The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by scout thai, 2020-07-08 02:53:46

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือวิสามัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1

ลูกเสือวิสามัญ1 ม4

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวสิ ามญั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4, ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ(ปวช. 1)

หนว่ ยท่ี 11 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติกจิ กรรมของลูกเสือวสิ ามญั เวลา 1 ช่ัวโมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 20 ปอ้ งกันไวก้ ่อน

1. จุดประสงค์การเรยี นรู้
ลูกเสอื สามารถบอกวิธคี มุ กาํ เนดิ แตล฾ ะวิธี และตระหนกั รวู฿ า฾ การคุมกาํ เนดิ เปน็ ความรับผิดชอบตอ฾

ตนเองและคข฾ู องตนเช฾นเดยี วกับการดูแลสขุ ภาพทวั่ ไปได฿

2. เนอื้ หา
การคมุ กําเนิดเปน็ การปอฺ งกนั การต้งั ครรภโ ซึง่ เป็นความรับผิดชอบของแต฾ละบคุ คลในการดูแล

ตนเองและคข฾ู องตน เชน฾ เดียวกับการดแู ลสขุ ภาพทว่ั ไปไม฾ใชก฾ ารสง฾ เสรมิ ใหว฿ ัยรุ฾นมเี พศสัมพันธโ แต฾เป็น
การใหว฿ ัยรุน฾ ได฿เรียนรวู฿ ธิ ปี อฺ งกนั ตนเองจากการต้ังครรภเโ มอื่ ไม฾พรอ฿ ม จะชว฾ ยลดปญั หาการตง้ั ครรภเโ ม่ือ
ไมพ฾ รอ฿ ม จะช฾วยลดปัญหาการต้งั ครรภโเมอื่ ไมพ฾ รอ฿ มได฿

3. สอื่ การเรยี นรู้
3.1 เกม
3.2 ใบความรู฿
3.3 อุปกรณคโ ุมกําเนดิ ได฿แก฾ ยาเมด็ คมุ กาํ เนดิ ถุงยางอนามยั และยาคุมฉุกเฉนิ ”
3.4 เรอื่ งส้ันทเ่ี ปน็ ประโยชนโ

4. กิจกรรม
4.1 พธิ ีเปดิ ประชมุ กอง (ชักธงขึน้ สวดมนตโ สงบน่งิ ตรวจ แยก)
4.2 เพลงหรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคกโ ารเรยี นรู฿
1) ผกู฿ ํากับลกู เสอื แบง฾ ลูกเสอื ออกเปน็ กลมุ฾ ละ 3 กลุ฾ม เพอื่ เขา฿ ศกึ ษาแบบฐาน 3 ฐาน
ฐานท่ี 1 ยาเมด็ คมุ กาํ เนดิ
ฐานที่ 2 ถุงยางอนามยั
ฐานท่ี 3 ยาคมุ ฉกุ เฉิน
2) เมอื่ ผูเ฿ รยี นเข฿าฐานครบ 3 ฐานแลว฿ ให฿ผู฿แทนแต฾ละกล฾ุมจบั ฉลาก สรุปความร฿ใู นเรอื่ ง
ทจ่ี ับฉลากได฿ และนาํ เสนอ
4.4 ผก฿ู ํากับลูกเสือเล฾าเรอ่ื งสั้นท่เี ปน็ ประโยชนโ
4.5 พิธีปิดประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลกิ )

คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 197
คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วิสามญั ปชรน้ั ะมกธัายศมนศียกึ บษตั ารปวที ชิ ี่ า4ชีพ 1
192 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ 1

5. การประเมินผล
5.1 สังเกตความร฾วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
5.2 สงั เกตกระบวนการคดิ จากการอภปิ ราย

6. องค์ประกอบทกั ษะชวี ติ สาคญั ทีเ่ กิดจากกิจกรรม
คือ ความคดิ วเิ คราะหโและความตระหนกั ถึงความรับผิดชอบในเร่อื งเพศ

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 20

เกม เหยียบลูกโป่ง

อปุ กรณ์
1. ถุงยางอนามยั
2. หนงั ยาง

วธิ เี ล่น
1. แบ฾งลกู เสอื ออกเปน็ 2 ฝูาย เทา฾ ๆ กนั
2. แจกถงุ ยางอนามัยคนละ 2 ใบ ฝาู ยละสี
3. ใหท฿ กุ คนเปูาถุงยางอนามยั ให฿ลูกใหญม฾ ากที่สดุ แลว฿ ผูกมดั ไวท฿ ขี่ ฿อเทา฿ ทัง้ 2 ข฿าง
4. เมื่อได฿ยินเสยี งเพลงหรือเสียงสัญญาณนกหวีดเรมิ่ ดังขน้ึ ใหท฿ กุ คนเตน฿ และไล฾เหยยี บถงุ ยางของ
ฝูายตรงข฿ามใหแ฿ ตก
5. เมอ่ื เสยี งเพลงหยดุ หรอื ไดย฿ นิ เสยี งสญั ญาณนกหวีด ใหท฿ กุ คนหยดุ
6. นบั จาํ นวนถุงยางของแตล฾ ะฝาู ย ฝาู ยใดเหลือถงุ ยางทไ่ี มแ฾ ตกมากทสี่ ุดเปน็ ฝาู ยชนะ

198 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามัญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 193

คปมู่ รือะสกง่ าเสศรนมิ ียแบลตัะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวิสามญั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ 1

ใบความรู้ การคุมกาเนิดสาหรบั วยั รนุ่

การคมุ กําเนิด เปน็ ความรับผิดชอบของบุคคลในการดูแลสภุ าพตัวเอง และเป็นความรับผิดชอบ
ร฾วมกันของหญิงและชาย ในการปอฺ งกนั ปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนตามมา เช฾น การต้ังครรภโไม฾พร฿อม ไม฾ใช฾ฝูายใด
ฝูายหนง่ึ ตอ฿ งรบั ผิดชอบเพียงฝูายเดียว แม฿ว฾าฝูายหญิงจะเป็นฝูายตั้งครรภโ แต฾ฝูายชายควรรับผิดชอบ
ด฿วย เพราะ ปัญหาท่ีเกิดย฾อมกระทบต฾อทั้งสองฝูาย การคุมกําเนิดสามารถทําได฿หลายวิธี ในแผนการ
เรยี นรูน฿ ีเ้ นน฿ วธิ กี ารคุมกําเนดิ แบบชวั่ คราวท่วี ัยร฾ุนนิยมใช฿กัน 3 วิธี ไม฾รวมการทําหมัน ฝังยาคุม และใส฾
ห฾วงอนามยั

1. ยาเมด็ คมุ กาเนดิ
เปน็ ฮอรโโ มนสงั เคราะหโคลา฿ ยฮอรโโมนธรรมชาตขิ องเพศหญงิ ผลติ เปน็ เม็ดบรรจแุ ผงมที ้ังแบบ
21เมด็ และ 28 เมด็ ชนดิ 28 เมด็ 7เมด็ สุดทา฿ ยจะมีสีต฾างออกไปเพราะเปน็ ยาบํารงุ เลือดไมม฾ ฮี อรโโมน
ยาเม็ดคมุ กําเนดิ ออกฤทธิโ์ ดยการยบั ย้ังการตกไข฾และทาํ ให฿มูกปากมดลูกเหนียว อสจุ ไิ มส฾ ามารถผ฾านเขา฿
สู฾โพรงมดลกู ได฿
วิธีใช้

1.กินทุกวันๆ ละ 1 เมด็ กอ฾ นนอน (ควรกินเวลาเดียวกันทกุ วนั )

2.กินยาเมด็ แรกของแผงแรกภายใน 5วันแรกของการเร่มิ มปี ระจําเดอื น (แม฿วา฾ ประจาํ เดอื น

จะหยดุ หรือไมก฾ ็ตาม) เมด็ ต฾อไปกนิ ตามลกู ศรจนหมดแผง

13.ชนดิ 28 เม็ดขึ้นแผงใหม฾ต฾อทนั ทีเมอื่ แผงแรกหมมดด

ชนิด 21 เม็ดใหห฿ ยดุ กนิ ยาครบ 7 วนั แลว฿ จึงเริม่ แผงใหม฾

2.กรณลี มื กนิ ยา
o ถ้าลืม 1 เมด็ ให฿ กนิ ทนั ทที ่นี ึกได้ แล฿วกนิ เมด็ ต฾อไปตามเวลาปกติ
o ถา้ ลืม 2 เม็ดตดิ ตอ่ กันในชว่ ง 2 สัปดาหแ์ รกของแผง ต฿องคมุ กาํ เนดิ โดย
ถุงยางอนามยั รว฾ มดว฿ ยนานอยา฾ งนอ฿ ย 7 วันและกินยาวันละ 2 เมด็ ตดิ ตอ฾ กัน 2 วนั
แลว฿ กนิ เมด็ ต฾อไปตามปกติ ไมต฾ อ฿ งกงั วลเรือ่ งเลอื ดออกเพราะจะหยดุ เองได฿
o ถา้ ลืม 2 เมด็ ตดิ ต่อกันในชว่ งสัปดาหท์ ี่ 3 หรือลมื กินยา 3 เม็ดขนึ้ ไปใน
ช่วงเวลาใดก็ตาม ให้หยดุ กินยาแผงนน้ั แล฿วเรมิ่ กินยาแผงใหมไ฾ ด฿ทนั ทโี ดยไม฾
ต฿องกังวลเรื่องเลอื ดออกและตอ฿ งคุมกําเนดิ โดยใช฿ถุงยางอนามัยร฾วมด฿วยอยา฾ ง
นอ฿ ย 7 วัน

คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสือวสิ ามญั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 199
คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือวิสามญั ปชร้นั ะมกัธายศมนศียึกบษัตารปวที ิช่ี า4ชีพ 1
194 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1

ข้อดี
1.ใชง฿ า฾ ย สะดวก ใชไ฿ ดท฿ กุ กลม฾ุ อายุ
2.ให฿ความรสู฿ กึ เหมอื นเปน็ ธรรมชาติเพราะยงั มปี ระจาํ เดอื นทกุ เดอื นโดยอาจมา
น฿อยลงและช฾วงสั้นข้ึน
3.ช฾วยลดอาการปวดประจําเดอื น
4.บางชนิดชว฾ ยทาํ ให฿สวิ ลดนอ฿ ยลง

ขอ้ จากดั
1. อาจลมื เพราะต฿องกนิ ทกุ วัน
2. อาจมีประจําเดอื นกระปริดกระปรอยโดยเฉพาะใน 2 เดือนแรกทกี่ นิ ยา
3. อาจมผี ลข฿างเคียงซ่ึงหายไดเ฿ อง เช฾น คลน่ื ไส฿ เจบ็ ตงึ เต฿านม นํ้าหนกั ขน้ึ
ฯลฯ
4. ตอ฿ งรบั คําแนะนาํ จากบุคลากรทางการแพทยโในการใชแ฿ ผงแรก
5. ไมป฾ ฺองกนั การติดเชอื้ โรคทางเพศสัมพนั ธโและโรคเอดสโ

2. ถงุ ยางอนามยั

เป็นวธิ ีที่ฝูายชายเปน็ ผู฿ใช฿ สามารถปฺองกันทงั้ การต้งั ครรภโและโรคตดิ ตอ฾ ทางเพศสัมพนั ธรโ วมทง้ั
โรคเอดสโ
วิธีเลือกซื้อ

1. สังเกตวนั เดือน ปีทห่ี มดอายุ ดูวนั ผลิต หรอื วนั หมดอายุ โดยทว่ั ไปถุงยางอนามยั มอี ายุ
การใชง฿ าน 3 ปีนับจากวันท่ีผลิต

2. การบรรจุ และการเก็บรกั ษาต฿องไมช฾ าํ รุด ฉกี ขาดหรือร่ัวซมึ
3. เลือกขนาดท่เี หมาะสม โดยทว่ั ไปชายไทยควรใชข฿ นาด 49

ขัน้ ตอนการใช้ถงุ ยางอนามยั
1. ตรวจสอบวันหมดอายทุ ซี่ อง
2. ใชม฿ อื รีดถุงยางอนามยั ให฿ไปอยู฾ดา฿ นใดดา฿ นหนึง่ ฉีกซองอยา฾ งระมดั ระวัง ไมใ฾ หเ฿ ล็บ/
แหวนเกยี่ วถุงยางอนามัย
3. ตรวจดขู อบถงุ ยางอนามยั หาขอบดา฿ นรูดลง
4. รดู หนงั หม฿ุ ปลายอวัยวะเพศลง
5. บบี ปลายถงุ กระเปาะถงุ ยางอนามัยเพอ่ื ไลอ฾ ากาศโดยใช฿หัวแม฾มอื กบั นวิ้ ช้ี
6. วางถงุ ยางอนามยั บนหัวอวยั วะเพศขณะแข็งตวั ค฾อยๆ รูดถงุ ยางอนามยั ลงจนถึงโคน
7. สอดใสอ฾ วัยวะเพศในชอ฾ งคลอด

200 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลูกเสือวสิ ามญั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 195

คป่มู รอื ะสกง่ าเสศรนิมียแบลัตะพรวฒั ิชนาาชกีพจิ ก1รรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื วิสามัญ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1

8. ถอดอวัยวะเพศทนั ทีหลงั การหลง่ั
9. ใชก฿ ระดาษชาํ ระหรอื ผ฿าพนั รอบๆองคชาตและคอ฾ ยๆรดู ถุงยางอนามยั
10. ใชก฿ ระดาษหอ฾ ถุงยางอนมยั ใหม฿ ดิ ชดิ แล฿วนําไปทิ้งในท่ีเหมาะสม

ขอ้ ดี
1. หางา฾ ยราคาถกู
2. ไมม฾ อี าการขา฿ งเคียง
3. สามารถปอฺ งกันท้งั การต้งั ครรภแโ ละโรคเอดสโได฿

ข้อจากดั
1. ตอ฿ งเตรียมถุงยางอนามยั ไว฿ล฾วงหน฿า
2. อาจเสยี จังหวะการมีเพศสมั พนั ธโ

3. ยาป้องกันการตัง้ ครรภห์ ลงั มเี พศสมั พันธ(์ ยาคุมฉุกเฉนิ )

เป็นฮอรโโ มนคล฿ายฮอรโโ มนเพศธรรมชาติท่ีผลติ จากรังไขข฾ องสตรี (โปรเจสเตอโรน) ใช฿กบั ผหู฿ ญงิ
เปน็ ทางเลือกในการป้องกนั การตง้ั ครรภท์ ี่ไมพ่ รอ้ มกรณฉี กุ เฉนิ เท฾านัน้ เชน฾ ถูกขม฾ ขนื ปอฺ งกนั ดว฿ ย
วธิ ีอื่นแลว฿ พลาด มเี พศสัมพนั ธโโดยไมค฾ าดคดิ และไมไ฾ ดป฿ ฺองกนั ฯลฯ ไมเ่ หมาะสมอยา่ งยิง่ ในการใช้
แทนวธิ คี ุมกาเนิดแบบปกติ เพราะมีประสิทธภิ าพตาํ่ และผลขา฿ งเคยี งสูง ออกฤทธโิ์ ดยปอฺ งกนั การฝงั
ตวั ของไข฾ที่ผนังมดลกู
วิธีใช้

กิน 1 เมด็ ทนั ที ภายใน 72 ชวั่ โมงแรกหลังการมีเพศสัมพนั ธโ และกนิ ยาเมด็ ที่ 2 ห฾างจากเมด็
แรก 12 ช่ัวโมง มเี พศสมั พันธโคร้งั ต฾อไปต฿องสวมถงุ ยางอนามัยทกุ ครั้ง เดอื นหน่งึ ไมค฾ วรกินยาเกิน 4 เม็ด
เพราะการกินบอ฾ ย ๆ จะสง฾ ผลเสยี ตอ฾ รางกายในระยะยาว
ข้อดี

เปน็ ทางเลอื กในกรณีฉุกเฉนิ ชว฾ ยแก฿ปญั หาเฉพาะหนา฿

ข้อจากดั
1. ประสทิ ธภิ าพตาํ่ และผลขา฿ งเคยี งสงู
2. ไม฾สามารถใช฿ได฿เหมอื นการปอฺ งกนั การต้ังครรภโแบบปกติ
3. ไมส฾ ามารถปฺองกันการติดเช้อื โรคตดิ ตอ฾ ทางเพศสมั พนั ธโและโรคเอดสโ

คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือวสิ ามญั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 201
คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วิสามัญปชรนั้ ะมกัธายศมนศียึกบษัตารปวีทิช่ี า4ชีพ 1
196 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

เรอ่ื งส้ันทเ่ี ป็นประโยชน์

ลงิ กบั ลา

หญิงชาวบ฿านคนหนึ่งอาศยั อยู฾คนเดียวในกระทอ฾ มด฿วยความเหงานางจึงหาสตั วโมาเลี้ยงไว฿เป็น
เพือ่ นสองตัว คอื ลิงและลาวนั หน่ึงหญิงชาวบ฿านคนน้ตี อ฿ งออกไปตลาดเพอ่ื ซ้ืออาหารก฾อนออกจากบ฿าน
เธอได฿เอาเชอื กมาผกู คอลิง แล฿วมดั ขาของลาเอาไวท฿ ้งั สองข฿างเพื่อปฺองกนั ไมใ฾ ห฿สัตวโเล้ยี งทั้งสองตวั เดิน
ยาํ่ ไปมาในกระทอ฾ มจนทําใหข฿ า฿ วของตา฾ ง ๆไดร฿ บั ความเสียหาย ทนั ทที หี่ ญงิ ชาวบ฿านออกจากบา฿ นไปลิง
ซึ่งมคี วามฉลาดและแสนซนเป็นคณุ ลกั ษณะประจาํ ตวั กค็ อ฾ ย ๆ คลายปมเชือกออกจากคอของมันอกี ท้งั
ยังซุกซนไปแกเ฿ ชอื กมดั ขาใหแ฿ กล฾ าอีกด฿วย หลงั จากนนั้ เจ฿าลงิ กก็ ระโดดโลดเตน฿ หอ฿ ยโหนโจนทะยานไป
ท่วั กระท฾อมจนทาํ ใหข฿ า฿ วของต฾าง ๆ ลม฿ ระเนระนาดกระจดั กระจายไปทว่ั อกี ท้ังยังซุกซนรื้อคน฿ เสอ้ื ผา฿ ของ
หญิงชาวบ฿านมาฉีกกดั จนไม฾เหลือชิ้นดใี นขณะท่ีลาได฿แตม฾ องดกู ารกระทาํ ของเจา฿ ลงิ อยู฾เฉย ๆ สักครห฾ู นึง่
หญงิ ชาวบ฿านคนนกี้ ก็ ลบั มาจากตลาด เจา฿ ลงิ มองเหน็ เจา฿ ของเดนิ มาแตไ฾ กลจากทางหน฿าตา฾ งกร็ ีบเอา
เชือกมาผกู คอตนไว฿ อยา฾ งเดมิ และอยอู฾ ยา฾ งสงบนิ่ง

ฝาู ยหญงิ ชาวบ฿านเม่อื เปดิ ประตูกระทอ฾ มเข฿ามาเห็นข฿าวของของตนถกู รอื้ ค฿นกระจุยกระจาย
เช฾นนัน้ กเ็ กดิ โทสะขน้ึ ทนั ที หนั มองลิงและลาเพอื่ ดูวา฾ ใครเป็นผกู฿ ฾อเรือ่ ง และเห็นว฾าลาไมม฾ เี ชอื กผูกขา
ดงั เดมิ เธอกค็ ดิ เอาเองวา฾ เจา฿ ลานเี่ องคือตวั ปัญหาทําใหก฿ ระท฾อมของเธอมีสภาพไมต฾ า฾ งจากโรงเกบ็ ขยะ
ดังน้นั หญงิ ชาวบ฿านจึงวิง่ ไปหยบิ ทอ฾ นไม฿นอกบา฿ นมาทุบตีลาอยา฾ งรุนแรงซ่ึงเจา฿ ลาผน฿ู ฾าสงสารกไ็ ด฿แต฾ส฾ง
เสยี งร฿องด฿วยความเจบ็ ปวดจนสน้ิ ใจโดยไมส฾ ามารถทําอะไรไดเ฿ ลย.......

เรอื่ งน้ีสอนใหร้ ูว้ ่า ควรพจิ ารณาใหร฿ อบคอบ กอ฾ นจะตดั สนิ ใจทําส่งิ ใดลงไป มิฉะนน้ั อาจเกิดการ
ตัดสนิ ใจทีผ่ ดิ พลาดได฿

202 คูม่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสือวสิ ามญั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 197

คปู่มรือะสก่งาเสศรนมิ ียแบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวสิ ามญั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 1

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือวิสามัญ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4, ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ(ปวช. 1)

หน่วยท่ี 12 การฝกึ อบรมรว่ มกนั ทงั้ กอง เวลา 3 ช่วั โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 21 การฝึกอบรมรว่ มกนั ทง้ั กอง

1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1.1 ลกู เสอื สามารถบอกวิธีและแนวทางการฝึกอบรมลกู เสอื วสิ ามัญได฿
1.2 ลกู เสือสามารถอธบิ ายวิธีเขียนโครงการและดาํ เนนิ งานตามโครงการพรอ฿ มสรปุ รายงานผล

การดาํ เนนิ โครงการได฿

2. เน้อื หา
2.1 วิธีการฝึกอบรมลูกเสอื วิสามัญ
2.2 แนวทางการฝกึ อบรมรว฾ มกันทงั้ กอง
2.3 วิธเี ขียนโครงการ
2.4 การสรุปรายงานผลการดาํ เนินงานโครงการ

3. สอื่ การเรยี นรู้
3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 ใบความร฿ู
3.3 เรื่องส้นั ทเ่ี ป็นประโยชนโ

4. กจิ กรรม
4.1 กจิ กรรมคร้งั ที่ 1
1) พิธีเปิดประชุมกอง (ชักธงขึน้ สวดมนตโ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลงหรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคกโ ารเรียนร฿ู
(1) ผ฿ูกํากับลกู เสอื และลกู เสอื รว฾ มกนั ร฿องเพลง “ชว฾ ยกันทาํ งาน”
(2) ผู฿กํากับลูกเสอื และลกู เสือรว฾ มกนั สนทนาและวิเคราะหโหาจดุ หมาย และประโยชนโ

จาก “เพลงงานสิ่งใด”
(3) ผ฿ูกาํ กับลกู เสือแบง฾ ลูกเสอื ออกเปน็ กลม฾ุ ยอ฾ ย กล฾ุมละ 3-4 คน ให฿แต฾ละกลมุ฾ ร฾วมกนั

อภปิ รายและวเิ คราะหเโ สนอความต฿องการฝกึ อบรมในการเป็นลกู เสอื วสิ ามัญ
(4) ผแ฿ู ทนลกู เสอื แตล฾ ะกลม฾ุ สง฾ ผ฿แู ทน รายงานผลการอภิปราย
(5) ผูก฿ าํ กับลูกเสือมอบใบความรูใ฿ หล฿ ูกเสอื ร฾วมกันศึกษา เรอื่ ง วธิ ีการฝึกอบรมลกู เสอื

วิสามัญ และใหล฿ กู เสอื แต฾ละคนสรุปความตอ฿ งการฝกึ อบรมของตนเองเสนอผู฿กาํ กับลกู เสอื

คมู่ อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือวสิ ามัญ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 203
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื วิสามญั ปชรั้นะมกัธายศมนศยี ึกบษัตารปวีทิชี่ า4ชีพ 1
198 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ 1

(6) ผกู฿ าํ กบั ลกู เสอื รวบรวมความต฿องการฝึกอบรมของลกู เสือเพื่อเป็นขอ฿ มลู ในการจัด
กจิ กรรมตอ฾ ไป

