The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthapat_aa, 2021-09-19 05:46:21

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา2562 ฉบับแก้ไข

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  194

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เติม

ง 22201 งานฝมี ือและแปรรูป (การทอเสือ่ 1) กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ฯ

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 รวม 40 ชัว่ โมง จํานวน ๑.๐ หน่วยกติ

สืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเก่ียวกับประวัติของการทอเส่ือ ความสําคัญของการทอเส่ือ
ลายเสอื่ และวัสดแุ ละอุปกรณ์

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานเป็นกลุ่ม ตามหลักการวิธีการขั้นตอน กระบวนการในการทํางาน
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาการอธิบาย การอภิปราย การสํารวจ การสืบค้นและการลงมือ
ปฏบิ ตั ิงานจริง

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพเห็นประโยชน์
และมีเจตคติท่ีดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพ มีคุณธรรมทํางานด้วย
ความรับผิดชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยัด และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อย่างคมุ้ คา่ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายประวตั ิการทอเส่ือในอดีตและปจั จบุ ันได้
2. บอกความหมาย ความสาํ คญั ของการทอเส่อื ด้านวัฒนธรรม และเศรษฐกจิ ได้
3. ตระหนกั ถึงความสําคญั ของการทอเส่ือได้
4. เปรียบเทยี บความแตกต่างของลายเส่อื แตล่ ะลายได้
5. เลือกใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ในการทอผ้าได้อย่างเหมาะสม
6. มคี วามรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละประสบการณท์ ่ดี ีในการทํางาน ปรบั ปรงุ และพัฒนางาน

รวมทัง้ หมด ๖ ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  195

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม

ง 22202 งานอาชพี (การทาํ น้าํ หมกั ชีวภาพ 1) กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ฯ

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 รวม 40 ช่ัวโมง จาํ นวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

ศึกษาความหมายสืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับ ความสําคัญของนํ้าหมักชีวภาพ
และความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั น้ําหมกั ชีวภาพ

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานกลุ่มตามหลักการวิธีการข้ันตอนกระบวนการทํางาน ใช้กระบวนการ
วเิ คราะห์ การแก้ปญั หา การอธิบาย การอภิปราย สาํ รวจ การสืบคน้ ขอ้ มูล การเปรยี บเทียบ

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพเห็นประโยชน์และมี
เจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพ มีคุณธรรม สามารถคิด
ออกแบบสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด
และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างคุ้มค่าตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู้
1. เขา้ ใจความหมายและความสาํ คญั ของนาํ้ หมักชีวภาพ
2. เขา้ ใจและสามารถจดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณส์ าํ หรบั การทาํ นํ้าหมักชีวภาพได้
3. มคี วามรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละประสบการณท์ ีด่ ใี นการทํางาน การจดบันทึก ปรบั ปรุงและพฒั นางาน

รวมทั้งหมด 3 ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  196

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม

ง 22203 งานฝมี อื และแปรรปู (การทอเส่อื 2) กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพฯ

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 รวม 40 ช่ัวโมง จํานวน ๑.๐ หน่วยกติ

สืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการทอเส่ือ และการทําโครงงานการทอ
เสอื่

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานเป็นกลุ่ม ตามหลักการวิธีการขั้นตอน กระบวนการในการทํางาน
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาการอธิบาย การอภิปราย การสํารวจ การสืบค้นและการลงมือ
ปฏิบัตงิ านจรงิ

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพเห็นประโยชน์
และมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพ มีคุณธรรมทํางานด้วย
ความรับผิดชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยัด และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อยา่ งคุ้มค่าตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู้
1. ปฏิบตั ิการทอเสอ่ื ไดถ้ ูกตอ้ งทุกขน้ั ตอน
2. เขยี นโครงงานการทอเสือ่ ได้
3. มีความรู้ ทกั ษะ เจตคตแิ ละประสบการณ์ทด่ี ใี นการทํางาน การจดบันทึก ปรบั ปรงุ และพฒั นางาน

รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  197

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม

ง 22204 งานอาชพี (การทาํ น้ําหมกั ชวี ภาพ 2) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพฯ

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 40 ช่ัวโมง จํานวน ๑.๐ หน่วยกติ

ศึกษาความหมายสืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเก่ียวกับ กรรมวิธีการทําน้ําหมักชีวภาพ
นาํ้ หมักชีวภาพสตู รต่าง ๆ ประโยชนข์ องนํา้ หมกั ชวี ภาพและวธิ กี ารนาํ ไปใช้ การวางแผนการจดั จาํ หนา่ ยผลผลิต

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานกลุ่มตามหลักการวิธีการข้ันตอนกระบวนการทํางาน ใช้กระบวนการ
วิเคราะห์ การแกป้ ัญหา การอธิบาย การอภปิ ราย สาํ รวจ การสบื คน้ ขอ้ มูล การเปรยี บเทียบ

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพเห็นประโยชน์ และมี
เจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพ มีคุณธรรม สามารถคิด
ออกแบบสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด
และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างคุ้มค่าตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจขั้นตอนและสามารถผสมส่วนของการทาํ นา้ํ หมักชวี ภาพได้
2. เข้าใจและสามารถปฏิบัตติ ามข้นั ตอนสตู รนา้ํ หมักชีวภาพตา่ ง ๆ ได้
3. เขา้ ใจหลกั วธิ ีการและสามารถนํานาํ้ หมักชวี ภาพไปใช้ประโยชน์ได้
4. สามารถบอกการวางแผนการจดั จาํ หน่ายผลผลติ ได้

รวมท้งั หมด 4 ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  198

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เตมิ

ง 23201 งานฝมี อื และแปรรูป กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพฯ

(การแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากเสอ่ื ทอ และผ้าทอ 1)

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 รวม 40 ชวั่ โมง จาํ นวน ๑.๐ หน่วยกติ

สบื คน้ ข้อมลู ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกบั หลกั การเบอ้ื งต้นของการแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากเส่ือ
กกและผ้าทอ และการเลอื กและการเตรยี มเคร่ืองมอื อปุ กรณใ์ นการแปรรูปผลิตภัณฑ์

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานเป็นกลุ่มตามหลักการวิธีการ ข้ันตอนกระบวนการในการทํางาน
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การอธิบาย การอภิปราย การสํารวจ การสืบค้นกระบวนการวิเคราะห์
การแก้ปัญหา การอธบิ าย การอภิปราย การสาํ รวจ การสืบคน้

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพ เห็นประโยชน์
และมีเจตคติท่ีดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพสุจริต มีคุณธรรมทํางาน
ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยัดและมีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งค้มุ คา่ และถกู วธิ ตี ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรู้

ผลการเรยี นรู้
1. สืบค้นข้อมูล ศึกษาและอธิบายความหมาย ความสําคัญของการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก

และผา้ ทอ หลักการ วธิ ีการ ขน้ั ตอน กระบวนการทาํ งาน การประเมนิ ปรับปรุงและพฒั นาการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์
2. เลอื กใช้ ซอ่ มแซม ดดั แปลง เก็บบํารงุ รกั ษาเคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ วัสดทุ ใี่ ชใ้ นการแปรรูปผลิตภณั ฑ์

รวมทัง้ หมด 2 ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  199

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เติม

ง 23202 งานอาชพี (ความร้พู ้ืนฐานทางไฟฟา้ 1) กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ฯ

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 40 ชัว่ โมง จาํ นวน ๑.๐ หน่วยกติ

สืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับ ประวัติและความเป็นมาของไฟฟ้า และทฤษฎี
อิเล็กตรอน

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานเป็นกลุ่มตามหลักการวิธีการข้ันตอน กระบวนการในการทํางาน
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การอธิบาย การอภิปราย การสํารวจ การสืบค้นกระบวนการวิเคราะห์
การแก้ปญั หา การอธิบาย การอภปิ ราย การสาํ รวจ การสืบค้น

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพ เห็นประโยชน์
และมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพสุจริต มีคุณธรรมทํางาน
ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดและมีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งคุม้ คา่ และถูกวิธีตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงรู้

ผลการเรยี นรู้
1. บอกประวัตินักวทิ ยาศาสตร์ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับไฟฟา้ ได้
2. บอกผลงานและส่ิงประดษิ ฐท์ ่นี ักวทิ ยาศาสตรค์ ิดค้นได้
3. อธบิ ายโครงสร้างภายในของอะตอมได้
4. บอกลกั ษณะและคุณสมบตั ิ ของ ประจไุ ฟฟ้า โปรตอน และนวิ ตรอนได้
5. บอกลักษณะและคุณสมบัติ ของอิเลก็ ตรอนได้

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  200

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ง 23203 งานฝมี อื และแปรรปู กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี ฯ

(การแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากเสอื่ ทอ และผ้าทอ 2)

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 รวม 40 ชัว่ โมง จํานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

สืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับ การแปรรูปผลิตภัณฑ์รูปแบบต่าง ๆ การจัด
จําหน่าย การจดั การอยา่ งมีคุณธรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเหน็ คณุ คา่ ในอาชพี

โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานเป็นกลุ่มตามหลักการวิธีการ ขั้นตอนกระบวนการในการทํางาน
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การอธิบาย การอภิปราย การสํารวจ การสืบค้นกระบวนการวิเคราะห์
การแก้ปัญหา การอธิบาย การอภิปราย การสาํ รวจ การสืบคน้

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพ เห็นประโยชน์
และมีเจตคติท่ีดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพสุจริต มีคุณธรรมทํางาน
ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดและมีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อมอยา่ งคุ้มค่าและถกู วธิ ตี ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งรู้

ผลการเรียนรู้
1. วางแผน เลือกและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์

ดว้ ยความซื่อสตั ย์สจุ ริต และรับผดิ ชอบ
2. ปฏิบัติงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด มีเจตคติและ

ประสบการณ์ที่ดีในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างคุ้มค่า
และถกู วิธตี ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3 มีความรู้ ทักษะ เจตคติและประสบการณ์ท่ีดีในการคํานวณค่าใช้จ่าย กําหนดราคาในการจัด
จาํ หนา่ ย การทาํ บัญชรี ายรับ-รายจา่ ย การจดบันทกึ ปรับปรงุ และพฒั นางาน
รวมทง้ั หมด 3 ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  201

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม

ง 23204 งานอาชีพ (ความรู้พื้นฐานทางไฟฟ้า 2) กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพฯ

ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 40 ช่วั โมง จาํ นวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

สืบคน้ ข้อมลู ศกึ ษา วเิ คราะห์และอภิปรายเกยี่ วกับ แหลง่ กําเนดิ ของไฟฟ้า ชนดิ และประเภทของไฟฟ้า
โดยใช้ทักษะกระบวนการทํางานเป็นกลุ่มตามหลักการวิธีการข้ันตอน กระบวนการในการทํางาน
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การอธิบาย การอภิปราย การสํารวจ การสืบค้นกระบวนการวิเคราะห์
การแกป้ ญั หา การอธิบาย การอภปิ ราย การสาํ รวจ การสืบค้น
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในงานอาชีพสุจริต สนใจและทํางานอย่างมีคุณภาพ เห็นประโยชน์
และมีเจตคติท่ีดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต รู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประกอบอาชีพสุจริต มีคุณธรรมทํางาน
ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดและมีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ มอย่างคมุ้ ค่าและถูกวิธตี ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรู้

ผลการเรยี นรู้
1. บอกวธิ กี ารกาํ เนิดแรงดนั ไฟฟ้าแบบต่าง ๆ ได้
2. บอกผลที่ได้รบั จากแหลง่ กําเนิดไฟฟา้ ได้
3. จําแนกชนิดของไฟฟา้ ได้
4. บอกลักษณะของไฟฟ้าสถิตได้
5. บอกลักษณะของไฟฟ้ากระแสได้
6. บอกคณุ สมบตั ิและประโยชน์ของไฟฟ้าแตล่ ะชนิดได้

รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  202

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ

รายวิชาพืน้ ฐาน จาํ นวน ๑6๐ ชว่ั โมง
จาํ นวน ๑6๐ ชั่วโมง
รายวิชาพน้ื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน ๑6๐ ชว่ั โมง
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จาํ นวน 120 ชั่วโมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ จํานวน 120 ช่วั โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จาํ นวน 120 ชั่วโมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ จาํ นวน 6๐ ชัว่ โมง
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ จํานวน 6๐ ชวั่ โมง
จํานวน 6๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 60 ชัว่ โมง
อ 2๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จาํ นวน 60 ช่ัวโมง
อ 21๑๐2 ภาษาองั กฤษ ๒ จํานวน 60 ชัว่ โมง
อ 22๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓
อ 22๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๔
อ 23๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕
อ 23๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๖

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สํานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  203

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
เวลา 16๐ ชว่ั โมง

ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษร อ่านออกเสียง สะกดคํา ปฏิบัติตามและใช้คําส่ังง่าย ๆ สามารถเลือก
ภาพ ตรงตามความหมายของคํา กลุ่มคําท่ีฟัง บอกความต้องการง่าย ๆ ของตนเอง พูดขอและให้ข้อมูลในการ
ส่ือสารระหว่างบุคคลเกี่ยวกับตนเองและเรือ่ งใกลต้ ัวในสถานการณ์ง่าย ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ ในห้องเรยี น พรอ้ มทงั้ ทาํ ท่า
ประกอบ อ่านออกเสียง และสะกดคําง่าย ๆ ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกช่ือ รวบรวมคําศัพท์ และ
ตอบคําถามเรื่องใกล้ตัว เทศกาลสําคัญของเจ้าของภาษา เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเข้าร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ที่เหมาะกับวัย ถูกต้องตามกาลเทศะ มีความรู้เกี่ยวกับ
คําศัพท์ การออกเสียง การเลือกภาพตรงตามความหมายของคําศัพท์ของประเทศกลุ่มอาเซียน บอกสีธงชาติ
ของประเทศในกลุ่มอาเซยี น ให้การยอมรับซงึ่ กันและกนั มคี วามสามัคคีในกล่มุ อาเซยี น

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสื่อความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการทาํ วาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏบิ ัติตามสถานการณ์ต่าง ๆ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ มทีเ่ หมาะสม ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น รกั ความเปน็ ไทย และมีจติ สาธารณะ

รหัสตัวชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวชวี้ ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  204

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

อ ๑2๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 2 คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ
เวลา 16๐ ชว่ั โมง

ระบุตัวอักษร เสียงตัวอักษรภาษาไทย อ่านออกเสียงประโยคง่าย ๆ และสะกดคําง่าย ๆ ถูกต้องตาม
หลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคําและกลุ่มคําที่ฟัง ฟังและปฏิบัติตาม คําส่ัง คําขอร้องง่าย ๆ
พูดและฟังประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่าย ๆ ท่ีมีภาพประกอบ เก่ียวกับข้อมูลของตนเอง เรื่องใกล้ตัว
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและบอกความต้องการของตนเอง พร้อมทั้งทําท่าประกอบ บอกชื่อ คําศัพท์
เกี่ยวกับเทศกาลสําคัญของเจ้าของภาษา และกล่มุ สาระการเรยี นรู้อนื่ เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษาที่เหมาะกับวัย ถูกต้องตามกาลเทศะ รู้ความหมายของคํา ประโยค วลีง่ายๆ เก่ียวกับตนเอง
ครอบครัว โรงเรียน สิ่งใกล้ตัว อาหารเคร่ืองด่ืม และการละเล่นของประเทศในกลุ่มอาเซียน แสดงท่าทาง
ประกอบการพดู แนะนาํ ตนเอง ใหก้ ารยอมรบั ซึง่ กนั และกนั มีความสามัคคี ในกลุ่มสมาชกิ อาเซียน

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสื่อความ กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการทาํ วาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏิบัตติ ามสถานการณ์ตา่ ง ๆ

เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มที่เหมาะสม ใฝ่ร้ใู ฝเ่ รยี น รกั ความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ

รหัสตัวชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑
รวมทง้ั หมด ๑๖ ตัวช้ีวดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  205

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

อ ๑3๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 3 คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา 16๐ ชั่วโมง

ปฏิบัติตามและใช้คําส่ัง คําขอร้อง อ่านออกเสียงคํา สะกดคํา กลุ่มคํา ประโยค บทพูดเข้าจังหวะ
บทสนทนา หรือนิทานง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คํา กลุ่มคํา
และประโยคง่าย ๆ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย จัดหมวดหมู่คําตามประเภทของบุคคล สัตว์
และสิ่งของ ตามท่ีฟังหรืออ่าน เลือก ระบุ ภาพ สัญลักษณ์และตอบคําถาม ตรงตามความหมายของกลุ่มคํา
และประโยค บอกชื่อและรวบรวมคําศัพท์เก่ียวกับเรื่องใกล้ตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน เทศกาล วันสําคัญ
งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา บอกความรู้สึก ความต้องการง่าย ๆ ของตนเองเกี่ยวกับสิ่ง
ต่าง ๆ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบท่ีฟัง ฟัง พูดโต้ตอบ คําส้ัน ๆ สถานการณ์ง่าย ๆ ท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียน
ในการส่ือสารระหว่างบุคคล ขอและให้ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเอง และเพื่อนพร้อมท้ังทําท่าประกอบ เข้าร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามมารยาทสังคมของเจ้าของภาษา ท่ีเหมาะกับวัย อ่านออกเสียงคําศัพท์
เกี่ยวกับสีของธงประจําชาติ กีฬา สัตว์ อาหารและเครื่องด่ืมของประเทศสมาชิกอาเซียน มีความสามัคคี ยอมรับ
ซึ่งกนั และกันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซยี น

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสื่อความ กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทาํ วาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏบิ ตั ิตามสถานการณ์ต่าง ๆ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม ใฝ่รูใ้ ฝเ่ รียน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ

รหสั ตัวช้วี ัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวมทัง้ หมด ๑๘ ตัวชวี้ ดั

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  206

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

อ ๑4๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 4 คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ
เวลา 12๐ ชว่ั โมง

ปฏิบัติตามคําส่ัง คําขอร้อง คําแนะนํา และคําขออนุญาตง่าย ๆ ที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงคํา
สะกดคํา อ่านกลุ่มคํา ประโยค ข้อความง่าย ๆ และบทพูดเข้าจังหวะ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน บอกความ
เหมือนและความแตกต่างของเสียง ตัวอักษร คํา กลุ่มคํา ประโยค และข้อความของภาษาต่างประเทศ
และภาษาไทย เทศกาลและงานฉลอง ตามวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับของไทย ฟัง พูด อ่าน เขียนโต้ตอบ
โดยใช้คําสั่ง คําขอร้อง กิจกรรมต่าง ๆ แสดงความต้องการ ความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเอง ขอความ
ช่วยเหลือ แสดงความสัมพันธ์ในสถานการณ์ง่าย ๆ เรื่องใกล้ตัว ในห้องเรียนและสถานศึกษาตามแบบทฟี่ ังหรือ
อ่าน ทําท่าประกอบอย่างสุภาพ ตอบคาํ ถามจากการฟังและอ่านประโยค บทสนทนา นทิ าน เทศกาล วนั สําคัญ
งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา ขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน และครอบครัว
เลือก ระบุ วาดภาพ สัญลักษณ์ เคร่ืองหมาย ตรงตามความหมายของ ประโยคและ ข้อความส้ัน ๆ
ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลคําศัพท์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
และนําเสนอด้วยการพูด/การเขียน เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย อ่านออกเสียง
คําศัพท์เก่ียวกับสีธงประจําชาติ ชื่อประเทศ กีฬา สัตว์ อาหารและเครื่องด่ืมในสมาชิกอาเซียน ยอมรับความ
คิดเหน็ ของผอู้ น่ื

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการส่ือความ กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการทาํ วาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏิบตั ติ ามสถานการณต์ ่าง ๆ

เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ และมีมารยาท
ทางสังคมตามวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

รหัสตัวชี้วัด
ต ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ต ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวมทง้ั หมด ๒๐ ตัวช้ีวดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  207

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

อ ๑5๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 5 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ
เวลา 12๐ ช่วั โมง

ปฏิบัติตามและใช้คําส่ัง คําขอร้อง คําขออนุญาต และคําแนะนําง่าย ๆ จากการฟังและอ่านออกเสียง
ประโยค ข้อความ บทกลอนส้ัน ๆ ตามหลักการอ่าน บอกความหมายเหมือนและความแตกต่างระหว่างการ
อ่านออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน การลําดับคํา ระบุและวาดภาพสัญลักษณ์
หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความสั้น ๆ เขียนแผนผัง แผนภูมิ แสดงข้อมูล
จากเร่ืองท่ีฟังหรืออ่าน บอกใจความสําคัญและตอบคําถามจากการฟัง และอ่านบทสนทนา นิทานสั้น ๆ
เรื่องสั้น ใช้ถ้อยคํา นํ้าเสียงกริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาท ค้นคว้า รวบรวมคําศัพท์ท่ีเก่ียวกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อ่ืน นําเสนอด้วยการพูด ใช้ภาษา ในการฟัง พูด อ่าน เขียน เรื่องราวเก่ียวกับสถานการณ์ต่าง ๆ
ท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน ในสถานศึกษา พูดและเขียนแสดงความต้องการ แสดงความรู้สึกพร้อมทั้งให้เหตุผลส้นั ๆ
ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว เร่ืองใกล้ตัว และตอบรับ ตอบปฏิเสธความช่วยเหลือ ใช้ภาษาอังกฤษเป็น
เครื่องมือสืบค้น และรวบรวมข้อมูล บอกความสําคัญ ความเหมือนและความแตกต่างของเทศกาล วันสําคัญ
งานฉลอง วัฒนธรรมประเพณี และชีวิตความเป็นอยู่ ระหว่างของเจ้าของภาษากับของไทย บอกใจความสาํ คญั
และตอบคําถามจากการฟัง และอ่านบทสนทนาและนิทานหรือเร่ืองสั้นง่าย ๆ เกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซยี น
ยอมรับความคดิ เห็นของผอู้ ่ืน

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสื่อความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการทําวาน กระบวนการออกแบบการฝึกปฏบิ ตั ติ ามสถานการณ์ต่าง ๆ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และมีเจตคติท่ีดีต่อ
การเรยี นวิชาภาษาองั กฤษ

รหัสตัวชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวมทัง้ หมด ๒๐ ตัวชีว้ ดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  208

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

อ ๑6๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 6 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ
เวลา 12๐ ชัว่ โมง

