The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มตรวจราชการ รอบ1-66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mon, 2023-02-16 02:02:30

เล่มตรวจราชการ รอบ1-66

เล่มตรวจราชการ รอบ1-66

เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี ก คำนำ เอกสารประกอบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขและนิเทศงานกรณีปกติ กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปงบประมาณ 2566 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี คณะทำงาน ไดจัดทำรายงาน ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานฯ โดยใชผลการดำเนินงาน รอบ 3 เดือน (ตุลาคม 2565 - ธันวาคม 2565) ซึ่งการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปงบประมาณ 2566 ประกอบดวย ประเด็นการตรวจราชการที่สำคัญ 4 ประเด็น 1) Agenda based จำนวน 2 ประเด็น ไดแก ประเด็นที่ 1 Health For Wealth กัญชา ทางการแพทยและประเด็นที่ 2 ระบบสุขภาพปฐมภูมิ 2) Functional based จำนวน 4 ประเด็น ไดแก ประเด็นที่ 1 สุขภาพกลุมวัย และการยกระดับ การบริการดานผูสูงอายุ ประเด็นที่ 2 Digital Health ประเด็นที่ 3 ลดปวย ลดตาย และการสรางความมั่นคง ทางสุขภาพ และประเด็นที่ 4 องคกรสมรรถนะสูง 3) Area based เขตสุขภาพที่ 5 ไดแก Digital Health การแลกเปลี่ยนขอมูลสุขภาพ โดยโปรแกรมฮุกกะ 4) Innovative Healthcare ไดแก การพัฒนาระบบงานผาตัดวันเดียวกลับอยางครบวงจร (ODS&MIS) หวังวาเอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนตอการตรวจราชการและนิเทศงาน การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ใหบรรลุวัตถุประสงค ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ตอไป และขอขอบคุณบุคลากรของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สุพรรณบุรีที่ใหความรวมมือในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ ณ โอกาสนี้ดวย คณะผูจัดทำ มกราคม 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี ข สารบัญ หนา • คำนำ ก • สารบัญ ข • ขอมูลทั่วไป 1 • ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 1 Health For Wealth 1.1 กัญชาทางการแพทย 38 1.2 การพัฒนาการทองเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย 1.2.1 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการดานการทองเที่ยว 45 เชิงสุขภาพที่ไดรับมาตรฐานตามที่กำหนด 1.2.2 รอยละของศูนยเวลเนส (Wellness Center)/แหลงทองเที่ยว 48 เชิงสุขภาพที่ไดรับการยกระดับแบบมีสวนรวม และสรางสรรค ดานภูมิปญญาการแพทยแผนไทย การแพทยทางเลือก และสมุนไพร ใหมีคุณคาและมูลคาสูงเพิ่มขึ้น 1.2.3 รอยละผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับการสงเสริมและไดรับการอนุญาต 52 ประเด็นที่ 2 ระบบสุขภาพปฐมภูมิ 2.1 จำนวนจัดตั้งหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการสุขภาพปฐมภูมิ 54 ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 2.2 จำนวนประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน 63 2.3 รอยละของอำเภอผานเกณฑการประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ 68 ประเด็นที่ 3 สุขภาพกลุมวัย และการยกระดับการบริการดานผูสูงอายุ 3.1 กลุมวัย 3.1.1 มารดาและทารก 3.1.1.1 อัตราสวนการตายมารดาไทยตอการเกิดมีชีพแสนคน 75 3.1.1.2 อัตราตายทารกแรกเกิดนอยกวาหรือเทากับ 28 วัน 84


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี ค สารบัญ (ตอ) หนา 3.1.2 เด็กปฐมวัย 89 3.1.2.1 รอยละของเด็กอายุ 3 ป ปราศจากฟนผุ 99 3.1.3 วัยเรียน 3.1.3.1 รอยละของเด็กอายุ 6-14 ป สูงดีสมสวน 102 3.1.4 วัยทำงาน 3.1.4.1 สุขภาพจิต อัตราการฆาตัวตายสำเร็จ 107 3.2 ผูสูงอายุ 115 3.2.1 จำนวนผูที่ไดรับบริการใสฟนเทียม/รากฟนเทียม 128 ประเด็นที่ 4 Digital Health (ระบบขอมูลสุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย) 4.1 จังหวัดที่มีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑที่กำหนด 132 4.2 รอยละของจังหวัดที่ประชาชนไทยมีดิจิทัลไอดี เพื่อการเขาถึงระบบบริการ 137 สุขภาพแบบไรรอยตอ ประเด็นที่ 5 ลดปวย ลดตาย และการสรางความมั่นคงทางสุขภาพ 5.1 ลดปวย ลดตาย 5.1.1 ลดปวย ลดตาย จากโรคหลอดเลือดหัวใจ 142 5.1.2 ลดปวย ลดตาย จากโรคหลอดเลือดสมอง 146 5.1.3 การคัดกรองมะเร็ง 5.1.3.1 มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไสใหญและไสตรง 156 5.1.3.2 มะเร็งชองปาก 159 5.1.4 รอยละของผูปวยสามารถควบคุมเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 161 ไดตามเกณฑ 5.2 ความมั่นคงดานสุขภาพ 168 ประเด็นที่ 6 องคกรสมรรถนะสูง 6.1 การเงินการคลังสุขภาพ 6.1.1 รอยละของหนวยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน 194 6.1.2 รอยละของการกำกับติดตามแผนการลงทุนดวยเงินบำรุง 205 ตามนโยบายการลงทุน


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี ง สารบัญ (ตอ) หนา • Area based เขตสุขภาพที่ 5 - Digital Health การแลกเปลี่ยนขอมูลสุขภาพโดยโปรแกรมฮุกกะ เขตสุขภาพที่ 5 208 • Innovative Healthcare - การพัฒนาระบบงานผาตัดวันเดียวกลับอยางครบวงจร (ODS&MIS) 211 • การบริหารจัดการดานบุคลากร - ตัวชี้วัดที่ 48 : รอยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ 217 - ตัวชี้วัดที่ 49 : หนวยงานที่เปนองคกรแหงความสุขที่มีคุณภาพ (ระดับจังหวัด/ 224 เขตสุขภาพ/กรม) • การบริหารงบดำเนินงาน 227 • การบริหารงบลงทุน 234


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 1 ขอมูลทั่วไป วิสัยทัศน (vision) “ระบบสุขภาพที่ทันสมัย ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองไดดีอยางยั่งยืน” พันธกิจ (mission) 1.การบริหารจัดการระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ 2.บูรณาการการดำเนินงานกับภาคีเครือขายในการจัดระบบสุขภาพใหมีคุณภาพ เขมแข็งและยั่งยืน 3.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดานสุขภาพที่ทันสมัย เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และการเขาถึงของประชาชน 4.สรางเสริมสมรรถนะและความสุขใหบุคลากรอยางยั่งยืน เปาหมาย (goal) 1.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy : LE) ไมนอยกวา 85 ป 2.ระบบบริหารและบริการสุขภาพเปนเลิศ 3.บุคลากรในระบบสุขภาพมีความสุข เปาประสงครวม (Ultimate Goal) 1.ประชาชนไดรับการดูแลสุขภาพอยางมีคุณภาพ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได 2.มีระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ลดแออัด ลดเวลารอคอย ลดการปวยและลดการตาย 3.หนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบบริหารจัดการและระบบบริการสุขภาพที่เปนเลิศ 4.บุคลากรในระบบสาธารณสุขมีความสุขในการทำงาน คานิยมองคกรของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี“MOPH SUPHAN” M : Mastery - เปนนายตนเอง O : Originality - เรงสรางสิ่งใหม P : People centered - ใสใจประชาชน H : Humility - ถอมตนออนนอม S : Service mind - มีจิตบริการ U : Unity - สามัคคีเปนหนึ่งเดียว P : People center - ประชาชนเปนศูนยกลาง H : Honesty - ซื่อสัตยสุจริต A : Appreciation - ชื่นชมในความสำเร็จ N : Network - ทำงานเปนเครือขาย


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย (เปาหมายรวม) ตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป 2566 2567 2568 2569 2570 1.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy: LE) ≥76 ป ≥77 ป ≥78 ป ≥79 ป ≥80 ป 2.ระดับความสุขของบุคลากร มากกวา รอยละ 70 มากกวา รอยละ 75 มากกวา รอยละ 80 มากกวา รอยละ 85 มากกวา รอยละ 90 3.ความพึงพอใจของประชาชนตอระบบบริการ ≥90% ≥90% ≥90% ≥90% ≥90% ประเด็นยุทธศาสตรการพัฒนาสุขภาพ 1.การอภิบาลระบบสุขภาพระดับพื้นที่อยางไรรอยตอหลังถายโอนภารกิจ สอน./รพ.สต.ไป อบจ. 2.พัฒนาระบบบริหารและบริการสุขภาพที่กาวหนาทันสมัย 3.พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผูสูงอายุแบบครบวงจรและยั่งยืน 4.พัฒนาบุคลากรในระบบสุขภาพใหมีสมรรถนะสูง และมีความสุขในการทำงาน


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 3 จังหวัดสุพรรณบุรี เปนจังหวัดหนึ่งในเขตภาคกลางดานทิศตะวันตกของประเทศไทย ตั้งอยูบนพื้นที่ ราบลุมแมน้ำทาจีนหรือแมน้ำสุพรรณบุรีไหลผานตามแนวยาวของจังหวัดจากเหนือจรดใต จังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยูระหวางเสนรุงที่ 14 องศา 4 ลิปดา ถึง 15 องศา 5 ลิปดาเหนือ และระหวางเสนแวง 99 องศา 17 ลิปดา ถึง 100 องศา 16 ลิปดาตะวันออก อยูสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 3-10 เมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 5,358.01 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 3.3 ลานไร คิดเปนรอยละ 5.2 ของพื้นที่ภาคกลาง อยูหางจาก กรุงเทพมหานครประมาณ 107 กิโลเมตร (ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 340) โดยทางรถไฟ ประมาณ 142 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดจังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดชัยนาท ทิศตะวันออก ติดจังหวัดสิงหบุรี จังหวัดอางทอง และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต ติดจังหวัดนครปฐม และจังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันตก ติดจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดอุทัยธานี แผนที่จังหวัดสุพรรณบุรี อุทัยธานี ทิศเหนือ อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี อางทอง อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม กาญจนบุรี


