The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthapat_aa, 2021-09-19 05:46:21

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  44

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ท ๒๑๑๐2 ภาษาไทย 2 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ๖๐ ชวั่ โมง

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย กลอนสุภาพ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ โคลงส่ีสุภาพ
ถูกตอ้ งเหมาะสม กบั เรอื่ งท่อี า่ น การอา่ นจบั ใจความสาํ คัญจากเร่ืองทอ่ี ่าน การระบุ และอธิบายคํา เปรียบเทียบ
และคําที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการอ่าน การระบุ ข้อสังเกต และความสมเหตุสมผลของงาน
เขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบอักษรที่สถานศึกษากําหนด การ
เขียนสื่อสารด้วย การพิมพ์ข้อความบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ถ้อยคําถูกต้อง ชัดเจนเหมาะสมและสละสลวย
การเขียนเรียงความ การเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสาระจากส่ือท่ีได้รับการ เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้า
และโครงงาน การพูดสรุปใจความสําคัญของเร่ืองที่ฟังและดู การเล่าเรื่องย่อจากเร่ืองที่ฟังและดู การประเมิน
ความน่าเชื่อถือของส่ือที่มีเน้ือหา โน้มน้าวใจการศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน
การแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ การจําแนกและใช้สํานวนที่เป็นคําพังเพยและ
สุภาษิต การศึกษาและอธิบาย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ ่าน การสรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน
เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจําบทอาขยาน บุษบกแก้ว บุพการี นิคมพจน์กาพย์หอ่ โคลง บทร้อยกรองท่ี
ทีคุณคา่ ตามความสนใจ

โดยใชก้ ระบวนการศึกษาวิเคราะหค์ ุณค่าท่ีได้รับจากการอา่ น งานเขยี นอย่างหลากหลาย เพอ่ื นาํ ไปใช้
แก้ปัญหาในชีวิตทักษะกระบวน การคัดลายมือ การเขียนส่ือสารด้วยการการพิมพ์ บนส่ือ อิเล็กทรอนิกส์
กระบวนการเขียนเรียงความ การเขียนรายงานและการเขียนแสดงความคิดเห็น ทักษะการบวนการพูดสรุป
ใจความสําคัญ การพูดเล่าเรื่องย่อจากเร่ืองท่ีฟังและดู กระบวนการประเมินความน่าเช่ือถือของส่ือที่มีเนื้อหา
โน้มน้าวใจกระบวนการศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน การแต่งบทร้อยกรอง
ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ การจําแนกและใช้ สํานวนท่ีเป็นคําพังเพยและสุภาษิตกระบวนการ
ศึกษาและอธิบาย คุณค่า วรรณคดีวรรณกรรม การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน กระบวนการท่องบท
อาขยาน

เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
สื่อสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งม่ันในการทํางาน
รักความเป็นไทย รกั ทอ้ งถน่ิ บ้านเกดิ มจี ิตสาธารณะ มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

รหสั ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๖, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๖, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๓, ม.๑/ ๔, ม.๑/๕
รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวช้วี ดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  45

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ท ๒2๑๐1 ภาษาไทย 3 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม ๖๐ ชัว่ โมง

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บรรยายบทร้อยกรอง กลอนบทละครกลอนนิทานได้ถูกต้องการจับ
ใจความสําคัญสรุปความและอธิบายรายละเอียดและการเขียนแผนผังความคิด จากเร่ืองท่ีอ่าน วรรณคดีใน
บทเรียน บทความ บันทึกเหตุการณ์ การวิเคราะห์และจําแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจาก
บทความที่อา่ นการอ่านหนงั สือ บทความหรือคําประพันธ์อยา่ งหลากหลาย และประเมนิ คณุ คา่ หรือแนวคดิ ทไ่ี ด้ จาก
การอ่านเพื่อนําไปใช้แก้ปัญหา การมีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามแบบที่
สถานศึกษากําหนด การเขียนบรรยาย และพรรณนา การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ การเขียน
รายงานจากการศกึ ษาค้นคว้า และรายงานโครงการ การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็น
หรือโต้แย้งในเรื่องท่ีอ่านจากสื่อต่าง ๆ บทความ บทเพลง สารคดี บันเทิงคดี หนังสืออ่านนอกเวลา การมี
มารยาทฝนการเขียน การพูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟังและดู การวิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดู
อย่างมีเหตุผลเพ่ือนําข้อคิดมาประยกุ ต์ใช้ ในการดําเนินชีวิต การพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นทศ่ี ึกษาค้นคว้า การมี
มารยาทในการฟังการดูและการพูด การสร้างคําในภาษาไทย คําสมาส คําสนธิ แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
สุภาพ รวบรวมและอธิบายความหมายของคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยการสรุปเน้ือหาวรรณคดี และ
วรรณกรรมที่อ่านในระดับท่ียากขึ้น การอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน การท่องจําบทอาขยาน
วัฒนธรรม บทเสภาสามคั คเี สวก และบทร้อยกรองทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วบทบรรยาย บทพรรณนา บทร้อยกรอง กลอนบทละคร
กลอนนิทาน การอ่านจับใจความสําคัญ สรุปความโดยใช้แผนผังความคิดจากเรื่องที่อ่านการวิเคราะห์และ
จําแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความท่ีอ่านการประเมินคุณค่าหรือแนวคิดท่ีได้ จาก
การอ่านเพ่ือนําไปใช้แก้ปัญหา การเขียนบรรยาย และพรรณนา เรียงความ รายงานจากการศึกษาค้นคว้าและ
รายงานโครงการ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากการอ่านส่ือต่าง ๆ ด้วยการคัด
ลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ตามแบบท่ีสถานศึกษากําหนด การพูดสรุปใจความสําคัญ การพูดวิเคราะห์และ
วิจารณ์เรื่องท่ีฟังและดูอย่างมีเหตุผล การพูดรายงานจากเรื่องที่ค้นคว้าศึกษา การสร้างคําสมาส สนธิ การแต่ง
กลอนสุภาพ การรวบรวมคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย การสรุปเน้ือหาการอธิบายคุณค่าวรรณคดี
และวรรณกรรมที่อ่าน การท่องจาํ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ คา่ ตามความสนใจ

เพ่ือให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
สื่อสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งม่ันในการทํางาน
รักความเป็นไทย รักท้องถน่ิ บา้ นเกดิ มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม

รหสั ตวั ช้วี ดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๕
รวมทัง้ หมด ๒๒ ตัวชีว้ ดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา

สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  46

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ท ๒2๑๐2 ภาษาไทย 4 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
จาํ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ๖๐ ช่วั โมง

การอ่านออกเสียง บทร้อยแก้ว บทพรรณนา และบทร้อยกรอง กลอนเพลงยาว กาพย์ห่อโคลงได้ถูกต้อง
การอ่านจับใจความสําคัญ สรุปความ อภิปรายแสดงความคิดเห็น และข้อโต้แย้ง การระบุข้อสังเกต การชวนเช่ือ
การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน การมีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึง
บรรทัด ตามแบบท่ีสถานศึกษากําหนด การเขียนย่อความ นิทาน คําสอนบทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ์
นิทานชาดกเร่ืองราวในบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ การเขียนจดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความ
อนุเคราะห์ จดหมายแสดงความขอบคุณการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเช่ือถือของ ข่าวสาร
จากส่ือต่าง ๆ การพูดอวยพร การพูดโน้มน้าว การพูดโฆษณา การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยค
รวมและประโยคซ้อน คําราชาศัพท์การวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อม
ยกเหตุผลประกอบการสรุปความรู้และข้อคิด จากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจําบทอาขยาน
พระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง พระอภยั มณี ตอนอศุ เรนตเี มอื งผลกึ และบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการการอ่านออกเสียง บทพรรณนา กลอนเพลงยาว กาพย์ห่อโคลงได้ถูกต้อง การอ่าน
จบั ใจความสําคัญ สรปุ ความ อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และขอ้ โตแ้ ยง้ การสังเกต การชวนเชือ่ การโนม้ น้าว หรอื
ความสมเหตุสมผลของงานเขียน การเขียนย่อความ สื่อต่าง ๆ และการเขียนจดหมายกิจธุระตามรูปแบบที่
กําหนดกระบวนการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของ ข่าวสารจากส่ือต่าง ๆ การพูดใน
โอกาสต่าง ๆ กระบวนการวิเคราะห์ประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอ้ น การใช้คําราชาศัพท์ การการ
วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์ การสรุปความรู้ ข้อคดิ จากการอ่านวรรณคดวี รรณกรรม และนําไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จริง
การท่องจาํ บทอาขยานตามทกี่ าํ หนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

เพ่ือให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
ส่ือสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งม่ันในการทํางาน
รักความเปน็ ไทย รักท้องถนิ่ บา้ นเกิด มีจติ สาธารณะ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม

รหัสตวั ชวี้ ัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๖, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๔, ม.๒/๖, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔
ท ๕.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๕
รวมท้งั หมด ๑๗ ตวั ชวี้ ดั

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  47

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ท ๒3๑๐1 ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม ๖๐ ชวั่ โมง

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทความ บทความปกิณกะ และบทร้อยกรอง กลอนบทละคร กลอนเสภา
กาพย์ยานี ๑๑ได้ถูกต้อง การระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของข้อมูล ที่สนับสนุน จากเรื่องที่อ่านจากสื่อ
ต่าง ๆ การวิจารณ์ และประเมิน เรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีข้ึน การวิจารณ์
ความสมเหตุสมผล การลําดับความและความเป็นไปได้ของเร่ือง การตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิด ที่ได้จาก
งานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต การมีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึง
บรรทัด ตามแบบอักษรท่ีสถานศึกษากําหนด การเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ การเขียนจดหมายเชิญ
วทิ ยากร ขอความอนุเคราะห์ แสดงความขอบคุณ การเขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ บทโฆษณา บทความทางวชิ าการ
การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าและโครงการการมีมารยาทในการเขียนการพูดแสดงความคิดเห็นและ
ประเมินเร่ือง การพูดรายงาน ตามประเด็นท่ีศึกษา จากการฟังและการดู การสนทนา การพูดโน้มน้าวโดย
นําเสนอหลักฐานตาม ลําดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล และน่าเชื่อถือ การมีมารยาท ในการฟัง การดู และการพูด
คําท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ ระดับภาษา คําศัพท์ทางวิชาการ วิชาชีพ การสรุปเน้ือหาวรรณคดีวรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถิ่น การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน เพื่อนําไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตจริง การท่องจํา
และบอกคณุ ค่าบทอาขยาน ขนุ ชา้ งขนุ แผน ฉบับหอสมดุ แห่งชาติ ๒ บท และบทร้อยกรองที่มคี ณุ คา่ ตามความสนใจ
และนําไปใชอ้ ้างอิง

โดยใช้กระบวนการการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทความ บทความปกิณกะ และบทร้อยกรอง กลอนบท
ละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ ได้ถูกต้อง การระบุใจความสําคัญ รายละเอียดของข้อมูล การวิจารณ์ และ
ประเมินคุณค่า การวิจารณ์ ความสมเหตุสมผล การลําดับความ การตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิด จาก
การอ่านงานเขียนเพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตการเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ การเขียนจดหมายเชิญ
วิทยากร ขอความอนุเคราะห์ แสดงความขอบคุณ การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์บทโฆษณา บทความทางวิชาการ
การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าและโครงการ ด้วยการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ตามแบบอักษรที่
สถานศึกษากําหนด การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเร่ือง การพูดรายงาน ตามประเด็นท่ีศึกษา จากการ
ฟังและการดู การสนทนา การพูดโน้มน้าวโดยนําเสนอหลักฐานตาม ลําดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล และน่าเชื่อถือ
การจําแนกและใช้คํา ภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย การวิเคราะห์ระดับภาษาการอธิบายความหมาย
คําศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ การสรุปเน้ือหาการสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีวรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถ่ิน

