The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการเรียนรู้ตำบล
เพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน
ต.พรหมนิมิต อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dchayaporn, 2022-07-09 11:03:24

หลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน ต.พรหมนิมิต อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

หลักสูตรการเรียนรู้ตำบล
เพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน
ต.พรหมนิมิต อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

ËÅѡʵ٠áÒÃàÃÕ¹õŒÙ ÓºÅ
à¾Í่× ¡Òè´Ñ ¡ÒÃ梯 ÀÒÇЪÁØ ª¹

µÓºÅ¾ÃËÁ¹ÁÔ µÔ ÍÓàÀ͵ҤÅÕ ¨Ñ§ËÇ´Ñ ¹¤ÃÊÇÃä

µÓºÅ¾ÃËÁ¹ÔÁµÔ
ÍÓàÀ͵ҤÅÕ ¨§Ñ ËÇÑ´¹¤ÃÊÇÃä

คำนำ

หลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน ของตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัด
นครสวรรค์ เป็นการประมวลและนำใช้ข้อมูลที่แสดงสถานะของตำบลสุขภาวะ (Healthy Community
Profile) และข้อมูลที่แสดงศักยภาพของชุมชน (Community Potentials) มาจัดทำเป็นหลักสูตรการเรียนรู้
ตำบล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน หรือการฝึกอบรมในพื้นที่ (Community
Learning/ Learning Package)

หลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชนเล่มนี้ ประกอบด้วย 6 เมนู คือ 1) สถานะ
ของพื้นท่ี 2) การจัดการพื้นท่ี 3) กระบวนการเรียนรู้ 4) นวัตกรรม และ 5) ทิศทางการขับเคลื่อน เป็นการ
ออกแบบการเรียนรู้ให้สามารถตอบสนองการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ได้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
หลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะ ของตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ จะ
เป็นประโยชน์ต่อพื้นที่อื่น ๆ ศูนย์เรียนรู้ และตำบลที่สนใจ เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้เพื่อการ
จดั การสขุ ภาวะชมุ ชนในพ้นื ทีข่ องตำบลตนเองต่อไป

องคก์ ารบริหารส่วนตำบลพรหมนิมติ
อำเภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์

(ก)

สารบญั

คำนำ หนา้
สารบญั
สารบญั ภาพ (ก)
สารบัญตาราง
(ง)
หลกั สูตรการเรยี นรตู้ ำบลเพื่อการจัดการสขุ ภาวะชุมชน (Community Learning/Learning Package)
(จ)
กระบวนการไดม้ าซ่งึ หลกั สตู รการเรยี นรตู้ ำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน
1
เมนูที่ 1 สถานะ และบริบทของพนื้ ท่ี
สว่ นที่ ๑ บริบทของพืน้ ท่ี ๒

๑.๑ ประวัติความเป็นมาของตำบล 4
๑.๒ สภาพลักษณะภูมิประเทศ 4
4
๑.๓ สภาพการเมืองการปกครอง 4

๑.๔ ขอ้ มลู ประชากร ๘
๑.๕ สภาพสังคม วัฒนธรรม 1๒
1๔
๑.๖ สภาพเศรษฐกจิ 1๖
1๗
๑.๗ ทรพั ยากรธรรมชาติ และแหลง่ ประโยชน์
๑.8 การทอ่ งเท่ยี ว ๑๘
๑๘
ส่วนที่ ๒ เสน้ ทางการพัฒนาตำบลพรหมนมิ ติ ๒๐
๒.๑ เสน้ ทางการพัฒนาและการจดั การตนเองของท้องถนิ่ ๒๔

๒.๒ ความเปน็ มาของการเขา้ ส่ตู ำบลสุขภาวะ ๒๖
๒๖
๒.๓ การดำเนินงานสรา้ งเสริมสขุ ภาะชมุ ชนของตำบลพรหมนิมิต ๕๗

สว่ นท่ี ๓ ทุนและศักยภาพของพื้นที่ ๕๙
๓.๑ ทุนและศักยภาพระดับหมู่บา้ น
3.2 ทนุ และศักยภาพระดับตำบล ๕๙
๖๐
เมนูที่ ๒ การบริหารจัดการพืน้ ที่ ๗๑

ส่วนที่ ๑ การสรา้ งเป้าหมายร่วมในการพฒั นาพื้นทต่ี ำบลพรหมนมิ ิต ๗๒
๑.๑ สถานการณ์ปญั หาและการจัดการปญั หาของพ้นื ท่ี ระดับหมบู่ า้ น

๑.๒ สถานการณ์ปญั หาและการจัดการปัญหาของพน้ื ที่ ระดบั ตำบล

ส่วนที่ ๒ การจัดการและนำใช้ศกั ยภาพและทุนทางสงั คมของตำบลพรหมนมิ ิต

เมนทู ี่ ๓ ในการพฒั นาพืน้ ท่ี (ข)

สว่ นที่ ๓ การเชอื่ มโยงเครือข่ายในการพัฒนาตำบลพรหมนิมิต หนา้
๓.๑ การเชอื่ มโยงเครือข่ายภายในพ้ืนท่ี
๓.๒ การเช่ือมโยงเครือขา่ ยกบั ภายนอกพ้นื ที่ ๗๔
๗๔
กระบวนการเรียนรู้ ๗๕

ระบบท่ี ๑ ระบบการบริหารจัดการตำบลมีส่วนร่วม ๗๗
๑.๑ แหลง่ เรยี นรู้ การบริหารจดั การตำบลแบบมสี ่วนรว่ ม
๑.๒ แหล่งเรียนรู้ ศูนย์ประชาบดี ๘๑
๑.๓ แหลง่ เรยี นรู้ ศนู ยร์ ับปรึกษาปัญหาดา้ นกฎหมาย ๘๘
๑.4 แหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มผใู้ ช้นำ้ บ่อดินขาว ๙๒
๑.5 แหลง่ เรียนรู้ ศูนย์ปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรือน ๙๕
๙๘
ระบบที่ ๒ ระบบสวสั ดิการชมุ ชน ๑๐๑
๒.๑ แหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มฌาปนกิจ
๒.๒ แหล่งเรยี นรู้ กลมุ่ ชมรมผสู้ งู อายุ ๑๐๔
๒.๓ แหลง่ เรยี นรู้ กลมุ่ ออมทรัพย์ ๑๑๐
๑๑๓
ระบบท่ี ๓ ระบบเกษตรปลอดภัย ๑๑๖
๓.๑ แหล่งเรยี นรู้ กล่มุ น้ำหมักชวี ภาพ
๓.๒ แหลง่ เรียนรู้ กล่มุ ป๋ยุ อนิ ทรยี ์อดั เม็ด ๑๑๙
๓.๓ แหลง่ เรียนรู้ ศูนย์พนั ธุ์ข้าวชุมชน ๑๒๕
3.4 แหลง่ เรียนรู้ กลมุ่ มะนาวในวงบ่อซีเมนต์ ๑๒๘
๑๓๑
ระบบท่ี ๔ ระบบเศรษฐกจิ ชมุ ชน ๑๓๔
๔.๑ แหล่งเรียนรู้ กลุ่มทำกระเป๋าควลิ ท์
๔.๒ แหล่งเรียนรู้ กลมุ่ นำ้ พริก-ปลาสม้ ๑๓๘
4.3 แหลง่ เรียนรู้ กลมุ่ มะขามเทศพนั ธ์ุ ๑๔๕
4.4 แหลง่ เรยี นรู้ กลมุ่ ผูป้ ลกู หอมหวั ใหญ่ ๑๔๘
4.5 แหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มไม้กวาดทางมะพร้าว ๑๕๑
4.6 แหล่งเรยี นรู้ กลุ่มทำดอกไมจ้ ันทน์ ๑๕๔
๑๕๗
ระบบท่ี ๕ ระบบการเรียนรู้ชุมชน ๑๖๐
๕.๑ แหลง่ เรยี นรู้ ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ตำบลพรหมนิมติ
๕.๒ แหล่งเรียนรู้ กลุ่มเดก็ และเยาวชน ๑๖๓
๕.๓ แหลง่ เรยี นรู้ ศูนย์การเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง ๑๖๙
๕.๔ แหลง่ เรยี นรู้ กลุม่ ปฏิบตั ิธรรม (วดั หลงั เขา) ๑๗๒
๑๗๕
๑๗๘

เมนูที่ 4 ๕.๕ แหล่งเรยี นรู้ กลมุ่ ธนาคารขยะรีไซเคลิ (ค)
เมนทู ่ี 5
ระบบที่ ๖ ระบบการดูแลสขุ ภาพชุมชน หน้า
๖.๑ แหลง่ เรียนรู้ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพ (สปสช.)
๖.๒ แหล่งเรยี นรู้ กลุม่ อสม. ๑๘๑

ระบบท่ี 7 ระบบภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ๑๘๔
7.1 แหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มจกั สานงานไม้ไผ่ ๑๙๑
7.2 แหล่งเรียนรู้ กลุ่มกลองยาว ๑๙๔
7.3 แหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มทอผ้าพื้นเมอื ง
7.4 แหลง่ เรียนรู้ กลุ่มยาหม่องสมนุ ไพร ๑๙๗
7.5 แหล่งเรียนรู้ กลมุ่ นวดลกู ประคบสมุนไพร ๒๐๐
๒๐๓
การพัฒนานวตั กรรม ๒๐๖
1. แนวคิดและหลักการ ๒๐๙
2. รูปธรรมของนวตั กรรม ๒๑๒
2.1 ประปาผิวดินหม่บู า้ น หมู่ที่ 2
2.2 ปุ๋ยดี ดินดี ไม่มจี น ๒๑๕
2.3 กลมุ่ ปฏิบัติธรรมวดั หลังเขา ๒๑๕
2.4 จักรยานสบู นำ้
2.5 เตาเผาขยะถงั น้ำมนั 200 ลิตร ๒๑๗
๒๒๒
ทิศทางการขับเคล่อื นงาน ๒๒๘
ส่วนที่ ๑ ทศิ ทางการขบั เคล่ือนงาน ระดับหมบู่ า้ น ๒๓๒
1.1 หมูบ่ ้านจัดการตนเอง ด้านการออม: ๒๓๗
เพอื่ ทนุ ประกอบอาชพี และสาธารณะประโยชน์
สว่ นท่ี ๒ ทิศทางการขบั เคลอื่ นงาน ระดับตำบล ๒๔๒
สว่ นที่ ๓ ทศิ ทางการขบั เคลอ่ื นงาน ระดบั เครือขา่ ย ๒๔๒
๒๔๔

๒๕๑
๒๕๗

สารบัญภาพ (ง)

ภาพท่ี หน้า
1 แสดงพื้นทแ่ี บ่งเขตหมบู่ ้าน ตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์
2 เส้นทางการพฒั นาตำบลพรหมนมิ ิต อำเภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์ ๕
3 ฐานคิดการดำเนนิ งานสรา้ งเสรมิ สุขภาะชุมชนของตำบลพรหมนิมติ อำเภอตาคลี ๒๑
จงั หวดั นครสวรรค์ ๒๔

สารบัญตาราง (จ)

ตารางท่ี จำนวนและรอ้ ยละของประชากร จำแนกตามหม่บู ้าน หน้า
จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามกลมุ่ อายปุ ระชากร
1 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามสถานะการศึกษา ๙
2 จำนวนและรอ้ ยละประชากร ท่มี ีปัญหาสขภาพและการเจ็บปว่ ย ๙
3 จำนวนและร้อยละประชากร จำแนกตามพฤติกรรมเสีย่ ง ๑๐
4 จำนวนและรอ้ ยละประชากร จำแนกตามการประกอบอาชีพ ๑๑
5 จำนวนและรอ้ ยละประชากร จำแนกตามประเภทความต้องการได้รับการช่วยเหลอื ดูแล ๑๑
6 ภาระหน้สี ิน แหล่งเงนิ กู้ และการออมเงนิ ของครวั เรอื น ๑๒
7 ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มของครวั เรอื น ๑๓
8 สรุปจำนวนทนุ ทางสงั คมของพน้ื ที่ จำแนกตามระดับหมบู่ ้านและภาพรวม ๑๕
9 ทนุ และศักยภาพของพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านบ่อดนิ ขาว ๑๖
10 ทุนและศักยภาพของพ้นื ท่ี หมู่ท่ี 2 บ้านสะพานสาม ๒๖
11 ทุนและศักยภาพของพน้ื ท่ี หมทู่ ่ี 3 บ้านสะพานสอง ๒๘
13 ทุนและศักยภาพของพนื้ ที่ หมทู่ ่ี 4 บ้านคลองแปด ๓๒
14 ทุนและศกั ยภาพของพื้นท่ี หมู่ที่ 5 บ้านหนองโนน ๓๕
15 ทุนและศกั ยภาพของพน้ื ท่ี หมู่ท่ี 6 บา้ นหนองหญ้ารงั กา ๓๘
16 ทนุ และศกั ยภาพของพน้ื ที่ หมทู่ ่ี 7 บา้ นโพธ์คิ อย ๔๑
17 ทุนและศักยภาพของพืน้ ท่ี หม่ทู ่ี 8 บา้ นกกกวา้ ว ๔๔
18 ทุนและศักยภาพของพน้ื ท่ี หมทู่ ่ี 9 บา้ นหนองไก่หลอ่ ๔๗
18 กลมุ่ ปฏิบัตกิ ารหรือแหล่งเรียนรขู้ องตำบลพรหมนมิ ิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ๕๐
20 จำแนกตามทุนและศกั ยภาพ รายหมบู่ ้าน และระดบั การสร้างการเรียนรู้ ๕๔
21 การกระจายตวั ของแหลง่ เรยี นรู้ จำแนกตามระบบการเรียนรู้ รายหมู่บ้าน ๗๘
นวตั กรรมท่โี ดดเดน่ ของตำบลพรหมนิมติ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
22 ๘๐
23 ๒๑๖

หลักสตู รการเรยี นรตู้ ำบลเพื่อการจัดการสขุ ภาวะชุมชน
ของตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์

(Community Learning/Learning Package)

การพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน ของตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี
จังหวัดนครสวรรค์ เกิดจากการประมวลและนำใช้ข้อมูลที่แสดงสถานะของตำบลสุขภาวะ (Healthy Community
Profile) และข้อมูลที่แสดงศักยภาพของชุมชน (Community Potentials) มาจัดทำเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ชุมชน
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน หรือการฝึกอบรม (Community Learning/ Learning
Package) ในพืน้ ที่ ประกอบดว้ ย

1) เมนู 1 สถานะและบริบทของพื้นท่ี หมายถึง สถานะของข้อมูลในพื้นที่ ที่แสดงให้เห็นถึงทุน
และศักยภาพของชุมชนในการจดั การกับสถานการณ์หรือปัญหา

2) เมนู 2 การบริหารจัดการพื้นที่ หมายถึง แนวทางการจัดการพื้นในการขับเคลื่อนงานเพื่อ
เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น ประกอบด้วย การสร้างเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนา การนำใช้ทุนและ
ศกั ยภาพในการจดั การกบั วิกฤตของพ้ืนที่ และการเช่ือมโยงเครอื ขา่ ย

3) เมนู 3 กระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มีการนำใช้ข้อมูลของพื้นที่ ศักยภาพทุนทางสังคมที่ตอบสนองสถานการณ์ทั้งในภาวะปกติ และ
ภาวะวิกฤติ ประกอบด้วย ระบบและแหล่งเรียนรู้ และหมบู่ ้านจดั การตนเอง

4) เมนู ๔ นวัตกรรม หมายถึง การพัฒนาหรือต่อยอดรูปธรรมการจัดการพื้นที่ จะเกิดเป็น
แนวทางอันเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการปัญหาจนเป็น นวัตกรรมเพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและ
ปจั จยั สง่ เสรมิ สุขภาพ และตอบสนองต่อการบรู ณาการงานประจำ ได้แก่

4.1) ภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย (1) ด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน (๒) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต (๓) การจัดระเบียบชุมชนและสังคม (๔) การวางแผนการส่งเสริมการ
ลงทุนและพาณิชย์ (๕) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๖) ด้านการส่งเสริมศาสนา ศิลปะ
วฒั นธรรมและภมู ิปัญญา และ (๗) บรหิ ารจดั การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ภิ ารกิจของสว่ นราชการ และ อปท.