ปฏิบัติตามและพูด เขียนโต้ตอบ คําสั่ง คําขอร้อง คําขออนุญาต และคําแนะนําง่าย ๆ จากการฟัง
และอ่าน อ่านออกเสียง ประโยค ข้อความ นิทาน และบทกลกลอนสั้น ๆ ตามหลักการอ่าน เปรียบเทียบความ
เหมือนและความแตกต่างระหว่างการอ่านออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
การลําดับคํา ระบุและวาดภาพสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความส้ัน ๆ
เขียนแผนผัง แผนภูมิ แสดงข้อมูล จากเรื่องท่ีฟังหรืออ่าน บอกใจความสําคัญและตอบคําถามจากการฟัง
และอ่านบทสนทนา นิทานสั้น ๆ เร่ืองสั้น ใช้ถ้อยคํา น้ําเสียงกริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาท ค้นคว้า
รวบรวมคําศัพท์ท่ีเก่ียวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น นําเสนอด้วยการพูด ใช้ภาษา ในการฟัง พูด อ่าน เขียน
เร่ืองราวเกี่ยวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในห้องเรียน ในสถานศึกษา พูดและเขียนแสดงความต้องการ
แสดงความรู้สึกพร้อมทั้งให้เหตุผลสั้น ๆ ขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับครอบครัว เรื่องใกล้ตัว และ ตอบรับ
ตอบปฏิเสธความช่วยเหลือ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือสืบค้น และรวบรวมข้อมูล บอกความสําคัญ
ความเหมือนและความแตกต่างของเทศกาล วันสําคัญ งานฉลอง วัฒนธรรมประเพณี และชีวิตความเป็นอยู่
ระหว่างของเจ้าของภาษากับของไทย ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับแหล่งท่องเท่ียว สถานที่สําคัญของประเทศสมาชิก
อาเซียน จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และนําเสนอด้วยการพูดหรือการเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศสมาชิก
อาเซยี น ยอมรับความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสื่อความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการทําวาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏิบัติตามสถานการณต์ ่าง ๆ

เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และมีเจตคติที่ดีต่อ
การเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ

รหัสตวั ชวี้ ัด
ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ต ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๒ ป.๖/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตวั ชวี้ ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  209

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

อ 2๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม 60 ช่วั โมง จาํ นวน ๑.5 หนว่ ยกติ

ปฏิบัติตามคําสั่งคําขอร้องคําแนะนําและคําช้ีแจงต่าง ๆ อ่านออกเสียงข้อความได้ถูกต้องตามหลักการ
อ่านอ่านนิทานและร้อยกรองสั้นๆเลือกระบุประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงจับใจความ
สําคัญจากเรื่องท่ีฟังและอ่านสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเองกิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดและ
เขียนแสดงความต้องการขอความช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธกิจกรรมต่าง ๆ ใกล้ตัวสรุปวิเคราะห์เรือ่ งท่ีอยู่ใน
ความสนใจของสังคมใช้ภาษาน้ําเสียงและกริยาท่าทางตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเก่ียวกับเทศกาลวันสําคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของ
เจ้าของภาษาบอกความเหมือนและความแตกต่างเรื่องการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมาย
วรรคตอนการลําดับคําตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยและเปรียบเทียบเทศกาลวันสาํ คัญ
และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้และนําเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง
สถานการณจ์ าํ ลองทเ่ี กดิ ข้นึ ในหอ้ งเรียนและสถานศึกษา

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการส่ือความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการทาํ วาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏบิ ัติตามสถานการณต์ ่าง ๆ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม

รหัสตวั ชีว้ ดั
อ ๑.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔
อ ๑.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ ,ม.๑/๕
อ ๑.๓ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒
อ ๓.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๒ ม.๑/๑
รวมท้งั หมด ๒๐ ตัวชีว้ ัด

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  210

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

อ 2๑๑๐2 ภาษาองั กฤษ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 60 ชัว่ โมง จํานวน ๑.5 หนว่ ยกติ

ปฏิบัติตามคําสั่งคําขอร้องคําแนะนําและคําชี้แจงต่าง ๆ อ่านออกเสียงข้อความได้ถูกต้องตามหลักการ
อ่านอ่านนิทานและร้อยกรองส้ันๆเลือกระบุประโยคและข้อความสัมพันธ์กับส่ือท่ีไม่ใช่ความเรียงจับใจความ
สําคัญจากเร่ืองที่ฟังและอ่านสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดและ
เขียนแสดงความต้องการขอความช่วยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธกิจกรรมต่าง ๆ ใกล้ตัวสรุปวิเคราะห์เรือ่ งทอ่ี ยู่ใน
ความสนใจของสังคมใช้ภาษานํ้าเสียงและกริยาท่าทางตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเก่ียวกับเทศกาลวันสําคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของ
เจ้าของภาษาบอกความเหมือนและความแตกต่างเร่ืองการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เคร่ืองหมาย
วรรคตอนการลําดับคําตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยและเปรยี บเทียบเทศกาลวนั สําคัญ
และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และนําเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์จริง
สถานการณจ์ ําลองทเี่ กิดขึ้นในห้องเรยี นและสถานศึกษา

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการส่ือสารการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝึกปฏิบัติตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ

เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

รหสั ตวั ชว้ี ัด
อ ๑.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔
อ ๑.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ ,ม.๑/๕
อ ๑.๓ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒
อ ๓.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๒ ม.๑/๑
รวมทงั้ หมด ๒๐ ตวั ชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  211

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

อ 22๑๐1 ภาษาอังกฤษ 3 กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม 60 ชว่ั โมง จํานวน ๑.5 หนว่ ยกติ

ปฏิบัติตามคําขอร้องคําแนะนําคําชี้แจงและคําอธิบายง่าย ๆ อ่านออกเสียงข้อความข่าวประกาศ
และบทร้อยกรองสั้น ๆ และถูกต้องตามหลักการอ่านระบุเขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับเรื่องที่ไม่ใช่
ความเรียงจับใจความสําคัญและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านสนทนาและแลกเปล่ียนข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเองกิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอและให้ความช่วยเหลือ
ตอบรับและปฏิเสธกิจกรรมต่าง ๆ และประสบการณ์ข่าวเหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสังคมใช้ภาษา
น้ําเสียงและกริยาท่าทางตามมารยาทของสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทาง
ภาษาและวัฒนธรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสําคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของเจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอก
ความหมายและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างเรื่องของการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ ตาม
โครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้และนําเสนอด้วยการเขียนใช้ภาษาสื่อสารเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในสถานการณ์
จริงสถานการณจ์ าํ ลองท่ีเกิดข้นึ ในหอ้ งเรยี นสถานศึกษาและชุมชน

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการส่ือสารและการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝึกปฏิบัติตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม

รหสั ตัวชว้ี ัด
อ ๑.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔
อ ๑.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ,ม.๒/๕
อ ๑.๓ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
อ ๓.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
รวมท้งั หมด ๒๑ ตัวชีว้ ัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  212

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

อ 22๑๐2 ภาษาองั กฤษ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 60 ช่วั โมง จาํ นวน ๑.5 หนว่ ยกติ

ปฏิบัติตามคําขอร้องคําแนะนําคําชี้แจงและคําอธิบายง่าย ๆ อ่านออกเสียงข้อความข่าวประกาศและ
บทร้อยกรองสน้ั ๆ และถูกต้องตามหลกั การอ่าน ระบเุ ขียนประโยคและขอ้ ความใหส้ มั พนั ธ์กบั เรือ่ งที่ไมใ่ ชค่ วาม
เรียงจับใจความสําคัญและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่านสนทนาและแลกเปลี่ยนข้อมูลเก่ียวกับตนเอง
กิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอและให้ความช่วยเหลือตอบ
รบั และปฏิเสธกจิ กรรมตา่ ง ๆ และประสบการณ์ขา่ วเหตุการณ์ทอ่ี ยูใ่ นความสนใจของสังคมใชภ้ าษาน้ําเสียงและ
กริยาท่าทางตามมารยาทของสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษาและ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสําคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของเจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอกความหมาย
และอธิบายความเหมือนและความแตกต่างเร่ืองของการออกเสียง ประโยคชนิดต่าง ๆ ตามโครงสร้างประโยค
ของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูล ข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก
แหล่งเรียนรู้และนําเสนอด้วยการเขียนใช้ภาษาส่ือสารเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในสถานการณ์จริง
สถานการณ์จาํ ลองท่เี กดิ ข้นึ ในห้องเรียนสถานศกึ ษาและชุมชน

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการสื่อสารและการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝึกปฏิบัติตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม

รหัสตัวชีว้ ัด
อ ๑.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔
อ ๑.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ,ม.๒/๕
อ ๑.๓ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
อ ๓.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
รวมทัง้ หมด ๒๑ ตวั ชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  213

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

อ 23๑๐1 ภาษาองั กฤษ 5 กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 60 ชั่วโมง จํานวน ๑.5 หน่วยกติ

ปฏิบัติตามคําขอร้องคําแนะนาํ คําช้ีแจงและคําอธิบายง่ายๆอ่านออกเสียงข้อความขา่ วประกาศโฆษณา
และบทร้อยกรองส้ันๆถูกต้องตามหลักการอ่านระบุเขียนประโยคขอ้ ความให้สัมพันธ์กับสอ่ื ที่ไม่ใช่ความเรยี งจบั
ใจความสําคัญรายละเอียดสนับสนุนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องที่ฟังและอ่านสนทนาส่ือสารแลกเปลี่ยน
ข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอให้ความ
ช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธการขอและให้ข้อมูลเปรียบเทียบสรุปวิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวท่ีอยู่ในความสนใจ
ของสังคมใช้ภาษาน้ําเสียงท่าทางกริยามารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าร่วมหรือจัด
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสําคัญชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมประเพณีของ
เจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอกความเหมือนและความแตกต่างเรื่องการออกเสยี งประโยคชนิดต่าง ๆ การลําดบั
คําตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทย ค้นคว้า รวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และนําเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาส่ือสา เผยแพร่และ
ประชาสมั พนั ธใ์ นสถานการณ์จรงิ สถานการณ์จาํ ลองทเี่ กิดขึ้นในห้องเรยี นสถานศึกษาและชมุ ชน

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการสือ่ สารและการสบื เสาะหาความรกู้ ารสืบค้นข้อมูลการฝกึ ปฏิบัติ ตาม
สถานการณ์ตา่ ง ๆ

เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
การศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม

รหัสตวั ชี้วดั
อ ๑.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔
อ ๑.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕
อ ๑.๓ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓
อ ๒.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๑ ,ม.๓/๓
อ ๒.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
อ ๓.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
รวมทัง้ หมด ๒๑ ตัวชว้ี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  214

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

อ 23๑๐2 ภาษาองั กฤษ 6 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 60 ชวั่ โมง จาํ นวน ๑.5 หนว่ ยกติ

ปฏิบัติตามคําขอร้องคําแนะนาํ คําชี้แจงและคาํ อธิบายง่ายๆอ่านออกเสยี งข้อความขา่ วประกาศโฆษณา
และบทร้อยกรองส้ันๆถูกต้องตามหลักการอ่านระบุเขยี นประโยคขอ้ ความให้สัมพันธ์กับสื่อท่ีไม่ใช่ความเรยี งจบั
ใจความสําคัญรายละเอียดสนับสนุนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและอ่านสนทนาสื่อสารแลกเปล่ียน
ข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอให้ความ
ช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธการขอและให้ข้อมูลเปรียบเทียบสรุปวิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวท่ีอยู่ในความสนใจ
ของสังคมใช้ภาษานํ้าเสียงท่าทางกริยามารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าร่วมหรือจัด
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเก่ียวกับเทศกาลวันสําคัญชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมประเพณีของ
เจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอกความเหมือนและความแตกต่างเร่ืองการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การลําดบั
คําตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้และนําเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาสื่อสารเผยแพร่และ
ประชาสมั พนั ธ์ในสถานการณ์จรงิ สถานการณ์จาํ ลองท่เี กดิ ขนึ้ ในหอ้ งเรียนสถานศกึ ษาและชมุ ชน

โดยใช้กระบวนการทางภาษาการส่ือสารและการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝึกปฏิบัติตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ

เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนําเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านําความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่เี หมาะสม

รหสั ตวั ชวี้ ดั
อ ๑.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔
อ ๑.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕
อ ๑.๓ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓
อ ๒.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๑ ,ม.๓/๓
อ ๒.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
อ ๓.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
รวมทัง้ หมด ๒๑ ตัวช้วี ัด

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  215

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รายวชิ าเพ่มิ เตมิ

รายวิชาเพม่ิ เตมิ ระดบั ประถมศึกษา จํานวน 40 ชว่ั โมง
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร 1 จาํ นวน 40 ชั่วโมง
อ ๑2๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร 2 จาํ นวน 40 ช่วั โมง
อ ๑3๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร 3

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  216

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เติม

อ11201 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลา 40 ช่วั โมง

อ่านและเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ เข้าใจและใช้ประโยคคําสั่งที่ใช้ในหอ้ งเรียน การอ่านออกเสียงคํา
กลุ่มคํา ประโยค ข้อความบทอ่าน บทสนทนา การพูดให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง และเรื่องใกล้ตัว การขอบคุณ
ขอโทษ และการใช้ภาษาท่าทาง การใช้ภาษาในการฟงั พดู ในสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในห้องเรยี น

โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้เพอื่ การสื่อสาร ฝกึ การใช้ภาษา
เพื่อให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ และนาํ ไปใช้ในชวี ิตประจําวันได้อย่างเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. อา่ นและเขียนตัวอกั ษรภาษาองั กฤษออกเสียงคําศพั ท์ได้ถกู ตอ้ ง
๒. ใชค้ าํ ทกั ทาย ขอบคุณ ขอโทษ รวมถงึ คาํ ส่งั งา่ ยๆเป็นภาษาอังกฤษไดถ้ กู ตอ้ ง
๓. ใช้ภาษาอังกฤษส่อื สารและใหข้ ้อมูลเก่ียวกบั เร่ืองใกลต้ วั ได้อย่างเหมาะสม
๔. ใชภ้ าษาสอ่ื สารได้ตามวัยอย่างม่นั ใจ และกล้าแสดงออก
๕. ใชภ้ าษาได้ตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

รวมท้งั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  217

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เติม

อ12201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 เวลา 40 ชว่ั โมง

เข้าใจและใช้ประโยคคําสั่งง่ายๆในห้องเรียน คําขอร้องอ่านและเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ คําศัพท์
สั้นๆง่ายๆ เข้าใจความหมายคํา กลุ่มคํา และประโยคสั้นๆทีม่ คี วามหมายสัมพันธ์กบั สิ่งต่าง ๆ ใกล้ตัว เข้าใจบท
อ่าน บทสนทนาง่ายๆ และนิทานที่มีภาพประกอบ ให้ข้อมูลและความต้องการเกี่ยวกับตนเองสั้น ๆ เซ่น การ
พูดแนะนําตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ เรียนรู้คําศัพท์เก่ียวกับเทศกาล ขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาล งาน
ฉลอง

โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้เพือ่ การส่อื สาร ฝึกการใช้ภาษา
เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
และนําไปใช้ในชีวติ ประจําวนั ได้อยา่ งเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. อ่านและเขียนตวั อักษรภาษาอังกฤษ และคําศพั ทง์ ่าย ๆ ได้ถกู ตอ้ ง
๒. ใช้ภาษาองั กฤษในการแนะนําตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ ขอและใหข้ ้อมลู เก่ยี วกับตนเอง
และเร่อื งใกล้ตัวได้อย่างเหมาะสม
๓. บอกความหมายของคํา กลมุ่ คาํ และประโยคสนั้ ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง
๔. ตอบคาํ ถามจากการฟงั หรอื อา่ นเรอื่ งง่าย ๆ หรือนิทานท่ีมีภาพประกอบได้ถูกต้อง
๕. ใชภ้ าษาองั กฤษไดต้ ามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  218

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คําอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เติม

อ13201 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 3 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 40 ช่วั โมง

อ่านออกเสียงคําและประโยคง่ายๆ ที่เกี่ยวกับเร่ืองใกล้ตัวบอกความหมายของคํา ตอบคําถามจากการ
ฟังหรืออ่านได้ สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างบุคคลได้เหมาะสมตามวัยใช้ภาษาในการพูด
และทําท่าประกอบตามมารยาทสังคม วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ใช้บทสนทนาการทักทายได้ถูกต้องตาม
เวลาและถูกกาลเทศะ แนะนําตนเองได้ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง บอกลักษณะของบุคคลรอบตัว พูดประโยค
บอกความชอบ ไม่ชอบ บอกความต้องการของตนเองเก่ียวกับเร่ืองกีฬา งานอดิเรก บอกสถานที่ต่าง ๆ รอบตัว
และตําแหนง่ ของสถานทีต่ ่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือการส่ือสาร ฝกึ การใชภ้ าษา
เพื่อให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษและนําไปใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้อย่างเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. อา่ นออกเสียงคําและประโยคง่าย ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั เรอ่ื งใกลต้ วั
๒. บอกความหมายของคาํ และตอบคําถามจากการฟงั หรอื อ่านได้
๓. ใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสาร สนทนา ทกั ทาย และแนะนาํ ตนเอง และใช้ภาษาท่าทาง
ประกอบการพูดไดเ้ หมาะสม
๔. ใหข้ ้อมูลเก่ยี วกับตนเอง และอธบิ ายเกีย่ วกบั ส่ิงต่าง ๆ ใกลต้ ัว โดยใชภ้ าษาองั กฤษอยา่ งง่ายได้
๕. ใชภ้ าษาองั กฤษไดต้ ามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา

รวมทัง้ หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  219

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส่วนที่ 4
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

ความหมายและความสําคัญของกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมสําคัญท่ีหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กําหนดให้จัดทําข้ึน
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคน ทุกระดับชั้น พัฒนาความสามารถของตนเองตามความถนัด ความสนใจ ให้เต็ม
ศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
สร้างเยาวชนของชาติให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึกของการทํา
ประโยชน์เพื่อสังคมและสามารถบรหิ ารการจัดการตนเอง

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตาม
ศักยภาพ เพ่ิมเติมจากกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่ม การเข้าร่วม และปฏิบัติกิจกรรม
ทเ่ี หมาะสมร่วมกบั ผู้อน่ื อย่างมีความสุขกับกิจกรรมทเ่ี ลือกด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจอยา่ งแท้จริงจะ
เสริมสร้างและพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ให้ครบทุกด้านสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ปลูกฝังและ
สรา้ งจติ สํานกึ ของการทาํ ประโยชน์เพ่อื สังคม

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ไดจ้ ัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โดยแบง่ ออกเป็น ๓ ลักษณะ คือ
๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม
สามารถคิด ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กําหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้าน การเรียน อาชีพ สามารถปรับตนได้
อยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ยี ังช่วยใหค้ รูรจู้ ักและเข้าใจผเู้ รียน ทัง้ ยังเปน็ กิจกรรมที่ช่วยเหลือและใหค้ ําปรึกษาแก่
ผู้ปกครองในการมสี ว่ นร่วมพฒั นาผเู้ รียน
นักเรยี นทุกคนตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว 40 ช่ัวโมง ตอ่ ปกี ารศึกษา
แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว
๑. สาํ รวจสภาพปัญหา ความตอ้ งการ ความสนใจและธรรมชาติของผู้เรยี น
๒. ศกึ ษาวิสัยทัศนข์ องสถานศกึ ษาและวิเคราะหข์ ้อมลู ของผ้เู รยี นท่ไี ดจ้ าการสํารวจ
๓. กําหนดสัดสว่ นสาระของกิจกรรมแต่ละดา้ น
๔. กําหนดแผนปฏิบัติกจิ กรรมแนะแนว
๕. การจดั ทาํ รายละเอยี ดของแตล่ ะกจิ กรรม
๖. ปฏิบตั ิตามแผนวดั และประเมินผลและสรุปรายงาน
๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นํา ผู้ตามที่ดี ความ
รับผดิ ชอบ การทํางานร่วมกัน การรู้จกั แก้ปญั หา การตัดสนิ ใจทเี่ หมาะสม ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปัน
เอื้ออาทร สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติ
ด้วยตนเอง ในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการ
ทํางาน เน้นการทํางานร่วมกัน เป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบท
ของสถานศกึ ษาและท้องถนิ่ กิจกรรมนกั เรยี นประกอบด้วย

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  220

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี นักเรียนทุกคน ต้องเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
40 ชวั่ โมง ตอ่ ปกี ารศกึ ษา

แนวการจัดกจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี
การจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสือ ซ่ึงมีองค์ประกอบ
๗ ประการ คือ
๑. คําปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ท่ีลูกเสือทุกคนให้คํามั่นสัญญา ว่าจะปฏิบัติตามกฎของ
ลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้ลูกเสือเป็นหลักในการปฏิบัติ ไม่ได้ห้ามทําหรือ บังคับให้ทํา แต่ถ้าทํา ก็จะทําให้
เกิดผลดีแก่ตวั เอง เปน็ คนดี ไดร้ ับการยกยอ่ ง วา่ เปน็ ผ้มู เี กยี รติ เชอื่ ถือได้
๒. เรียนรู้จากการกระทํา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ความสําเร็จหรือไม่สําเร็จของผลงาอยู่ท่ีการ
กระทําของตนเอง ทําให้มีความรู้ท่ีชัดเจน และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ และท้าทาย
ความสามารถของตนเอง
๓. ระบบหมู่ เปน็ รากฐานอันแทจ้ รงิ ของการลูกเสือ เป็นพน้ื ฐานในการอยรู่ ่วมกันการยอมรบั ซึง่ กันและ
กนั การแบ่งหน้าท่คี วามรับผิดชอบ การช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ซึง่ เป็นการเรยี นรูก้ ารใชป้ ระชาธิปไตยเบอ้ื งต้น
๔. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ฝึกให้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยวในการเป็นสมาชิกลูกเสอื เนตรนารี ด้วย
การใช้สัญลักษณร์ ่วมกัน ได้แก่ เครื่องแบบ เคร่ืองหมาย การทําความเคารพ รหัส คําปฏิญาณ คติพจน์ คําขวัญ
ธง เป็นต้น วิธีการน้ีจะช่วยให้ผู้เรียนตระหนักและภาคภูมิใจ ในการเป็นสมาชิกขององค์การค้าลูกเสือโลก ซ่ึงมี
สมาชกิ อยู่ท่วั โลกและเป็นองคก์ รที่มจี าํ นวนสมาชิกมากท่สี ดุ ในโลก
๕. การศึกษาธรรมชาติ คือสิ่งสําคัญอันดับหน่ึงในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตามชนบท ป่า
เขา ป่าละเมาะและพุ่มไม้ เป็นที่ปรารถนาอย่างย่ิงในการทํากิจกรรมกบั ธรรมชาติ การปีนเขา ต้ังค่ายพักแรมใน
สุดสัปดาห์ หรือตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เป็นที่เสน่หาแก่เด็กทุกคน ถ้าขาดสิ่งนี้แล้วก็
ไม่เรยี กวา่ ใชช้ วี ิตแบบลูกเสือ
๖. ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจัดให้เด็กทําต้องให้มีความก้าวหน้าและ
ดึงดูด สร้างให้เกิดความกระตือรือร้น อยากท่ีจะทํา และวัตถุประสงค์ในการจัดแต่ละอย่างให้สัมพันธ์กับความ
หลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเล่นที่สนุกสนาน การแข่งขันก็เป็นสง่ิ ดงึ ดดู ใจและเป็นการจูงใจที่ดี
๗. การสนับสนุนผ้ใู หญ่ ผู้ใหญเ่ ป็นผู้ทชี่ ้แี นะหนทางทีถ่ ูกต้องให้แก่เด็กเพ่ือให้เขาเกดิ ความม่ันใจ ในการ
ที่จะตัดสินใจกระทําสิ่งใดลงไป ท้ังคู่มีความต้องการซ่ึงกันและกัน เด็กก็ต้องการให้ผู้ใหญ่ช่วยช้ีนํา ผู้ใหญ่เองก็
ตอ้ งการนาํ พาให้ไปสู่หนทางทดี่ ี ใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาอย่างถกู ต้องและดที ส่ี ุด จึงเป็นการรว่ มมอื กนั ทั้งสองฝา่ ย
๒.๒ กจิ กรรมชมุ นุม/ชมรม นกั เรียนทุกคน ตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมชุมนมุ 40 ชว่ั โมง ต่อปกี ารศกึ ษา
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
การจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรมของสถานศึกษา สามารถปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม กับบริบทและ
สภาพของสถานศกึ ษา
๑. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทํากิจกรรมหลากหลายรูปแบบท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนและ
ระยะเวลาการจัดกิจกรรม
๒. สํารวจความสนใจของผเู้ รยี นในการเลอื กชมุ นุม
๓. ถอดประสบการณ์แลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละเผยแพร่กิจกรรม
๔. ครทู ่ีปรึกษาประเมนิ กจิ กรรมตามกลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  221