เพื่อให้นําไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตจริง การท่องจําและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามกําหนดและบทร้อยกรอง
ท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและนําไปใช้อ้างอิง และเพ่ือให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง
การดู การพูด มีความสามารถในการส่อื สาร ในการคิด ในการใช้ทกั ษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้
มีวินัย มุ่งมั่นในการทํางาน รักความเป็นไทย รักท้องถ่ินบ้านเกิด มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมทเ่ี หมาะสม

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  48

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหสั ตวั ช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวมทั้งหมด ๒๒ ตวั ชว้ี ัด

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  49

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๒3๑๐2 ภาษาไทย 6 กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทความ บทความปกิณกะ และบทร้อยกรอง กาพย์ฉบัง ๑๖ โคลงส่ีสุภาพ
ได้ถูกต้อง คําที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยการเขียนกรอบและแผนผังความคิด บันทึก ย่อความ
รายงาน การประเมินความถูกตอ้ ง การวิเคราะห์ เพ่ือแสดงความคดิ เห็นโต้แย้งจากเรือ่ งที่อ่าน การมมี ารยาทใน
การอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ตามแบบอักษรท่ีสถานศึกษากําหนด การเขียนข้อความโดยใช้
ถ้อยคําได้ถูกต้องตามระดับภาษา การเขียนย่อความ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง
อย่างมีเหตุผล การกรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเก่ียวกับความรู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับ
งานการมีมารยาทในการเขียนการวิเคราะห์และวิจารณเ์ รื่องท่ีฟังและดู เพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวติ
การพูดโต้วาที การอภิปราย การยอวาที การมีมารยาท ในการฟัง การดู และการพูด การศึกษาประโยคซับซ้อน
คําทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ การแต่งโคลงสี่สุภาพ การวิเคราะห์ วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดี และ
วรรณกรรมท่ีอ่าน การท่องบทอาขยาน โคลงโลกนิติและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและนําไปใช้
อา้ งอิง

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองตามท่ีกําหนดได้ถูกต้อง การศึกษาคําท่ี
มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยการเขียนกรอบและแผนผังความคิด บันทึก ย่อความ รายงาน การ
ประเมินความถูกต้อง การวิเคราะห์ เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งจากเร่ืองที่อ่าน การเขียนข้อความโดยใช้
ถ้อยคําได้ถูกต้องตามระดับภาษา การเขียนย่อความ การเขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง อย่างมี
เหตุผล การกรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับงาน
ด้วยการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามแบบอักษรที่สถานศึกษากําหนด การวิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่
ฟังและดู

เพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตกระบวนการพูดพูดในโอกาสต่าง ๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์
กระบวนการการศึกษาโครงสร้างประโยคซับซ้อน คําทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ การแต่งโคลงส่ีสุภาพ
กระบวนการการวิเคราะห์ วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน การท่องบทอาขยานตามที่
กําหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและนําไปใช้อ้างอิง และเพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการ
อ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการสื่อสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้
เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งม่ันในการทํางาน รักความเป็นไทย รักท้องถ่ินบ้านเกิด มีจิตสาธารณะ
มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

รหสั ตวั ช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๖, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔
ท ๕.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวมทง้ั หมด ๑๘ ตัวชว้ี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  50

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รายวิชาเพม่ิ เตมิ

รายวชิ าเพม่ิ เติมระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน 4๐ ชั่วโมง
ท ๑๑2๐๑ ภาษาไทย (เพมิ่ เตมิ ) 1 จาํ นวน 4๐ ช่ัวโมง
ท ๑22๐๑ ภาษาไทย (เพม่ิ เติม) 2 จาํ นวน 4๐ ชว่ั โมง
ท ๑32๐๑ ภาษาไทย (เพ่ิมเตมิ ) 3

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  51

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ท 11201 ภาษาไทย (เพ่ิมเตมิ ) 1 เวลา 40 ชว่ั โมง
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1

อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง และข้อความส้ัน ๆ บอกความหมายของคํา และข้อความท่ีอ่าน
ตอบคําถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่าน เล่าเรื่องย่อจากเร่ืองท่ีอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่าน อ่านหนังสือ
ตามสนใจอย่างสมํ่าเสมอ และนําเสนอเร่ืองที่อ่าน บอกความหมายของเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์สําคัญที่พบ
เห็นในชีวิตประจําวัน มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคําและประโยค
ง่าย ๆ มีมารยาทในการเขียน ฟังคําแนะนํา คําสั่งง่าย ๆ และปฏิบัติตาม ตอบคําถาม เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งท่ี
เป็นความรู้ ความบันเทิง พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดู การพดู บอก และเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ เลขไทย เขยี นสะกด
คํา และบอกความหมายของคํา เรียบเรียงคําเป็นประโยคง่าย ๆ ต่อคําคล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดท่ีได้จาก
การอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้ว ร้อยกรองสําหรับเด็ก ท่องจําบทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทร้อย
กรองตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการคดิ ทกั ษะการส่อื สาร สรปุ วิเคราะหข์ อ้ มลู จากเรือ่ งและสือ่ ตา่ ง ๆ ท่ีอ่านฟังและดู
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจสามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจ
นําไปใช้ชีวิตประจําวันได้อย่างภาคภูมิใจ รักความเป็นไทย ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพียง มงุ่ มัน่ ทํางานและมีจติ สาธารณะ

ผลการเรยี นรู้
1. เขา้ ใจในข้อความเรอ่ื งสนั้ บทอาขยาน คําคล้องจอง
2. เขียนคาํ สะกดคําตามมาตราต่าง ๆ ไดถ้ กู ต้อง
3. อา่ นคิดถามและตอบคําถามจากเร่ืองทีอ่ า่ น
4. เขียนสะกดคาํ และตอบคาํ ถามได้ถูกตอ้ ง

รวมทงั้ หมด 4 ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  52

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ท 12201 ภาษาไทย (เพม่ิ เตมิ ) 2 เวลา 40 ชวั่ โมง
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2

การอ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆอธิบาย ความหมายของคํา และ
ข้อความ อ่านจับใจความ การตั้งคําถาม และตอบคําถามเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน การแจกลูกและการอ่านเป็นคํา
บอกความหมายของคํา การแต่งประโยค การเรียบเรยี งประโยคเป็นข้อความ คําคล้องจอง ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถ่ิน บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสําหรับเด็ก ร้องบทร้องเล่น ท่องจําบทอาขยาน
และบทรอ้ ยกรอง

โดยใช้ทักษะการอา่ น การเขยี น และการฟัง การดูและการพูด
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟงั ดูและพูด สามารถนาํ ความรู้ ข้อคดิ ทไ่ี ด้ ไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้จนเกิดความภาคภมู ิใจในภาษาไทย

ผลการเรยี นรู้
1. สามารถอ่าน และออกเสยี งคํา ประโยคทมี่ ีคําควบกลํา้ ได้ถูกตอ้ งชดั เจน
2. ออกเสยี งคาํ ร/ล ได้ถกู ตอ้ งชัดเจน
3. สามารถแยกคําควบกลํา้ แทแ้ ละควบกลาํ้ ไมแ่ ท้ได้
4. นาํ คาํ ควบกลํ้าแท้ ควบกลา้ํ ไมแ่ ท้มาแตง่ ประโยค และเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ได้

รวมทง้ั หมด 4 ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  53

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ท 13201 ภาษาไทย (เพม่ิ เติม) 3 เวลา 40 ชวั่ โมง
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

ศึกษาการอ่านออกเสียงคํา ข้อความสั้น ๆ บทร้อยกรองง่าย ๆ การอ่านบทอาขยานการอ่าน
ความหมายของคําและข้อความ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย การอ่าน
วรรณกรรม การอ่านสะกดคํา การอ่านประโยคง่าย ๆ การอ่านคําคล้องจอง การอ่านคําขวัญ การแต่งคําคล้อง
จองการเขียนบรรยายเรื่อง การเขียนบันทึกประจําวัน การเขียนรายงานจากการค้นคว้า การเขียนจดหมายลา
ครู การเขียนจดหมายถงึ เพื่อนและบิดามารดา การเขียนเร่อื งตามจินตนาการ การเล่ารายละเอยี ดเกี่ยวกบั เร่อื ง
ทไ่ี ดฟ้ ังและดู การตงั้ คําถามและตอบคําถามเก่ยี วกับเร่ืองท่ีได้ฟังและดู การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
ทีไ่ ดฟ้ งั และดู การพดู ส่ือสารได้ชดั เจน การเขยี นสะกดคํา

โดยใช้ทักษะทางภาษาในสิ่งที่ฟัง ดูและพูด สามารถจับใจความสําคัญได้อย่างถูกต้อง แสดงความ
คิดเห็นจากเร่ืองที่ฟังและดู มีทักษะในการเขียน เขียนได้ถูกต้อง สวยงาม มีระเบียบ สื่อความได้รู้หลักเกณฑ์
การเขียนและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ชัดเจนตามหลักเกณฑ์การอ่านสามารถต้ัง
คาํ ถามและตอบคําถาม เลา่ เรือ่ งท่ีอา่ นได้

เพื่อให้ได้ความรู้ ความเข้าใจ ความบันเทิง และความคิดจากส่ิงที่ได้อ่าน ฟัง ดูและเขียน นําความรู้ไป
ใช้ในชวี ิตประจาํ วนั เกดิ ความภาคภูมิใจในภาษาไทย

ผลการเรียนรู้
1. สรุปใจความสําคัญของเรอ่ื งท่ีอา่ นได้
2. สามารถสรปุ ข้อเท็จจรงิ และขอ้ คดิ เห็นได้
3. ตงั้ คาํ ถาม และตอบคาํ ถามจากเรอื่ งทอี่ ่าน ฟงั ดู และการพดู ไดอ้ ย่างมเี หตุผล
4. เขยี นแสดงความคิดเห็น แสดงความร้จู ากเร่อื งทอี่ า่ นได้

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  54

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

รายวิชาพน้ื ฐาน จํานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
จํานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั ประถมศึกษา จํานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ จาํ นวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ จาํ นวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จาํ นวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ จํานวน 60 ชั่วโมง
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ จํานวน 60 ชวั่ โมง
จํานวน 60 ชัว่ โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศกึ ษา จาํ นวน 60 ชัว่ โมง
ค 2๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ จาํ นวน 60 ชัว่ โมง
ค 21๑๐2 คณติ ศาสตร์ ๒ จํานวน 60 ชวั่ โมง
ค 22๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓
ค 22๑๐2 คณติ ศาสตร์ ๔
ค 23๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕
ค 23๑๐2 คณติ ศาสตร์ ๖

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  55

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 1 คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ศึกษา ฝึกทกั ษะการคดิ คาํ นวณและฝกึ แก้ปญั หา จาํ นวนนบั ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจํานวน
ส่ิงต่าง ๆ ตามจํานวนที่กําหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่าของเลข
โดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้
เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลําดับจํานวนตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จํานวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐
ความยาวและน้ําหนัก สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของ
จํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจํานวนท่หี ายไปในแบบรปู ของจํานวนท่ีเพิ่มขึน้ หรอื ลดลงทลี ะ ๑ ทลี ะ ๑๐
รปู ทห่ี ายไป ในแบบรูปซา้ํ ของรปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ ทส่ี มาชิกในแตล่ ะชุดท่ีซาํ้ มี ๒ รูป

วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้ําหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้หน่วยที่
ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จําแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกําหนดรูป ๑ รูป
แทน ๑ หน่วย

ในการจัดการเรียนรูไ้ ด้กําหนดสถานการณ์เพ่ือให้ผู้เรยี นได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจรงิ
สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ของผู้เรียน นําไปใช้ในชวี ิตประจาํ วนั ได้