4.2) นโยบายสาธารณะ ประกอบด้วย (1) การบริหารจัดการท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม
(2) การจัดสวัสดิการสังคมโดยชุมชน (3) เกษตรกรรมยั่งยืน (4) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(5) การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน (6) การดูแลสุขภาพชุมชนโดยชุมชน (7) การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถ่ิน
และ (8) การลงทนุ ด้านสขุ ภาพโดยชมุ ชน

4.3) การจัดการปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและปัจจัยส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง การ
ประเมินและถอดบทเรียนทุนทางสังคมของพื้นที่ เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลจากปฏิบัติการที่จะส่งผลกระทบต่อการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการสร้างเสริมสุขภาวะอันจะทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพดีขึ้น โดยในเบื้องต้น
ประกอบด้วย ๑๖ ประเด็น เช่น (๑) ท้องถิ่นคุณธรรม (การมีส่วนร่วมและการสร้างความเป็นพลเมือง) (๒) การ
ควบคุมการบริโภคยาสูบ (๓) การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และลดอุบัติเหตุจราจร (๔) ระบบการ

2

ดูแลผู้สูงอายุ (๕) ครอบครัวอบอุ่น (๖) การจัดการปัญหาท้องวัยรุ่น (๗) การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน (๘) การ
พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (๙) การส่งเสริมโรงเรียนคุณธรรม (รวมเรื่องสุขภาวะทางกายใจสังคม) (๑๐) การดูแลผู้
พิการและผู้ยากไร้ (อาสาทำด)ี (๑๑) เกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ (๑๒) การพัฒนาระบบพลังงานชุมชน
(๑๓) การจัดการขยะและมลพิษ (๑๔) สถาบันการเงินชุมชน (สวัสดิการสังคมโดยชุมชน) (๑๕) การจัดการพิบัติภัย
และ (๑๖) การสรา้ งเสรมิ สุขภาวะในศาสนสถาน (วัด มสั ยดิ โบสถ์) เปน็ ตน้

5) เมนู ๕ ทิศทางการขับเคลื่อนงาน หมายถึง การกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนในระดับพื้นท่ี
ประกอบด้วยหมู่บา้ น ตำบลและเครือขา่ ยเพอ่ื กำหนดเปา้ หมายในการขบั เคลอื่ นเพ่อื ขยายผลการดำเนนิ งาน

1. กระบวนการได้มาซง่ึ หลักสตู รการเรยี นรู้ตำบลเพ่ือการจัดการสุขภาวะชมุ ชน

1.1 ส่วนท่ี ๑ กจิ กรรมการพฒั นาศักยภาพวิทยากรชมุ ชนและทีมงาน

ศูนย์จัดการเครือข่ายองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต ได้ดำเนินการคัดเลือกวิทยากรแหล่ง และ
คณะทำงาน ในระดับต่าง ๆ จากการพิจารณาระบบข้อมลู ตำบล (TCNAP) และกระบวนการวจิ ัยชมุ ชนเชงิ ชาตพิ ันธ์ุ
วรรณนาแบบเร่งด่วน (RECAP) ซึ่งประกบด้วยแหล่งเรียนรู้ คณะทำงานหมู่บ้านจัดการตนเอง กลุ่มโฮมสเตย์ กลุ่ม
รถขนส่ง กลุ่มไกด์ และทีมงานกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม ทั้งนี้ ได้พัฒนาศักยภาพให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ด้วยการจัด
ประชุม การฝึกอบรม และการศึกษาดูงาน โดยเฉพาะการศึกษาดูงาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับศูนย์จัดการ
เครือข่ายที่เป็นศูนย์จัดการเครือข่าย จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองน้ำไหล ตำบลคลองน้ำ
ไหล อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ซึ่งทำ
ให้วิทยากรแหล่งเรียนรู้ และคณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำมาสู่การพัฒนาศักยภาพ
ของตนเอง เพอ่ื สนับสนนุ การขบั เคลอ่ื นงานในพื้นทตี่ อ่ ไป

1.2 ส่วนท่ี ๒ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสกู่ ารเรียนรตู้ ำบลเพอื่ การจดั การสขุ ภาวะชมุ ชน

ดำเนินการตรวจสอบข้อมูลจากระบบข้อมูล (TCNAP) และข้อมูลการวิจัยชุมชน (RECAP) โดยวิเคราะห์
ข้อมูลทุนและศักยภาพของแหล่งเรียนรู้ หมู่บ้านทั้ง 9 หมู่บ้าน และตำบล เพื่อเรียบเรียง และเชื่อมโยงข้อมูลนำสู่
การจัดหมวดหมู่ของทุนและศักยภาพ ซึ่งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการร่วมกับคณะทำงานสนับสนุนระดับหมู่บ้าน
และวิทยากรแหล่งเรียนรู้ ตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องของข้อมูล จากกระบวนการประชุมเชิงปฏิบัติการ ท้ัง
ในระดบั หมู่บ้าน ทัง้ 9 หมบู่ ้าน และตำบล เพือ่ พัฒนาหลักสตู รการเรียนรู้ท่ีสมบรู ณ์ต่อไป

1.3 ส่วนที่ ๓ การพัฒนาหลักสูตรการเรยี นรตู้ ำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชมุ ชน

เริ่มจากการตรวจสอบและทบทวนข้อมูลจากระบบข้อมูลตำบล (TCNAP) และข้อมูลการวิจัยชุมชนเชิง
ชาติพันธุ์วรรณนาแบบเร่งด่วน (RECAP) ทั้ง 9 หมู่บ้าน และนำเทียบเคียงพัฒนาต่อยอดหลักสูตรการเรียนรู้ตำบล
เพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน ซึ่งคณะทำงานยกร่างได้เข้ารับการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพในการจัดทำ
หลักสูตรเพิ่มเติม เพื่อให้การพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้เครือข่ายมีความทันสมัย และสอดคล้องกับแนวทางการ
ขับเคลื่อนตำบลสุขภาวะในปัจจุบัน โดยหลักการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ตำบล มุ่งเน้นทุนและศักยภาพที่มีความ
เข้มแข็ง และมีภาพความเชื่อมโยงที่ชัดเจน โดยกระบวนการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ เป็นการ
ดำเนินการควบคู่กับการพิจารณาหลักสูตรการเรียนรู้ร่วมกับวิทยากรแหล่งเรียนรู้ และคณะทำงานอื่น ๆ ท่ี
เกี่ยวข้อง ได้ทำการตรวจทานข้อมูล การจัดหมวดหมู่ของทุนและศักยภาพ การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ของแต่
ละแหล่งเรียนรู้ การสอบทานและยืนยันความถูกต้อง โดยเน้นการมีส่วนรว่ มของทุกแหล่งเรียนรู้ และทุกภาคส่วนที่
เก่ียวขอ้ ง

3

จากกระบวนการได้มาซึ่งหลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน ดังที่ได้กลาวข้างต้น
สามารถเรียบเรียงทุนและศักยภาพของชุมชน และจัดแบ่งการนำใช้ข้อมูลที่แสดงสถานะของตำบลสุขภาวะ
(Healthy Community Profile) และข้อมูลที่แสดงศักยภาพของชุมชน (Community Potentials) มาจัดทำเป็น
หลักสูตรการเรียนรู้ตำบลเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน
หรือการฝกึ อบรม (Community Learning/ Learning Package) ในพ้นื ท่ี ประกอบด้วย 5 เมนู ดังน้ี

1) เมนู 1 สถานะและบรบิ ทของพื้นท่ี
2) เมนู 2 การบริหารจดั การพนื้ ท่ี
3) เมนู 3 กระบวนการเรยี นรู้
4) เมนู ๔ นวัตกรรม ประกอบด้วย ภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นโยบายสาธารณะ
และการจดั การปจั จัยเสยี่ งทางสขุ ภาพและปจั จยั ส่งเสริมสขุ ภาพ
5) เมนู ๕ ทิศทางการขับเคล่ือนงาน

การพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการจัดการสุขภาวะชุมชน ของตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี
จงั หวดั นครสวรรค์ แบง่ ออกเป็น 5 สว่ น (5 เมน)ู โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้

เมนูที่ 1
สถานะและบริบทของพ้ืนที่
ตำบลพรหมนิมติ อำเภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์

สว่ นท่ี 1 บริบทของพ้ืนท่ี

1.1 ประวัติความเปน็ มาของชมุ ชน

ตำบลพรหมนิมิต เดิมเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของตำบลช่องแค จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งมีพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง
คือ หลวงพ่อพรหม ถาวรโร แห่งวัดช่องแคเป็นที่เคารพสักการะบูชาของคนในพื้นที่และบุคคลทั่วไป จึงได้ขอให้
ฉายาของหลวงพ่อพรหมเป็นนิมิตในการตั้งชื่อตำบลเพื่อความเป็นสิริมงคล ประกอบกับมีความเชื่อถือว่าบารมีของ
หลวงพ่อพรหมจะคุ้มครองปกปักรักษาให้ประชาชนอยู่เป็นสุขจึงได้ใช้ชื่อว่า “ตำบลพรหมนิมิต”มาจนถึงปัจจุบัน
ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลมาจากหลากหลายจังหวัดทั้งทางภาคเหนือ เช่น กำแพงเพชร ภาคอีสาน เช่น
ร้อยเอ็ด ภาคกลาง เช่น ลพบุรี ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานในตำบลพรหมนิมิตมีศักยภาพที่ใช้
ประโยชน์ในการบริหารจัดการตำบลคือลักษณะพื้นที่กว้าง เป็นแหล่งน้ำมีคลองชลประทานไหลผ่านมีพื้นท่ี
เหมาะสมการทำการเกษตร ดังนั้นจึงเป็นพื้นที่ ท่ีเหมาะสำหรับทำการเกษตร นอกจากน้ียังมีศาสนาสถานที่สำคัญ
เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนทั่วไป เช่น วัดช่องแค หลวงพ่อพรหม วัดพรหมนิมิต (วัดหลังเขา) หลวงพ่อบัว
เผื่อนมีโบสถ์ที่ทำด้วยขวดสีเขียวทั้งหมด วัดโพธิ์คอย มีพระนอน เหมาะสมเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและน่าศึกษาของ
ตำบลพรหมนิมิต

องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต เดิมเป็นพื้นที่อยู่กับตำบลช่องแค เมื่อมีความเจริญเพิ่มมากขึ้นจึงได้
แยกพื้นที่ขึ้นเป็นตำบลพรหมนิมิตและเป็นสภาตำบลพรหมนิมิตอยู่ต่อมารัฐบาลมีนโยบายในการกระจายอำนาจ
การปกครองส่วนท้องถิ่นให้กับประชาชน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศจัดตั้งสภาตำบลพรหมนิมิต
ยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต ขึ้นในปี พ.ศ.2540 ซึ่งมีผลให้ราชการส่วนท้องถิ่นตาม
พ.ร.บ.สภาตำบลและองคก์ ารบริหารสว่ นตำบล พ.ศ. 2537 ตงั้ แต่วนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2540 เป็นตน้ มา

1.2 สภาพลักษณะภูมปิ ระเทศ

ตำบลพรหมนิมิต พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะสมทำการเกษตร และภูมิอากาศเหมือน สภาพภูมิอากาศใน
เขตอื่นๆ คือ อากาศร้อนจัดในฤดูร้อนช่วงเดือน มีนาคม–เมษายนของทุกปี อุณหภูมิประมาณ 38-40 องศา
เซลเซียส อากาศหนาวในระยะสั้นๆ โดยเริ่มตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน–เดือนมกราคม ของทุกปี ในฤดูฝนเริ่มตั้งแต่
เดือนพฤษภาคมมีฝนทิ้งช่วงปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม หลังจากนั้นฝนจะเพิ่มปริมาณมากขึ้นจนถึง
ปลายเดือนตุลาคม องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต ตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 บ้านหนองไก่หล่อ ตำบลพรหมนิมิต
อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่ทั้งหมด 21.68 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,673 ไร่ แบ่งเป็น จำนวน 9
หมูบ่ า้ น ประกอบดว้ ย

หมทู่ ่ี 1 บา้ นบอ่ ดินขาว หมทู่ ี่ 2 บา้ นสะพานสาม
หมู่ที่ 3 บา้ นสะพานสอง หมทู่ ่ี 4 บา้ นคลองแปด
หมทู่ ่ี 5 บ้านหนองโนน
หมู่ที่ 7 บ้านโพธค์ิ อย หม่ทู ี่ 6 บา้ นหนองหญ้ารังกา
หมทู่ ่ี 9 บา้ นหนองไก่หล่อ
หมู่ท่ี 8 บ้านกกกว้าว

5

สภาพลกั ษณะภูมิประเทศ โดยรวมเป็นพน้ื ทร่ี าบลมุ่ สลบั กบั พืน้ ทดี่ อน โดยมอี าณาเขตดงั น้ี
(1) ทศิ เหนือ เป็นพน้ื ท่บี า้ นสะพานสาม หมทู่ ี่ 2 ติดกบั ตำบลช่องแค และตำบลตาคลี อำเภอตา

คลีจังหวัดนครสวรรค์ ที่ประชาชนทั้งสามตำบลใช้แหล่งประโยชน์ร่วมกันคือคลองชลประทานชัยนาท – ป่าสัก
(อนุศาสนนันท)์ เป็นคลองส่งน้ำเพื่อทำการเกษตรที่ประชาชนใช้ร่วมกัน ทางรถไฟสายเหนือ กรุงเทพฯ – เชียงใหม่
ให้ประชาชน นักเรียน นักศึกษาได้สัญจรได้สะดวก และถนนสายตัดผ่านทางหลวงแผ่นดินสายตาคลี – บ้านหม่ี
(3196) เพือ่ ให้ประชาชนได้สัญจรไปมาไดส้ ะดวก

(2) ทิศตะวันออก เป็นพื้นที่บ้านบ่อดินขาว หมู่ที่ 1 ติดกับเทศบาลบาลช่องแค อำเภอตาคลี
จังหวัดนครสวรรค์ ประชาชนได้ใช้พื้นที่แหล่งประโยชน์ร่วมกัน ทางรถไฟสายเหนือ กรุงเทพฯ – เชียงใหม่ เพื่อให้
ประชาชนได้สัญจรไปมาได้สะดวก และตลาดค้าขายของอุปโภค –บริโภค รวมกัน และประชาชนได้นำของไป
จำหน่าย เช่น พืช ผัก เพอ่ื บริโภค

(3) ทิศใต้ เป็นพื้นที่บ้านกกกว้าว หมู่ที่ 8 และพื้นท่ีบ้านหนองหญ้ารังกา หมู่ที่ 6 ติดกับตำบล
จันเสนและตำบลสร้อยทอง ประชาชนได้ใช้แหล่งประโยชน์ร่วมกันคือคลองชลประทานชัยนาท – ป่าสัก
(อนุศาสนนันท์) เป็นคลองส่งน้ำเพื่อทำการเกษตรที่ประชาชนใช้ร่วมกัน และถนนสายตัดผ่านทางหลวงแผ่นดิน
สายตาคลี – บา้ นหม(ี่ 3196) เพือ่ ใหป้ ระชาชนได้สญั จรไปมาได้สะดวก

(4) ทิศตะวันตก เป็นพ้ืนที่บ้านหนองไก่หล่อ หมู่ที่ 9 และพื้นที่บ้านคลองแปด หมู่ที่ 4 ติดกับ
ตำบลสรอ้ ยทอง ประชาชนได้ใช้แหล่งประโยชนร์ ่วมกนั คือท่วั ไป ทางหลวงแผ่นดินสายอนิ ทร์บุรี – ตากฟา้ (11) ใช้
ด้านคมนาคมขนส่งพืชผลทางการเกษตร ติดกับตำบลหนองหม้อ ได้ใช้แหล่งประโยชน์ร่วมกันคือคลองส่งน้ำทำ
การเกษตร คลองใชฟ่ อ้ น

ภาพที่ 1 แสดงพ้ืนทแี่ บง่ เขตหมบู่ ้าน ตำบลพรหมนมิ ิต อำเภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์

6

1.3 สภาพการเมอื งการปกครอง

องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต เดิมเป็นพื้นที่อยู่กับตำบลช่องแค เมื่อมีความเจริญเพิ่มมากขึ้นจึงได้
แยกพื้นที่ขึ้นเป็นตำบลพรหมนิมิตและเป็นสภาตำบลพรหมนิมิต ต่อมารัฐบาลมีนโยบายในการกระจายอำนาจการ
ปกครองส่วนท้องถิ่นให้กับประชาชน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศจัดตั้งสภาตำบลพรหมนิมิต ยก
ฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมติ ขึ้นในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งมีผลให้ราชการส่วนท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.
สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 เป็นต้นมา โดยปัจจุบัน
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลพรหมนมิ ิตได้มีการเลอื กต้งั

(1) วสิ ยั ทัศน์ (Vision) การพัฒนาขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลพรหมนิมิต
องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต จะมุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่นให้ครอบคลุมทุกด้านทั้งใน
ด้านคุณภาพชีวิตสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐาน การศึกษา ฯลฯ โดยมุ่งเน้นให้ชุมชนมีส่วนร่วม
เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้สามารถพึ่งตนเองได้ มีการบริหารจัดการท้องถิ่นอย่างโปร่งใส มุ่งเน้นการ
ให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับของประชาชนอย่างแท้จริง และยั่งยืนภายในระยะเวลา 5-10 ปี ข้างหน้าซ่ึง
สรุปวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต คือ“ทำงานเชิงรุก เน้นการมีส่วนร่วม สร้างความสามัคคี
พัฒนาสังคมให้ยั่งยืน” องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต จึงเป็นตำบลน่าอยู่ ดังคำขวัญ “หลวงพ่อพรหม
ศักดิ์สิทธิ์ งามวิจิตรโบสถ์ขวดหลวงพ่อบัวเผื่อน เกษตรไร่นาสวนสองฝั่งคลอง แผ่นดินทองดอกไม้งามบานที่พรหม
นมิ ติ ”

(2) พนั ธกิจ (Mission)
2.1 เสริมสรา้ งคุณภาพชวี ิต สังคมปลอดภัย พัฒนารายได้ประชาชนให้พง่ึ พาตนเอง
2.2 จัดให้มี ปรับปรุง พัฒนาระบบสาธารณูปโภคให้ได้มาตรฐาน และเพียงพอเพ่ือ

รองรบั การขยายตวั ของชมุ ชนในอนาคต
2.3 สง่ เสรมิ การศกึ ษาทัง้ ในและนอกระบบ
2.4 จัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอย่างยั่งยืน

(3) จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (Objective) ซึ่งมีการนำมาบูรณาการร่วมกับงานตำบลสุข
ภาวะ ดงั น้ี

3.1 พัฒนาตกแต่งตัวเมือง (ตำบล) ให้สวยงาม โดยมีการปลูกไม้ดอก มีการจัดสร้าง
สัญลักษณ์ของเมือง ดูแลรักษาความสะอาดทางน้ำ ทางบก สิ่งแวดล้อมให้มีสภาพดี ได้แก่ การใช้พื้นที่สาธารณะ
สร้างอาหารทป่ี ลอดภัย การมแี หลง่ เรยี นรปู้ ลูกดอกไม้ริมทาง

3.2 ส่งเสริมเด็ก เยาวชนทด่ี ้อยโอกาสและเยาวชนทวั่ ไปให้ได้รับการศึกษา ท้ังในระบบ
และนอกระบบอย่างเพียงพอและทั่วถึง โดยเกิดการรวมกลุ่มเยาวชนในการทำกิจกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน
ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ รวมถึงการใช้คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

3.3 ส่งเสริมการกีฬา การออกกำลังกาย และจัดให้มีการบริการด้านสุขภาพอนามัยแก่
เยาวชน ประชาชน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิตอย่างเพียงพอและทั่วถึง โดยการดูแลสุขภาพชุมชน
โดยใช้การนวดสมุนไพร เช่น การดูแลข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุและแพทย์ทางเลือก ซึ่งเกิดเป็นนวัตกรรมนวดลูก
ประคบสมนุ ไพร และยาหม่องสมุนไพร

3.4 ส่งเสริมจัดให้มีและอนุรักษ์ไว้ซึ่งประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น โดยมีการ
จัดตงั้ กลมุ่ กลองยาว เพอื่ เปน็ การอนุรกั ษ์ประเพณีการทอผา้ พนื้ เมือง

7

3.5 ส่งเสริมสนับสนุนรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและการช่วยเหลือ
ป้องกันบรรเทาธารณภัย ให้กับประชาชนโดยเวร ตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมติดตั้งกล้องวงจรปิดครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง
ในเขตความรบั ผดิ ชอบ

จากการทำวิจัยชุมชน (RECAP) ทำให้ทราบว่า ตำบลพรหมนิมิตมีกิจกรรมหรืองานในพื้นที่ ที่สร้างให้
ชมุ ชนเขม็ แขง็ ด้วยทนุ ทางสังคมอย่างยั่งยนื โดยตำบลพรหมนมิ ติ มีการบูรณาการงานรว่ มกนั ระหว่าง 4 องคก์ รหลัก
ในพื้นท่ี ได้แก่ องค์กรท้องที่ องค์กรท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ และองค์กรภาคประชาชน จนทำให้ชุมชนเกิดการ
พฒั นาตามลำดบั ดังน้ี