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

3. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสํารวจ วิเคราะห์
ปัญหา ร่วมกันออกแบบกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน การจัดกิจกรรม ปฏิบัติ
กิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม รว่ มรายงานผลพร้อมท้ังประชาสมั พนั ธ์และเผยแพร่
การจัดกจิ กรรม

นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ นักเรยี นระดับประถมศกึ ษาต้อง
เขา้ ร่วมกจิ กรรม จาํ นวน ๑๐ ชวั่ โมงตอ่ ปกี ารศกึ ษา

แนวการจัดกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
๑. จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรอื่น เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานหรือ
องค์กรอื่น ๆ ที่จัดกิจกรรมในลักษณะเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ โดยผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วม
กจิ กรรม ได้ ดังนี้
๑.๑ รว่ มกับหนว่ ยงานอ่นื ทเ่ี ข้ามาจดั กจิ กรรมในโรงเรยี น
๑.๒ ร่วมกับหนว่ ยงานอนื่ ที่เข้ามาจัดกจิ กรรมนอกโรงเรียน

แนวทางการประเมลิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา พุทธศักราช 2553
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นการประเมินกิจกรรมหรือผลงาน/
ช้ินงาน/คุณลักษณะของผู้เรียนเป็นระยะอย่างต่อเน่ือง มุ่งเน้นให้ผู้เรียนค้นหาศักยภาพของตน สะท้อนแนวคิด
จากการปฏิบัติกิจกรรม การทํางานกลุ่ม และการมีจิตสาธารณะ โดยให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง มีส่วนร่วมในการ
ประเมิน

การประเมินผูเ้ รยี นรายกจิ กรรม

การประเมินผ้เู รียนรายกิจกรรม
ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินท่ีอยู่ในระดับ “ผ่าน”
คอื มีเวลาเรยี นไม่ตํา่ กว่าร้อยละ ๘๐ และมผี ลงาน/ช้นิ งาน/คุณลกั ษณะตามท่ีกําหนด
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนรายปี
ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ ผ่าน” ในกิจกรรมสําคัญทั้ง ๓ กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรยี นและกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นเพอื่ จบระดับการศกึ ษา
ผเู้ รียนมีผลการประเมินระดบั “ ผา่ น” ทกุ ชั้นปใี นระดบั การศึกษานัน้
โดยมีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  222

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  223

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กิจกรรมแนะแนว

หลักการ
เป็นกิจกรรมที่จัดให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ ธรรมชาติของผู้เรียน และ

วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ตอบสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ให้ครอบคลมุ ท้งั ดา้ นการศึกษา การงาน และอาชีพ ชวี ิตและสงั คม เน้นผเู้ รียนเป็นสําคญั ผู้เรยี นมีอิสระ
ในการคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง เรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการปฏิบัติจนกระท่ังเกิดทักษะชีวิต หรือการเรียนรู้
ตลอดจนครทู ุกคนมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม โดยมคี รแู นะแนวเปน็ พ่ีเลี้ยงและประสานงาน

วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ รจู้ กั เขา้ ใจ และเห็นคุณค่าในตนเองและผอู้ น่ื
๒. เพ่ือให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ สามารถวางแผนการเรียน อาชีพ รวมทง้ั การดําเนนิ ชีวิตและสงั คม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี

ความสขุ

ขอบขา่ ย
การจดั กจิ กรรมแนะแนวมีองค์ประกอบ ๓ ดา้ น ดังน้ี
๑. ด้านการศึกษา ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนอย่างเต็มตามศักยภาพ รู้จักแสวงหา

และใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มี
วิธกี ารเรยี นรู้ และสามารถวางแผนการเรยี นหรอื การศึกษาตอ่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

๒. ด้านการงานและอาชีพ ให้ผู้เรียนได้รู้จักตนเองในทุกด้าน รู้และเข้าใจโลกของงานอาชีพอย่าง
หลากหลาย มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพ่ือประกอบอาชีพตามที่
ตนเองมีความถนดั และสนใจ

๓. ด้านชีวิตและสังคม ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน รักษ์
สิ่งแวดล้อม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีเจตคติท่ีดีต่อการมีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะและสามารถปรับตัวให้
ดํารงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข

แนวการจัดกิจกรรม
๑. จัดกจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หา ความต้องการและธรรมชาติของผ้เู รยี น
๒. จัดกิจกรรมเพื่อผู้เรียนทุกคนในสถานศึกษา ให้ครอบคลุมเน้ือหาสาระด้านการพัฒนาตนเอง

การศึกษา และอาชพี
๓. ประสานความร่วมมือให้ผู้เกี่ยวข้องกับผู้เรียนทุกฝ่าย นับตั้งแต่ผู้บริหาร ครูทุกคน ผู้ปกครอง

ชุมชน ร่วมมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มในการดําเนินการ ใหค้ วามร่วมมือและสนับสนุนใหก้ ารจัดกจิ กรรมดําเนินไป
ด้วยความสะดวกอย่างมี ประสิทธิภาพ

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา

สํานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  224

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔. จดั กจิ กรรมช่ัวโมงแนะแนว ๑ ชั่วโมง : ๑ สปั ดาห์ ระดับประถมศกึ ษาเปน็ รายปกี ารศึกษา ระดบั
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ เป็นภาคเรยี นที่ ๑ และ ๒

๕. จดั กิจกรรมด้านการศกึ ษา มรี ูปแบบการจัดกจิ กรรม ๒ ลกั ษณะ คอื
๑. การจัดกิจกรรมแนะแนวในช้ันเรยี น
- กจิ กรรมคาบแนะแนวทกุ ระดบั ช้นั
- กจิ กรรมโฮมรูม
๒. การจดั กจิ กรรมแนะแนวนอกชั้นเรียน เชน่
- กจิ กรรมกล่มุ ทางจิตวิทยาและการแนะแนว
- การทัศนศึกษาแหลง่ วทิ ยาการและสถานประกอบการ
- การเชญิ ผ้ปู กครอง ผู้ทรงคุณวุฒิ ศษิ ย์เก่าเป็นวิทยากรใหค้ วามรู้
- การจดั นิทรรศการ
- การจดั ป้ายนเิ ทศ
- การปฐมนเิ ทศ
- การปจั ฉิมนเิ ทศ
- กจิ กรรมวันประสานสัมพันธ์
- กิจกรรมเพ่อื นช่วยเพ่อื น
- กจิ กรรมพช่ี ่วยน้อง

๖. จดั กจิ กรรมดา้ นการงานและอาชพี มแี นวการจดั กจิ กรรมดังนี้
๖.๑ รู้ข้อมูลตนเองเพื่อการวางแผนงานอาชีพ เช่น ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ

จุดเด่น จุดดอ้ ยของตนเอง
๖.๒ รู้และเข้าใจในธรรมชาติและคุณลักษณะของอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต เห็น

คณุ ค่าของการทาํ งาน
๖.๓ มคี วามเขา้ ใจเก่ียวกบั แนวทางการศกึ ษาเพื่อเข้าสู่งานอาชพี
๖.๔ มีเป้าหมายชีวิต รู้จักวางแผนชีวิตการเรียน การงาน ที่เหมาะสมกับความถนัด ความ

สนใจและสภาพการเปลย่ี นแปลงทางสังคมและเทคโนโลยี
๖.๕ มีคณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานที่จาํ เปน็ ในการเตรยี มตัวส่โู ลกของงานอาชีพ

7. จัดกิจกรรมด้านชวี ิตและสังคม มีแนวการจัดกจิ กรรมดงั น้ี
๗.๑ รูจ้ กั และเขา้ ใจตนเอง รักและเห็นคณุ ค่าในตนเอง
๗.๒ เขา้ ใจและยอมรับผู้อืน่
๗.๓ มีทักษะในการดําเนนิ ชีวิต สามารถปรบั ตวั เขา้ กับสภาพสังคม สิ่งแวดล้อมทเี่ ปล่ยี นไปได้

อย่างเหมาะสม และสามารถดาํ เนนิ ชีวติ อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข
๗.๔ รู้จักตัดสนิ ใจและแกป้ ญั หา รวมทงั้ สามารถปรบั ตวั ต่อสถานการณต์ ่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในชีวิต

อยา่ งเหมาะสม
๗.๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ คนดีในสังคม อยู่ร่วมกบั ผอู้ นื่ อย่างมคี วามสขุ
๗.๖ รจู้ ักหลีกเล่ยี งอบายมขุ สารเสพติด การพนนั หรือสิ่งท่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ ชวี ิต
๗.๗ มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  225

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

การประเมินผลการจดั กิจกรรม
ในการการประเมินการจัดกิจกรรมแนะแนว ครูผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมแนะแนว ผู้เรียน และ

ผู้ปกครอง มีภารกิจทร่ี ับผดิ ชอบ ดังนี้
๑. ครูผูจ้ ดั กิจกรรมแนะแนว
๑.๑ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ สอดคล้องกับ
วสิ ัยทัศน์ท่สี ถานศกึ ษากําหนดและตามสภาพความต้องการและปญั หาของผเู้ รียน
๑.๒ รายงานเวลาและพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม
๑.๓ ศกึ ษา ตดิ ตาม และพฒั นาผู้เรยี นในกรณีที่ผ้เู รยี นไม่เข้าร่วมกจิ กรรม
๑.๔ ประเมินผลผู้เรียน โดยดูจากพัฒนาการของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดเป็น
สําคัญ ในกรณีที่ผลการประเมินยังไม่ผ่านให้ครูผู้จัดกิจกรรมดําเนินการซ่อมเสริมโดยผู้เรียนปฏิบัติ
กิจกรรมซํ้าหรือปฏิบัติกิจกรรมเพิ่มเติม จนกระท่ังผู้เรียนบรรลุคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของ
กิจกรรมหรือผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาํ หนด
๑.๕ บันทึกผลการติดตามและประเมนิ ผลผู้เรยี นไว้เป็นหลักฐาน
๒. ผู้เรยี น
๒.๑ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด โดยมี
หลกั ฐานแสดงเวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม
๒.๒ ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูผู้รับผิดชอบมอบหมาย ถ้าไม่ผ่านให้ปฏิบัติกิจกรรมซํ้าหรือ
ปฏิบัติเพมิ่ เตมิ และมีชน้ิ งาน/ผลงาน/คณุ ลกั ษณะตามทีค่ รผู จู้ ดั กิจกรรมมอบหมายให้ปฏิบัติ
๓. ผู้ปกครองควรมีส่วนร่วมในการประเมินผลพัฒนาการของผเู้ รียน และมีการบันทึกสรุปพัฒนาการ