4) ผู฿กํากบั ลูกเสอื เลา฾ เรอ่ื งสั้นที่เป็นประโยชนโ
5) พธิ ปี ิดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธงลง เลกิ )

4.2 กิจกรรมครงั้ ท่ี 2
1) พธิ ีเปิดประชมุ กอง (ชักธงขน้ึ สวดมนตโ สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลงหรือเกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคโการเรียนรู฿
(1) ผู฿กํากบั ลกู เสือและลูกเสือร฾วมกันสนทนาเกย่ี วกบั ผลการสํารวจความตอ฿ งการ

ฝกึ อบรมของลกู เสอื วสิ ามัญแตล฾ ะคน
(2) ผ฿ูกํากับลูกเสือให฿ลูกเสอื ศกึ ษาใบความรู฿ เรอ่ื ง “การฝกึ อบรมรว฾ มกนั ทัง้ กอง”
(3) ผู฿กาํ กับลกู เสอื และลูกเสอื ร฾วมกนั อภิปรายสรุปแนวทางการฝึกอบรมรว฾ มกันทั้งกอง

4) ผูก฿ ํากับลกู เสอื เล฾าเร่ืองสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชนโ
5) พธิ ีปดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลิก)

4.3 กจิ กรรมคร้ังที่ 3
1) พธิ ีเปิดประชุมกอง (ชกั ธงขนึ้ สวดมนตโ สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคกโ ารเรียนรู฿
(1) ผ฿กู ํากับลูกเสือนาํ ลกู เสอื อภิปรายเกย่ี วกบั การทาํ งาน
(2) ผู฿กาํ กบั ลกู เสอื บรรยาย วธิ ที าํ โครงการ วิธรี ายงานผลการดําเนนิ โครงการ
(3) ผู฿กํากบั ลูกเสือให฿ลกู เสอื ศกึ ษาใบความรู฿ วธิ เี ขยี นโครงการ
(4) ผ฿ูกาํ กับลกู เสอื และลูกเสอื ร฾วมกันอภปิ รายสรปุ การเขียนโครงการ การดาํ เนิน

โครงการ การประเมินและการรายงานผล
(5) ผก฿ู าํ กับลกู เสือสรปุ และมอบหมายงาน

4) ผก฿ู าํ กบั ลูกเสอื เล฾าเร่ืองสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชนโ
5) พิธีปิดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ )

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกตความร฾วมมือในการปฏิบตั กิ จิ กรรม
5.2 สังเกตกระบวนการคิดจากโครงการ

204 คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 199

คปู่มรือะสก่งาเสศรนมิ ยี แบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพิจก1รรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วิสามญั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ 1

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 21

เพลง ช่วยกันทางาน
แมใ฿ ครละเลยทิ้งปลอ฾ ย
งานสิ่งใด งานสิ่งใด
มวั แตค฾ อย เฝาฺ แต฾คอย หวังคอยแตเ฾ กี่ยงโยนกลอง
ไมม฾ เี สรจ็ ไม฾มเี สร็จรับรอง จาํ ไวท฿ ุกคนตอ฿ ง
ทํางานเราตอ฿ งชว฾ ยกนั ช฾วยกนั ชว฾ ยกัน ช฾วยกัน

มองคนในแงด่ ี

มองคนในแง฾ดี เราจะมีอารมณแโ จม฾ ใส
มองคนในแง฾ร฿าย พาจติ ใจเราให฿ขนุ฾ มวั
เป็นธรรมดาของคน มีสิ่งปะปนทัง้ ดีและช่วั

* มองความดขี องเขาใหท฿ ั่ว (ซ้าํ ) สว฾ นความชัว่ เรามองขา฿ มไป

อย่าเกียจครา้ น

อย฾าเกยี จคร฿าน การทํางานนะพวกเรา
งานหนกั งานเบา เหน่ือยแลว฿ เราพกั ผอ฾ นกห็ าย
ไมท฾ าํ งานหลบหลกี งาน เฝฺาเกยี จคร฿านเอาแต฾สบาย
แก฾จนตายขอทาํ นายว฾าไมเ฾ จริญ แกจ฾ นตายขอทาํ นายว฾าไมเ฾ จรญิ

คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสือวสิ ามัญ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 205
คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือวสิ ามญั ปชรนั้ ะมกัธายศมนศียึกบษัตารปวที ชิ ี่ า4ชีพ 1
200 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 1

ใบความรู้ วธิ กี ารฝกึ อบรมลกู เสอื วสิ ามญั

1. การฝกึ อบรมร฾วมกันท้ังกอง เพือ่ เป็นการสง฾ เสริม การพฒั นาลกู เสือวิสามญั ในเรอ่ื งสตปิ ญั ญา
จิตใจ ศลี ธรรม การสงั คมและอน่ื ๆ ควรมีการฝกึ อบรมร฾วมกนั ท้ังกอง โดยใหล฿ กู เสอื วิสามัญ และเตรียม

ลกู เสือวิสามัญทุกคน ประกอบกจิ กรรมต฾าง ๆ ในวนั ประชุมประจาํ สัปดาหโ ตามทค่ี ณะกรรมการประจาํ
กองเปน็ ผ฿วู างแผนและกําหนดไวล฿ ฾วงหนา฿ เป็นเวลาอย฾างนอ฿ ย 3 เดอื น ด฿วยความเห็นชอบของผก฿ู าํ กบั
ลกู เสือ และทปี่ ระชุมลูกเสือวสิ ามญั

ลกู เสอื วสิ ามัญรวมท้งั เตรยี มลูกเสือวิสามัญ ควรมกี าํ หนดการฝกึ อบรมรว฾ มกนั ทง้ั กอง
ดังกลา฾ วขา฿ งต฿น คนละหนงึ่ ชุดพรอ฿ มท้งั กําหนดวนั เวลา และสถานทป่ี ระชุมประจําสปั ดาหดโ ว฿ ย

การฝึกอบรมร฾วมกันทง้ั กองนี้มปี ระโยชนมโ าก ทาํ ใหล฿ กู เสอื วสิ ามญั เกดิ ความสนใจและ

สนกุ ย่งิ ขน้ึ ในการเข฿ามาเปน็ ลูกเสอื วิสามญั เพราะเป็นกิจกรรมของเขา ทเ่ี ขาได฿ชว฾ ยกันจัดทาํ ขน้ึ และเพื่อ
ประโยชนขโ องเขาเอง

2. การฝกึ อบรมเพ่อื รับเครอื่ งหมายลูกเสอื โลก สาํ หรบั เตรยี มลกู เสอื วสิ ามญั ซง่ึ ควรจะสอบได฿
ภายในระยะเวลาไมเ฾ กิน 6 เดอื น นบั แตว฾ ันสมคั ร

3. การฝึกอบรมเพื่อรับเครอื่ งหมายวชิ าพเิ ศษลกู เสือวสิ ามญั สาํ หรับผท฿ู ผ่ี ฾านการฝึกอบรมตาม
หลกั สูตรเครอ่ื งหมายลกู เสอื โลกมาแลว฿ และไดเ฿ ขา฿ พธิ ปี ระจาํ กองแลว฿

4. การรบั หนา฿ ทีใ่ นคณะกรรมการประจํากอง หรือพ่เี ลีย้ งเปน็ การฝกึ อบรมทสี่ ําคัญสว฾ นหนึ่งของ
การฝึกอบรมลกู เสอื วสิ ามัญ

กรรมการประจํากองมีหนา฿ ท่ีดังน้ี
1. วางแผนและจัดกิจกรรมในวันประชมุ กองประจาํ สปั ดาหโ

2. ในกรณที ่ีมกี จิ กรรมพิเศษ อาจพิจารณาแต฾งตงั้ ลกู เสอื วิสามญั ในกองคนหนง่ึ ให฿เป็นหวั หนา฿
กจิ กรรมนั้น

3. บรหิ ารกจิ การภายในกองลูกเสอื
4. รักษาเกียรตขิ องกองลกู เสอื
5. ควบคมุ การรบั จา฾ ยเงินของกองลกู เสอื
6. ใหป฿ ระธานหรือผ฿แู ทนทไ่ี ดร฿ บั มอบหมายเป็นผแู฿ ทนกองในการตดิ ต฾อกบั บคุ คลภายนอก

7. จัดใหม฿ คี ูหา (Den) ของกอง ขนาดอยา฾ งน฿อย 4x6 เมตร เพือ่ ใช฿เป็นสถานทอ่ี เนกประสงคขโ อง
กอง

8. คดั เลอื กลกู เสอื วสิ ามญั อาวุโส 1 หรอื 2 คน ที่รอบรู฿งานลูกเสือวิสามัญ เพอื่ ใหท฿ าํ หนา฿ ที่พ่ี
เล้ียง (Sponsor) เตรียมลกู เสือวิสามัญ (Rover Squire) แต฾ละคน จนกวา฾ เตรียมลกู เสอื วสิ ามัญนนั้ จะผ฾าน
หลกั สูตรลูกเสอื โลก การสาํ รวจตวั เอง (Vigil) และไดเ฿ ข฿าประจาํ กอง (Investiture) เปน็ ลูกเสือวิสามัญ

(Rover Scout) โดยสมบรู ณโ

206 คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสือวสิ ามญั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 201

คปมู่ รือะสกง่ าเสศรนมิ ยี แบลัตะพรวฒั ชิ นาาชกีพิจก1รรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื วิสามัญ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1

งานสาํ คญั อยา฾ งหน่ึงของกองการฝกึ อบรมลูกเสอื วิสามัญ คอื การรบั หนา฿ ทเี่ ป็นกรรมการประจาํ
กอง เพอ่ี ช฾วยกนั ดาํ เนินงานของกอง ภายใต฿การนาํ และควบคุมดแู ลของผ฿ูกาํ กบั ลูกเสอื

บทบาทของพเี่ ล้ียง
พ่เี ลี้ยงมหี น฿าทด่ี ังน้ี
1. เปน็ เพือ่ นท่ีดหี รอื เป็นพี่ท่ีมคี วามปรารถนาดตี ฾อเตรยี มลกู เสอื วสิ ามัญใหม฾ ซ่ึงเปรียบเสมอื น

น฿อง และอาจจะยงั ไม฾เข฿าใจว฾าควรปฏิบตั หิ รอื บําเพ็ญตนอย฾างไรในกองลูกเสอื วสิ ามญั
2. เป็นตวั อยา฾ งที่ดตี อ฾ เตรยี มลกู เสือวิสามัญใหมใ฾ นเร่อื งต฾าง ๆ โดยท่ัวไป
3. ช฾วยเหลือชี้แจงแนะนาํ เตรียมลกู เสอื วิสามญั ในเรอื่ งธรรมเนยี มประเพณขี องกอง
4. ช฾วยเหลอื ชีแ้ จงแนะนาํ เตรียมลูกเสอื วิสามญั ในการฝกึ อบรมตามหลกั สูตรเครอ่ื งหมายลกู เสอื

โลก
5. เปน็ ผม฿ู ีบทบาทสาํ คัญในพธิ เี ข฿าประจํากองของเตรียมลกู เสอื วสิ ามัญทตี่ นได฿รับมอบหมายให฿

เป็นพเ่ี ลีย้ ง
ผ฿ทู ไี่ ดร฿ ับมอบหมายใหท฿ าํ หนา฿ ทีพ่ ี่เลยี้ งเตรยี มลกู เสือวสิ ามญั ใหม฾ ควรถือวา฾ เปน็ งานทมี่ เี กยี รติ

และควรปฏบิ ตั หิ นา฿ ทีต่ ามทไ่ี ด฿รับมอบหมายอยา฾ งจริงจงั นอกจากนนั้ การรับหนา฿ ทนี่ ีย้ ังมปี ระโยชนโแก฾ตัว
พ่เี ลย้ี งเอง คอื เทา฾ กับเปน็ การฝึกอบรมในเรอ่ี งการเปน็ ผู฿นํา นอกจากนน้ั ยงั เป็นการชว฾ ยเหลอื งานของ
กองลกู เสอื วสิ ามญั ในการฝึกอบรมเตรียมลกู เสอื วิสามัญใหม฿ คี ณุ ภาพและเปน็ กาํ ลังของกองต฾อไปอีก
ด฿วย

ลูกเสอื วิสามญั ทุกคนในกอง ควรมโี อกาสได฿รับมอบหมายให฿ทําหน฿าทพ่ี ีเ่ ล้ยี งอยา฾ งน฿อยครัง้ หนง่ึ
ในโอกาสอันสมควร

คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 207
คูม่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือวสิ ามญั ปชรน้ั ะมกธัายศมนศยี กึ บษตั ารปวีทชิ ี่ า4ชีพ 1
202 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 1

แนวทางการฝึกอบรมลูกเสือวิสามัญรว่ มกนั ท้งั กอง

การฝกึ อบรมร฾วมกันทงั้ กอง เปน็ การสง฾ เสรมิ และการพฒั นาลกู เสอื วิสามัญในเรอ่ื ง

สติปัญญา จิตใจ ศีลธรรม การสังคมและอื่น ๆ โดยให฿ลูกเสือวิสามัญและเตรียมลูกเสือวิสามัญทุกคน

ประกอบกจิ กรรมต฾าง ๆ ในวนั ประชุมประจาํ สัปดาหโ ตามท่ีคณะกรรมการประจํากองเป็นผ฿ูวางแผนและ

กาํ หนดไวล฿ ว฾ งหนา฿ เปน็ เวลาอยา฾ งนอ฿ ย 3 เดอื น ดว฿ ยความเห็นชอบของผ฿กู ํากบั ลูกเสือ และท่ีประชุม

ลกู เสอื วิสามญั รวมทง้ั เตรยี มลกู เสือวิสามัญ
ลกู เสือวิสามญั และเตรียมลกู เสอื วิสามญั ทกุ คนควรมกี ําหนดการฝึกอบรมร฾วมกันทั้งกองคน

ละหน่งึ ชุด พร฿อมทั้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ประชุมประจําสัปดาหโด฿วย เพื่อประโยชนโในการทํา
กจิ กรรมของลูกเสือวิสามญั แต฾ละคน

การประกอบกิจกรรมร฾วมกันท้ังกองน้ี มีกิจกรรมให฿ลูกเสือวิสามัญกระทําได฿ได฿มากมาย
หลายอย฾าง ตามความคดิ และความตอ฿ งการของกองลกู เสอื วิสามญั

ข฿อเสนอแนะในการทาํ กจิ กรรมร฾วมกันของลูกเสือวิสามัญ อาจดําเนินการจัดกิจกรรมหรือ
โครงการ ดังนี้

1. การฝกึ อบรมด้วยกัน
ลกู เสือวสิ ามญั อาจรวมตวั กันเขา฿ รบั การฝกึ อบรมดว฿ ยกนั ในในหลักสูตรวชิ าการต฾าง ๆ เชน฾
1.1 สมคั รเขา฿ รับการฝกึ อบรมผกู฿ าํ กับลกู เสอื ขั้นความร฿ทู ่ัวไป และขนั้ ความร฿เู บ้อื งต฿น

ประเภทลูกเสือสาํ รอง ลกู เสอื สามญั และลูกเสอื สามัญรนุ฾ ใหญ฾
1.2 ฝึกอบรมในการปฏิบตั ิกจิ กรรมทกั ษะทางวชิ าลกู เสือ เชน฾ การเดนิ ทางไกล การ

อย฾คู า฾ ยพกั แรม การบุกเบกิ การสํารวจ การบาํ เพญ็ ประโยชนเโ พอื่ สว฾ นรวม ชมุ ชน สังคมและชาติ

บ฿านเมืองกจิ กรรมกลางแจง฿ การเลน฾ กีฬา การปฏิบัตติ ามคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื และการ

“บรกิ าร” ตามคติพจนโของลูกเสอื วสิ ามัญ

1.3 ฝึกอบรมในเรอ่ื งสําคญั ต฾าง ๆ ที่ลกู เสือวสิ ามญั ควรร฿ู เช฾น การวา฾ ยนาํ้ การปฐม

พยาบาลในระดับความรขู฿ ัน้ สงู การขบั ขี่รถจกั รยานและรถจักรยานยนตโ การขบั รถยนตโ การขบั เรือยนตโ

การยงิ ปืน การถา฾ ยรูป การช฾างต฾าง ๆ เช฾น ไฟฟาฺ คอมพิวเตอรโเบอื้ งตน฿ ร฿ูจกั ใช฿และสามารถแก฿

เครอื่ งวทิ ยุ เครอ่ื งโทรทศั นโ เครอ่ื งปรบั อากาศหรอื อุปกรณเโ ครอ่ื งใชไ฿ ฟฟฺาทม่ี ีขอ฿ บกพร฾องเล็กนอ฿ ยได฿

2. การทาส่ิงของตา่ ง ๆ ดว้ ยกัน

เปน็ การจัดทาํ ทดลองใชอ฿ ปุ กรณโและพฒั นาทกั ษะทางวชิ าลูกเสือ เชน฾ การอยค฾ู ฾ายพัก

พแกรั มแรมกากราบรกุบเกุ บเกบิ กิ กกาารรททํา�ำสสะะพพาานนเเชชือื ก บบนั ันไไดดเเชชอื อื กกทพท่ี พีกั แกั รแมรมการกทา�รำแทผาํ นแผทน่ี หทนุ่ ี่ จห�ำุ฾นลอจงาํ ลอง

การทําทหี่ ุงตม฿ อาหาร การครัว การจัดโตเะอาหาร และการรบั ประทานอาหารดว฿ ยกนั การเตรยี มการ

แสดงสาํ หรับการชุมนมุ รอบกองไฟ การทาํ ส่ิงของต฾าง ๆ ด฿วยกนั ตามโครงการ เช฾น การกอ฾ สรา฿ ง และ

208 คูม่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามัญ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 203

คมู่ปือรสะกง่ เาสศรนิมยีแลบะตั พรฒัวิชนาาชกีพิจก1รรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื วิสามัญ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ 1

การจัดคหู าลกู เสอื วสิ ามญั การสรา฿ งศาลาทพ่ี กั คนเดินทาง การตอ฾ เรือ การสร฿างและจดั ทาํ เรอื นเพาะชํา
ฯลฯ

3. การเรยี นรดู้ ว้ ยกัน
เป็นการพัฒนาองคโความรู฿เพื่อการเป็นพลเมืองของประเทศ เช฾น การเชิญผู฿ทรงคุณวุฒิมา
บรรยาย หรือเลา฾ เร่ืองตา฾ ง ๆ ที่ลูกเสือวิสามัญสนใจ เช฾น การอาชีพ งานอดิเรก การศาสนา วัฒนธรรม
การต฾างประเทศโดยเฉพาะประเทศที่มีความเกี่ยวข฿องกับประเทศไทย การปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ เโ ป็นประมขุ และเรื่องราวเกี่ยวกับพรรคการเมอื งตา฾ ง ๆ ความรู฿เรอ่ื ง
เมืองไทย บคุ คล และสถานที่สําคัญ งานของหนว฾ ยราชการ องคโกร และบรษิ ัทตา฾ ง ๆ
4. การไปเยือนสถานที่ต่าง ๆ ดว้ ยกัน
เปน็ การเดินทางไปทัศนศึกษาหรือเย่ียมเยียนสถานท่ีต฾าง ๆ เช฾น พิพิธภัณฑโ ท฿องฟฺาจําลอง
วดั วาอาราม และสถานท่ีสําคัญ โรงพิมพโ สาํ นกั งานหนังสอื พมิ พโ โรงงานผลิตสนิ คา฿ ตา฾ ง ๆ เช฾น อาหาร
เสือ้ ผ฿า ยารกั ษาโรค เคร่ืองดมื่ เคร่ืองปนั้ ดนิ เผา สถานท่รี าชการ สถานตี าํ รวจ การพจิ ารณาคดขี องศาล
สถติ ยตุ ิธรรม เรือนจํา การไปตา฾ งจงั หวดั เพอื่ เป็นการพักผ฾อน และศึกษาหาความร฿ู
5. การชว่ ยเหลือประชาชนดว้ ยกนั
เป็นภาระหน฿าที่ของลูกเสือวิสามัญท่ีจะให฿การช฾วยเหลือองคโกรการกุศลต฾าง ๆ เช฾น การจัด
สถานที่ การรบั เงนิ บรจิ าคการช฾วยเหลือในการจราจร ผูเ฿ จบ็ ปูวย เด็ก คนชรา ผทู฿ ุพพลภาพท่ีขาดคน
ดูแล การชว฾ ยทําความสะอาดสถานที่โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัด การกําจัดผักตบชวา การช฾วยกัน
คนมใิ ห฿รุกลาํ้ ท่ีหวงห฿ามการชว฾ ยเหลือผ฿ูประสบอุบัติภัย อุบัติเหตุ รวมถึงการร฾วมกิจกรรมเพื่อส฾งเสริม
ศิลปวฒั นธรรม จารีต ประเพณี

คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื วสิ ามญั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 209
คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วิสามัญปชรน้ั ะมกธัายศมนศียึกบษัตารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
204 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ 1

การจัดทาโครงการ

การจัดทาํ โครงการเพื่อดําเนนิ การตามแผนงานอย฾างใดอยา฾ งหนึ่งน้ัน สามารถทาํ ให฿ผปู฿ ฏบิ ัติงาน
ทาํ งานได฿อยา฾ งมขี ัน้ ตอน และมองเหน็ ปญั หาในการทาํ งานไดอ฿ ยา฾ งชัดเจนยง่ิ ข้ึน รวมทง้ั มองเหน็ แนวทาง
ในการแก฿ปัญหาอีกด฿วย การเสนอแนะให฿จัดทําโครงการน้ัน จําเป็นจะต฿องระดมความสามารถ

งบประมาณ และทรัพยากรอื่น ๆ อีกเป็นจํานวนมาก ซ่ึงโครงการบางโครงการอาจไม฾จําเป็นต฿อง
ดาํ เนนิ การของบประมาณสนบั สนนุ เลยกไ็ ด฿ แต฾การเขียนโครงการจะตอ฿ งทําใหถ฿ กู ขัน้ ตอน โดยมีแนวทาง
ในการเขยี นโครงการดงั ตอ฾ ไปน้ี

1. โครงการ คอื งานหรือกจิ กรรมทรี่ ะบรุ ายละเอยี ดตา฾ ง ๆ เพ่อื ทจี่ ะนาํ ไปปฏิบัตใิ ห฿บรรลตุ าม
วตั ถุประสงคโท่ีกําหนดไว฿ในแผน บางครง้ั วัตถุประสงคหโ นง่ึ ๆ อาจจาํ เปน็ ตอ฿ งมีหลายโครงการกไ็ ด฿ แต฾

โครงการหน่งึ ๆ นนั้ จะตอ฿ งมีสว฾ นประกอบทร่ี ะบรุ ายละเอียดอย฾างชัดเจน และมคี วามแน฾นอน ดงั นี้
(1) ชื่อโครงการ
(2) หลักการและเหตุผล

(3) วัตถปุ ระสงคโ
(4) เปาฺ หมาย
(5) วิธดี าํ เนนิ งาน

(6) ระยะเวลา
(7) สถานที่
(8) งบประมาณ
(9) ผ฿รู บั ผิดชอบ
(10) หน฾วยงานที่เกีย่ วขอ฿ ง
(11) การประเมินผล

(12) ผลที่คาดวา฾ จะไดร฿ ับ
2. แนวทางในการเขยี นโครงการ

(1) ชอ่ื โครงการ เปน็ การกาํ หนดชอ่ื โครงการใหเ฿ ฉพาะเจาะจงในเรอ่ื งท่จี ะทาํ
(2) หลักการและเหตผุ ล ควรระบหุ ลักการอย฾างกวา฿ งๆ วา฾ มีความจาํ เป็นและมคี วาม
เหมาะสมอย฾างไรจะให฿ประโยชนอโ ยา฾ งไร

(3) วัตถปุ ระสงคโ คอื ส่งิ ทผ่ี ทู฿ าํ โครงการตอ฿ งการจะได฿รบั และผลตอ฾ เน่ืองของโครงการน้นั
(4) เปาฺ หมาย คือ การระบปุ ริมาณ คุณภาพ และขอบข฾ายงานทีจ่ ะทาํ
(5) วิธีดาํ เนนิ งาน เปน็ การบอกรายละเอียดของการดําเนินงาน หรือวธิ ดี าํ เนนิ งานให฿
บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคโ เรมิ่ ตัง้ แต฾การเตรียมงาน การศึกษาและสํารวจขอ฿ เท็จจรงิ ตา฾ งๆ การเสนอขอ
อนมุ ัติโครงการ การเร่ิมงาน จนถงึ การปฏบิ ัติงานและการสรปุ รายงานผล
(6) ระยะเวลา เป็นการกําหนดวนั เรมิ่ โครงการ วนั ส้นิ สุดโครงการ หรือ ชว฾ งเวลาที่
ดําเนินการ

210 คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามัญ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 205

คป่มู รือะสก่งาเสศรนมิ ียแบลัตะพรวัฒชิ นาาชกีพิจก1รรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามัญ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 1

(7) สถานที่ การระบสุ ถานท่ี หรอื บรเิ วณท่จี ะทําโครงการ
(8) งบประมาณ แยกงบประมาณรายรบั รายจ฾ายทง้ั หมดไว฿ให฿ละเอยี ดทสี่ ดุ เท฾าทจ่ี ะทาํ ได฿
(9) ผู฿รบั ผดิ ชอบ ระบุชือ่ ผทู฿ าํ ให฿ชดั เจนว฾าใคร หรือหนว฾ ยงานใดท่ีรับผิดชอบโครงการนนั้
(10) หน฾วยงานทเี่ ก่ยี วขอ฿ ง คอื หน฾วยหลักที่ชว฾ ยสง฾ เสริม สนบั สนนุ ใหก฿ ารดาํ เนนิ งาน
ตามโครงการสําเร็จลลุ ว฾ ง

(11) การประเมนิ ผล การบอกแนวทางในการประเมนิ ผลว฾าจะทาํ อย฾างไร และทาํ ใน
ช฾วงเวลาใด

(12) ผลที่คาดวา฾ จะไดร฿ ับ การระบุผลของโครงการทคี่ าดวา฾ เมอ่ื เสรจ็ สิน้ โครงการ

ตวั อยา่ งแบบฟอรม์ การเขียนโครงการ

1. ชื่อโครงการ

........................................................................................................................................................
2. หลักการและเหตผุ ล

........................................................................................................................................................