1. องค์กรท้องท่ี ตำบลพรหมนิมิตนำโดย กำนันกฤษ ฟองน้ำ ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
ครบทั้ง9 หมู่บ้าน (รายละเอียดดังตารางท่ี 1) สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โดยการเป็นผู้นำ แกนนำ
ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนของตนเองได้รู้ถึงบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาและสร้างความเป็นเจ้าของ และรักษา
ทรัพยากรของตำบล เช่นการส่งเสริมครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง การใช้ประโยชน์จากที่ดินสาธารณะให้เกิด
ประโยชน์ นอกจากน้ี ในแต่ละหมู่บ้านมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีการแสดงความคิดเห็นในการพัฒนาหมู่บ้าน
ร่วมกันผ่าน “เวทีประชาคม” จนเกิดเป็นการจัดการระดับหมู่บ้าน และเข้าร่วมกิจกรรมที่ชุมชนจัดขึ้น โดยมีผู้นำ
หลัก คอื กำนนั ผใู้ หญ่บา้ น และผ้ชู ่วยผ้ใู หญ่บ้าน

2. องค์กรท้องถิ่น นำโดย นายสมเกียรติ คงทิม นายกองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต
นายอานนท์ ดิษฐหร่าย ปลัดองค์การบริหารสว่ นตำบลพรหมนิมิต ข้าราชการ และพนักงาน ร่วมค้นหาปัญหาและ
ความต้องการของชุมชนจากเวทีประชาคมจากทั้งตำบล และเชื่อมประสานกับองค์กรหรือหน่วยงานภายนอก ไม่ว่า
จะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงภาคีร่วมสนับสนุนในประเทศ จนได้รับการสนับสนุนด้านต่างๆ และนำไปสู่การ
แก้ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมุ่งเน้นในการแก้ปัญหาให้ตรงความต้องการ
ดังกล่าวให้ตรงกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในระดับจังหวัดและระดับชาติ จึงทำให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
และโอกาสในการพัฒนาด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และยึดหลัก “ธรรมาภิบาล” เป็นสิ่งสำคัญในการบริหารจัดการ
โดยได้รับการคัดเลือกให้เป็นต้นแบบ “องค์กรท้องถิ่นปราบปรามการทุจริต” ที่สร้างการมีส่วนร่วมจาก 4 องค์กร
หลัก โดยใช้พื้นท่ีเป็นตัวตั้ง ทำให้การบริหารงบประมาณและทรัพยากรเป็นไปด้วยความบริสุทธ์ิ ยุติธรรม ทำให้
ตำบลพรหมนิมิตพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุกด้าน โดยมีโครงสร้างการบริหารแบ่งเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนสำนักปลัด
กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา และกองงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีข้าราชการ 13 อัตรา ครูผู้ดูแลเด็ก
จำนวน 2 อัตรา พนักงานจ้างตามภารกิจ จำนวน 2 อัตรา พนักงานจ้างทั่วไป 13 อัตรา จ้างเหมา 12 รวม
ทง้ั หมด 42 อัตรา

3. องค์กรภาครัฐ คือ องค์กรภาครัฐในพื้นที่ไม่ว่าจะเป็น โรงเรียนทั้ง 3 แห่ง ที่ดำเนินกิจกรรม
ในการให้การปรึกษา และสนับสนุนทางวิชาการ สร้างการเรียนรู้ให้กับเด็กและเยาวชนได้มีความรู้ขั้นพื้นฐานทั้ง 8
สาระ สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนโดยมีกิจกรรมต่างๆ ขึ้นในชุมชน และเป็นแกนนำในการสร้างสรรค์
ความรู้ให้กับนักเรียนและคนในชุมชนทำให้คนในชุมชนมีความรู้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(กศน.) ตำบลพรหมนิมิตเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับคนในชุมชนที่ด้อยโอกาสทาง
การศึกษา ให้ได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหาร
ส่วนตำบลพรหมนิมิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรหมนิมิต ให้การสนับสนุนและให้คำปรึกษาทางด้าน
สุขภาพของคนในตำบลพรหมนิมิต สร้างการมีส่วนร่วมของคนในตำบลให้เกิดการช่วยเหลือดูแลกัน เกิดความ
สามัคคีทำให้ชุมชนมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายดีขึ้น และมีวัด 7 แห่ง เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและสร้างความศรัทธา

8

อบรมสั่งสอนให้คนในตำบลพรหมนิมิต มีความรัก ความสามัคคี สร้างคนดีในสังคมให้มากขึ้น และมีประเพณีอันดี
งามไวเ้ พื่อเป็นการสบื สานวฒั นธรรมอนั ดีงามไว้ เป็นต้น

๔. องค์กรภาคประชาชน คือ กลุ่มต่างๆ ทั้ง 30 กลุ่ม แกนนำและวิทยากรจำนวน 90 คน ที่มี
อยู่ในตำบลพรหมนิมิต และประชาชนในพื้นที่สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และเข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงาน
หรือองค์กรต่างๆ ได้จัดขึ้น จนทำให้ตำบลพรหมนิมิตค้นพบตนเองว่ามีความโดดเด่นในการจัดการสุขภาวะชุมชน
ดงั น้ี

(4.1) มีความโดดเด่นในด้านการจัดการสุขภาพอย่างชัดเจน โดยใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง
จากข้อมูลการตรวจวัดสารเคมีในร่างกายของเกษตรกรในพื้นท่ี ทำให้เกิดเวทีเพื่อกำหนด “แผนพัฒนาทาง”
แก้ปัญหาร่วมกันจึงได้แนวคิดในเรื่องของ อาหารปลอดภัย จึงทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิตมีการ
จัดการในด้านเกษตรกรรมเพื่อสุขภาวะอย่างชัดเจน โดยมีการรวมกลุ่มกันแก้ปัญหาจนเกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน
การใช้ปุ๋ยอินทรีอัดเม็ด และน้ำหมักชีวภาพและร่วมกันรณรงค์ให้เกษตรกรเลิกใช้สารเคมีในการทำการเกษตร 2
แหล่งเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมในการดำเนินการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีเทคนิค องค์ความรู้
เพื่อถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน โดยเน้นการทำให้ดูเป็นตัวอย่างจากในองค์กร และส่งเสริมให้ทางชุมชนนำไป
ปฏิบัติ จึงทำให้ตำบลมีความพร้อมในด้านบุคลากรที่จะสามารถทำงานด้านการเกษตรเพื่อสุขภาวะได้อย่างครบ
วงจรและต่อเนื่อง อีกทั้งเป็นการลดต้นทุนในการทำการเกษตรจึงทำให้เกษตรกรมีรายได้พอเพียงแก่การดำรงชีวิต
อยา่ งพอเพยี ง

(๔.2) องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต มีความชัดเจนในเรื่องของการส่งเสริมให้
เกิดครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง ครัวเรือนในหมู่บ้าน จะมุ่งเน้นในเรื่องของการปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อการบริโภค
ลดรายจ่ายให้กับครัวเรือน และยังเป็นต้นแบบให้กับหมู่บ้านข้างเคียงในเรื่องของการนำใช้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

1.4 ขอ้ มลู ประชากร

จำนวนและลักษณะประชากรกลุ่มเป้าหมายของพื้นที่ตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
จำแนกรายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี

1.4.1 จำนวนประชากร จำแนกตามหม่บู า้ น

ประชากรตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ มี 9 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร
ทั้งหมด 4,944 คน 1,241 ครัวเรือน หมู่บ้านที่มีจำนวนมากที่สุดบ้านหนองหญ้ารังกา225 ครัวเรือน ประชากร
879 คน รองลงมาอันดับ 2 คือ บ้านกกกว้าว 205 ครัวเรือน มีประชากร 814 คนอันดับ 3 คือ บ้านคลองแปด
มี 167 ครวั เรือน มีประชากร 693 คน อนั ดบั 4 คอื บ้านบอ่ ดนิ ขาว 163 ครวั เรือนมีประชากร 634 คน อันดบั
5 บ้านหนองไก่หล่อ มี 129 ครัวเรือน มีประชากร 493 คน อันดัน 6 บ้านสะพานสอง112 ครัวเรือน มี
ประชากร 456 คน อันดับ 7 บ้านสะพานสาม มี 106 ครัวเรือน มีประชากร 436 คน อันดับ 8บ้านโพธิ์คอย มี
81 ครัวเรือน มีประชากร 318 คน หมู่บ้านที่น้อยที่สุด คือบ้านหนองโนนมี 53 ครัวเรือน มีประชากร 221 คน
รายละเอียดดังตารางท่ี 1

9

ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามหมู่บา้ น

หมูท่ ี่/ช่ือหมู่บ้าน ประชากร (คน) จำนวนครัวเรอื น ผู้ใหญบ่ ้าน/กำนนั
ชาย หญิง รวม
หมทู่ ่ี 1 บ้านบอ่ ดินขาว 301 333 634 163 นายสมคดิ พทั ธสมี า
หมู่ท่ี 2 บา้ นสะพานสอง 225 211 436 106 นายชาญ ทรงชัยพิพฒั น์
หมูท่ ่ี 3 บา้ นสะพานสาม 225 231 456 112 นางกญั ญาภัค สิงห์นาวา
หมทู่ ี่ 4 บา้ นคลองแปด 343 350 693 167 นายไพสษิ ฐ์ กาบทอง
หมทู่ ่ี 5 บ้านหนองโนน 105 116 221 53 นางสายทอง ดวงจติ ร์
หมู่ที่ 6 บา้ นหนองหญา้ รังกา 407 472 879 225 นายกฤษ ฟองน้ำ (กำนนั )
หมทู่ ี่ 7 บ้านโพธ์คิ อย 146 172 318 81 นายวริ ชั แก้วช้าง
หมู่ที่ 8 บ้านกกกวา้ ว 405 409 814 205 นายอภลิ กั ษณ์ เชิงกลัด
หมทู่ ี่ 9 บ้านหนองไกห่ ล่อ 253 240 493 129 นางดาวรุ่ง แยม้ เจรญิ
2,410 2,534 4,944 1,241
รวม

1.4.2 จำนวนประชากร จำแนกตามเพศ และอายุ

จำนวนประชากรตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ มีจำนวนมากที่สุด อยู่ในช่วง
อายุ 60-69 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.69 รองลงมา คือ ช่วงอายุ 45-49 คิดเป็นร้อยละ 8.81 และที่มีจำนวนน้อย

ทส่ี ดุ คือชว่ งอายุ 80 ปขี น้ึ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 2.93 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามกลมุ่ อายปุ ระชากร

เพศ ขอ้ มูลทัว่ ไป หญิง จำนวน รอ้ ยละ
1. ชาย 122 4.73
2. หญงิ รวม 130 5.04 2,405 48.29
ชาย 169 6.56 2,575 57.71
อายุ (ปี) 110 4.57 152 5.90 4,980 100.00
0 – 4 ปี 122 5.07 163 6.33 จำนวน ร้อยละ
5 – 9 ปี 138 5.73 160 6.21 232 4.65
10 - 14 ปี 158 6.56 180 6.99 252 5.06
15 – 19 ปี 172 7.15 190 7.37 307 6.16
20 - 24 ปี 154 6.40 194 7.53 310 6.22
25 - 29 ปี 214 8.89 234 9.08 335 6.72
30 - 34 ปี 183 7.60 194 7.53 314 6.30
35 – 39 ปี 189 7.85 196 7.61 394 7.91
40 – 44 ปี 205 8.52 269 10.44 373 7.48
45 – 49 ปี 190 7.90 383 7.69
50 – 54 ปี 140 582 439 8.81
55 - 59 ปี 259 10.76 384 7.71
60 – 69 ปี 336 6.74
528 10.60

10

70 - 79 ปี 16ั047 4.44 140 5.43 247 4.95
80 ปี ขนึ้ ไป 2.66 82 3.18 146 2.93
100.00
รวม 2,410 100.00 2,534 100.00 4,944

ท่มี า: ระบบข้อมลู ตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนิมิต ปี พ.ศ. 2563, 31 ธนั วาคม 2563

1.4.3 สถานะการศึกษา

สถานะการศึกษาของประชากรตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ระดับ
การศึกษามากที่สดุ อยู่ที่ระดับ ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 41.47 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ
5.88 และทม่ี จี ำนวนนอ้ ยท่สี ดุ คือ ระดับอนบุ าล คิดเป็นรอ้ ยละ 0.14 รายละเอียดดังตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 จำนวนและรอ้ ยละของประชากร จำแนกตามสถานะการศึกษา

สถานะการศกึ ษา จำนวน รอ้ ยละ
6.14
1. ไมไ่ ด้เรียน 255 20.61
69.79
2. กาลงั ศึกษา 972
0.14
3. จบการศึกษา 3,608 41.71
4.36
ระดบั การศกึ ษาที่จบการศกึ ษา 9.89
3.36
3.1 อนุบาล 7 3.67
0.24
3.2 ประถมศึกษา 1968 5.88
0.45
3.3 ม.ตน้ 167 3.46
100.00
3.4 ม.ปลาย 441

3.5 ปวช. 117

3.6 ปวส. 182

3.7 อนปุ รญิ ญา 12

3.8 ปริญญาตรี 242

3.9 สงู กวา่ ปริญญาตรี 22

4. ไมเ่ ขา้ ขา่ ย 122

รวม 4,957

ท่ีมา: ระบบขอ้ มูลตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนมิ ิต ปี พ.ศ. 2563, 31 ธันวาคม 2563

1.4.4 สถานะสุขภาพและการเจบ็ ปว่ ย

ปัญหาสุขภาพและการเจ็บป่วยของประชาชนตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัด
นครสวรรค์ โดยเรยี งลำดับจากมากไปหานอ้ ย 3 อันดับแรก คอื ไข้ ไอ เจบ็ คอ คดิ เป็นร้อยละ 44.09 รองลงมา
คือ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ คิดเป็นร้อยละ 17.62 และโรคกระเพาะอาหาร คิดเป็นร้อยละ 3.51 สรุปผลได้ว่า
ประชาชนตำบลพรหมนมิ ติ มีปญั หาสขุ ภาพจากการ มไี ข้ ไอ เจบ็ คอ มากท่ีสุด รายละเอียดดังตารางท่ี 4

11

ตารางที่ 4 จำนวนและรอ้ ยละประชากร ท่มี ีปัญหาสขภาพและการเจบ็ ปว่ ย

ปัญหาสขุ ภาพและการเจบ็ ป่วย จำนวน รอ้ ยละ

ปัญหาสขุ ภาพและการเจบ็ ป่วย 52.49
47.51
1. ไมม่ ี 2,605 100.00

2. มี 2,358 44.09
1.11
รวม 4,963 3.51
17.62
ปญั หาสุขภาพและการเจ็บปว่ ย ได้แก่ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ)
-
2.1 ไข้ ไอ เจบ็ คอ 1,231 0.11
33.56
2.2 อจุ จาระรว่ ง 31 100.00

2.3 กระเพาะอาหาร 98

2.4 ปวดเม่อื ยกล้ามเนอื้ 492

2.5 บาดเจบ็ จากการทะเลาะววิ าท ทำร้ายร่างกาย -

2.6 ภาวะขาดสารอาหาร 3

2.7 อ่ืนๆ 937

รวม ๒,๗๙๒

ทมี่ า: ระบบข้อมูลตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนิมติ ปี พ.ศ. 2563, 31 ธนั วาคม 2563

จากข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยง ของของประชาชนตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โดย
เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ไม่ได้ออกกำลังกายจำนวน 2,292 คน คิดเป็นร้อยละ 19.89

รองลงมาไม่ตรวจสุขภาพจำนวน 1,448 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.56 อันดับ 3 กินอาหารรสจัดจำนวน 1,290 คน
คิดเป็นร้อยละ 11.19 สรุปผลได้ว่า ประชาชนตำบลพรหมนิมิตมีพฤติกรรมเสี่ยงเรื่องไม่ออกกำลังกายมากที่สุด

จำนวน2,292 คน มากท่ีสุด รายละเอยี ดดังตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 จำนวนและรอ้ ยละประชากร จำแนกตามพฤติกรรมเสยี่ ง

ข้อมลู พฤตกิ รรมเสีย่ ง จำนวน ร้อยละ
พฤตกิ รรมเส่ียง
1,187 23.92
1. ไมม่ ี 3,776 76.08
2. มี 4,963 100.00

รวม 652 5.66
พฤตกิ รรมเส่ยี ง ไดแ้ ก่ (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) 602 5.22
431 3.74
2.1 ดื่มสรุ าเป็นประจำ 2,292 19.89
2.2 สูบบหุ รีเ่ ปน็ ประจำ 259 2.25
2.3 นงั่ ๆ นอน ๆ ไมค่ อ่ ยไดท้ ำงาน 682 5.92
2.4 ไมไ่ ด้ออกกำลงั กาย 477 4.14
2.5 มคี วามเครยี ดกงั วลใจจนนอนไมห่ ลับ 1,290 11.19
2.6 ทำงานหนกั พักผอ่ นน้อย 11 0.10
2.7 กนิ อาหารปรมิ าณมาก กินจุ กนิ จบุ จบิ 1,016 8.82
2.8 กนิ อาหารรสจัด เปน็ ประจำทุกวัน
2.9 กินอาหารสุก ๆ ดบิ ๆ
2.10 ด่มื เครอื่ งดื่มชูกาลังประจำ

12

ขอ้ มลู พฤตกิ รรมเสย่ี ง จำนวน ร้อยละ
0.44
2.11 ขับรถเร็ว ประมาท 51 0.03
0.05
2.12 มเี พศสัมพนั ธ์ทไี่ มป่ ลอดภัย 3 8.67
10.66
2.13 การใชส้ ารเสพติด 6 0.66
12.56
2.14 การใชย้ าชดุ ยาแกป้ วด ยาลกู กลอน เปน็ ประจำ 999 0.01
100.00
2.15 ขับข่ีรถจกั รยานยนต์โดยไมส่ วมหมวกนริ ภัย 1,229

2.16 ขับขีร่ ถยนตโ์ ดยไมค่ าดเขม็ ขัดนริ ภยั 76

2.17 ไมไ่ ด้ตรวจสขุ ภาพ หรือการคัดกรองโรคเป็นประจำทกุ ปี 1,448

2.18 อ่นื ๆ 1

รวม 11,525

ที่มา: ระบบข้อมลู ตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนมิ ติ ปี พ.ศ. 2563, 31 ธนั วาคม 2563

1.5 สภาพสังคม และวัฒนธรรม

1.5.1 สภาพสังคม

ศาสนา ประชาชนตำบลพรหมนิมิต ร้อยละ 10 นับถือศาสนาพุทธ โดยมีสถานที่สำหรับ
ประกอบศาสนกิจและพิธีกรรมทางศาสนา ดังนี้ มีวัดจานวน 7 วัด และมีศาลเจ้า จำนวน 2 แห่ง เพราะเป็นสิ่ง

ศักด์ิสิทธิ์ท่ีคนในตำบลนบั ถอื มาตง้ั แต่บรรพบุรษุ

อาชีพหลัก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกพบว่าอาชีพหลักของประชาชนใน
ตำบลพรหมนิมิตมากที่สุด คือ รับจ้าง จำนวน 880 คน คิดเป็นร้อยละ 33.01 รองลงมา คือพนักงานลูกจ้าง