และการปฏบิ ัติกจิ กรรมของผู้เรียน

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  226

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กิจกรรมนักเรียน

ลกู เสอื - เนตรนารี

หลกั การ
กระบวนการลกู เสือโรงเรียนสุมเส้าวิทยา มหี ลักการสาํ คัญ คอื โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ไดจ้ ดั กิจกรรมให้

ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน โดย
คํานึงถงึ สิ่งตอ่ ไปน้ี

๑. มีศาสนาเป็นหลักยึดทางจิตใจ จงรักภักดีต่อศาสนาท่ีตนเคารพนับถือ และพึงปฏิบัติศาสนกิจ
ดว้ ยความจรงิ ใจ

๒. จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และประเทศชาติของตน พร้อมด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนสันติ
สุขและสันติภาพ ความเข้าใจที่ดีซ่ึงกันและกัน และความร่วมมือซ่ึงกันและกันตั้งแต่ละระดับท้องถ่ิน
ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ

๓. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ และให้ความเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่นและเพ่ือนมนุษย์
ทุกคน รวมท้งั ธรรมชาติและสรรพสง่ิ ทัง้ หลายในโลก

๔. มีความรบั ผดิ ชอบต่อการพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง
๕. ลกู เสือทุกคนต้องยดึ มั่นในคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื

วัตถปุ ระสงค์
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ได้กําหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมลูกเสือเพ่ือ

พัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบและช่วย
สร้างสรรค์สังคม ให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหน้า ท้ังน้ีเพื่อความสงบสุขและความม่ันคงของ
ประเทศชาติตามแนวทางดังตอ่ ไปนี้

๑. ให้มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจํา เช่อื ฟัง และพ่งึ ตนเอง
๒. ใหม้ ีความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ มรี ะเบียบวินัย และเห็นอกเหน็ ใจผู้อนื่
๓. ให้รู้จกั บาํ เพญ็ ตนเพือ่ สาธารณประโยชน์
๔. ให้รจู้ กั ทําการฝมี อื และฝึกฝนการทาํ กิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. ใหร้ ู้จกั รักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความม่ันคงของประเทศชาติ

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  227

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ขอบข่าย

กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งปลูกฝังระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์ เพื่อการอยู่ร่วมกัน

ให้รู้จักการเสียสละและบําเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงการจัดกิจกรรม

ลูกเสือ เนตรนารี ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสํานักงานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยกาํ หนดหลกั สูตรเป็น ๔ ประเภท ดงั น้ี

๑. ลูกเสอื สํารอง ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๓

๒. ลูกเสือสามัญ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖

๓. ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓

๔. ลกู เสอื วสิ ามัญ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๔-๖

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ได้กาํ หนดหลักสตู รลกู เสอื เนตรนารี เป็น ๓ ประเภท คอื

๑. ลกู เสือสาํ รอง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๓

๒. ลกู เสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖

๓. ลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓

แนวการจัดกจิ กรรม
การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสือ (Scout Method)

ซงึ่ มีองค์ประกอบ ๗ ประการ คือ
๑. คําปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ท่ีลูกเสือทุกคนให้คําม่ันสัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎของ

ลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้กับลูกเสือเป็นหลักในการปฏิบัติ ไม่ได้ “ห้าม” ทํา หรือ “บังคับ” ทํา แต่ถ้า
“ทํา” ก็จะทาํ ให้เกิดผลดแี กต่ นเอง เป็นคนดี ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปน็ ผู้มีเกียรตเิ ชือ่ ถอื ได้ ฯลฯ

๒. เรียนรู้จากการกระทํา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ความสําเร็จหรือไม่สําเร็จของผลงานอยู่ท่ีการ
กระทําของตนเอง ทําให้มีความรู้ที่ชัดเจน และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ และท้ายทาย
ความสามารถของตนเอง

๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแท้จริงของการลูกเสือ เป็นพ้ืนฐานในการอยู่ร่วมกัน การยอมรับซึ่งกัน
และกัน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เป็นการเรียนรู้การใช้
ประชาธปิ ไตยเบอ้ื งต้น

๔. การใชส้ ัญลักษณ์ร่วมกนั ฝกึ ใหม้ คี วามเปน็ หนึง่ เดยี วในการเปน็ สมาชิกลกู เสือ เนตรนารี ด้วยการ
ใชส้ ญั ลกั ษณ์ ได้แก่ เครอ่ื งแบบ เครอื่ งหมาย การทาํ ความเคารพ รหัส คําปฏิญาณ กฎ คตพิ จน์ คาํ ขวัญ
ธง เปน็ ต้น วิธีการน้จี ะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนตระหนกั และภาคภมู ใิ จในการเปน็ สมาชิกขององค์การลูกเสอื แหง่ โลก ซ่ึง
มสี มาชิกอยทู่ ่ัวโลกและเป็นองคก์ รทม่ี ีจาํ นวนสมาชิกมากท่สี ดุ ในโลก

๕. การศึกษาธรรมชาติ คือ สิ่งสําคัญอันดับหนึ่งในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตามชนบท
ป่าเขา ป่าละเมาะ และพุ่มไม้ เป็นทป่ี รารถนาอยา่ งย่งิ ในการไปทํากจิ กรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา ตั้งค่าย
พักแรมในสุดสัปดาห์ หรือตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เป็นท่ีเสน่หาแก่เด็กทุกคน ถ้า
ขาดสิ่งนี้แล้ว ก็ไมเ่ รียกวา่ ใชช้ ีวิตแบบลกู เสือ

๖. ความก้าวหน้าในการร่วมกิจกรรม กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจัดให้เด็กทํา ต้องให้มีความก้าวหน้าและ
ดึงดูดใจ สร้างใหเ้ กิดความกระตือรือรน้ อยากที่จะทําและวัตถุประสงค์ในการจัดแตล่ ะอย่างให้สัมพนั ธ์กบั ความ
หลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเล่นท่สี นุกสนาน การแข่งขยั กันก็เป็นสิ่งดึงดูดใจและเปน็ การจูงใจท่ีดี

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  228

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๗. การสนับสนนุ โดยผใู้ หญ่ ผู้ใหญ่เป็นผู้ทช่ี ี้แนะหนทางที่ถกู ตอ้ งให้แกเ่ ด็ก เพื่อให้เขาเกดิ ความมัน่ ใจ
ในการทจ่ี ะตัดสินใจกระทําส่ิงใดลงไป ท้ังคมู่ ีความต้องซ่งึ กนั และกัน เดก็ ก็ต้องการผู้ใหญช่ ่วยช้นี ํา ผูใ้ หญเ่ องก็
ต้องการนําพาใหไ้ ปส่หู นทางที่ดี ให้ได้รับการพฒั นาอย่างถูกต้องและดที สี่ ุด จึงเปน็ การรว่ มมือกันท้ังสองฝา่ ย

เงื่อนไข
๑. เวลาในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีตาม โรงเรียนสุมเสา้ วิทยาได้กาํ หนดเวลาในการเข้ารว่ มกจิ กรรมตาม

หลักสูตรในแต่ละระดบั ชัน้ ดังนี้
๑.๑ ระดับประถมศกึ ษา (ป.๑ - ป.๖) กําหนดเวลาในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมปลี ะ ๔๐ ช่วั โมง
๑.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ - ม.๓) กําหนดเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมภาคเรียน

ละ ๒๐ ช่วั โมง
ส่วนการจัดกิจกรรมเพื่อรับเคร่ืองหมายวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี แต่ละประเภทใช้เวลาเรียนปกติ
และนอกเวลาเรียน
๒. การจดั กิจกรรม

๒.๑ การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีตามหลักสูตร ควรจัดให้มีการเปิดประชุมกองทุกคร้ัง
เพื่อเป็นการฝึกความมีระเบียบวินัยในตนเอง โดยปฏบิ ัติตามขน้ั ตอน ดงั น้ี

๒.๑.๑ พธิ เี ปดิ (ชกั ธงข้นึ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
๒.๑.๒ เกมหรือเพลง
๒.๑.๓ เรียนตามหลกั สูตร
๒.๑.๔ การเลา่ เร่อื งสน้ั ท่เี ป็นประโยชน์
๒.๑.๕ พิธปี ิด (นดั หมาย ตรวจ ชักธงลง เลกิ )
๒.๒ กิจกรรมการอยคู่ า่ ยพกั แรม
การเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม มีวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกให้ลูกเสือมีความอดทน อยู่ใน
ระเบียบวินัย รู้จักช่วยตนเอง รู้จักอยู่และทํางานร่วมกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนวิชาลูกเสือเพ่ิมเติม
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจําเป็นต้องวางแผนนําลูกเสือไปเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรมไว้ให้พร้อมก่อน
และเนิ่น ๆ ดังนั้นบทบาทผู้บังคับบัญชาลูกเสอื ที่มีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบต่อลูกเสือ ต่องาน การอยู่ค่ายพกั
แรม และตามหน้าท่ีของตนเองจึงจําเป็นต้องหาโอกาสให้ลูกเสือของตนได้มีโอกาสในการอยู่ค่ายพัก
แรมเสมอ ให้ผู้กํากับลูกเสือนําลูกเสือไปฝึกเดินทางไกล และอยู่ค่ายพักแรมปีหนึ่งไม่น้อยกว่า ๑ ครั้ง
ครง้ั หนึง่ ใหอ้ ยคู่ า่ ยพกั แรมอยา่ งนอ้ ย ๑ คืน
๒.๓ กิจกรรมพิธีการ สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมพิธีการลูกเสือ เช่น พิธีเข้าประจํากอง
พิธีทบทวนคําปฏิญาณและสวนสนาม พิธีถวายราชสดุดี พิธีประดับเคร่ืองหมายต่าง ๆ เป็นต้น
เพอื่ ให้ลกู เสอื มีความภาคภูมใิ จและเห็นคุณค่าในการเปน็ ลูกเสือ
๒.๔ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ สถานศึกษาควรส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้ลูกเสือได้บําเพ็ญ
ประโยชนต์ ามอดุ มการณ์ของลกู เสอื
๓. ผูบ้ งั คับบัญชาลูกเสอื ควรผ่านการฝึกอบรมวิชาผกู้ ํากบั ลกู เสือขัน้ ความรเู้ บื้องตน้ ในแตล่ ะประเภท
๔. สถานศกึ ษาควรให้มีการจัดตง้ั กลมุ่ หรือกองลกู เสอื ตามข้อบงั คับคณะลกู เสือแหง่ ชาติ

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  229

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

การประเมนิ ผลกจิ กรรม
การประเมินผลกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกระบวนการทดสอบความสามารถและพัฒนาการด้าน

ต่าง ๆ ของผู้เรียนลูกเสือ เนตรนารี ซ่ึงนอกจากพิจารณาความรู้ตามทฤษฎีแล้ว ต้องพิจารณาด้านความ
ประพฤติ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเน้นทักษะและการปฏิบัติต่าง ๆ ด้วยวิธีการประเมินที่หลากหลาย
และการประเมนิ ตามสภาพจรงิ ซง่ึ แบง่ การประเมินผลออกเป็น ๒ สว่ น คือ