3. วัตถุประสงคโ
3.1 .........................................................................................................................................
3.2 .........................................................................................................................................
3.3 .........................................................................................................................................

4. เปาฺ หมาย

4.1 .........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

4.2 .........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
5. วิธดี ําเนนิ งาน

5.1 .........................................................................................................................................

5.2 .........................................................................................................................................
5.3 .........................................................................................................................................
6. สถานท่ี
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
7. ระยะเวลา

........................................................................................................................................................

ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสอื วสิ ามญั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 211
คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วิสามัญปชรัน้ ะมกัธายศมนศียกึ บษตั ารปวที ชิ ี่ า4ชีพ 1
206 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี 1

8. งบประมาณ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

9. ผู฿รบั ผดิ ชอบโครงการ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

10. หน฾วยงานทีเ่ กย่ี วขอ฿ ง
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

11. การประเมนิ ผล
11.1 .......................................................................................................................................
11.2 .......................................................................................................................................

12. ผลท่คี าดวา฾ จะได฿รบั
12.1 .......................................................................................................................................
12.2 .......................................................................................................................................
12.3 .......................................................................................................................................

ลงชื่อ..............................................ผู฿เสนอโครงการ
(............................................)

ลงช่ือ...........................................ท่ปี รึกษาโครงการ
(...........................................)

ลงช่ือ........................................ผ฿เู ห็นชอบโครงการ
(..........................................)

ลงชอ่ื ............................................ผอ฿ู นุมตั ิโครงการ
(..........................................)

212 คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามญั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 207

คปูม่ รอื ะสกง่ าเสศรนิมยี แบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื วิสามญั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ 1

ตวั อยา่ งโครงการ

1. ช่อื โครงการ โครงการอนรุ ักษสโ งิ่ แวดลอ฿ ม(กจิ กรรมปลูกต฿นไมใ฿ นท่สี าธารณะ)
2. หลักการและเหตผุ ล

ดว฿ ยสภาพในปัจจุบันมีจาํ นวนประชากรเพมิ่ มากขึน้ ทําให฿ทรัพยากรต฾าง ๆ ทมี่ อี ยถู฾ กู ใช฿ไป

อย฾างสนิ้ เปลอื งจนนา฾ วิตก สภาพตน฿ ไม฿ถูกทาํ ลายลง บ฿านเมืองขยายตัวออกไปอยา฾ งรวดเร็ว ทําให฿
ประชาชนทอี่ าศยั อย฾ูในชมุ ชนในเมืองขาดร฾มเงาจากต฿นไมส฿ าํ หรับพกั ผ฾อนหย฾อนใจ ดังนนั้ จงึ ควรสง฾ เสริม
ให฿มีการปลูกต฿นไม฿เพอื่ ใหเ฿ กิดสภาพแวดล฿อมทร่ี ม฾ ร่นื รม฾ เยน็ เพอ่ื ชว฾ ยรักษาสภาพแวดลอ฿ มทางธรรมชาติ
ทางออ฿ ม รวมทงั้ ยังเปน็ การฝึกให฿ลกู เสอื เกิดความรักและหวงแหนในต฿นไม฿ จงึ เห็นสมควรให฿มโี ครงการน้ี
ข้ึน

3. วตั ถุประสงคโ
3.1 เพอ่ื ให฿มตี น฿ ไมเ฿ ปน็ รม฾ เงาสําหรบั พกั ผ฾อนหย฾อนใจ
3.2 เพอื่ ใหล฿ กู เสอื ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของการปลูกตน฿ ไมว฿ ฾ามปี ระโยชนตโ ฾อมนษุ ยโและสตั วโ

3.3 ให฿ลูกเสือไดม฿ โี อกาสบําเพญ็ ประโยชนตโ อ฾ ชุมชนและสงั คม
3.4 ฝกึ ให฿ลกู เสือมีทกั ษะในการปลูกต฿นไม฿ยง่ิ ขนึ้
4. เปฺาหมาย

4.1 เชิงปริมาณ ลกู เสอื ปลกู ต฿นไมอ฿ ยา฾ งน฿อยคนละ 1 ต฿น
4.2 เชงิ คุณภาพ ลกู เสอื มสี ฾วนรว฾ มในการปลกู ต฿นไมแ฿ ละบาํ รงุ รกั ษาตน฿ ไม฿ท่ตี นปลูก
5. วธิ ีดําเนนิ งาน
5.1 ประชมุ วางแผนการปลกู ต฿นไม฿ร฾วมกบั สมาชกิ กองลูกเสือวิสามัญ
5.2 ตดิ ต฾อขอพนั ธโกุ ล฿าไมจ฿ ากศนู ยเโ พาะชํากล฿าไม฿
5.3 จัดสภาพแวดลอ฿ มบรเิ วณท่ีจะปลูกตน฿ ไม฿ ติดปาฺ ยโฆษณาใหบ฿ คุ คลทวั่ ไปทราบ และขอ

ความร฾วมมอื ในการบํารงุ รักษาต฿นไม฿
5.4 ให฿ลูกเสอื จดั เตรยี มเคร่ืองมอื และอาหารไปใหพ฿ รอ฿ ม
5.5 ลงมอื ปฏิบัตกิ าร
5.6 สรปุ และประเมินผล

6. สถานที่

สวนสาธารณะ วัด หรอื โรงเรียน
7. ระยะเวลา

ระหว฾างเดอื นพฤษภาคม ถึง มิถุนายน
8. งบประมาณ

ใช฿เงนิ บริจาคจาํ นวน 3,000 บาท
9. ผ฿ูรับผิดชอบโครงการ

ผ฿เู สนอโครงการรว฾ มกับสมาชิกกองลกู เสอื วสิ ามัญ

คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามัญ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 213
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือวสิ ามัญปชรน้ั ะมกัธายศมนศียกึ บษัตารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
208 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ 1

10. หน฾วยงานทีเ่ ก่ียวขอ฿ ง
ศูนยโเพาะชาํ กลา฿ ไม฿

11. การตดิ ตาม ประเมินผล
สังเกตพฤตกิ รรมของลูกเสอื

12. ผลท่ีคาดว฾าจะไดร฿ ับ

จะมตี น฿ ไม฿เพมิ่ ข้นึ ในสวนสาธารณะ วัด โรงเรยี น และทาํ ใหม฿ รี ฾มเงาของตน฿ ไม฿สําหรับ
พกั ผ฾อนหย฾อนใจ

แบบประเมินการปฏิบตั กิ ิจกรรม

ชือ่ วชิ า การจัดทาํ โครงการ
ช่ือกล฾ุม ...............................................................................................................................................

ขอ฿ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
(4) (3) (2) (1)
1 การมีส฾วนร฾วมของสมาชกิ
2 ความคดิ รเิ รม่ิ สรา฿ งสรรคโ
3 ความถกู ตอ฿ งของการจัดทาํ โครงการ
4 วิธีการนาํ เสนอ
5 ความเปน็ ไปได฿ของโครงการ

รวม

............................................................
(..........................................................)

ผ฿กู าํ กับลกู เสือ

214 คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามญั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 209

คปมู่ รอื ะสกง่ าเสศรนิมียแบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพิจก1รรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือวสิ ามัญ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 1

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

หวั ขอ฿ ทป่ี ระเมนิ ระดับคุณภาพ/คะแนน

ดมี าก (4) ดี (3) พอใช฿ (2) ปรับปรงุ (1)
สมาชิก 3 คนข้ึน
1.การมสี ฾วนรว฾ ม ทุกคนมีส฾วนรว฾ ม สมาชกิ 1 คน สมาชกิ 2 คน ไปไม฾ไดม฿ ีส฾วนร฾วม
ปฏิบัติไมไ฾ ดเ฿ ลย
ของสมาชกิ ไม฾ไดม฿ ีส฾วนรว฾ ม ไม฾ได฿มีส฾วนรว฾ ม
ผดิ 5 ขอ฿ ขน้ึ ไป
2. ความคิดรเิ รม่ิ 1.ใหมไ฾ มซ฾ าํ้ ใคร ปฏิบตั ไิ ด฿ 2 ขอ฿ ปฏบิ ัติได฿ 1 ขอ฿
สร฿างสรรคโ 2.มปี ระโยชนโ ใน 3 ขอ฿ ใน 3 ขอ฿ ปฏิบตั ไิ ด฿ 1 ขอ฿

3.ประยกุ ตเโ ปน็ ปฏิบตั ไิ ด฿ 1 ขอ฿

รูปแบบใหม฾

3. ความถกู ตอ฿ ง ถูกต฿องทุกขัน้ ตอน ผิด 1 – 2 ขอ฿ ผดิ 2 – 4 ขอ฿

ของการจดั ทาํ ตามแนวทางการ

โครงการ จัดทาํ โครงการ

4. วธิ กี ารนําเสนอ 1.นาํ เสนอนา฾ สนใจ ปฏิบตั ิได฿ 2 ข฿อ ปฏิบัตไิ ด฿ 2 ขอ฿

2.เสยี งดงั ฟังชัดเจน

3.วาจาสภุ าพ

4.ตามกําหนดเวลา

5. ความเปน็ ไปได฿ 1.ปฏบิ ัติไดจ฿ ริง ปฏบิ ตั ิได฿ 3 ข฿อ ปฏบิ ตั ไิ ด฿ 2 ข฿อ

ของโครงการ 2.มีประโยชนโ

3.มคี วามคม฿ุ คา฾
4.ยดึ หลักเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื วสิ ามัญ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 215
ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือวิสามญั ปชร้นั ะมกัธายศมนศยี ึกบษตั ารปวที ิช่ี า4ชีพ 1
210 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ 1

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือวิสามัญ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4,ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช. 1)

หน่วยที่ 12 การฝกึ อบรมร่วมกนั ทั้งกอง เวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 22 การสารวจชุมชนวิถีไทยและภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ

1. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1.1 ลูกเสอื สามารถอธบิ ายลกั ษณะสาํ คญั วธิ ีการหาขอ฿ มลู โดยการสาํ รวจชุมชนวถิ ไี ทย และภมู ิ

ปัญญาทอ฿ งถ่ินได฿
1.2 ลูกเสอื สามารถบอกวธิ รี ฾วมปฏิบตั ิงานกับชมุ ชนวถิ ีไทยและภมู ิปัญญาทอ฿ งถนิ่ ได฿

2. เนอื้ หา
2.1 ความหมายลักษณะสาํ คญั ของชุมชน วิถไี ทยและภมู ิปัญญาทอ฿ งถิน่
2.2 แนวทางการบันทึกสาํ รวจชุมชน และขอ฿ มูลทีค่ วรสํารวจ
2.3 วธิ หี าข฿อมลู โดยการสํารวจชุมชน วิถีไทย และภมู ิปัญญาท฿องถน่ิ

3. สอ่ื การเรียนรู้
3.1 เกม
3.2 ใบความรู฿
3.3 เร่ืองสน้ั ท่เี ป็นประโยชนโ

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ ีเปดิ ประชุมกอง (ชกั ธงขึ้น สวดมนตโ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลงหรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคโการเรยี นร฿ู
1) ผ฿ูกํากบั ลูกเสอื จัดให฿มีการอภปิ รายกลม฾ุ กนั อยา฾ งสั้นๆถึงความเก่ียวขอ฿ งทค่ี นวยั หนม฾ุ สาว

อาจเขา฿ ไปเกยี่ วข฿องกับชมุ ชนวิถไี ทย ปัญญาทอ฿ งถ่ินและความจําเป็นทจ่ี ะตอ฿ งเขา฿ ไปบรกิ าร ผลประโยชนโ
ผลเสีย ความตอ฿ งการและการใหบ฿ รกิ ารอนั เปน็ วถิ ไี ทยและภูมิปญั ญาทอ฿ งถ่นิ

2) ลูกเสอื แต฾ละหมหู฾ รอื แต฾ละกลุ฾ม ศึกษาใบความร฿ู หมหู฾ รือกลม฾ุ ละหวั ข฿อ และนําเสนอ
(1) ความหมายและลกั ษณะสาํ คัญของชมุ ชน วถิ ไี ทย ภูมิปญั ญาไทย
(2) แนวการบนั ทกึ สาํ รวจชุมชน และข฿อมลู ที่ควรสํารวจ
(3) แนวการบนั ทึกเย่ียมเยอื นและข฿อมลู ทีค่ วรสอบถาม

3) ลกู เสอื แต฾ละหมหู฾ รือกลมุ฾ อภิปรายรว฾ มกันออกแบบการสํารวจ ออกแบบการเยยี่ มเยอื น
นําเสนอผลงาน

4) ลูกเสือแต฾ละหมห฾ู รอื กลมุ฾ ออกปฏบิ ัติการสํารวจเยีย่ มเยือนชมุ ชน วถิ ไี ทย และภูมิปญั ญา
ท฿องถน่ิ รอบ ๆ สถานศึกษา ระยะทางไมเ฾ กิน 1 กโิ ลเมตร (20 - 40 นาที)

5) ลกู เสือแตล฾ ะหมห฾ู รอื กลมุ฾ กลบั มานาํ เสนอว฾าได฿ขอ฿ มลู พบเหน็ อะไรมาบ฿าง หมห฾ู รือกลมุ฾
ละ 3 นาที

216 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือวสิ ามัญ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 211

คป่มู รือะสกง่ าเสศรนมิ ียแบลตัะพรวฒั ิชนาาชกีพจิ ก1รรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วิสามญั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี 1

6) ผูก฿ าํ กับลูกเสอื และลกู เสอื ร฾วมกันสรุป ประโยชนขโ องการสาํ รวจชุมชน วิถไี ทยและภมู ิ
ปญั ญา และการนาํ ข฿อมูลจากการสํารวจสู฾การบรกิ ารอยา฾ งไร

4.4 ผูก฿ ํากับลูกเสอื เลา฾ เรอ่ื งสนั้ ที่เป็นประโยชนโ
4.5 พธิ ีปิดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลกิ )

5. การประเมนิ ผล
5.1 สงั เกตความร฾วมมือในการปฏิบตั กิ จิ กรรม
5.2 สงั เกตกระบวนการคดิ จากการอภิปราย

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 22
เกม

ระวงั หางของทา่ น
ให฿ลกู เสอื ใช฿ผา฿ ผกู คอเหน็บทเ่ี ขม็ ขดั ดา฿ นหลังหรอื ในขอบกางเกง โดยใหช฿ ายแลบออกมาเป็นหาง
เมือ่ ลกู เสอื กระจายในสนามดีแล฿ว ผก฿ู ํากบั ลูกเสอื ให฿สัญญาณ ลกู เสือทกุ คนตอ฿ งพยายามดงึ หางของคน
อื่น โดยระวังไมใ฾ ห฿ลกู เสอื คนอ่นื ดงึ หางของตนไปได฿ คนท่ีหางหลุดแลว฿ ต฿องออกจากการเล฾นทนั ที ใครดงึ
หางคนอ่นื ไดม฿ ากทส่ี ุดเป็นผ฿ูชนะ
ผก฿ู าํ กบั ลูกเสอื ต฿องพยายามไมใ฾ ห฿ลูกเสอื ต฾อสหู฿ รอื ถกู ตวั กนั

ใบความรู้ การสารวจชมุ ชน

เราในฐานะเป็นลูกเสอื วสิ ามญั มีความเป็นหว฾ งเก่ียวกับการช฾วยเหลอื บคุ คลวยั หน฾มุ เพือ่ ให฿เขา “ได฿
เป็นผชู฿ ว฾ ยสร฿างสรรคโสังคมทเ่ี ขาอย฾ู”กลา฾ วคอื ช฾วยใหเ฿ ขาเติบโตขึน้ ในสังคมของเขา ช฾วยใหเ฿ ขาเขา฿ ใจสังคม
ของเขา ชว฾ ยให฿เขาไดท฿ าํ ใหส฿ ังคมของเขาดขี น้ึ กว฾าที่เปน็ อย฾ู

คําว฾า “ชุมชน” อาจนิยามได฿วา฾ “ คอื สภาพตา฾ งๆ ท่อี ยใู฾ กลช฿ ดิ กับทท่ี เี่ ราอย฾ู ทม่ี คี วามสัมพนั ธพโ เิ ศษ
กับเราและเก่ยี วขอ฿ งกบั ความสมั พันธกโ บั บคุ คล สถานที่ และสง่ิ ตา฾ งๆ “สภาพชุมชน” ของแตล฾ ะแห฾ง

อาจจะไมเ฾ หมอื นกนั
เรามิอาจจะช฾วยคนวยั ร฾นุ ใหม฿ ีความเข฿าใจและรับใช฿ “สภาพชุมชน”ของเขาได฿ นอกจากเราเองมคี วาม

เข฿าใจว฾า “สภาพชมุ ชน” ของคนหน฾มุ นน้ั เปน็ อยา฾ งไร
โครงการทใ่ี หเ฿ ขาทาํ จะช฾วยใหเ฿ รามโี อกาส มคี วามร฿ู ความเขา฿ ใจ ในเรอื่ งนไ้ี ด฿

คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลูกเสือวสิ ามญั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 217
คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือวิสามัญปชรน้ั ะมกธัายศมนศยี กึ บษัตารปวที ิชี่ า4ชีพ 1
212 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 1

การสารวจชมุ ชน
โครงการน้ีเป็นโครงการกว฿างใหญ฾มาก ถ฿ามิได฿ให฿ทําโครงการน้ีแล฿ว ก฾อนที่จะถึงตอนอภิปราย

ปัญหาเกี่ยวกับเร่ืองสังคมในตอนท฿ายของการฝึกอบรมท ควรจะต฿องให฿ผ฿ูเข฿ารับการฝึกอบรมทําการ
ประเมนิ สังคมในทอ฿ งทข่ี ึน้ ไว฿ โดยจะตัง้ คาํ ถามคาํ ตอบดงั ที่เสนอแนะไว฿ สําหรับการสํารวจในการประชุม
กลม฾ุ ยอ฾ ย (Duzz Group) และผลการสรปุ งานในท่ีประชมุ ใหญ฾ก็ได฿

พงึ สง฾ เสรมิ ใหผ฿ เู฿ ข฿าการฝกึ อบรมแต฾ละคนทําการสํารวจสงั คมดว฿ ยตัวเอง โดยการสงั เกต โดยการ
อ฿างอิงจากเอกสารต฾างๆ จากห฿องสมุดในท฿องถ่ิน โดยการสอบถามนักสังคมสงเคราะหโ ครูใหญ฾
เจ฿าหน฿าที่เยาวชน ฯลฯ จงช้ีแจงให฿ทุกคนเข฿าใจ และให฿ผลิตเอกสารบันทึกการสํารวจชุมชนตามแนว
ต฾อไปน้ี

ก. พลเมือง
ในชุมชนนั้นมีพลเมอื งเทา฾ ไหร฾ มอี ตั ราส฾วนคนวยั รุ฾นน฾มุ สาว วยั กลางคน และคนแกป฾ ระมาณเทา฾ ไหร฾
มีครอบครัวทส่ี ัมพนั ธดโ ฿วยการสมรสกนั มากไหม ญาติมติ ร เป็นแหล฾งสาํ คญั ในการชว฾ ยเหลอื คนแกแ฾ ละ
เดก็ เล็กเพียงไร

ข. การทางาน

คนในชุมชนน้ันทาํ งานอะไรกนั การทาํ งานอาชพี น้เี ปล่ียนแปลงอะไรบา฿ งไหม คนมีรายไดอ฿ ยา฾ งไร
คนวัยหน฾มุ มโี อกาสจะไดเ฿ ขา฿ ทาํ งานอาชพี บ฿างไหม ภรรยาไปทาํ งานนอกบา฿ นบ฿างไหม คนเดินไปทาํ งาน
จากบ฿านไกลเพยี งไร มกี ารจัดรถรับสง฾ (ส฾วนตวั และสาธารณะ) เพียงพอไหม

ค. ชุมชน

ไดต฿ ง้ั อยนู฾ านแล฿วหรอื พลเมืองทไ่ี ดอ฿ ย฾ูในชุมชนนีเ้ กนิ กวา฾ 20 ปีมาแล฿ว มอี ตั ราสว฾ นเทา฾ ไร มผี ค฿ู น
เทา฾ ไร และผค฿ู นประเภทใดทเ่ี คลื่อนย฿ายออกไปจากชุมชนนี้ สถานทีอ่ ยู฾ บ฿านมแี บบรูปและสภาพเปน็
อย฾างไร โรงเรยี นมจี ํานวนเทา฾ ไร และแบบรปู อย฾างไร

ง. ความสัมพนั ธ์
ประเพณกี ารติดต฾อกนั ระหวา฾ งเพื่อนฝูงและเพอื่ นบา฿ นเป็นอยา฾ งไร มคี วามจงรกั ภกั ดี ความตงึ เครียด
หรอื ความขัดแยง฿ อยา฾ งเหน็ ไดช฿ ดั เจนในสังคมบา฿ งไหม ชัน้ วรรณะ ศาสนาหรอื ผวิ เปน็ เหตุแห฾งความตงึ
เครยี ดหรอื เปลา฾ อะไรทพี่ ดู เหมือนวา฾ จะเปน็ จุดสนใจของกจิ กรรมร฾วมกนั ในชมุ ชนแห฾งน้ี ประชาชนที่ดวู ฾า
จะเข฿ารว฾ มในกจิ กรรมรว฾ มเช฾นน้ัน มอี ตั ราสว฾ นเท฾าไรมกี ลุ฾มบคุ คลในชุมชนบา฿ งไหม เช฾นกรรมการสังคม
สงเคราะหโ ฯลฯ มีการจัดใหม฿ ีสถานทีแ่ ละส่ิงอํานวยความสะดวกในเรอ่ื งกจิ กรรมยามวา฾ งบา฿ งไหม เจตคติ