เอกชนจำนวน 707 คน คิดเป็นร้อยละ 26.52 และ อันดับ 3 คือ ทำนาจำนวน 351 คน คิดเป็นร้อยละ13.17
สรุปผลได้ว่าประชาชนตำบลพรหมนิมิต มีอาชีพหลักคือมากท่ีสุดอาชพี รับจา้ งรายละเอียด ดังตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 จำนวนและรอ้ ยละประชากร จำแนกตามการประกอบอาชีพ

ขอ้ มูลการประกอบอาชีพ จำนวน ร้อยละ
อาชพี หลัก
1.1 ผู้ท่อี ยใู่ นกาลังแรงงาน 128 3.91
2,666 81.40
วา่ งงาน/ ไม่มงี านทา 2,794 85.31
มงี านทำ
115 3.51
รวม 310 9.47
1.2 ผ้ทู ีไ่ มอ่ ยใู่ นกำลงั แรงงาน 56 1.71
481 14.69
ทำงานบา้ น
นกั เรียนนักศึกษา 351 13.17
ไมเ่ ข้าขา่ ย 153 5.74
23 0.86
รวม 3 0.11
อาชพี หลกั ได้แก่

2.1 ทำนา
2.2 ทำไร่
2.3 ทำสวน
2.4 เล้ียงสัตว์

13

ข้อมลู การประกอบอาชีพ จำนวน ร้อยละ
0.34
2.5 ทำประมง 9 33.01
2.85
2.6 รับจ้างทวั่ ไป/บรกิ าร 880 9.90
0.26
2.7 กรรมกร 76 3.34
0.49
2.8 ค้าขาย/ธรุ กิจสว่ นตวั อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น 264 26.52
3.41
2.9 อุตสาหกรรมในครวั เรอื น 7 100.00

2.10 รบั ราชการ 89

2.11 รัฐวสิ าหกจิ 13

2.12 พนกั งาน/ลกู จ้างเอกชน 707

2.13 อ่นื ๆ 91

รวม 2,666

ทม่ี า: ระบบข้อมลู ตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนมิ ิต ปี พ.ศ. 2563, 31 ธันวาคม 2563

ความต้องการได้รับความช่วยเหลือ/ดูแล ของประชาชนตำบลพรหมนิมิต โดยเรียงลำดับจาก
มากไปนอ้ ย 3 อนั ดับแรก คอื ผู้สูงอายจุ ำนวน 491 คน คิดเป็นร้อยละ 62.70 รองลงมา คอื เดก็ อายตุ ่ำกว่า 5 ปี
จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 27.70 และอันดับ 3 คือ พิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อย
ละ 4.34 สรุปว่า ประชาชนตำบลพรหมนิมิต มีผู้สูงอายุต้องการได้รับความช่วยเหลือดูแลมากที่สุด รายละเอียดดัง
ตารางที่ 7

ตารางที่ 7 จำนวนและรอ้ ยละประชากร จำแนกตามประเภทความตอ้ งการไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ดแู ล

ประเภทความตอ้ งการได้รับการชว่ ยเหลือดูแล จำนวน รอ้ ยละ

ความต้องการไดร้ ับความชว่ ยเหลือดแู ล 84.23
15.77
1. ไม่มี 4,182 100.00

2. มี 783 27.71
62.70
รวม 4,965 4.34
1.53
ความตอ้ งการได้รับความช่วยเหลอื ดแู ล ไดแ้ ก่ (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 1.02
2.04
2.1 เด็กอายุตำ่ กวา่ 5 ปี 217 1.41
0.13
2.2 ผู้สูงอายุ 491 0.38
0.51
2.3 ผพู้ ิการทางกาย/เคลื่อนไหว 34 0.89
100.00
2.4 ผ้พู ิการทางการมองเหน็ 12

2.5 พกิ ารทางการได้ยิน/ส่ือความหมาย 8

2.6 ผพู้ กิ ารทางสตปิ ัญญา/การเรียนรู้ 16

2.7 ผ้พู ิการทางจติ /พฤตกิ รรม 11

2.8 ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 1

2.9 ผปู้ ว่ ยเอดส/์ ผ้ตู ิดเชอ้ื HIV 3

2.10 ผูป้ ่วยเรือ้ รงั 4

2.11 อน่ื ๆ 7

รวม 804

ท่มี า: ระบบขอ้ มูลตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนิมติ ปี พ.ศ. 2563, 31 ธนั วาคม 2563

14

1.5.2 วัฒนธรรมตำบลพรหมนมิ ติ
จากความเชื่อถือและความเคารพนับถือของชาวตำบลพรหมนิมิต งานประเพณีต้มยาแจกทาน
เป็นวันคล้ายวันเกิดของหลวงพ่อพรหม ถาวโร อดีตเจ้าอาวาสวัดองค์แรก ของวัดช่องแค ซึ่งตรงกับวันขึ้น 5 ค่ำ
เดือน 5 ของทุกปี ถือเป็นงานประเพณีท้องถิ่นของชาวตำบลพรหมนิมิตและตำบลใกล้เคียง ซึ่งจะจัดอยู่ประมาณ
เดือน มีนาคม ถึงเดือน เมษายนของทุกปี งานจะจัดประมาณ 20 วัน 20 คืน งานวันเกิดหลวงพ่อ เดิมทีเรียกว่า
งานต้มยา โดยหลวงพ่อจะไปหาสมุนไพรต่างๆด้วยตัวท่านเอง เมื่อรู้แหล่งยาแล้วจะให้กรรมการวัดและลูกศิษย์ไป
หามาให้และแหล่งตัวยามีอยู่ 2 แห่งคือ เขาขาด เขตอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีสมุนไพรชื่อ กระโดนดิน
ซึ่งจะขึ้นอยู่ในพื้นที่นา ส่วนสมุนไพรที่มีชื่อปลาไหลเผือกกับตีนเต่าหรือกล้วยเต่า ตัวยานี้จะข้ึนอยู่บนพื้นดินปน
ทราย อยู่บริเวณใกล้ ๆ กับวัดหนองหลวงอำเภอท่าตะโก และสมุนไพรชื่อติ๋งต่าง จะขึ้นอยู่ตามจอมปลวก อยู่ที่หลัง
วัดพระแก้ว อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อได้สมุนไพรตามจำนวนที่ต้องการแล้ว หลวงพ่อจะทำการ
ปลุกเสกในตอนกลางคืน เมื่อถึง 5 ค่ำเดือน 5 เวลา 05.09 น. หลวงพ่อจะลงมาอธิษฐานจิตอีกครั้ง เมื่อเสร็จพิธี
พระพุทธมนต์แล้ว จะบรรจุตัวยาลงหม้อต้มจนกระทั่งตัวยาออกดีจึงเริ่มแจกจ่ายให้ประชาชนได้ดื่มและนำกลับไป
ฝากคนทางบ้าน ตัวยาสมุนไพรเมื่อต้มจนจืดแล้วจะนำกากยาออกและใส่ตัวใหม่ลงไปและกากยาที่นำออกมาจะ
นำไปตากแดดจนแห้งและนำมาบดเป็นผงเพื่อเป็นส่วนผสมในการสร้างรูปหล่อเหมือนของหลวงพ่อพรหมขนาด
บูชาให้บรรดาลูกศิษย์นำไปสักการบูชาต่อไป จากนั่นจนถึงปัจจุบันชาวตำบลพรหมนิมิตและประชาชนใกล้เคียงจึง
ถือปฏบิ ัติรว่ มกันเร่อื ยมา

1.6 สภาพเศรษฐกจิ

จากข้อมูลพื้นฐานตำบล (TCNAP) ด้านเศรษฐกิจครัวเรือนของประชาชนตำบลพรหมนิมิต พบว่าภาระ
หนี้สินของครัวเรือน ของประชาชนตำบลพรหมนิมิต โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ จำนวน
มากกว่า200,001 บาทคิดเละ 18.6 รองลงมา คือ จำนวน 200,001บาท ถึง 120,000บาท คิดเป็นร้อยละ
13.75และจำนวนน้อยกว่า 80,000บาทถึง 120,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 12.13 สรุปผลได้ว่าประชาชน
ตำบลพรหมนิมิตมีภาระหนี้สินของครัวเรือนจำนวนมากกว่า 200,001 บาท มากที่สุดแหล่งเงินกู้ยืมของครัวเรือน
ของประชาชนตำบลพรหมนิมิต โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ กองทุนหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ
47 รองลงมา คือ ธกส.คิดเป็นร้อยละ 23.29 และ ญาติพี่น้อง คิดเป็นร้อยละ 8.86 สรุปผลได้ว่าประชาชนตำบล
พรหมนิมิต มีแหล่งเงินกู้ยืมของครัวเรือนกองทุนหมู่บ้าน มากที่สุด การออมเงิน ของครัวเรือน ของประชาชนตำบล
พรหมนิมิตโดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก คือ น้อยกว่า 40,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 77.98
รองลงมา คือ 40,0000 บาท ถึง 80,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.48 และน้อยกว่า 80,0000 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 5.22 สรุปผลได้ว่าประชาชนตำบลพรหมนิมิตมีการออมเงินของครัวเรือนมากกว่า 40,0000 บาท มาก
ท่ีสดุ รายละเอียดดงั ตารางที่ 8

15

ตารางท่ี 8 ภาระหนี้สนิ แหล่งเงินกู้ และการออมเงนิ ของครัวเรือน

ภาระหนีส้ นิ ของครวั เรือน จำนวน รอ้ ยละ
59.89
มหี นส้ี นิ 742 40.11
100.00
ไมม่ หี น้ีสนิ 497
32.08
1. ร้อยละหน้สี นิ รวม 1,239 23.45
12.13
น้อยกว่า 40,000 บาท 238 13.75
18.60
40,001 บาท ถึง 80,000 บาท 174 100.00

80,001 บาท ถงึ 120,000 บาท 90 62.39
37.61
120,001 บาท ถงึ 200,000 บาท 102 100.00

มากกว่า 200,001 บาท 138 8.86
4.30
รวม 742 23.29
47.00
แหลง่ เงินกยู้ มื ของครวั เรอื น 1.35
3.12
มแี หล่งเงนิ กู้ 773 2.11
1.69
ไมม่ ีแหลง่ เงินกู้ 466 3.97
4.30
รวม 1,239 100.00

2. แหลง่ เงินกู้ ได้แก่ 54.77
1. ญาตพิ น่ี ้อง 45.23
105 100.00

2. นายทนุ /พ่อคา้ 51 77.98
8.48
3. ธ.ก.ส. 276 5.22
4.08
4. กองทุนเงนิ ล้าน 557 4.24
100.00
5. ธนาคารหมู่บา้ น 16

6. กลมุ่ ออมทรัพย/์ กล่มุ สัจจะสะสมทรัพย์ 37

7. เงินกู้นอกระบบ 25

8. ธนาคารพาณชิ ย์ 20

9. ธนาคารออมสิน 47

10. อ่ืน ๆ 51

รวม 1,185

การออมเงนิ ของครวั เรอื น

มเี งินออม 678

ไม่มีเงนิ ออม 560

รวม 1,238

3. ร้อยละเงนิ ออม
นอ้ ยกว่า 40,000 บาท
478

40,001 บาท ถงึ 80,000 บาท 52

80,001 บาท ถงึ 120,000 บาท 32

120,001 บาท ถงึ 200,000 บาท 25

มากกวา่ 200,001 บาท 26

รวม 613

ที่มา: ระบบขอ้ มูลตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนิมติ ปี พ.ศ. 2563, 31 ธนั วาคม 2563

16

1.7 ทรพั ยากรธรรมชาติ และแหล่งประโยชน์

1.7.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน ของประชาชนตำบลพรหมนิมิต โดยเรียงลำดับจากมาก

ไปหาน้อย 3 อันดับแรกคอื ขาดแคลนน้ำสะอาดอปุ โภค-บริโภค คิดเปน็ ร้อยละ 46.54 รองลงมา คอื ขยะ คิดเปน็
ร้อยละ 27.05 และที่พักอาศัยชำรุดทรุดโทรม คิดเป็นร้อยละ 6.91 สรุปผลได้ว่าประชาชนตำบลพรหมนิมิตมี

ปญั หาสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน คือขาดแคลนนำ้ สะอาดอุปโภค-บริโภค มากทส่ี ุด รายละเอยี ดดังตารางท่ี 9

ตารางที่ 9 ปญั หาส่งิ แวดล้อมของครัวเรือน

ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มของครัวเรือน จำนวน รอ้ ยละ
1. ไม่มี 1,099 88.98
2. มี 136 11.02
1,235 100.00
รวม
ปญั หาส่ิงแวดล้อมในครัวเรือน ไดแ้ ก่ 43 27.05
5 3.14
1. ขยะ 7 4.41
2. นำ้ เสยี 7 4.41
3. ควันพษิ ฝุ่นละออง 8 5.04
4. เสียงดงั 11 6.91
5. การใช้สารเคมี 1 0.62
6. สภาพทอี่ ยอู่ าศยั ชำรุดทรดุ โทรม 74 46.54
7. แสงสว่างไม่เพียงพอ 3 1.88
8. ขาดแคลนนำ้ สะอาดในการอปุ โภคบรโิ ภค 159 100.00
9. อ่ืน ๆ

รวม
ทมี่ า: ระบบข้อมลู ตำบล (TCNAP) ตำบลพรหมนมิ ติ ปี พ.ศ. 2563, 31 ธนั วาคม 2563

1.7.2 การคมนาคมขนสง่

การคมนาคมในเขตตำบลพรหมนิมิต อยู่ในสภาพสะดวกมีถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11
จำนวน 9สาย มีถนนคอนกรีตภายในหมู่บ้าน จำนวย 22 สาย มีถนนลูกรัง จำนวน 31 สาย สามารถใช้สัญจรไป
มาสะดวกทรัพยากรแหล่งน้ำ ของตำบลพรหมนิมิต ประกอบด้วย แหล่งน้ำธรรมชาติที่เป็นลำคลองใหญ่ใช้ทำ
การเกษตรทั้งตำบลและไหล่ผ่านตำบลตั้งแต่หัวตำบลถึงท้ายตำบล 1 แห่ง มีคลองส่งน้ำ 11 สาย คลองซอย 14
สาย ประตูน้ำ 6แห่ง บ่อบาลดาล 24 บ่อ บ่อน้ำตื้น 3 บ่อ สระน้ำ 4 บ่อ ฝาย 4 แห่ง การใช้ประโยชน์จากที่ดิน
ตำบลพรหมนิมิต มีพื้นที่ในการดูแลรับผิดชอบรวมทั้งหมด 14,673 ไร่ โดยมีการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ดังน้ี เนื้อท่ี
ท้งั สน้ิ 21.68 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปน็ 14,673 ไร่ พ้ืนทท่ี ำการเกษตรจำนวน 13,229 ไร่ แยกเปน็

1) พ้ืนทท่ี ำนา 10,490 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 71.94

2) พ้ืนท่ที ำไร่ 1,590 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.03
3) พื้นทเี่ ล้ียงสตั ว์ 80 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 0.54

4) พน้ื ที่ปลูกไม้ผล 799 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 5.44
5) พื้นที่ปลูกพชื ผัก 130 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.88

6) พน้ื ท่ีขุดบอ่ เล้ยี งปลา 180 ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.95

7) พื้นท่ีอยูอ่ าศัย 920 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 6.27

17

8) พ้นื ท่ีอ่นื ๆ 524 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.57

1.7.3 หน่วยงานในพื้นที่ตำบลพรหมนิมิต มีหน่วยงานราชการในพื้นที่ ที่เข้ามามีส่วนร่วมใน
การพฒั นาและสรา้ งการเรียนรู้ ดังน้ี

(1) โรงเรียนในสังกัด สพฐ. จำนวน 3 แห่ง ที่จัดการศึกษาให้กับเด็กและเยาวชน
รวมถึงเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีการส่งเสริมวินัย สร้างการออม และสืบสานภูมิปัญญา ได้แก่ โรงเรียนวัดคลองแปด
ประชาสรรค์ โรงเรยี นวดั หนองหญ้ารังกา โรงเรียนบา้ นกกกวา้ ว

(2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน
ตำบลพรหมนิมิต ซึ่งส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านร่างกาย ได้แก่ ฝึกการดูแลร่างกาย การออกกาลังกาย ทำกิจกรรมที่
ใช้ประสาทสัมผัส ได้แก่ พูดคุย เล่านิทานการใช้สื่อการสอนด้านอิเล็คทรอนิค และด้านสติปัญญา เช่นจัดของเล่น
สอื่ และกิจกรรมสง่ เสริมทักษะการคิด และพัฒนาการใหค้ รบทง้ั 4 ด้าน

(3) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรหมนิมิต ที่ถ่ายโอนมาสังกัดองค์การบริหาร
ส่วนตำบลพรหมนิมิตซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพของประชาชน ทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา
และฟื้นฟูสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ของแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพ ได้แก่ การจัดการสุขภาพตำบลพรหมนิมิต
กองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบลพรหมนิมิต ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายตำบลพรหมนิมิต กลุ่มจิตอาสาเพื่อสุขภาพ
และชมรมผู้สงู อายตุ ำบลพรหมนิมิต

(4) ป้อมสายตรวจพรหมนิมิต รับแจ้งเหตุต่าง ๆ ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน
ตำบลพรหมนมิ ิต อำเภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์

(5) ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลพรหมนิมิต เป็น
ศนู ยบ์ รกิ ารและถ่ายทอดวิชาความรู้ทางการเกษตร

1.8 การท่องเทย่ี ว

สถานที่ท่องเที่ยวและสินค้า OTOP ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต นอกจากความสำคัญ
และภารกิจต่าง ๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบลแล้วนั้น ในเขตองค์การบริหารส่วนตำพรหมนิมิตยังมีสถานที่
ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ เพื่อให้ผู้มาเยือนได้รับความสุขและความอิ่มบุญอิ่มใจกลับไป สถานที่ท่องเที่ยวในเขต
องค์การบริหารสว่ นตำบลทส่ี ำคัญ ไดแ้ ก่