๑. กิจกรรมบังคับ
เปน็ การประเมนิ ผลกจิ กรรมตามหลกั สตู ร เพอื่ ให้ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์การตดิ สนิ เลือ่ นชั้นหรือจบหลกั สตู ร
โดยการเข้าร่วมกิจกรรมและผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด มีการประเมินผลตลอดภาค
เรียน / ปี โดยวิธีการสังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม การซักถาม การทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดย
กาํ หนดเกณฑ์การประเมิน “ผา่ น” และ “ไม่ผ่าน”
ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ผา่ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และ
มผี ลงาน/ช้ินงาน/คุณลกั ษณะตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากําหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ปฏบิ ตั ิกิจกรรม หรอื มผี ลงาน/
ชนิ้ งาน/คุณลักษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
๒. กิจกรรมพิเศษ การประเมินผลวิชาพิเศษในแต่ละวิชา ใช้วิธีการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏบิ ัติ ตามหลักเกณฑ์ในขอ้ บังคบั ลูกเสอื แหง่ ชาติ

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  230

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

กิจกรรมชุมนมุ

หลกั การ
๑. เปน็ กจิ กรรมทีเ่ กิดจากการสร้างสรรคแ์ ละออกแบบกจิ กรรมของผู้เรยี นตามความสมัครใจ
๒. เปน็ กจิ กรรมที่ผ้เู รียนรว่ มกันทาํ งานเป็นทมี ชว่ ยกนั คดิ ชว่ ยกนั ทํา และชว่ ยกันแกป้ ญั หา
๓. เปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียน
๔. เปน็ กิจกรรมท่เี หมาะสมกับวัยและวุฒภิ าวะของผูเ้ รยี น รวมทงั้ บริบทของสถานศึกษาและทอ้ งถน่ิ

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตอ้ งการของตน
๒. เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด

ประสบการณท์ ัง้ ทางวิชาการและวชิ าชพี ตามศกั ยภาพ
๓. เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนใชเ้ วลาใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและส่วนรวม
๔. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นทาํ งานร่วมกับผอู้ นื่ ได้ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย

ขอบข่าย
๑. เปน็ กิจกรรมจดั ตามความสนใจของผ้เู รยี น
๒. เป็นกจิ กรรมทีจ่ ดั เสริมหลกั สูตรสถานศกึ ษาในด้านความร้แู ละทกั ษะปฏบิ ตั ิ ของผู้เรยี น
๓. สามารถจดั ไดท้ ้งั ในและนอกสถานศกึ ษา และทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรยี น

แนวการจดั กจิ กรรมชุมนมุ
๑. กรณีชุมนุมท่ียังไม่มีการจัดตั้ง ให้ผู้เรียนร่วมกันจัดต้ังชุมนุม และเชิญครูที่ปรึกษาร่วมกันดําเนิน

กจิ กรรมชุมนุมตามระเบยี บปฏบิ ัติท่สี ถานศกึ ษากําหนด
๒. กรณีชุมนุมที่มีการจัดต้ังแล้ว ให้ครูท่ีปรึกษาชุมนุมสํารวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้า

รว่ มชมุ นมุ
๓. แต่ละชมุ นมุ มกี ารจดั ประสบการณ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่กิจกรรม
๔. ครทู ่ีปรึกษากจิ กรรมประเมนิ ตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ผล

เงือ่ นไข
๑. การจัดกิจกรรมชุมนุมในแต่ละระดับชั้น ให้จัดตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๒. สมาชิกของชุมนุม ต้องเข้าร่วมกิจกรรม ร่วมปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะ

ตามท่ีสถานศกึ ษากําหนด

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  231

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

การประเมนิ ผล
การประเมินผลกิจกรรม เป็นกระบวนการทดสอบความสามารถและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ซึ่ง

นอกจากพิจารณาความรู้ตามทฤษฎแี ล้ว ยงั ต้องพจิ ารณาด้านความประพฤติ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมที่
เน้นทกั ษะและการปฏิบัติต่าง ๆ ดว้ ยวธิ ีการประเมนิ ทห่ี ลากหลาย และการประเมินตามสภาพจรงิ โดยกาํ หนด
เกณฑก์ ารประเมนิ เป็น “ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น”

ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รียนมเี วลาเขา้ ร่วมกิจกรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ผ่านการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และ
มผี ลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลกั ษณะตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากําหนด

ไม่ผา่ น หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมไมค่ รบตามเกณฑ์ ปฏิบตั กิ จิ กรรม หรอื มผี ลงาน/
ช้ินงาน/คุณลกั ษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากาํ หนด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  232

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กิจกรรมเพือ่ สังคม
และสาธารณประโยชน์

หลกั การ
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเอง

ตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เน้น
ให้ความสําคัญท้ังความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ออกแบบกิจกรรม
บาํ เพ็ญประโยชนอ์ ยา่ งหลากหลายรูปแบบ เพอ่ื แสดงถึงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมในลกั ษณะจติ อาสา

วตั ถุประสงค์
๑. เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนบาํ เพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ
๒. เพื่อให้ผู้เรียนออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตามความ

ถนัดและความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร
๓. เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ
๔. เพ่ือให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธรณประโยชน์จนเกิดคุณธรรมจริยธรรมตาม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕. เพื่อให้ผู้เรยี นมจี ิตสาธารณะและใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์

ขอบข่าย
เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมจิตอาสา โดยผู้เรียน

ดําเนินการด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัครเพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม
มีจิตอาสา และมจี ิตสาธารณะ

แนวการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสํารวจและวิเคราะห์สภาพ

ปัญหา ร่วมกันออกแบบการจัดกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและ
ประเมินผลการจัดกิจกรรม รว่ มรายงานผล พรอ้ มท้งั ประชาสมั พันธแ์ ละเผยแพรผ่ ลการจัดกิจกรรม

การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนสุมเส้าวิทยาเลือกจัดกิจกรรมหรือเข้าร่วม
กิจกรรมได้ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน กล่าวคือ จัดกิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรือกิจกรรม
หมายถึง กิจกรรมท่ีผู้เรียนนําเสนอการจัดกิจกรรมต่อโรงเรียน เพื่อขอความเห็นชอบในการจัดทําโครงการ

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  233

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

โครงงาน หรือกิจกรรม ซ่ึงมีระยะเวลาเริ่มต้นและส้ินสุดท่ีชัดเจน โดยมีการจัดกิจกรรมทั้งภายในโรงเรียน
และภายนอกโรงเรียน

เง่ือนไข
เวลาเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่องทุกภาค

เรียน เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ ผจู้ ดั กิจกรรมด้วยตนเองทกุ ขนั้ ตอนและต่อเน่ือง โดยมีครเู ปน็ ท่ปี รึกษากิจกรรม
ผู้เรียนจะจัดกิจกรรมหรือแสดงพฤติกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในเวลา สถานท่ี หรือ

รูปแบบของกิจกรรมใดก็ได้ โดยคํานึงถึงความเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา

การประเมนิ ผลกจิ กรรม
การประเมินผลกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมให้ครบตาม

กรอบเวลาในโครงสร้างของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และโครงสร้างเวลา
เรียนของสถานศึกษาดงั นี้

๑. ระดับประถมศึกษา (ป.๑-ป.๖)มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมรวม ๖๐ ช่ัวโมง โดยมีเวลาเข้าร่วม
กิจกรรมชั้น/ปลี ะ ๑๐ ช่ัวโมง

๒. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.๑-ม.๓) มเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมรวม ๔๕ ชวั่ โมง โดยมเี วลาเขา้ รว่ ม
กจิ กรรมชั้น/ปีละ ๑๕ ช่ัวโมง

๓. มีผลงาน/ช้นิ งาน/คณุ ลักษณะตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากาํ หนด
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมีเกณฑก์ ารผา่ นดังน้ี
๑. ผ้เู รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ดังน้ี
๑.๑ ปฏิบัติกจิ กรรมชน้ั /ปีละ ๑๐ ชว่ั โมง ในระดับประถมศึกษา (ป.๑-ป.๖)
๑.๒ ปฏบิ ัติกจิ กรรมช้นั /ปลี ะ ๑๕ ช่วั โมง ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
๒. มผี ลงาน/ชนิ้ งาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๐ ทุกช้ันปี
ไมผ่ า่ น หมายถึง ผ้เู รยี นมีเกณฑก์ ารไมผ่ ่านดังน้ี
๑. ผูเ้ รยี นมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ดงั น้ี
๑.๑ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมชน้ั /ปลี ะต่ํากวา่ ๑๐ ชว่ั โมง ในระดับประถมศกึ ษา (ป.๑-ป.๖)
๑.๒ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมช้ัน/ปีละตาํ่ กวา่ ๑๕ ช่ัวโมง ในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
๒. มีผลงาน/ชนิ้ งาน/คุณลักษณะตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากําหนดตา่ํ กว่า รอ้ ยละ ๘๐ ทุกช้ันปี

กรณีที่ผู้เรียนไม่ผ่าน ครูท่ีปรึกษาต้องให้ผู้เรียนซ่อมเสริมการทํากิจกรรมให้ครบตามกรอบเวลาที่
กําหนดในโครงสร้างของหลกั สตู รหรอื ปฏิบัติกิจกรรมอนื่ ทีม่ ีจุดมุ่งหมายสอดคล้องกับกจิ กรรมท่กี ําหนดเป็นการ
ทดแทนและประเมนิ ผลตามเกณฑ์ที่กําหนด

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  234

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สว่ นท่ี 5
การวัดและประเมนิ ผลและเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ต้ อ ง อ ยู่ บ น ห ลั ก ก า ร พ้ื น ฐ า น ส อ ง ป ร ะ ก า ร คื อ

การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้
ประสบผลสําเร็จน้ัน ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ
ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็น
ข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสําเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน
ขอ้ มูลที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ การสง่ เสริมให้ผู้เรียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นรู้อย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอยี ด ดงั นี้

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดําเนินการเป็นปกติและสม่ําเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสม
งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อน
ประเมนิ เพ่อื น ผู้ปกครองร่วมประเมนิ ในกรณีท่ีไม่ผา่ นตัวชว้ี ัดให้มี การสอนซอ่ มเสริม

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนี้
โดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวดั

๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดําเนินการเพ่ือตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน นอกจากนีเ้ พอื่ ให้ได้ขอ้ มลู เก่ียวกบั การจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ว่าสง่ ผลตอ่ การ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนของผู้เรียน
ในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศ
เพ่ือการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทํา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผล
การจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ผู้ปกครองและชมุ ชน

๓. การประเมินระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา เป็นการประเมนิ คุณภาพผ้เู รียนในระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ตามภาระความรับผดิ ชอบ สามารถดาํ เนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทําและดําเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือด้วยความ

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา

สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  235

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดําเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจาก
การประเมนิ ระดับสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

๔. การประเมินระดบั ชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรตู้ าม
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สถานศกึ ษาตอ้ งจัดให้ผู้เรยี นทุกคนท่ีเรียน ในชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการ
ประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนําไปใช้ในการวางแผนยกระดับ
คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเป็นข้อมลู สนบั สนนุ การตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ี
จําแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่ม
ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ํา กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูล
จากการประเมนิ จึงเปน็ หวั ใจของสถานศกึ ษาในการดาํ เนินการช่วยเหลือผเู้ รียนไดท้ ันท่วงที ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี น
ไดร้ บั การพฒั นาและประสบความสาํ เร็จในการเรยี น

สถานศึกษาในฐานะผ้รู ับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทําระเบียบว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกําหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่อื ใหบ้ ุคลากรทเี่ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายถือปฏบิ ัตริ ่วมกนั

หลกั การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
๑. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผ้ทู ่ี