ของเจา฿ หน฿าท่ที างการศึกษา ทางวัดดวู ฾าจะชว฾ ยเหลอื ใหป฿ ระโยชนตโ อ฾ สังคมบ฿างไหม มีการบริการทางการ
ประชาสมั พันธอโ ยา฾ งไรบา฿ ง

จ. การตดั สนิ ใจ
มีการตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ชีวติ ในสังคมเรอ่ื งอะไรบา฿ ง และตัดสินใจกนั อย฾างไร มกี ล฾ุมอทิ ธิพลบ฿างไหม

218 คูม่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสือวสิ ามัญ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 213

คปมู่ รอื ะสกง่ าเสศรนมิ ยี แบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วสิ ามัญ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1

โครงการสารวจชุมชน
กอ฾ นการสาํ รวจชมุ ชนน้ัน ควรจะไดม฿ กี ารตดิ ตอ฾ กบั หน฿าชุมชนนนั้ ๆ กอ฾ น เชน฾ นายอาํ เภอ ผใ฿ู หญบ฾ า฿ น

กาํ นนั หรือผู฿ดแู ล ฯลฯ ในระหวา฾ งการสาํ รวจนัน้ ต฿องทําตวั สงบเสงย่ี มทสี่ ุด ไมท฾ าํ ตวั เปน็ “คนวุ฾นวาย”
ปัญหา คาํ ถาม ทใี่ ช฿ควรจะให฿เหมาะสมกับเรอื่ งราว ในเวลาเดยี วกันระหวา฾ งการสาํ รวจและสอบถาม อยา฾ จด
ทกุ สิง่ ทกุ อยา฾ งที่มกี ารชี้แจง การทําเชน฾ นไ้ี มอ฾ าจให฿ผลดไี ด฿ จงพยายามจดส่งิ ท่ีเราตอ฿ งการให฿มากทีส่ ดุ เมอื่
ลาจากไปแลว฿ จงึ ค฾อยบนั ทึกสง่ิ เหล฾านั้นไว฿

ข้อมลู ท่ที า่ นจะสารวจ
1. จานวนบุคคลในสงั คมนนั้ ในชุมชนน้นั มีบคุ คลทร่ี ฾วมอยู฾ดว฿ ยจํานวนเทา฾ ไร มอี ัตราส฾วนคนหน฾ุม

คนวยั กลางคน คนสงู อายุ ประมาณเทา฾ ไร มคี รอบครัวที่สัมพนั ธดโ ฿วยการสมรสกันไหม มีญาตมิ ิตรอย฾ูร฾วม
ดว฿ ยเพียงไร

2. การทางาน บุคคลในชุมชนนนั้ มีหนา฿ ทกี่ ารงานอะไร มกี ารเปลีย่ นแปลงหรือไม฾ มีรายไดอ฿ ย฾างไร คน
อ่นื มโี อกาสเข฿าทาํ งานในชมุ ชนนนั้ บา฿ งไหม ภรรยาไปทาํ งานทอี่ ่นื หรอื ไม฾ คนเดินทางมาทํางานจากบา฿ น
ไกลเพยี งไร มรี ถรบั ส฾งหรือไม฾

3. ชุมชน ชุมชนนัน้ ตัง้ มานานเพียงไหน ผ฿ูคนทม่ี าอยรู฾ ฾วมด฿วยนนั้ เป็นบคุ คลประเภทใดเคลอ่ื นยา฿ ย
มารว฾ มอย฾ูด฿วย สถานทอี่ ยู฾อาศัยมสี ภาพอย฾างไร

4. ความสัมพันธ์ การตดิ ตอ฾ และคบหาสมาคมระหวา฾ งเพ่อื นบา฿ นและบุคคลภายในชุมชนนนั้ เปน็
อยา฾ งไร มคี วามจงรกั ภกั ดี ความตงึ เครียด ความขัดแยง฿ ท่เี หน็ ไดช฿ ัดเจน ในสังคมนน้ั บา฿ งไหม
ชัน้ วรรณะ ศาสนา เป็นเหตแุ ห฾งความตึงเครยี ดหรือเปลา฾ อะไรเป็นจดุ สนใจทีท่ าํ ให฿บุคคลเหลา฾ นนั้ ทํา
กจิ กรรมร฾วมกนั มีประชาชนภายนอกเข฿าร฾วมหรอื ไม฾ มกี ารจัดสถานท่ีและสง่ิ อาํ นวยความสะดวกในเร่ือง
กจิ กรรมยามว฾างหรอื ไม฾ มกี ารประชาสมั พนั ธอโ ยา฾ งไรบ฿าง

5. การตัดสินใจ มีการตดั สนิ ใจของบคุ คลทร่ี ฾วมชุมชนน้นั ในเรอ่ื งอะไรบา฿ งและตัดสนิ ใจกนั อย฾างไรมี
กล฾มุ อิทธิพลบา฿ งไหม

6. ประโยชน์ทีล่ กู เสอื วสิ ามญั ไดร้ บั เมอ่ื ท฾านไดส฿ าํ รวจแลว฿ คิดทบทวนแล฿ว ท฾านเหน็ วา฾ มอี ะไรทีจ่ ะ
เปน็ บทเรยี นใหก฿ ับลูกเสอื วิสามญั ไดบ฿ า฿ ง

คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 219
ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวิสามัญปชร้ันะมกธัายศมนศยี กึ บษตั ารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
214 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

การเยีย่ มเยียนชมุ ชน

ควรสง฾ เสริมให฿ผ฿เู ขา฿ รบั การฝกึ อบรมไปเย่ียมเยยี น สถานานทท่ีตต่ี฾าา่งงๆๆททมี่ มค่ี คนี นววยั ยัหหนนุม฾ ุ่มออยย฾ู ู่ออาาจจจจะะเป็น
สโมสรเยาวชนหรอื หนว฾ ยเยาวชนอ่ืนๆ สถานทเ่ี ล฾นโบล่ิง ไนตคโ ลับ รา฿ นกาแฟ รา฿ นขายเหลา฿ โรงเรียน
และวิทยาลยั โปรดชี้แจงใหท฿ กุ คนเขา฿ ใจ และบันทึกการเยี่ยมเยียนลงไว฿ตามแนวตอ฾ ไปนี้

ก฾อนการไปเยย่ี มเยยี น ควรจะไดม฿ กี ารตดิ ต฾อกบั บคุ คลท่จี ะไปเยย่ี มเยยี นก฾อน เชน฾ ผก฿ู าํ กับ
ลูกเสอื ผู฿ดูแลสถานท่ี ครใู หญ฾ ฯลฯ ในระหว฾างการเยย่ี มเยยี น ตอ฿ งทาํ ตวั ใหส฿ งบเสงยี่ มที่สดุ ไม฾ทําตวั เปน็
“คนวุน฾ วาย”

ปัญหา คาํ ถามทีจ่ ะใชค฿ วรให฿เหมาะสมกบั เร่อื งราว ในเวลาเดยี วกันควรมองดูประเดน็ สําคัญ
ระหวา฾ งการเยยี่ มเยยี น ไมค฾ วนจดั “แบบนาํ เทย่ี ว” โดยมมี ัคคเุ ทศกโ เป็นผชู฿ ้แี จงตลอดเวลาเป็นอนั ขาด
เวลาเดยี วกันอยา฾ จดทกุ สิ่งทุกอยา฾ งท่มี กี ารชีแ้ จง การทาํ เช฾นนอ้ี าจไม฾ไดผ฿ ลดีก็ได฿ จงพยายามจดจาํ ส่ิงท่ี
สาํ คัญท่เี ราต฿องการใหม฿ ากที่สุด เม่ือจากลาไปแล฿ว จึงค฾อยลงมอื บนั ทกึ สง่ิ เหล฾านัน้ เขา฿ ไว฿

ต฾อไปนี้ เปน็ ตัวอยา฾ งคาํ ถามทีค่ วรจะใช฿ แต฾ว฾าตอ฿ งปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม เชน฾
สมมติว฾าทา฾ นจะไปเยยี่ มเยียนโรงเรยี น ทา฾ นต฿องการจะทราบเรอื่ งวิธีการสอน การสอนเปน็ คณะ ผลการ
เรยี น สิง่ แวดลอ฿ ม สภาพโรงเรยี น อทิ ธพิ ลการสอบไล฾ การท่นี กั เรียนมสี ฾วนร฾วมในกจิ กรรมของโรงเรียน
ฯลฯ

1) โรงเรียนนีเ้ ป็นโรงเรยี นประเภทใด โรงเรียนราษฎรโ หรือรฐั บาล อาชีวศกึ ษา หรอื
สามญั ศกึ ษา

2) อายขุ องนกั เรียนมตี ง้ั แตเ฾ ทา฾ ไรถึงเทา฾ ไร มจี าํ นวนชายกคี่ นหญิงก่คี น ขณะที่มาเย่ยี มมี
นกั ศกึ ษามาเรยี นเท฾าไร

3) คา฾ เลา฾ เรยี นเก็บอยา฾ งไร นกั เรยี นมกี ารประชุมกนั อย฾างไร มที ุกสัปดาหโหรอื อยา฾ งไร ประชุมที่
ไหน ประชุมพรอ฿ มกนั ทง้ั หมดหรอื อยา฾ งไร

4) ในขณะท่ีมาเยย่ี มนมี้ กี จิ กรรมพเิ ศษที่สมควรใหช฿ มไดบ฿ า฿ งไหม
5) โรงเรยี นมีระบบการปกครองอย฾างไร มคี ณะกรรมการกลาง กรรมการนกั เรยี นหรือไม฾
6) โรงเรยี นมีการตดิ ตอ฾ เก่ียวขอ฿ งกบั ชมุ ชนอยา฾ งไรบา฿ ง ท่ีติดต฾อกับชุมชนนน้ั โรงเรยี นมคี วาม

มุ฾งประสงคอโ ะไร และไดร฿ บั ผลอยา฾ งไรบา฿ ง
7) ตัวทา฾ นเองมคี วามร฿สู ึกวา฾ บรรยากาศของโรงเรียนเปน็ อยา฾ งไร ในระหว฾างท฾านไปเยย่ี ม
8) เมอ่ื ได฿พิจารณา ไดค฿ ดิ ทบทวนดูจากการไปเย่ยี มเยียนคร้ังนีแ้ ลว฿ ทา฾ นเหน็ ว฾ามีอะไรทจ่ี ะเปน็

บทเรียนใหล฿ ุกเสอื วสิ ามญั ได฿บ฿าง
เมื่อเลือกสถานท่ีไปเย่ียมเยียนน้ัน ควรจะเลือกสถานท่ีที่ต฾างกันหลายๆแห฾ง โรงเรียน
สถานศกึ ษา หรือสถานฝึกวิชาชีพ เป็นแหล฾งที่จะเลือกไปได฿ แต฾ว฾าอาจจะมีความย฾ุงยากเพราะสถานท่ี
เหล฾านี้ ปฏิบัติหน฿าที่ในระหว฾างช่ัวโมงการทํางาน มีสถานเยาวชนหลายแห฾งที่พอเลือกไปได฿ บางแห฾ง
เป็นของราชการ บางแหง฾ เปน็ เอกชน นอกจากนั้นยังมีหน฾วยงานการกุศลซ่ึงเป็นท่ีน฾าสนใจ และลูกเสือ
วิสามัญอาจเข฿าไปให฿บริการได฿ นอกจากนั้นสถานเริงรมยโบางแห฾ง เช฾น โบล่ิง ไนตโคลับ ค฿อฟฟีช฿ อฟ
รา฿ นสุรา ซง่ึ ขายสําหรับคนหนุม฾ กเ็ ปน็ แหลง฾ น฾าสนใจทีจ่ ะไปเยยี่ มเยียน

220 คูม่ อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามญั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 215

คปูม่ รือะสก่งาเสศรนมิ ียแบลตัะพรวฒั ิชนาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวสิ ามญั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1

สําหรับบุคคลที่ไปเยี่ยมเยียนน้ันก็จะต฿องระมัดระวังให฿ดีท่ีสุด เพื่อจะมิให฿เจ฿าของหรือผู฿จัดการ
สถานท่นี ั้นเขา฿ ใจผดิ ได฿ การไมร฾ ฿จู กั กาลเทศะ หรือวางตัวไมเ฾ ป็นอาจจะทาํ ใหเ฿ กดิ เรื่องไมง฾ ามขึ้นได฿ การไป
เย่ียมเยียนสถานที่อย฾างน้ี ควรเป็นการสังเกตดูเท฾าน้ัน วิธีท่ีดีควรแบ฾งการเย่ียมเยียนสถานท่ีอย฾างน้ี
ควรเป็นเพยี งการสังเกตดูเท฾านั้น วิธีที่ดีควรแบ฾งการเยี่ยมเป็นคู฾ ๆ ถ฿าท฾านรู฿สึกว฾าท฾านยังต฿องการอะไร
เพมิ่ เติมอีกหน฾วยเยาวชนในตอ฿ งถิ่นอาจให฿ละเอียดเพ่ิมเติมกับท฾านได฿

โครงการเย่ียมเยียน
ก฾อนการเย่ียมเยียน ควรมีการติดตอ฾ กับบคุ คลทีจ่ ะไปเยย่ี มเยยี นก฾อน เชน฾ ผู฿กํากบั ลูกเสอื ผด฿ู ูแล

สถานที่ ครใู หญ฾ ฯลฯ ในระหวา฾ งการเยย่ี มเยียน ตอ฿ งทําตัวให฿สงบเสงี่ยมที่สุด ไม฾ทําตัวเป็น“คนว฾ุนวาย”
ปัญหา คําถาม ที่จะใช฿ควรเหมาะสมกับเร่ืองราว ในเวลาเดียวกันควรมองดูประเด็นสําคัญ ระหว฾างการ

เย่ียมเยยี น อย฾าจดทุกสง่ิ ทกุ อย฾างทมี่ กี ารชแ้ี จง การทาํ เชน฾ นี้อาจจะไมเ฾ กดิ ผลดกี ็ได฿ จงพยายามจดจําส่งิ ท่ี
เราต฿องการใหม฿ ากทสี่ ุด เม่ือลาจากไปแล฿ว จงึ คอ฾ ยลงมอื บนั ทกึ ส่ิงเหล฾านั้น

ข฿อมูลทที่ า฾ นควรจะถาม

1. สถานที่น้ีเปน็ สถานท่ีประเภทใด ของรฐั หรือเอกชน ระบบการปกครองเปน็ อยา฾ งไร
2. มีสมาชกิ จาํ นวนเท฾าไร ชายเทา฾ ไร หญงิ เท฾าไร ขณะท่ีมาเยยี่ มเยยี นนมี้ สี มาชิกชายและหญิง

รวมท้งั สิน้ เทา฾ ไร

3. การศึกษาของสมาชกิ มีมากนอ฿ ยแค฾ไหน ผูด฿ ูแล หรือผป฿ู กครองชื่ออะไร ยศ ตาํ แหนง฾ ใด
4. ในขณะที่มาเยย่ี มเยียนน้ีมสี งิ่ ใดนา฾ ชม และน฾าศกึ ษาหาความรไ฿ู ดบ฿ ฿าง
5. มีการปกครองอย฾างไร มคี ณะกรรมการบ฿างไหม
6. มกี ารตดิ ตอ฾ เกย่ี วข฿องกับชุมชนน้นั อยา฾ งไร มีวตั ถปุ ระสงคอโ ะไร และได฿ผลอยา฾ งไรบา฿ ง
7. ตวั ทา฾ นเองมคี วามร฿สู กึ ตอ฾ บรรยากาศในทน่ี ัน้ อยา฾ งไร
8. เม่อื ไดพ฿ ิจารณา ไดค฿ ิดทบทวนดูจากการไปเย่ียมเยียนครง้ั นี้แล฿ว ทา฾ นเหน็ ว฾ามีอะไรทีจ่ ะเปน็

บทเรยี นใหล฿ ูกเสือวสิ ามัญได฿บา฿ ง
ฯลฯ

บทสรปุ การสารวจชมุ ชน

เม่ือเป็นความจําเป็นที่คนวัยหน฾ุมจะต฿องเข฿าไปเก่ียวข฿องกับประชาชน ในการบริการชุมชน
โดยตรงแลว฿ ผใู฿ หบ฿ ริการวัยหนุม฾ มปี จั จัยทพี่ ึงพจิ ารณาอย฾ูสองประการ คือความต฿องการเข฿าไปเก่ียวข฿อง
กับคนวัยหนุม฾ ดว฿ ยกัน ในเร่ืองท่เี ปน็ ความเลวอนั เหลอื ท่ีจะกลา฾ ว ความรังเกยี จ ความไม฾พอใจซึ่งกันและ
กัน และความเขา฿ ไปเกย่ี วข฿องกับผอู฿ น่ื ทั่วไปจะไดป฿ ระโยชนจาการบริการและทส่ี ําคญั ท่ีสุดก็ คือผู฿ทจ่ี ะไป
ใหบ฿ รกิ ารต฿องไม฾ไปทาํ ให฿เขาเหลา฾ น้ันเสียใจ มีความร฿สู ึกเหมือนถกู ตัวแสวงผลประโยชนโ หรอื ผดิ หวังทาง
จติ ใจมาก

ความรับผิดชอบทั้งสองอย฾างน้ีไม฾ใช฾เป็นเรื่องท่ีจะกระทํากันได฿อย฾างง฾ายๆ ในประการแรก
ให฿บริการชุมชนแม฿ว฾าจะเป็นเรื่องที่ทันสมัยและท฿าทายมาก และใคร ๆ อยากกระทํา แต฾เป็นเร่ืองที่

คมู่ ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 221
คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามญั ปชรั้นะมกธัายศมนศียึกบษัตารปวีทิชี่ า4ชีพ 1
216 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

เปรยี บเสมือนการปนี ภเู ขาสูง กาํ ลงั ของคณะผ฿ูให฿บริการตอ฿ งใหไ฿ ด฿สัดส฾วนกับความยากลําบพากของภภูเูเขขาา
นัน้ ส฾วนผก฿ู ํากับลูกเสือจะต฿องมีความเขา฿ ใจคนุ฿ เคยกบั ปัญหาทัง้ สองที่กล฾าวมาแลว฿ ข฿างต฿น กอ฾ นทจี่ ะลงมือ
ปฏิบัติธุรกิจน้ัน ปัญหาความยุ฾งยากน้ันมิได฿ส้ินสุดลงด฿วยการให฿บริการชุมชนเท฾าน้ัน โดยปกติการ
ให฿บรกิ ารชุมชนจะนาํ คนวยั รน฾ุ ไปพบกบั สภาวการณโ และบุคคลที่เขามิอาจพบได฿ในโอกาสอ่นื คนวัยหน฾ุม
ตอ฿ งสนองตอบตอ฾ สิง่ เหล฾านตี้ ามสมควร ถ฿าเขาจะโต฿ตอบโดยกลา฾ วว฾า “ไมม฾ ใี ครที่ควรจะถูกปลอ฾ ยให฿มชี ีวติ

อย฾อู ยา฾ งน้ี”นัน่ หมายความว฾าเขาต฿องการความช฾วยเหลือเพื่อให฿เขาได฿ทํางานสําเร็จ เขาจะมีความแค฿น
เคอื งอยา฾ งน้ันก็ไมถ฾ ูก แต฾ว฾าความโกรธนัน้ เป็นรากฐานทีจ่ ะนําไปส฾กู ารก฾อใหเ฿ กิดผลดีในอนาคต

หน฿าทีข่ องคนวยั หนุ฾มที่ทําการบริการชมุ ชน อย฾ูท่ีการเขา฿ ไปสัมผสั กบั คนวัยหน฾มุ ดว฿ ยกันและการ
สรา฿ งสรรคโ ความเชอ่ื ถือระหวา฾ งกนั โดยการฟงั และการตอบช้ีแจง งานส฾วนหนึ่งของวัยรุ฾นคือ การเสนอ
ประสบการณโของคนวัยน฾ุมให฿แก฾วัยหนุ฾มด฿วยกัน และช้ีแจงให฿ลู฾ทางอันกว฿างขวางที่พึงจะเลือกได฿

ขณะเดียวกันมีความสําคัญมากในการท่ีจะทําให฿เขาเข฿าใจในส่ิงที่เขาได฿ประสบอยู฾ เราอยากจะถามว฾า
“ท฾านคดิ เรื่องนนั้ ว฾าอยา฾ งไร” เรอ่ื งภาพยนตรโ เร่อื งดนตรีทก่ี ําลังนิยม หรือเร่อื งพบปะกนั เราอยากจะถาม
วา฾ “ท฾านคดิ วา฾ เรือ่ งนัน้ จะสาํ เร็จหรือไมอ฾ ย฾างไร”(เรอื่ งปะทะกบั บุคคล หรอื เรอื่ งการบริการชมุ ชน) และเรา
ตอ฿ งตงั้ ใจฟงั ให฿ดี พยายามเขา฿ ใจและกล฾าวตอบด฿วยความเห็นอกเห็นใจ จากงานส฾วนตัวของเรา งานทีไ่ ม฾
เป็นทางการกับคนหนุ฾ม การเชญิ ชวน ยวั่ ยุ ให฿เขาพูดกับเราและกบั เพ่อื นของเขาเทา฾ นั้น ที่จะทําให฿ความ
เขา฿ ใจเรอ่ื งการบริการชมุ ชน และการปฏิบตั งิ านบริการชุมชนเกดิ ขน้ึ ได฿

เรอ่ื งสั้นท่ีเป็นประโยชน์

เทพธิดากบั ชาวประมง

หนุ฾มชาวประมงคนหน่ึง อาศัยอย฾ูกับแม฾ของเขา ท้ังสองคนแม฾ลูกประพฤติตนเป็นคนดี มีใจ

เมตตาปราณีตอ฾ เพื่อนบา฿ นและคนทว่ั ไปตลอดมา
วันหนงึ่ หน฾ุมชาวประมงผนู฿ ีอ้ อกไปตกเบด็ หาปลาแตว฾ ันน้ีไมไ฾ ด฿ปลาสักตัวหน่ึง ก฾อนจะกลับบ฿าน

ก็มหี อยตัวหนง่ึ มาตดิ เบด็ เขาก็เลยนาํ หอยตัวน้นั ใสเ฾ รือเอากลับบา฿ นด฿วย ในขณะท่ีเดินทางกลับบ฿านนั้น
หอยตัวน้ีมีขนาดใหญ฾ข้ึนทุกที ๆ ในท่ีสุดก็มีหญิงสาวสวยคนหนึ่งออกมาจากหอย ชายหนุ฾มก็พาหญิง
สาวนั้นกลบั บ฿าน แลว฿ เลา฾ เรื่องนี้ใหแ฿ มฟ฾ งั แม฾ของเขาก็ยินดใี หห฿ ญิงสาวสวยผน฿ู อี้ าศยั อยใ฾ู นบ฿าน มชี าวบา฿ น
มากมายมาขอดูหญิงสาวสวย พร฿อมทั้งมอบเส฿นไหมอย฾างดีให฿ หญิงสาวก็เอาเส฿นไหมนั้นมาทอเป็นผ฿า