1. วัดพรหมนิมิต (วัดหลังเขา) กราบนมัสการ พระครูนิเทศธรรมาวุธ (หลวงพ่อบัวเผื่อน วิสุทธ
สีโล)พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง เป็นผู้ก่อตั้งวัดหลังเขา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2532 ในปรารถนาเดิมตามนิมิตของหลวง
พ่อ ท่านต้องการจะสร้างเป็นสถานท่ีปฏิบัติธรรมและอนุรักษ์ป่าไม้บริเวณไหล่เขาช่องแค ด้วยความมุ่งมั่นและ
ศรัทธาอันแรงกล้าหลวงพ่อท่านได้ก่อสร้างถาวรวัตถุโบสถ์ และวิหารเจริญก้าวหน้าเป็นลำดับ สำเร็จเป็นวัดโดย
สมบูรณ์ เมื่อวันที่ 8มิถุนายน 2548 พ.ศ.2542 ได้ดำเนินการก่อสร้างพระอุโบสถ์โดยการปั้นเป็นลวดลายรูปป้ัน
ปิดทอง ประดับกระจกบริเวณหน้าอุโบสถสร้างด้วยขวดสีเขียวทั้งสิ้น จำนวน 50,000 ขวด เสาคอนกรีต พื้นขัด
ด้วยหินอ่อน ปานประตูและหน้าต่าง ทำด้วยไม้สักทั้งสิ้น อุโบสถหลังนี้จึงเป็นแห่งเดียวในประเทศที่สร้างด้วยขวดสี
เขยี วควรแกก่ ารเข้าไปศกึ ษาดแู ละมีภูมปิ ัญญาท้องถิน่ เกีย่ วกบั กลุ่มทอผ้า กล่มุ จกั รสาร ทมี่ ีผลติ ไมก้ วาดจำหนา่ ย

2. วัดช่องแค เป็นสถานที่ท่องเทียวที่มีพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง คือ หลวงพ่อพรหมถาวโร แห่งวัด
ช่องแค เป็นที่เคารพสักการบูชาของคนในพื้นที่และบุคคลทั่วไป จึงได้ขอให้ฉายาของหลวงพ่อพรหมเป็นชื่อตำบล
พรหมนิมิต ดังชื่อตำบล ณ ปัจจุบัน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวควรแก่การไปศึกษาและมีภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องยา

18

สมุนไพรของหลวงพ่อพรหมนานจนเป็นที่เรื่องในสรรพคุณยาของหลวงพ่อพรหม และยังเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม
ให้กับกลุ่มผู้สูงอายุเข้าไปทำกิจกรรมในวันพระ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเข้าไปร่วมกิจกรรมในการศึกษาวัฒนธรรม
ในด้านศาสนาเชอื่ มโยงไปถงึ เด็กเยาวชนเขา้ ร่วมกจิ กรรมในวันพระ

สว่ นท่ี 2 เสน้ ทางการพัฒนาตำบลพรหมนมิ ิต

2.1 เส้นทางการพัฒนาและการจดั การตนเองของท้องถ่นิ
องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็น
รูปธรรมในการดำเนินงานอย่างชัดเจน ซึ่งการขับเคลื่อนจากการพัฒนากลไกภายใน เชื่อมประสานกับกลไก
ภายนอกทำให้เกิดการขับเคลื่อนงานในตำบลให้เกิดมีประสิทธิภาพความเข้มแข็งองค์การบริหารส่วนตำบลพรหม
นิมิตได้มีการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ที่เกิดขึ้นจากการจัดการกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ท้องถิ่นตลอดจนเป็นกิจกรรมที่ตอบสนองต่อนโยบายของส่วนกลาง โดยเส้นทางการพัฒนาสามารถสรุปได้เป็น 3
ระยะ คอื (๑) ยุคก่อตั้งและสร้างชุมชน (ระหว่าง พ.ศ.๒๕40 – ๒๕44) (๒) ยุคพัฒนาและบูรณาการงานกับชุมชน
(ระหว่าง พ.ศ. ๒๕46 – ๒๕๕3) และ (๓) ระยะที่ ๓ ยุคการจัดการตัวเอง และต่อยอดการพัฒนา (ระหว่าง พ.ศ.
๒๕๕4 – ปจั จุบนั ) มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปนี้

ระยะท่ี ๑ ยคุ ก่อต้ังและสรา้ งชมุ ชน (ระหว่าง พ.ศ.๒๕40–๒๕44)

ในราวปี พ.ศ. 2532 ได้มีการแยกตำบลช่องแค ที่มีทั้งหมด 17 หมู่บ้าน แยกมาเป็นตำบล
พรหมนิมิต มีหมู่บ้านทั้งหมด 9 หมู่บ้าน และในปี พ.ศ. 2540 ได้เปลี่ยนจากสภาตำบลมาเป็น องค์การบริหาร
ส่วนตำบลพรหมนิมิต เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 แยกมาตั้งเป็นตำบลพรหมนิมิต ทั้งหมด 9 หมู่บ้าน ตำบล
พรหมนิมิตมีอาณาเขตทิศเหนือติดกับตำบลตาคลี อำเภอตาคลี ทิศใต้ติดกับตำบลสร้อยทอง อำเภอตาคลี ทิศ
ตะวันออกติดกับตำบลช่องแค อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์และทิศตะวันตกติดกับตำบลหนองหม้อ อำเภอตาลี
จังหวัดนครสวรรค์มีพื้นที่ทั้งหมด 21.68 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ทำการเกษตร 11,229 ไร่ มีเขตปกครอง
ทั้งหมด 9 หมู่บ้านครัวเรือนทั้งสิ้น 1,241 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 4,944 คน แบ่งเป็น ประชากรชาย
2,410 คน ประชากรหญิง 2,534 คน ประชากรที่อาศัยมาจากหลากหลายจังหวัดทั้งทางภาคเหนือ เช่น
กำแพงเพชร ภาคอีสาน เช่นร้อยเอ็ด ภาคกลาง เช่น ลพบุรี ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานใน
ตำบลพรหมนิมิตมีศักยภาพที่ใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการตำบลคือลักษณะพื้นที่กว้าง เป็นแหล่งน้ำมีคลอง
ชลประทานไหลผ่านมีพื้นที่เหมาะสมการทำการเกษตรดังนั้นจึงเป็นพื้นที่ที่เหมาะสำหรับทำการเกษตร นอกจากนี้
ยังมีสถานที่สำคัญเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนทั่วไป เช่น วัดช่องแค หลวงพ่อพรหม วัดพรหมนิมิต (วัดหลัง
เขา) หลวงพ่อบัวเผื่อนมีโบสถ์ที่ทำด้วยขวดสีเขียวทั้งหมด วัดโพธิ์คอย มีพระนอน เหมาะสมเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
และนา่ ศึกษาของตำบลพรหมนิมิต

องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิตมีหมู่บ้านเขตปกครองทั้งหมด 9 หมู่บ้าน และมีการจัดตั้ง
เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เป็น อบต.ขนาดเล็กมีโครงสร้าง
การบริหารงานแยกการบริหารเป็น 3 ส่วน (สำนักงานปลัด กองคลัง กองโยธา) โดยการบริหารจัดการตำบลพรหม
นิมิตส่วนใหญ่มีแนวคิดใช้หลักการมีส่วนร่วม ประกอบการทำงานร่วมกันขององค์กรในพื้นที่ 3 ภาคส่วนหลัก ได้แก่
องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิตองค์กรท้องที่ (กำนันผู้ใหญ่บ้าน) องค์กรภาคประชาชน (แกนนำกลุ่ม/แหล่ง
เรียนรู้) และยังมีหน่วยงานรัฐทั้งภายในตำบล เช่น โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล หน่วยงาน
ภายนอกตำบล เช่น สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตาคลี สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอตาคลี เป็นต้น ให้การ

19

สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าตำบลพรหมนิมิตมีศักยภาพในการทำหน้าที่เป็น “กลไก
ขับเคล่ือนชมุ ชนท้องถน่ิ จัดการตนเอง”

ระยะที่ ๒ ยุคพฒั นาและบูรณาการงานกบั ชุมชน (ระหว่าง พ.ศ.๒๕46–๒๕๕3)

การพัฒนาในยุคนี้เป็นการพัฒนาตำบลที่เน้นในเรื่องทำงานแบบบูรณาการให้เข้ากันกับทุกภาค
ส่วนในชุมชน ในการสร้างการมีสว่ นร่วมและการให้ชุมชนพึ่งตนเอง เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชนให้
ครอบคลุมในทุกด้าน โดยใช้หลักการพัฒนาตำบล ๓ ฐานคิด คือ (๑) การบริหารงานแบบยึดแผนเป็นแนวทางการ
พัฒนา (๒) การมีส่วนร่วม รวมตัว ร่วมกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหา (๓) การจัดการแบบมีส่วนร่วมพหุภาคี เกิดการทำงาน
ระหว่างภาคส่วนจนเกิดการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมาย โดยการทำงานจะเป็นการประสานงานระหว่าง ภาค
ประชาชนภาคท้องที่ และองค์กรภายนอกในช่วงนี้การพัฒนาปฏิบัติการแต่ละแหล่งมาจากความหลากหลายในวิถี
ชุมชนที่ตระหนักถึงความสำคัญต่อสุขภาพการฟื้นฟูภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นรวมทั้งต้องการให้ประชาชน มี
อาชพี สร้างงาน สร้างรายได้ สง่ เสริมให้ประชาชนรจู้ ักการออม เช่น

1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตแกนนำในชุมชน แกนนำท้องที่ แกนนำท้องถิ่น หน่วยงานที่
เกย่ี วข้องทั้งภายในและภายนอกพืน้ ที่ ภาคเอกชนมีหลักคดิ ในการพัฒนาเร่ืองคณุ ภาพชวี ติ

2. นำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ ก่อให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่าง
ชุมชน เกิดความรัก ความสามัคคี กิจการสาธารณะประโยชน์ในชุมชน ก่อให้เกิดการออมเงิน โดย กองทุนหมู่บ้าน
สถาบันการเงิน ทำใหเ้ กดิ การสร้างงาน สรา้ งอาชีพ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้

นอกจากนั้น ยังมีการวางแผนการบูรณาการงานขององค์กรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ทั้งภาคประชาชน
ภาครัฐ ภาคเอกชน ให้มีการขับเคลื่อนไปพร้อม ๆ กันได้อย่างลงตัว ทางนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต
จึงใช้การขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการพัฒนาให้ท้องถิ่นประสบความสำเร็จ โดยการสอดแทรกกระบวนการทำงาน
กับการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้อย่างลงตัว ทั้งหมดเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยที่ชุมชน
เองไม่รู้สึกว่าถูกละเมิดเวลาในการดำเนินวิถีชีวิตของตนเอง อีกทั้งเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในหมู่บ้าน
นั้น ๆ จึงเกิดกระบวนการท้องถิ่นเข้มแข็ง ร่วมกันแก้ไขปัญหา และกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่
“ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมกำหนดแนวทาง ร่วมทำ ร่วมรับประโยชน์ และร่วมติดตามประเมินผล”การอยู่รวมกัน
ภายใต้ความหลากหลายวิถีชุมชนในช่วงการพัฒนายุคนี้ มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของตำบลเพื่อให้ประชาชน
ได้เขา้ ถึงการบรกิ ารขน้ั พนื้ ฐานทั่วไปอย่างครอบคลุมและท่ัวถึงทุกหลงั คาเรือน

ระยะท่ี ๓ ยคุ การจัดการตัวเอง และต่อยอดการพัฒนา (ระหวา่ ง พ.ศ.๒๕๕4–ปัจจบุ นั )

ยุคนี้เป็นยุคที่มีการพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำ และคนในชุมชน
ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชนเพื่อสร้างเครือข่ายการทำงานให้กระจาย
ครอบคลุมทั้งนี้ มีเป้าหมายเพื่อสร้างให้คนตำบลพรหมนิมิต “มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมี
ความสุข”การเป็นหมู่บ้านจัดการตนเอง ที่มีการบริหารจัดการในด้านของสิ่งเสพติด ที่ชาวบ้านร่วมกัน ลด ละ เลิก
และขจัดไม่ให้มีและเกิดขึ้นในหมู่บ้าน เนื่องจากสามารถปฏิบัติตามกฎหมาย การอยู่รวมกันภายใต้ความ
หลากหลายทางวิถีชุมชนในช่วงของการพัฒนาในยุคนี้ มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของตำบลเพื่อให้ประชาชนได้
เข้าถึงการบรกิ ารขน้ั พน้ื ฐานทัว่ ไปได้ทุกครวั เรือน

20

2.2 ความเปน็ มาของการเขา้ สู่ตำบลสุขภาวะ

สถานการณ์การขับเคลื่อนงานเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ตำบลพรหมนิมิต ได้เข้าร่วมในการลงนามความ
ร่วมมือในการเป็นเครือข่ายขับเคลื่อนตำบลสุขภาวะร่วมกับ ตำบลคลองน้ำไหล อำเภอคลองลาน จังหวัด
กำแพงเพชรเมื่อ 3 - 4 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕5 และได้เข้าสู่กระบวนการเป็นเครือข่าย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตาม
หลักสูตรหลังจากนั้นใน พ.ศ.๒๕๕6 ได้มีการถอดบทเรียนทุนศักยภาพของพื้นที่ ซึ่งจัดระบบการเรียนรู้ ได้ 7
ระบบ 30 แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ (๑) ระบบบริหารจัดการตำบล 5 แหล่งเรียนรู้ (2) ระบบการสวัสดิการชุมชน 3
แหล่งเรียนรู้ (๓) ระบบเกษตรปลอดภัย 4 แหล่งเรียนรู้ (4) ระบบการเศรษฐกิจชุมชน 6 แหล่งเรียนรู้ (๕) ระบบ
การเรียนรู้ชุมชน 5 แหล่งเรียนรู้ (๖) ระบบการดูแลสุขภาพ 2 แหล่งเรียนรู้ และ (7) ระบบภูมิปัญญาท้องถิ่น 5
แหล่งเรียนรู้ นอกจากนี้ ตำบลพรหมนิมิต ได้มีการเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาศักยภาพในกระบวนการของ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่จัดขึ้นได้เกิดการยกระดับการพัฒนาตำบลเรื่อยมาท้ัง
ด้านศักยภาพของพื้นที่ แกนนำในตำบล และด้านการบริหารจัดการตำบล ที่นำไปสู่การจัดการตำบลสุขภาวะที่คน
ในชุมชนได้เกิดกระบวนการจัดการตนเองและตอบสนองความต้องการได้อย่างแท้จริง องค์การบริหารส่วนตำบล
พรหมนิมิตได้นำแนวคิดของแหล่งเรียนรู้ในตำบลคลองน้ำไหล ที่ได้จากการไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาต่อยอดการ
ทำงานด้วยการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมและสร้างความเข้าใจให้กับคนในชุมชน คือ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการแลกเปลี่ยน เสนอข้อมูล เสนอปัญหาและความต้องการ และร่วมหาแนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนาตำบล
ร่วมกัน ยึดหลักความพอเพียง ส่งเสริมการพึ่งตนเอง และพึ่งพากันภายในตำบล โดยสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ที่มีใน
ตำบลให้เกิดเปน็ ศนู ย์เรยี นรู้เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และแนวคิดภายใต้วฒั นธรรมและวิถีชีวติ ท้องถ่นิ ในชมุ ชน

เส้นทางการพัฒนาตำบลพรหมนิมิต ได้แสดงถึงกิจกรรมที่สำคัญ ผลผลิต และผลลัพธ์จากกิจกรรม ซึ่งได้
แสดงถึงวิวัฒนาการและความมุ่งมั่นของแกนนำตำบลพรหมนิมิต โดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต
ในข้างต้น มีรายละเอียดดงั ภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 เสน้ ทางการพฒั นาตำบลพรหมนมิ ติ อำเภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์

21



22



23

24
2.3 ฐานคิดการดำเนินงานสร้างเสรมิ สขุ ภาะชมุ ชนของตำบลพรหมนมิ ติ

ประกอบด้วย 4 ฐานคิดหลัก ได้แก่ (1) การบริหารงานแบบยึดแผนเป็นแนวทางการพัฒนา(2) การมีส่วน
ร่วม รวมตัว ร่วมกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหา (3) การจัดการแบบมีส่วนร่วมพหุภาคี (4) นำใช้ภูมิปัญญาเพื่อการพัฒนาพื้นที่
นำใช้เป็นหลักการดำเนินการเพื่อการพัฒนา การสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่ทุกภาคส่วน ซึ่งมุ่งหวังให้
เป็นกลไกการขับเคลื่อนอันนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอยู่ดีมีสุขของประชาชน และความ
เขม้ แข็งของชมุ ชนทย่ี ง่ั ยืน ดงั รายละเอียดในภาพที่ 3

ภาพท่ี 3 ฐานคิดการดำเนินงานสร้างเสริมสขุ ภาะชมุ ชนของตำบลพรหมนมิ ติ อำเภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์
ฐานคิดที่ ๑ บริหารจัดการแบบมสี ่วนรว่ มภายใตก้ ารพัฒนาแบบองค์รวม
การบริหารจัดการมุ่งเน้นการ ประสานหน่วยงานองค์กรภาคี สร้างความร่วมมือในการพัฒนา

เชื่อว่า “การพัฒนาต้องมีพลังจากหลายภาคส่วน” จึงจะทำให้เกิดประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยองค์การบริหารส่วน
ตำบลทำหน้าท่ีเป็นกลไก พัฒนา สนับสนุนและเชื่อมโยงการทำงาน ภายใต้ทุนศักยภาพ สถานการณ์และความ
ต้องการของพี่น้องประชาชนเป็นฐานในการออกแบบการพัฒนาที่เหมาะสมกับพื้นที่ มุ่งเน้นการจัดการตนเอง โดยการ
สร้างวิธีคิดร่วม 3 ระดับ ได้แก่ ระดับบุคคล (เจ้าหน้าที่) มีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน สามารถออกแบบ
กระบวนการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพทีมงาน ระดับกลุ่มองค์กร ทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชน เกิดความเข้าใจและสามารถทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ระดับชุมชน (ท้องที่) มีส่วนร่วมในการพัฒนา
ควบคู่ไปกับชุมชนท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือในการ พัฒนาคน พัฒนางาน และสร้างจิต
สาธารณะในการทำงานร่วมกนั ที่ตรงตอ่ ความต้องการของพ่นี ้องประชาชนอยา่ งเท่าเทียมกัน