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 4 การปกครอง การปกครอง จังหวัดสุพรรณบุรี แบงสวนราชการออกเปน 2 สวน คือ การบริหารราชการสวนภูมิภาค และการบริหารราชการสวนทองถิ่น 1.การบริหารราชการสวนภูมิภาค แบงเขตการปกครองออกเปน 10 อำเภอ 110 ตำบล 258 ชุมชน และ 1,008 หมูบาน โดยมีอำเภอ ดังนี้ 1.อำเภอเมืองสุพรรณบุรี 2.อำเภอเดิมบางนางบวช 3.อำเภอดานชาง 4.อำเภอบางปลามา 5.อำเภอศรีประจันต 6.อำเภอดอนเจดีย 7.อำเภอสองพี่นอง 8.อำเภอสามชุก 9.อำเภออูทอง 10.อำเภอหนองหญาไซ 2.การบริหารราชการสวนทองถิ่น ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลเมือง 2แหง เทศบาลตำบล 44 แหง และองคการบริหารสวนตำบล 80 แหง (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 เขตการปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกรายอำเภอ อำเภอ ตำบล เทศบาล อบต. จำนวนชุมชน/หมูบาน ตามเขตการปกครอง เมือง ตำบล (มหาดไทย) ชุมชน หมูบาน เมืองสุพรรณบุรี 20 1 8 13 72 124 เดิมบางนางบวช 14 - 8 8 42 121 ดานชาง 7 - 1 7 5 93 บางปลามา 14 - 7 11 30 127 ศรีประจันต 9 - 6 4 24 64 ดอนเจดีย 5 - 2 5 8 50 สองพี่นอง 15 1 1 14 25 140 สามชุก 7 - 1 6 20 68 อูทอง 13 - 9 6 30 155 หนองหญาไซ 6 - 1 6 2 66 รวม 110 2 44 80 258 1,008 ที่มา : 1) ที่ทำการปกครองจังหวัดสุพรรณบุรีขอมูล ตำบล หมูบาน ชุมชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 2) สำนักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่น 035-536044 ขอมูลเทศบาลและ อบต. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 5 ประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีในระบบทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจำนวนทั้งสิ้น 830,695 คน จำแนกเปนชาย 400,366 คน คิดเปนรอยละ 48.20 และหญิง 430,329 คน คิดเปน รอยละ 51.80 อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง เทากับ 1 : 1.07 อำเภอที่มีรอยละประชากรมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี รองลงมาคืออำเภอสองพี่นอง และอำเภออูทอง ความหนาแนนของประชากร ในภาพรวมทั้งจังหวัด เทากับ 155 คนตอตารางกิโลเมตร (พื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีมีทั้งหมด 5,358.01 ตารางกิโลเมตร) มีจำนวนหลังคาเรือนรวมทั้งสิ้น 315,286 หลังคาเรือน (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 จำนวนประชากรในทะเบียนราษฎรและหลังคาเรือน กระทรวงมหาดไทย รายอำเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2566 อำเภอ ชาย หญิง รวม รอยละ อัตราสวน ชาย : หญิง หลังคา เรือน เมือง 78,260 87,581 165,841 19.96 1.12 66,574 เดิมบางนางบวช 33,601 36,532 70,133 8.44 1.09 27,980 ดานชาง 33,182 3,4224 67,406 8.11 1.03 27,450 บางปลามา 36,448 38,630 75,078 9.04 1.06 26,637 ศรีประจันต 28,905 31,742 60,647 7.30 1.10 23,726 ดอนเจดีย 22,115 23,491 45,606 5.49 1.06 17,443 สองพี่นอง 61,034 64,236 125,270 15.08 1.05 43,400 สามชุก 24,862 27,244 52,106 6.27 1.10 22,066 อูทอง 58,247 61,641 119,888 14.43 1.06 41,984 หนองหญาไซ 23,712 25,008 48,720 5.86 1.05 18,026 รวม 400,366 430,329 830,695 100 1.07 315,286 ที่มา : 1.กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 2.ขอมูลจำนวนหลังคาเรือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 6 โครงสรางประชากรตามกลุมอายุและแพศ รูปที่ 1 ปรามิดประชากร จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ.2546 รูปที่ 2 ปรามิดประชากร จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ.2556 รูปที่ 3 ปรามิดประชากร จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ.2566 ที่มา : ขอมูลจากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2545 ที่มา : ขอมูลจากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2555 ที่มา : ขอมูลจากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2565 เมื่อพิจารณาโครงสรางประชากรตามกลุมอายุและเพศของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีในรอบ 20 ปที่ผานมา (ป พ.ศ.2545–2565) พบวามีการเปลี่ยนแปลงทาง โครงสรางกลุมอายุที่ชัดเจนมาก กลาวคือสัดสวนของประชากรวัยเด็ก (0-14 ป) ลดลง ในขณะเดียวกันสัดสวนประชากรกลุมผูสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) เพิ่มมากขึ้น (รูปที่ 1-3) เมื่อพิจารณาจากจำนวนประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป จำนวน 187,989 คน คิดเปนรอยละ 22.63 ของประชากรทั้งหมด (หมายเหตุ:จำนวนประชากรทั้งหมด 830,695 คน ขอมูลจากกรมการปกครอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 จำนวนประชากรอายุ 65 ปขึ้นไป จำนวน 129,916 คน คิดเปนรอยละ 15.64 ของประชากรทั้งหมด) นั่นหมายถึง จังหวัดสุพรรณบุรีเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ 2.96 3.59 3.57 3.89 4.32 4.22 4.40 4.63 4.36 3.55 2.88 2.07 2.07 1.73 1.31 0.85 0.48 0.26 0.05 0.04 0.10 3.14 3.76 3.89 4.01 4.23 4.28 4.22 4.36 3.91 3.21 2.51 1.78 1.78 1.44 0.99 0.58 0.31 0.06 0.15 0.03 0.02 6 4 2 0 2 4 6 90-94 80-84 70-74 60-64 50-54 40-44 30-34 20-24 10-14 00-04 100 ปีขึ้นไป ร้อยละ กลุ่มอายุ (ปี) % ชาย % หญิง 2.72 2.84 2.87 3.47 3.47 3.69 3.90 3.90 4.02 4.31 4.04 3.05 2.78 1.95 1.69 1.37 0.87 0.44 0.05 0.15 0.02 2.86 3.02 3.04 3.64 3.49 3.72 3.90 3.97 3.77 3.91 3.45 2.64 2.26 1.56 1.29 0.98 0.54 0.24 0.01 0.03 0.08 6 4 2 0 2 4 6 90-94 80-84 70-74 60-64 50-54 40-44 30-34 20-24 10-14 00-04 100 ปีขึ้นไป ร้อยละ กลุ่มอายุ (ปี) % ชาย % หญิง 1.89 2.42 2.76 2.87 2.89 3.36 3.42 3.56 3.81 3.75 3.96 4.18 3.87 2.80 2.43 1.56 1.16 0.71 0.30 0.03 0.08 1.97 2.57 2.91 3.05 2.82 3.57 3.53 3.50 3.68 3.75 3.62 3.55 3.12 2.26 1.80 1.09 0.76 0.43 0.03 0.05 0.15 6 4 2 0 2 4 6 90-94 80-84 70-74 60-64 50-54 40-44 30-34 20-24 10-14 00-04 100 ปีขึ้นไป ร้อยละ กลุ่มอายุ (ปี) % ชาย % หญิง


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 7 ขอมูลทรัพยากรสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล ดังนี้ โรงพยาบาล ระดับ A โรงพยาบาลเจาพระยายมราช จำนวน 1 แหง โรงพยาบาล ระดับ M1 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองคที่ 17 จำนวน 1 แหง โรงพยาบาล ระดับ M2 โรงพยาบาลอูทอง จำนวน 1 แหง โรงพยาบาล ระดับ F1 โรงพยาบาลดานชาง, เดิมบางนางบวช จำนวน 2 แหง โรงพยาบาล ระดับ F2 โรงพยาบาลสามชุก, ศรีประจันต, ดอนเจดีย, บางปลามา, หนองหญาไซ จำนวน 5 แหง สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงมหาดไทย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 174 แหง - โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ จำนวน 8 แหง - โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลขนาดทั่วไป จำนวน 166 แหง ศูนยบริการสาธารณสุขของเทศบาล จำนวน 3 แหง ตารางที่ 3 จำนวนสถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล จำแนกรายอำเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี โรงพยาบาล หนวย เครือขาย โรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพ บริการ หนวย ตำบล ปฐมภูมิ บริการ อำเภอ ประเภท/แหง จำนวนเตียง จำนวนเตียง สังกัดหนวยรัฐ (หนวย) ปฐมภูมิ ตามกรอบ จริง อื่น (หนวย) เมืองฯ รพ. ระดับ A 1 680 710 29 4 6 สองพี่นอง รพ. ระดับ M1 1 302 262 25 2 5 อูทอง รพ. ระดับ M2 1 150 133 22 - 6 เดิมบางฯ รพ. ระดับ F1 1 120 109 20 1 3 ดานชาง รพ. ระดับ F1 1 90 111 16 1 4 บางปลามา รพ. ระดับ F2 1 60 60 17 - 5 ศรีประจันต รพ. ระดับ F2 1 60 72 14 - 4 ดอนเจดีย รพ. ระดับ F2 1 60 60 9 1 2 สามชุก รพ. ระดับ F2 1 60 60 13 - 2 หนองหญาไซ รพ. ระดับ F2 1 60 60 9 1 2 รวม 10 1,642 1,637 174 10 39 ที่มา : ขอมูลจากระบบรายงานขอมูลพื้นฐาน กบรส ณ วันที่ 26 มกราคม 256 การรายงานขอมูลพื้นฐานสถานบริการสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ณ วันที่ 26 มกราคม 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 8 สถานพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี • สถานพยาบาลประเภทที่ไมรับผูปวยไวคางคืน จำนวน 319 แหง o คลินิกเวชกรรม จำนวน 98 แหง o คลินิกเวชกรรมเฉพาะทาง (คลินิกแพทย) จำนวน 24 แหง o คลินิกทันตกรรม จำนวน 42 แหง o คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ จำนวน 112 แหง o คลินิการผดุงครรภ จำนวน 1 แหง o คลินิกเทคนิคการแพทย จำนวน 11 แหง o คลินิกการแพทยแผนไทย จำนวน 13 แหง o คลินิกการแพทยแผนไทยประยุกต จำนวน 1 แหง o สหคลินิก จำนวน 11 แหง o คลินิกกายภาพบำบัด จำนวน 6 แหง • สถานพยาบาลประเภทที่รับผูปวยไวคางคืน จำนวน 4 แหง สถานประกอบการในจังหวัดสุพรรณบุรี • สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ จำนวน 82 แหง o สปาเพื่อสุขภาพ o นวดเพื่อสุขภาพ จำนวน จำนวน 1 79 แหง แหง o นวดเพื่อเสริมความงาม จำนวน 2 แหง • สถานประกอบการดานยา จำนวน 215 แหง o รานขายยาแผนปจจุบัน (ขย.1) o รานขายยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ (ขย.2) จำนวน จำนวน 148 50 แหง แหง o รานขายยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จสำหรับสัตว(ขย.3) จำนวน 17 แหง • สถานประกอบการดานผลิตภัณฑสมุนไพร จำนวน 51 แหง o ใบอนุญาตขายผลิตภัณฑสมุนไพร (ขสม) จำนวน 41 แหง o ใบอนุญาตผลิตสมุนไพร (ผสม) จำนวน 10 แหง ที่มา : กลุมงานคุมครองผูบริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2565


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 9 ตารางที่ 4 เจาหนาที่ทางการแพทยของรัฐบาล จำแนกรายอำเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ 2566 อำเภอ เจาหนาที่ทางการแพทยของรัฐบาล Medical personnels in the Government ประชากรตอเจาหนาที่ทางการแพทยทั้งหมด Population per total medical personnel แพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล แพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล เมือง 171 22 45 707 970 7,538 3,685 235 เดิมบางฯ 10 8 9 95 7,013 8,767 7,793 738 ดานชาง 14 9 9 101 4,815 7,490 7,490 667 บางปลามา 9 8 7 67 8,342 9,385 10,725 1121 ศรีประจันต 8 6 7 65 7,581 10,108 8,664 933 ดอนเจดีย 11 7 7 66 4,146 6,515 6,515 691 สองพี่นอง 43 12 21 254 2,913 10,439 5,965 493 สามชุก 9 6 7 62 5,790 8,684 7,444 840 อูทอง 26 8 15 134 4,611 14,986 7,993 895 หนองหญาไซ 8 5 5 50 6,090 9,744 9,744 974 รวม 309 91 132 1,601 2,688 9,129 6,293 519 ที่มา : กลุมงานบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี(ณ วันที่ 26 มกราคม 2566) ตารางที่ 5 จำนวนอาสาสมัครสาธารณสุข จำแนกรายอำเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ 2566 อำเภอ จำนวน อสม. (คน) อัตราสวน อสม./ประชากร อัตราสวน อสม./หลังคาเรือน เมืองสุพรรณบุรี 2,777 60 24 เดิมบางนางบวช 1,686 42 17 ดานชาง 1,231 55 22 บางปลามา 1,711 44 16 ศรีประจันต 1,440 42 16 ดอนเจดีย 997 46 17 สองพี่นอง 1,960 64 22 สามชุก 1,331 39 17 อูทอง 2,777 43 15 หนองหญาไซ 1,387 35 13 รวม 17,297 48 18 ที่มา : ระบบสารสนเทศสุขภาพภาคประชาชน กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน http://www.thaiphc.net/thaiphcweb/index.php?r=staticContent/show&id=1 (วันที่ 4 มกราคม 2566)


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 10 การบริการสุขภาพ การใหบริการสุขภาพในระดับโรงพยาบาล 1. ผูปวยนอก การใหบริการผูปวยนอกในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขในภาพรวม ของจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2565 เมื่อพิจารณาอัตราสวนของการมารับบริการ (ครั้ง/คน) จำแนก ตามประเภทสิทธิ พบวา กลุมสิทธิขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เบิกตนสังกัด มาใชบริการเฉลี่ยจำนวนครั้งตอคน มากกวากลุมสิทธิอื่น ๆ คือ 4.89 ครั้ง/คน รองลงมาคือกลุมสิทธิ UC มีอัตราสวนของการมารับบริการเทากับ 3.62 ครั้ง/คน กลุมสิทธิประกันสังคม มีอัตราสวนของการมารับบริการ คือ 2.31 ครั้ง/คน และ ในกลุมสิทธิ แรงงานตางดาวมีอัตราสวนของการมารับบริการต่ำสุดคือ 1.91 ครั้ง/คน โดยมีคาเฉลี่ยของการมารับบริการ ผูปวยนอกในสถานพยาบาลทุกระดับในภาพรวมเทากับ 3.75 ครั้ง/คน และมีอัตราสวนการใชบริการผูปวยนอก เทากับ 5.44 ครั้ง/คน/ป (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 จำนวนคน/ครั้ง ของผูรับบริการประเภทผูปวยนอก ในสถานพยาบาลทุกระดับ สังกัดภาครัฐ ในจังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกตามประเภทสิทธิ ปงบประมาณ พ.ศ.2564-2565 ประเภทสิทธิ ป 2564 ป 2565 (ผูปวยนอก) คน ครั้ง ครั้ง:คน คน ครั้ง ครั้ง:คน 1.ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เบิกตนสังกัด 97,218 479,204 4.93 103,902 507,963 4.89 2.ประกันสังคม 271,937 668,052 2.46 368,302 851,308 2.31 3.UC บัตรทองไมมี ท/มี ท 718,644 2,762,064 3.84 814,114 2,945,823 3.62 4.แรงงานตางดาว 10,485 20,567 1.96 11,270 21,494 1.91 5.สิทธิ์ไมตรงรหัสมาตรฐาน 414 624 1.51 15,406 42,876 2.78 รวมผูมารับบริการ 1,034,964 4,049,326 3.91 1,211,945 4,543,226 3.75 ประมาณการอัตราสวนการใชบริการ ผูปวยนอก 1 ปตอประชากรทั้งหมด 4.83 ครั้ง/คน/ป 5.44 ครั้ง/คน/ป ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 3 มกราคม 2566 ประชากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เทากับ 835,360 คน เมื่อจำแนกจำนวนผูมารับบริการผูปวยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุพรรณบุรี ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เปนรายโรงพยาบาล พบวา รพศ.เจาพระยายมราช มีจำนวนผูปวยนอกเฉลี่ยตอเดือนมากที่สุด รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราช องคที่ 17 รพช.อูทอง รพช.เดิมบางนางบวช รพช.ดานชาง รพช.ดอนเจดีย รพช.ศรีประจันตรพช.สามชุก รพช.บางปลามา และรพช.หนองหญาไซ ตามลำดับ แตอัตราสวนของการมารับ บริการผูปวยนอกจำนวนครั้งตอคนตอปของรพช.สามชุก สูงที่สุด คือ 5.57 ครั้ง/คน/ป โดยคาเฉลี่ยทั้งจังหวัด สุพรรณบุรีเทากับ 4.16 ครั้ง/คน/ป (ตารางที่ 7)