ไหมสวยงามมาก แลว฿ จงึ ให฿ชายหนุ฾มนําไปขาย แต฾เน่ืองจากราคาแพงมาก จึงไม฾มีใครซื้อ ต฾อมาได฿พบ
ชายชราคนหน่ึง มีลกั ษณะเปน็ ผูด฿ ี ได฿รบั ซ้อื ผา฿ ไหมนไี้ วโ฿ ดยไมเ฾ กีย่ งราคา

เมื่อชายหนม฾ุ กลบั ถงึ บ฿านพร฿อมด฿วยเงนิ ทขี่ ายผ฿าได฿ หญิงสาวก็มอบเงินทั้งหมดให฿ชายหนุ฾มและ
แม฾ของเขาไว฿ใชจ฿ ฾าย ก฾อนที่หญงิ สาวจะจากไปก็กลา฾ วกบั สองคนลูกว฾า

“เทพเจา฿ ได฿ส่งั ใหข฿ ฿ามาเพอื่ นาํ ความสขุ และโชคลาภมาใหท฿ ฾านท้ังสอง เพราะทา฾ นทง้ั สองเป็นคนดี

มีใจโอบออ฿ มอารเี สมอมา”

เร่อื งนี้สอนใหร้ ู้วา่ คนดนี ั้น แมจ฿ ะไดร฿ ับความยากลาํ บาก ก็มกั จะมคี นชว฾ ยเหลอื

222 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื วสิ ามัญ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 217

คปูม่ รือะสก่งาเสศรนิมยี แบลตัะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือวิสามญั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 1

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื วสิ ามญั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4, ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช. 1)

หนว่ ยที่ 13 ประเมนิ ผล เวลา 1 ช่ัวโมง
แผนการจัดกิจกรรมที่ 23 การประเมินผล

1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1.1 เพ่ือให฿ลูกเสอื เขา฿ ใจการประเมินผลเพอื่ การตัดสนิ ผลการผา฾ น ไมผ฾ า฾ นกจิ กรรม
1.2 เพ่อื ให฿ลูกเสอื สามารถรบั การประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวิตที่ลกู เสอื ได฿รบั การพัฒนา
1.3 เพือ่ เตรียมความพรอ฿ มรบั การประเมนิ ตามวิธกี ารของผกู฿ ํากบั ลกู เสือกองลกู เสือ

2. เนื้อหา
2.1 เกณฑโการตดั สนิ กิจกรรมพฒั นาผ฿ูเรยี นตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551
2.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวติ

3. สอื่ การเรียนรู้
3.1 Flow Chart การประเมินเพ่อื ตดั สินผลการเลอ่ื นช้ันของลกู เสอื และจบการศกึ ษา
3.2 การประเมินทกั ษะชีวติ ของลูกเสอื รายบคุ คลหรือรายหมลู฾ กู เสือ
3.3 ใบความร฿ู

4. กิจกรรม

4.1 ผก฿ู ํากบั ลกู เสอื อธิบายหลกั เกณฑโ วิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู฿ตามทหี่ ลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 กาํ หนดเพอ่ื ตดั สนิ การจบการศึกษา

4.2 ผก฿ู ํากบั ลูกเสอื อธิบายถึงพฤติกรรมของลกู เสอื ทีไ่ ด฿รบั การเสรมิ สร฿างทกั ษะชีวติ ผ฾านกจิ กรรม
ลูกเสอื

4.3 ลกู เสือประเมินความพรอ฿ มของตนเองเพอื่ รบั การประเมินและวางแผนพฒั นาตนเองในสว฾ นท่ี
ไมม฾ นั่ ใจ

4.4 ผู฿กํากับลูกเสอื และลกู เสอื กาํ หนดขอ฿ ตกลงรว฾ มกันถงึ ชว฾ งเวลาการประเมนิ
4.5 ผ฿กู ํากบั ลกู เสือนดั หมายและดาํ เนนิ การประเมิน

5. การประเมินผล

5.1 สังเกตจากผลการประเมินตนเองของลูกเสือ
5.2 สังเกตความม่นั ใจและการยนื ยนั ความพรอ฿ มของลกู เสอื

คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามญั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 223
คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือวิสามัญปชรน้ั ะมกัธายศมนศียึกบษัตารปวีทิช่ี า4ชีพ 1
218 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 23
1. การประเมินผลตามเกณฑข์ องหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551

Flow Chartกระบวนการประเมินผลลูกเสอื

ลกู เสอื เรยี นรจู้ ากกจิ กรรม เกณฑก์ ารประเมิน
ลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ิต 1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม
2. การปฏบิ ตั ิกิจกรรม
ผู้กากับประเมนิ ผลเรียนของ 3. ผลงาน / ชนิ้ งาน
ลกู เสือทีร่ ว่ มกิจกรรม 4. พฤติกรรม/คุณลกั ษณะ
ของลูกเสอื
ผลการประเมนิ
ผา่ น ไม่ผ่าน - ซอ่ มเสรมิ
- พฒั นาซ้า
ตัดสินผลการเรยี นรผู้ า่ นเกณฑ์
ผ่าน

รบั เครื่องหมายชนั้ ลกู เสือ
ตามประเภทลกู เสอื

224 คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามัญ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 219

คปมู่ รือะสก่งาเสศรนมิ ียแบลัตะพรวัฒชิ นาาชกีพิจก1รรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื วสิ ามัญ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
ประกาศนียบัตรวิชาชพี 1

แบบประเมินตนเองของลกู เสอื
ช่ือ ..........................................................ประเภทลูกเสอื ...........................ช้นั ................................

เกณฑท์ ี่ การประเมนิ ตนเอง ข้อคิดเหน็
การพัฒนา
ท่ี รายการท่ีรับการประเมิน สถานศกึ ษา ครบ/ ไมค่ รบ/
กาหนด ผ่าน ไมผ่ ่าน

1 1. เข฿ารว฾ มกิจกรรมลูกเสือ ไม฾นอ฿ ยกว฾า

1.1 ร฾วมกจิ กรรมการฝกึ อบรม 24ชั่วโมง/ ปี

1.2 รว฾ มกิจกรรมวนั สาํ คญั

- วนั สถาปนาลกู เสอื 1 คร้ัง/ ปี

- วนั ถวายราชสดดุ ี 1 ครั้ง/ ปี

- วนั พ฾อแห฾งชาติ 1 ครั้ง/ ปี

- วันแมแ฾ ห฾งชาติ 1 ครงั้ / ปี

- วันตา฿ นยาเสพติด 1 ครั้ง/ ปี

- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนอโ ืน่ ๆ 8ครัง้ / ปี

- กจิ กรรมวฒั นธรรม/ ประเพณี 4ครัง้ / ปี

1.3 เดินทางไกล/ อยค฾ู ฾ายพกั แรม 1 ครง้ั / ปี

2 2. มผี ลงาน/ ชน้ิ งานจากการเรยี นร฿ู

กจิ กรรมลกู เสือ ไม฾นอ฿ ยกวา฾

2.1 ผลงานการบริการ 6รายการ/ ปี

2.2 ชน้ิ งาน/ งานท่ีคดิ สร฿างสรรคโ 2รายการ/ ปี

2.3 อน่ื ๆ เชน฾ รายงานฯ 2รายการ/ ปี

3 3. มคี วามพรอ฿ มเขา฿ รบั การทดสอบเพอ่ื
เลือ่ นชนั้ และรบั เครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษ

ลูกเสือวสิ ามญั

3.1.............................................

3.2.............................................

3.3.............................................

3.4.............................................

3.5.............................................

ผา่ นและพร้อม

สรปุ  ฉันมั่นใจวา฾ ผ฾าน  ฉันมีความพรอ฿ มให฿ประเมนิ  ฉันยังไมพ฾ รอ฿ ม

คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามัญ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 225
คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามัญปรชะกนั้ ามศัธนยมยี ศบกึ ตั ษราวปชิ ีทาช่ี 4ีพ 1
220 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 1

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง
1. ดา้ นทกั ษะลกู เสอื



ม่ันใจมากว฾าจะ พร฿อมแลว฿ ไม฾แน฾ใจ ต฿องขอความ งุนงง
ผา฾ นการประเมนิ ช฾วยเหลอื จาก ไม฾เขา฿ ใจ
ผ฿ูกาํ กับลูกเสอื

 มัน่ ใจมาก พร฿อมรบั การประเมินเครือ่ งหมายวิชาพเิ ศษ
 พรอ฿ มรบั การประเมนิ
ไม฾แนใ฾ จ
 ยงั ต฿องพฒั นา/ ซอ฾ มเสริมบางเรอื่ ง
ตอ฿ งการความชว฾ ยเหลือจากผก฿ู าํ กบั ลกู เสือ

ลงชอื่ .......................................................ผู฿ประเมนิ

226 ค่มู อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามัญ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4
ปคร่มู ะอืกสา่งศเนสรียิมบแตั ลระวพชิ ฒั าชนีพาก1จิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือวสิ ามญั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1 221

แบบประเมินพฤตกิ รรมทกั ษะชีวติ ของลูกเสือสาหรบั ผู้กากบั ลกู เสือ
คาชแี้ จงให฿ผต฿ู อบทาํ แบบประเมินทุกข฿อโดยแตล฾ ะข฿อใหท฿ าํ เครอื่ งหมาย/ ลงในชอ฾ งที่ตรงกบั ความ

เปน็ จริง
2.1พฤติกรรมลูกเสอื สารองทค่ี าดหวงั

รายการประเมนิ ใช่ ไม่ใช่

1. ลูกเสือมีทกั ษะในการสังเกตและจดจาํ
2. ลูกเสอื สามารถพึ่งตนเองและดแู ลตนเองได฿
3. ลกู เสือสํารองปฏิบัตกิ ิจกรรมบําเพญ็ ประโยชนรโ กั ษาส่งิ แวดลอ฿ ม
และอนรุ ักษโทรัพยากรธรรมชาติ
4. ลูกเสอื ไมม฾ ีปัญหาทนั ตสขุ ภาพและไม฾เจ็บปูวยด฿วยโรคติดตอ฾
ตามฤดูกาล
5. ลกู เสือร฿จู กั รักษาสุขภาพและปฏเิ สธสง่ิ เสพติด
6. ลูกเสือรจู฿ กั แก฿ปญั หาเฉพาะหน฿าหรอื ใหก฿ ารชว฾ ยเหลือ/ แจ฿งเหตเุ มอ่ื ประสบเหตุ
วิกฤต
7. ลูกเสือมสี ว฾ นสูงและนํ้าหนกั ตามเกณฑมโ าตรฐาน
8. ลูกเสอื มีทกั ษะในการสอ่ื สารได฿ถกู กาลเทศะและไม฾กา฿ วรา฿ วรนุ แรง

สรุปแบบการประเมินตนเอง

ฉันมที ักษะชีวติ ฉันจะมีทกั ษะชีวิต ฉันตอ฿ งพัฒนาตนเองอีกมาก

ถ฿าแก฿ไขปรับปรงุ พฤติกรรม

คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามัญ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 227
ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามัญปชรั้นะมกัธายศมนศยี ึกบษตั ารปวที ชิ ี่ า4ชีพ 1
222 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

2.2พฤตกิ รรมลกู เสือสามญั ท่ีคาดหวัง

รายการประเมิน ใช่ ไมใ่ ช่

1. ลูกเสอื มีทกั ษะในการปฏิบตั ิกิจกรรมกลางแจ฿ง
2. ลูกเสอื ร฾วมกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนโ
3. ลูกเสอื ชว฾ ยตนเองและครอบครัวได฿
4. ลูกเสอื ไมม฾ ีปัญหาทนั ตสขุ ภาพ ไมด฾ มื่ นา้ํ อัดลมขนมกรบุ กรอบ
ไมร฾ ับประทานขนมหวานเปน็ ประจํา
5. ลูกเสือร฿ูจกั ใช฿เวลาวา฾ งให฿เปน็ ประโยชนแโ ละไมต฾ ิดเกม
6. ลูกเสอื ประพฤติตนเหมาะสมกับเพศและวัยมีทกั ษะการสร฿าง
สัมพนั ธภาพและการสอื่ สารไมก฾ า฿ วร฿าวรนุ แรง
7. ลกู เสอื แสดงออกถงึ ความซื่อสัตยโ รจู฿ กั แกป฿ ญั หา หรอื ใหค฿ วาม
ช฾วยเหลอื ผอู฿ ่นื

8. ลูกเสอื มนี าํ้ หนกั และสว฾ นสงู ตามเกณฑมโ าตรฐาน

สรปุ แบบการประเมินตนเอง 


มที กั ษะชวี ติ จะมีทกั ษะชวี ติ ต฿องพัฒนาตนเอง ไมแ฾ น฾ใจชวี ิต
พรอ฿ มเผชญิ แก฿ไขปรับปรงุ อกี มาก (มปี ญั หาแล฿ว)
อยา฾ งรอดปลอดภยั
พฤติกรรม (เสี่ยงนะเน่ีย)

เรอื่ งทฉี่ นั จะต้องปรบั ปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

228 คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 223

คปูม่ รือะสก่งาเสศรนิมยี แบลตัะพรวัฒชิ นาาชกีพิจก1รรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือวสิ ามัญ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1

2.3พฤตกิ รรมลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญท่ ค่ี าดหวงั

รายการประเมนิ 12
1. ลกู เสอื พฒั นาตนเองใหม฿ ที กั ษะในการทาํ กิจกรรมลูกเสอื 

ตามความสนใจและได฿รบั เคร่ืองหมายวิชาพเิ ศษ
2. ลกู เสือทาํ กิจกรรมบาํ เพ็ญประโยชนตโ ฾อครอบครัว

สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม

3. ลกู เสอื ใชเ฿ วลาว฾างท่เี ปน็ ประโยชนโทาํ กิจกรรม อนรุ กั ษสโ ง฾ เสริมจารตี ประเพณี
ศลิ ปวัฒนธรรมไทย

4. ลูกเสอื ร฿ูเท฾าทนั ส่ือโฆษณาและร฿ูจกั ใชป฿ ระโยชนจโ าก Internet

5. ลกู เสือเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมหรือปรับปรงุ และพฒั นาตนเองได฿
เหมาะสมกับเพศวัยไมก฾ า฿ วร฿าวรุนแรง
6. ลูกเสอื ทาํ กิจกรรมหรือโครงการประหยดั พลงั งาน/ทรัพยากร

7. ลกู เสอื มกี ารออม หรอื ทําบญั ชีรายรบั รายจา฾ ยอย฾างตอ฾ เนอ่ื ง
8. ลูกเสอื ไม฾เคยประสบอบุ ตั ิเหตจุ ากการใชย฿ านพาหนะ

สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง 


มที กั ษะชวี ติ จะมที กั ษะชีวติ ตอ฿ งพฒั นาตนเอง ไม฾แน฾ใจชีวิต
พรอ฿ มเผชิญ แก฿ไขปรบั ปรงุ อีกมาก (มปี ญั หาแล฿ว)
อย฾างรอดปลอดภัย
พฤติกรรม (เสยี่ งนะเนีย่ )

เร่อื งทฉ่ี นั จะต้องปรับปรงุ
1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

2.4 ฤติกรรมลกู เสอื วสิ ามัญทค่ี าดหวัง

คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื วสิ ามญั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 229
คูม่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามญั ปชรัน้ ะมกัธายศมนศยี กึ บษัตารปวที ิช่ี า4ชีพ 1
224 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ 1

3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

2.4 ฤติกรรมลกู เสือวิสามญั ทีค่ าดหวัง

คมู่ ือสง่ เสริมและพัฒนราากยจิ กกรารมรลปกู รเสะือเมทกั ินษะชีวติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามปญั ระกชานั้ ศมนัธยี ยบใมตัชศร่ ึกวษิชาาปชไีพที มี่ 14่ใช่ 229
ลกู เสือทํากจิ กรรม/โครงการ ตามความถนดั และความสนใจ
1.

2. ลูกเสือบริการผ฿ูอนื่ ชว฾ ยเหลือชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

3. ลกู เสอื ร฿ูจกั วธิ ีปฺองกนั ความเสย่ี งทางเพศ
4. ลูกเสือใชเ฿ วลากับสอื่ ไอทไี ดอ฿ ยา฾ งเหมาะสม
5. ลูกเสือตระหนกั ถึงพิษภยั และหลกี เลยี่ งจากสิ่งยาเสพติด

6. ลูกเสอื มคี า฾ นยิ มสขุ ภาพ ดา฿ นอาหาร และความงามท่ีเหมาะสม

7. ลกู เสือทํางานหารายได฿ระหว฾างเรยี น

8. ลูกเสือไม฾มีพฤตกิ รรมกา฿ วรา฿ วและไม฾กอ฾ เหตรุ นุ แรง

สรปุ แบบการประเมินตนเอง



มีทกั ษะชีวติ จะมีทักษะชวี ติ ตอ฿ งพฒั นาตนเอง ไม฾แน฾ใจชวี ิต
พร฿อมเผชิญ แกไ฿ ขปรับปรงุ อกี มาก (มีปัญหาแล฿ว)
อยา฾ งรอดปลอดภัย
พฤตกิ รรม (เส่ยี งนะเนย่ี )

เรอ่ื งที่ฉันจะต้องปรบั ปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

ใบความรู้

230 คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 225
คปู่มรือะสกง่ าเสศรนิมียแบลตัะพรวฒั ชิ นาาชกีพิจก1รรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื วสิ ามญั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ 1

ใบความรู้

230 ค่มู อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมกลากู เรสปือรทักะษเมะชินีวกิตใจิ นกสรถารนมศลึกูกษาเสลอืกู เ*สอื วสิ ามัญ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ 1

1. การประเมนิ ผลการเรยี นร฿ตู ามแนวทางหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดให฿กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมที่มุ฾งปลูกฝัง

ระเบยี บวินยั และกฎเกณฑเโ พอ่ื การอย฾ูร฾วมกัน ร฿ูจักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชนโแก฾สังคมและดําเนิน
วิถชี วี ิตในระบอบประชาธปิ ไตย ตลอดจนมีทกั ษะชวี ิตเป็นภูมิคม฿ุ กนั ปญั หาสังคมตามช฾วงวัยของลกู เสอื

การจัดกจิ กรรมลูกเสือยังตอ฿ งเป็นไปตามข฿อบังคับของสํานักงานลูกเสือแห฾งชาติและสอดคล฿อง
กับหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานอีกดว฿ ย

แนวทางการประเมนิ ผลกจิ กรรมลูกเสอื
กิจกรรมลกู เสือเป็นกจิ กรรมนกั เรยี นทลี่ กู เสือทกุ คนต฿องเขา฿ ร฾วมกิจกรรมลกู เสอื 40 ชั่วโมงต฾อปี
การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา
การประเมินการจดั กิจกรรมลกู เสือตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานมีประเด็น/ส่ิงที่
ตอ฿ งประเมนิ ดงั นี้
1. เวลาในการเขา฿ รว฾ มกิจกรรม ผูเ฿ รยี นตอ฿ งมเี วลาเขา฿ รว฾ มกจิ กรรมตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด
2. การเรยี นร฿ูผา฾ นกจิ กรรมหรือการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมอยา฾ งต฾อเนือ่ ง มุง฾ เน฿นการพัฒนาศักยภาพของ
ตนและการทํางานกลุ฾ม
3. ผลงาน / ชิ้นงาน / พฤติกรรม / คุณลักษณะของผ฿ูเรียน ที่ปรากฏจากการเรียนรู฿หรือการ
เปล่ยี นแปลงตนเอง

*การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแต฾ละกิจกรรม หรือเขียนรวมในภาพรวมของกิจกรรม
ลูกเสอื ก็ได฿

เอกสารอ฿างอิงกระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพโชุมนมุ สหกรณโการเกษตรแห฾งประเทศไทย จาํ กดั . 2551

226 ปคูม่ระือกสาคง่ ศเู่มสนือรยี ิมสบแง่ ตั ลเรสะวรพชิมิ ัฒาแชนลพี าะกพ1จิ ัฒกรนรามกลิจกู กเรสรือมทลักกูษเะสชอื วี ทิตกัในษสะถชาวี นติ ศใกึนษสาถาปนระศเกึภษทาลกู ลเูกสเอื สวอื สิ วาสิมาัญมปญัชร้นัะกมชาัธน้ั ศยมนมัธศียยึกบมษัตศารปกึ วษีทชิ ี่าา4ปชีพที ี่ 4 231
1

แนวทางการประเมนิ ผลการเรยี นรู้กจิ กรรมลกู เสือ

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือ

จดั กจิ กรรมลกู เสือ เกณฑก์ ารประเมิน
ตามคมู่ อื การจัดกจิ การลกู เสือที่ 1. เวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรม
2. การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
เสริมสร้างทกั ษะชวี ิต 3. ผลงาน / ช้นิ งาน
4. พฤติกรรม/คณุ ลกั ษณะ
ประเมินผลการเรียนรู้ ของลกู เสือ

ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น
ผา่ น ซอ่ มเสรมิ

สรุปผลการประเมนิ / ผ่าน
ตดั สนิ ผลการเรยี นรู้

รายงาน / สารสนเทศ

จัดพธิ ีประดับเครอ่ื งหมายลกู เสือ
ตามประเภทลูกเสือ

การประเมนิ กจิ กรรมลูกเสอื มี 2 แนวทาง คอื
1. การประเมินกจิ กรรมลูกเสอื รายกิจกรรมมีแนวปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1.1 ตรวจสอบเวลาเข฿าร฾วมกิจกรรมของลูกเสือให฿เป็นไปตามเกณฑโท่ีสถานศึกษา

กําหนด
1.2 ประเมินกิจกรรมการเรียนรู฿จากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน /

คุณลักษณะของผเ฿ู รียนตามเกณฑทโ ส่ี ถานศึกษากําหนดด฿วยวิธีการท่ีหลากหลาย เน฿นการมีส฾วนร฾วมใน
การปฏิบัติกิจกรรม

232 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสือวสิ ามัญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 227

คปมู่ รือะสก่งาเศสรนมิ ยี แบลตั ะรพวฒั ชิ นาชากีพิจ1กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ 1

1.3 ลูกเสือที่มีเวลาการเข฿าร฾วมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน /
คณุ ลกั ษณะตามเกณฑทโ สี่ ถานศึกษากาํ หนดเป็นผ฿ูผา฾ นการประเมนิ รายกจิ กรรมและนาํ ผลการประเมินไป
บันทึกในระเบียนแสดงผลการเรยี น

1.4 ลูกเสือที่มีผลการประเมินไม฾ผ฾านในเกณฑโเวลาการเข฿าร฾วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากําหนด ผ฿ูกํากับลูกเสือต฿องดําเนินการ

ซ฾อมเสรมิ และประเมินจนผ฾าน ทง้ั น้ีควรดําเนินการให฿เสรจ็ ส้ินในปีการศกึ ษานนั้ ๆ ยกเว฿นมเี หตุสดุ วสิ ยั ให฿
อย฾ใู นดุลพนิ จิ ของสถานศึกษา

2. การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสือเพ่อื การตดั สนิ ใจ
การประเมินกจิ กรรมลูกเสือเพ่อื ตดั สินควรได฿รับเครื่องหมายและเลื่อนระดับทางลูกเสือ

และจบการศึกษาเปน็ การประเมินการผา฾ นกจิ กรรมลูกเสือเป็นรายปี / รายภาค / เพื่อสรุปผลการผ฾านใน

แต฾ละกจิ กรรม สรปุ ผลรวมเพอื่ สรปุ ผลการผา฾ นในแต฾ละกิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือเลื่อนช้ันระดับลูกเสือ
และประมวลผลรวมในปสี ดุ ท฿ายเพื่อการจบแตล฾ ะระดบั การศึกษา โดยการดําเนินการดังกล฾าวมีแนวทาง
ปฏบิ ัติ ดงั นี้