รหสั ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมทงั้ หมด ๑๐ ตัวชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  56

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค ๑2๑๐๑ คณิตศาสตร์ 2 คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคํานวณและฝึกแก้ปัญหา จํานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จํานวนสิ่งต่าง ๆ ตามจํานวนที่กําหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ
๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลําดับจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จํานวน และหา
ค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของ
จํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจํานวน ๑
หลักกับจํานวนไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวตั้งไม่เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดย
ท่ีผลหาร มี ๑ หลัก ท้ังหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับไม่เกิน
๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี
หาคําตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับเวลาท่ีมหี น่วยเดี่ยวและเปน็ หน่วยเดียว

วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทย์
ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ําหนัก เป็นกิโลกรัม
และกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับนํ้าหนักที่มี
หน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จําแนกและบอก
ลักษณะของรูปหลายเหล่ียมและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา
เมือ่ กําหนดรปู ๑ รปู แทน ๒ หนว่ ย ๕ หนว่ ย หรอื ๑๐ หนว่ ย

ในการจัดการเรียนรไู้ ด้กําหนดสถานการณ์เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจริง
สรุปเน้ือหา มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตรข์ องผ้เู รียน และนาํ ไปใช้ในชีวติ ประจาํ วันได้

รหัสตวั ช้วี ัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมท้ังหมด ๑๖ ตวั ช้ีวัด

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  57

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค ๑3๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 3 คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐
และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่าน
และเขียนเศษส่วนท่ีแสดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกําหนด เปรียบเทียบเศษส่วนท่ี
ตัวเศษเท่ากนั โดยท่ตี ัวเศษนอ้ ยกว่าหรือเท่ากับตัวสว่ น หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการ
บวกและการลบของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดง
การคูณของจํานวน ๑ หลัก กับจํานวนไม่เกิน ๔ หลัก และจํานวน ๒ หลักกับจํานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่
ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก
ลบ คูณ หารระคน และแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และผลบวก
ไมเ่ กิน ๑ และหาผลลบพร้อมทงั้ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการลบของเศษส่วน ทม่ี ตี ัวส่วนเท่ากนั ระบุ
จํานวนที่หายไปในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใช้เคร่ืองมอื ความยาวทีเ่ หมาะสม วัดและบอกความยาวของสง่ิ ต่าง ๆ
เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร
เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกับระหว่างเซนติเมตรกับมลิ ลิเมตร เมตรกับ
เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองชั่งท่ีเหมาะสม วัด และบอกน้ําหนักเป็น
กิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนนํ้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบนํ้าหนักและแสดงวิธี
หาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับน้ําหนกั ที่มหี น่วยเป็นกโิ ลกรัมกบั กรมั เมตริกตนั กบั กโิ ลกรัม จากสถานการณ์
ต่าง ๆ เลอื กใช้เคร่อื งตวงที่เหมาะสม

วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์
ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจเุ ปน็ ลิตรและมลิ ลิเมตร ระบุรปู เรขาคณติ สองมิติที่มีแกนสมมาตรและจาํ นวน
แกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา เขียน
ตารางทางเดียวจากขอ้ มูล ท่ีเป็นจํานวนนับ และใชข้ ้อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา

ในการจัดการเรียนรู้ได้กําหนดสถานการณ์เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติ
จริง สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการ
ทางคณติ ศาสตรข์ องผเู้ รียน นาํ ไปใช้ในชีวิตประจําวันได้

รหสั ตวั ช้วี ัด
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,

ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวมท้งั หมด ๒๘ ตวั ช้ีวดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา

สาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  58

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค ๑4๑๐๑ คณิตศาสตร์ 4 คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา 16๐ ชัว่ โมง

ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับที่
มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์
ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จํานวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน
จํานวนคละที่กําหนด เปรียบเทียบ เรียงลําดับเศษส่วนและจํานวนคละที่ตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหูคูณของอีกตัว
หนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกําหนด เปรียบเทียบ
และเรียงลําดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ อยา่ งสมเหตสุ มผล หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการบวก การลบของ
จํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจํานวนหลายหลัก ๒ จํานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖
หลัก และแสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจํานวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจํานวนนับ และ ๐ พร้อมท้ังหาคําตอบ หาคําตอบและแสดงวิธีหา
คําตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบของเศษสว่ นและจาํ นวนคละทต่ี ัวสว่ นตวั หน่ึงเป็นพหูคณู ของอีกตวั หนึ่ง
หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ๒
ขั้นตอนของทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตําแหน่ง แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั เวลา

วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
และพื้นท่ีของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จําแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์
แสดงมุม สร้างรูปสีเ่ หล่ยี มมุมฉากเม่ือกําหนดความยาวของด้าน และใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทาง
ในการหาคําตอบของโจทยป์ ญั หา

ในการจัดการเรียนร้ไู ด้กําหนดสถานการณ์เพื่อให้ผเู้ รยี นได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจรงิ
สรุปเน้ือหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตรข์ องผเู้ รียน นาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจําวนั ได้

รหสั ตวั ชวี้ ดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐,

ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมท้งั หมด ๒๒ ตวั ชีว้ ดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  59

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค ๑5๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 5 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
เวลา 16๐ ชว่ั โมง

เขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหาร ของเศษส่วนและ
จํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผล
คูณของทศนิยม ท่ีผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง หาผลหารท่ีตัวตั้งเป็นจํานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓
ตําแหน่ง และตัวหารเป็นจํานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา
การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขั้นตอน และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒
ขั้นตอน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาว น้ําหนัก ท่ีมีการเปล่ียนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลี่ยมและพ้ืนที่ของรูปสี่เหล่ียมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนม
เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กําหนดให้ จําแนกรูป
สเี่ หลีย่ มโดยพิจารณาจากสมบัตขิ องรูป

สร้างรูปส่ีเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เม่ือกําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อกําหนดความยาว
ของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา และ
เขยี นแผนภูมแิ ทง่ จากข้อมูลที่เป็นจํานวนนับ

ในการจัดการเรียนร้ไู ด้กําหนดสถานการณ์เพ่ือให้ผ้เู รียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจริง
สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณติ ศาสตรข์ องผูเ้ รียนนําไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วันได้

รหสั ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,
รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวช้ีวดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  60

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ค ๑6๑๐๑ คณิตศาสตร์ 6 คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
เวลา 16๐ ชว่ั โมง

เปรียบเทียบ เรียงลําดับ เศษส่วนและจํานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยท่ีปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจํานวนนับ
หาอัตราส่วนท่ีเท่ากับอัตราส่วนที่กําหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ ไม่เกิน ๓ จํานวน แสดงวิธี
หาคาํ ตอบของโจทยป์ ญั หาโดยใช้ความรูเ้ ก่ยี วกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธข์ องการบวก ลบ คณู หารระคน
ของเศษส่วนและจํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจํานวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา
ผลหารของทศนิยมท่ีตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหาร้อยละ
๒ – ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีคิดและหาคําตอบของปัญหาเก่ียวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา
เก่ียวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์
ปัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปและพน้ื ทข่ี องรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพื้นทขี่ องวงกลม จาํ แนกรูป
สามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบตั ขิ องรูป

สร้างรูปสามเหล่ียมเม่ือกําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิต
สามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติ ท่ีประกอบจากรูปคล่ีและระบุรูปคล่ีของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิรปู วงกลมในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาในการจดั การเรยี นรู้ไดก้ ําหนดสถานการณ์

เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะโดยการปฏิบัติจริง สรุปเน้ือหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน นําไปใช้ใน
ชีวติ ประจําวนั ได้

รหสั ตวั ช้วี ดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,

ป.๖/๑๑, ป.๖/๑2
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวมทง้ั หมด ๒1 ตัวชี้วดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  61

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ค ๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 รวม ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับจํานวนเต็ม จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย์ การเปรียบเทียบจํานวน
เต็ม การบวก ลบ คูณ หารจํานวนเต็ม สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช้ เลขยกกําลัง ความหมายของเลข
ยกกําลัง การเขียนจํานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ การคูณการหารเลขยกกําลังท่ีมีฐานเดียวกันและเลขช้ี
กําลังเป็นจํานวนเต็ม ห.ร.ม. และ ค.ร.น.การหา ห.ร.ม.ของจํานวนนับ การหา ค.ร.น. ของจํานวนนับ การ
แกป้ ญั หาโดยใช้ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.พืน้ ฐานทางเรขาคณิต การสรา้ งรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพ้ืนฐาน
การสํารวจสมบัติทางเรขาคณิต

โดยจดั ประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วนั ทใ่ี กลต้ ัวผเู้ รยี นใหผ้ เู้ รียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรปุ รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ
และใช้ในชีวิตประจาํ วันอย่างสรา้ งสรรค์ รวมทัง้ เหน็ คณุ ค่าและมเี จตคติทด่ี ีต่อคณติ ศาสตร์ สามารถทํางานอยา่ ง
เป็นระบบ ระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและมคี วามเช่อื ม่นั ตนเอง

รหสั ตัวช้วี ัด
ค ๑.๑ ม.๑/๑
ค ๑.๑ ม.๑/๒
ค ๑.๓ ม.๑/๑
ค ๒.๒ ม.๑/๒
รวมทง้ั หมด ๔ ตวั ชีว้ ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  62

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ค ๒๑๑๐2 คณติ ศาสตร์ 2 กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม ๖๐ ชัว่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับเศษส่วนและทศนิยม การเปรียบเทียบเศษส่วนและทศนิยม การบวก ลบ
คูณ หาร เศษส่วน ทศนิยม โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับเศษส่วนและทศนิยมการประมาณค่าการ
ประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้การประมาณค่าความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
สองมิติและสามมิติภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติภาพท่ีได้จากการมองทางด้านหน้าด้านข้างและด้านบนของรูป
เรขาคณิตสามมิติ การวาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบข้ึนจากลูกบาศก์ ภาพของรูปเรขาคณิต
สองมิติท่ีเกิดจากการคลี่รูปเรขาคณิตสามมิติ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการเขียนและการแก้สมการเชิงเส้นตวั
แปรเดียว การแก้โจทย์ปัญหาสมการเก่ียวกับสมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว คู่อันดับและกราฟ คู่อันดับ กราฟและ
การนําไปใช้ โอกาสของเหตุการณ์ การหาโอกาสของเหตกุ ารณ์ การนําไปใช้ในชวี ิตจรงิ

โดยจัดประสบการณ์หรอื สถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วันทใี่ กลต้ ัวผเู้ รียนใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ กึ ษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัติจรงิ ทดลอง สรปุ รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใช้ในชวี ิตประจาํ วนั อย่างสร้างสรรค์ รวมทง้ั เหน็ คุณคา่ และมเี จตคตทิ ีด่ ตี อ่ คณติ ศาสตร์ สามารถทํางานอยา่ ง
เปน็ ระบบ ระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณและมีความเชือ่ มั่นตนเอง

รหัสตัวชวี้ ัด
ค 1.1 ม.1/3
ค 1.3 ม.1/2
ค 1.3 ม.1/3
ค 2.2 ม.1/1
ค 3.1 ม.1/1
รวมท้ังหมด 5 ตวั ชว้ี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  63

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ค ๒2๑๐1 คณติ ศาสตร์ 3 กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 รวม ๖๐ ช่วั โมง จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้โจทย์ปัญหา
เก่ียวกับอัตราส่วนและร้อยละ การวัด หน่วยความยาว พ้ืนที่ การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ในชีวิตประจําวัน
โดยใช้ความรู้เก่ียวกับพื้นท่ี การคาดคะเนแผนภูมิรูปวงกลม การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม การเขียนแผนภูมิรูป
วงกลม การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุนความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากัน
ทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูปท่ีสัมพันธ์กันแบบ ด้าน – มุม – ด้าน , มุม – ด้าน – มุม ,
ดา้ น – ด้าน – ดา้ น