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 11 ตารางที่ 7 จำนวนคนและครั้งของผูรับบริการประเภทผูปวยนอก จำแนกตามรายโรงพยาบาลสังกัด ภาครัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2564-2565 โรงพยาบาล ป 2564 ป 2565 คน ครั้ง ครั้ง : คน ครั้ง : เดือน คน ครั้ง ครั้ง : คน ครั้ง : เดือน รพศ.เจาพระยาฯ 186,923 827,403 4.43 68,952 234,183 1,007,759 4.30 83,980 รพท.สมเด็จฯ 92,851 374,472 4.03 31,206 113,862 434,696 3.82 36,225 รพช.เดิมบางฯ 45,383 196,787 4.34 16,399 59,497 254,834 4.28 21,236 รพช.ดานชาง 49,395 196,446 3.98 16,371 61,893 236,099 3.81 19,675 รพช.บางปลามา 43,934 159,449 3.63 13,287 49,075 173,563 3.54 14,464 รพช.ศรีประจันต 40,510 154,550 3.82 12,879 49,478 193,150 3.90 16,096 รพช.ดอนเจดีย 27,534 137,298 4.99 11,442 45,442 202,828 4.46 16,902 รพช.สามชุก 31,576 171,721 5.44 14,310 33,410 186,099 5.57 15,508 รพช.อูทอง 62,483 245,394 3.93 20,450 80,038 333,669 4.17 27,806 รพช.หนองหญาไซ 28,710 126,148 4.39 10,512 34,043 140,507 4.13 11,709 รวม 609,299 2,589,668 4.25 215,086 760,921 3,163,204 4.16 263,600 ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 3 มกราคม 2566 2. ผูปวยใน การใหบริการผูปวยในของโรงพยาบาลของรัฐ จากคลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในภาพรวม ของจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ 2565 เมื่อพิจารณาตามจำนวนวันนอนเฉลี่ยตอรายพบวาจำนวนวันนอน เฉลี่ยผูปวยใน 1 ราย มีวันนอนเฉลี่ยเทากับ 5.70 วัน/ราย มากกวาปงบประมาณ 2564 ซึ่งมีวันนอนเฉลี่ยประมาณ 5.54 วัน/ราย เมื่อแยกตามประเภทสิทธิ พบวาผูปวยสิทธิขาราชการ มีวันนอนเฉลี่ยสูงกวาผูปวยสิทธิอื่น ๆ คือ มีวันนอนเฉลี่ย 6.76 วันตอผูปวยใน 1 ราย รองลงมาไดแก ผูปวยสิทธิประกันสังคม มีวันนอนเฉลี่ย 6.50 วัน/ราย ผูปวยสิทธิ UC มีวันนอนเฉลี่ย 5.42 วัน/ราย และ ผูปวยแรงงานตางดาว 4.63 วัน/รายตามลำดับ รายละเอียด ตามตารางที่ 8


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 12 ตารางที่ 8 จำนวนผูรับบริการ จำนวนวันนอน และจำนวนวันนอนเฉลี่ยของผูปวยในจำแนกตาม ประเภทสิทธิ จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2564–2565 ประเภทสิทธิ ปงบประมาณ 2564 ปงบประมาณ 2565 จำนวน (ราย) รวมวัน นอน วันนอน เฉลี่ย/ราย จำนวน (ราย) รวมวัน นอน วันนอน เฉลี่ย/ราย 1.ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ 9,457 64,677 6.84 14,209 96,057 6.76 2.ประกันสังคม 10,349 61,415 5.93 18,334 119,161 6.50 3.UC บัตรทองมี/ไมมี 68,785 371,548 5.40 85,227 461,823 5.42 4.แรงงานตางดาว 6,120 27,071 4.42 5,202 24,080 4.63 5.สิทธิ์ไมตรงรหัสมาตรฐาน 0 0 0 0 0 0 รวมผูมารับบริการ 94,705 524,711 5.54 122,969 701,121 5.70 ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 3 มกราคม 2566 เมื่อจำแนกวันนอนเฉลี่ยผูปวยในรายโรงพยาบาล ระดับโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาลทั่วไป พบวารพท.สมเด็จพระสังฆราช องคที่ 17 มีวันนอนเฉลี่ยผูปวยในสูงสุดคือ 6.48 วัน/ราย รองลงมา คือ รพศ.เจาพระยายมราช มีวันนอนเฉลี่ยผูปวยใน 5.66 วัน/ราย ในระดับโรงพยาบาลชุมชน พบวา โรงพยาบาล ที่มีจำนวนวันนอนเฉลี่ยผูปวยในสูงสุดคือ รพช.อูทอง (5.66 วัน/ราย) รองลงมาไดแก รพช.ศรีประจันต (5.51 วัน/ราย) รพช.บางปลามา (5.40 วัน/ราย) รพช.ดานชาง (5.35 วัน/ราย) รพช.เดิมบางนางบวช (5.21 วัน/ราย) รพช.สามชุก (4.86 วัน/ราย) รพช.ดอนเจดีย (4.84 วัน/ราย) และ รพช.หนองหญาไซ (4.15 วัน/ราย) ตามลำดับ (ตารางที่ 9) เมื่อเปรียบเทียบวันนอนเฉลี่ยของผูปวยในกับคาเฉลี่ยของประเทศ จะเห็นวาวันนอนเฉลี่ยของ ผูปวยในระดับ โรงพยาบาลศูนยมีคาเฉลี่ยต่ำกวาคาเฉลี่ยของประเทศเล็กนอย โรงพยาบาลทั่วไปและ โรงพยาบาลชุมชนขนาด (M2) และโรงพยาบาลชุมชนขนาด (F2) มีคาเฉลี่ยสูงกวาคาเฉลี่ยของประเทศ สวน โรงพยาบาลชุมชนขนาด (F1) มีคาเฉลี่ยต่ำกวาคาเฉลี่ยของประเทศ (ตารางที่ 9) อัตราการครองเตียง ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเปนรอยละ 110.27 ซึ่งถือวามีการใชเตียง ไดอยางคุมคา เมื่อพิจารณาตามประเภทของโรงพยาบาล พบวาในระดับโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล เจาพระยายมราช อัตราครองเตียงรอยละ 101.58 มีอัตราการครองเตียงต่ำกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องคที่ 17 อัตราการครองเตียงรอยละ 107.13 มีอัตรา การครองเตียงสูงกวาคาเฉลี่ยประเทศเล็กนอย โรงพยาบาลอูทอง โรงพยาบาลชุมชน (M2) อัตราครองเตียง รอยละ 154.36 มีอัตราการครองเตียงสูงกวาคาเฉลี่ยประเทศมาก, และกลุมโรงพยาบาลชุมชนขนาด (F1) จำนวน 2 แหง อัตราครองเตียงเฉลี่ยรอยละ 110.89 มีอัตราครองเตียงต่ำกวาประเทศ (คาเฉลี่ยประเทศเทากับ


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 13 121.18) สวนโรงพยาบาลชุมชนขนาด(F2) จำนวน 5 แหง อัตราครองเตียงเฉลี่ยรอยละ 111.17 มีอัตรา ครองเตียงเฉลี่ยต่ำกวาคาเฉลี่ยของประเทศ (คาเฉลี่ยประเทศเทากับ 116.15) (ตารางที่ 9) อัตราการใชเตียง 1 ป (Bed Turnover Rate) พบวา ในระดับโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนขนาด (F1)ของจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 2 โรงพยาบาล (โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาลดานชาง) และโรงพยาบาลชุมชนขนาด (F2) จำนวน 3 โรงพยาบาล (โรงพยาบาลสามชุก, โรงพยาบาลบางปลามา, โรงพยาบาลหนองหญาไซ) มีการใชเตียงต่ำกวาคามาตรฐานระดับประเทศ ยกเวน โรงพยาบาลอูทอง โรงพยาบาลศรีประจันต และโรงพยาบาลดอนเจดีย มีอัตราการใชเตียงที่สูงกวาคา มาตรฐานระดับประเทศในโรงพยาบาลชุมชนขนาดเดียวกัน ตารางที่9 จำนวนผูรับบริการผูปวยใน จำนวนวันนอน จำนวนเตียง อัตราการครองเตียง อัตราการใชเตียง 1 ป ของผูปวยใน จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2565 โรงพยาบาล จำนวน ผูปวยใน จำนวน วันนอน วันนอน เฉลี่ย ผูปวยใน จำนวนเตียง จริง อัตราการ ครองเตียง ป 65 อัตราการ ใชเตียง ป65 รพศ.เจาพระยายมราช(A) 46,954 265,838 5.66 710 101.58 66.13 รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ(M1) 15,809 102,446 6.48 262 107.13 60.34 รพช.อูทอง (M2) 13,231 74,936 5.66 133 154.36 99.48 รพช.เดิมบางนางบวช (F1) 7,544 39,330 5.21 109 98.86 69.21 รพช.ดานชาง (F1) 9,285 49,711 5.35 111 122.70 83.65 รพช.บางปลามา (F2) 3,971 21,454 5.40 60 97.96 66.18 รพช.ศรีประจันต(F2) 6,482 35,735 5.51 72 135.98 90.03 รพช.ดอนเจดีย(F2) 5,412 26,202 4.84 60 119.64 90.20 รพช.สามชุก (F2) 4,981 24,199 4.86 60 110.50 83.02 รพช.หนองหญาไซ (F2) 4,584 19,007 4.15 60 86.79 76.40 รวม 118,253 658,858 5.57 1,637 110.27 72.24 สรุปตามประเภทโรงพยาบาลจังหวัดสุพรรณบุรี ป 2565 โรงพยาบาล จำนวน ผูปวยใน จำนวน วันนอน วันนอน เฉลี่ย ผูปวยใน จำนวนเตียง จริง อัตราการ ครองเตียง อัตราการ ใชเตียง 1 ป รพศ. (A 1 แหง) 46,954 265,838 5.66 710 101.58 66.13 รพท. (M1 1 แหง) 15,809 102,446 6.48 262 107.13 60.34 รพช. (M2 1 แหง) 13,231 74,936 5.66 133 154.36 99.48 รพช. (F1 2 แหง) 16,829 89,041 5.29 220 110.89 76.50 รพช. (F2 5 แหง) 25,430 126,597 4.97 312 111.17 81.51