2.1 กําหนดให฿มีผู฿รับผิดชอบในการรวบรวมข฿อมูลเก่ียวกับการเข฿าร฾วมกิจกรรมลูกเสือ
ของลกู เสอื ทกุ คนตลอดระดบั การศึกษา

2.2 ผ฿รู บั ผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการร฾วมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเป็นรายบุคคล

รายหมู฾ ตามเกณฑโที่สถานศึกษากําหนด

เกณฑก์ ารตดั สนิ

1. กาํ หนดเกณฑโการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกําหนดไว฿ 2 ระดับ
คอื ผ฾าน และ ไมผ฾ า฾ น

2. เกณฑกโ ารตดั สินผลการประเมินรายกจิ กรรม
ผา฾ น หมายถงึ ลกู เสือมีเวลาเขา฿ ร฾วมกจิ กรรมครบตามเกณฑโ ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน /

ชนิ้ งาน / คุณลักษณะตามเกณฑทโ ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด
ไม฾ผ฾าน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเข฿าร฾วมกิจกรรมไม฾ครบตามเกณฑโ ไม฾ผ฾านการปฏิบัติ

กจิ กรรมหรอื มีผลงาน / ชิ้นงาน / คณุ ลักษณะไม฾เป็นไปตามเกณฑโทสี่ ถานศึกษากาํ หนด
3. เกณฑกโ ารตัดสินผลการประเมนิ กจิ กรรมลูกเสือรายปี / รายภาค
ผา฾ น หมายถงึ ลกู เสอื มีผลการประเมินระดับ “ผ฾าน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตรลูกเสือ

แตล฾ ะประเภทกาํ หนด รวมถงึ หลักสูตรลูกเสอื ทักษะชีวติ
ไม฾ผ฾าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ไม฾ผ฾าน” ในกิจกรรมสําคัญที่หลักสูตร

ลูกเสอื แตล฾ ะประเภทกําหนดและลกู เสือทักษะชวี ิต
4. เกณฑโการตัดสินผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือเพื่อจบหลักสูตรลูกเสือแต฾ละประเภทเป็น

รายชนั้ ปี
ผ฾าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผ฾าน” ทุกช้ันปีในระดับการศึกษาน้ัน

ไมผ฾ า฾ น หมายถึง ลูกเสือมผี ลการประเมนิ ระดับ “ไมผ฾ า฾ น” บางชน้ั ปีในระดบั การศึกษาน้ัน

คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสือวสิ ามญั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 233
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือวิสามญั ปชร้ันะมกธัายศมนศียกึ บษัตารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
228 ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1

2. การประเมนิ พฤติกรรมทักษะชีวิตและคณุ ลกั ษณะทางลูกเสอื
2.1 ความสามารถท่คี าดหวงั ให฿เกิดขึน้ กบั ลูกเสอื โดยรวม คอื
1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะหโ
2) ความสามารถในการคดิ สร฿างสรรคโ
3) ความสามารถในการเหน็ ใจผอู฿ นื่

4) เห็นคณุ ค฾าตนเอง
5) รบั ผิดชอบตอ฾ สงั คม
6) ความสามารถในการสอื่ สารเพอื่ สร฿างสมั พนั ธภาพ
7) ความสามารถในการตดั สนิ ใจ
8) ความสามารถในการจดั การแกไ฿ ขปัญหา

9) ความสามารถในการจัดการกบั อารมณโ
10) ความสามารถในการจดั การกับความเครยี ด
2.2 พฤติกรรมท่คี าดหวงั ใหเ฿ กดิ ข้ึนกับลูกเสอื โดยรวม คอื
1) ลกู เสือสํารอง

(1) มที ักษะในการสงั เกตและจดจํา
(2) พึ่งตนเอง ดแู ลตนเองได฿

(3) รจู฿ กั รกั ษาสง่ิ แวดลอ฿ ม
(4) ไมเ฾ จ็บปูวยดว฿ ยโรคตดิ ตอ฾ ตามฤดกู าล
(5) ปฏิเสธสงิ่ เสพตดิ ทุกชนดิ
(6) พูดจาส่ือสารเชิงบวก ไม฾ก฿าวรา฿ วรุนแรง
(7) แกป฿ ัญหาเฉพาะหน฿าได฿
(8) ให฿ความช฾วยเหลอื เพอ่ื นในภาวะวิกฤติ

2) ลูกเสอื สามญั
(1) มีทักษะในการปฏบิ ัติกิจกรรมกลางแจง฿
(2) ร฾วมกจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนดโ ฿วยจิตอาสา
(3) พ่ึงตนเองและช฾วยเหลือครอบครัว
(4) ไมด฾ ่ืมนาํ้ อดั ลม

(5) ไม฾รับประทานขนมหวานและขนมกรุบกรอบ
(6) ใชเ฿ วลาว฾างให฿เป็นประโยชนโ
(7) รู฿จกั พดู เชงิ บวก ไม฾พูดก฿าวร฿าวรนุ แรง
(8) มีความซอ่ื สตั ยโ ไม฾โกหก
(9) รู฿จกั แกป฿ ัญหาดว฿ ยสนั ติวธิ ี
(10) มีนา้ํ หนักสว฾ นสงู ตามเกณฑมโ าตรฐาน

234 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามญั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 229

คป่มู รือะสก่งาเสศรนิมียแบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วสิ ามัญ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

3) ลูกเสอื สามญั รุ฾นใหญ฾
(1) มีทักษะในการทาํ กจิ กรรมตามความสนใจ
(2) มีจิตอาสาทาํ ประโยชนโ/ ไมก฾ อ฾ ความเดอื ดรอ฿ น ใหก฿ บั ครอบครวั สถานศกึ ษา

ชุมชน สังคม
(3) ใชเ฿ วลาว฾างให฿เป็นประโยชนโ
(4) รว฾ มกจิ กรรมส฾งเสรมิ อนุรกั ษโประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทย
(5) มีทักษะการคดิ วิเคราะหโ การยับยง้ั ไมเ฾ ป็นทาสของสอื่ โฆษณา
(6) มที กั ษะการใชป฿ ระโยชนโจาก Internet
(7) มีผลงาน/ โครงการการประหยดั พลงั งาน/ ทรัพยากร
(8) มีการออมหรือทาํ บญั ชีรายรับ รายจ฾ายของตนเองอยา฾ งต฾อเนอ่ื ง
(9) มีทักษะการหลีกเล่ยี ง ลอดพน฿ และไม฾เกดิ อบุ ตั ิเหตจุ ากการใช฿ยานพาหนะ
(10) ไม฾เกีย่ วขอ฿ งกับส่งิ เสพตดิ ทกุ ประเภท

4) ลกู เสือวิสามญั
(1) มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะทีเ่ ป็นประโยชนตโ อ฾ ตวั เอง/ สงั คม
(2) มจี ติ อาสาและบริการ
(3) รว฿ู ิธีปฺองกนั / และหลกี เลีย่ งความเสย่ี งทางเพศ
(4) ใช฿เวลากบั สอ่ื IT อย฾างเหมาะสม ไม฾เกดิ ความเสยี หายตอ฾ วถิ ีชีวติ ปกตขิ อง

ตนเอง
(5) ไม฾เก่ียวขอ฿ งกับสิง่ เสพติด
(6) มีค฾านิยมดา฿ นสุขภาพอย฾างเหมาะสม ไมเ฾ กดิ ผลเสียตามมา
(7) มคี า฾ นยิ มดา฿ นการรบั ประทานอาหารทีเ่ หมาะสม ไม฾เกดิ ผลเสยี หายตามมา
(8) มคี า฾ นิยมด฿านความงามทเี่ หมาะสมไมเ฾ กดิ ผลเสียหายตามมา
(9) ไมม฾ ีพฤติกรรมก฿าวรา฿ วและกอ฾ เหตรุ ุนแรง

อา้ งอิงจาก ผลลพั ธกโ ารจัดกจิ กรรมลกู เสอื คมู฾ อื Bench Marking

ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลูกเสือวสิ ามัญ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 235
คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามัญปชรัน้ ะมกธัายศมนศียกึ บษัตารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
230 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 1

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือวสิ ามัญ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4, ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช. 1)

หนว่ ยที่ 14 พธิ ีการ

แผนการจดั กจิ กรรมที่ 24 พิธเี ข้าประจากองลกู เสือวิสามญั เวลา 1 ชั่วโมง

(การสารวจตัวเองและพิธีเขา้ ประจากองลกู เสอื วสิ ามญั )

1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1.1 เพ่ือเป็นการเตรียมตัวเองของผู฿ทม่ี ีความประสงคโเขา฿ มาเป็นลกู เสอื วิสามัญ
1.2 เพื่อใหล฿ ูกเสอื มคี วามสัมฤทธผ์ิ ลในการเข฿าเป็นลูกเสือวิสามญั
1.3 เพือ่ ใหล฿ ูกเสือวิสามญั เกดิ ความศรทั ธา ความภมู ใิ จ และรกั ษาเกยี รตติ นเองได฿
1.4 เพื่อเป็นไปตามข฿อบังคบั ของคณะลูกเสอื แห฾งชาติ

2. เนอ้ื หา
2.1 พิธสี ฾งลูกเสอื สามัญร฾ุนใหญไ฾ ปเป็นเตรยี มลกู เสอื วิสามัญ (สําหรับสถานท่ตี ง้ั ท่มี กี องลกู เสือ

สามัญรุ฾นใหญแ฾ ละกองลกู เสือวิสามญั )
2.2 พธิ ีรับเตรียมลูกเสอื วิสามญั
2.3 พิธสี าํ รวจตัวเองกอ฾ นเข฿าประจาํ กองลกู เสอื วสิ ามัญ
2.4 พธิ เี ขา฿ ประจาํ กองลูกเสือวสิ ามัญ
2.5 คหู าลกู เสอื วิสามญั (Rover Den)

3. ส่ือการเรยี นรู้
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบความรู฿ พธิ กี ารทางลกู เสือวิสามัญ
3.3 คหู าลูกเสอื สามญั

3.4 เร่อื งส้ันท่ีเปน็ ประโยชนโ

4. กจิ กรรม
4.1 ผ฿ูกํากบั ลูกเสอื อธิบาย และให฿ลกู เสอื ปฏิบัตพิ ธิ กี ารสง฾ ลูกเสอื สามญั รุ฾นใหญ฾ ไป

เปน็ เตรยี มลูกเสือวิสามญั
4.2 ผ฿กู าํ กับลูกเสอื อธิบายและปฏิบตั พิ ิธรี ับเตรยี มลกู เสอื วสิ ามญั
4.3 ผ฿ูกาํ กบั ลูกเสืออธบิ ายและปฏบิ ตั ิพิธสี าํ รวจตัวเองและเขา฿ ประจํากองของลกู เสือวิสามญั
4.4 การปฏิบตั พิ ิธกี ารทางลกู เสอื วสิ ามญั ใหด฿ าํ เนนิ การปฏบิ ตั ิในคหู าลกู เสอื วสิ ามญั

(Rover Den) (การประกอบพธิ ีให฿ดาํ เนนิ การในเวลากลางคนื และสถานทสี่ งบเงยี บ)
4.5 ผูก฿ าํ กับลกู เสอื สรปุ ขน้ั ตอนและพธิ ีการทางลูกเสอื วิสามญั

5.การประเมินผล
5.1 สังเกตการปฏบิ ตั ิในพธิ รี บั เตรยี มลูกเสอื วิสามญั

5.2 สังเกตความตง้ั ใจความสนใจในการรว฾ มพธิ เี ข฿าประจาํ กองลกู เสอื

236 คมู่ ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื วสิ ามญั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 231

คปู่มรอื ะสกง่ าเสศรนิมยี แบลัตะพรวฒั ชิ นาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามัญ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 24

ใบความรู้ การฝกึ อบรมเตรียมลูกเสอื วสิ ามัญ

เมอื่ เยาวชนที่ต฿องการเขา฿ เปน็ ลูกเสอื วสิ ามัญ ซ่ึงอาจจะเคยเป็นลูกเสือหรือไม฾เคยเป็นลูกเสือมา
ก฾อนก็ได฿ การเข฿าเป็นลูกเสือวิสามัญนั้น ผ฿ูกํากับลูกเสือวิสามัญต฿องจัดให฿เยาวชนเหล฾าน้ันเข฿ามาเป็น
ลกู เสอื ตามหลักการและวธิ กี ารของลกู เสือ จึงจะเกิดความสัมฤทธิ์ผลในการฝึกอบรม มิใช฾ว฾าอย฾ู ๆ ก็ให฿
เยาวชนเหล฾านน้ั เปน็ ลูกเสือได฿ในทันที ในระยะเร่ิมต฿นการเข฿าเป็นลูกเสือวิสามัญต฿องเป็นเตรียมลูกเสือ
วิสามัญ ทาํ การฝกึ อบรมตามหลักสตู รวธิ กี ารท่จี ะเข฿ามาเปน็ ลูกเสือวสิ ามัญ เปน็ หนา฿ ท่ขี องผู฿กาํ กับลูกเสอื
ในกองลกู เสือวิสามัญ จะตอ฿ งจัดพธิ ีการต฾าง ๆ เปน็ ลําดับ ตามข฿องบงั คบั ของคณะลูกเสือแห฾งชาติฯ เพื่อ

ทําให฿เยาวชนเหล฾านั้นท่ีเข฿ามาเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญ เกิดความศรัทธา ความภาคภูมิใจ และรัก ใน
เกยี รติของตนเองทีไ่ ด้฿เข฿ามาเปน็ ลกู เสือวิสามัญ พิธกี ารตา฾ ง ๆ ในการเข฿ามาเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญมี
ดงั ต฾อไปนี้คือ

พธิ สี ่งลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ไปเป็นเตรยี มลกู เสือวิสามัญ

พิธีส฾งตัวลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾ไปเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญนี้เป็นวิธีการที่เม่ือลูกเสือสามั ญรุ฾น
ใหญ฾มาอายทุ ่ีจะเปน็ ลูกเสือวสิ ามัญได฿แล฿ว

พิธีน้ีไม฾จําเป็นเสมอไปท่ีให฿กองลูกเสือวิสามัญมาร฾วมพิธีท้ังกอง แต฾ก็ควรมีลูกเสือวิสามัญบ฿าง
สว฾ นสาํ คญั น้ันประกอบด฿วยพีเ่ ลยี้ ง 2 คน ผก฿ู ํากับลูกเสอื วิสามัญ

กองลูกเสือสามัญร฾ุนใหญ฾จัดเป็นรูปครึ่งวงกลม ผ฿ูกํากับลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾ยืนกลาง ผ฿ูกํากับ
ลูกเสือวสิ ามัญและพเ่ี ลี้ยง 2 คน ยืนหลัง ผู฿กํากับลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾หันหน฿าเข฿าสู฾กองลูกเสือ ผ฿ูกํากับ
ลกู เสอื สามญั รุน฾ ใหญ฾นาํ ลูกเสอื สามญั รน฾ุ ใหญ฾มามอบตัวใหแ฿ ก฾ผ฿ูกํากบั ลกู เสือวสิ ามญั

ผู฿กํากับลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾ “...(ออกช่ือลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾) ได฿เป็นลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾
มา ....ปี และปัจจบุ นั นี้โตพอทีจ่ ะเป็นลกู เสือวิสามญั ไดแ฿ ลว฿ ขอ฿ ขอเสนอให฿เปน็ ผ฿ูสมัครใหม฾ และข฿าหวังว฾า
ท฾านคงจะรบั ไว้เป็นเตรียมลูกเสอื วิสามัญ”

ผูก฿ ํากบั ลกู เสอื วิสามัญพูดกับผสู฿ มัครใหม฾ “เจา฿ เตม็ ใจจะฝกึ อบรมในกองลกู เสอื วสิ ามญั หรอื ”
ผู฿สมัครใหม฾ “ขา฿ เต็มใจ”
ผ฿กู ํากบั ลกู เสือวิสามัญ “ถ฿าเชน฾ น้ันกองลูกเสอื ก็เตม็ ใจทจี่ ะรบั เจา฿ เข฿าไว฿”
ผ฿ูกํากบั ลกู เสอื กล฾ุมพดู กบั ผสู฿ มคั รใหม฾ “ในฐานะทีข่ า฿ เป็นผน฿ู ําของกลุ฾ม ข฿ามีความยินดีที่เจ฿าจะได฿
กา฿ วหน฿าตอ฾ ไปและขอให฿เจา฿ จงสําเรจ็ ในกิจการลูกเสอื วสิ ามัญ”
ผ฿ูกํากับลูกเสือวิสามัญ “ข฿าขอมอบแถบที่ไหล฾สีเหลืองและสีเขียวให฿แก฾เจ฿าซ่ึงเป็นแถบสีแทน
ลกู เสือสํารอง และลกู เสอื สามัญ ในกระบวนการลูกเสอื สว฾ นแถบสแี ดงแทนลูกเสือวิสามัญ ยังไม฾ได฿มอบ

คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามญั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 237
คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวสิ ามญั ปชรน้ั ะมกธัายศมนศยี ึกบษัตารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
232 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ 1

ให฿ ทั้งนเี้ ป็นเครอ่ื งเตือนใจว฾า ต฾อไปน้ีเจ฿าจะต฿องเตรียมตัวเพ่ือเข฿าเป็นสมาชิกอันสมบูรณโในกองลูกเสือ
วสิ ามัญ ซึ่งในขณะนีเ้ ขา฿ เช่ือว฾าพ่เี ลี้ยงของเจา฿ จะไดช฿ ฾วยให฿เจ฿าได฿สําเรจ็ ผลในความปรารถนาของเจ฿า

(พเี่ ลยี้ งสมั ผสั มือกับผ฿ูสมคั รใหม฾)
ผู฿สมัครใหม฾พร฿อมกับพี่เลี้ยงทั้ง 2 คน กลับหลังหัน หันหน฿าส฾ูกองลูกเสือสามัญรุ฾นใหญ฾และทํา
ความเคารพด฿วยทา฾ วันทยหัตถโ กองลูกเสือสามัญรุน฾ ใหญแ฾ สดงการเคารพตอบ พร฿อมกันเปลง฾ เสยี งแสดง

ความยินดี

พธิ รี บั เตรียมลกู เสอื วิสามัญ

พิธรี บั เตรยี มลูกเสือวิสามญั ใหป฿ ฏิบัติดังต฾อไปนี้

ให฿กองลกู เสือวิสามญั ยืนเป็นรูปคร่ึงวงกลม เตรียมลูกเสือวิสามัญยืนอย฾ูข฿างหลังนอกวงกลม ผู฿

กํากับลูกเสือวิสามัญยืนตรงกลาง พ่ีเลี้ยงของลูกเสือใหม฾ยืนหันหน฿าเข฿าหาผู฿กํากับลูกเสือวิสามัญห฾าง

ประมาณ 3 เมตร

ให฿ผู฿ส฾งมอบตัวนําลูกเสือใหม฾มากลางวง ยืนอยู฾กลางระหว฾างพ่ีเล้ียงกับผู฿กํากับลูกเสือวิสามัญ

ลกู เสอื จากกลุม฾ ใหผ฿ ฿ูกาํ กับลูกเสือของลกู เสือนัน้ เป็นผูส฿ ง฾ มอบตัว ส฾วนลกู เสืออื่น ๆ ให฿ผ฿ูกํากับลูกเสือกลุ฾ม

เป็นผ฿ูส฾งมอบ

ผูส฿ ง฾ มอบตวั กลา฾ ววา฾ “ขา฿ นํา (ออกนามาลกู เสือ) เพอ่ื เข฿าเปน็ เตรยี มวิสามญั ในกองของทา฾ น”

ผู฿กาํ กบั ลูกเสอื วิสามัญ “ท฾านพอใจแลว฿ หรือวา฾ เขากาํ ลังพยายาม หรือจะพยายามปฏบิ ตั ิตามพันธะของ

ลูกเสือ รวมท้ังการบําเพ็ญตนต฾อสาธารณประโยชนโและจะเป็นสมาชิกท่ีดีของ

กองลูกเสอื วิสามญั ตอ฾ ไป”

ผ฿ูสง฾ มอบตัว “ข฿าพอใจแล฿ว”

ผก฿ู ํากับลูกเสอื วสิ ามัญ “การเป็นลูกเสือวิสามัญเป็นการร฾วมวงในหม฾ูพ่ีน฿องที่นิยมชีวิตกลางแจ฿งและ

ให฿บริการแกผ฾ ฿ูอื่น การที่เจ฿าประสงคโจะเข฿ามาร฾วมในกระบวนการนี้ เจ฿าพร฿อมท่ี

ผู฿สมคั รใหม฾ จะเพ่ิมพนู ความรภ฿ู าคปฏิบตั ขิ องการลกู เสอื และนิยมใช฿ชีวติ กลางแจง฿ แล฿วหรือ”
“ข฿าพร฿อมแลว฿ ”

ผู฿กํากบั ลกู เสอื วสิ ามญั “เจ฿าทราบหรือไม฾ว฾า หน฿าที่อันแรกของเจ฿าน้ันคือบ฿านของเราเอง และเจ฿าจะ

พยายามสร฿างฐานะของเจา฿ ”

ผู฿สมคั รใหม฾ “ข฿าทราบแลว฿

ผู฿กาํ กบั ลกู เสอื วิสามัญ “เจา฿ พรอ฿ มที่จะอบรมตัวเจา฿ เพ่ือให฿บริการแก฾ชุมชนหรือไม฾”

ผ฿ูสมัครใหม฾ “ขา฿ ทราบแลว฿ ”

ผ฿กู ํากบั ลกู เสือวิสามญั “เจ฿ายอมรบั วถิ ีชีวิตดงั ทไ่ี ด฿กําหนดไว฿ในกฎและคําปฏิญาณของลูกเสือหรอื ”

ผ฿สู มัครใหม฾ “ข฿ายอมรับ”

ผก฿ู าํ กับลูกเสือ “เมื่อเจ฿าได฿ให฿ความมั่นใจเช฾นนี้แล฿ว ขอให฿เจ฿าทวนคําปฏิญาณของลูกเสือ เพื่อ

เปน็ สัญลกั ษณแโ ห฾งความจริงใจของขา฿ และเพ่ือแสดงว฾าได฿รับเจ฿าเข฿าเป็นเตรียม

ลูกเสือวิสามัญแลว฿ ”

238 คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 233

คปู่มรือะสก่งาเสศรนมิ ยี แบลตัะพรวฒั ิชนาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือวิสามญั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 1

กองลกู เสอื แสดงรหสั
ผู฿สมคั รใหมแ฾ สดงรหสั “ด฿วยเกียรตขิ องขา฿ ขา฿ สัญญาวา฾

ขอ฿ 1 ข฿าจะจงรกั ภกั ดตี ฾อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริยโ
ขอ฿ 2 ข฿าจะช฾วยเหลอื ผ฿อู ื่นทุกเมอ่ื
ขอ฿ 3 ขา฿ จะปฏบิ ัตติ ามกฎของลูกเสือ

ผ฿ูกาํ กบั ลูกเสอื วิสามัญ สมั ผัสมอื ซา฿ ยกบั ลกู เสอื ใหม฾ “ขา฿ เช่ือในเกยี รติของเจา฿ ว฾า เจา฿ จะทําดที ่ีสุดที่
จะรกั ษาคาํ ปฏิญาณนน้ั ไว฿ บดั นี้ขา฿ รบั เจ฿าเขา฿ ไวเ฿ ปน็ เตรยี มลูกเสือวิสามัญในคณะพนี่ ฿องลกู เสือแหง฾ โลกอัน
ยิง่ ใหญแ฾ ลว฿ ”

ผ฿ูกํากับลูกเสือวิสามัญประดับแถบตดิไหไหลล฾สส่ ีเเหี หลลืออื แงแลละะสสีเขเี ขียยี ววอันเป็นแถบของลูกเสือสํารอง และ
ลกู เสอื สามญั ใหแ฿ ก฾ลูกเสือใหม฾ และกลา฾ ววา฾ “แถบสีแดง” ซึ่งเป็นสีของลูกเสือวิสามัญน้ันยังขาดอย฾ู ท้ังน้ี

