี น (80) (2)

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 1

- ชุมนุม 40 1

๏ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ - ผนวกในกจิ กรรมนักเรยี น

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา --

๏ กิจกรรมต้านทุจรติ ศึกษา - บรู ณาการ

รวมเวลาเรียนทง้ั สน้ิ ตามโครงสรา้ งหลักสตู ร 1,040 26

* หมายเหตุ : 1. ช่วั โมงเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ใหจ้ ัดการเรยี นรูแ้ บบเปิดเปน็ รายวิชาพืน้ ฐาน

160 ชม./ปี และรายวชิ าเพิ่มเติม 40 ชม./ปี รวมเปน็ 200 ชม./ปี

2. รายวชิ าหนา้ ที่พลเมอื งเปน็ รายวชิ าเพิ่มเติมที่ไมม่ ีชม.เรียน โดยบรู ณาการลงสูก่ จิ กรรมโรงเรยี น

3. ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนกั เรียน

4. ผู้เรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศกึ ษาแบบบรู ณาการการเรยี นการสอนกับกล่มุ สาระ

การเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  21

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./สปั ดาห์)

(ชม./ป)ี

รายวิชาพน้ื ฐาน 840 2๑

ท 13101 ภาษาไทย 3 ๒0๐ 5

ค 13101 คณิตศาสตร์ 3 ๒0๐ 5

ว 13101 วิทยาศาสตร์ 3 ๘๐ 2

ส 13101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 ๔๐ 1

ส 13102 ประวตั ิศาสตร์ 3 ๔๐ 1

พ 13101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 3 4๐ 1

ศ 13101 ศลิ ปะ 3 ๔๐ 1

ง 13101 การงานอาชีพฯ 3 ๔๐ 1

อ 13101 ภาษาอังกฤษ 3 ๑6๐ 4

รายวิชาเพม่ิ เตมิ 80 2

ท 13201 ภาษาไทย (เพมิ่ เติม) 3 40 1

ส 13203 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 3 --

อ 13201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 3 40 1

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 3

๏ กิจกรรมแนะแนว 40 1

๏ กิจกรรมนกั เรยี น (80) (2)

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 1

- ชุมนุม 40 1

๏ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ - ผนวกในกจิ กรรมนักเรยี น

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา --

๏ กิจกรรมต้านทุจรติ ศึกษา - บรู ณาการ

รวมเวลาเรียนทง้ั สน้ิ ตามโครงสรา้ งหลักสตู ร 1,040 26

* หมายเหตุ : 1. ช่วั โมงเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ใหจ้ ัดการเรยี นรูแ้ บบเปิดเปน็ รายวิชาพืน้ ฐาน

160 ชม./ปี และรายวชิ าเพิ่มเติม 40 ชม./ปี รวมเปน็ 200 ชม./ปี

2. รายวชิ าหนา้ ที่พลเมอื งเปน็ รายวชิ าเพิ่มเติมที่ไมม่ ีชม.เรียน โดยบรู ณาการลงสูก่ จิ กรรมโรงเรยี น

3. ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนกั เรียน

4. ผู้เรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศกึ ษาแบบบรู ณาการการเรยี นการสอนกับกล่มุ สาระ

การเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  22

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./สปั ดาห)์

(ชม./ปี)

รายวิชาพนื้ ฐาน 840 2๑

ท 14101 ภาษาไทย 4 ๑๖๐ ๔

ค 14101 คณติ ศาสตร์ 4 ๑๖๐ ๔

ว 14101 วทิ ยาศาสตร์ 4 ๑๒๐ ๓

ส 14101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 4 ๔๐ ๑

ส 14102 ประวตั ิศาสตร์ 4 ๔๐ ๑

พ 14101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 4 ๘๐ ๒

ศ 14101 ศลิ ปะ 4 ๔๐ ๑

ง 14101 การงานอาชีพฯ 4 ๘๐ ๒

อ 14101 ภาษาอังกฤษ 4 ๑๒๐ ๓

รายวชิ าเพิ่มเติม 40 1

ค 14201 คณิตศาสตร์ (เพมิ่ เติม) 1 40 1

ส 14204 หนา้ ทีพ่ ลเมือง 4 --

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 120 3

๏ กจิ กรรมแนะแนว 40 1

๏ กจิ กรรมนกั เรยี น (80) (2)

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 1

- ชมุ นุม 40 1

๏ กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ - ผนวกในกิจกรรมนักเรยี น

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา --

๏ กิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา - บูรณาการ

รวมเวลาเรียนท้งั สนิ้ ตามโครงสร้างหลักสตู ร 1,000 25

* หมายเหตุ : 1. รายวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื งเป็นรายวชิ าเพ่ิมเติมท่ไี มม่ ชี ม.เรียน โดยบรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมโรงเรียน

2. ผ้เู รียนปฏิบัติกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนักเรยี น

3. ผูเ้ รยี นปฏิบัติกิจกรรมตา้ นทุจริตศึกษาแบบบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั กลุม่ สาระ

การเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  23

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./สปั ดาห)์

(ชม./ปี)

รายวิชาพนื้ ฐาน 840 2๑

ท 15101 ภาษาไทย 5 ๑๖๐ ๔

ค 15101 คณติ ศาสตร์ 5 ๑๖๐ ๔

ว 15101 วทิ ยาศาสตร์ 5 ๑๒๐ ๓

ส 15101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 ๔๐ ๑

ส 15102 ประวตั ิศาสตร์ 5 ๔๐ ๑

พ 15101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 5 ๘๐ ๒

ศ 15101 ศลิ ปะ 5 ๔๐ ๑

ง 15101 การงานอาชีพฯ 5 ๘๐ ๒

อ 15101 ภาษาอังกฤษ 5 ๑๒๐ ๓

รายวชิ าเพิ่มเติม 40 1

ค 15201 คณิตศาสตร์ (เพมิ่ เติม) 2 40 1

ส 15205 หนา้ ทีพ่ ลเมือง 5 --

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 120 3

๏ กจิ กรรมแนะแนว 40 1

๏ กจิ กรรมนกั เรยี น (80) (2)

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 1

- ชมุ นุม 40 1

๏ กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ - ผนวกในกิจกรรมนักเรยี น

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา --

๏ กิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา - บูรณาการ

รวมเวลาเรียนท้งั สนิ้ ตามโครงสร้างหลักสตู ร 1,000 25

* หมายเหตุ : 1. รายวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื งเป็นรายวชิ าเพ่ิมเติมท่ไี มม่ ชี ม.เรียน โดยบรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมโรงเรียน

2. ผ้เู รียนปฏิบัติกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนักเรยี น

3. ผูเ้ รยี นปฏิบัติกิจกรรมตา้ นทุจริตศึกษาแบบบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั กลุม่ สาระ

การเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  24

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./สปั ดาห)์

(ชม./ปี)

รายวิชาพนื้ ฐาน 840 2๑

ท 16101 ภาษาไทย 6 ๑๖๐ ๔

ค 16101 คณติ ศาสตร์ 6 ๑๖๐ ๔

ว 16101 วทิ ยาศาสตร์ 6 ๑๒๐ ๓

ส 16101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6 ๔๐ ๑

ส 16102 ประวตั ิศาสตร์ 6 ๔๐ ๑

พ 16101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 6 ๘๐ ๒

ศ 16101 ศลิ ปะ 6 ๔๐ ๑

ง 16101 การงานอาชีพฯ 6 ๘๐ ๒

อ 16101 ภาษาอังกฤษ 6 ๑๒๐ ๓

รายวชิ าเพิ่มเติม 40 1

ค 16201 คณิตศาสตร์ (เพมิ่ เติม) 3 40 1

ส 16206 หนา้ ทีพ่ ลเมือง 6 --

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 120 3

๏ กจิ กรรมแนะแนว 40 1

๏ กจิ กรรมนกั เรยี น (80) (2)