โดยจดั ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วันท่ีใกล้ตัวผู้เรยี นใหผ้ ู้เรยี นได้ศึกษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัตจิ รงิ ทดลอง สรุปรายงาน

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ
และใช้ในชวี ิตประจําวันอยา่ งสร้างสรรค์ รวมทงั้ เห็นคณุ ค่าและมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานอย่าง
เปน็ ระบบ ระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณและมคี วามเช่อื มั่นตนเอง

รหัสตัวช้วี ัด
ค ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/2
ค ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/2
ค ๒.๒ ม.๒/๔, ม.๒/๔
รวมทง้ั หมด ๖ ตัวชวี้ ดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  64

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ค ๒2๑๐2 คณติ ศาสตร์ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
รากที่สอง รากที่สาม การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้
โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับเส้นขนาน สมบัติของเส้นขนาน
รูปสามเหล่ียมสองรูปท่ีสัมพันธ์กันแบบ มุม – มุม – ด้าน การให้เหตุผลและแก้ปัญหาโดยใช้สมบัติของเส้น
ขนาน และความเทา่ กันทกุ ประการของรปู สามเหลี่ยม

โดยจดั ประสบการณห์ รือสถานการณใ์ นชีวิตประจําวันทใี่ กล้ตัวผู้เรยี นใหผ้ ู้เรียนได้ศกึ ษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัตจิ รงิ ทดลอง สรุปรายงาน

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใชใ้ นชีวติ ประจําวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทง้ั เห็นคณุ ค่าและมีเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ คณติ ศาสตร์ สามารถทาํ งานอย่าง
เปน็ ระบบ ระเบียบ มคี วามรอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณและมคี วามเช่ือม่นั ตนเอง

รหัสตัวช้ีวดั
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/2
ค ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/2, ม.๒/3
ค ๓.๑ ม.๒/๑
รวมท้ังหมด ๖ ตวั ชว้ี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  65

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ค ๒3๑๐1 คณติ ศาสตร์ 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 รวม ๖๐ ชั่วโมง จาํ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับปริมาตรและพื้นที่ผิว การหาพ้ืนท่ีผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก
การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับ
พื้นท่ีผิวและปริมาตรระบบสมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบ
สมการเชิงเส้นสองตัวแปรความคลา้ ย รูปที่คล้ายกัน รูปสามเหล่ียมท่คี ลา้ ยกัน สมบัติของรูปสามเหลีย่ มทีค่ ลา้ ย
การนาํ ไปใชก้ ราฟ กราฟเส้นตรง กราฟเสน้ ตรงกบั การนาํ ไปใช้ กราฟอื่น ๆ

โดยจัดประสบการณ์หรอื สถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วันที่ใกลต้ ัวผเู้ รียนใหผ้ เู้ รียนได้ศกึ ษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบตั ิจรงิ ทดลอง สรปุ รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณการแก้ปัญหาการให้เหตุผลการส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์และนําประสบการณ์ด้านความรู้ความคิดทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และ
ใช้ในชีวิตประจําวันอย่างสร้างสรรค์รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์สามารถทํางานอย่างเป็น
ระบบระเบียบมีความรอบคอบมีความรบั ผดิ ชอบมวี ิจารณญาณและมีความเชื่อม่นั ตนเอง

รหสั ตัวชวี้ ดั
ค ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/2
ค ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/2, ม.๓/3
ค ๓.๒ ม.๓/๑
รวมทัง้ หมด ๖ ตวั ชี้วดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  66

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ค ๒3๑๐2 คณติ ศาสตร์ 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 รวม ๖๐ ชัว่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับอสมการคําตอบและกราฟแสดงคําตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สถิติ การกําหนด
ประเด็น การเขียนข้อความ การกําหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลการนําเสนอข้อมูล การหาค่า
กลางของข้อมูล การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลการอ่านการแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้
ข้อมูลสารสนเทศความน่าจะเป็นการทดลองสุ่มและเหตุการณ์การหาความน่าจะเปน็ ของเหตุการณ์การนาํ ไปใช้
การเสริมทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ การเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรเ์ กยี่ วกับเลขยกกําลัง
อัตราส่วนและร้อยละ ปริมาตรและพ้นื ที่ผวิ สถิติ ความนา่ จะเปน็

โดยจดั ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาํ วันที่ใกล้ตัวผเู้ รยี นให้ผเู้ รียนได้ศึกษาคน้ คว้าโดยการ
ปฏบิ ัตจิ รงิ ทดลอง สรปุ รายงาน

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใช้ในชวี ติ ประจาํ วนั อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเหน็ คุณคา่ และมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อคณติ ศาสตร์ สามารถทาํ งานอยา่ ง
เป็นระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณและมคี วามเชื่อมน่ั ตนเอง

รหสั ตัวชวี้ ัด
ค ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/2
ค ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/2, ม.๓/3
ค ๓.๑ ม.๓/๑
รวมท้ังหมด ๖ ตัวช้ีวดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  67

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รายวิชาเพ่ิมเติม

รายวิชาเพิ่มเตมิ ระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน 4๐ ช่วั โมง
ค ๑42๐๑ คณิตศาสตร์ (เพิ่มเติม) 1 จาํ นวน 4๐ ชว่ั โมง
ค ๑52๐๑ คณิตศาสตร์ (เพมิ่ เติม) 2 จํานวน 4๐ ชว่ั โมง
ค ๑62๐๑ คณิตศาสตร์ (เพิม่ เตมิ ) 3

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  68

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ค ๑42๐๑ คณติ ศาสตร์ (เพ่มิ เตมิ ) 1 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชัว่ โมง

การเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจาํ นวนนับ การอ่านความหมาย การเขียน
การอ่านเศษส่วน ความหมายการเขียน และการอ่านทศนิยมหน่ึงตําแหน่ง หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละ
หลักของจํานวนนับ การใช้เลขศูนย์ เพ่ือยึดตําแหน่งของหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย
การเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับ การเปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
การเปรียบเทียบและเรียงลําดับทศนิยมหน่ึงตําแหน่ง การบวก การลบ การคูณจํานวนหน่ึงหลักกับจํานวน
มากกว่าส่ีหลัก การคูณจํานวนมากกว่าหนึ่งหลักกับจํานวนมากกว่าสองหลัก การหารที่ตัวหารไม่เกินสามหลัก
การบวก ลบ คูณ หารระคน การเฉล่ีย โจทย์ปัญหาการบวก การลบ โจทย์ปัญหาการคูณจํานวนหน่ึงหลักกับ
จํานวนมากกว่าสี่หลัก โจทย์ปัญหาการคูณจํานวนมากกว่าหน่ึงหลักกับจํานวนมากกว่าสองหลัก โจทย์ปัญหา
การหารท่ีตัวหารไม่เกิน สามหลัก โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก
การลบ การคูณ การหาร การบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่ง (กรัม
กับกิโลกรัม กิโลกรัมกับเมตริกตัน ขีดกับกรัม) การตวง (มิลลิลิตรกับลูกบาศก์เซนติเมตร มิลลิลิตรกับลิตร
ลูกบาศก์เซนติเมตรกบั ลิตร) หน่วยเวลา (วินาทีกับนาที นาทีกับช่ัวโมง ช่ัวโมงกับวัน วันกับสัปดาห์ วันกับเดือน
สัปดาห์กับปี เดือนกับปี วันกับปี) การหาพื้นท่ีเป็นตารางหน่วยและตารางเซนติเมตร การหาพ้ืนท่ีของรูป
สี่เหล่ียมมุมฉาก การบอกเวลาจากหน้าปัดนาฬิกาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้จุดและการ
อ่าน การบอกระยะเวลา การคาดคะเนความยาว (เมตรเซนติเมตร วา) คาดคะเนน้ําหนัก (กิโลกรัม ขีด)
คาดคะเนปริมาตรหรอื ความจุ (ลิตร)

โดยจัดประสบการณห์ รอื สถานการณใ์ นชีวติ ประจาํ วนั ที่ใกล้ตัวผเู้ รียนใหผ้ เู้ รยี นไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าโดยการ
ปฏบิ ตั จิ ริง ทดลอง สรุปรายงาน

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหาการให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ
และใช้ในชีวิตประจําวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมเี จตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์สามารถทาํ งานอย่าง
เปน็ ระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณและมคี วามเชื่อมน่ั ตนเอง

ผลการเรยี นรู้
1. เขยี นตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยได้
2. เขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจายได้
3. แก้โจทย์ปญั หาการคณู ได้
4. หาความสมั พนั ธ์ของหน่วยการช่ังได้
5. หาพ้นื ทขี่ องรปู สีเ่ หล่ียมมมุ ฉากได้

รวมท้งั หมด 5 ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  69

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพม่ิ เติม

ค ๑52๐๑ คณิตศาสตร์ (เพ่มิ เติม) 2 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 40 ชว่ั โมง

ศึกษาความหมาย การอ่าน และการเขียนเศษส่วนแท้ เศษเกิน จํานวนคละ และทศนิยม ไม่เกินสอง
ตําแหน่ง เศษส่วนที่เท่ากับจํานวนนับ การเขียนจํานวนนับในรูปเศษส่วน การเขียนเศษเกินในรูปจํานวนคละ
และการเขียนจํานวนคละในรูปเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างตํ่า การบวก การลบเศษส่วนท่ีตัว
ส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง การคูณเศษส่วนกับจํานวนนับ เศษส่วนกับเศษส่วน การหาร
เศษส่วนด้วยจํานวนนับ การหารจํานวนนับด้วยเศษส่วน เศษส่วนด้วยเศษส่วน การบวก ลบ คูณระคนของ
เศษส่วน การบวกและการลบทศนิยม ไม่เกินสองตําแหน่ง การคูณทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่งกับจํานวนนับ
การคูณทศนิยมหน่ึงตําแหน่งกับทศนยิ มหนึ่งตาํ แหน่ง การบวก ลบ คูณระคนของทศนิยม โจทย์ปัญหาการบวก
การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ การหาปริมาตรหรือความจุของทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉากโดยใช้สูตร โจทย์ปัญหาเก่ียวกับพื้นท่ีของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และรูปสามเหลี่ยม โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปริซึม
พีระมิด รูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สี่เหล่ียมด้านขนาน ส่ีเหลี่ยมคางหมู
และส่ีเหล่ียมรูปว่าว รูปสามเหลี่ยมแบ่งตามลักษณะของด้าน รูปสามเหล่ียมแบ่งตามลักษณะของมุม
ส่วนประกอบของรูปสามเหล่ียม มุมภายในของรูปสามเหล่ียม ชนิดของมุมการสามารถสร้าง โจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคณู การหาร และการบวก ลบ คณู หารระคนของจํานวนนับ

โดยจดั ประสบการณห์ รอื สถานการณ์ในชีวติ ประจําวนั ท่ใี กลต้ ัวผู้เรียนให้ผู้เรียนได้ศึกษาคน้ คว้าโดยการ
ปฏบิ ตั ิจริง ทดลอง สรปุ รายงาน

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหาการให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใช้ในชีวิตประจําวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์สามารถทาํ งานอย่าง
เปน็ ระบบระเบียบ มคี วามรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณและมคี วามเชอ่ื ม่ันตนเอง

ผลการเรียนรู้
1. อ่าน และเขียนเศษส่วนแท้ เศษเกิน จํานวนคละ และทศนิยม ไม่เกินสองตําแหน่ง เศษส่วนที่