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 14 หมายเหตุ : อัตราการครองเตียง = (จำนวนวันนอนX100)/(จำนวนเตียงX365) - คา >120 หมายถึง ผูปวยมีเตียงไมเพียงพอ แออัด - คา 80-100 หมายถึง เหมาะสม - คา <80 หมายถึง ใชเตียงไมคุมคา ตองปรับระบบการใหบริการ อัตราการใชเตียง = จำนวนผูปวยใน/จำนวนเตียง - รพศ./รพท. (A, M1) มีคาอยูระหวาง 50-90 - รพช.(M2, F1, F2) มีคาอยูระหวาง 80-120 ที่มา : กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข http://cmi.healtharea.net/site/index ณ วันที่ 3 มกราคม 2566 คาเฉลี่ยระดับประเทศ ป 2565 โรงพยาบาล* จำนวน ผูปวยใน จำนวน วันนอน วันนอน เฉลี่ย ผูปวยใน จำนวนเตียง จริง อัตราการ ครองเตียง อัตราการ ใชเตียง 1 ป รพศ. (A 34 แหง) 1,932,711 11,294,288 5.84 26,666 116.04 72.48 รพท. (M1 40 แหง) 702,748 3,931,598 5.59 10,184 105.77 69.01 รพช. (M2 93 แหง) 1,006,822 4,954,712 4.92 11,971 113.40 84.11 รพช. (F1 94 แหง) 652,793 3,442,499 5.27 7,783 121.18 83.87 รพช. (F2 507แหง) 1,817,234 9,062,328 4.99 21,376 116.15 85.01 ที่มา : กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข สรุปขอมูลประกอบการตรวจราชการ ณ วันที่ 26 มกราคม 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 15 สถานะสุขภาพ สถิติชีพ สถิติชีพของประชากรในจังหวัดสุพรรณบุรี ในป 2562-2565 พบวา ประชากรมีการเกิดลดลง โดยมี อัตราเกิด 7.90, 7.57, 6.36 และ 6.26 ตามลำดับ ซึ่งสวนทางกับอัตราตายที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น สวนการตายของมารดา ไดแก การตายเนื่องจากการคลอดและภาวะแทรกซอนในการมีครรภและระยะ อยูไฟ (ภายใน 6 สัปดาหหลังคลอด) ในระหวางป 2562-2563 ปละ 2 ราย และในป 2564-2565 เปน 0 ราย โดยมีอัตรามารดาตายตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน เทากับ 29.90, 31.21, 0.00 และ 0.00 ตามลำดับ ซึ่งในป 2564-2565 ไมมีมารดาตาย จึงทำใหอัตรามารดาตายไมเกินเกณฑที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว (ไมเกิน 17 คนตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน) สำหรับอัตราทารกตายมีแนวโนมเพิ่มขึ้นระหวางป 2562-2564 มีอัตราทารกตายตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน เทากับ 4.80, 5.62 และ 6.19 แตกลับลดลงในป 2565 ซี่งมีอัตราทารกตาย เทากับ 2.97 และเปน ที่สังเกตวา อัตราเพิ่มตามธรรมชาติมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องจากป 2562-2565 (ตารางที่ 10) ตารางที่ 10 จำนวนและอัตรา ของการเกิด การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดัชนีชีพ พ.ศ.2554–2565 (จังหวัดสุพรรณบุรี) ป จำนวน อัตรา ดัชนีชีพ เกิดมี ชีพ ตาย ทารก ตาย มารดา ตาย เกิด มีชีพ ตาย ทารก ตาย มารดา ตาย อัตราเพิ่ม ตามธรรมชาติ (รอยละ) 2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29 137.00 2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28 135.86 2556 8,739 6,817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22 126.62 2557 8,586 6,862 36 1 9.89 7.90 3.93 12.35 0.20 125.12 2558 8,307 7,112 23 2 9.78 8.38 2.91 28.12 0.14 116.80 2559 7,596 7,345 19 1 8.94 8.64 2.50 13.61 0.03 103.42 2560 7,463 7,190 35 0 8.75 8.47 4.72 0.00 0.03 103.00 2561 7,161 7,418 41 2 8.68 8.75 5.54 28.53 (-0.03) 104.31 2562 6,682 7,891 32 2 7.90 9.34 4.80 29.90 (-0.14) 89.58 2563 6,409 7,777 36 2 7.57 9.21 5.62 31.21 (-0.16) 82.37 2564 5,327 8,600 35 0 6.36 10.27 6.19 0.00 (-0.39) 61.94 2565 5,213 9,100 27 0 6.26 10.94 2.97 0.00 (-0.46) 57.29 ที่มา : 1.กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html) 2.ขอมูลเกิด-ตาย ป 2554-2565 (https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/birth)


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 16 หมายเหตุ : 1.มารดาตายคือการตายเนื่องจากการคลอดและภาวะแทรกซอนในการมีครรภและระยะอยูไฟ (ภายใน 6 สัปดาห หลังคลอด) 2.อัตราเกิดมีชีพและตายตอประชากร 1,000 คน 3.อัตราทารกตายตอเกิดมีชีพ 1,000 คน และมารดาตายตอเกิดมีชีพ 100,000 คน 4.อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (รอยละ) : จำนวนเกิด ลบดวย จำนวนตาย หารดวยจำนวนประชากรกลางป คูณดวย 100 5.ดัชนีชีพ (จำนวนเด็กเกิดมีชีพ/จำนวนคนตาย) X 100 ประชากรกลางปbps.moph.go.th/new_bps/ขอมูลประชากรกลางป ป 2562 สุพรรณบุรี 845,012 คน ประเทศ 65,557,054 คน ป 2563 สุพรรณบุรี 844,476 คน, ป 2564 สุพรรณบุรี 837,218 คน ป 2565 สุพรรณบุรี 832,085 คน ขอมูลการเกิด สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/INTERNET/#/TableTemplate/statbirth) ตารางที่ 11 สถิติชีพ จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ.2565 และ ประเทศไทย ป พ.ศ.2564 สถิติชีพ จังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย ป พ.ศ. 2565 ป พ.ศ. 2564 1.อัตราเกิดมีชีพ (Crude Birth Rates) 6.261 8.102 2.อัตราตาย (Mortality Rates) 10.941 8.402 3.อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (Natural Growth) -0.461 0.002 4.อัตราทารกตาย (ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน) 2.971 5.202 5.อัตรามารดาตาย (ตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน) 0.001 26.22 6.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (จำนวนปเฉลี่ยที่คาดวา บุคคลที่เกิดมาแลวจะมีชีวิตอยูตอไปอีกกี่ป) ชาย 71.041 73.503 หญิง 78.831 80.503 7.อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 60 ป (จำนวนปเฉลี่ยที่คาดวา ผูที่มีอายุ 60 ป จะมีชีวิตอยูตอไปอีกกี่ป) ชาย 19.261 17.403 หญิง 23.071 23.203 ที่มา : 1 กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรฯ สสจ.สุพรรณบุรีป 2565 2 ป 2564 สถิติสาธารณสุข กองนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข 3 ป 2564 สำนักงานสถิติแหงชาติ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 17 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (ความยืนยาวของชีวิตตั้งแตแรกเกิด-ตาย) ของ ประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ใน ป 2565 จากขอมูล กรมการปกครอง อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดจำแนก ตามเพศ พบวา เพศหญิงมีอายุยืนยาวกวาเพศชาย คือ เพศหญิงมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเทากับ 78.83 ปเพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเทากับ 71.04 ป ในภาพรวมมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด เทากับ 74.91 ป ตารางที่ 12อายุคาดเฉลี่ยของประชากร ป พ.ศ. 2565(จังหวัดสุพรรณบุรี) กลุมอายุ อายุคาดเฉลี่ย (Expectation of Life) ชาย หญิง รวม < 1 71.04 78.83 74.91 1-4 70.53 78.08 74.29 5-9 66.79 74.12 70.45 10-14 61.85 69.21 65.53 15-19 57.01 64.31 60.66 20-24 52.28 59.53 55.91 25-29 47.80 54.75 51.28 30-34 43.22 49.98 46.62 35-39 38.83 45.31 42.11 40-44 34.55 40.65 37.66 45-49 30.41 36.05 33.31 50-54 26.47 31.63 29.16 55-59 22.78 27.30 25.16 60-64 19.26 23.07 21.30 65-69 15.92 19.02 17.61 70-74 12.83 15.23 14.17 75-79 10.06 11.74 11.02 80-84 7.74 8.63 8.28 85-89 5.87 6.20 6.08 90-94 4.54 4.53 4.54 95-99 4.36 3.28 3.63 100+ 2.50 2.50 2.50 รูปที่ 4 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากร จังหวัดสุพรรณบุรีพ.ศ.2565 และประเทศไทย พ.ศ.2564 รูปที่ 5 อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ป ของประชากร จังหวัดสุพรรณบุรีพ.ศ.2565 และประเทศไทย พ.ศ.2564 อายุคาดเฉลี่ย 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 ชาย หญิง 71.04 73.50 78.83 80.50 สุพรรณบุรี ประเทศไทย อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ป (อายุที่คาดวาจะยืนยาวตอไปหลังจากอายุ 60 ป) พบวา เพศหญิงจะมีอายุยืนยาวตอไปอีกประมาณ 23.07 ป ขณะที่เพศชายจะมีอายุยืนยาวหลังอายุ 60 ป ตอไปอีก 19.26 ป ในภาพรวมมีอายุคาดเฉลี่ยหลังอายุ 60 ป ตอไป อีก 21.30 ป(ตารางที่ 12) เมื่อพิจารณาอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของ ประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีเมื่อเทียบกับระดับ ประเทศในชวงเวลาที่ใกลเคียงกัน พบวาอายุคาด เฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากร จังหวัดสุพรรณบุรี ทั้งเพศหญิง และเพศชายต่ำกวาอายุคาดเฉลี่ยของ ระดับประเทศ สวนอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ป ของจังหวัดสุพรรณบุรี เพศชายสูงกวาระดับประเทศ ประเทศ แตเพศหญิงต่ำกวาระดับประเทศ ดังรูปที่ 4 และ 5 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 ชาย หญิง 19.26 23.07 17.40 23.20 สุพรรณบุรี ประเทศไทย


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 18 สาเหตุการปวยของผูปวยนอก จากการรวบรวมขอมูลการเจ็บปวยของประชากรจากระบบ HDC (คลังขอมูลสุขภาพสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี) ปงบประมาณ 2565 พบวา ประชากรที่อาศัยอยูในจังหวัดสุพรรณบุรี (Type Area 1 กับ 3) มีสาเหตุการปวยจำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค 10 ลำดับแรกไดแก1.ความดันโลหิตสูงที่ไมทราบสาหตุ 2.ถายปสสาวะลำบาก 3.การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 4.เหงือกอักเสบเรื้อรัง 5.การดูแลการตกแตงและเย็บแผล 6.ปวดกลามเนื้อ 7.เบาหวานชนิดที่ไมตองพึ่งอินซูลิน ไมมีภาวะแทรกซอน 8.คอหอยอักเสบเฉียบพลันจากเชื้ออื่นที่ระบุ 9.การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับแขนทอนปลาย และ 10.อาหารไมยอย (ตารางที่ 13) ตารางที่ 13 จำนวนและอัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยนอกจำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2565 ลำดับ กลุมโรค ชื่อกลุมโรค จำนวน อัตรา : 100000 1 145 ความดันโลหิตสูงไมทราบสาเหตุ (ปฐมภูมิ) 77,430 9,305.54 2 270 ถายปสสาวะลำบาก 73,657 8,852.10 3 167 การติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบนเฉียบพลัน ไมระบุรายละเอียด 67,700 8,136.19 4 181 เหงือกอักเสบเรื้อรัง 62,295 7,486.61 5 297 การดูแลการตกแตงและเย็บแผล 56,958 6,845.21 6 207 ปวดกลามเนื้อ 54,242 6,518.81 7 104 เบาหวานชนิดที่ไมตองพึ่งอินซูลิน ไมมีภาวะแทรกซอน 50,863 6,112.72 8 165 คอหอยอักเสบเฉียบพลันจากเชื้ออื่นที่ระบุ 46,289 5,563.01 9 281 การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับแขนทอนปลาย 42,332 5,087.46 10 185 อาหารไมยอย 33,964 4,081.79 11 180 ฟนผุที่จำกัดเฉพาะเคลือบฟน 28,641 3,442.08 12 199 ลมพิษ ไมระบุรายละเอียด 25,974 3,121.56 13 206 ปวดหลัง ไมระบุรายละเอียด 22,232 2,671.84 14 111 ภาวะไขมันในเลือดสูงเกิน ไมระบุรายละเอียด 14,080 1,692.13 15 198 เซลลเนื้อเยื่ออักเสบที่สวนอื่นที่แขนขา 11,365 1,365.85 16 192 ทองรวงจากการทำหนาที่ผิดปกติ 10,416 1,251.80 17 293 การใหบริการคุมกำเนิดแบบอื่น 10,167 1,221.87 18 267 ปวดทองที่ไมระบุรายละเอียด 9,516 1,143.63 19 131 เยื่อตาอักเสบเฉียบพลัน ไมระบุรายละเอียด 9,219 1,107.94 20 268 ไข ไมระบุรายละเอียด 8,614 1,035.23 21 125 ปวดศีรษะจากความเครียด 7,954 955.91 หมายเหตุ : 1.การเจ็บปวยที่ตอเนื่องกันตั้งแตปกอน เชน ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน นับเปนการเจ็บปวย 1 รายใน ปงบประมาณ (ไมนับซ้ำ) 2.ผูปวย 1 คน หากในปงบประมาณเจ็บปวยมากกวา 1 โรค ใหนับเปนจำนวนรายตามโรคที่เจ็บปวย เชน ผูปวยขอเขาเสื่อม และฟนผุ ใหนับเปน 2 ราย