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 1

- ชมุ นุม 40 1

๏ กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ - ผนวกในกิจกรรมนักเรยี น

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา --

๏ กิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา - บูรณาการ

รวมเวลาเรียนท้งั สนิ้ ตามโครงสร้างหลักสตู ร 1,000 25

* หมายเหตุ : 1. รายวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื งเป็นรายวชิ าเพ่ิมเติมท่ไี มม่ ชี ม.เรียน โดยบรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมโรงเรียน

2. ผ้เู รียนปฏิบัติกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนักเรยี น

3. ผูเ้ รยี นปฏิบัติกิจกรรมตา้ นทุจริตศึกษาแบบบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั กลุม่ สาระ

การเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  25

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

รหัสวิชา ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น รหสั วิชา ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน

(นก/ชม.) (นก/ชม.)

รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๑ (๔๔๐)

ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 ๑.๕(๖๐) ท ๒๑๑๐2 ภาษาไทย 2 ๑.๕(๖๐)

ค ๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 1 ๑.๕(๖๐) ค ๒๑๑๐2 คณติ ศาสตร์ 2 ๑.๕(๖๐)

ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 1 ๑.๕(๖๐) ว ๒๑๑๐2 วิทยาศาสตร์ 2 ๑.๕(๖๐)

ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา ๑.๕(๖๐) ส ๒๑๑๐3 สังคมศึกษา ศาสนา ๑.๕(๖๐)

และวัฒนธรรม 1 และวฒั นธรรม 2

ส ๒๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ 1 ๐.๕(๒๐) ส ๒๑๑๐4 ประวตั ิศาสตร์ 2 ๐.๕(๒๐)

พ ๒๑๑๐๑ สุขศกึ ษา 1 ๐.๕(๒๐) พ ๒๑๑๐3 สุขศกึ ษา 2 ๐.๕(๒๐)

พ 21102 พลศกึ ษา 1 ๐.๕(๒๐) พ 21104 พลศกึ ษา 2 ๐.๕(๒๐)

ศ ๒๑๑๐๑ ศลิ ปะ 1 ๐.๕(๒๐) ศ ๒๑๑๐3 ศิลปะ 2 ๐.๕(๒๐)

ศ 21102 ดนตร-ี นาฏศิลป์ 1 ๐.๕(๒๐) ศ 21104 ดนตรี-นาฏศิลป์ 2 ๐.๕(๒๐)

ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพฯ 1 ๑(๔๐) ง ๒๑๑๐2 การงานอาชพี ฯ 2 ๑(๔๐)

อ ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 1 ๑.๕(๖๐) อ ๒๑๑๐2 ภาษาอังกฤษ 2 ๑.๕(๖๐)

รายวชิ าเพ่มิ เติม 2.5 (๑๐๐) รายวชิ าเพม่ิ เติม 2.5 (๑๐๐)

ส ๒๑๒๐๑ หน้าทพี่ ลเมือง 1 ๐.๕(๒๐) ส ๒๑๒๐2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง 2 ๐.๕(๒๐)

ง ๒๑๒๐๑ งานฝีมอื และแปรรูป (ทอผ้า 1) ๑(๔๐) ง ๒๑๒๐3 งานฝมี ือและแปรรูป (ทอผ้า 2) ๑(๔๐)

ง ๒๑๒๐2 งานอาชีพ (การปลูกกล้วยนา้ํ วา้ 1)* ๑(๔๐) ง ๒๑๒๐4 งานอาชีพ (การปลกู กลว้ ยนํ้าวา้ 2)* ๑(๔๐)

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖๐

๑. กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒๐

๒. กิจกรรมนกั เรียน ๒. กจิ กรรมนักเรียน

 ลูกเสอื เนตรนารี ๒๐  ลกู เสอื เนตรนารี ๒๐

 ชมุ นุม 20  ชุมนมุ 20
๓. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและ - ๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและ -

สาธารณประโยชน*์ สาธารณประโยชน์*

หลักสตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษา - หลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา

๑. กิจกรรมตา้ นทจุ ริตศกึ ษา บูรณาการ ๑. กิจกรรมต้านทจุ ริตศึกษา บรู ณาการ

รวมเวลาเรียน ๖๐๐ รวมเวลาเรียน ๖๐๐

* หมายเหตุ : 1. รายวิชางานอาชีพ (เพิม่ เติม) มี 1 นก./ภาคเรยี น แตใ่ ห้เวลาเรยี น 3 ชม./สปั ดาห์ ตามจุดเน้น

ของโรงเรียนคุณภาพประจาํ ตําบล โดยนําเวลาเรียนมาจากรายวชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมือง

2. รายวิชาหนา้ ท่ีพลเมืองเปน็ รายวชิ าเพ่ิมเติมที่ไมม่ ชี ม.เรยี น โดยบูรณาการลงสู่กจิ กรรมโรงเรียน

3. ผู้เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนกั เรยี น

4. ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมต้านทจุ รติ ศึกษาแบบบูรณาการการเรียนการสอนกบั กลุ่มสาระ

การเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  26

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2

รหสั วชิ า ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น รหัสวิชา ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน

(นก/ชม.) (นก/ชม.)

รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๑ (๔๔๐)

ท ๒2๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๑.๕(๖๐) ท ๒2๑๐2 ภาษาไทย 4 ๑.๕(๖๐)

ค ๒2๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 3 ๑.๕(๖๐) ค ๒2๑๐2 คณิตศาสตร์ 4 ๑.๕(๖๐)

ว ๒2๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 3 ๑.๕(๖๐) ว ๒2๑๐2 วทิ ยาศาสตร์ 4 ๑.๕(๖๐)

ส ๒2๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา ๑.๕(๖๐) ส ๒2๑๐3 สังคมศึกษา ศาสนา ๑.๕(๖๐)

และวฒั นธรรม 3 และวัฒนธรรม 4

ส ๒2๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ 3 ๐.๕(๒๐) ส ๒2๑๐4 ประวัตศิ าสตร์ 4 ๐.๕(๒๐)

พ ๒2๑๐๑ สุขศึกษา 3 ๐.๕(๒๐) พ ๒2๑๐3 สุขศึกษา 4 ๐.๕(๒๐)

พ 22102 พลศกึ ษา 3 ๐.๕(๒๐) พ 22104 พลศกึ ษา 4 ๐.๕(๒๐)

ศ ๒2๑๐๑ ศลิ ปะ 3 ๐.๕(๒๐) ศ ๒2๑๐3 ศลิ ปะ 4 ๐.๕(๒๐)

ศ 22102 ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ 3 ๐.๕(๒๐) ศ 22104 ดนตรี-นาฏศลิ ป์ 4 ๐.๕(๒๐)

ง ๒2๑๐๑ การงานอาชีพฯ 3 ๑(๔๐) ง ๒2๑๐2 การงานอาชีพฯ 4 ๑(๔๐)

อ ๒2๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 3 ๑.๕(๖๐) อ ๒2๑๐2 ภาษาองั กฤษ 4 ๑.๕(๖๐)