เทา่ กบั จํานวนนับ การเขยี นจาํ นวนนบั ในรปู เศษสว่ น การเขียนเศษเกนิ ได้
2. บวก การลบเศษสว่ นท่ตี ัวสว่ นตัวหนึง่ เป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหน่ึง การคณู เศษสว่ นกับจํานวน

นบั เศษส่วนกบั เศษส่วน การหารเศษสว่ นด้วยจาํ นวนนับได้
3. หาปริมาตรหรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยใช้สูตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นท่ีของรูป

ส่ีเหลี่ยม มมุ ฉาก และรูปสามเหลย่ี มหาความสัมพนั ธ์ของหน่วยการช่งั ได้
4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม ทรงกลม

ทรงกระบอก กรวย ปรซิ มึ พีระมิด รูปส่ีเหลี่ยมจัตรุ สั ได้
รวมทัง้ หมด ๔ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  70

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ค ๑62๐๑ คณติ ศาสตร์ (เพมิ่ เติม) 3 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 40 ชวั่ โมง

ศึกษาความหมาย การอ่าน และการเขียนทศนิยมสามตําแหน่ง หลัก ค่าประจําหลัก และค่าของเลข
โดดในแต่ละหลักของทศนิยมสามตําแหน่ง การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลําดับ
ทศนิยม ไม่เกินสามตําแหน่ง การเปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วน การเขียนทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่งใน
รูปเศษส่วน การเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็น ตัวประกอบของ ๑๐, ๑๐๐, ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม การบวก
การลบ การคูณ การหารเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจํานวนคละ การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยมที่มีผลลัพธ์เป็นทศนิยมไม่เกินสาม
ตําแหน่ง การบวก ลบ คูณ หารระคนของทศนิยมท่ีมีผลลัพธ์เป็นทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่ง โจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ หาค่าประมาณใกล้เคียงเป็น
จํานวน เต็มหม่ืน เต็มแสน และเต็มล้าน ค่าประมาณใกล้เคียงทศนิยมหนึ่งตําแหน่งและสองตําแหน่งการบวก
การคูณ การบวก ลบ คูณ หารระคน ตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะการหา ห.ร.ม. การหา
ค.ร.น. การหาทิศ การบอกตําแหน่งโดยใช้ทิศมาตราส่วน การอ่านแผนผัง การหาพื้นที่ของรูปสี่เหล่ียมโดยใช้
ความยาวของด้าน การหาพื้นท่ีของรูปสี่เหล่ียมโดยใช้สมบัติของเส้นทแยงมุมการหา ความยาวรอบรูปวงกลม
หรือความยาวรอบวง การหาพ้ืนที่ของรูปวงกลม การคาดคะเนพ้ืนท่ีของรูปสเ่ี หล่ยี ม โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความ
ยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปสี่เหลี่ยม โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปวงกลม โจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรหรือความจุของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากการเขียนแผนผังแสดงส่ิงต่าง ๆ แสดงเส้นทางการ
เดินทาง การเขยี นแผนผงั โดยสงั เขป

โดยจดั ประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วันทีใ่ กลต้ ัวผเู้ รยี นให้ผเู้ รียนได้ศกึ ษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุปรายงาน

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหาการให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ
และใช้ในชีวิตประจําวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์สามารถทาํ งานอย่าง
เปน็ ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชอ่ื มัน่ ตนเอง

ผลการเรียนรู้
1. อ่าน และการเขียนทศนยิ มสามตําแหนง่ หลกั คา่ ประจําหลักได้
2. บวก ลบ คณู หารเศษส่วน และหารจํานวนคละได้
3. หาทิศ การบอกตาํ แหนง่ โดยใชท้ ิศมาตราสว่ นได้
4. แกโ้ จทยป์ ญั หาเกยี่ วกับความยาวรอบรูปและพื้นทข่ี องรูปสเ่ี หลีย่ มได้

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  71

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

รายวชิ าพน้ื ฐาน จํานวน 8๐ ชัว่ โมง
จาํ นวน 8๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 8๐ ชั่วโมง
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ จํานวน 12๐ ชวั่ โมง
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ จาํ นวน 12๐ ชั่วโมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ จาํ นวน 12๐ ช่วั โมง
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๔
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ จาํ นวน 6๐ ชวั่ โมง
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ จาํ นวน 6๐ ช่วั โมง
จาํ นวน 6๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จาํ นวน 6๐ ชวั่ โมง
ว 2๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ จํานวน 6๐ ชวั่ โมง
ว 21๑๐2 วทิ ยาศาสตร์ ๒ จาํ นวน 6๐ ช่ัวโมง
ว 22๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓
ว 22๑๐2 วทิ ยาศาสตร์ ๔
ว 23๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕
ว 23๑๐2 วิทยาศาสตร์ ๖

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  72

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 1 คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง

ศกึ ษาการเรยี นรู้แบบนกั วิทยาศาสตร์ ลักษณะ หน้าท่ีและการดแู ลรกั ษาส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์
ลักษณะและหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของสัตว์และพืชรอบตัว และสภาพแวดล้อม ในบริเวณที่สัตว์และพืชอาศัย
อยู่ ชนดิ และสมบตั ขิ องวสั ดุท่ใี ช้ทาํ วัตถุรอบตัว การเกิดเสียง และทศิ ทางการเคลื่อนท่ีของเสียง ลักษณะของหิน
และการมองเห็นดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน และกลางคืน การแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถูก
การเปรียบเทียบ การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น
การใช้งานซอฟต์แวร์เบอ้ื งต้น

ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต สํารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก
และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ัน
พื้นฐานและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบ้ืองต้น
สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทํางานร่วมกับผู้อ่ืน แสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่าง
ง่าย เขยี นโปรแกรมโดยใชส้ ่อื สร้าง จดั เกบ็ และเรียกใช้ไฟลต์ ามวัตถุประสงค์

ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้งาน ดูแลรักษาอุปกรณ์ และใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม คา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

รหสั ตัวช้ีวดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวมทงั้ หมด ๑๕ ตัวช้ีวัด

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  73

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ว ๑2๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 2 คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต ความจําเป็นของแสง และ
นํ้าต่อการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับน้ําของวัสดุและการนําไปใช้ประโยชน์
สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนําวัสดุมาผสมกัน การเลือกวัสดุมาใช้ทําวัตถุตามสมบัติของวัสดุ การนําวัสดุที่ใช้
แล้วกลับมาใช้ใหม่ การเคลื่อนที่ของแสง การมองเห็นวัตถุ การป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณท่ีมี
แสงสว่างไม่เหมาะสม ส่วนประกอบ และการจําแนกชนิดของดิน การใช้ประโยชน์จากดิน การแสดงข้ันตอน
การแก้ปัญหา การตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้ืองต้น การจัดการไฟล์และ
โฟลเดอร์ การใช้งานและดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต จําแนกประเภท รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจ
ตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน และมีทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเบื้องต้น สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้
มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทํางานร่วมกับผู้อื่น แสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย เขียนโปรแกรมแบบมี
เงอ่ื นไขโดยใช้บัตรคําสั่งและตรวจหาข้อผิดพลาด ใชง้ านซอฟต์แวร์ สรา้ ง จัดหมวดหมไู่ ฟลแ์ ละโฟลเดอร์

ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต ตระหนักถงึ
ความสําคัญของการปกป้องข้อมูลส่วนตัว ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ดูแลรักษาอุปกรณ์
คอมพวิ เตอร์ มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม ค่านิยมทเ่ี หมาะสม

รหสั ตัวชี้วดั
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมท้ังหมด ๑๖ ตวั ช้ีวัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  74

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ว ๑3๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 3 คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ศึกษาวิเคราะห์ บรรยายสิ่งท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย์ และสัตว์ โดยใช้
ข้อมูลที่รวบรวมได้ การสร้างแบบจําลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์ และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์
บางชนิด การประกอบวัตถุข้ึนจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซ่ึงสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็นวัตถุชิ้น
ใหม่ได้ การเปล่ียนแปลงของวัสดุเมอื่ ทําให้ร้อนขึ้นหรือทําให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ผลของแรงทีม่ ี
ต่อการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจากแรงสัมผัส และแรงไม่สัมผัสที่มีผลต่อการเคลื่อนท่ีของวัตถุ
การใช้การดึงดูดกับแม่เหล็ก ขั้วแม่เหล็ก ผลที่เกิดข้ึนระหว่างขั้วแม่เหล็กเม่ือนํามาเข้าใกล้กัน การเปล่ียน
พลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังงานหนึ่ง การทํางานของเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า แหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า การข้ึน
และตก ของดวงอาทิตย์ สาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน
และการกําหนดทิศ ส่วนประกอบของอากาศ ความสําคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษ ทางอากาศต่อ
สิ่งมีชีวิตประโยชน์และโทษของลม การเกิดลม ประโยชน์ของอาหาร น้ํา และอากาศ การดูแลตนเองและสัตว์
ให้ได้รับส่ิงเหล่านี้อย่างเหมาะสม คุณค่าของชีวิตสัตว์ โดยไม่ทําให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์เปล่ียนแปลง ประโยชน์
และโทษของไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย ความสําคัญของดวงอาทิตย์ ประโยชน์ของดวง
อาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ความสําคัญของอากาศ การปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ ศึกษาวิเคราะห์
การแสดงอัลกอริทึมในการทํางาน หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ การเขียน
โปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา
ความรู้ การรวบรวม การประมวลผล และการนาํ เสนอข้อมูลโดยใช้ซอฟ์แวร์ตามวัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใช้

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
การระบุ การจําแนก การเปรียบเทียบ การพยากรณ์ แบบจําลอง การบรรยาย และการอภิปรายเพื่อให้เกิด
ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทีเ่ รยี นรู้

มีความตระหนัก สามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คณุ ธรรม คา่ นิยมทีเ่ หมาะสม

รหัสตัวชวี้ ดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.3 ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมทัง้ หมด ๒5 ตัวชี้วัด

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  75

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ว ๑4๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 4 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เวลา 12๐ ชั่วโมง

ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ การจําแนกส่ิงมีชีวิตเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช
และสัตว์ การจําแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก การจําแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์ มีกระดูกสันหลังและ
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก
กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วยน้ํานม หน้าท่ีของราก ลําต้น ใบและดอกของพืชดอก
สมบัติทางกายภาพ ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนําความร้อน และการนําไฟฟ้าของวัสดุ การนําสมบัติ
ทางกายภาพของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจําวัน สมบัติของสสารท้ัง ๓ สถานะ ผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุ
การวัดน้ําหนักของวัตถุ มวลของวัตถุ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ และตัวกลางของแสง
การข้ึนและตกและรูปร่างดวงจันทร์ และองค์ประกอบของระบบสุรยิ ะ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา
การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม การค้นหาข้อมูลใน
อินเทอร์เน็ตและการใช้คําค้น การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การรวบรวม นําเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศ

ใช้การสืบเสาะหาความรู้ ต้ังคําถาม คาดคะเนคําตอบหรือสร้างสมมติฐาน วางแผน และสํารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล
รวมรวมข้อมูล ประมวลผลอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ผล และสร้างทางเลือก นําเสนอข้อมูล ลงความ
คิดเห็นและสรุปผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบ้ืองต้น
มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทํางานร่วมกับผู้อ่ืน ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา และอธิบายการทํางาน
หรือคาดการผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรม ตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของ
ตนเองและผู้อืน่

ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้ และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต สามารถส่ือสารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะ รู้จักการปกป้องข้อมูลส่วนตัว
มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม คา่ นิยมทีเ่ หมาะสม

รหสั ตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมทง้ั หมด ๒๑ ตวั ชีว้ ัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  76

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ว ๑5๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 5 คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
เวลา 12๐ ช่วั โมง

ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่เหมาะสม ในแต่ละแหล่งท่ี
อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต การถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว์ และมนุษย์ การเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้ํา การ
เปล่ียนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน การได้ยินเสียง
ผ่านตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงตํ่า เสียงดัง และเสียงค่อย ระดับเสียงและมลพิษทางเสียง
ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว แบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์
บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณน้ําในแต่ละแหล่ง ปริมาณน้ําที่มนุษย์สามารถนํามาใช้ได้ การใช้น้ําอย่างประหยัด
และการอนุรักษ์น้ํา วัฏจักรน้ํา กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นํ้าค้าง และน้ําค้างแข็ง กระบวนการเกิดฝน หิมะ
และลูกเห็บ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การเขียนรหัสลําลองเพ่ือแสดงวิธีแก้ปัญหา การออกแบบ
และการเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไขและการทํางานแบบวนซ้ํา การใช้ซอฟต์แวร์ประมวลผลข้อมูล
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล และการประเมิน ความน่าเช่ือถือของข้อมูล
อนั ตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ นต็

ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จัดกระทําและส่ือความหมายข้อมูล สร้างแบบจําลอง
และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พ้ืนฐานและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบ้ืองต้น
สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทํางานร่วมกับผู้อ่ืน แสดงวิธีแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
เชิงตรรกะ ใช้รหัสลําลองแสดงวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
และการทํางานแบบวนซํา้ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ใชซ้ อฟต์แวร์ชว่ ยในการแก้ปัญหา ใช้อินเทอรเ์ น็ต
ตดิ ต่อสอื่ สารและค้นหาข้อมูล แยกแยะข้อเท็จจริงกับขอ้ คดิ เหน็ ประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของขอ้ มูล

ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้ และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีมารยาท มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คุณธรรม ค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

รหสั ตัวชีว้ ดั
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมท้งั หมด ๓๒ ตัวชีว้ ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  77

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ว ๑6๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 6 คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
เวลา 12๐ ชว่ั โมง

ศึกษา ค้นคว้า สารอาหารและประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน
การเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งความ
ปลอดภัยต่อสุขภาพ ความสําคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีสารอาหารครบถ้วนใน
สดั สว่ นทเี่ หมาะสมกับเพศและวยั รวมท้ังปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ ระบบยอ่ ยอาหาร และหนา้ ทข่ี องอวัยวะในระบบ
ย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหาร ความสําคัญของระบบย่อยอาหาร
แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบย่อยอาหารให้ทํางานเป็นปกติ ศึกษา ค้นคว้า การแยกสารผสมโดย
การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน วิธีแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจําวันเกี่ยวกับการแยกสาร การเกิด และผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถู ส่วนประกอบ
ของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย และต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ประโยชน์การต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
ประโยชน์ ข้อจํากัด และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
การเกิดเงามืดเงามัว รังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว ศึกษา ค้นคว้า การเกิดและเปรียบเทียบ
ปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคาพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ การนําเทคโนโลยีอวกาศมาใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน การเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และวัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์ของหิน
และแร่ในชีวิตประจาํ วัน การเกิดซากดึกดาํ บรรพ์และสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดําบรรพ์ การเกิดลมบก
ลมทะเล และมรสุม ผลที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย ผลกระทบ
ของนํ้าท่วมการกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย
แนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดในท้องถ่ิน การ
เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก ต่อส่ิงมีชีวิต ผลกระทบของปรากฏการณ์
เรือนกระจก แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ศึกษา ค้นคว้า การใช้เหตุผล
เชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตประจําวัน การออกแบบและเขียนโปรแกรม
อยา่ งงา่ ย เพอ่ื แก้ปัญหาในชวี ติ ประจาํ วัน ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมและแกไ้ ขการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการ
ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทํางานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ
หน้าทีข่ องตน เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจง้ ผเู้ กีย่ วข้องเม่ือพบขอ้ มลู หรอื บุคคลทีไ่ ม่เหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะหา
ความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจําลอง การอธิบาย การ
เปรยี บเทียบ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภยั และมมี ารยาท มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม คา่ นิยมท่เี หมาะสม

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  78

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหัสตัวชว้ี ดั
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
รวมท้งั หมด ๓๐ ตัวช้ีวัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  79

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และวิทยาศาสตร์กายภาพ เก่ียวกับรูปร่างและโครงสร้างเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์ ทําหน้าท่ีของผนังเซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย
และคลอโรพลาสต์ การใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปร่างกับการทําหน้าท่ีของเซลล์ การจัดระบบของสิ่งมีชีวิตจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
กระบวนการแพร่และออสโมซิส การสังเคราะห์ด้วยแสง และผลผลิตที่เกิดข้ึนจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความสําคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่
อาศัยเพศของพืชโครงสร้างของดอก การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก ธาตุอาหารที่จําเป็นต่อการ
เจริญเติบโตและการดํารงชีวิตของพืช การขยายพันธ์ุพืชเพ่ือเพิ่มจํานวนพืช เทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ
สมบัติทางกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตุกัมมันตรังสที ม่ี ีต่อส่ิงมชี ีวติ ส่ิงแวดลอ้ ม
เศรษฐกิจ และสังคม การใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ และธาตกุ มั มันตรังสี จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิและ
สารผสม ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธ์ิ
และสารผสมโครงสร้างอะตอม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อฝึกทักษะ ใช้กล้องจุลทรรศน์
เขียนแผนภาพ สังเกต ทดสอบใช้สารสนเทศ ใช้เครื่องมือ วัดอุณหภูมิ เขียนกราฟ และนําความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน ศึกษาอัลกอริทึ่มแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจําเป็นต่อการแก้ปัญหา
ข้ันตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสลําลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายท่ีมีการ
ใช้งานตัวแปร เงื่อนไข และการวนซ้ํา เพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์การรวบรวมข้อมูลปฐม
ภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสรา้ งทางเลอื กและประเมินผลเพอื่ ตัดสินใจซอฟต์แวร์และบริการบนอนิ เทอร์เน็ต
ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การ
พิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา ข้อตกลงและข้อกําหนดการใช้สื่อและแหล่งข้อมูลโดยออกแบบ แก้ปัญหา
อธิบาย เขียนโปรแกรมอย่างง่าย รวบรวมข้อมูล ประเมินผล นําเสนอข้อมูลสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดย
ใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย เพ่ือนําแนวคิดเชิงนามธรรมและข้ันตอนการแก้ปัญหา
ไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือก ในการ
ตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์
ตอ่ การเรยี นรู้ และไม่สรา้ งความเสยี หายให้แก่ผู้อนื่

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจําลอง การอธิบาย
การเปรียบเทยี บ การเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างถูกต้องเหมาะสม ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทํางาน ซ่ือสัตย์สุจริต เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถใน
การแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกดิ ความตระหนกั และจิตอาสาในการดูแลรักษาสงิ่ แวดล้อมอย่างเหมาะสม

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  80

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหสั ตวั ชว้ี ัด
ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11,

ม.1/12, ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10
ว 4.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
รวมท้งั หมด 32 ตวั ชว้ี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  81

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ว ๒๑๑๐2 วิทยาศาสตร์ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศและเทคโนโลยี เก่ียวกับการจัดเรียงอนุภาค
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส โดยใช้แบบจําลอง ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์และแบบจําลอง การสร้างแบบจําลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับ
ความสูงจากพ้ืนโลก การวิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคํานวณปริมาณความร้อนที่ทําให้สสารเปลี่ยน

อุณหภูมิและเปล่ียนสถานะ โดยใช้สมการ Q = mcΔt และ Q = mL การใช้เทอร์โมมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ

ของสสาร การสร้างแบบจําลองท่ีอธิบายการขยายตัวหรือหดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสียความร้อน
การตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการหดและขยายตัวของสสารเน่ืองจากความร้อน โดยวิเคราะห์
สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะวิธีการนําความรู้มาแก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน การวิเคราะห์สถานการณ์การ
ถ่ายโอนความร้อนและคํานวณปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อนโดยใช้สมการ
Qสูญเสีย = Qได้รับ การสร้างแบบจําลองท่ีอธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยการนําความร้อน การพาความ
ร้อน การแผ่รังสีความร้อน การออกแบบ เลือกใช้ และสร้างอุปกรณ์ เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจําวันโดยใช้
ความรู้เก่ียวกับการถ่ายโอนความร้อน การสร้างแบบจําลองที่อธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศ และเปรียบเทียบ
ประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละช้ัน การอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
จากข้อมูล ที่รวบรวมได้ การเปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน และผลท่มี ี
ต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม รวมทั้งนําเสนอแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและปลอดภัย การอธิบายการ
พยากรณ์อากาศ และพยากรณอ์ ากาศอยา่ งง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้ การตระหนักถงึ คุณค่าของการพยากรณ์
อากาศ โดยนาํ เสนอแนวทางการปฏิบัตติ นและการใช้ประโยชน์จากคําพยากรณ์อากาศ การอธบิ ายสถานการณ์
และผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากข้อมูลที่รวบรวมได้ การตระหนักถึงผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก โดยนําเสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก โดยใช้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ ฝกึ ทกั ษะ สรา้ งแบบจาํ ลอง คํานวณ ใชเ้ ทอร์โมมิเตอร์ ออกแบบ สร้าง
อุปกรณ์ นําเสนอแนวทางปฏิบัติตน พยากรณ์อากาศ แก้ปัญหา ใช้แนวคิดในเชิงคํานวณ และนําความรู้ไปใช้
ประโยชนใ์ นชีวติ ประจําวนั ได้อยา่ งเหมาะสม ปลอดภัย

โดยศึกษาการพัฒนาโครงงาน การนําแนวคิดเชิงคํานวณในการพัฒนาโครงงานท่ีเก่ียวข้องกับ
ชีวิตประจําวัน และมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอย่างสร้างสรรค์ โดยเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ความรู้และทักษะจาก
ศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการทําโครงงานเพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน โดยประยุกต์ใช้แนวคิดเชิง
คํานวณ พัฒนาโครงงาน ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการทําโครงงาน เพื่อนําความรู้ที่ได้รับมาเช่ือมโยงกับชีวติ
จริง อย่างสรา้ งสรรค์ สามารถแกป้ ัญหาและพฒั นางานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันใน
การทํางาน ซ่ือสัตย์สุจริต เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการ
แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยไี ด้อย่างมีประสิทธิภาพตระหนัก
ถงึ ประโยชนข์ องความรูข้ องการหดตัวและขยายตัวของสสาร คณุ ค่าของการพยากรณ์อากาศผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลก ปฏิบัตติ นให้เหมาะสม ปลอดภยั และมจี รยิ ธรรม

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  82

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหัสตวั ช้วี ัด
ว 2.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว 2.3 ม.1/1
ว 3.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
รวมท้ังหมด 20 ตัวช้ีวดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  83