25

ฐานคิดท่ี 2 การมสี ่วนร่วม รวมตัว ร่วมกล่มุ เพ่อื แกไ้ ขปัญหา

การทำงานขององค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิต มีพื้นฐานความเชื่อในเรื่องการบริหารแบบมี
ส่วนร่วม เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย ทั้งภาคท้องถิ่น ภาคท้องที่ ภาคประชาชน และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ได้
มีส่วนร่วมในการพัฒนา เกิดการรับรู้ปัญหาและความต้องการร่วมกันจนเกิดการรวมตัว จัดตั้งกลุ่ม มีกระบวนการ
ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมรับผลประโยชน์ ร่วมรับผิดชอบ โดยผ่าน
กระบวนการรวมตัวกันของแกนนำ คนที่มีจิตอาสา คนที่มีพื้นฐานวัฒนธรรมเดียวกัน มีความรู้สึกเป็นพี่เป็นน้อง
ร่วมกันจัดตั้งในรูปแบบของคณะกรรมการกลุ่ม หรืออาศัยการรวมตัวของผู้นำที่มีความรู้ความสามารถมาชักชวนให้
เกิดการรวมคิด การระดมสมองหาข้อสรุปร่วมการร่วมแรงร่วมใจทำกิจกรรมที่ตกลงร่วมกันร่วมประเมินผลเพื่อให้
ทราบว่าผลเป็นอย่างไร บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ โดยผ่านการสนับสนุนการจัดทำแผนชุมชนเพื่อแก้ไข
ปัญหาและความต้องการของประชาชนในตำบลร่วมกันการบริหารงานแบบโปร่งใส ตรวจสอบได้โดยการเปิดช่องทาง
เผยแพร่ข่าวสารผ่านช่องทางสื่อสารของตำบล หมู่บ้าน การให้ชุมชนเป็นคณะกรรมการเปิดซอง คณะกรรมการตรวจ
งานจ้าง คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการติดตาม
และประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น การประชุมร่วมเวทีแกนนำและใช้ศักยภาพการจัดการของภาคท้องถิ่น ภาคท้องท่ี
หน่วยงานราชการในการหนุนเสริมงบประมาณ องค์ความรู้ รวมถึงการเสริมประสบการณ์การจัดการตนเองของแกน
นำองค์กรชุมชนและภาคประชาชนใหไ้ ดแ้ สดงศกั ยภาพในการพง่ึ ตนเอง

ฐานคดิ ที่ 3 การจดั การแบบมีสว่ นรว่ มพหุภาคี

องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิตมีการจัดการ 2 ระดับ คือ (1) การจัดการกันเองโดยมติของ
กลุ่ม (ฝ่ายท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานภาครัฐ และประชาชน) ร่วมกันแสดงความคิดและหาทางออกของปัญหาที่เร่งด่วน
ตลอดจนประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาจากหลายภาคส่วน และ (2) การขับเคลื่อนพลังชุมชนด้วยการ
สนับสนุนการจัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน เวทีประชาคมตำบลทุกหมู่บ้าน การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา มีการ
สะท้อนข้อมูลจากข้อมูล จปฐ.2 ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้อง แบบสำรวจการข้อมูลตำบล เพื่อเป็นกระบวนการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมรับฟังปัญหา และร่วมลงมือปฏิบัติด้วยการเห็นจุดร่วม คือ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ี
ดี มีรายได้พอเพียงการสนับสนุนให้ประชาชนพึ่งตนเอง กายใจดี สวัสดิการทางสังคมดี ผู้นำดี มีคนต้นแบบ ประชาชน
เข้มแข็งมีส่วนร่วม สิ่งเหล่านี้ คือ รูปธรรมที่เกิดขึ้นจากการจัดการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนดังวิสัยทัศน์ว่า
“ทำงานเชิงรกุ เนน้ การมีสว่ นรว่ ม สรา้ งความสามคั คี พฒั นาสงั คมใหย้ ั่งยืน”

ฐานคดิ ท่ี 4 นำใชภ้ ูมิปัญญาเพือ่ การพัฒนาพืน้ ท่ี

อยากให้เป็นองค์กรนำด้านคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีรายได้พอเพียง ชุมชนพึ่งตนเองได้ โดยยึด
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างมีเหตุผล มีความพอประมาณ และมีภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตามเงื่อนไขของ
การมีความรู้มีความเป็นธรรม มีการพึ่งตนเองทั้งการดำรงชีพ การนำภูมิปัญญามาถ่ายทอดผู้อื่น การใช้เวทีประชาคม
ในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ปัญหาที่ชุมชนสามารถแก้ไขได้ชุมชนดำเนินการเอง ปัญหาที่ชุมชนดำเนินการโดย
ชุมชนเองไม่ได้โดยลำพังทำร่วมกับหน่วยงานอื่น ปัญหาใดที่เกินความสามารถของชุมชนขอรับการสนับสนุนจาก
องค์การบริหารส่วนตำบลพรหมนิมิตและหน่วยงานอื่น ๆ ซึ่งเมื่อชุมชนพึ่งตนเองได้จะเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถ
ถ่ายทอดให้ชุมชนอื่นได้เรียนรู้ร่วมกันและจะเป็นพลังที่จะทำให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศไทย
เป็นประเทศที่น่าอยู่การต่อยอดทางความคิดตำบลพรหมนิมิต จะสนับสนุนการนำภูมิปัญญาของชุมชนมาเป็นพลัง
ขับเคลื่อนในการจัดการทรัพยากรในพื้นที่ให้ยั่งยืน เช่น การทำการเกษตรแบบยั่งยืน การจัดการภัยพิบัติระดับตำบล
เป็นตน้

26

สว่ นท่ี 3 ทุนและศักยภาพของพ้นื ท่ี

ตำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ได้มีการสำรวจทุน และศักยภาพของพื้นที่ซึ่งสามารถ
จำแนกทุน และศักยภาพของพื้นที่ออกเป็น 3 ระดับ คือ (1) ทุนและศักยภาพระดับหมู่บ้าน (2) ทุนและศักยภาพ

ระดบั ตำบล (3) ทุนและศักยภาพระดับนอกพ้ืนที่

3.1 ทุนและศักยภาพระดบั หมู่บา้ น
ทนุ และศกั ยภาพในระดบั หม่บู า้ น ทัง้ 9 หมูบ่ ้าน ของพืน้ ทีต่ ำบลพรหมนิมิต อำเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์

มรี ายละเอยี ดดงั ตารางที่ 10

ตารางที่ 10 สรุปจำนวนทุนทางสงั คมของพนื้ ที่ จำแนกตามระดบั หมบู่ า้ นและภาพรวม

จำนวนทุนทางสงั คม

หมบู่ า้ น/ชื่อหมู่บา้ น บคุ คล กลุ่มปฏิบตั ิการ/ หน่วยงานและ หมู่บ้าน (ชุมชน)
แหล่งเรียนรู้ แหลง่ ประโยชน์ จดั การตนเอง
หมทู่ ี่ 1 บ้านบ่อดินขาว
หมู่ที่ 2 บ้านสะพานสาม 36 13 6 1 (ประเดน็ )
หมทู่ ี่ 3 บา้ นสะพานสอง
หมู่ที่ 4 บา้ นคลองแปด 25 10 4 -
หมทู่ ่ี 5 บ้านหนองโนน
หมู่ที่ 6 บ้านหนองหญา้ รงั กา 20 10 6 -
หมู่ท่ี 7 บ้านโพธ์คิ อย
หมทู่ ี่ 8 บ้านกกกวา้ ว 28 ๑๑ 6 -
หมู่ที่ 9 บ้านหนองไกห่ ลอ่
20 ๑๐ 4 -
รวม
26 ๑๒ 11 -

23 ๑๐ 5 -

34 ๑๔ 11 -

34 ๑๖ 11 -

245 ๑๐๖ 64 1

จากตารางที่ 10 สามารถจำแนกทุนและศักยภาพระดับหมู่บ้านของตำบลพรหมนิมิตตามประเภทของทุน
ทางสังคม ได้ดังนี้ (1) ทุนบคุ คล จำนวน 245 คน (2) กลุ่มปฏบิ ัตกิ าร/แหลง่ เรียนรู้ จำนวน 106 แห่ง (3) หน่วยงาน
และแหล่งประโยชน์ จำนวน 64 แห่ง และ (4) หมู่บ้าน (ชุมชน) จัดการตนเอง ที่มีศักยภาพในการนำใช้ข้อมูลและ
การแก้ไขปัญหาโดยชุมชน มีทั้งหมด 1 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านบ่อดินขาว หมู่ที่ 1 ที่มีการจัดการตนเอง เรื่อง การออม
ทรัพย์

ศักยภาพของชุมชนทั้ง 9 หมู่บ้าน ประกอบด้วย (1) ทุนบุคคล 2) กลุ่มปฏิบัติการ/แหล่งเรียนรู้ (3)
หนว่ ยงานและแหลง่ ประโยชน์ และ (4) หมบู่ า้ น (ชมุ ชน) จดั การตนเอง มีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้

27

28

3.1.1 หมู่ท่ี 1 บา้ นบอ่ ดินขาว

ทุนและศักยภาพของพื้นที่ระดับหมู่บ้าน จำแนกได้ดังนี้ (1) บุคคล จำนวน 36 คน (2) กลุ่มปฏิบัติการ/

แหล่งเรียนรู้ รวม 13 แห่ง (3) หน่วยงาน/องค์กร/แหล่งประโยชน์ จำนวน 6 แห่ง และ (4) หมู่บ้าน (ชุมชน) จัดการ
ตนเอง 1 ประเด็น รายละเอียดดังตารางท่ี 11

ตารางท่ี 11 ทนุ และศักยภาพของพืน้ ท่ี หมู่ที่ 1 บา้ นบอ่ ดินขาว

หมู่บา้ น ทนุ ทางสงั คม บทบาท ความเชยี่ วชาญ กจิ กรรมเด่น งานเดน่ หรอื เร่อื งเดน่
1. ระดบั บคุ คล 1. นายสมคิด พทั ธสีมา
- เป็นผู้ใหญ่บ้านหมทู่ ่ี 1 บ้านบอ่ ดินขาว เปน็ ผนู้ ำในการพฒั นาหมู่บา้ นและเป็นผู้
หม่ทู ่ี 1 ประสานงานกับหนว่ ยงานต่าง ๆ
บา้ นบ่อดินขาว
- เปน็ ประธานกลุ่มออมทรพั ย์ เพอื่ การผลิตจดั สรรเงนิ ทนุ ใหแ้ ก่สมาชิกที่กยู้ ืมเงินเพื่อไป
2. นายนิยม บวั ผัน ใชใ้ นการผลติ
3. นายสพุ ร บัวไข
- เป็นประธานกลมุ่ อสม. ดูแลเรื่องของงานดา้ นสาธารณสุขตา่ ง ๆ
4. นายลพ เคร่งใจ - เป็นประธานกล่มุ กขคจ.
- เป็นประธานกลุ่มฌาปนกจิ หมทู่ ี่ 1 บา้ นบ่อดนิ ขาว
5. นางบญุ ญสิ า ศิลปช์ ัย - เป็นประธานกลุม่ ผใู้ ช้นำ้
6. นางสุรภา จันทรบ์ ุญ - เป็นสมาชกิ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลพรหมนิมิต
7. นางสุนันท์ ทองนาค - เปน็ กรรมการกลมุ่ ออมทรัพย์ จัดสรรเงินทนุ ใหแ้ กส่ มาชิกที่กูย้ ืมเงินเพ่ือไปในการผลติ
- เป็นกรรมการกองทนุ หมบู่ ้าน
8. นางแตว๋ สุขขะ - เป็นกรรมการ กขคจ.
9. น.ส.สุภาพร สวัสดิ์ชยั - เปน็ กรรมการ อสม. คอยดแู ลในเร่ืองของสาธารณสขุ ต่าง ๆ
- เป็นประธานกล่มุ ผู้สงู อายุ มกี ารจัดกจิ กรรมรว่ มกันทเี่ กย่ี วข้องกบั ผู้สูงอายุ เชน่ วัน
10. นายฉัตรชยั บัวสอน
11. นายศรายุทธ ทองด้วง แจกเบ้ยี ยงั ชพี ผู้สงู อายุ
- เปน็ ผเู้ ชียวชาญทางดา้ นประเพณีท้องถิ่นในการประกอบพิธีต่าง ๆ
- เป็นประธานกลมุ่ กระเป๋าควิลท์
- เป็นประธานกลุ่มปลาสม้ นำ้ พริก
- เปน็ รองนายกองค์การบริหารสว่ นตำบลพรหมนิมิต
- เปน็ ประธานกลุ่มกองทุนหมูบ่ า้ น
- เปน็ คณะกรรมการหมู่บ้าน
- มคี วามเช่ียวชาญทางด้านงานหตั ถกรรม เชน่ จกั สานงานไม้ไผ่ และมีการถ่ายทอด

ความรใู้ ห้กบั บุคคลทส่ี นใจ
- เป็นผ้ชู ว่ ยผใู้ หญ่บา้ นหมทู่ ี่ 1 บา้ นบ่อดนิ ขาวได้ชว่ ยเหลอื ดแู ลการพัฒนาหมู่บา้ น
- เป็นกรรมการออมทรัพย์เพื่อการผลิต จัดสรรเงินทนุ ใหแ้ กส่ มาชกิ ท่กี ยู้ มื เงินเพ่ือไปใช้

ในการผลิต
- เป็นกรรมการ กขคจ.
- เปน็ กรรมการ อสม. ดูแลในเร่อื งของงานสาธารณสุขต่าง ๆ
- เป็นผนู้ ำ อช.
- เปน็ ผู้ช่วยผ้ใู หญบ่ า้ นหมู่ที่ 1 บา้ นบ่อดนิ ขาว ไดช้ ว่ ยเหลอื ในเร่ืองการดูแลพัฒนา

หมบู่ ้าน
- เปน็ กรรมการกองทนุ ออมทรพั ย์
- เป็นกรรมการ กขคจ.
- เป็นกรรมการ อสม. ดูแลในเร่ืองของงานสาธารณสขุ ตา่ ง ๆ
- เป็นสมาชิกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลพรหมนิมิต มหี นา้ ทีป่ ระสานงานกับองค์กรตา่ ง ๆ

ทั้งในและนอกสถานท่ี
- เป็นกรรมการออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ จดั สรรเงินทนุ ใหแ้ ก่สมาชิกท่กี ยู้ มื เงนิ เพอื่ ไปใช้

ในการผลิต
- เปน็ กรรมการ กขคจ.
- เป็นกรรมการกองทนุ หมบู่ ้าน
- เปน็ กรรมการ อสม. คอยดแู ลในเร่อื งของสาธารณสุขต่าง ๆ

29

หมูบ่ ้าน ทนุ ทางสังคม บทบาท ความเช่ียวชาญ กิจกรรมเด่น งานเดน่ หรอื เร่อื งเด่น
12. นางสาวสมใจ อึง้ ประดิษฐ์ - เป็นครูโรงเรียนวัดช่องแค เปน็ ครูชำนาญการในดา้ นการสอนระดบั อนุบาล
13. พระครูนิวฐิ ปัญญากร - เจ้าอาวาสวดั ช่องแค
- เจา้ คณะตำบลพรหมนิมติ
14.นางสาวภณิตา พัทธสีมา - มีการบริหารคณะสงฆ์ภายในตำบล และมีการเผยแผ่หลกั ธรรมคำสอนของ

15. นางสมจติ ร์ ม่วงสี องคส์ ัมมาสมั พทุ ธเจ้าใหก้ ับพทุ ธศาสนิกชน
- แพทย์ประจำตำบล คอยดูแลชว่ ยเหลือและให้ความรใู้ นเร่อื งสุขภาพและสาธารณสุข
16. นางกิมเตยี ง บัวไข
ภายในหมู่บ้าน
17. นางทพิ ย์ ดีปัญญา - เป็น อสม. ประจำหมู่บา้ น คอยดแู ลชว่ ยเหลือ และใหค้ วามรู้ในเรื่องสุขภาพและ

18. นางสาวสวุ รรณา สุขเอม สาธารณสขุ ภายในหม่บู ้าน
- เปน็ อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดูแลช่วยเหลือ และให้ความรใู้ นเรื่องสขุ ภาพและ
19. นายมานพ ดวงอาจ
สาธารณสุขภายในหมู่บ้าน
20. นายขนุ ไกร กาบทอง - เปน็ อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลือ และให้ความรู้ในเร่อื งสุขภาพและ

21. นางสาวรตั นา สาดฟกั สาธารณสขุ ภายในหมบู่ ้าน
- เป็น อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดแู ลช่วยเหลือ และใหค้ วามรใู้ นเรือ่ งสุขภาพและ
22. นางจรรยา พศศรษ์
สาธารณสุขภายในหมบู่ ้าน
23. นางสมพงษ์ บวั สอน - เปน็ อสม. ประจำหมู่บา้ น คอยดแู ลช่วยเหลอื และให้ความรใู้ นเรอ่ื งสุขภาพและ

24. นางสาวคณษิ ฐา จนั แกว้ สาธารณสขุ ภายในหมบู่ ้าน
25. นางยุพิน สุขขะ - เป็น อสม. ประจำหม่บู ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลอื และให้ความรู้ในเรอ่ื งสขุ ภาพและ
26. นายเกษม บญุ มี
27. นายพยอม สุขขะ สาธารณสุขภายในหมูบ่ า้ น
28. นางสมคดิ ฉายงาม - เปน็ อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดแู ลช่วยเหลือ และให้ความรใู้ นเรอ่ื งสุขภาพและ
29. นายจรญั ดว้ งขาว
30. นายกติ ตศิ ักด์ิ พัทธสมี า สาธารณสขุ ภายในหมบู่ ้าน
31. นางตุ้งหลิน จันทรบ์ ุญ - เปน็ อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดแู ลช่วยเหลือ และใหค้ วามรใู้ นเรอื่ งสขุ ภาพและ
32. นางสรุ ัตน์ ทองสบุ ิน
33. นางอรุณรงุ่ ทองสว่าง สาธารณสขุ ภายในหมบู่ ้าน
34. นายไพบูรณ์ สวัสดิ์ชัย - เป็น อสม. ประจำหมู่บา้ น คอยดูแลช่วยเหลือ และให้ความรู้ในเร่ืองสขุ ภาพและ
35. นางระเบียบ เพชรปานกนั
36. นายไพบูลย์ สงิ หไกร สาธารณสุขภายในหม่บู ้าน
2. ระดับกลุ่ม องคก์ รชุมชน - มีความชำนาญในเรอ่ื งการเยบ็ กระเปา๋
1. กลุม่ ฌาปนกิจ - มีความชำนาญในเรือ่ งการเยบ็ กระเปา๋
- เปน็ กรรมการกลุ่มฌาปนกิจ มีความชำนาญในเร่ืองแพทย์ไทย
2. กลุ่ม อสม. - มีความรู้ในดา้ นการจัดสวน
3. กลุ่มออมทรพั ย์ - มีความรู้ในดา้ นการบริหารจดั การกลุ่มกองทุนหมบู่ า้ น
- มคี วามร้ใู นดา้ นการบริหารจดั การกลุ่มกองทนุ หม่บู า้ น
4. กลุ่มกองทุนหมู่บา้ น - มีความรูใ้ นด้านการบริหารจัดการกลมุ่ กองทนุ หมู่บา้ น
- มคี วามรู้ในเรื่องการทำปลาส้ม-นำ้ พรกิ และเปน็ ผู้ถ่ายทอดความรู้
5. กลุ่ม กขคจ. - กรรมการกล่มุ ปลาส้ม-นำ้ พรกิ
- เปน็ ผ้มู คี วามรูค้ วามสามารถในการทำดอกไมจ้ นั ทน์
- เปน็ กรรมการกลุม่ ฌาปนกจิ
- กรรมการกลุ่มปุ๋ยอินทรียอ์ ัดเมด็
- หมอไสยศาสตร์ จบั ยามสามตา