เพอื่ เป็นเคร่ืองเตือนใจว฾าต฾อจากน้ีไปเจ฿าจะต฿องเตรียมตัวเพื่อเข฿าเป็นสมาชิกอันสมบูรณโในกองลูกเสือ
วสิ ามัญ เพ่อื การนขี้ า฿ ขอมอบเจา฿ ให฿แกพ่ีเลีย้ งของเจ฿าท่ีจะชว฾ ยเหลือใหบ฿ รรลุจุดประสงคโต฾อไป

ใหพ฿ เ่ี ล้ยี งสองคนเข฿ามาข฿างหน฿า พ่ีเล้ียงอาวุโสยืนทางขวาของเตรียมลูกเสือวิสามัญพ่ีเลี้ยงคน
รองยืนทางซา฿ ย ส฾วนผูส฿ ฾งมอบตัวให฿กา฿ วถอยหลังไป ใหพ฿ ่ีเลย้ี งอาวุโสกล฾าวคําต฿อนรับลูกเสือวิสามัญใหม฾
เป็นสมาชิกในกองลูกเสอื วสิ ามัญด฿วยถ฿อยคาํ อันเหมาะสม แลว฿ นําไปยืนรวมกับลูกเสือวิสามัญใหม฾อ่ืน ผ฿ู
ซง่ึ จะไดต฿ อ฿ นรบั ดว฿ ยวิธีการอนั สมควร

เมอ่ื ผ฿ูกาํ กับลกู เสือและรองผ฿กู าํ กบั ลกู เสือวิสามัญ ได฿ดําเนินการจัดพิธีการในการให฿เยาวชนเข฿า
มาเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญแล฿วก็ดําเนินการฝึกอบรมไปตามหลักสูตรที่ได฿กําหนดน้ัน นั่นก็คือ การ
ฝึกอบรมใหเ฿ ขาเหลา฾ นไี้ ดร฿ ับเครอื่ งหมายลกู เสอื โลก ซึง่ มขี อบเขตและรายละเอยี ดของเน้ือหาวิชาดงั นี้ คือ

เมื่อเตรียมลูกเสือวิสามัญได฿ทําการฝึกอบรมผ฾านหลักสูตรเตรียมลูกเสือวิสามัญแล฿วผู฿กํากับ
ลูกเสอื จะตอ฿ งดําเนินการใหเ฿ ตรียมลกู เสือวิสามญั เหลา฾ นั้น เขา฿ พธิ ปี ระจาํ กองเป็นลกู เสือวิสามัญ ตามข฿อง
บงั คบั คณะลูกเสือแห฾งชาติ ก฾อนท่ีจะทําการฝึกอบรมเครื่องหมายวิชาพิเศษต฾อไปตามรายละเอียดของ

เนื้อหาวิชาพเิ ศษ จาํ นวน 11 วชิ า พธิ ีเขา฿ ประจาํ กองลกู เสือวิสามญั ดาํ เนินการดงั ต฾อไปนคี้ อื

พิธสี ารวจตวั เองก่อนเขา้ ประจากองลูกเสือวิสามญั

เม่ือเตรียมลูกเสือวิสามัญได฿รับการฝึกอบรมเครื่องหมายลูกเสือโลกครบตามหลักสูตรแล฿ว
ให฿ผูก฿ าํ กบั ลูกเสอื วิสามญั ในกองนน้ั ๆ ดําเนินการจัดใหเ฿ ตรียมลกู เสอื วิสามญั เหล฾าน้ันเข฿าพธิ ีประจาํ กอง

ตามลาํ ดบั ขัน้ ตอนตา฾ งๆ ดงั น้ี คือ
ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกบั การทาพิธสี ารวจตัวเอง

ในพธิ ีสาํ รวจตัวเองกอ฾ นพิธเี ขา฿ ประจํากองลูกเสอื วสิ ามัญ มขี ้นั ตอนากรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1. จัดใหม฿ ีพิธีในตอนกลางคืน ควรจะเร่ิมต้ังแต฾เวลา 19.30. น. เป็นตน฿ ไปจนกว฾าจะเสรจ็ พธิ ีเขา฿
ประจํากองลูกเสอื วิสามัญ
2. ผ฿เู ข฿ารับการฝกึ อบรมซงึ่ เปรียบเสมือนลูกเสอื วสิ ามัญ แตง฾ เครอ่ื งแบบครบเรียบร฿อยเข฿าน่ังท่ี
ท่ีจัดไว฿ อันเปน็ ทน่ี ่งั ทส่ี บายพอสมควรและสงบเงียบ

คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 239
ค่มู ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วสิ ามัญปชรน้ั ะมกธัายศมนศียกึ บษตั ารปวีทชิ ่ี า4ชีพ 1
234 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 1

3. ประธานในพิธีเข฿าชี้แจงถึงวัตถุประสงคโของการสํารวจตัวเอง ให฿ทุกคนปฏิบัติด฿วยศรัทธา
สงบ-จริงใจ และมีสมาธิท่ีแน฾วแน฾ ให฿ถือว฾าเป็นพิธีการ ไม฾ใช฾เรื่องทําเล฾น ๆ หรือสนุกสนาน ทุกคนต฿อง
สงบและสาํ รวมอย฾างแท฿จรงิ

4. หลงั จากท่ีประธานกลา฾ วถึงวัตถุประสงคใโ นข฿อ 3 แลว฿ ประธานจะกล฾าวปราศรัยถึงเกาะแก฾ง
แหง฾ ชวี ติ ซ่ึงจะเปน็ ตัวอุปสรรคขัดขวางมใิ ห฿การดําเนินชีวิตของคนเราดาํ เนินไปด฿วยดีเกาะแก฾งแห฾งชีวิต

ดงั กล฾าวคอื อบายมุขตา฾ ง ๆ
5. กองลูกเสือวิสามัญได฿เตรียมแผนการดําเนินทางสํารวจตัวเองไว฿ล฾วงหน฿าก฾อนแล฿ว โดย

เขียนกฎลูกเสือ 10 ข฿อ เพียงย฾อ ๆ เช฾น “มีเกียรติ” “ประพฤติชอบ” ลงบนก฿อนหินที่มีขนาดโตหรือใน
กระดาษแผน฾ โต สดุ แต฾กรณี เพอื่ ใหผ฿ ไ฿ู ปพบอา฾ นไดง฿ ฾าย จํานวน 10 ก฿อน ครบจํานวนกฎทั้ง 10 ข฿อ แล฿ว
นาํ กอ฿ นหินหรือแผ฾นกระดาษตอกตดิ กันเสา ไปตง้ั ไว฿ในปาู (หากม)ี หรอื รอบ ๆ สนาม โดยวางให฿ห฾าง ๆ

กันตามลําดับกฎข฿อ 1-10 ระยะทางท่ีวางให฿วกวนพอสมควร (สิ่งต฾าง ๆ ดังกล฾าวในข฿อน้ีต฿องเตรียมไว฿
ก฾อนล฾วงหน฿าในตอนเย็นของวนั สาํ รวจตัวเอง) พร฿อมท้งั กําหนดตัวบุคคลจาํ นวน 11 คน ไวป฿ ระจาํ ตามจดุ
ทั้ง 10 จดุ รวมท้งั ผ฿ทู ี่จะกลา฾ วสรุปอีก 1 คน อย฾รู วมกับกฎข฿อที่ 10 ทง้ั นี้ผู฿ประจําตามจุดทั้ง 10 ต฿องมีไฟ
ฉายตดิ ตวั ดว฿ ย เพือ่ ไวอ฿ า฾ นขอ฿ ความซ่ึงอธบิ ายความหมายของกฎลูกเสือได฿ (ดูเอกสารประกอบ 8) และ
อยา฾ ลืมวา฾ ตามจุดตา฾ ง ๆ ดงั กล฾าว ตอ฿ งมีตะเกยี งจุดตั้งไว฿เพื่อแสดงจุดที่ตั้งด฿วย เพราะลูกเสือจะต฿องเดิน
ผา฾ นโดยมผี ู฿กาํ กบั ลกู เสอื นาํ ทางไป เม่อื ลกู เสอื ไดฟ฿ งั เรือ่ ง “อบายมุข” จบแลว฿

6. ผู฿กํากับลูกเสือหรือรองผ฿ูกํากับลูกเสือคนหนึ่ง จะเป็นผู฿พากองลูกเสือออกเดินทางไปใน
ระหว฾างความมอืด ซ่ึงเปรยี บเสมือนผ฾านวิถีทางแหง฾ ชวี ิตลูกเสอื โดยเรียกแถวลูกเสือให฿อย฾ูในรูปแถวตอน
หม฾ู (ตอนลึก) เม่อื เรยี บรอ฿ ยแล฿วถือไฟฉายเดินนําแถวลูกเสือไปช฿า ๆ ทุกคนอย฾ูในภาวะสงบ ไม฾พูด ไม฾
คุยส่งิ ใดทัง้ ส้ิน และเดินตามผ฿ูนําไป เม่อื ถึงกฎข฿อ 1 ให฿ผ฿ูนําแถวให฿สัญญาณด฿วยไฟฉายแก฾ผู฿ประจําฐาน
ซงึ่ ซอ฾ นตัวอย฾ไู ม฾ให฿ลูกเสือเหน็ อ฾านข฿อความของกฎขอ฿ 1 และคาํ สอนประกอบดัง ๆ และช฿า ๆ ด฿วยเสียง
ทห่ี นกั แน฾นในทา฾ มกลางความมอืดอนั สงบเงยี บนน้ั เมอ่ื จบข฿อความแลว฿ ผู฿นําแถวก็นาํ ลูกเสือผ฾านฐานต฾อไป
ตามลาํ ดับจนครบกฎขอ฿ 10 และแล฿วตอนทา฿ ยสดุ จะมีผู฿กล฾าวสรปุ กฎทั้ง 10 ข฿อ อกี ครั้งหน่ึง

7. หลังจากการกลา฾ วสรปุ แล฿ว ผ฿ูนําแถวจึงนําแถวไปสู฾ลานกว฿างอีกแห฾งหน่ึง ซ่ึงมีโตเะหม฾ูบูชา
ต้ังอย฾พู รอ฿ มแลว฿ ผ฿นู าํ แถวเชิญประธานจุดธปู เทยี นบูชาพระรัตนตรัย ผ฿ูนําแถวและลูกเสือทุกคนยืนพนม
มือเสรจ็ แล฿วผนู฿ าํ แถวมอบเทียน – ไม฿ขีดไฟ พร฿อมคําสํารวจตัวเอง (ข฿องบงั คบั ฯ ข฿อ 297) ให฿ลูกเสือทุก
คน ลูกเสือแตล฾ ะคนเม่อื รับของดังกล฾าวแล฿ว ให฿แยกกันไปหาที่นั่ง ท่ีจุดใดจุดหน่ึงในบริเวณนั้น ต฾างคน

ต฾างนัง่ ใหห฿ ฾างกนั เสมือนนงั่ อยโู฾ ดดเดีย่ วและนัง่ พิจารณาตัวเองตามข฿อความทั้ง 21 ข฿อ ในแผ฾นกระดาษ
คําสํารวจตวั เองท่ไี ด฿รบั แจกมา หากมีข฿อใดทไ่ี ม฾อาจปฏิบัติได฿หรือยากแก฾การปฏิบัติ ให฿พิจารณาสํารวจ
ตัวเองในข฿อน้ันนาน ๆ อีกครั้งหนึ่ง หากยังถือปฏิบัติไม฾ได฿เช฾นเดิม ลูกเสือผ฿ูน้ันมีสิทธ์ิเดินออกไปจาก
บริเวณท่ีสํารวจตัวเองได฿ และไม฾มีสิทธ์ิจะเข฿าร฾วมพิธีเข฿าประจํากองลูกเสือวิสามัญในวันนั้น จนกว฾า
ลกู เสอื ผนู฿ น้ั จาํ ผา฾ นการสาํ รวจตัวเองทุกข฿อ จึงจะเข฿าพธิ ีประจาํ กองลกู เสือวิสามัญได฿ในวันตอ฾ ไป

240 คูม่ อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามัญ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 235

คปู่มรือะสกง่ าเสศรนิมียแบลตัะพรวัฒชิ นาาชกีพจิ ก1รรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวิสามัญ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1

8. เมื่อผนู฿ ําแถวเห็นว฾าลูกเสอื ไดก฿ ระทาํ สาํ รวจตัวเองเรียบร฿อยแล฿วให฿นําลูกเสือเข฿าส฾ูสถานท่ีท่ี
จะประกอบพิธเี ขา฿ ประจํากองลูกเสอื วิสามัญ และติดแถบสามสตี อ฾ ไป สถานท่ีท่ีจะประกอบพิธีเข฿าประจํา
กองลูกเสือวิสามัญ ควรจะเป็นคูหาลกู เสอื วสิ ามัญหรอื พุทธศาลา หรือโบสถโ ซงึ่ เปน็ สถานทส่ี งบเงยี บ

ตอ฾ จากน้ัน กองลกู เสือวิสามญั ทําพธิ เี ข฿าประจาํ กอง ตามขอ฿ บังคบั คณะลูกเสือแห฾งชาติ เมื่อ
ลูกเสอื ได฿ติดแถบสามสเี รียบรอ฿ ยแล฿ว ผกู฿ าํ กับลูกเสอื กลา฾ วใหโ฿ อวาทลกู เสือเก฾า (ถ฿ามี) หรอื ผูก฿ าํ กับลูกเสือ

จบั มือแสดงความยนิ ดี เปน็ อนั เสร็จพิธี

แนวการปราศรัยเกี่ยวกับพธิ ีสารวจตัวเอง
ในพธิ สี ํารวจตวั เองและพิธเี ข฿าประจํากองลกู เสือวิสามัญ ซงึ่ เป็นพิธีการทตี่ ฾อเนื่องกันนั้น ผ฿ูกํากับ

ลูกเสือจะเป็นบคุ คลสาํ คัญในพธิ ี เป็นผ฿ูท่ีจะกล฾าวช้แี จง กลา฾ วปราศรัยและกลา฾ วให฿โอวาทตามข้ันตอนตา฾ ง
ตๆา่ งซึ่งๆแซยงก่ึ แอยอกกอเปอก็นเป3็นข3น้ั ตขอนั้ นตอคนอื คอื

1. การกล฾าวชแี้ จงเม่อื ลูกเสือวสิ ามัญในกองทุกคนมาพร฿อมแลว฿
2. การกลา฾ วปราศรยั กอ฾ นเรมิ่ จะย฾างก฿าวเข฿าสู฾พิธสี าํ รวจตวั เอง
3. การกล฾าวให฿โอวาทตอนทา฿ ยพิธเี ขา฿ ประจาํ กอง

1. การกลา่ วช้แี จง
เมือ่ ลกู เสือวิสามัญทุกคนได฿เข฿าน่ังที่พร฿อมกันแล฿ว ผู฿กํากับลูกเสือจะกล฾าวชี้แจงเป็นใจความว฾า

“พิธีการสํารวจตัวเองของผ฿ูที่จะเป็นลูกเสือวิสามัญ ก฾อนที่จะถึงพิธีเข฿าประจํากองถือว฾าเป็นพิธีการที่
สําคัญย่ิงและมีความหมายอย฾างมาก โดยเฉพาะแก่ชีวิตในอนาคตของผ฿ูที่เป็นลูกเสือวิสามัญ จึงใคร฾
ขอร฿องพี่น฿องลูกเสือโปรดให฿ความร฾วมมือ ให฿ความสนใจ และช฾วยทําให฿พิธีน้ีเป็นพิธีท่ีสําคัญและมี
ความหมายอยา฾ งจรงิ จังด฿วย ขออย฾าไดห฿ วั เราะ อย฾าพดู คุยหรือสง฾ เสยี งล฿อเลียนกันแต฾ประการใด

2. การกล่าวปราศรยั กอ่ นออกเดินทางสพู่ ิธสี ารวจตวั เองและพิธเี ขา้ ประจากอง
ต฾อจากน้ันผู฿กํากับลูกเสือจะกล฾าวปราศรัย ช้ีให฿ลูกเสือได฿มองเห็นสิ่งอบายมุขต฾าง ๆ อันเป็น

อุปสรรคต฾อการดําเนินชีวิตท่ีมีอย฾ูโดยรอบ โดยยกตัวอย฾าง สุรา นารี ภาชี กีฬาบัตร ดังแนวการกล฾าว
ต฾อไปน้ี (ข฿อความนี้ สามารถปรับปรุงให฿สอดคลอ฿ งกบั สภาพปจั จบุ นั ได)฿

พนี่ ฿องลกู เสอื ทง้ั หลาย

ท฾านทราบอย฾ูแล฿วเป็นอย฾างดีว฾าในการดําเนินชีวิตของคนเรานั้น วิถีแห฾งชีวิตย฾อมแตกต฾างกัน
และมิได฿เป็นไปอย฾างราบรื่น ประดุจดังหนึ่งเดินอยู฾บนพรมสีแดง โรยด฿วยกลีบกุหลาบอัน สวยงาม
ตลอดไป ชวี ติ ของคนเราจะประสบดว฿ ยอุปสรรคนานาประการ มากบ฿างน฿อยบ฿าง เสมือนเกาะแก฾งที่มีอย฾ู
ในแมน฾ ํา้ ลาํ คลอง ขัดขวางมใิ ห฿นํ้าไหลไปไดโ฿ ดยสะดวก ในชวี ติ คนเรา อุปสรรคบางอย฾างจะบนั่ ทอนชักนาํ
ชีวติ บคุ คลไปในทางทผี่ ิดทชี่ ั่วรา฿ ย พระทา่ นเรียกอุปสรรคเชน฾ นี้วา฾ อบายมุข อบายมุขที่ว฾านี้พระท฾านเคย
สอนไว฿ว฾า อบายมุขที่สําคัญน้ันมี 4 ประการด฿วยกัน กล฾าวคือ สุรา นารี ภาชี กีฬาบัตร แต฾ปัจจุบันนี้

เหตุการณโของโลกได฿เปลี่ยนแปลงไปอย฾างมากมาย ส่ิงที่จะทําให฿ชีวิตคนเรา โดยเฉพาะคนวัยรุ฾นหน฾ุม

คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือวสิ ามัญ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 241
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื วสิ ามญั ปชรนั้ ะมกัธายศมนศยี กึ บษัตารปวีทชิ ี่ า4ชีพ 1
236 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 1

สาวลงไปส฾ูความหายนะ ลงส฾ูห฿วงเหวท่ีตํ่าน้ันมีเพิ่มข้ึนมากมาย อาทิ ยาเสพติด สนุกเกอรโคลับ สถาน
เรงิ รมยโ สําหรับเทยี่ วกลางคนื มี บารโ ไนตโคลับ ค็อฟฟ่ีช็อพ สถานอาบอบนวด โรงแรมม฾านรูด ผ฿ูคนที่มี
จิตใจทราม เห็นแก฾ประโยชนโสว฾ นตน เห็นแก฾ได฿ มแี ต฾คนเกง฾ แต฾ปาก เกง฾ แต฾พดู งานไมท฾ ํา ฯลฯ ดังน้ี เปน็ ต฿น

ใครจ฾ ะกลา฾ วถงึ โทษของอปุ สรรคหรือเกาะแก฾งแหง฾ ชวี ิตเหล฾านี้ ในพี่น฿องลูกเสือได฿ฟังเพื่อเป็นคติ
เตือนใจบ฿าง ดงั ตอ฾ ไปน้ี

สุรา
การดมื่ สรุ าไดม฿ มี านานก฾อนพทุ ธกาล บรรดาผู฿นาํ ของศาสนาทัง้ หลายในโลกไดม฿ องเห็นโทษของ

การดื่มสรุ า จงึ ได฿บัญญัติเป็นข฿อห฿าม ข฿อเตือนใจ ให฿ละเว฿นการเสพสุราและเคร่ืองดื่มของเมา แต฾ก็ยังมี
การดมื่ สรุ ามาจนถึงทกุ วันน้ี แม฿แตใ฾ นการเลี้ยงซงึ่ ทางราชการเปน็ ผูจ฿ ัดก็มีการเล้ยี งสุรากนั อยู฾เสมอ เมื่อมิ
อาจห฿ามด่มื สรุ าได฿ และบางคร้งั บางคนอาจจาํ ในดืม่ สุรา ก็พงึ สํานึกถึงโทษของสุราไวเ฿ สมอ โทษของการ
ด่ืมสุราและเคร่ืองด่ืมดองของเมา พระทา฾ นบัญญัติไว฿ดังต฾อไปน้ี คือทําให฿เสียทรัพยโ ก฾อให฿เกิดการวิวาทม
เกดิ โรค ถกู ตําหนติ ิเตียน หน฿าด฿านไมร฾ จ฿ู ักอาย บ่ันทอนสขุ ภาพ กาํ ลงั สตปิ ัญญา

นารี
ต฾อไปจะได฿กล฾าวถึงนารี หรือความเป็นนักเลงผู฿หญิง เรื่องน้ีเป็นเรื่องสําคัญสําหรับคนวัยหน฾ุม

สาว เกี่ยวกับเรื่องเพศสัมพันธโ เป็นความรู฿สึกที่เกิดข้ึนโดยธรรมชาติ เมื่อคนวัยร฾ุนหน฾ุมย฾างเข฿าสู฾
ภาวการณโเป็นหนุ฾มสาว ความร฿ูสึกท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาตินี้จะผลักดันให฿หน฾ุมสาววิ่งเข฿าหากัน เพื่อ
ประสบความพอใจในเพศสัมพันธโ แต฾ศีลธรรมและประเพณีบังคับมิให฿มนุษยโกระทําเย่ียงสัตวโได฿ ความ
ต฿องการทางเพทศ มิใช฾ทุกสิ่งทุกอย฾างในชีวิต การขาดความสัมพันธโทางเพศมิได฿ทําให฿คนถึงตาย
เชน฾ เดียวกับคนทอ่ี ดขา฿ ว คนวยั หนมุ฾ สาวควรฝึกขดั ขม฾ ใจตนเอง มีความหนักแน฾น อดทน หาทางระบาย
ความรูส฿ ึกนี้ไปใช฿ในทางท่ดี ีมปี ระโยชนโแกช฾ วี ติ ของตนเอง เช฾น ในการทํางาน การคิดสร฿างสรรคโ งานศิลป฽
และกีฬา เปน็ ตน฿ กจิ กรรมเหลา฾ นจ้ี ะช฾วยทาํ ให฿วามรสู฿ กึ ทางเพศลดน฿อยลง

สมัยน้ีชีวิตความเป็นอยู฾ในสังคมได฿เปลี่ยนแปลงไปมาก สถานเริงรมยโ สถานอาบอบนวด
โรงแรมม฾านรดู ไดม฿ ใี นเมืองใหญ฾ ๆ เมืองละหลายแห฾ง คนวัยร฾ุนหนุ฾มพากันไปเท่ียวหาความสําราญใน
สถานทีเ่ หล฾านี้

การไปหาความสําราญในสถานทเี่ หลา฾ นต้ี ฿องใช฿เงินทองมาก ปัญหามีว฾าคนวัยร฾ุนหน฾ุมเหล฾าน้ีซึ่ง
เปน็ คนในวัยเรยี นจะเอาเงินมาก ๆ เช฾นนน้ั มาจากไหน นีค่ อื เหตหุ นง่ึ ทกี่ ฾อให฿เกิดอาชญากรรม ส฾วนโทษ
ของการดาํ รงตนเปน็ นกั เลงผ฿ูหญงิ นน้ั พระท฾านสอนไวว฿ า฾ จะทาํ ใหเ฿ กิดโรค ทาํ ให฿เสยี ทรพั ยโ เสยี เวลา และ
สขุ ภาพเสือ่ มโทรม