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 2.5 (๑๐๐) รายวชิ าเพิม่ เติม 2.5 (๑๐๐)

ส ๒2๒๐3 หน้าท่ีพลเมอื ง 3 ๐.๕(๒๐) ส ๒2๒๐4 หนา้ ท่พี ลเมือง 4 ๐.๕(๒๐)

ง ๒2๒๐๑ งานฝีมือและแปรรปู (การทอเสอื่ 1) ๑(๔๐) ง ๒2๒๐3 งานฝีมือและแปรรปู (การทอเส่อื 2) ๑(๔๐)

ง ๒2๒๐2 งานอาชีพ (การทํานาํ้ หมักชีวภาพ 1)* ๑(๔๐) ง ๒2๒๐4 งานอาชพี (การทําน้ําหมักชีวภาพ 2)* ๑(๔๐)

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๖๐

๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒๐

๒. กจิ กรรมนักเรียน ๒. กิจกรรมนกั เรียน

 ลกู เสอื เนตรนารี ๒๐  ลกู เสอื เนตรนารี ๒๐

 ชมุ นุม 20  ชุมนมุ 20
๓. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ - ๓. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและ -

สาธารณประโยชน*์ สาธารณประโยชน*์

หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา - หลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา

๑. กิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศึกษา บรู ณาการ ๑. กิจกรรมต้านทุจริตศกึ ษา บรู ณาการ

รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐

* หมายเหตุ : 1. รายวชิ างานอาชพี (เพ่ิมเตมิ ) มี 1 นก./ภาคเรียน แต่ให้เวลาเรยี น 3 ชม./สัปดาห์ ตามจดุ เนน้

ของโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล โดยนาํ เวลาเรียนมาจากรายวิชาหนา้ ที่พลเมอื ง

2. รายวชิ าหนา้ ทพี่ ลเมอื งเป็นรายวชิ าเพิ่มเติมทีไ่ ม่มีชม.เรยี น โดยบูรณาการลงสกู่ จิ กรรมโรงเรียน

3. ผเู้ รียนปฏิบัตกิ ิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนักเรียน

4. ผู้เรยี นปฏิบัตกิ จิ กรรมต้านทุจรติ ศกึ ษาแบบบูรณาการการเรยี นการสอนกับกลุ่มสาระ

การเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  27

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

รหสั วชิ า ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น รหสั วชิ า ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น

(นก/ชม.) (นก/ชม.)

รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๑ (๔๔๐)

ท ๒3๑๐๑ ภาษาไทย 5 ๑.๕(๖๐) ท ๒3๑๐2 ภาษาไทย 6 ๑.๕(๖๐)

ค ๒3๑๐๑ คณิตศาสตร์ 5 ๑.๕(๖๐) ค ๒3๑๐2 คณติ ศาสตร์ 6 ๑.๕(๖๐)

ว ๒3๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 5 ๑.๕(๖๐) ว ๒3๑๐2 วทิ ยาศาสตร์ 6 ๑.๕(๖๐)

ส ๒3๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา ๑.๕(๖๐) ส ๒3๑๐3 สงั คมศึกษา ศาสนา ๑.๕(๖๐)

และวฒั นธรรม 5 และวฒั นธรรม 6

ส ๒3๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ 5 ๐.๕(๒๐) ส ๒3๑๐4 ประวัตศิ าสตร์ 6 ๐.๕(๒๐)

พ ๒3๑๐๑ สุขศึกษา 5 ๐.๕(๒๐) พ ๒3๑๐3 สุขศึกษา 6 ๐.๕(๒๐)

พ 23102 พลศกึ ษา 5 ๐.๕(๒๐) พ 23104 พลศึกษา 6 ๐.๕(๒๐)

ศ ๒3๑๐๑ ศลิ ปะ 5 ๐.๕(๒๐) ศ ๒3๑๐3 ศลิ ปะ 6 ๐.๕(๒๐)

ศ 23102 ดนตรี-นาฏศิลป์ 5 ๐.๕(๒๐) ศ 23104 ดนตรี-นาฏศิลป์ 6 ๐.๕(๒๐)

ง ๒3๑๐๑ การงานอาชพี ฯ 5 ๑(๔๐) ง ๒3๑๐2 การงานอาชีพฯ 6 ๑(๔๐)

อ ๒3๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 5 ๑.๕(๖๐) อ ๒3๑๐2 ภาษาองั กฤษ 6 ๑.๕(๖๐)

รายวชิ าเพิ่มเติม 2.5 (๑๐๐) รายวิชาเพมิ่ เตมิ 2.5 (๑๐๐)

ส ๒3๒๐5 หน้าทีพ่ ลเมือง 5 ๐.๕(๒๐) ส ๒3๒๐6 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 6 ๐.๕(๒๐)

ง ๒3๒๐๑ งานฝีมือและแปรรูป (การแปรรูป ๑(๔๐) ง ๒3๒๐3 งานฝีมอื และแปรรปู (การแปรรูป ๑(๔๐)

ผลิตภัณฑจ์ ากเสือ่ ทอ และผ้าทอ 1) ผลิตภัณฑ์จากเสอื่ ทอ และผ้าทอ 2)

ง ๒3๒๐2 งานอาชพี (ความร้พู ้ืนฐานทางไฟฟา้ 1)* ๑(๔๐) ง ๒3๒๐4 งานอาชีพ (ความรูพ้ ื้นฐานทางไฟฟ้า 2)* ๑(๔๐)

กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๖๐

๑. กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒๐

๒. กจิ กรรมนกั เรียน ๒. กิจกรรมนักเรียน

 ลกู เสือ เนตรนารี ๒๐  ลูกเสอื เนตรนารี ๒๐
20 20
 ชมุ นุม -  ชมุ นมุ -
๓. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและ ๓. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ

สาธารณประโยชน์* สาธารณประโยชน์*

หลักสูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา - หลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา

๑. กิจกรรมต้านทุจริตศึกษา บูรณาการ ๑. กิจกรรมตา้ นทจุ ริตศึกษา บรู ณาการ

รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐

* หมายเหตุ : 1. รายวิชางานอาชีพ (เพ่มิ เติม) มี 1 นก./ภาคเรียน แตใ่ หเ้ วลาเรยี น 3 ชม./สปั ดาห์ ตามจุดเนน้

ของโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล โดยนาํ เวลาเรยี นมาจากรายวิชาหนา้ ท่ีพลเมอื ง

2. รายวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมืองเป็นรายวชิ าเพม่ิ เติมที่ไมม่ ชี ม.เรียน โดยบูรณาการลงสกู่ จิ กรรมโรงเรยี น

3. ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมนักเรียน

4. ผเู้ รยี นปฏิบตั กิ จิ กรรมตา้ นทุจรติ ศกึ ษาแบบบรู ณาการการเรียนการสอนกับกลุม่ สาระ

การเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  28

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สว่ นท่ี ๓
คาํ อธิบายรายวชิ า

คําอธิบายรายวิชาประกอบด้วย รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้ันปี จํานวนเวลาเรียน
และหน่วยกิตที่สอนตลอดปีหรือตลอดภาคเรียน การเขียนคําอธิบายรายวิชาเขียนเป็นความเรียง ระบุองค์
ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นภาพรวมท่ีต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสะท้อน
ตัวช้ีวัดในรายวิชาพื้นฐาน หรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น ๆ การเขียนคําอธิบายรายวิชาแต่ละระดับ
การศึกษาควรเขียนภาพรวมของรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติมแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ว่ามีการจัดการเรียน
การสอนวิชาอะไรบ้าง (สรุปคําอธิบายรายวิชาแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้)