- มกี ารประชมุ รว่ มกนั กับสมาชกิ กลุ่มเก็บเงินเมื่อมีผเู้ สียชวี ิต จะมีการมอบเงินให้กบั
ครอบครัวผเู้ สียชวี ิต

- มีการดูแลในเรอื่ งสขุ ภาพของประชาชนในหมูบ่ า้ น
- มกี ารรบั ฝากเงินจากสมาชกิ และใหส้ มาชิกกยู้ ืมและจะมเี งนิ ปันผลให้แก่สมาชิกเพื่อ

นำไปเปน็ ผลประโยชน์แกห่ มบู่ า้ น
- มกี ารใหก้ ยู้ ืมแก่สมาชิก นำผลกำไรทเี่ กดิ จากการใหก้ ู้ยมื นำไปเปน็ ผลประโยชน์แก่

หมบู่ ้าน
- แกไ้ ขปญั หาความยากจน และทางกลุ่มมีการให้กู้ยมื และคอยช่วยเหลือผูท้ ่ีมีรายไดน้ ้อย

ตกเกณฑ์ จปฐ. สง่ิ ท่เี กดิ ขึน้ จากกลุ่ม คือ ทำใหป้ ระชาชนมชี วี ิตความเปน็ อยู่ท่ีดีข้ึน

หม่บู ้าน ทนุ ทางสงั คม 30
6. กลุ่มปลาส้ม - นำ้ พริก
บทบาท ความเชี่ยวชาญ กจิ กรรมเดน่ งานเดน่ หรือเรอื่ งเด่น
7. กลุม่ ผูใ้ ช้น้ำ - ประชมุ รว่ มกันจัดหาซ้อื วสั ดุอปุ กรณ์ในการทำปลาส้ม รว่ มกนั จดั ทำปลาส้ม น้ำพริก

8. กลุ่มผู้สงู อายุ เป็นประจำวัน เพือ่ ออกจำหนา่ ยตามทอ้ งตลาด
9. กลมุ่ ศนู ยป์ ระชาบดี - มีการประชุมรว่ มกันกบั กลุ่มผ้ใู ช้น้ำทงั้ หมด มีการเกบ็ เงินทนุ สูบนำ้ กบั สมาชิก โดยมี

10. กลุ่มกระเป๋าควลิ ท์ การสบู น้ำเขา้ บ่อดนิ ขาว
- มกี ารร่วมกันจดั กิจกรรมแจกเบย้ี ผ้สู ูงอายุทกุ เดือน
11. กลุ่มจกั สานงานไม้ไผ่ - ร่วมกันคอยเป็นกระบอกเสียงใหก้ ารช่วยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาและเดอื ดรอ้ นเพือ่ ให้

12. กลมุ่ เด็กและเยาวชน ปัญหาหมดไป
13. กลมุ่ ผู้ปลกู หอมหวั ใหญ่ - มีการจดั หาซือ้ วัสดุอุปกรณ์และมีการเปิดสอนให้กับผ้ทู ่สี นใจและมกี ารจัดจำหนา่ ยที่

3. ระดบั หนว่ ยงานแหลง่ ประโยชน์ กล่มุ
1. คลองชลประทาน - มีการจดั หาซอ้ื วสั ดุอุปกรณแ์ ละมีการเปิดสอนให้กับผ้ทู สี่ นใจและมีการจดั จำหนา่ ยท่ี
ชยั นาท - ปา่ สกั
กลมุ่
2. บอ่ ดินขาว - สภาเดก็ และเยาวชน กลุ่มเยาวชนจติ อาสา
3. ศาลาเอนกประสงค์ - จดั หาเมล็ดพนั ธห์ุ อมหัวใหญ่ เพอื่ ช่วยเหลอื เกษตรกรผู้ปลกู หอมหวั ใหญใ่ นเรื่องพนั ธุ์
4. หอกระจายข่าว
5. วัดชอ่ งแค หอมหัวใหญ่ให้แก่สมาชิกภายในกลมุ่ และมีคณุ ภาพทด่ี ี

6. โรงสบู นำ้ - เปน็ แหลง่ น้ำในการประกอบอาชีพในการทำการเกษตรและเป็นแหลง่ อาหาร
4. ระดบั หมบู่ า้ น (ชมุ ชน) จดั การตนเอง
- เป็นแหล่งน้ำในการประกอบอาชพี ในการทำการเกษตร
1.กลุ่มออมทรัพย์ - เป็นทปี่ ระชมุ เป็นทจี่ ดั กิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ การแจกเบย้ี ยงั ชพี ผู้สูงอายุ
- เปน็ ทีป่ ระชาสัมพนั ธข์ ่าวสารให้กับประชาชนในหมู่บา้ น
- เป็นสถานทีใ่ ช้ประกอบพิธที างศาสนา
- ใช้ในการสบู น้ำใหก้ บั ผู้ทป่ี ระกอบอาชีพทางด้านการเกษตร

- มกี ารรับฝากเงินจากสมาชิกและใหส้ มาชิกกยู้ ืมและจะมเี งินปนั ผลให้แก่สมาชกิ เพ่อื
นำไปเปน็ ผลประโยชนแ์ กห่ มู่บา้ น

31

32

3.1.2 หม่ทู ่ี 2 บา้ นสะพานสาม

ทุนและศักยภาพของพื้นที่ระดับหมู่บ้าน จำแนกได้ดังนี้ (1) บุคคล จำนวน 25 คน (2) กลุ่มปฏิบัติการ/
แหล่งเรียนรู้ รวม 10 แห่ง และ (3) หน่วยงาน/องค์กร/แหล่งประโยชน์ จำนวน 4 แหง่ รายละเอียดดังตารางท่ี 13

ตารางท่ี 13 ทนุ และศกั ยภาพของพ้ืนที่ หมทู่ ี่ 2 บ้านสะพานสาม

หมูบ่ ้าน ทนุ ทางสังคม บทบาท ความเชี่ยวชาญ กิจกรรมเด่น งานเด่น หรอื เรอื่ งเดน่

1. ระดับบุคคล - เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 ผู้นำในการพัฒนาหมู่บ้าน ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ใน
การทำกิจกรรมในหมู่บา้ น
หม่ทู ่ี 2 1.นางชาญ ทรงชัยพิพฒั น์
- -เปน็ คณะกรรมการหมูบ่ า้ น
บา้ นสะพานสาม - เปน็ ประธานกลุม่ อสม.ดูแลงานด้านสาธารณสขุ มีจติ อาสาช่วยเหลือสงั คม
- เป็นประธานกลุ่มกองทุนหมู่บ้าน จัดสรรสวัสดิการ การกู้ยืมเงินให้แก่สมาชิกเพ่ือ
2.นางสาวพัฒนา บญุ ผาง
นำไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ
3. นางสมจิตร นามวงษา - เปน็ ประธานกล่มุ ออมทรัพย์ สง่ เสรมิ การออมของสมาชิก
4. นายจิงเฮง เดชบูรณ์ - เป็นประธานกลมุ่ แม่บา้ น ประกอบอาชพี เสรมิ เพ่ือเพ่ิมรายไดใ้ ห้แก่ครอบครวั
- เป็นประธานกลุ่มหอมหวั ใหญ่ มีความเช่ียวชาญความรเู้ กยี่ วกบั การปลูกหอมหัวใหญ่
5. นายส่ง ทรงชยั พพิ ัฒน์
คอยประสานงานกบั หน่วยงานต่าง ๆ ในการดำเนนิ กิจกรรมของกลุ่ม
6. นายสมจิตร์ กัณหาวารี - เป็นประธานกล่มุ ผูส้ งู อายุ ที่มีความรูค้ วามสามารถในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ

7. นางธญั รัศม์ นามวงษา มีความเชี่ยวชาญการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ
- สมาชกิ อบต. ประสานงานกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในการทำกิจกรรมในชมุ ชน ผลักดัน
8. นายมานพ ชวาลา
นโยบายนำงบประมาณมาพัฒนาหมบู่ ้าน
9. นางบวั ทพิ ย์ อินทรเคน - สมาชิก อบต. ประสานงานกับหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในการทำกิจกรรมในชมุ ชน ผลกั ดัน

10. นางบรรจง ชูชน่ื นโยบายนำงบประมาณมาพัฒนาหม่บู ้าน
- เลขานุการนายกองค์การบรหิ ารส่วนตำบลพรหมนมิ ิต ประสานงานกบั หน่วยงานตา่ ง
11.นางนิภา พุฒจบี
ๆ ในการทำกิจกรรมในชุมชน รบั มอบนโยบาย ดำเนนิ งานแทน นายกฯ ให้เปน็ ไปตาม
12. นางจำเรียง ศรีประสม นโยบายทไ่ี ดว้ างไว้
- เป็น อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลอื และใหค้ วามรใู้ นเรอื่ งสขุ ภาพและ
13. นายสมาน นาคะ สาธารณสขุ ภายในหมบู่ า้ น
- เป็น อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดแู ลช่วยเหลอื และให้ความรใู้ นเรือ่ งสุขภาพและ
14. นางยพุ ิน สนามทอง สาธารณสุขภายในหมบู่ า้ น
- เป็น อสม. ประจำหมูบ่ ้าน คอยดูแลช่วยเหลือและใหค้ วามร้ใู นเรอื่ งสุขภาพและ
15. นายจำปา ศรีประสม สาธารณสขุ ภายในหมู่บ้าน
- เป็น อสม. ประจำหม่บู ้าน คอยดแู ลช่วยเหลอื และใหค้ วามรู้ในเรื่องสขุ ภาพและ
16. นางสาวรุง่ อรุณ ฉยุ ฉาย สาธารณสุขภายในหมบู่ ้าน
- เป็น อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดแู ลชว่ ยเหลือและให้ความรู้ในเรอื่ งสุขภาพและ
17. นายนิยม นำผล สาธารณสุขภายในหมบู่ า้ น
18. นายจำรสั ศรีประสม - เป็น อสม. ประจำหมู่บา้ น คอยดูแลชว่ ยเหลือและใหค้ วามรใู้ นเรอื่ งสขุ ภาพและ
19. นางสมจิตร นามวงษา สาธารณสุขภายในหมบู่ ้าน
20. นายพลั้ว ขนุ ทอง - เปน็ อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดแู ลชว่ ยเหลอื และให้ความรใู้ นเร่อื งสุขภาพและ
21. นายตอ่ ศกั ด์ิ ฉิมชา้ ง สาธารณสุขภายในหมบู่ ้าน
22. นายสอุ ิน ตาลเกตุ - เป็น อสม. ประจำหม่บู า้ น คอยดแู ลช่วยเหลอื และใหค้ วามร้ใู นเรือ่ งสุขภาพและ
23. นายชยั แซ่อ้งึ สาธารณสขุ ภายในหมู่บา้ น
- กรรมการกลมุ่ ชมรมผสู้ ูงอายุ
- ปราชญช์ าวบ้าน ด้านการแพทยแ์ ผนโบราณ
- ประธานกลุ่มแมบ่ ้าน
- วัจนไวยกร เป็นผูน้ ำทางศาสนาฝ่ายฆารวาส ในวันธรรมเสาวนะ
- กรรมการกองทุนหม่บู ้าน
- มคี วามรใู้ นดา้ นการจัดสวนสวยงาม
- กรรมการบริหารจัดการกลุ่มผู้ปลูกหอมหวั ใหญ่

33

หมบู่ า้ น ทนุ ทางสงั คม บทบาท ความเชย่ี วชาญ กิจกรรมเดน่ งานเดน่ หรอื เรอ่ื งเดน่
- กรรมการบริหารจัดการกล่มุ ผู้ปลกู หอมหวั ใหญ่
24. นางสาวสายฝน เดชบูรณ์ - กรรมการบรหิ ารจัดการกลมุ่ ผูป้ ลกู หอมหวั ใหญ่

25. นายศักด์ิ ชวาลา - เป็นผู้มีจิตอาสาในด้านสาธารณสขุ ชว่ ยเหลอื เก่ยี วกับผู้สงู อายุ คนพกิ าร เดก็ และ
ผู้ดอ้ ยโอกาส เฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน คัดกรองโรคระดบั ปฐมภมู ิ
2. ระดับกลุ่มทางสงั คม องคก์ รชมุ ชน
- จดั หาเมล็ดพนั ธ์หุ อมหัวใหญ่ เพือ่ ชว่ ยเหลือเกษตรกรผู้ปลกู หอมหัวใหญ่ในเรอื่ งพันธ์ุ
1. กลุ่ม อสม. หอมหัวใหญ่ให้แก่สมาชิกภายในกลุ่ม และมคี ณุ ภาพท่ดี ี

2. กลุ่มผู้ปลูกหอมหวั ใหญ่ - สง่ เสรมิ การออม จัดสรรสวสั ดกิ าร การกยู้ ืมเงินให้แกส่ มาชกิ เพอ่ื นำไปใชใ้ นการ
ประกอบอาชีพ
3. กลุ่มกองทนุ หมูบ่ ้าน
- บรหิ ารงานกองทุนส่งเสริมการออม จัดสรรสวสั ดิการการกูย้ มื เงนิ ใหแ้ ก่สมาชิกเพอ่ื
4. กลุ่มออมทรพั ย์ นำไปใชใ้ นการประกอบอาชพี

5. กลุ่มแม่บา้ น - สง่ เสริมการรวมกลมุ่ ของแมบ่ ้านทำกจิ กรรมหารายได้เสริมเพิ่มใหก้ ับครอบครัว
6. กลุม่ ผูส้ งู อายุ - รว่ มกันทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ดูแลชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกนั ถา่ ยทอดวชิ าความรู้ ภูมิปญั ญา

7. กลมุ่ ไม้กวาดทางมะพรา้ ว ทอ้ งถ่นิ ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ทำให้ไมซ่ มึ เซา เงยี บเหงา มสี ขุ ภาพทด่ี ี
8. กลุ่มดอกไมจ้ ันทน์ - มกี ารจัดหาซ้ือวัสดอุ ุปกรณ์ และมกี ารเปดิ สอนให้กบั ผทู้ ส่ี นใจ มีการจดั จำหนา่ ยท่ีกลุ่ม
9. กลุ่มกระเป๋าควิลท์ - มีการจัดหาซ้อื วสั ดอุ ปุ กรณ์ และมกี ารเปิดสอนใหก้ ับผู้ทส่ี นใจ มีการจดั จำหน่ายทก่ี ลุ่ม
10. กลมุ่ เด็กและเยาวชน - มกี ารจัดหาซอ้ื วัสดอุ ุปกรณ์ และมีการเปิดสอนใหก้ ับผู้ทสี่ นใจ มกี ารจัดจำหน่ายท่ีกลมุ่
3. ระดับหน่วยงาน แหล่งประโยชน์ - สภาเด็กและเยาวชน กลุ่มเยาวชนจิตอาสา
1. อาคารเอนกประสงค์ (SML)
2. คลองชลประทาน - เป็นสถานทปี่ ระชมุ ปรกึ ษาหารอื และจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ของหมู่บา้ น
- เปน็ แหลง่ นำ้ ในการอุปโภคบริโภค และใชใ้ นการทำเกษตรกรรม
ชัยนาท - ปา่ สกั
3. หอกระจายข่าว - เปน็ แหลง่ ประชาสัมพนั ธข์ า่ วสารใหก้ บั คนในหมู่บ้านได้รับทราบ
4. ประปาผวิ ดนิ หมบู่ า้ น หมู่ท่ี 2 - บริการจัดสรรน้ำอุปโภคบริโภค ให้แกค่ นในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง
4. ระดับหมูบ่ า้ น (ชุมชน) จดั การตนเอง
-
-

34

35

3.1.3 หม่ทู ่ี 3 บ้านสะพานสอง

ทุนและศักยภาพของพื้นที่ระดับหมู่บ้าน จำแนกได้ดังนี้ (1) บุคคล จำนวน 20 คน (2) กลุ่มปฏิบัติการ/
แหลง่ เรียนรู้ รวม 10 แหง่ และ (3) หน่วยงาน/องคก์ ร/แหล่งประโยชน์ จำนวน 6 แห่ง รายละเอยี ดดังตารางท่ี 14

ตารางท่ี 14 ทนุ และศักยภาพของพืน้ ที่ หมทู่ ่ี 3 บา้ นสะพานสอง

หม่บู ้าน ทุนทางสงั คม บทบาท ความเช่ยี วชาญ กิจกรรมเด่น งานเด่น หรอื เรอ่ื งเด่น

1. ระดบั บุคคล - เปน็ ผใู้ หญ่บ้านหมูท่ ี่ ๓ ผ้นู ำในการพฒั นาหม่บู ้านประสานกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในการ
ทำกจิ กรรมในหมู่บ้าน
หมทู่ ี่ 3 1. นางกัญญาภัค สิงห์นาวา
- เปน็ ประธานกลุ่มออมทรัพย์ บรหิ ารงานกองทุนส่งเสริมการออม จดั สรรสวสั ดิการ
บา้ นสะพานสอง การกู้ยืมเงินให้แก่สมาชกิ เพอ่ื นำไปใชใ้ นการประกอบอาชพี

2. นายช้นั หอมขจร - ประธานกลุม่ กองทุนหมบู่ า้ น บริหารงานกองทุนส่งเสริมการออม จดั สรรสวัสดกิ าร
3. นางยอด นพรตั น์ การก้ยู มื เงนิ ใหแ้ กส่ มาชิก เพื่อนำไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ

4. นายสำราญ ปลอ้ งทอง - ประธานกลุ่มแม่บ้าน บริหารงานกองทนุ สง่ เสริมการออม จดั สรรสวสั ดิการ การกู้ยืม
เงิน ใหแ้ กส่ มาชกิ เพ่ือนำไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ
5. นายพยุง บริหาร
- ประธานกลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ จดั สรรสวสั ดกิ ารเมื่อมผี เู้ สียชีวิตเพ่ือนำไปใช้ในการ
6. นายโสภี ปานา ฌาปนกิจ
7. นางสาววชั ราพรรณ
- ประธานกลมุ่ สถาบนั การเงนิ บ้านสะพานสองบรหิ ารงานกองทุนสง่ เสรมิ การออม
ปลอ้ งทอง จดั สรรสวัสดกิ ารการกู้ยืมเงนิ ใหแ้ ก่สมาชกิ เพอื่ นำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
8. นางบุญมี ทบั ทิม
9. นายโสภี ปานา - เปน็ ประธานกลมุ่ อสม.ดแู ลงานดา้ นสาธารณสุข มจี ติ อาสาชว่ ยเหลอื สังคม
10. นางสังเวียน ปลอ้ งทอง - เปน็ ประธานกลมุ่ ศูนย์พนั ธขุ์ ้าวชุมชน คดั แยกพนั ธ์ขุ า้ วปลกู
11. นางหวาน ปล้องทอง - เป็นสมาชกิ อบต. คอยประสานงานกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในการดำเนินกิจกรรมของ
12. นางสมบัติ ปล้องทอง
13. นางนำ้ หวาน สงิ หพ์ รม หมู่บ้าน ผลกั ดันงบประมาณเพ่ือนำมาพัฒนาหมบู่ า้ น
14. นายคำนึง คมุ้ เพชร - เปน็ สมาชิก อบต. คอยประสานงานกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ในการดำเนินกจิ กรรมของ