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 19 การเขารับบริการของผูปวยนอก จากการรวบรวมขอมูลการเขารับบริการของผูปวยนอก ของหนวยบริการในจังหวัดสุพรรณบุรีโดยประมวลผลจากระบบ HDC (คลังขอมูลสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี) ในรอบ 5 ปที่ผานมา พบวา 10 ลำดับแรกของกลุมโรคที่เขารับบริการเปนผูปวยนอกมากที่สุด ไดแก 1.ความดันโลหิตสูงที่ไมมีสาเหตุนำ 2.เบาหวาน 3.เนื้อเยื่อผิดปกติ 4.ความผิดปกติอื่น ๆ ของฟนและโครงสราง 5.การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 6.พยาธิสภาพของหลังสวนอื่น ๆ 7.โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอดีนัม 8.การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ ไมระบุเฉพาะและหลายบริเวณในรางกาย 9.โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง และ 10.ฟนผุ (ตารางที่ 14 แผนภูมิที่ 6) ตารางที่ 14 จำนวนผูปวยนอก 10 อันดับแรก จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2561-2565) ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี (Health Data Center) ณ วันที่ 3 มกราคม 2566 ลำดับ ที่ รหัสกลุมโรค/ชื่อกลุมโรค (298 โรค) 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวน (ครั้ง) อัตรา จำนวน (ครั้ง) อัตรา จำนวน (ครั้ง) อัตรา จำนวน (ครั้ง) อัตรา จำนวน (ครั้ง) อัตรา 1 145 ความดันโลหิตสูงที่ไมมีสาเหตุนำ 369,772 43,987.22 368,063 43,557.13 364,159 43,122.48 378,886 45,255.36 327,849 39,400.90 2 104 เบาหวาน 267,856 31,863.53 255,873 30,280.40 241,056 28,545.04 252,557 30,166.22 235,630 28,318.02 3 207 เนื้อเยื่อผิดปกติ 202,968 24,144.60 183,377 21,701.11 169,443 20,064.87 145,153 17,337.54 121,097 14,553.44 4 181 ความผิดปกติอื่น ๆ ของฟนและโครงสราง 185,746 22,095.92 181,890 21,525.14 132,369 15,674.69 79,690 9,518.43 95,636 11,493.54 5 167 การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบน แบบเฉียบพลันอื่น ๆ 162,143 19,288.16 136,708 16,178.23 116,550 13,801.46 65,906 7,872.02 87,943 10,568.99 6 206 พยาธิสภาพของหลังสวนอื่น ๆ 128,250 15,256.32 119,822 14,179.92 103,932 12,307.28 79,553 9,502.07 83,081 9,984.68 7 185 โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอดินัม 73,570 8,751.72 66,040 7,815.27 62,291 7,376.29 57,912 6,917.19 55,673 6,690.78 8 281 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ ไมระบุเฉพาะและหลายบริเวณ ในรางกาย 66,651 7,928.65 62,893 7,442.85 56,850 6,731.99 49,044 5,857.97 47,764 5,740.28 9 199 โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 60,331 7,176.84 54,828 6,488.43 52,312 6,194.61 43,960 5,250.72 39,582 4,756.97 10 180 ฟนผุ 69,134 8,224.02 68,731 8,133.73 63,273 7,492.58 36,428 4,351.08 37,152 4,464.93


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 20 แผนภูมิที่ 6 จำนวนผูรับบริการประเภทผูปวยนอก 10 ลำดับแรก จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) จังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2565 327,849 235,630 121,097 95,636 87,943 83,081 55,673 47,764 39,582 37,152 0 100,000 200,000 300,000 400,000 145 ความดันโลหิตสูงที่ไมมีสาเหตุนํา 104 เบาหวาน 207 เนื้อเยื่อผิดปกติ 181 ความผิดปกติอื่น ๆ ของฟนและโครงสราง 167 การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลัน… 206 พยาธิสภาพของหลังสวนอื่น ๆ 185 โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 281 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ , ไมระบุเฉพาะและ… 199 โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 180 ฟนผุ 10 อันดับ จำนวนผูรับบริการประเภทผูปวยนอก ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 21 สำหรับผูปวยใน สาเหตุการเจ็บปวยที่สำคัญ จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) 10 ลำดับแรกในป พ.ศ.2565 ไดแก 1.คออักเสบ เฉียบพลันและตอมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 2.การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 3.ปอดบวมไมระบุรายละเอียด 4.หลอดลมอักเสบ เฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน หัวใจลมเหลว 5.ตอกระจกและความผิดปกติของเลนสอื่น ๆ 6.การดูแลมารดาที่มีแผลเปนที่มดลูกเนื่องจากการผาตัด 7.หัวใจลมเหลว 8.การติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ ไมระบุตำแหนง 9.โลหิตจางอื่น ๆ และ10.เนื้อสมองตาย (ตารางที่ 15 แผนภูมิที่ 7) ตารางที่ 15 จำนวนและอัตราปวยตอประชากรแสนคน ของผูปวยใน จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) 10 ลำดับแรก จังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2561-2565 ชื่อกลุม(298 กลุมโรค) 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา 165 คออักเสบเฉียบพลันและตอมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 947 111 644 75 703 83 397 46 14,041 1,688(1) 167 การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 624 73 589 70 470 56 470 56 8,978 1,079(2) 169 ปอดบวม ไมระบุรายละเอียด 5,774 680 6,409 752 5,013 591(1) 4,458 528(1) 8,060 969(3) 170 หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน 2,386 280 2,108 249 1,682 199 1,682 201 2,844 342(4) 133 ตอกระจกและความผิดปกติของเลนสอื่น ๆ 3,235 381 3,574 419 2,831 334(3) 1,984 235(8) 2,757 331(5) 239 การดูแลมารดาที่มีแผลเปนที่มดลูกเนื่องจากการผาตัด 3,826 451 3,708 435 3,488 411(2) 3,290 390(2) 2,682 322(6) 151 หัวใจลมเหลว 2,226 262 2,288 268 2,250 265(7) 2,258 267(5) 2,314 278(7) 217 การติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ ไมระบุตำแหนง 2,255 266 2,175 255 2,260 266(6) 2,352 279(3) 2,304 277(8) 098 โลหิตจางอื่น ๆ 1,163 137 1,123 131 1,466 173 2,200 261(6) 2,168 261(9) 154 เนื้อสมองตาย 1,585 186 1,766 207 1,897 224 2,076 246(7) 2,278 274(10) 281 การบาดเจ็บที่กลามเนื้อยาวและเอ็นที่ใชเหยียดนิ้วมือ อื่นที่ระดับขอมือและมือ 3,128 369 2,664 312 2,434 287(4) 2,306 273(4) 1,865 223(11) 278 การบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ 1,471 173 1,820 213 2,075 244(10) 1,910 225 1,695 202(12) ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี (Health Data Center) ณ วันที่ 3 มกราคม 2566 ประชากรทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 คือ 832,085 คน


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 22 10 อันดับโรคผูปวยใน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 แผนภูมิที่ 7อัตราผูปวยในตอประชากร 100,000 คน 10 ลำดับแรก จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) จังหวัดจังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2565 1,688 1,079 969 331 342 322 274 277 278 261 223 202 0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 1,600 1,800 165 คออักเสบเฉียบพลันและตอมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 167 การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 169 ปอดบวม ไมระบุรายละเอียด 170 หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน 133 ตอกระจกและความผิดปกติของเลนสอื่น ๆ 239 การดูแลมารดาที่มีแผลเปนที่มดลูกเนื่องจากการผาตัด 151 หัวใจลมเหลว 217 การติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ ไมระบุตําแหนง 154 เนื้อสมองตาย 098 โลหิตจางอื่น ๆ 281 การบาดเจ็บที่กลามเนื้อยาวและเอ็นที่ใชเหยียดนิ้วมือ 278 การบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 23 การเจ็บปวยของผูปวยในจากกลุมโรคไมติดตอที่สำคัญ การเจ็บปวยของผูปวยใน จากกลุมโรคไมติดตอที่สำคัญ พบวา กลุมโรคมะเร็งทุกชนิด มีอัตราปวย มากที่สุด โดยมีอัตราปวยคอนขางคงที่ ในป 2561-2562 และเพิ่มขึ้นชัดเจนในป 2563-2564 และลดลงมากใน ป 2565 เมื่อเทียบกับ 4 ปที่ผานมา กลุมโรคเนื้อสมองตายเพราะขาดเลือดไมระบุรายละเอียด อัตราปวยมี แนวโนมเพิ่มขึ้นใน 2560-2563 ลดลงเล็กนอยในป 2564 และเพิ่มขึ้นในป 2565 กลุมโรคเบาหวาน อัตราปวยมีแนวโนมลดลงทุกป จากป 2561-2565 มีอัตราปวย 219.83, 218.68, 215.99, 197.56 และ 165.25 ตามลำดับ กลุมโรคไตวายเรื้อรัง มีอัตราปวยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2561-2564 อยางชัดเจน สวนในป 2565 ลดลงอยางมากเมื่อเทียบกับ 4 ปที่ผานมา กลุมโรคความดันโลหิตสูงที่ไมมีสาเหตุนำ มีอัตราปวยเพิ่มขึ้นและลดลงสลับกันไปในป 2561-2564 สวนในป 2565 ลดลงต่ำสุดเมื่อเทียบกับ 4 ปที่ผานมา สวนกลุมโรคหัวใจขาดเลือด มีแนวโนมลดลงตั้งแต ป 2561-2562 เพิ่มขึ้นเล็กนอยในป 2563-2564 และลดลงในป 2565 ดังตารางและแผนภูมิ ตารางที่ 16 อัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยในกลุมโรคไมติดตอที่สำคัญ จำแนกตามกลุม สาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2561–2565 ชื่อกลุม (298โรค) 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา 1.มะเร็งทุกชนิด (58-96) 5,129 601.99 5,103 601.26 5,954 705.05(1) 5,986 714.99(1) 2,940 353.33(1) 2.เนื้อสมองตายเพราะขาด เลือดไมระบุรายละเอียด (154) 1,735 203.64 1,881 221.63 2,067 244.77(2) 1,991 237.81(2) 2,086 250.70(2) 3.โรคเบาหวาน (104) 1,873 219.83 1,856 218.68 1,824 215.99(3) 1,654 197.56(3) 1,375 165.25(3) 4.ไตวายเรื้อรัง (214) 459 53.87 531 62.56 731 85.56(4) 756 90.30(4) 568 68.26(4) 5.โรคความดันโลหิตสูงที่ไมมี สาเหตุนำ (145) 782 91.78 795 93.67 578 68.44(5) 627 74.89(5) 323 38.82(6) 6.โรคหัวใจ ขาดเลือด (148) 552 64.79 429 50.55 497 58.85(6) 598 71.43(6) 515 61.89(5) ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 (2)


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 24 แผนภูมิที่ 8 อัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยใน กลุมโรคไมติดตอที่สำคัญ จำแนกตามกลุม สาเหตุการปวย 298 กลุมโรค(สาเหตุโรคหลัก) จังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2561–2565 อัตรา อัตรา อัตรา อัตรา อัตรา 2561 2562 2563 2564 2565 1.มะเร็งทุกชนิด (58-96) 601.99 601.26 705.05 714.99 353.33 2.เนื้อสมองตายเพราะขาดเลือดไมระบุ รายละเอียด (154) 203.64 221.63 244.77 237.81 250.7 3.โรคเบาหวาน (104) 219.83 218.68 215.99 197.56 165.25 4.ไตวายเรื้อรัง (214) 53.87 62.56 85.56 90.3 68.26 5.โรคความดันโลหิตสูงที่ไมมีสาเหตุนํา (145) 91.78 93.67 68.44 74.89 38.82 6.โรคหัวใจขาดเลือด (148) 64.79 50.55 58.85 71.43 61.89 0 100 200 300 400 500 600 700 800


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 25 อัตราปวยของผูปวยรายใหมจากกลุมโรคไมติดตอที่สำคัญ อัตราการเจ็บปวยของผูปวยรายใหมจากกลุมโรคไมติดตอที่สำคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี ในป 2561-2565 พบวา ประชาชนสวนใหญเจ็บปวยดวยโรคความดันโลหิตสูง มากที่สุด แตอัตราปวยมีแนวโนมลดลงตั้งแตป 2561-2563 คือมีอัตรา 1,344.83, 1,278.97, 1,184.52 ตอประชากรแสนคนตามลำดับ และเพิ่มขึ้นเล็กนอยในป 2564 และ 2565 รองลงมาไดแก อัตราการเจ็บปวยดวยโรคเบาหวาน มีอัตราการเจ็บปวยลดลงตั้งแตป 2561-2562 แตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2563-2565 รองลงมา ไดแก โรคอุบัติใหมของโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ตามลำดับ (ตารางที่ 17) ตารางที่ 17 อัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยใหมจากกลุมโรคไมติดตอที่สำคัญ จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ. 2561–2565 ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่15 พฤศจิกายน 2565 เมื่อพิจารณาสาเหตุการปวยของผูปวยใน ดวยสาเหตุจากกลุมโรคมะเร็ง พบวาในปงบประมาณ 2565 มีแนวโนมลดลงทุกสาเหตุ เมื่อเปรียบเทียบกับปงบประมาณ 2564 เนื้องอกไมรายของหูสวนกลางโพรงจมูกและโพรงอากาศ มีอัตราปวย 46.75 ตอประชากรแสนคนมีอัตราปวยสูงที่สุด รองลงมาไดแก มะเร็งลำไสใหญไมระบุตำแหนง คือ อัตราปวย 36.17 ตอประชากรแสนคน ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตั้งแตป 2562 โดยมีแนวโนมลดลงสูงสุดในป 2565 ลำดับที่ 3 มะเร็งของเตานมไมระบุตำแหนง อัตราปวย 32.33 ตอประชากร แสนคน ลำดับที่ 4 มะเร็งของกลามเนื้อมดลูก ไมระบุรายละเอียด อัตราปวย 31.13 ตอประชากรแสนคน ลำดับที่ 5 มะเร็งบริเวณที่เหลื่อมกันของหลอดลมและปอด อัตราปวย 26.80 ตอประชากรแสนคน ลำดับที่ 6 เนื้องอกรายของลำไสตรง อัตราปวย 23.31 ตอประชากรแสนคน ลำดับที่ 7 มะเร็งทอน้ำดีในตับ อัตราปวย 21.51 ตอประชากรแสนคน ลำดับที่ 8 มะเร็งตอมน้ำเหลืองชนิดบี-เซลล ไมระบุรายละเอียด อัตราปวย 12.26 ตอประชากรแสนคน ลำดับที่ 9 มะเร็งของหลอดอาหาร ไมระบุตำแหนง อัตราปวย 6.85 ตอประชากรแสนคน ตอประชากรแสนคน และลำดับที่ 10 มะเร็งของกระเพาะอาหารไมระบุตำแหนง อัตราปวย 6.73 ตามลำดับ (แผนภูมิที่ 9) อัตราการปวยดวยโรคไมติดตอที่สำคัญ 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา อัตราปวยรายใหมของโรคความดันโลหิตสูง 11,458 1,344.83 10,823 1,278.97 10,025 1,184.52 11,222 1,338.14 11,088 1,327.33 อัตราปวยรายใหมของโรคเบาหวาน 4,897 574.76 4,691 554.34 5,035 594.92 5,176 617.20 5,245 627.87 อัตราอุบัติใหมของโรคหลอดเลือดสมอง 164 19.25 228 26.94 199 23.51 183 21.82 182 21.79 อัตราปวยรายใหมของผูปวยโรคหัวใจและหลอดเลือด 76 8.92 70 8.27 82 9.69 114 13.59 87 10.41 อัตราปวยรายใหมของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 238 27.93 168 19.85 144 17.01 73 8.70 50 5.99