ซง่ึ รายวชิ าของโรงเรียนสุมเสา้ วิทยา มีดงั นี้

กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย จํานวน ๒0๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จํานวน ๒0๐ ชั่วโมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จํานวน ๒0๐ ชว่ั โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จาํ นวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จาํ นวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จาํ นวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จํานวน 60 ชว่ั โมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 60 ชวั่ โมง
ท 2๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จํานวน 60 ช่วั โมง
ท 21๑๐2 ภาษาไทย ๒ จํานวน 60 ชว่ั โมง
ท 22๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จํานวน 60 ช่ัวโมง
ท 22๑๐2 ภาษาไทย ๔ จาํ นวน 60 ช่วั โมง
ท 23๑๐๑ ภาษาไทย ๕
ท 23๑๐2 ภาษาไทย ๖ จาํ นวน 4๐ ชัว่ โมง
รายวชิ าเพิ่มเตมิ ระดบั ประถมศึกษา จํานวน 4๐ ชัว่ โมง
ท ๑๑2๐๑ ภาษาไทย (เพิม่ เติม) 1 จํานวน 4๐ ช่ัวโมง
ท ๑22๐๑ ภาษาไทย (เพ่ิมเติม) 2
ท ๑32๐๑ ภาษาไทย (เพิม่ เตมิ ) 3

****************

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  29

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ จํานวน ๒0๐ ชั่วโมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จาํ นวน ๒0๐ ช่ัวโมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จาํ นวน ๒0๐ ชั่วโมง
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ จํานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จํานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ จํานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ จาํ นวน 60 ชั่วโมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 60 ชวั่ โมง
ค 2๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จํานวน 60 ชัว่ โมง
ค 21๑๐2 คณติ ศาสตร์ ๒ จาํ นวน 60 ชั่วโมง
ค 22๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จาํ นวน 60 ช่วั โมง
ค 22๑๐2 คณติ ศาสตร์ ๔ จํานวน 60 ชั่วโมง
ค 23๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕
ค 23๑๐2 คณิตศาสตร์ ๖ จํานวน 4๐ ชัว่ โมง
รายวิชาเพิม่ เติมระดบั ประถมศกึ ษา จาํ นวน 4๐ ชว่ั โมง
ค ๑42๐๑ คณติ ศาสตร์ (เพิ่มเติม) 1 จาํ นวน 4๐ ชั่วโมง
ค ๑52๐๑ คณิตศาสตร์ (เพมิ่ เติม) 2
ค ๑62๐๑ คณิตศาสตร์ (เพ่ิมเตมิ ) 3

****************

กลมุ่ สาระการเรียนวทิ ยาศาสตร์ จาํ นวน 8๐ ช่วั โมง
รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 8๐ ช่ัวโมง
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ จํานวน 8๐ ชัว่ โมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๒ จํานวน 12๐ ชัว่ โมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ จํานวน 12๐ ชั่วโมง
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ จํานวน 12๐ ช่วั โมง
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๖ จาํ นวน 6๐ ชั่วโมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จาํ นวน 6๐ ชั่วโมง
ว 2๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ จํานวน 6๐ ชว่ั โมง
ว 21๑๐2 วิทยาศาสตร์ ๒ จาํ นวน 6๐ ช่ัวโมง
ว 22๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ จาํ นวน 6๐ ชว่ั โมง
ว 22๑๐2 วทิ ยาศาสตร์ ๔ จํานวน 6๐ ชัว่ โมง
ว 23๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕
ว 23๑๐2 วิทยาศาสตร์ ๖

****************

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  30

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จาํ นวน ๔๐ ช่วั โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จํานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ จํานวน 4๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ จํานวน 4๐ ช่วั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ จํานวน 4๐ ชัว่ โมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๖ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ จํานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ จาํ นวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖ จาํ นวน 6๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จาํ นวน 6๐ ช่ัวโมง
ส 2๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ จํานวน 6๐ ชัว่ โมง
ส 21๑๐3 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ จํานวน 6๐ ชว่ั โมง
ส 22๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓ จํานวน 6๐ ชั่วโมง
ส 22๑๐3 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ จาํ นวน 6๐ ชวั่ โมง
ส 23๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ จาํ นวน 2๐ ช่ัวโมง
ส 23๑๐3 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๖ จํานวน 2๐ ช่วั โมง
ส 2๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ จํานวน 2๐ ช่ัวโมง
ส 21๑๐4 ประวัตศิ าสตร์ ๒ จาํ นวน 2๐ ชั่วโมง
ส 22๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓ จํานวน 2๐ ช่ัวโมง
ส 22๑๐4 ประวตั ศิ าสตร์ ๔ จํานวน 2๐ ชัว่ โมง
ส 23๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕
ส 23๑๐4 ประวัติศาสตร์ ๖ จาํ นวน - ชวั่ โมง
รายวิชาเพ่มิ เตมิ ระดบั ประถมศกึ ษา จาํ นวน - ชั่วโมง
ส ๑๑๒๐๑ หน้าท่ีพลเมอื ง ๑ จาํ นวน - ชัว่ โมง
ส ๑๒๒๐2 หน้าทีพ่ ลเมือง ๒ จํานวน - ชัว่ โมง
ส ๑๓๒๐3 หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๓ จาํ นวน - ชวั่ โมง
ส ๑๔๒๐4 หนา้ ท่พี ลเมือง ๔ จํานวน - ชัว่ โมง
ส ๑๕๒๐5 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๕
ส ๑๖๒๐6 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๖ จาํ นวน - ช่วั โมง
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ระดบั มัธยมศกึ ษา จาํ นวน - ชั่วโมง
ส 21๒๐๑ หน้าท่พี ลเมือง ๑
ส 21๒๐2 หนา้ ที่พลเมอื ง ๒

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  31

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส 22๒๐3 หน้าท่พี ลเมือง ๓ จาํ นวน - ชัว่ โมง
ส 22๒๐4 หน้าที่พลเมอื ง ๔ จาํ นวน - ชว่ั โมง
ส 23๒๐5 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๕ จํานวน - ช่ัวโมง
ส 23๒๐6 หน้าที่พลเมอื ง ๖ จํานวน - ชั่วโมง

****************

กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๒ จาํ นวน ๘๐ ช่ัวโมง
พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๓ จํานวน ๘๐ ช่ัวโมง
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔ จํานวน ๘๐ ชัว่ โมง
พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๖ จาํ นวน 2๐ ชั่วโมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 21๑๐๑ สุขศึกษา 1 จาํ นวน 2๐ ช่วั โมง
พ 21๑๐2 พลศึกษา 1 จํานวน 2๐ ชั่วโมง
พ 21๑๐3 สุขศึกษา 2 จํานวน 2๐ ชัว่ โมง
พ 21๑๐4 พลศกึ ษา 2 จาํ นวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 22๑๐๑ สุขศึกษา 3 จาํ นวน 2๐ ชั่วโมง
พ 22๑๐2 พลศึกษา 3 จาํ นวน 2๐ ช่ัวโมง
พ 22๑๐3 สขุ ศึกษา 4 จํานวน 2๐ ชั่วโมง
พ 22๑๐4 พลศึกษา 4 จํานวน 2๐ ชวั่ โมง
พ 23๑๐๑ สุขศึกษา 5 จํานวน 2๐ ชัว่ โมง
พ 23๑๐2 พลศึกษา 5 จํานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 23๑๐3 สขุ ศกึ ษา 6
พ 23๑๐4 พลศึกษา 6