หมบู่ า้ น ผลกั ดันงบประมาณเพอื่ นำมาพัฒนาหมู่บา้ น
- เป็นหมอดนิ อาสามีความเชย่ี วชาญเกีย่ วกับเรือ่ งดินมีจติ อาสาช่วยเหลอื เกษตรกร
- มคี วามรเู้ ก่ียวกับศลิ ปะ วัฒนธรรมประเพณีตา่ ง ๆ ของทอ้ งถน่ิ และประกอบพธิ ที าง

ศาสนา
- ประธานผู้สงู อายหุ มู่ 3 รว่ มกนั ทำกจิ กรรมต่างๆดแู ลช่วยเหลือซึง่ กนั และกัน ถ่ายทอด

วิชาความรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ทำใหไ้ มซ่ มึ เซา เงียบเหงา
มีสขุ ภาพท่ดี ี
- ปราชญ์ชาวบ้าน มคี วามเช่ยี วชาญในการผสมพันธโุ์ ค การเลยี้ งสัตว์ การทำเกษตร
- เป็น อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลอื และให้ความร้ใู นเรื่องสขุ ภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมบู่ า้ น
- เปน็ อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดแู ลช่วยเหลือและให้ความรู้ในเรอ่ื งสุขภาพและ
สาธารณสุขภายในหมู่บา้ น
- เป็น อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลือและให้ความรใู้ นเรือ่ งสขุ ภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหม่บู ้าน
- เป็น อสม. ประจำหมู่บา้ น คอยดูแลชว่ ยเหลอื และให้ความรู้ในเรื่องสขุ ภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมูบ่ า้ น
- เป็น อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดแู ลชว่ ยเหลอื และใหค้ วามรใู้ นเรื่องสุขภาพและ
สาธารณสุขภายในหมบู่ ้าน
- เปน็ อสม. ประจำหมบู่ า้ น คอยดูแลช่วยเหลอื และใหค้ วามรู้ในเร่อื งสขุ ภาพและ
สาธารณสุขภายในหมบู่ า้ น
- เปน็ อสม. ประจำหมบู่ า้ น คอยดแู ลชว่ ยเหลอื และใหค้ วามรู้ในเรื่องสขุ ภาพและ
สาธารณสุขภายในหมูบ่ ้าน
- เปน็ อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลือและให้ความรใู้ นเรอ่ื งสุขภาพและ
สาธารณสุขภายในหม่บู ้าน

36

หมูบ่ ้าน ทุนทางสงั คม บทบาท ความเชี่ยวชาญ กิจกรรมเดน่ งานเดน่ หรือเรอ่ื งเด่น
15. นางจนั ทรเ์ พญ็ ปลอ้ งทอง - เปน็ อสม. ประจำหมบู่ า้ น คอยดูแลช่วยเหลือและให้ความรใู้ นเร่ืองสุขภาพและ

16. นางก้านตอง พรสนิ สาธารณสขุ ภายในหมบู่ ้าน
- เป็น อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดูแลชว่ ยเหลอื และให้ความรู้ในเร่อื งสุขภาพและ
17. นายทองศักดิ์ อปุ พงษ์
18. นางสำราญ ดว้ งพรม สาธารณสุขภายในหมูบ่ า้ น
19. นางศรีนวล พานเจิม - กรรมการบรหิ ารศูนยพ์ ันธ์ขุ า้ วชมุ ชน
20. นางสมบัติ คุม้ เพชร - กรรมการบริหารศนู ยพ์ นั ธ์ขุ า้ วชมุ ชน
2. ระดับกลุ่ม องค์กรชมุ ชน - กรรมการบริหารศูนยพ์ ันธุ์ขา้ วชุมชน
1. กลมุ่ อสม. - กรรมการบริหารศนู ย์พนั ธขุ์ า้ วชุมชน

2. กล่มุ กองทนุ หม่บู า้ น - เป็นผู้มีจิตอาสาในดา้ นสาธารณสุข ช่วยเหลอื เกยี่ วกบั ผู้สงู อายุ คนพิการ เด็กและ
ผูด้ อ้ ยโอกาส เฝ้าระวัง ป้องกนั คดั กรองโรคระดบั ปฐมภูมิ
3. กลมุ่ ศูนย์พนั ธุ์ขา้ วชมุ ชน
- ส่งเสริมการออม จัดสรรสวัสดกิ าร การกยู้ ืมเงนิ ให้แก่สมาชิกเพื่อนำไปใชใ้ นการ
4. กลมุ่ กองทุนแม่บา้ น ประกอบอาชีพ

5. กลมุ่ ฌาปนกจิ สงเคราะห์ - คัดแยกพนั ธุ์ข้าวปลกู เพอื่ ชว่ ยเหลือชาวนาในเรอ่ื งพันธข์ุ า้ วและป๋ยุ ในราคาทีถ่ กู กว่า
6. กลุ่มออมทรพั ย์ ท้องตลาด และมีคณุ ภาพที่ดี

7. กลุ่มสถาบนั การเงิน - ส่งเสรมิ การออม จดั สรรสวัสดกิ าร การก้ยู มื เงนิ ใหแ้ กส่ มาชิกเพอื่ นำไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพ
8. กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ
- จัดสรรสวัสดกิ ารเม่อื มีผเู้ สียชีวติ เพ่ือนำไปใชใ้ นการฌาปนกิจ
9. กลุ่มจักสานงานไม้ไผ่ - บริหารงานกองทุนส่งเสริมการออม จดั สรรสวสั ดิการการกูย้ ืมเงนิ ใหแ้ กส่ มาชิกเพื่อ
10. กลุม่ เดก็ และเยาวชน
3. ระดับหนว่ ยงาน แหล่งประโยชน์ นำไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ
1. อาคารเอนกประสงค์ (SML) - บริหารงานกองทนุ สง่ เสริมการออม จัดสรรสวสั ดิการ การกยู้ ืมเงิน ใหแ้ กส่ มาชิก เพ่ือ
2. ศาลากลางบา้ น
นำไปใช้ในการประกอบอาชพี
(ศาลารมิ คลอง) - ร่วมกนั ทำกิจกรรมต่าง ๆ ดูแลช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ถ่ายทอดวชิ าความรู้ ภมู ิปญั ญา

๓. ลานตากข้าว ทอ้ งถนิ่ ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ทำใหไ้ มซ่ มึ เซา เงียบเหงา มีสุขภาพท่ีดี
- มกี ารจดั หาซื้อวัสดอุ ปุ กรณ์ และมกี ารเปิดสอนให้กับผ้ทู ่สี นใจ มกี ารจัดจำหนา่ ยทก่ี ล่มุ
๔. สวนหย่อมประจำหมู่บ้าน - สภาเดก็ และเยาวชน กลุ่มเยาวชนจติ อาสา

๕. คลองชลประทาน - เป็นสถานทป่ี ระชมุ ปรึกษาหารอื และจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ของหมบู่ ้าน
ชัยนาท - ป่าสัก - เป็นสถานท่ีประชมุ ปรึกษาหารือและจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ของหมบู่ า้ น

๖. หอกระจายข่าว - ใช้เปน็ สถานท่ีตากผลผลิตทางการเกษตรของชาวบ้าน หมู่ที่ 3 และทำกจิ กรรมตา่ งๆ
4. ระดบั หมู่บ้าน (ชุมชน) จดั การตนเอง ชองชมุ ชนร่วมกนั

- - เป็นสถานท่ีพักผ่อน หย่อนใจ ออกกำลังกายและจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ชองชุมชนรว่ มกัน
- เปน็ แหล่งนำ้ ในการอุปโภคบริโภค และใชใ้ นการทำเกษตรกรรม

- เปน็ แหลง่ ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสารใหก้ บั คนในหมบู่ ้านไดร้ บั ทราบ

-

37

38

3.1.4 หมู่ที่ 4 บา้ นคลองแปด

ทุนและศักยภาพของพื้นที่ระดับหมู่บ้าน จำแนกได้ดังนี้ (1) บุคคล จำนวน 28 คน (2) กลุ่มปฏิบัติการ/
แหลง่ เรียนรู้ รวม 11 แหง่ และ (3) หน่วยงาน/องคก์ ร/แหล่งประโยชน์ จำนวน 6 แห่ง รายละเอียดดงั ตารางท่ี 15

ตารางท่ี 15 ทนุ และศกั ยภาพของพื้นท่ี หมทู่ ่ี 4 บา้ นคลองแปด

หมู่บ้าน ทนุ ทางสังคม บทบาท ความเชี่ยวชาญ กิจกรรมเด่น งานเด่น หรอื เรื่องเดน่
1. ระดับบคุ คล 1. นายไพสทิ ธ์ิ กาบทอง
2. นายคเนย์ สบื ศรี - เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ ๔ และเปน็ ประธานกลมุ่ เงนิ ลา้ น เปน็ ประธานกลุ่มฌาปนกิจ และ
หมู่ที่ 4 เปน็ ผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ
บา้ นคลองแปด
- เป็นประธานกลุ่มผู้ใช้น้ำ และคอยติดต่อประสานงานกับสมาชิกในกลุ่ม และจัดสรร
3. นางประทนิ พะวุฒิ เงนิ กู้ใหแ้ ก่สมาชกิ ในกลุ่มเพ่ือใชป้ ระกอบอาชพี

4. นางชาติกาญจน์ กาบทอง - เป็นประธานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต คอยติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงาน
และสมาชกิ ภายในกลุม่ และคอยเก็บเงินออมทรพั ย์ในหมู่บา้ น
5. นายบุญเรือง กาบทอง
- เปน็ ผชู้ ่วยผ้ใู หญ่บ้าน และเปน็ ประธานกล่มุ อาสาสมัครชุมชน และคอยตดิ ตอ่ ประสาน
6. นายนพรัตน์ คงเจรญิ งานระหวา่ งหน่วยงานและประชาชนในหมู่บา้ นและดูแลเรื่องสาธารณสุขของหมบู่ า้ น
7. นายวชิ ยั อย่สู บาย
- เปน็ สมาชิก อบต. และเป็นประธานกลุ่ม อสม. มหี นา้ ท่คี วบคมุ ดูแลสขุ ภาพมูลฐาน
8. นายเลก็ สิงห์พรหม เบือ้ งต้นของประชาชนในหมบู่ า้ น และประสานงานกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในการทำ
กิจกรรมในชุมชน
9. นายแขก ธรรมรกั ษ์
- เป็นผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บ้าน คอยติดตอ่ ประสานงานระหวา่ งหน่วยงานกับประชานในหมูบ่ ้าน
10. นายสทุ ัศ ใยเทศ - เปน็ สมาชกิ อบต. คอยประสานงานกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในการทำกิจกรรมในชมุ ชน

11. นางบญุ ยวรี ย์ กาบทอง และดูแลเร่ืองสาธารณสขุ ของหมบู่ ้าน
- เปน็ ปราชญ์ชาวบา้ น เปน็ ผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านขอ้ มลู และมีความสามารถทางด้านไกล่
12. นายเชิดชาย สงิ ห์พรหม
13. นางสาวพรนกิ า จูจันทร์ เกลยี่
- เป็นปราชญ์ชาวบ้าน เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านพิธีกรรมทางศาสนาและเชี่ยวชาญ
14. นายบวรนนั ท์ เนตรนอ้ ย
ทางด้านจักสาน
15. นายเสนาะ พวงมาลัย - เป็นครูโรงเรียนวัดช่องแค ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคม ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
16. นายลำพอง จูจันทร์
17. นายนพรัตน์ คงเจรญิ ท้องถนิ่ ต่าง ๆ ของชมุ ชน
18. นางประยรู เกิดแก่น - เปน็ เจา้ หนา้ ที่สาธารณสุข ดแู ลเร่ืองสาธารณสขุ ของหมูบ่ า้ น และติดตอ่ ประสานงาน
19. นางแสงจันทร์ อ่ิมอดุลย์
20. นางขนั เงนิ มสี มบูรณ์ กบั หน่วยงานต่าง ๆ
21. นายสุเมธ นนุ่ โต - เป็นปลดั อำเภอ ดแู ลความสงบเรียบร้อยของประชาชน
- เป็นเจ้าหน้าที่พนักงานสาธารณสุขระดับปฏิบัติการ คอยดูแลเรื่องสาธารณสุขของ

หมู่บา้ น และติดตอ่ ประสานงานกบั หน่วยงานต่าง ๆ
- เป็นประธาน อสม. ระดบั ตำบล มหี น้าทค่ี วบคมุ ดูแลด้านสาธารณสุขของประชาชนใน

หมู่บา้ น เป็นประธานกลุ่มผสู้ งู อายุ ระดับหมู่บ้าน และประสานงานกับหน่วยงานต่าง
ๆ ในการทำกจิ กรรมในชมุ ชน
- เปน็ อสม. ประจำหมบู่ า้ น คอยดูแลช่วยเหลอื และให้ความรใู้ นเรื่องสุขภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมู่บ้าน
- เปน็ อสม. ประจำหมู่บา้ น คอยดูแลช่วยเหลอื และใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งสขุ ภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมบู่ ้าน
- เป็น อสม. ประจำหม่บู า้ น คอยดูแลชว่ ยเหลือและให้ความรใู้ นเรื่องสขุ ภาพและ
สาธารณสุขภายในหม่บู า้ น
- เปน็ อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดแู ลชว่ ยเหลอื และให้ความรู้ในเรื่องสขุ ภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมบู่ า้ น
- เป็น อสม. ประจำหมบู่ ้าน คอยดูแลช่วยเหลือและใหค้ วามรู้ในเรอื่ งสขุ ภาพและ
สาธารณสุขภายในหมบู่ ้าน
- เปน็ อสม. ประจำหมูบ่ ้าน คอยดแู ลช่วยเหลอื และใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งสุขภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมู่บา้ น
- เป็น อสม. ประจำหม่บู า้ น คอยดแู ลชว่ ยเหลอื และให้ความรูใ้ นเรื่องสขุ ภาพและ
สาธารณสขุ ภายในหมู่บา้ น

39

หมบู่ า้ น ทนุ ทางสงั คม บทบาท ความเชีย่ วชาญ กจิ กรรมเด่น งานเด่น หรอื เรอ่ื งเด่น
22. นายดลิ ก จาดสกลุ - เปน็ อสม. ประจำหมู่บ้าน คอยดูแลช่วยเหลอื และให้ความรู้ในเรือ่ งสุขภาพและ

23. นายฟู พันยู สาธารณสขุ ภายในหมูบ่ า้ น
24. นายแขก ธรรมรักษ์ - ปราชญ์ชาวบา้ นในเร่ืองการละเลน่ พ้ืนบา้ น เช่น กลองยาว
25. นายสชุ ิน เยน็ ใจ - วจั นไวยกร ผนู้ ำด้านศาสนาฝา่ ยฆารวาส
26. นายพาน อยสู่ บาย - ปราชญ์ชาวบา้ นด้านการจกั สานประเพณที ้องถ่นิ
27. นายคนอง มากฉ่ำ - คณะกลองยาว มีความรใู้ นเรือ่ งกลองยาว
28. นางสทุ ิน เยน็ ใจ - มีความรู้เร่อื งแพทยแ์ ผนไทย
2. ระดับกลุม่ องคก์ รชมุ ชน - เชีย่ วชาญด้านการดูดวง หมอไสยศาสตร์
1. กลุ่มกลองยาว
- ให้ความรูเ้ กย่ี วกบั การละเลน่ การตกี ลองยาว มกี ารถ่ายทอดความรูใ้ หก้ บั ผู้ทส่ี นใจใน
2. กลุ่ม อสม. วัฒนธรรมทอ้ งถนิ่
3. กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิต
4. กลมุ่ กองทุนเงนิ ลา้ น - มีหนา้ ทค่ี วบคมุ ดูแลสขุ ภาพมูลฐานเบอื้ งตน้ ของประชาชนในหมู่บ้าน
5. กลุ่มฌาปนกิจกองทนุ - จดั สรรสวสั ดกิ ารในการกูย้ ืมเงินให้แก่สมาชกิ เพื่อใชใ้ นการประกอบอาชพี
6. กลุ่มผ้ใู ช้นำ้ - จัดสรรสวัสดิการในการกูย้ ืมเงินใหแ้ ก่สมาชกิ เพอื่ ใช้ในการประกอบอาชีพ
7. กลุ่มผู้สงู อายุ - จัดสรรเงนิ ใหแ้ กญ่ าติผเู้ สยี ชวี ิตเพื่อใช้ในการฌาปนกจิ
- จดั สรรเงินกู้ใหแ้ ก่สมาชิกในกลมุ่ เพื่อใชใ้ นการประกอบอาชีพ
8. กลุ่มขยะรไี ซเคิล - รว่ มกนั ทำกิจกรรมร่วมกันทง้ั ในหมูบ่ า้ นและตำบลเพ่ือใหผ้ ู้สูงอายุช่วยกัน ไม่เปน็ โรค

9. ศนู ย์ประชาบดี ซึมเศร้า
- ใหค้ วามร้เู กี่ยวกับการคัดแยกขยะ, คัดแยกขยะ
10. กลุม่ จกั สานงานไมไ้ ผ่ - รบั เรอื่ งรอ้ งเรียนเกยี่ วกบั เด็ก สตรี และคนชรา
11. กลุม่ เด็กและเยาวชน - มีการจดั หาซ้ือวัสดอุ ุปกรณ์ และมีการเปิดสอนใหก้ บั ผูท้ ี่สนใจ มกี ารจัดจำหนา่ ยท่ีกลมุ่
- สภาเด็กและเยาวชน กลุ่มเยาวชนจติ อาสา
3. ระดับหนว่ ยงาน แหลง่ ประโยชน์
1. โรงเรยี นคลองแปด - เปน็ สถานที่ศึกษาให้ความรแู้ ก่เยาวชน
ประชาสรรค์
2. วดั คลองแปดประชาสรรค์ - เปน็ สถานทปี่ ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา
- เปน็ สถานทส่ี ำหรับจัดประชุม ศกึ ษาหารือ และจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ
3. ศาลากลางบ้าน - เป็นแหลง่ นำ้ ในการอปุ โภคบริโภค และใชใ้ นการทำเกษตรกรรม

4. คลองชลประทาน - เป็นแหลง่ ประชาสมั พนั ธข์ ่าวสารให้กับคนในหมู่บ้านไดร้ ับ
(คลองซอยแปดขวา) - บรกิ ารจดั สรรน้ำอุปโภค ใหแ้ กค่ นในชุมชน

5. หอกระจายข่าว -
6. ประปาหมู่บา้ น หมทู่ ่ี ๔

4. ระดบั หม่บู ้าน (ชมุ ชน) จดั การตนเอง
-

40


Click to View FlipBook Version