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 26 แผนภูมิที่ 9 อัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยใน จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) ดวยสาเหตุจากกลุมโรคมะเร็ง จังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ. 2561-2565 ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 2561 2562 2563 2564 2565 61.เนื้องอกรายของลําไสใหญ ไมระบุตําแหนง 107.63 99.80 139.14 147.03 36.17 62.เนื้องอกรายของลําไสตรง 64.32 72.11 103.38 88.51 23.31 67.เนื้องอกรายบริเวณที่เหลื่อมกันของหลอดลมและปอด 35.09 47.01 47.01 58.05 26.80 96.เนื้องอกไมรายของหูสวนกลาง โพรงจมูก และโพรงอากาศ 58.45 58.68 61.93 51.84 46.75 63.มะเร็งทอน้ําดีในตับ 40.61 31.22 39.55 45.03 21.51 86.มะเร็งตอมน้ําเหลืองชนิดบี-เซลล ไมระบุรายละเอียด 43.78 29.46 34.10 39.3 12.26 73.เนื้องอกรายของเตานม ไมระบุตําแหนง 40.96 35.11 43.81 38.34 32.33 60.เนื้องอกรายของกระเพาะอาหาร ไมระบุตําแหนง 16.20 18.73 23.09 27.11 6.73 92.เนื้องอกไมรายของกลามเนื้อมดลูก ไมระบุรายละเอียด 30.99 31.22 31.26 26.52 31.13 59.เนื้องอกรายของหลอดอาหาร ไมระบุตําแหนง 11.44 12.19 14.88 20.54 6.85


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 27 สถานการณการเจ็บปวยดวยกลุมโรคติดตอที่สำคัญของผูปวยใน สำหรับกลุมโรคติดตอที่สำคัญของผูปวยใน ไดแก 1.การติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบนเฉียบพลัน มีอัตรา ปวยคอนขางคงที่ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2560-2563 แตกลับเพิ่มขึ้นในป พ.ศ. 2564 และสูงสุดในป พ.ศ.2565 2.โรคปอดบวม ไมระบุรายละเอียด มีแนวโนมสูงขึ้นในป พ.ศ. 2561 แตลดลงในป พ.ศ.2562-2563 และเพิ่มสูงขึ้น ในป พ.ศ.2564 3. หลอดลมอักเสบเฉียบพลันไมระบุรายละเอียด มีอัตราปวยลดลงในป พ.ศ.2562-2564 และ เพิ่มขึ้นในป พ.ศ.2565 4.โรคติดเชื้อที่ลำไสจากไวรัสซึ่งไมระบุชนิด มีแนวโนมลดลงตั้งแตป พ.ศ.2561-2562 และเพิ่มขึ้นในป พ.ศ.2563 แตกลับลดลงในป พ.ศ.2564 5.ไขหวัดใหญรวมกับอาการแสดงอื่นทางระบบ หายใจหายใจ ไมระบุชนิดไวรัส มีอัตราปวยเพิ่มขึ้นในปงบประมาณ พ.ศ.2562 แตลดลงในป พ.ศ.2563-2565 ดังแผนภูมิ แผนภูมิที่ 10 อัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยใน จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) ปอดบวม หลอดลมอักเสบ ระบบหายใจสวนบนติดเชื้อเฉียบพลัน โรคติดเชื้ออื่น ๆ ของลำไส และไขหวัดใหญจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2561-2565 ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 2561 2562 2563 2564 2565 169.ปอดบวม ไม่ระบุรายละเอียด 768.42 584.5 512.91 942.77 858.09 170.หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด 330.52 281.34 216.55 210.58 335.78 167.การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน หลายตําแหน่งอื่น 79.11 71.6 57.16 175.46 1190.38 6.โรคติดเชื้อที่ลําไส้จากไวรัสซึ่งไม่ระบุชนิด 84.15 59.86 80.4 48.14 46.03 168.ไข้หวัดใหญ่ร่วมกับอาการแสดงอื่นทางระบบ หายใจ ไม่ระบุชนิดไวรัส 86.27 163.73 108.8 9.56 7.69 0 200 400 600 800 1000 1200 1400


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 28 กลุมโรคไขเลือดออกจากเชื้อเด็งกี มีการระบาดตามฤดูกาลซึ่งมีอัตราปวยลดลงตั้งแตป พ.ศ.2562-2564 และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในป พ.ศ.2565 ในขณะที่วัณโรคปอด มีอัตราปวยลดลง และมีแนวโนมลดลงเล็กนอยเมื่อ เปรียบเทียบในป พ.ศ.2564 และ พ.ศ. 2565 ดังแผนภูมิ แผนภูมิที่ 11อัตราปวยตอประชากร 100,000 คน ของผูปวยใน จำแนกตามกลุมสาเหตุการปวย 298 กลุมโรค (สาเหตุโรคหลัก) ดวยโรคไขเลือดออก และวัณโรค จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2561-2565 ที่มา : คลังขอมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 253.29 250.47 184.08 66.17 72.83 52.98 50.7 49.97 45.63 34.97 0 50 100 150 200 250 300 2561 2562 2563 2564 2565 ไขเลือดออกเด็งกี เยื่อหุมปอดอักเสบจากเชื้อวัณโรค ยืนยันดวยผลการตรวจหาเชื้อและการตรวจชิ้นเนื้อ


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 29 สถานการณการเจ็บปวยดวยกลุมโรคที่ตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา จากการพิจารณาการเจ็บปวยดวยกลุมโรคที่ตองเฝาระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัด สุพรรณบุรี ป พ.ศ.2565 พบวา โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีอัตราปวยสูงที่สุดคือ 4,300.96 ตอประชากร แสนคน รองลงมาไดแก โรคอุจาระรวง มีอัตราปวย 606.81 ตอประชากรแสนคน ไขไมทราบสาเหตุ มีอัตราปวย 287.98 ตอประชากรแสนคน และลำดับที่ 4-10 ไดแก โรคปอดอักเสบ โรคมือ เทา และปาก วัณโรคปอด โรคไขเลือดออก โรคอาหารเปนพิษ โรคตาแดง และโรคไขหวัดใหญ ตามลำดับ ดังตาราง ตารางที่ 18 จำนวนและอัตราปวย ดวยโรคที่ตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา พ.ศ.2564–2565 จังหวัดสุพรรณบุรี ลำดับ โรคเฝาระวังทางระบาดวิทยา พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 จำนวนปวย (ราย) อัตราปวย/ แสน จำนวนปวย (ราย) อัตราปวย/ แสน 1. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 14,978 1,769.97 36,396 4,300.96 2. โรคอุจจาระรวง 3,246 383.58 5,135 606.81 3. ไขไมทราบสาเหตุ 873 103.16 2,437 287.98 4. โรคปอดอักเสบ 1,070 126.44 1,290 152.44 5. โรคมือ เทา และปาก 66 7.80 955 112.85 6. โรคไขเลือดออก 227 26.82 649 76.69 7. วัณโรคปอด 546 64.52 547 64.64 8. โรคอาหารเปนพิษ 283 33.44 297 35.10 9. โรคตาแดง 137 16.19 215 25.41 10. โรคไขหวัดใหญ 42 4.96 208 24.58 ที่มา : รายงาน 506 กลุมงานควบคุมโรคติดตอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ณ 24 มกราคม 2565


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 30 ขอมูลการตาย ของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ป 2565 มีจำนวน 9,100 คนตอป เมื่อจำแนกตามเพศ พบวา จำนวนการตายของเพศชายสูงกวาเพศหญิงมาตลอด ดังแผนภูมิ แผนภูมิที่ 12 จำนวนการตายของประชากร จำแนกตามเพศ จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2556-2565 ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566 เมื่อพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปพ.ศ.2565 จะพบวากลุมโรคที่เปน สาเหตุการตายที่สำคัญโดยไมนับการตายที่ระบุวาชราภาพหรือไมทราบสาเหตุ ไดแก 1.กลุมโรคระบบไหลเวียนโลหิต (Diseases of the circulatory system) 2.กลุมโรคมะเร็ง (Neoplasms) 3.กลุมโรคติดเชื้อและปรสิต (Certain infectious and parasitic diseases) 4.กลุมโรคของระบบทางเดินหายใจ (Diseases of the respiratory system) และ5.กลุมการตายจากสาเหตุภายนอก (External causes of morbidity and mortality) ดังตารางที่ 19 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 ชาย 3,724 3,759 3,839 3,932 3,890 3,812 4,283 4,161 4,615 4,910 หญิง 3,092 3,102 3,273 3,413 3,299 3,198 3,590 3,616 3,985 4,190 รวม 6,816 6,861 7,112 7,345 7,189 7,010 7,873 7,777 8600 9,100 - 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 10,000


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 31 ตารางที่ 19 จำนวนและอัตราตายตอประชากรแสนคน จำแนกตามกลุมสาเหตุการตาย ของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ.2561-2565 ICD-10 สาเหตุการตาย 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา I00-I99 โรคของระบบไหลเวียนโลหิต 1,118 131.84 1,258 148.87 1,171 138.67 1,243 148.47 1,313 157.80 C00-D48 มะเร็ง 1,127 132.9 1,210 143.19 1,031 122.09 1,024 122.23 1,019 122.46 A00-B99 โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค 530 62.5 460 54.44 708 83.84 745 88.99 760 91.34 J00-J99 โรคของระบบหายใจ 690 81.37 846 100.12 787 93.19 738 88.15 686 82.44 V01-Y98 สาเหตุภายนอกของเจ็บปวยและการตาย 678 79.95 651 77.04 575 68.09 563 67.25 575 69.10 U00-U85 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 - - - - - - 362 43.24 337 40.50 N00-N99 โรคของระบบสืบพันธุและระบบปสสาวะ 343 40.45 460 54.44 342 40.5 321 38.34 320 38.46 K00-K93 โรคของระบบยอยอาหาร 258 30.42 328 38.82 233 27.59 277 33.09 251 30.17 E00-E90 โรคของตอมไรทอ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม 228 26.89 260 30.77 229 27.12 250 29.86 316 37.98 L00-L99 โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 70 8.25 58 6.86 37 4.38 43 5.14 60 7.21 M00-M99 โรคของระบบกลามเนื้อ โครงราง และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 30 3.54 48 5.68 20 2.37 25 2.99 27 3.24 P00-P96 ภาวะบางอยางที่เริ่มตนในระยะปริกำเนิด 27 3.18 13 1.54 13 1.54 24 2.87 13 1.56 F00-F99 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม 23 2.71 31 3.67 18 2.13 13 1.55 13 1.56 D50-D89 โรคของเลือดและอวัยวะสรางเลือดและความผิดปกติของภูมิคุมกัน 14 1.65 12 1.42 8 0.95 11 1.31 18 2.16 Q00-Q99 รูปผิดปกติแตกำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม 15 1.77 21 2.49 15 1.78 6 0.72 14 1.68 O00-O99 การตั้งครรภ การคลอด และระยะหลังคลอด 1 0.12 1 0.12 2 0.24 0- 0.00 - - 0.00 G00-G98 โรคของระบบประสาท 207 24.41 429 50.77 938 111.07 1,186 141.66 1,503 180.63 R00-R99 อาการ อาการแสดง และความผิดปกติที่พบจากการตรวจทาง คลินิกและทางหองปฏิบัติการมิไดจำแนกไว 2,059 242.81 1,805 213.61 1,650 195.39 1,769 211.30 1,875 225.34 รวม 7,418 874.77 7,891 933.83 7,777 920.93 8,600 1,027.21 9,100 1,093.64 ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 32 สาเหตุการตายที่สำคัญ 10 อันดับแรก จำแนกตามสาเหตุการตาย 103 กลุมโรค เมื่อจำแนกสาเหตุการตายเปน 103 กลุมโรค พบวาสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรจังหวัด สุพรรณบุรี ในป พ.ศ. 2565 ที่เปนสาเหตุการตายสำคัญ 10 อันดับแรก ไดแก 1.โรคระบบประสาทที่เหลืออยู 2.โรคระบบประสาท 3.โรคระบบไหลเวียนโลหิต 4.เนื้องอก (C00-D48) 5.โรคติดเชื้อและปรสิต 6.โรคของ ทางเดินระบบหายใจ 7.โลหิตเปนพิษ 8.โรคหลอดเลือดในสมอง 9.สาเหตุภายนอกของการปวยและการตาย 10.ปอดบวม ดังตารางที่ 20 ตารางที่ 20 จำนวนและอัตราตายตอประชากรแสนคน จำแนกตามกลุมสาเหตุการตาย 103 กลุมโรค ของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2565 ลำดับ กลุมโรค จำนวน อัตรา : แสน ประชากร 1 61.โรคระบบประสาทที่เหลืออยู 1,521 182.79 2 58.โรคระบบประสาท 1,503 180.63 3 64.โรคระบบไหลเวียนโลหิต 1,262 151.67 4 26.เนื้องอก (C00-D48) 923 110.93 5 1.โรคติดเชื้อและปรสิต 709 85.21 6 72.โรคของทางเดินระบบหายใจ 643 77.28 7 12.โลหิตเปนพิษ 588 70.67 8 69.โรคหลอดเลือดในสมอง 566 68.02 9 95.สาเหตุภายนอกของการปวยและการตาย 539 64.78 10 74.ปอดบวม 505 60.69 ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566 หมายเหตุ : การจัดลำดับไมนำสาเหตุการตายกลุม 94 : อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและ ตรวจทางหองปฏิบัติการ ที่มิไดมีรหัสระบุไว(R00-R99) มาจัดลำดับ ประชากรกลางป 2565 คือ 832,085 คน