****************

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
รายวิชาพน้ื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จาํ นวน 4๐ ช่วั โมง
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ จํานวน 4๐ ชัว่ โมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ จาํ นวน 4๐ ชั่วโมง
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕
ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา

สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  32

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 2๐ ช่วั โมง
ศ 2๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ จํานวน 2๐ ชว่ั โมง
ศ 2๑๑๐2 ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ๑ จาํ นวน 2๐ ชั่วโมง
ศ 2๑๑๐3 ศลิ ปะ 2 จาํ นวน 2๐ ช่วั โมง
ศ 2๑๑๐4 ดนตร-ี นาฏศิลป์ 2 จํานวน 2๐ ชว่ั โมง
ศ 22๑๐๑ ศิลปะ 3 จํานวน 2๐ ชว่ั โมง
ศ 22๑๐2 ดนตรี-นาฏศิลป์ 3 จํานวน 2๐ ช่วั โมง
ศ 22๑๐3 ศิลปะ 4 จาํ นวน 2๐ ชวั่ โมง
ศ 22๑๐4 ดนตรี-นาฏศลิ ป์ 4 จํานวน 2๐ ชวั่ โมง
ศ 23๑๐๑ ศิลปะ 5 จาํ นวน 2๐ ชวั่ โมง
ศ 23๑๐2 ดนตร-ี นาฏศิลป์ 5 จํานวน 2๐ ชั่วโมง
ศ 23๑๐3 ศลิ ปะ 6 จํานวน 2๐ ชั่วโมง
ศ 23๑๐4 ดนตร-ี นาฏศิลป์ 6

****************

กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ฯ จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน ๔๐ ช่วั โมง
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๑ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๒ จํานวน ๘๐ ชวั่ โมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๓ จาํ นวน ๘๐ ชัว่ โมง
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๔ จํานวน ๘๐ ชัว่ โมง
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๕
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๖ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศกึ ษา จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ง 2๑๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๑ จํานวน ๔๐ ช่วั โมง
ง 21๑๐2 การงานอาชีพฯ ๒ จํานวน 4๐ ชั่วโมง
ง 22๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๓ จํานวน 4๐ ชั่วโมง
ง 22๑๐2 การงานอาชีพฯ ๔ จาํ นวน 4๐ ช่ัวโมง
ง 23๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๕
ง 23๑๐2 การงานอาชพี ฯ ๖ จํานวน 4๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าเพิ่มเติมระดบั มัธยมศึกษา จาํ นวน 4๐ ชั่วโมง
ง 21201 งานฝีมือและแปรรปู (ทอผ้า 1) จาํ นวน 4๐ ชว่ั โมง
ง 21202 งานอาชพี (การปลูกกลว้ ยน้ําว้า 1) จาํ นวน 4๐ ชั่วโมง
ง 21203 งานฝมี อื และแปรรปู (ทอผา้ 2) จํานวน 4๐ ชว่ั โมง
ง 21204 งานอาชพี (การปลูกกลว้ ยนํา้ ว้า 2) จาํ นวน 4๐ ชวั่ โมง
ง 22201 งานฝีมอื และแปรรปู (การทอเสอื่ 1)
ง 22202 งานอาชีพ (การทาํ นา้ํ หมักชวี ภาพ 1)

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  33

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ง 22203 งานฝมี อื และแปรรูป (การทอเสอ่ื 2) จํานวน 4๐ ช่วั โมง
ง 22204 งานอาชีพ (การทาํ น้ําหมักชวี ภาพ 2) จํานวน 4๐ ชั่วโมง
ง 23201 งานฝมี อื และแปรรปู (การแปรรปู จํานวน 4๐ ช่วั โมง

ผลติ ภัณฑ์จากเสอ่ื ทอ และผา้ ทอ 1) จํานวน 4๐ ช่วั โมง
ง 23202 งานอาชพี (ความรพู้ ื้นฐานทางไฟฟา้ 1) จํานวน 4๐ ชัว่ โมง
ง 23203 งานฝมี อื และแปรรูป (การแปรรปู
จาํ นวน 4๐ ชัว่ โมง
ผลิตภัณฑจ์ ากเสื่อทอ และผ้าทอ 2)
ง 23204 งานอาชพี (ความรพู้ ้ืนฐานทางไฟฟ้า 2)

****************

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จาํ นวน ๑6๐ ชวั่ โมง
รายวิชาพน้ื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน ๑6๐ ชวั่ โมง
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จํานวน ๑6๐ ชั่วโมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ จาํ นวน 120 ชัว่ โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ จํานวน 120 ชัว่ โมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ จํานวน 120 ช่วั โมง
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ จํานวน 6๐ ช่ัวโมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 6๐ ช่วั โมง
อ 2๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จาํ นวน 6๐ ช่ัวโมง
อ 21๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๒ จํานวน 60 ชัว่ โมง
อ 22๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ จาํ นวน 60 ชวั่ โมง
อ 22๑๐2 ภาษาองั กฤษ ๔ จาํ นวน 60 ชัว่ โมง
อ 23๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕
อ 23๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๖ จํานวน 40 ชัว่ โมง
รายวิชาเพ่ิมเติมระดบั ประถมศึกษา จํานวน 40 ช่ัวโมง
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 1 จาํ นวน 40 ชวั่ โมง
อ ๑2๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สาร 2
อ ๑3๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร 3

****************

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  34

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ า

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  35

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

รายวชิ าพ้ืนฐาน จํานวน ๒0๐ ชัว่ โมง
จาํ นวน ๒0๐ ชัว่ โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จาํ นวน ๒0๐ ชั่วโมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จาํ นวน ๑๖๐ ช่วั โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จํานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จํานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จาํ นวน 60 ชว่ั โมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จาํ นวน 60 ชว่ั โมง
จํานวน 60 ชัว่ โมง
รายวิชาพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จาํ นวน 60 ชวั่ โมง
ท 2๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จํานวน 60 ชว่ั โมง
ท 21๑๐2 ภาษาไทย ๒ จาํ นวน 60 ช่วั โมง
ท 22๑๐๑ ภาษาไทย ๓
ท 22๑๐2 ภาษาไทย ๔
ท 23๑๐๑ ภาษาไทย ๕
ท 23๑๐2 ภาษาไทย ๖