กามโรคเป็นโรคที่ร฿ายแรง อาจติดต฾อไปถึงผ฿ูอ่ืนได฿ ถ฿าผ฿ูที่มีครอบครัวแล฿วก็อาจติดต฾อไปถึงลูก
เมยี ได฿ หากเป็นมากถงึ ขน้ึ สมองจะทาํ ให฿ผน฿ู ้ันเปน็ คนพิการได฿

242 คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 237

คปู่มรือะสกง่ าเสศรนมิ ยี แบลัตะพรวัฒิชนาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือวิสามญั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 1

ภาชี
การเท่ียวในยามวิกาล คืออะไรน้ัน ท฾านคงทราบเป็นอย฾างดี แต฾เพ่ือเพ่ิมเติมความเข฿าใจอันดี

ขอนาํ คําสอนที่ท฾านศาสดา กําหนดความหมายของการเท่ียวยามวิกาลมาเป็นอุทาหรณโ ท฾านว฾ามีรําที่
ไหนไปที่น่ัน ขับร฿องท่ีไหนไปที่น่ัน ดีดสีดตีเปูาท่ีไหนไปที่น่ัน เสภาท่ีไหนไปท่ีนั่น เพลงท่ีไหนไปที่นั่น
เถดิ เถิงท่ไี หนไปทน่ี ่นั ซึ่งพอสรปุ ได฿ว฾า ไปเที่ยวกนั แทบไม฾มีเวลาทาํ มาหากิน พระท฾านจึงได฿บัญญัติโทษ
ของการเที่ยวยามวกิ าลไวว฿ า฾ ทําใหไ฿ ดช฿ ่ือว฾าไม฾รักษาตัว ทําให฿ได฿ช่ือว฾าไม฾รักลูกเมีย ไม฾ร฿ูจักรักษาทรัพยโ
เป็นทร่ี ะแวงของคนทัง้ หลาย มักถูกใสค฾ วามและได฿รับความลาํ บาก

กีฬาบตั ร
การเล฾นการพนนั มีโทษมาเช฾นเดียวกนั กลา฾ วคอื เม่ือชนะยอ฾ มกอ฾ เวร เมือ่ แพ฿ย฾อมเสียดายทรัพยโ

ทเี่ สยี ไป ทรัพยยโ ฾อมฉบิ หาย ไมม฾ ีใครเชอื่ ถอ฿ ยคาํ เป็นท่หี มิน่ ประมาทของเพ่อื น
การเล฾นการพนนั นัน้ นํามาซึ่งความพนิ าศแกท฾ รัพยโสนิ ท่ีมีอยูท฾ ุกชนดิ มีคาํ กล฾าววา฾ ถูกไฟไหม฿ 10

ครง้ั ยงั ไม฾ร฿ายแรงเท฾ากับการเสียการพนัน เพราะเมื่อไฟไหม฿บ฿าน ที่ดินยังอย฾ูเป็นของเรา เราอาจปลูก
บา฿ นอยูใ฾ หมไ฾ ด฿ แตถ฾ ฿าเราแพ฿การพนนั เราอาจเสียท้ังบ฿านท้ังท่ีดินก็ได฿ ฉะน้ัน จึงนับว฾าการเล฾นการพนัน
นน้ั นาํ มาซึ่งความเสยี หายอย฾างยิ่ง

ยาเสพติด (ข้อความวรรคนี้ ควรเปลี่ยนใหเ้ ป็นไปตามยุคสมยั )
(สารทีเ่ ด็กมักเสพในปัจจบุ ัน บหุ รี่ ยาบ้า กัญชา กระท่อม 4คณู 100)

ยาเสพติด อบายมขุ อย฾างใหมเ฾ ปน็ ภัยร฿ายแรงต฾อสุขภาพ อนามัย ขณะน้ํากําลังระบาดอยู฾ในหม฾ู
คนวัยร฾นุ หน฾ุมสาวมากมาย ยาเสพติดมีหลายชนิด ท่ีรู฿จักกนั ทัว่ ไปคอื เฮโรอนี แหล฾งผลิตเฮโรอีนมาจาก
สามเหลี่ยมทองคาํ เดินทางผ฾านประเทศไทย เพื่อส฾งไปขายต฾างประเทศอีกต฾อหน่ึง เฮโรอีนมีราคาแพง
มาก และหาซ้ือได฿ยากเข฿าทุกที เพราะทางราชการปราบปรามอย฾างเข฿มแข็ง คนวัยรุ฾นหน฾ุมหันไปหา
ทินเนอรโ น้าํ มนั ผสมสี เอามาสูดกลิ่นแทน ทําให฿สีอันตรายมากย่ิงข้ึน ร฾างการอ฾อนแอ เป็นการบั่นทอน
พหลงั ของชาติโดยทางอ฿อม คนวัยร฾ุนหน฾ุมได฿เงินจากไหนมาซื้อยาเสพติดเหล฾านี้ คงไม฾มีปัญหา ต฿องไป
ลักขโมยใครมาเป็นแน฾

เหตุของการตดิ ยาเสพติดมกั เกดิ จากการคบเพอ่ื นเสเพล เขาชวนใหล฿ องคร้ังสองครั้งโดยเขาซ้ือ
ใหล฿ อง ไม฾ชา฿ ก็ตดิ เมื่อติดแล฿วรกั ษาใหห฿ ายได฿ยาก อนาคตของชีวติ จะหมดไป

คนดแี ตพ่ ดู คนเหน็ แก่ได้
คนดีแต฾พูดนั้น อาจทําให฿เราหลงทาํ อะไรตามเขาได฿หลายอย฾าง เขาเปน็ คนชา฾ งพูดแตเ฾ ขาพูดเพ่อื

หาประโยชนโของเขาเอง คนอย฾างนี้มีอันตรายมาก เพราะเขาเป็นคนเห็นแก฾ได฿ฝูายเดียวไม฾คิดถึง
ประโยชนขโ องผู฿อนื่ ไมเ฾ ห็นใจผอ฿ู น่ื

ขอจบคาํ ปราศรัยแต฾เพยี งน้ี

คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสอื วสิ ามญั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 243
ค่มู ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวิสามัญปชรั้นะมกธัายศมนศยี กึ บษตั ารปวที ิช่ี า4ชีพ 1
238 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 1

ตอ฾ จากนี้ นาย......จะนําท฾านเดินทางไปส฾ูสถานที่ที่จะประกอบพิธีเข฿าประจํากองลูกเสือวิสามัญ
ขอให฿ทา฾ นเดนิ ทางไปด฿วยความสงบเงียบ และทําใจใหผ฿ ฾องใส

3. การกล่าวใหโ้ อวาทตอนทา้ ยของพธิ เี ขา้ ประจากอง
เม่ือสมาชิกกองลูกเสือวิสามัญได฿เดินทางผ฾านวิถีชีวิต สํารวจตัวเองเป็นที่แน฾นอนจนทําพิธีเข฿า

ประจํากองลูกเสือวิสามัญแล฿ว ผ฿ูกํากบั ลกู เสอื จะกลา฾ วให฿โอวาทแก฾ลูกเสอื วสิ ามัญตามแนวตวั อย฾างดงั นี้
ลกู เสือใหมท฾ ัง้ หลาย
บัดน้ีเจ฿าทุกคนได฿เป็นลูกเสือวิสามัญโดยสมบูรณโแล฿วในนามของคณะกรรมการบริหารลูกเสือ

แห฾งชาติ ขา฿ พเจ฿าขอตอ฿ นรบั เจา฿ ทุกคนเป็นสมาชกิ ลกู เสอื วิสามัญของไทยตอ฾ ไป
ขา฿ พเจา฿ หวังวา฾ เจ฿าคงไม฾ลืมคําว฾าบริการ ซึ่งเป็นคติพจนโอันสําคัญของลูกเสือวิสามัญและเจ฿าจะ

ปฏิบัติการบริการใหแ฿ กเ฾ พือ่ นมนษุ ยทโ กุ ชน้ั โดยมิได฿เหน็ แก฾ความเหน็ดเหน่อื ย และมไิ ด฿หวังการตอบแทน
แต฾ประการใด ในการท่ีจะให฿การบริการแก฾ผ฿ูอ่ืนอย฾างได฿ผลเต็มท่ี “เจ฿าจงเตรียมพร฿อม” ตัวเจ฿าตลอดไป
ด฿วย กล฾าวคือทําตวั เจา฿ ใหม฿ ีสขุ ภาพอนามยั สมบรู ณโไมเ฾ จบ็ ไมป฾ ูวย ศึกษาหาความรู฿เก่ียวกับวิชาการปฐม
พยาบาล เพือ่ ชว฾ ยเหลอื ผปู฿ ระสบอบุ ัติเหตไุ ดโ฿ ดยฉบั พลันทนั ที

อนึง่ เจ฿าจงคํานงึ ถงึ สสี ามสีทป่ี ระดบั อย฾ูทไ่ี หลข฾ องเจ฿าเสมอ เจ฿ามีหน฿าท่ีดูแลช฾วยอุปการะส่ังสอน
ลูกเสือรุ฾นน฿องของเจ฿าให฿เขาเป็นคนดี มีความรู฿ ความประพฤติดีเสมอ ช฾วยกันสร฿างสังคมให฿

เจรญิ กา฿ วหน฿า มีความสงบสขุ ประเทศชาติมน่ั คง
ด฿วยอาํ นาจคณุ พระศรีรัตนตรัย และสงิ่ ศกั ด์ิสิทธทิ์ ัง้ หลายท่เี จา฿ นบั ถอื โดยเฉพาะอยา฾ งยิง่ ดวงพระ

วญิ ญาณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล฿าเจ฿าอยู฾หัว พระผพู฿ ระราชทานกําเนิดลูกเสือไทย จงได฿โปรด
ดลบนั ดาลใหเ฿ จา฿ ทุกคน จงมีความสุข ความเจริญ ปรารถนาสง่ิ ใดท่ดี ีทช่ี อบจงสําเร็จทกุ ประการ และให฿มี
ความเจริญก฿าวหน฿าในชวี ติ ลกู เสือของเจ฿าตลอดไป.

สวัสดี

กฎลูกเสือ 10 ขอ้ ทีใ่ ช้กลา่ วตามมาตรฐานในการประกอบพธิ ีสารวจตวั เอง

ขอ้ 1. ลูกเสอื มีเกยี รติเช่อื ถือได้
ลูกเสือที่แท฿จริงถือว฾าเกียรติของเขาสําคัญกว฾าส่ิงใด เกียรติของเขาเป็นส่ิงศักดิ์สิทธิ์ คนท่ีร฿ูจัก

รักษาเกยี รตเิ ป็นผ฿ูเช่ือถือได฿เสมอ เขาจะไม฾กระทําสิ่งใด ๆ ท่ีเสียเกียรติ เช฾น พูดเท็จกับผู฿บังคับบัญชา

หรือนายจา฿ ง หรอื ผู฿อย฾ใู ตบ฿ ังคับบัญชาของเขา และเขาจะทําตวั ใหเ฿ ปน็ ท่ีนบั ถือของคนท่ัวไป ในฐานท่เี ป็น
ลูกเสือวิสามัญ ท฾านต฿องไม฾ยอมให฿สิ่งท่ีย่ัวยวนใจ ไม฾ว฾าจะลึกลับหรือรุนแรงเพียงไรมาชักจูงให฿ท฾าน
กระทาํ การใด ๆ ท่ีไม฾สจุ รติ หรือเป็นท่นี า฾ สงสัย ท฾านจะไม฾ละเมิดคํามน่ั สัญญาเปน็ อนั ขาด

ขอ้ 2. ลูกเสือมคี วามจงรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และซื่อตรงตอ่ ผู้มีพระคุณ
ในฐานะเปน็ พลเมอื งดี ทา฾ นจะระลึกถึงเสมอว฾าทา฾ นเป็นคนหนึ่งในคณะ หรือเป็นอิฐก฿อนหนึ่งใน

กาํ แพง ท฾านจะต฿องทาํ หน฿าท่ขี องทา฾ นใหด฿ ีทีส่ ดุ และซ่ือตรงกับผู฿มีส฾วนเกี่ยวข฿องกับท฾าน เช฾น พ฾อ แม฾ พ่ี

244 คูม่ อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามญั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 239

คปมู่ รอื ะสก่งาเสศรนมิ ียแบลัตะพรวฒั ชิ นาาชกีพจิ ก1รรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 1

นอ฿ ง นายจา฿ งและลกู จา฿ งของท฾าน ท฾านจะต฿องไมทําลายเกียรติของท฾านด฿วยการเล฾นไม฾ซื่อ นอกจากน้ัน
ท฾านต฿องไม฾ทําให฿ผู฿ท่ีไว฿วางใจท฾าน ไม฾ว฾าชายหรือหญิงต฿องผิดหวัง บรรพบุรุษของท฾านได฿ทํางานด฿วย
ความเข฿มแข็งรบด฿วยความทรหด และตายด฿วยความองอาจ เพ่ือรักษาบ฿านเมืองไว฿ให฿ท฾าน ขออย฾าให฿
บรรพบุรษุ ของท฾านมองลงมาจากสวรรคโ และเห็นท฾านเท่ียวแต฾ เอามือใส฾กระเป฼าโดยไม฾ได฿ทําประโยชนโ
อะไรเพือ่ บ฿านเมอื งเลย จงแสดงบทบาทของท฾านแตล฾ ะคนตามตําแหนง฾ ของตน และเล฾นดว฿ ยนาํ้ ใจนักกีฬา

ข้อ 3. ลูกเสอื มีหน้าท่กี ระทาตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์และช่วยเหลือผอู้ ืน่
ลูกเสือจะพยายามให฿ความเมตตากรุณา เพื่อบําเพ็ญประโยชนโต฾อประชาชนอยู฾เสมอ ความ

คดิ เห็นของเขามวี า฾ คนทกุ คนตอ฿ งตาย แตท฾ า฾ นควรจะทําใจของท฾านวา฾ กอ฾ นเวลาจากโลกนี้ไปตามวิถีทาง
ของธรรมชาติ ท฾านควรจะทําความดีบ฿าง ฉะนั้นจงทําทันที เพราะท฾านไม฾ร฿ูเลยว฾าเม่ือใดท฾านจะต฿อง
ลว฾ งลบั ไป

ขอ้ 4. ลูกเสอื เป็นมิตรของคนทกุ คนและเป็นพ่ีนอ้ งกบั ลูกเสอื อ่นื ทัว่ โลก
ในฐานะท่ีเป็นลูกเสือวิสามัญ ท฾านจะต฿องยอมรับร฿ูว฾าคนอื่นเป็นเพ่ือนมนุษยโ และท฾านต฿องไม฾

รงั เกียจความแตกต฾างในเรือ่ งของความคดิ วรรณะ ศาสนาหรอื ชาติบ฿านเมอื ง ทา฾ นต฿องขจัดอคติของทา฾ น
และมองหาจุดดีของคนอ่ืน ส฾วนจุดชั่วน้ันคนโง฾ก็ย฾อมวิจารณโได฿ ถ฿าท฾านแสดงไมตรีจิตต฾อคนชาติอ่ืนได฿
เชน฾ นี้ กน็ ับว฾าทา฾ นไดช฿ ฾วยก฾อใหเ฿ กิดสนั ตภิ าพและไมตรีจติ ระหวา฾ งประเทศและมวลมนษุ ยโชาตไิ ด฿

ข้อ 5. ลกู เสอื เป็นผู้สุภาพเรียบร้อย
ในฐานะทท่ี า฾ นเป็นลูกเสอื วสิ ามญั ท฾านจะตอ฿ งสุภาพและคาํ นงึ ถงึ ผ฿หู ญงิ คนแก฾ เดก็ และบคุ คลทั่ว

ๆทวั่ไปๆแไตป฾ย่ิงแกตว่ย฾างิ่ นก้ันว่าทนั฾นา้ นทจ่าะนตจ฿อะงตส้อุภงาสพุภตา฾พอฝตู่าอยฝ่ตายรตงขรง฿าขมา้ กมับกทบั ฾าทน่าดน฿วดย้วยรวรมวมคคววาามมวว฾า่า ทท฾า่านนจจะะตต฿อ้องงเเปป็น
สุภาพบรุ ุษ สภุ าพบุรุษ คือผปู฿ ฏิบตั ิงานตามกฎแห฾งการบาํ เพ็ญประโยชนขโ องลูกเสือ
ข้อ 6. ลกู เสือมคี วามเมตตากรณุ าตอ่ สตั ว์

สัตวโทั้งหลาย มีความรกั และหวงแหนชีวิตของตนยิ่งกว฾าส่ิงใด ต฾างก็ด้ินรนต฾อสู฾เพ่ือให฿มีชีวิตอยู฾
รอดและปลอดภัยจากอันตราย ทุกชีวิตปรารถนาความสุข ความรัก ความอบอุ฾น และการช฾วยเหลือ
เก้ือกูล แตเ฾ กลยี ดกลัวและหวาดระแวงตอ฾ การลว฾ งเกิน เบียดเบยี น และทํารา฿ ย

ภารกิจอันสําคัญท่ีสุดของลูกเสือวิสามัญ คือการช฾วยเหลือผู฿อื่นให฿พ฿นจากความทุกขโ และการ
บรกิ ารแก฾ผ฿อู ่นื ใหไ฿ ดร฿ บั ความสขุ ดังน้ันลูกเสือวิสามัญทุกคน จึงควรจะเป็นผท฿ู ีม่ ีความรักและความเมตตา
กรุณาตอ฾ สัตวโดว฿ ย

ข้อ 7. ลูกเสือเช่ือฟงั คาสัง่ ของบดิ ามารดา และผู้บงั คบั บัญชาดว้ ยความเคารพ
ในฐานะท่ีเป็นลูกเสือวิสามัญ ท฾านย฾อมบังคับตนเองและเต็มใจเชื่อฟังคําสั่งของพ฾อแม฾ ครู

อาจารยโ นายหมูแ฾ ละผ฿ูกํากับลูกเสอื โดยชอบด฿วยเหตผุ ล ไม฾มีการโตแ฿ ยง฿

คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือวสิ ามญั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 245
คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื วสิ ามัญปชรนั้ ะมกัธายศมนศียึกบษัตารปวีทชิ ี่ า4ชีพ 1
240 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1

ชุมชนที่มีวินัยดีเป็นชุมชนที่มีความสุขท่ีสุด แต฾วินัยต฿องเกิดมาจากภายในมิใช฾ถูกบังคับจาก
ภายนอก ดังน้ัน การปฏิบัติตนเป็นตัวอยา฾ งท่ีดแี ก฾ผ฿ูอนื่ จึงเปน็ สง่ิ ทมี่ คี ุณค฾ามาก

ขอ้ 8. ลูกเสือมีใจรา่ เรงิ และไม่ย่อท้อตอ่ ความลาบาก
ในฐฐาานนะเป็นลกู เสือวสิ ามัญ คนอ่ืน ๆ จะคอยมองดทู า฾ นและคดิ อยเ฾ู สมอว฾าท฾านคงจะไม฾หัวเสียและ

จะยนื หยดั ต฾อส฿ดู ฿วยความเข฿มแข็งแระร฾าเริงอดทน ในเมื่อมเี หตุการณโฉกุ เฉนิ เกิดข้ึน

ข้อ 9. ลูกเสือเป็นผู้มธั ยัสถ์
ในฐานะท฾านเป็นลูกเสือวิสามัญ ท฾านจะมองไปข฿างหน฿าและจะไม฾ยอมเสียเวลาหรือเสียเงิน

สาํ หรบั ความสขุ สาํ ราญในปจั จุบนั แตจ฾ ะใช฿โอกาสน้นั เพอื่ ให฿ได฿บรรลุความสําเร็จในหน฿าที่ที่ท฾านกระทํา
ทัง้ นเี้ พือ่ ว฾าจะไดไ฿ ม฾ต฿องเป็นภาระแก฾ผู฿อ่ืน แตก฾ ลับจะเป็นการชว฾ ยเหลือผอ฿ู ่ืนได฿อกี ด฿วย

ข้อ 10. ลกู เสือประพฤตชิ อบด้วย กาย วาจา ใจ
ในฐานะทท่ี ฾านเปน็ ลูกเสอื วสิ ามัญ ท฾านต฿องมีใจสะอาด คิดแต฾เร่ืองท่ีเป็นมงคล สามารถควบคุม

สตแิ ละจติ ใจตนเองไมใ฾ หฟ฿ งฺุ ซานในรปู -รส-กลิน่ -เสยี ง-สัมผสั และของมนึ เมาจนเกินกวา฾ เหตุ ทา฾ นต฿องเป็น
ตัวของตัวเอง และเปน็ ตัวอย฾างทีด่ แี กผ฾ ฿อู น่ื ในทกุ ส่งิ ทุกอยา฾ งทที่ า฾ นคดิ -พูด และกระทาํ

สรปุ ตามกฎ 10 ขอ้ ของลูกเสอื วสิ ามญั
ในฐานะท่ีท฾านเป็นลูกเสือวิสามัญ ท฾านต฿องจําไว฿ว฾าการข฿ามจากความเป็นเด็กไปสู฾ความเป็น

ผ฿ใู หญน฾ นั้ ทา฾ นมไิ ด฿เป็นแตเ฾ พียงเรียนร฿ูในการปฏิบตั ิตามกฎของลูกเสือ แตท฾ ฾านกาํ ลงั ใชก฿ ฎของลกู เสอื นนั้
สําหรบั ปฏบิ ตั ิในการดาํ เนนิ ชีวิตของท฾าน ในปัจจุบัน ทา฾ นอย฾ูในฐานะรบั ผดิ ชอบท่จี ะเป็นตัวอย฾างแก฾ผ฿ูอ่ืน
และชกั นาํ เขาเหล฾าน้ันให฿ไปในทางท่ดี ีหรือทางช่วั ก็ได฿ ถ฿าท฾านปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
ท฾านก็ย฾อมเป็นตัวอย฾างที่ดี แต฾ถ฿าท฾านไม฾ปฏิบัติเช฾นน้ัน ก็เป็นที่น฾าเสียดายว฾าท฾านจะเป็นบ฾อเกิดแห฾ง
ความช่ัวรา฿ ยและชกั นาํ ผ฿ูอนื่ ไปในทางที่ผดิ

การสารวจตัวเองของผู้ทเ่ี ขา้ เปน็ ลกู เสือวิสามญั

การสมคั รเข฿าเป็นลูกเสอื วสิ ามญั เร่ิมตน฿ ดว฿ ยการสาํ รวจตัวเองกอ฾ น ดังต฾อไปนี้
ก. เม่ือเรามีอายุมากข้ึน วันเวลาก็ยิ่งผ฾านไปเร็วขึ้น เม่ือคิดดูจะเห็นว฾าชีวิตของคนเราน้ันสั้น
มาก และในไม฾ชา฿ กจ็ ะส้นิ สุดลง ลูกเสือวิสามัญจงึ ควรถามตนเองวา฾

1) ฉนั ได฿ใช฿เวลาในชวี ิตของฉนั ใหเ฿ ป็นประโยชนโสมกบั ทีไ่ ด฿เกิดมาแล฿วหรือ
2) ฉนั ไดป฿ ล฾อยเวลาใหห฿ มดไปโดยไมไ฾ ด฿ทําอะไรให฿เป็นประโยชนโเลยหรอื
3) ฉันกําลังทํางานอะไรทไี่ มเ฾ ปน็ ประโยชนโแก฾ใครเลยหรือ

246 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสอื วสิ ามัญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 241

คปูม่ รอื ะสกง่ าเสศรนมิ ยี แบลตัะพรวฒั ิชนาาชกีพิจก1รรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื วิสามัญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี 1


Click to View FlipBook Version