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 33 การตายดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อจำแนกสาเหตุการตาย (103 กลุมโรค) ในป พ.ศ. 2565 (โดยใชระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) พบวา ประชาชนมีที่อยูอาศัยตามทะเบียนราษฎร ในจังหวัดสุพรรณบุรี เสียชีวิตดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 337 คน จำแนกเปน เพศชาย 175 คน เพศหญิง 162 คน อายุมากที่สุด 107 ป นอยที่สุด 24 ป อายุเฉลี่ย 65 ปผูเสียชีวิตมีที่อยูอาศัยในอำเภอเมือง สุพรรณบุรีมากที่สุดจำนวน 89 คน รองลงมาไดแกอำเภอสองพี่นองจำนวน 55 คน และอำเภอบางปลามา 47 คน (ตารางที่ 21) ซึ่งผูเสียชีวิตสวนใหญอยูในกลุมผูสูงอายุ จำนวน 257 คน คิดเปนรอยละ 81.33 (ตารางที่ 22) เมื่อจำแนกผูเสียชีวิตรายเดือนตั้งแตเดือนมกราคม-ธันวาคม 2565 พบวามีผูเสียชีวิตทุกเดือนตั้งแตเดือน มกราคม-ธันวาคม โดยมีผูเสียชีวิตรวมทั้งสิ้นจำนวน 337 คน และเดือนเมษายน 2565 มีผูเสียชีวิตมากที่สุด จำนวน 84 คน ดังตารางที่ 23 ตารางที่ 21 จำนวนผูเสียชีวิตดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำแนกรายอำเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2565 อำเภอ จำนวน (คน) รอยละ เมืองสุพรรณบุรี 89 26.41 เดิมบางนางบวช 22 6.53 ดานชาง 23 6.82 บางปลามา 47 13.95 ศรีประจันต 23 6.82 ดอนเจดีย 11 3.26 สองพี่นอง 55 16.32 สามชุก 18 5.34 อูทอง 38 11.28 หนองหญาไซ 11 3.26 รวม 337 100.00 ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 34 ตารางที่ 22จำนวนผูเสียชีวิตดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำแนกตามกลุมอายุ จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2565 กลุมอายุ จำนวน (คน) รอยละ เด็กปฐมวัย 0-5 ป - - เด็กวัยเรียน 6-14 ป - - วัยรุน 15-21 ป - - วัยทำงาน 22-59 ป 62 18.40 ผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 275 81.60 รวม 337 100 ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566 ตารางที่ 23 จำนวนผูเสียชีวิตดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำแนกรายเดือน จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2565 เดือน จำนวน (คน) รอยละ มกราคม 10 2.97 กุมภาพันธ 11 3.26 มีนาคม 18 5.34 เมษายน 84 24.93 พฤษภาคม 30 8.90 มิถุนายน 16 4.75 กรกฎาคม 37 10.98 สิงหาคม 38 11.28 กันยายน 23 6.82 ตุลาคม 8 2.37 พฤศจิกายน 11 3.26 ธันวาคม 21 6.23 รวม 337 100.00 ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 35 สาเหตุการตาย (103 กลุมโรค) ที่สำคัญในป พ.ศ.2565 จำแนกตาม 5 กลุมวัย กลุมเด็กอายุต่ำกวา 1 ปในเพศชาย ไดแก 1.ภาวะบางอยางที่เกิดในระยะปริกำเนิด 2.ความผิดปกติ ความพิการแตกำเนิด และโครโมโซมผิดปกติ และ3.โรคระบบไหลเวียนโลหิตสวนในเพศหญิง ไดแก 1.ภาวะบางอยางที่เกิดในระยะปริกำเนิด 2.โรคของระบบประสาทความผิดปกติ 3.ความพิการแตกำเนิด และโครโมโซมผิดปกติ กลุมเด็กอายุ 1-4 ปในเพศชาย ไดแก 1.อุบัติเหตุตกน้ำและการจมน้ำ 2.โรคระบบไหลเวียนโลหิต และ3.โรคระบบหายใจ สวนในเพศหญิง ไดแก 1.ปอดบวม 2.โรคของระบบประสาท กลุมเด็กอายุ 5-14 ปในเพศชายไดแก 1. สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด 2.เนื้องอกและ 3.โรคระบบไหลเวียนโลหิต สวนในเพศหญิง ไดแก 1.สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด 2.เนื้องอก และ 3.โรคติดเชื้อ/ปรสิต กลุมอายุ 15-59 ปในเพศชาย ไดแก 1.สาเหตุภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด 2.โรคระบบไหลเวียนโลหิต และ3.เนื้องอก สวนในเพศหญิง ไดแก 1.เนื้องอก 2. โรคระบบไหลเวียนโลหิต และ 3.โรคติดเชื้อ/ปรสิต กลุมอายุ 60 ปขึ้นไป ในเพศชาย ไดแก 1.โรคระบบประสาทที่เหลืออยู 2.โรคระบบ ไหลเวียนโลหิต 3.เนื้องอก ในเพศหญิง ไดแก 1.โรคระบบประสาทที่เหลืออยู 2.โรคหลอดเลือดในสมอง และ3. โรคติดเชื้อ/ปรสิต ดังตารางที่ 24


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 36 ตารางที่ 24 สรุปสาเหตุการตายจำแนกตาม 5 กลุมวัยที่สำคัญ ประจำป พ.ศ.2565 กลุมอายุต่ำกวา 1 ปเพศชาย (19) กลุมอายุต่ำกวา 1 ปเพศหญิง (8) - ภาวะบางอยางที่เกิดในระยะปริกำเนิด (8) - ความผิดปกติ ความพิการแตกำเนิด . และโครโมโซมผิดปกติ(6) - โรคของระบบไหลเวียนโลหิต (3) - อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจ ทางคลินิกและตรวจทางหองปฏิบัติการที่มิไดมี รหัสระบุไว (1) - โรคของหลอดเลือดและอวัยวะสรางเลือด (1) - ภาวะบางอยางที่เกิดในระยะปริกำเนิด (5) - โรคของระบบประสาท (1) - ความผิดปกติ ความพิการแตกำเนิด และโครโมโซม ผิดปกติ(1) - อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทาง คลินิกและตรวจทางหองปฏิบัติการที่มิไดมีรหัส ระบุไว (1) กลุมอายุ 1-4 ปเพศชาย (13) กลุมอายุ 1-4 ปเพศหญิง (2) - อุบัติเหตุตกน้ำและการจมน้ำ (6) - โรคของระบบไหลเวียนโลหิต(2) - โรคระบบหายใจ (1) - สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด (1) - โรคระบบยอยอาหารที่เหลืออยู (1) - ปอดบวม (1) - อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจ ทางคลินิกและตรวจทางหองปฏิบัติการที่มิไดมี รหัสระบุไว (1) - ปอดบวม (1) - โรคของระบบประสาท (1) กลุมอายุ5-14 ปเพศชาย (17) กลุมอายุ 5-14 ปเพศหญิง (12) - สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด (9) - เนื้องอก (3) - โรคตอมไรทอ (1) - โรคระบบประสาท (1) - ความผิดปกติ/ ความพิการแตกำเนิด (1) - โรคระบบกลามเนื้อ (1) - อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจ ทางคลินิกและตรวจทางหองปฏิบัติการที่มิไดมี รหัสระบุไว (1) - สาเหตุภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด (5) - เนื้องอก (2) - โรคติดเชื้อ/ปรสิต (1) - ความพิการแตกำเนิด/โครโมโซม (1) - โรคระบบประสาท (1) - โรคระบบหายใจ (1) - อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทาง คลินิกและตรวจทางหองปฏิบัติการที่มิได มีรหัสระบุไว (1)


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 37 กลุมอายุ15-59 ปเพศชาย (1,456) กลุมอายุ 15-59 ปเพศหญิง (683) - สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ ทั้งหมด (305) - โรคระบบไหลเวียนโลหิต (225) - เนื้องอก (194) - โรคติดเชื้อและปรสิต (133) - โรคระบบยอยอาหาร (91) -โรคระบบทางเดินหายใจ (65) - โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (36) - โรคระบบสืบพันธุ/ปสสาวะ (33) - โรคตอมไรทอ/เมตะบอลิซึม (31) - โรคระบบประสาท (18) - โรคระบบกลามเนื้อ (5) - อื่น ๆ (320) - เนื้องอก (155) - โรคระบบไหลเวียนโลหิต (97) - โรคติดเชื้อ/ปรสิต (64) - สาเหตุภายนอก (68) - โรคระบบทางเดินหายใจ (58) - โรคระบบสืบพันธุ/ปสสาวะ (37) - โรคตอมไรทอ/เมตะบอลิซึม (28) - โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (26) - โรคระบบยอยอาหาร (17) - โรคระบบกลามเนื้อ (8) - โรคระบบประสาท (8) - อื่นๆ (117) สรุป 60 ปขึ้นไป เพศชาย (3,405) สรุป 60 ปขึ้นไป เพศหญิง (3,485) - โรคระบบประสาทที่เหลืออยู (590) - โรคระบบไหลเวียนโลหิต (501) - เนื้องอก (387) - โรคระบบทางเดินหายใจ (341) - โรคติดเชื้อ/ปรสิต(279) -โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (139) - สาเหตุภายนอก (134) - โรคระบบสืบพันธุ/ปสสาวะ(113) - โรคตอมไรทอ/เมตะบอลิซึม (109) - โรคระบบยอยอาหาร (80) - โรคผิวหนัง/เนื้อเยื่อ (22) - อื่น ๆ (710) - โรคระบบประสาทที่เหลืออยู (883) - โรคระบบไหลเวียนโลหิต (484) - โรคติดเชื้อ/ปรสิต (283) - เนื้องอก (277) - โรคระบบทางเดินหายใจ (219) - โรคตอมไรทอ/เมตะบอลิซึม (147) - โรคระบบสืบพันธุ/ปสสาวะ (137) - โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (136) - โรคระบบยอยอาหาร(62) - สาเหตุภายนอก (47) - โรคผิวหนัง/เนื้อเยื่อ (30) - อื่น ๆ (780) ที่มา : ระบบฐานขอมูลการเกิด-ตาย กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 26 มกราคม 2566 และ link: bit.ly/3j8JQXC ระบบ Dashboard ขอมูลสาเหตุการตายจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2563-2565


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 38 รายงานการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ระดับกระทรวง รอบที่ 1 ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 1. ประเด็นการตรวจราชการ Health For Wealth 2. หัวขอ กัญชาทางการแพทย 1.รอยละของผูปวยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ไดรับการรักษาดวยยา กัญชาทางการแพทยไมนอยกวารอยละ 5 2.รอยละของผูปวยทั้งหมดที่ไดรับการรักษาดวยยากัญชาทางการแพทยเพิ่มขึ้น ไมนอยกวารอยละ 50 3.จำนวนงานวิจัยหรือการจัดการความรูดานกัญชาทางการแพทยในเขตสุขภาพ 3. สถานการณ เนื่องดวยกระทรวงสาธารณสุข ไดกำหนดใหมีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพการใหบริการกัญชา ทางการแพทย เพื่อเพิ่มโอกาสในการรักษาโรคใหกับประชาชนที่เจ็บปวยทรมานจากกลุมโรครายแรงและไม ตอบสนองตอการรักษาทั้งแพทยแผนปจจุบันหรือแพทยแผนไทย ดังนั้นสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย จึงเปนหนึ่งในนวัตกรรมทางการแพทยที่สามารถชวยบรรเทาอาการเจ็บปวยทรมานแกผูปวยได และสามารถ เพิ่มคุณภาพชีวิตแกผูปวยได กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายใหมีการบริการรักษาดวยตำรับยาจากกัญชา ในทางการแพทยแกประชาชน อยางปลอดภัย รวดเร็ว และ ครอบคลุม โดยกำหนดใหมีการเปดบริการ คลินิก กัญชาทางการแพทย ผสมผสานแพทยปจจุบันและแพทยแผนไทย ในสถานพยาบาลสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวนคลินิกที่เปดใหบริการกัญชาทางการแพทยแผนปจจุบันและแพทยแผนไทยในจังหวัด สุพรรณบุรี มีทั้งหมด 10 แหง (จากโรงพยาบาลทั้งหมด 10 แหง) คิดเปนรอยละ 100 (ป 2565 เปดบริการ กัญชาทางการแพทย 9 แหง) นอกจากนี้ ยังขับเคลื่อนให รพ.สต.ที่มีแพทยแผนไทยประจำ เปดใหบริการคลินิก กัญชาทางการแพทยแผนไทย ในป 2565 ทั้งสิ้นจำนวน 14 แหง แตเนื่องจากจังหวัดสุพรรณบุรีมีนโยบายตัดโอน รพ.สต.ทั้งหมด ไปอยูภายใต สังกัด อบจ. และหากยาตำรับน้ำมันกัญชา อ.เดชา ที่ไดรับสนับสนุนจาก โรงพยาบาลดอนตูม หมดอายุ ในวันที่ 9 ก.พ.2566 คลินิกกัญชาทางการแพทยแผนไทย ใน รพ.สต.ก็จะถูกปด ไปโดยปริยาย หากไมมีนโยบายจาก อบจ.ใหดำเนินการตอไป