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  36

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง

ศึกษาและบอกความหมายของคํา คําคล้องจอง คําในภาษาถ่ินใช้ในชีวิตประจําวัน และข้อความที่
ประกอบด้วย คําพ้ืนฐานที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คํา รวมทั้งคําท่ีใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อ่ืน ท่ีมีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์ คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา คําที่
มีพยัญชนะควบกลํ้า คําที่มีอักษรนํา ศึกษานิทาน เร่ืองสั้น ๆ บทร้องเล่นและบทเพลง คําและความหมายของ
จากสื่อต่าง ๆ เร่ืองราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น หนังสือที่
อ่านตามความสนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือท่ีครูและนักเรียนกําหนดร่วมกัน เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์
ต่าง ๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจําวันที่ แสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
คําท่ีใช้ในชีวติ ประจําวันคําพ้ืนฐานในบทเรียน คําคล้องจอง ประโยคง่าย ๆ ความรู้สึกจากเร่ืองเร่ืองเล่าและสาร
คดีสําหรับเด็ก นิทาน การ์ตูนเร่ืองขบขัน ที่ฟังและดู ท้ังที่เป็นความรู้และความบันเทิง ในชีวิตประจําวัน ศึกษา
พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย สะกดคํา แจกลูก และการอา่ นเปน็ คํา มาตราตวั สะกดทต่ี รงตามมาตรา
และไม่ตรงตามมาตรา ผันคํา เรียบเรียงคําเป็นประโยคง่าย ๆ ต่อคําคล้องจองง่าย ๆ ข้อคิด ท่ีได้จากการอ่าน
หรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก บทอาขยาน และบทร้อยกรองตามความสนใจ นิทาน
เร่ืองสั้นง่าย ๆ ปริศนาคําทาย บทร้องเล่นท่ีเป็นวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก มารยาทในการ
อ่าน มารยาทในการเขียน มารยาทในการฟัง การดู และการพูด อ่านและเขียนคําพ้ืนฐานของภาษากลุ่มสมาชิก
อาเซยี น

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความ การบอก การเล่าเร่ือง การคาดคะเน การตอบ
คําถาม การอ่านตามความสนใจ การคัดลายมือ กระบวนการเขียนสื่อสาร การเขียนสะกดคํา การเรียบเรียงคํา
การต่อคํา กระบวนการฟัง การพูดส่ือสาร การพูดแสดง ความคิดเห็น การบอกความหมาย และการท่องจํา
สอื่ สารภาษาอาเซยี น

เพ่ือให้มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการเขยี น มารยาทในการฟัง การดูและการพูด เคารพ ยอมรับ
ความหลากหลายของภาษากลมุ่ อาเซียน

รหสั ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕,ป.๑/๖,ป.๑/๗,ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒
รวมทัง้ หมด ๒๒ ตวั ชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  37

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ศึกษาคํา คําคล้องจอง คําในภาษาถ่ินท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ
ท่ีประกอบด้วยคําพ้ืนฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ คํา รวมท้ังคําท่ีใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน
คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา คําที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์ คําที่มี
พยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําท่ีมีตัวการันต์ คําท่ีมี รร คําท่ีมีพยัญชนะและสระท่ีไม่ออกเสียง ศึกษา
นิทาน เรื่องเล่าส้ัน ๆ บทเพลงและบทร้อยกรองง่าย ๆ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
และกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน หนังสือตามความสนใจ และเหมาะสมกับวัย หนังสือท่ีครูและนักเรียนกําหนด
ร่วมกัน ข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําส่ังหรือข้อแนะนํา เกี่ยวกับการใช้สถานที่สาธารณะ การใช้
เครื่องใช้ท่ีจําเป็นในบ้านและในโรงเรียน รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เรื่องส้ัน ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์
ตามจนิ ตนาการ ฟงั และปฏิบัติตามคาํ แนะนํา คําสั่งทซ่ี บั ซ้อน ความรสู้ กึ จากเร่ืองที่ฟังและดู ทัง้ ที่เปน็ ความร้แู ละ
ความบันเทิง พูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคํา แจกลูก และ
การอ่านเป็นคํา คํามาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผันอักษร คําที่มีตัวการันต์ คําที่
มีพยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําท่ีมีความหมายตรงข้ามกัน คําที่มี รร แต่งประโยค เรียบเรียงประโยค
เป็นข้อความส้ัน ๆ คําคล้องจอง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก
ประเภทนิทาน เรื่องสั้นง่ายๆ ปริศนาคําทาย บทอาขยาน บทร้อยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน
บทร้องเล่นในท้องถ่ิน บทร้องเล่น ท่ีมีคุณค่า ในการละเล่นของเด็กไทย มารยาทในการอ่าน มารยาทในการ
เขียน มารยาทในการฟัง การดู และการพดู อ่านและเขียนชอื่ ประเทศ เมอื งหลวงของประเทศในอาเซียน

โดยใชก้ ระบวนการอ่านออกเสียง การอธิบาย การตั้งคําถาม บอก ตอบคําถาม ระบใุ จความสําคญั และ
รายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน การนําเสนอ กระบวนการเขียน การคัดลายมือ กระบวนการฟัง
และปฏิบัติตาม การเล่าเรื่องที่ฟังและดู บอกสาระสําคัญ การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก การพูด
สื่อสาร การบอก เลือกใช้ เรียบเรียงคํา เขียนสะกดคํา ระบุข้อคิด เลือกใช้ ร้อง และท่องจํา ส่ือสารภาษากลุ่ม
ประเทศอาเซยี น

มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการเขียน มารยาทในการฟัง การดู และการพูด เห็นคุณค่าบทร้อย
กรองตามความสนใจ เคารพ ยอมรับภาษากลมุ่ ประเทศอาเซยี น

รหัสตวั ชวี้ ัด
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท.๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท.๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมทงั หมด ๒๗ ตวั ชี้วัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  38

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ศึกษาคํา คําคล้องจอง คําในภาษาถ่ินท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ท่ี
ประกอบด้วยคําพ้ืนฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คํา รวมทั้งคําท่ีเรียนรู้ในกลุ่มสารการเรียนรู้อ่ืน
ประกอบดว้ ยคําทม่ี ีตัวการันต์ คาํ ทมี่ ี รร คําทม่ี พี ยัญชนะและสระไม่ออกเสียงคําพ้อง คําพิเศษอื่น ๆ นิทานหรือ
เร่ืองเกี่ยวกับท้องถ่ิน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลงและบทร้อยกรอง บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ข่าวและ
เหตุการณ์ใน ชวี ิตประจําวันในท้องถิ่นและชุมชนจากส่ือต่าง ๆ ศึกษา หนังสือตามความสนใจ และเหมาะสมกบั
วยั หนงั สือท่คี รแู ละนักเรยี นกาํ หนดรว่ มกนั ข้อเขยี นเชงิ อธบิ าย คําส่งั หรือข้อแนะนาํ ข้อมลู จากแผนภาพ แผนท่ี
และแผนภูมิ รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานท่ี บันทึกประจําวัน จดหมายลา
ครู เร่ืองตามจินตนาการจากคํา ภาพ และหัวข้อที่กําหนด ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดูท้ังท่ีเป็นความรู้และ
ความบันเทิง การสื่อสารในชีวิตประจําวัน มารยาทในการฟัง การดู และการพูด คํา การแจกลูก และการอ่าน
เป็นคํา มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผันอักษร คําที่มีพยัญชนะควบกล้ํา
อักษรนาํ คําทีป่ ระวิสรรชนยี ์และคาํ ที่ไมป่ ระวิสรรชนีย์ คําท่มี ี ฤ ฤๅ คาํ ที่ใช้ บนั บรร คาํ ท่ีใช้ รร คําทม่ี ีตวั การนั ต์
และความหมายของคํา ชนิดของคํา การใช้พจนานุกรม ประโยคเพ่ือการส่ือสาร คําคล้องจอง คําขวัญ
ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบ้าน ประเภท นิทานหรือเร่ืองในท้องถิ่น
เร่ืองส้ันง่าย ๆ ปริศนาคําทาย บทร้อยกรอง เพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียน
และตามความสนใจ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า มารยาทในการอ่าน มารยาทในการเขียน
มารยาทในการฟงั การดู และการพูด อ่านคาํ ศัพท์ ชอื่ ประเทศในกลุม่ สมาชกิ อาเซียน