เก่ียวขอ้ งมีสว่ นร่วม เชน่ ผเู้ รยี น ครูผ้สู อน ผ้ปู กครองนกั เรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๒. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือพัฒนาผู้เรียน กล่าวคือ เป็นการ

ประเมินผลย่อย (Formative Assessment) ท่ีดําเนินการอย่างต่อเน่อื ง ตลอดการเรียนการสอน โดยมิใช่ใช้แต่
การทดสอบระหว่างเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างเดียวแต่เป็นการท่ีครูเก็บข้อมูลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไม่เป็น
ทางการด้วย ขณะที่ให้ผู้เรียนทําภาระงานตามที่กําหนด ครูสังเกต ซักถามจดบันทึก แล้ววิเคราะห์ข้อมูลว่า
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ จะต้องให้ผู้เรียนปรับปรุงอะไรหรือผู้สอนปรับปรุงอะไร เพ่ือให้เกิดความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด การประเมินระหว่างเรียนดําเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การให้
ข้อแนะนําข้อสังเกตในการนําเสนอผลงาน การพูดคุยระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล การ
สัมภาษณ์ ตลอดจนการวิเคราะห์ผลการสอบ เป็นต้น ส่วนการตัดสินผลการเรียนเป็นการประเมินสรุปผลการ
เรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดข้ึนเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตามตัวช้ีวัด และยังใช้เป็นข้อมลู ในการเปรยี บเทียบกับการประเมินก่อนเรียน ทําให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน
การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ยังเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตอนปลายปี/ปลายภาคอีกด้วยการ
ประเมินสรุปผลการเรียนรู้ใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมินได้อย่างหลากหลาย ซึ่งเน้น การวัดและประเมินแบบ
อิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment) เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือนําเสนอผลการ
ตดั สนิ ความสามารถหรอื ผลสมั ฤทธิข์ องผ้เู รียน โดยปรยี บเทยี บกบั เกณฑท์ ี่กําหนดข้นึ

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  236

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดตาม
กลมุ่ สาระการเรยี นรูท้ ่ีกาํ หนดในหลักสตู รสถานศกึ ษา และจัดใหม้ กี ารประเมนิ การอา่ น
คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องดําเนินการด้วย
เทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งด้านพุทธิพิสัย จิต
พิสัย และทักษะพิสัย เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับช้ันของผู้เรียน โดยตั้งอยู่บน
พ้ืนฐานของความเท่ียงตรง ยตุ ธิ รรมและเชื่อถอื ได้

5. การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการ
เรียนรู้ การปฏิบัติกิจกรรม ผลงานของนักเรียน การทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนรู้ ตามความ
เหมาะสมของแตล่ ะระดับและรปู แบบการศกึ ษา

6. เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นและผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผ้เู รียน

วิธกี ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
1. สถานศึกษาต้องดําเนินการวัดและประเมินผลให้ครบองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน คือ กลุ่มสาระการ

เรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น
2. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เป็นการประเมินความรู้

ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิดท่ีกําหนดอยู่ในตัวช้ีวัดในหลักสูตร ซ่ึงจะนําไปสู่การสรุปผลการ
เรียนรู้ของผูเ้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ โดยดําเนนิ การดังนี้

2.๑ ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผลการเรียน เกณฑ์การผ่านตัวชี้วัด และเกณฑ์ขั้น
ตา่ํ ของการผ่านรายวิชากอ่ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรยี นในแตล่ ะกลุม่ สาระการเรยี นรู้

2.๒ จัดให้มีการประเมินผลก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความรู้พ้ืนฐานและความรอบรู้ในเรอื่ งที่
จะเรยี น

2.๓ จัดใหม้ กี ารประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน เพ่อื ศกึ ษาผลการเรยี น เพอื่ จัดสอน ซ่อมเสรมิ และ
นาํ คะแนนจากการวดั ผล ไปรวมกบั การวัดผลปลายป/ี ปลายภาค

2.๔ จดั ให้มีการประเมนิ ผลปลายปี/ปลายภาคเพื่อตดั สนิ ผลการเรยี นรู้
3. การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียนส่อื ความของผู้เรยี น ใหค้ รูประจําวชิ า ดําเนินการวัดผล
ตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากําหนด

3.๑ ผู้สอนแจ้งตัวช้ีวัด วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การผ่านตัวชี้วัดการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขยี น

3.๒ จดั ใหม้ ีการประเมินผล และสรปุ ผลปลายปี
4. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้ครูผู้สอนดําเนินการวัดผลไปพร้อมกับการ
ประเมนิ ผลระดับช้นั เรียนตามเกณฑ์สถานศึกษากาํ หนด

4.๑ ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การผ่านตัวชี้วัดคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

4.๒ จดั ใหม้ กี ารประเมนิ ผล และสรปุ ผลปลายปี
5. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นรายภาค/รายปี โดยสถานศึกษาเป็นผู้กําหนด
แนวทางการประเมิน ผรู้ บั ผดิ ชอบกจิ กรรมดําเนนิ การประเมินตามตัวชีว้ ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  237

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

5.๑ ผสู้ อนแจง้ ตัวชวี้ ดั วธิ กี ารประเมินผล และเกณฑก์ ารผ่านตวั ชวี้ ัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
5.๒ จัดใหม้ ีการประเมนิ ผล และสรปุ ผล ปลายภาค/ปลายปี

เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียน
๑. การตัดสนิ การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคํานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้อง
เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา
จนเตม็ ตามศกั ยภาพ

ระดับประถมศึกษา
(๑) ผู้เรยี นต้องมีเวลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด
(๒) ผู้เรียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตวั ชีว้ ัด และผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากําหนด
(๓) ผู้เรียนต้องไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา

กําหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
ระดับมธั ยมศกึ ษา
(๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า

ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวิชานัน้ ๆ
(๒) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตวั ช้วี ดั และผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด
(๓) ผ้เู รียนตอ้ งได้รบั การตัดสนิ ผลการเรียนทกุ รายวิชา
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด ในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
การพิจารณาเล่ือนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย
และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซอ่ มเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อน
ผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดับชั้นท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ําช้ันได้ ทั้งนี้ให้คํานึงถึงวุฒิภาวะและ
ความรู้ความสามารถของผ้เู รียนเปน็ สาํ คัญ

๑.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้

ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ
และระบบที่ใช้คาํ สําคญั สะท้อนมาตรฐาน

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมินเป็น ดีเย่ียม ดี และผา่ น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากําหนด และใหผ้ ลการเข้ารว่ มกจิ กรรมเป็นผ่าน และไม่
ผ่าน

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  238

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดับมัธยมศกึ ษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตวั เลขแสดงระดบั ผล
การเรียนเป็น ๘ ระดับ

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมินเปน็ ดีเย่ียม ดี และผา่ น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากําหนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่
ผา่ น

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเปน็ การสื่อสารให้ผูป้ กครองและผูเ้ รยี นทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ
หรืออยา่ งน้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน
มาตรฐานการเรียนรกู้ ลุม่ สาระการเรียนรู้
๒. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กําหนดเกณฑ์กลางสําหรับการจบการศึกษาเป็น 2 ระดับ คือ
ระดบั ประถมศึกษา และระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา

(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน
ท่หี ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานกาํ หนด

(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กาํ หนด

(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนด

(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากําหนด

(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากําหนด

๒.๒ เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน

๖๓ หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติมตามทสี่ ถานศกึ ษากําหนด
(๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา

พืน้ ฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ไมน่ ้อยกวา่ ๑๔ หนว่ ยกิต
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์

การประเมนิ ตามทสี่ ถานศึกษากาํ หนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  239

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาํ หนด

สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสําหรับ
ผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย
ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา และผู้ที่เก่ียวข้อง ดําเนินการวัดและประเมินผล
การเรยี นรู้ตามหลกั เกณฑใ์ นแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานสาํ หรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสําคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ

ที่เกีย่ วข้องกับพฒั นาการของผเู้ รียนในดา้ นต่าง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี
๑. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกําหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ

ผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารน้ี
ใหผ้ เู้ รียนเป็นรายบคุ คล เมื่อผเู้ รยี นจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖) จบการศึกษาภาค
บงั คบั (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓) หรอื เมอ่ื ลาออกจากสถานศกึ ษาในทกุ กรณี

๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่ือรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบ
การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาข้ันพื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

๑.๓ แบบรายงานผู้สําเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและ
ข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖) และผู้จบการศึกษาภาคบังคับ
(ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓)

๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาทสี่ ถานศึกษากําหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทําขึ้นเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสําคัญ เก่ียวกับ

ผเู้ รียน เชน่ แบบรายงานประจําตัวนกั เรียน แบบบนั ทกึ ผลการเรียนประจํารายวิชา ระเบยี นสะสม ใบรบั รอง
ผลการเรียน และ เอกสารอ่ืน ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนาํ เอกสารไปใช้

การเทยี บโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ

เปล่ียนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหลง่ การเรยี นรู้อน่ื ๆ เชน่ สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจดั การศึกษาโดย
ครอบครวั

การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก
ที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ท้ังนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเน่ืองใน

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา ” พุทธศกั ราช ๒๕๖๒  240

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกําหนด
รายวชิ า/จํานวนหนว่ ยกิตทีจ่ ะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม

การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดาํ เนินการได้ ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรยี น
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผเู้ รียนโดยการทดสอบดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ทั้งภาคความรู้และ
ภาคปฏิบตั ิ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธิการ

การบรหิ ารจัดการหลกั สูตร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา

หลักสตู รน้ัน หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องในแตล่ ะระดับ ตั้งแตร่ ะดบั ชาติ ระดบั ทอ้ งถ่ิน จนถงึ ระดับสถานศึกษา
มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ี
กาํ หนดไว้ในระดบั ชาติ

ระดับท้องถ่ิน ได้แก่ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอ่ืน ๆ เป็นหน่วยงานท่ีมี
บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางท่ีจะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐานท่ีกําหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน เพ่ือนําไปสู่การจัดทํา
หลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสําเร็จ โดยมี
ภารกิจสําคัญ คือ กําหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถิ่นโดยพิจารณาให้
สอดคล้องกับสิ่งท่ีเป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ประเมินคุณภาพการศึกษาใน
ระดับท้องถ่ิน รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน
สง่ เสริม ตดิ ตามผล ประเมินผล วเิ คราะห์ และรายงานผลคณุ ภาพของผู้เรียน

สถานศึกษามีหน้าท่ีสําคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดําเนินการใช้หลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทําระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดอ่ืน ๆ ในระดับท้องถ่ินได้
จัดทําเพ่ิมเติม รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนท่ีเก่ียวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และความต้องการของผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  241

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

เอกสารอ้างองิ

กรมวิชาการ. คู่มือการจดั กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๔ (ลกู เสอื สํารอง).
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๓.

กรมวิชาการ. คู่มือการจดั กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕-๖ (ลกู เสอื สามญั ).
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๓๓.

กรมวิชาการ. คมู่ อื พฒั นาทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวติ ระดบั ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์
การศาสนา, ๒๕๔๓.

กรมวิชาการ. ค่มู ือการจดั กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ (ลกู เสอื สามญั
รนุ่ ใหญ่). กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๓.

กรมวชิ าการ. แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๖.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ศลิ ปะ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา

สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  242

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. รา่ งเอกสารประกอบหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ แนวทางการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.

สาํ นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. ร่างเอกสารประกอบหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์
ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา ” พุทธศักราช ๒๕๖๒  243

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ภาคผนวก

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑


Click to View FlipBook Version