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 39 4. ขอมูลประกอบการวิเคราะห หัวขอ รพ.เจาพระยายมราช รพ.สมเด็จพระสังฆราชองคที่ 17 รพ.ศรีประจันต รพ.อูทอง รพ.ดอนเจดีย 1.วันเปดคลินิก และ วันที่ใหบริการ 14 ก.พ 2563 แผนไทย ทุกวัน แผนปจจุบันทุกวัน พฤ 28 ม.ค 2563 แผนไทย ทุกวัน แผนปจจุบัน อังคารที่1, 3 1 ต.ค 2562 อังคาร ที่ 1,2 และ 3 (แผนไทย) 1 มิ.ย. 2564 วัน จ - ศ (แผนไทย) 3 ม.ค. 2565 วัน จ - ศ (แผนไทย) 2.จำนวนผูปวยที่ไดรับยากัญชา แผนไทย (คน/ครั้ง) รพ.สต. (คน/ครั้ง) แผนปจจุบัน (คน/ครั้ง) รวม 628 คน - จำนวนผูปวยที่ไดรับยากัญชา ปงบประมาณ 2564 รวม 719 8 คน/10 ครั้ง 11 18 คน/34 ครั้ง 37 คน 41 16 คน/22 ครั้ง 0 28 คน/36 ครั้ง 44 คน 73 238 คน/356 ครั้ง 48 - 286 คน 601 17 คน/23 ครั้ง 17 - 34 คน 4 36 คน/39 ครั้ง − - 36 คน 0 3.การดูแลผูปวยpalliative care แผนไทย (3 คน) รพ.สต (18 คน) แผนปจจุบัน (13 คน) รวม 34 คน - จำนวนผูปวย PC = 872 คน 0 0 0 0 133 0 0 13 13 15 0 1 - 1 83 2 2 - 4 163 1 0 - 1 71


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 40 หัวขอ ดานชาง เดิมบางนางบวช สามชุก บางปลามา หนองหญาไซ 1.วันเปดคลินิก และ วันที่ใหบริการ 1 พ.ย. 65 แผนไทย วันอังคาร 1 ส.ค. 65 แผนไทย วันจันทร-ศุกร 17 ส.ค.65 แผนไทย วันจันทร-ศุกร 29 ส.ค. 65 แผนไทย วันจันทร-ศุกร 6 ม.ค. 66 แผนไทย ทุกวันศุกร 2.จำนวนผูปวยที่ไดรับยากัญชา แผนไทย (คน/ครั้ง) รพ.สต. (คน) แผนปจจุบัน (คน/ครั้ง) รวม (คน) - จำนวนผูปวยที่ไดรับยากัญชา ป2564 รวม 719 16 คน/16 ครั้ง 0 − 16 คน − 121 คน/132 ครั้ง 11 − 132 คน − 11 คน/12 ครั้ง 10 − 21 คน − 10 คน/11 ครั้ง 10 − 20 คน − 0 2 − 2 คน − 3.การดูแลผูปวยpalliative care แผนไทย (3 คน) รพ.สต (18 คน) แผนปจจุบัน(13 คน) รวม 34 คน - จำนวนผูปวย PC = 872 คน 0 0 − 0 56 0 2 − 2 122 0 3 − 3 58 0 10 − 10 70 0 0 − 0 101


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 41 5. การวิเคราะหสถานการณในพื้นที่ ปญหา/สาเหตุ กิจกรรมการแกปญหา ผลการดำเนินงาน 1.ผลการดำเนินงานยังไมบรรลุ ตามเกณฑตัวชี้วัด - นิเทศบูรณาการ เพื่อติดตามการ ขับเคลื่อนนโยบายกัญชาทาง การแพทย ของทุกโรงพยาบาล - นิเทศบูรณาการ ประเด็นกัญชา ทางการแพทย ในป 2566 ในเดือน มค 66 - ประชุม SP กัญชาทางการแพทย เพื่อขับเคลื่อน นโยบายกัญชาทาง การแพทย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู รูปแบบการทำงาน และปญหา อุปสรรค รวมกัน - จัดการประชุม SP กัญชาทาง การแพทย ครั้งที่ 1 ในวันที่ 18 มค.2566 2.ยาขาดคราว - วางแผนกระจายน้ำมันกัญชาที่จะ ไดรับสนับสนุนจากกรมการแพทย แผนไทยฯใหแกสถานบริการทุก แหงที่เปดใหบริการคลินิกกัญชา - กรมการแพทยแผนไทยฯ จัดสง น้ำมันกัญชา มายัง สสจ. จำนวน 350 ขวดไดดำเนินการกระจาย ยาดังกลาว ไปยังหนวยบริการ ตามผลการดำเนินงานแลว 3.หนวยบริการสาธารณสุข รพ. สต. ที่มีการจัดบริการคลินิก กัญชาทางการแพทยทั้งหมด 14 แหง ตัดโอนไปอยูภายใตการ บริหารของ อบจ. 6. ผลการดำเนินงานตาม Small Success Small Success รอบ 3 เดือน ผลการดำเนินงาน 1.รอยละของหนวยบริการสาธารณสุขที่มีการ จัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทยแบบบูรณาการ - มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทยใน รพ. จำนวน 10 แหง (จากทั้งหมด 10 แหง) คิดเปน รอยละ 100 2.รอยละของผูปวยที่มีการวินิจฉัยระยะ ประคับประคอง (Palliative care) ที่ไดรับการรักษา ดวยยากัญชาทางการแพทย ไมนอยกวารอยละ 5 - มีการคนหาผูปวยทุกกลุมโรคและผูปวยที่มี การวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) เพื่อใหไดรับการรักษาดวยยากัญชาทางการแพทย - ทุกโรงพยาบาล มีการคนหาผูปวยที่มีการวินิจฉัย ระยะประคับประคอง เพื่อวางแผนใหไดรับการรักษา ดวยยากัญชาทางการแพทย - ผูปวย Palliative care ที่ไดรับยากัญชาจาก รพ. และ รพ.สต.รวมทั้งสิ้น 34 คน จำนวนผูปวย Palliative care ในจังหวัด 872 คน


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 42 Small Success รอบ 3 เดือน ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน คิดเปนรอยละ 3.9 3.รอยละของผูปวยทั้งหมดที่ไดรับการรักษาดวยยา กัญชาทางการแพทย เพิ่มขึ้น ไมนอยกวารอยละ 50 มีแผนการสงเสริมการใชกัญชาทางการแพทยดังนี้ - จัดประชุม คกก. SP กัญชาทางการแพทย ขับเคลื่อนนโยบายเพื่อใหบรรลุตัวชี้วัด โดยการ นำเสนอผลการดำเนินงาน ในปที่ผานมาและ ในไตร มาสที่ 1 ของทุกแหง พรอมทั้งใหทุกโรงพยาบาล นำเสนอ แผนการดำเนินงานในป งบประมาณ2566 รวมถึง ปญหา-อุปสรรค ในการเปดใหบริการคลินิก กัญชาทางการแพทย เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกัน - กระจายตำรับกัญชา ที่ไดรับสนับสนุนจากแหลง ผลิตตางๆ ไปยังทุกโรงพยาบาล ตามผลการ ดำเนินงาน ที่ผานมา - สนับสนุนให รพ.สต.ที่เปดใหบริการคลินิกกัญชา ทางการแพทยแผนไทย ดำเนินการตอเนื่อง ถึงแม จะตัดโอนไปอยูภายใตการบริหารงานโดย อบจ. - ผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยยากัญชา ป 2566 = 628 คน ผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยยากัญชา ป 2564 = 719 คน ผลการดำเนินงาน คิดเปน -12.66 4.จำนวนโครงรางงานวิจัยและการจัดการความรู ดานกัญชาทางการแพทยของหนวยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข - มีการชี้แจงตัวชี้วัด และสนับสนุนใหทุกโรงพยาบาล ทำงานวิจัยหรือโครงรางวิจัย โดยนำเสนอหัวขอ งานวิจัยตางๆเกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย เพื่อเปน แนวทาง ทั้งนี้การวางแผนในการทำวิจัย รวมถึงการ เก็บขอมูล ไมทันในปงบประมาณ 2566


เอกสารตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุขฯ รอบที่ 1/2566 จังหวัดสุพรรณบุรี 43 7. สรุปประเด็นสำคัญที่เปนความเสี่ยงตอการทำใหการขับเคลื่อนนโยบายหรือการดำเนินงาน ไมประสบความสำเร็จ (Key Risk Area/Key Risk Factor) 1. การปรับเปลี่ยน การสนับสนุนตำรับกัญชา มีผลกระทบการเขาถึงการรักษาของกลุมผูปวยเดิม และสงผลใหยอดผูปวยที่ไดรับการรักษาตำรับกัญชา ลดลง 2. การดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอยละของผูปวยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ไดรับการรักษาดวยยากัญชาทางการแพทย ไมนอยกวารอยละ 5 จำเปนตองบูรณาการ รวมกันกับ ทีมสหวิชาชีพซึ่งหากไมมีการทำงานในรูปแบบคณะกรรมการ หรือเปนระบบที่ชัดเจน ในหนวยบริการ ก็จะไม สัมฤทธิ์ผล 3. ยาขาดคราว สาเหตุทั้งจากการบริหารเวชภัณฑภายใน รพ. และ จากผูผลิตตำรับกัญชา 4. ตองรอนโยบายและความชัดเจนในการเปดใหบริการ คลินิกกัญชาทางการแพทยแผนไทยใน รพ.สต. ทั้ง 14 แหง เนื่องจากในป 2566 ไดมีการตัดโอน รพ.สต. ไปอยูภายใตการบริหารของ อบจ 8. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะตอนโยบาย/ตอสวนกลาง/ตอผูบริหาร/ตอระเบียบกฎหมาย ปญหา/อุปสรรค/ปจจัยที่ทำใหการดำเนินงาน ไมบรรลุวัตถุประสงค ขอเสนอแนะตอนโยบาย/สวนกลาง/ ผูบริหาร/ระเบียบ/กฎหมาย 1.เนื่องจากตำรับกัญชาเสมือนเปนยาใหม ดังนั้น ขอมูลตางๆ ไดแก ประสิทธิผล อาการขางเคียง อันตรกิริยาระหวางยา ความเปนพิษ ฯลฯ ยังมีไมมากนัก จึงมีผลทำให ผูสั่งใชไมมั่นใจ ในการสั่งจายยา - อยากใหรวบรวมขอมูลตำรับยากัญชาที่เปน ประโยชน ดานคลินิก รวมถึงงานวิจัยตางๆ เผยแพร เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกผูสั่งใชยา 2.ระบบรายงานใน HDC ไมตรงตามขอมูลจริง การเลือกดูขอมูลของผูปวย Palliative Care ใน ระบบการรายงานของ SPกัญชา , SP Palliative Care ใน HDC และขอมูลจากหนวยบริการ ไมตรงกัน - ปรับปรุงโปรแกรม ใหมีขอมูลครบถวน ถูกตอง และกำหนดผูที่ดูแลรับผิดชอบโดยตรงเพื่อสะดวก ในการประสานงาน - ใหสามารถลงขอมูลผูปวยใน และแสดง รายละเอียดของผูปวยแตละคนในการติดตาม ผลการรักษา - ปรับปรุงโปรแกรม HDC ใหเลือกดูเฉพาะชวงเวลา ที่ตองการได 3.ผูรับบริการ ขาดความรู ความเขาใจ การเขาถึง ขอมูลที่ถูกตอง - ประชาสัมพันธ ทำชุดสื่อขอมูลความรู อินโฟ กราฟฟกตางๆ สนับสนุนสถานบริการ และเพิ่มชอง ทางการสงตอความรูสูชุมชน 4.เนื่องจากเปลี่ยนเกณฑในการสนับสนุน ตำรับ น้ำมันกัญชาโดยจำกัดกลุมโรค ทำใหผูปวยโรค อื่นๆ ไมสามารถเขาถึงการรักษาดวยตำรับยา - จายเงินตอบแทนตามผลงานการดูแลผูปวยใน คลินิกกัญชาทางการแพทยรวมถึงคาแลปและควร เพิ่มกลุมโรคหรือกลุมอาการ เชนนอนไมหลับ


Click to View FlipBook Version