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง อธิบาย ต้ังคําถามและตอบคําถาม บอก ลําดับเหตุการณ์และ
คาดคะเน ระบเุ หตุผล สรปุ ความรู้และข้อคดิ ปฏิบตั ิ คัดลายมือ กระบวนการ เขยี น แต่งประโยค ใชพ้ จนานกุ รม
การเลือกใช้ กระบวนการพูด พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก การเล่าเร่ือง บอก การลําดับเหตุการณ์และ
คาดคะเน สรปุ แสดงความคดิ เห็น ความรูส้ ึก ระบขุ ้อคดิ และการทอ่ งจาํ สือ่ สารภาษากล่มุ อาเซียนงา่ ย ๆ

เพื่อให้มีมารยาทในการอ่าน มีมารยาทในการเขียน มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด รู้จัก
เหน็ คณุ คา่ มคี วามชื่นชมวฒั นธรรมท้องถิน่ เคารพและยอมรบั ภาษาของกล่มุ สมาชกิ อาเซยี น

รหสั ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวมทั้งหมด ๓1 ตัวชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  39

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ศึกษาคํา ประโยค สํานวนคําที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น คําที่มีพยัญชนะควบกล้ํา คําท่ีมีอักษรนํา คํา
ประสม อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน ประสํานวน คําพังเพย สุภาษิต ปริศนาคําทาย และเครื่องหมาย
วรรคตอน อ่านจับใจความและตอบคําถามจากเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาท่ีกําหนด แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
จากเรื่องเล่า ประสบการณ์ นทิ านชาดก คาดคะเนเหตุการณจ์ าก บทความ บทโฆษณา ระบุเหตผุ ล สรุปความรู้
และข้อคิดจากงานเขียนประเภทข่าวและเหตุการณ์ประจําวัน สารคดีและบันเทิงคดี อ่านหนังสือตามความ
สนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดร่วมกัน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง
บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนคําขวัญ คําแนะนํา ใช้แผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด
ไปพัฒนางานเขียน ย่อความจากนิทาน ประกาศ จดหมาย คําสอน เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบิดามารดา
บันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตามจินตนาการ จําแนกข้อเท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็นจาก
เร่ืองท่ีฟังและดู จับใจความ พูดแสดงความรู้ ความคิดจาก เร่ืองเล่า บทความสั้น ๆ ข่าวและเหตุการณ์
ประจําวัน โฆษณา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น พูดลําดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน ลําดับเหตุการณ์ สะกดคําและบอกความหมายคําในแม่ ก กา
มาตราตัวสะกด การผันอักษร คําเป็นคําตาย คําพ้อง ระบุชนิดและหน้าท่ีของคํานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์
ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา แต่งประโยค ๒ ส่วน ประโยค ๓ ส่วน กลอนส่ี และคําขวัญ บอก
ความหมายสาํ นวนทเ่ี ป็นคําพงั เพยและสุภาษติ เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่นิ ระบุ อธบิ ายข้อคิด
จากนิทานพ้ืนบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ
ร้องเพลงพ้ืนบ้าน ทอ่ งจํา บทอาขยานตามท่ีกําหนด และตามความสนใจ อา่ นข้อมูลพ้นื ฐานของประเทศสมาชิก
อาเซียน

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง อ่านในใจ อธิบาย ต้ังคําถามและตอบคําถาม บอก ลําดับเหตุการณ์
คาดคะเน ระบุเหตุผล สรุปความรู้ ข้อคิด ปฏิบัติ กระบวนการเขียน ปฏิบัติ คัดลายมือ แต่งประโยค ใช้
พจนานุกรม การเลือกใช้ กระบวนการพูด พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก รายงาน และโน้มน้าวการเล่าเรื่อง
บอก การลําดบั เหตกุ ารณ์ และคาดคะเน สรปุ แสดงความคิดเหน็ ความร้สู ึก ระบุข้อคดิ และการทอ่ งจาํ รวมถึง
สรุปข้อมลู พ้ืนฐานของกลุ่มประเทศอาเซยี น

เพื่อให้มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด รู้จัก เห็นคุณค่า มีความช่ืนชม
วัฒนธรรมท้องถน่ิ เคารพ ยอมรบั ภาษาของกลมุ่ สมาชกิ อาเซียน

รหสั ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวชี้วดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  40

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศึกษาคํา ประโยค คําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า คําที่มีอักษรนํา คําที่มีตัวการันต์ คําประสม อักษรย่อ
และเครื่องหมายวรรคตอน ประโยคท่ีมีสํานวน คําพังเพย สุภาษิต ปริศนา คําทาย ข้อความท่ีเป็นการบรรยาย
และพรรณนา ข้อความท่ีมีความหมายโดยนัย อ่านจับใจความ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากวรรณคดีใน
บทเรียน วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจาก บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ข่าวและ
เหตุการณ์ประจําวัน ศึกษางานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติตาม การใช้พจนานุกรม การใช้
วัสดุอุปกรณ์ การอ่านฉลากยา คู่มือและเอกสารของโรงเรียนท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียน ข่าวสารทางราชการ อ่าน
หนังสือตามความสนใจ หนังสือท่ีนักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือท่ีครูและนักเรียนกําหนดร่วมกัน
คัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนคําขวัญ คําอวยพร คําแนะนํา และแสดงข้ันตอนการใช้
แผนภาพโครงเร่ือง แผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน ย่อความจากนิทาน ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์
จดหมาย คําสอน โอวาท คําปราศรัย เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา เขียนแสดงความรู้สึกและความ
คิดเห็น กรอกแบบรายการใบฝากเงินและใบถอนเงิน ธนาณัติ แบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์ เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ แสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเร่ืองเล่า บทความ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก
ข่าวและเหตุการณ์ประจําวัน โฆษณา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ จําแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟังและดู
พูดแสดงความรู้ ความคิดจากเรื่องเล่า บทความ ข่าวและเหตุการณ์ประจําวัน โฆษณา ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ พูด
ลําดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน ลําดับเหตุการณ์ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําบุพบท สันธาน อุทาน จําแนก
ส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ใช้คําราชาศัพท์ คําท่ีมาจาก
ภาษาต่างประเทศ แต่งกาพย์ยานี ๑๑ ใช้สํานวนที่เป็นคําพังเพยและสุภาษิต สรุปเรื่องจากนิทานพ้ืนบ้าน ระบุ
อธิบายข้อคิด จากนิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพ้ืนบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและ
ตามความสนใจ ร้องเพลงพ้นื บ้าน ทอ่ งจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนด และตามความสนใจเขียนสอ่ื สารแสดงความ
คิดเหน็ เก่ียวกบั ประเทศสมาชิกอาเซียน

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง อ่านในใจ อธิบาย ต้ังคําถามและตอบคําถาม บอก ลําดับเหตุการณ์
คาดคะเน ระบุเหตุผล สรุปความรู้ ข้อคิด ปฏิบัติ กระบวนการเขียน ปฏิบัติ คัดลายมือ แต่งประโยค
ใช้พจนานุกรม การเลือกใช้ กระบวนการพูด พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก รายงาน และโน้มน้าวการเล่า
เร่ือง บอก การลาํ ดับเหตุการณ์ และคาดคะเน สรุป แสดงความคิดเห็น ความรสู้ ึก ระบขุ ้อคิด และการท่องจาํ