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ว ๒2๑๐1 วิทยาศาสตร์ 3 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ชว่ั โมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์เกี่ยวกับการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย
โครมาโทกราฟี บนกระดาษ การสกัดด้วยตัวทําละลาย วิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน
ออกแบบการทดลองในการอธิบายผลของชนดิ ตัวละลาย ชนดิ ตัวทาํ ละลาย อุณหภูมทิ ีม่ ผี ลต่อสภาพการละลาย
ได้ของสาร ผลของความดันท่ีมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารโดยใช้สารสนเทศ ตัวละลายในสารละลายใน
หน่วย ความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร แรงในชีวิตประจําวัน
ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุลักษณะการเคล่ือนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงเสียดทาน วิธีการลดหรือเพิ่มแรง
เสียดทาน โมเมนต์ของแรง เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน และคํานวณโดยใช้สมการ M = Fl
สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง และทิศทางของแรงท่ีกระทําต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละสนาม
แรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงท่ีกระทาํ ต่อวัตถุอัตราเร็วและความเร็วของการเคล่ือนท่ีของวัตถุโดยใช้
สมการ V= s/t และ V= s/t การกระจัดและความเร็ว เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์ พลังงานทดแทนโครงสร้าง
ภายในโลก ตามองค์ประกอบทางเคมี สมบัติบางประการของดินนํ้า แนวทางการใช้นํ้าอย่างยั่งยืนในท้องถ่ิน
ผลกระทบของน้ําท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรุด โดยใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ เพ่ือฝึกทักษะ การทดลอง แปลความหมาย และการ
นําเสนอข้อมูล ศึกษาอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคํานวณในการแก้ปัญหา หรือการทํางานท่ีพบในชีวิตจริง
โปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา หลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ
ส่ือสารเพ่ือประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบ้ืองต้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ความรับผิดชอบ
การสร้างและแสดงสิทธิในการเผยแพร่ผลงาน โดยออกแบบ เขียนโปรแกรม แก้ปัญหา อภิปราย องค์ประกอบ
และหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพ่ือประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหา
เบื้องต้น ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สร้างและแสดงสทิ ธิในการเผยแพรผ่ ลงาน เพื่อการแก้ปัญหา หรือการทํางาน
ท่ีพบในชีวิตจริง ประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบ้ืองต้น ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความ
รบั ผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธิในการเผยแพรผ่ ลงานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามกฎหมาย

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจําลอง การอธิบาย
การเปรียบเทียบ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย

เพื่อให้เกิด ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ตระหนักเลือก
ป้องกัน ดูแลรักษา ประพฤติตน ปฏิบัติตน ประยุกต์ใช้ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์เกิดความสามารถในการคิด
ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  84

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหัสตวั ชีว้ ัด
ว 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11,

ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15
ว 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10
ว 4.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
รวมท้ังหมด 35 ตวั ช้ีวดั

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  85

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ว ๒2๑๐2 วิทยาศาสตร์ 4 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ๖๐ ช่วั โมง จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์เกี่ยวกับอวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะที่เก่ียวข้องในระบบหายใจ กลไกการ

หายใจเข้าและออก กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส ความสําคัญของระบบหายใจ แนวทางในการดูแลรักษา

อวัยวะในระบบหายใจอวยั วะและหนา้ ที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกําจัดของเสยี ทางไต ความสาํ คัญของ

ระบบขับถ่ายการปฏิบัติตนที่ช่วยให้ระบบขับถ่ายทําหน้าที่ได้อย่างปกติ โครงสร้างและหน้าท่ีของหัวใจหลอด

เลือด และเลือด การทํางานของระบบหมุนเวียนเลือด การเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจ ขณะปกติและ

หลังทํากจิ กรรมความสาํ คญั ของระบบหมนุ เวียนเลือด แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด

ให้ทํางานเป็นปกติ อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุมการทํางานต่าง ๆ

ของร่างกาย ความสําคัญของระบบประสาท การดูแลรักษาและการป้องกันการกระทบกระเทือนและอันตราย

ต่อสมองและไขสันหลัง อวัยวะและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิง ฮอร์โมนเพศ

ชายและเพศหญิงท่ีควบคุมการเปล่ียนแปลงของร่างกายเม่ือเข้าสู่วัยหนุ่มสาว การเปล่ียนแปลงของร่างกายเมื่อ

เข้าสู่วัยหนุ่มสาว การดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงที่มีการเปล่ียนแปลง การตกไข่การมี

ประจําเดือน การปฏิสนธิและการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเป็นทารก วิธีการคุมกําเนิดที่เหมาะสมกับ

สถานการณ์ที่กําหนดผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร คํานวณเกี่ยวกับงานและกําลังท่ีเกิดจากแรงท่ี

กระทําต่อวัตถุโดยใช้สมการ W = Fs และ หลักการทํางานของเครื่องกลอย่างง่าย ปัจจัยที่มีผลต่อ

พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์โน้มถ่วงการเปล่ียนพลังงานระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ของ

วัตถุ การเปลี่ยนและการถ่ายโอนพลังงานโดยใช้กฎการอนุรักษ์พลังงาน โดยใช้ทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ เพื่อฝึกทักษะ การทดลอง แปลความหมาย และการ

นาํ เสนอข้อมลู ศึกษาแนวโนม้ เทคโนโลยี สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยเี ทคโนโลยี

ท่ีมีผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ความต้องการเทคโนโลยีในชุมชนหรือท้องถ่ิน

การออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา โดยวเิ คราะห์ เปรียบเทียบ การเลอื กข้อมลู ทจ่ี าํ เป็นภายใต้เงอ่ื นไขและทรัพยากร

ท่ีมีอยู่ การนําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืน วางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแก้ปัญหา

อย่างเป็นขั้นตอน การทดสอบ การประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดข้ึน ภายใต้กรอบ

เง่ือนไข แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนําเสนอผลการแก้ปัญหา ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์

เคร่อื งมอื กลไก ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยคาดการณ์พจิ ารณาจากสาเหตหุ รือปจั จยั วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ

ตัดสินใจ เลือกใช้เทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชน สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์

ข้อมูลและแนวคดิ ทเี่ กยี่ วข้องกับปัญหา วางแผน ขั้นตอนการทาํ งานและดําเนินการแก้ปัญหา อย่างเป็นข้นั ตอน

ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือ ข้อบกพร่องที่เกิดข้ึน ภายใต้กรอบเงื่อนไข ปรับปรุงแก้ไข

และนําเสนอผลการแก้ปัญหา ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและ

อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือตัดสินใจ เลือกใช้เทคโนโลยี โดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม

ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน

ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  86

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจําลอง การอธิบาย
การเปรียบเทียบ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย

เพื่อให้เกิด ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ตระหนักเลือก
ป้องกัน ดูแลรักษา ประพฤติตน ปฏิบัติตน ประยุกต์ใช้ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์เกิดความสามารถในการคิด
ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ

รหัสตัวช้ีวดั
ว 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11,

ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15, ม.2/16, ม.2/17
ว 2.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
รวมทั้งหมด ๒8 ตัวชวี้ ดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  87

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ว ๒3๑๐1 วิทยาศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 รวม ๖๐ ชวั่ โมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพเกี่ยวกับวัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกซ์ วัสดุผสม
การเกิดปฏิกิริยาเคมี การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมโดยใช้แบบจําลองและสมการข้อความแสดงปฏิกิริยา
กฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูดความร้อน ปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของ
ปฏิกิริยา การเกิดสนิมเหล็ก ปฏิกิริยากรดกับโลหะ ปฏิกิริยากรดเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ ปฏิกิริยา
เผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ประโยชนแ์ ละโทษของปฏิกริ ยิ าเคมตี อ่ ส่งิ แวดลอ้ ม การปอ้ งกนั
และแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน การต่อ
ตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน อิเล็กทรอนิกส์ การเลือกใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การเกิดคลื่น คล่ืนเหล็กไฟฟ้า
กฎการสะท้อนของแสง การเคลื่อนที่ของแสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสง การกระจายของ
แสงและแสงขาว การเกิดภาพจากเลนส์ ทัศนอุปกรณ์ และเลนส์ตา ความสว่างของแสง โดยใช้ทักษะ
กระบวนการความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี เพ่ือฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้
การสาํ รวจตรวจสอบ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ การสบื ค้นขอ้ มลู และการอภปิ ราย สามารถส่อื สาร
สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน ที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
พัฒนางาน และพัฒนาอาชีพ ศึกษาพัฒนาแอพพลิเคชั่นที่มีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอย่างสร้างสรรค์ ข้อมูล
ประมวลผลประเมินผล นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน
อินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสาร
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ใช้ลิขสิทธ์ิของผู้อื่นโดยชอบธรรม โดยพัฒนา รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นําเสนอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ประเมิน
วเิ คราะหส์ ่ือ เทคโนโลยี เพอื่ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมลู วเิ คราะห์สือ่ และผลกระทบจากการให้ขา่ วสารท่ี
ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ปฏิบัติ
ตามกฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธข์ิ องผอู้ ื่นโดยชอบธรรม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจําลอง การอธิบาย
การเปรยี บเทยี บ การเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย

เพื่อให้เกิด ความตระหนัก เกิดแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหา เกิดความสามารถวางแผนขั้นตอนการ
ทํางาน แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจเทคนิควิธีการท่ีหลากหลายมาปรับปรุง แก้ไข และนําเสนอผลจาก
การแกป้ ัญหามีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม

รหัสตัวชว้ี ัด
ว 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8
ว 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11,

ม.3/12, ม.3/13, ม.3/14, ม.3/15, ม.3/16, ม.3/17, ม.3/18, ม.3/19, ม.3/20, ม.3/21
ว 4.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
รวมท้ังหมด 33 ตัวชว้ี ดั

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา

สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  88

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ว ๒3๑๐2 วิทยาศาสตร์ 6 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ๖๐ ชัว่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษา อธิบาย เกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการสํารวจ สร้างแบบจําลองการถ่ายทอด

พลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภคและผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศการสะสม

สารพิษในส่ิงมีชีวิตในห่วงโซ่อาหาร ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อมในระบบนิเวศ ศึกษา

ความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจําลองเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทาง

พันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวท่ีแอลลีลเด่น แอลลีลด้อย การเกิดจีโนไทป์ และ ฟีโนไทป์

ของลูกและคํานวณอัตราส่วนการเกิด การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส การเปลี่ยนแปลงของยีน

โครโมโซม ความรู้เรื่องโรคพันธุกรรม ผลกระทบของส่ิงมีชีวิตต่อการดัดแปลงพันธุกรรมท่ีมีต่อมนุษย์

และส่ิงแวดล้อม ความหลากหลายของชีวภาพในระบบนิเวศ การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วย

แรงโน้มถ่วง สร้างแบบจําลองท่ีอธิบายการฤดูและการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์

การเปล่ียนแปลงเวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้ําขึ้น นํ้าลง การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยี

อวกาศและความก้าวหน้าของโครงการสํารวจอวกาศ โดยใช้ทักษะกระบวนการความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี

เพ่ือฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้

ความคิดความเข้าใจ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการ

ตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน ท่ีเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา พัฒนางาน และพัฒนาอาชีพ ศึกษา

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะ

วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น

การพฒั นางานอาชพี กรอบของปัญหา การรวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคดิ ทเี่ กย่ี วข้องกบั ความถกู ตอ้ งด้าน

ทรัพย์สินทางปัญญา วิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จําเป็น ภายใต้

เงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่ นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย

การวางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน การทดสอบประเมินผล วิเคราะห์

และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหา แนวทางการ ปรับปรุง

แก้ไข และนําเสนอผลการแก้ปัญหา ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและ

อิเล็กทรอนิกส์ลักษณะของงาน และปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน โดยวิเคราะห์สาเหตุแก้ปัญหาหรือ

พฒั นางาน ระบปุ ญั หาหรือความตอ้ งการ สรปุ กรอบของปัญหา รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มลู และแนวคิดที่เกย่ี วข้อง

กับปัญหา โดยคํานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์

เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจําเป็น ภายใต้เง่ือนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่ นําเสนอแนวทางการ

แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือ วิธีการท่ีหลากหลายวางแผนข้ันตอนการทางานและดาเนินการ

แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่อง

หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข นําเสนอผลการแก้ปัญหา เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน โดย

คํานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญาตัดสินใจเลือกข้อมูลท่จี ําเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรทม่ี ีอยู่

นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือ วิธีการท่ีหลากหลายวางแผนขั้นตอนการทํางาน

และดําเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  89

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

และอิเล็กทรอนิกส์ให้ ถูกต้องกับลักษณะของงาน และปลอดภัย เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจําลอง การอธิบาย
การเปรยี บเทยี บ การเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย

เพื่อให้เกิด ความตระหนัก เกิดแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหา เกิดความสามารถวางแผนข้ันตอนการ
ทํางาน แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจเทคนิควิธีการท่ีหลากหลายมาปรับปรุง แก้ไข และนําเสนอผลจาก
การแกป้ ญั หามจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม

รหสั ตวั ช้วี ดั
ว 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6
ว 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11
ว 3.๒ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10
ว 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
รวมทง้ั หมด 32 ตวั ชวี้ ดั

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  90

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาฯ

รายวิชาพ้นื ฐาน จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จํานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ จาํ นวน 4๐ ชัว่ โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ จาํ นวน 4๐ ชัว่ โมง
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓ จาํ นวน 4๐ ชัว่ โมง
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ จํานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๖ จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒ จํานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ จํานวน 6๐ ชว่ั โมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๖ จํานวน 6๐ ชวั่ โมง
จาํ นวน 6๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 6๐ ชวั่ โมง
ส 2๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ จํานวน 6๐ ชว่ั โมง
ส 21๑๐3 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ จาํ นวน 6๐ ชั่วโมง
ส 22๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ จํานวน 2๐ ช่วั โมง
ส 22๑๐3 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ จํานวน 2๐ ชั่วโมง
ส 23๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕ จํานวน 2๐ ชวั่ โมง
ส 23๑๐3 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖ จาํ นวน 2๐ ชวั่ โมง
ส 2๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ จาํ นวน 2๐ ชั่วโมง
ส 21๑๐4 ประวตั ศิ าสตร์ ๒ จาํ นวน 2๐ ช่ัวโมง
ส 22๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓
ส 22๑๐4 ประวัตศิ าสตร์ ๔
ส 23๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕
ส 23๑๐4 ประวตั ศิ าสตร์ ๖

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  91

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ชว่ั โมง

ศึกษาเก่ียวกับพุทธประวัติ ภาพพุทธประวัติแผนภูมิ/แผนผัง ประวัติพระพุทธเจ้าหรือประวัติศาสดาท่ี
ตนนับถือโดยสังเขป แบบอย่างการดําเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก ประโยชน์ท่ีได้รับ คุณงาม
ความดี เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามท่ีกําหนด ความหมาย ความสําคัญ หลักธรรม โอวาท ๓
ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับถอื ตามทีก่ ําหนด การสวดมนต์ แผ่เมตตา สตทิ ่เี ป็นพน้ื ฐาน
ของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกําหนด การบําเพ็ญ
ประโยชน์ต่อวัด หรือศาสนสถาน การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัยประโยชน์และ
องค์ประกอบของพระรัตนตรัยข้อควรละเวน้ (ศีล ๕ )ขอ้ ควรปฏิบตั ิ (เบญจธรรม) การทาํ ความดีตอ่ พ่อ แม่ และ
ผู้มีพระคุณ คําแผ่เมตตา/การสวดมนต์ วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา การเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและ
โรงเรียน ลักษณะความสามารถและลกั ษณะ ความดีของตนเองและผู้อ่ืน และผลจากการกระทําน้นั ประโยชน์
และการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ความสามารถและความดีของตนเอง ผู้อ่ืน
โครงสรา้ ง บทบาท สิทธิ และหน้าท่ขี องตนเอง ของสมาชกิ ในครอบครวั และโรงเรียน กจิ กรรมในครอบครวั และ
โรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย สินค้าและการบริการ ท่ีใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน การใช้จ่ายเงิน
ในชีวิตประจําวัน การจัดท่ีบ้านและชั้นเรียนโดยใช้ การสังเกต การบอก ระบุ แยกแยะ เปรียบเทียบ เรียงลําดับ
การมีส่วนร่วม การตัดสินใจ การอธิบาย การให้เหตุผล ยกตัวอย่าง แสดงตน การปฏิบัติตน และการบําเพ็ญ
ประโยชน์ ประจําวัน ท่ีไม่เกินตัวประโยชน์ของการออม การใช้ทรัพยากรในชีวิตประจําวันอย่างประหยัด ของ
เครือ่ งใช้ประจาํ วนั เชน่ สมดุ หนงั สอื สบู่ ยาสีฟันการร้จู กั ฉลาดใช้จ่ายในการซื้อสงิ่ ของท่จี าํ เป็นรายรบั รายจา่ ย
ประจําวัน รับจากการทํางาน การออม จ่ายสิ่งท่ีจําเป็นประจําวันประหยัดใช้ ประหยัดจ่ายประจําวันความสุข
จากการทํางานความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความอดทน ขยัน การซ้ือจ่ายแลกเปลี่ยนสินค้าผู้ผลิต และ
ผู้บริโภคใกล้ตัวการนับช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ การนับวัน เดือน ปีเหตุการณ์ประจําวัน เช่น การตื่นนอน
การเลน่ การเรียนหนังสือวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ ค้นควา้ จาก การบอกเลา่ ตํารา เอกสาร ฯลฯ ทางครอบครวั
พัฒนาการในการดําเนินชีวิตตามสภาพแวดล้อม เช่น ควายไทย รถไถนา เกวียน รถอีแต๋น ในชุมชนของเรา
ปัจจัยสําคัญในการต้ังถ่ินฐานในชุมชน ความจําเป็นที่คนต้องทํางานอย่างสุจริต วัน เดือน ปี และการนับ
ช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจําวัน เหตุการณ์ในชีวิตประจําวัน ประวัติความเป็นมาของตนเองและ
ครอบครัว ความเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อม ส่ิงของเครื่องใช้ หรือการดําเนินชีวิตของตนเองกับสมัยก่อน
เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีตท่ีมีผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ความหมายและความสําคัญของสัญลักษณ์สําคัญ
ของชาติไทยและการปฏิบัติตน สถานท่ีสําคัญซ่ึงเป็นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน ส่ิงที่เป็นความภาคภูมิใจใน
ท้องถ่ิน ส่ิงต่าง ๆ รอบตัวท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างข้ึน เหตุการณ์ในชีวิตประจําวัน ประวัติ
ความเป็นมาของตนเองและครอบครัว ความสัมพันธ์ของตําแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ทิศหลักและ
ท่ีตั้งของส่ิงต่าง ๆ แผนผังง่าย ๆ ในการแสดงตําแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ในห้องเรียน การเปลี่ยนแปลงของสภาพ
อากาศในรอบวัน สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ การเปลี่ยน แปลง ของสภาพ
แวดล้อมท่ีอยู่รอบตัว การจัดท่ีบ้านและช้ันเรียน มีความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม ศาสนาและการแต่ง
กายของประเทศในกล่มุ สมาชิกอาเซยี น

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  92

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

โดยใช้ การสังเกต การบอก ระบุ แยกแยะ เปรียบเทียบ เรียงลําดับ การมีส่วนร่วม การตัดสินใจ
การอธิบาย การใหเ้ หตุผล ยกตัวอย่าง แสดงตน การปฏิบตั ติ น และการบาํ เพญ็ ประโยชน์

เพ่ือให้เกิดความเคารพ พระรัตนตรัย ช่ืนชมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และ เห็นคุณค่าการ มีสติท่ีเป็น
พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด
รักและภาคภูมิใจในท้องถ่นิ เคารพ ยอมรบั ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน

รหัสตวั ชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
รวมทงั หมด 23 ตวั ช้วี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  93

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑2๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 2 คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ชั่วโมง

ศึกษาเกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติหรือประวัติศาสดา
ที่ตนนับถือสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาภาพพระพุทธประวัติ นิทานสอนใจพื้นบ้าน/ท้องถ่ินตามท่ีกําหนด
การดําเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กําหนด ความหมาย
ความสําคัญ พระรัตนตรัย หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ี
กําหนด หน้าท่ีของเราในบ้าน ในโรงเรียน บุคคลสําคัญทางศาสนาในหมู่บ้าน คุณค่าตามศรัทธาในพระพุทธ
พระธรรม และพระสงฆ์คติธรรม สุภาษิตสอนใจ ตามหลักธรรมและคติธรรมที่ยึดถือในหมู่บ้านการฝึกสติ
เบื้องต้น การฝึกสมาธิเบ้ืองต้นบุคคลสําคัญทางพระพุทธศาสนาในหมู่บ้านหน้าที่ของเรา ในบ้าน ในโรงเรียน
ศาสดาของศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลามครอบครัวของฉนั พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาครอบครัวสงบสุข กฎกติกา ความ
รับผิดชอบการทําความดีที่มีสุขความดีต่อครอบครัวความดีต่อชุมชนหน้าที่ของเราในบ้าน ในโรงเรียนมารยาท
ในชีวิตประจําวัน ความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน ตามหลักศาสนา สติท่ีเป็นพ้ืนฐานของ
สมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนา ศาสดา และ
ความสําคัญของคัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่ืน ๆ การฝึกปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ ศาสนพิธี
พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนา ตามที่กําหนด ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติใน
ชีวิตประจําวันมารยาทไทย พฤติกรรมในการยอมรับความคิด ความเช่ือและการปฏิบัติของบุคคลอื่นท่ีแตกต่าง
กันโดยปราศจากอคติ การเคารพในสิทธิสว่ นบคุ คลความสมั พันธ์ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัวทธขิ องเรา
ใจเขา ใจเราความแตกต่างระหว่างบุคคลการผลิตและการใช้ผลผลิต การเลือกซ้ือสินค้าที่จําเป็น คุ้มค่า
ประหยัด ยุติธรรมอาชีพที่กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ ผู้มีบทบาท อํานาจในการตดั สนิ ใจในโรงเรยี น และชุมชน ทรัพยากร
ที่นํามาผลิตสินค้าและบริการท่ีใช้ในชีวิตประจําวันบันทึกรายรับ - รายจ่ายชีวิตประจําวันอย่างง่ายในการฝาก
เช่น การฝากพ่อ แม่ การฝากธนาคาร การออม เช่น การจ่ายอย่างประหยัดการซ้ือจ่ายแลกเปล่ียนสินค้าผู้ผลิต
และผู้บริโภคใกล้ตัวหลักฐานและการสืบค้น ชีวิตของเรา ครอบครัวหลักฐานและการสืบค้น ชีวิตของเรา
ครอบครัวการเทียบพุทธศักราชและคริสตศักราช พอสังเขปหลักฐานและการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตในหมู่บ้าน/
ชุมชน การแต่งกาย การติดต่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในหมู่บ้าน เช่น การแห่นางแมว
การสร้าง ศาลาหมู่บ้าน รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว การใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้ และการ
ออม การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดยวิธีต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซ้ือและผู้ขาย คําบอกเวลา
ท่ีแสดงเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในครอบครัวหรือในชีวิต ของตนเองโดยใช้
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง การเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตประจําวันของคนในชุมชน ของตนจากอดีตถึงปัจจุบัน
ผลกระทบของการเปล่ียนแปลง ที่มีต่อวิถีชีวิตของคน บุคคลที่ทําประโยชน์ต่อท้องถ่ินหรือประเทศชาติ
วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทยท่ีภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์
สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน ตําแหน่งอย่างง่าย และลักษณะทางกายภาพของสิ่งต่าง ๆ ท่ีปรากฏใน
ลูกโลก แผนท่ี แผนผัง และภาพถ่าย ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
ความสําคัญและคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วไม่หมดไปและ
ท่ีใช้แล้วหมดไป ความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับการดําเนินชีวิตของมนุษย์ การฟื้นฟูปรับปรุงสิ่งแวดล้อมใน

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑


Click to View FlipBook Version