เพ่ือให้มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด รู้จัก เห็นคุณค่า และมีความช่ืนชม
วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน ความเป็นอาเซียน

รหัสตัวชวี้ ัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมท้งั หมด ๓๓ ตัวชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา

สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  41

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษาคํา ประโยค คําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําที่มีตัวการันต์ คําท่ีมาจากภาษา
ต่างประเทศ อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน วัน เดือน ปีแบบไทย ข้อความที่เป็นโวหารต่าง ๆ สํานวน
เปรียบเทียบ อ่านจับใจความ ตั้งคําถาม จากเรื่องส้ัน ๆ นิทานและเพลงพ้ืนบ้าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคดิ เหน็
จากบทความ อธบิ ายการนาํ ความร้แู ละความคิด จากพระบรมราโชวาท สารคดี เรอ่ื งส้นั งานเขียนประเภทโน้ม
น้าว บทโฆษณา ข่าว และเหตุการณ์สําคัญ ไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดําเนินชีวิต ศึกษางานเขียนเชิงอธิบาย
คําส่ัง ข้อแนะนํา และปฏิบัติตามจากการใช้พจนานุกรม การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม ข้อตกลงใน
การอยู่ร่วมกันในโรงเรียน และการใช้สถานที่สาธารณะในชุมชนและท้องถ่ิน อธิบายความหมายของข้อมูล จาก
แผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ อ่านหนังสือตามความสนใจ หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย
หนังสือท่ีครูและนักเรียนกําหนดร่วมกัน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียน
ตัวอักษรไทย เขียนคําขวัญ คําอวยพร ประกาศ และแสดงข้ันตอนการใช้แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด
เขียนเรียงความ ย่อความจากสื่อต่าง ๆ เก่ียวกับนิทาน ความเรียงประเภทประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์
จดหมาย คําสอน โอวาท คําปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คําสั่ง เขียนจดหมายส่วนตัว ขอโทษ แสดง
ความขอบคุณ แสดงความเห็นใจ แสดงความยินดี กรอกใบสมัครศึกษาต่อ แบบฝากส่งพัสดุและไปรษณียภณั ฑ์
เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการและสร้างสรรค์ พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจตั้งคําถามและตอบคาํ ถามเชงิ เหตุผล สือ่
ส่ิงพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากการฟังและดูส่ือโฆษณา พูดรายงานลําดับข้ันตอน
การปฏิบัติงาน ลําดับเหตุการณ์ พูดโน้มน้าวการเลือกตั้งกรรมการนักเรียน การรณรงค์ด้านต่าง ๆ การ
โต้วาที วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคํานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ คําบุพบท คําเช่ือม คําอุทาน ใช้คําได้
เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของ คําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ระบุลักษณะของกลุ่มคําหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน แต่งกลอนสุภาพ วิเคราะห์และ
เปรียบเทียบสํานวนที่เป็นคําพังเพย และสุภาษิต สรุปเรื่องจากนิทานพ้ืนบ้าน ระบุ อธิบายข้อคิด จากนิทาน
พื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ ร้องเพลง
พ้ืนบ้าน ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนด และตามความสนใจ เขียนสื่อสาร เรียงความข้อมูลเก่ียวกับประเทศ
สมาชกิ อาเซยี น

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง อ่านในใจ อธิบาย ตั้งคําถามและตอบคําถาม บอก ลําดับเหตุการณ์
คาดคะเน ระบุเหตุผล สรุปความรู้ ข้อคิด ปฏิบัติ กระบวนการเขียน ปฏิบัติ คัดลายมือ แต่งประโยค
ใช้พจนานุกรม การเลือกใช้ กระบวนการพูด พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก รายงาน และโน้มน้าวการเล่า
เร่ือง บอก การลําดับเหตุการณ์ และคาดคะเน สรุป แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก ระบุข้อคิด และการท่องจํา
ใช้ทักษะกระบวนการเขียนและการส่ือสารภาษากลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน มีส่วนร่วมในการแสดงความ
คดิ เหน็ และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

เพ่ือให้มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด รู้จัก เห็นคุณค่า มีความชื่นชม
วัฒนธรรมท้องถ่นิ มีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็นและแลกเปล่ยี นเรียนรู้

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  42

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหัสตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒,ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒,ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒,ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมทง้ั หมด ๓4 ตวั ชว้ี ดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  43

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ รวม ๖๐ ช่วั โมง

การอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วท่ีเป็นบทบรรยายกลอนสุภาพ กลอนสักวา กาพยย์ านี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖
ถูกต้องเหมาะสม กับเร่ืองที่อ่าน การอ่านจับใจความสําคัญจากเรื่องท่ีอ่าน การตีความคํายากในเอกสารวิชาการ
โดยพิจารณาจากบริบท การอ่านคู่มือแนะนําวิธีการใช้งานมารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัดตามรูปแบบอักษรท่ีสถานศึกษากําหนด การเขียนส่ือสารด้วยการเขียนแนะนําตนเอง แนะนําสถานที่
โดยใช้ถอ้ ยคําถูกต้อง ชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย การเขียนบรรยายประสบการณ์ การเขียนยอ่ ความ การ
เขียนจดหมายส่วนตัว จดหมายกิจธุระ มารยาทในการเขียน การพูดสรุปใจความสําคัญ การพูดแสดงความ
คิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ เก่ียวกับเรื่องที่ฟังและดู การพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง
การดู และการสนทนา มารยาทในการฟัง การดู และการพูดการอธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย การ
สร้างคาํ ในภาษาไทย คาํ ประสม คาํ ซํา้ คาํ ซอ้ น คําพอ้ ง การวิเคราะห์ชนิดและหนา้ ทขี่ องคาํ ในประโยค การสรุป
เนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมท่ีอ่าน การวิเคราะห์วรรณคดี วรรณกรรม พร้อมยกตัวอย่างประกอบ การท่องจํา
บทอาขยาน สักวา รามเกียรต์ิ บทรอ้ ยกรองทท่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการวิธีการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง กระบวนการอ่านจับใจความ
สําคัญ ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริง กับข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน การปฏิบัติตามคู่มือ แนะนําวิธีการใช้ของ
เคร่ืองมือหรือเครื่องใช้ในระดับที่ยากข้ึน ทักษะกระบวนการคัดลายมือ การเขียนแนะนําตนเอง แนะนําสถานท่ี
การเขียนย่อความ การเขียนจดหมายส่วนตัว จดหมายกิจธุระ กระบวนการพูดสรุปใจความ การพูดแสดงความ
คิดเห็น การพูดรายงาน การวิเคราะห์เสียงในภาษาไทย วิเคราะห์การสร้างคําในภาษาไทย ชนิดและหน้าท่ีของ
คําในประโยค กระบวนการสรุปเนื้อหา วิเคราะห์ วรรณคดีวรรณกรรม กระบวนการท่องจําบทอาขยาน
บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
สื่อสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งมั่นในการทํางาน
รักความเป็นไทย รักท้องถน่ิ บ้านเกิด มีจติ สาธารณะ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

รหสั ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑ /๓, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๕
รวมทง้ั หมด ๒๒ ตัวชีว้ ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑


Click to View FlipBook Version