The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย ป.๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pacharipa.soralam, 2023-07-06 02:43:39

แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ป.๕

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย ป.๕

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ จัดทำขึ้นตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยวิเคราะหตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง รวมทั้งมาตรฐาน การเรียนรูเพื่อจัดทำและกำหนดเปนสาระการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย แผนการจัดการเรียนรู รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ เปนแผนการจัดการเรียนรูที่เนนการทำ กิจกรรมกลุม ใหนักเรียนไดมีสวนรวมในการคนควาและหาคำตอบผานการเลนเกม การแสดงความคิดเห็นหลังจาก จบวิดีทัศน เปนตน หลังจากนั้นเขาสูการใหขอมูล แนะนำ ใหความรูที่ถูกตองแกนักเรียน อันเปนการยึดผูเรียนเปน สำคัญและเนนฝกทักษะกระบวนการโดยบูรณาการทั้งดานความรู ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะตรง ตามมาตรฐานการเรียนรูที่หลักสูตรกำหนดไว ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา แผนการจัดการเรียนรู รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ฉบับนี้ จะ เปนประโยชนตอครูผูสอนที่จะนำไปเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเกิดการ เรียนรูเต็มศักยภาพ นางพัชริภา ศรลัมภ ตำแหนง ครู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โรงเรียนบานคลองหลวง


สารบัญ หนา ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ก การจัดทำหนวยการเรียนรู ข ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ข แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ฉ - ญ - หนวยการเรียนรูที่ ๑ ครอบครัวพอเพียง ๑ - หนวยการเรียนรูที่ ๒ กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย (วรรณคดีลำนำ) ๒๑ - หนวยการเรียนรูที่ ๓ คนละไม คนละมือ ๓๗ - หนวยการเรียนรูที่ ๔ กระเชาของนางสีดา (วรรณคดีลำนำ) ๗๗ - หนวยการเรียนรูที่ ๕ ประชาธิปไตยใบกลาง ๙๑ - หนวยการเรียนรูที่ ๖ รวมแรง รวมใจ ๑๑๑ - หนวยการเรียนรูที่ ๗ วิชาเหมือนสินคา (วรรณคดีลำนำ) ๑๓๑ - หนวยการเรียนรูที่ ๘ จากคลองสูหองแอร ๑๔๑ - หนวยการเรียนรูที่ ๙ ดั่งหยาดทิพยชโลมใจ ๑๕๙ - หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ พอคาจากเมาะตะมะ (วรรณคดีลำนำ) ๑๗๗ - หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ กาวใหไกล ไปใหถึง ๑๙๐ ภาคผนวก ภาคผนวก ก เอกสารและสื่อประกอบการสอน ภาคผนวก ข แบบประเมินตาง ๆ บรรณานุกรม


ก รหัสวิชา ท 15101 วิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เวลาเรียน 160 ชั่วโมง จำนวนหนวยกิต 4 หนวยกิต คำอธิบายรายวิชา ฝกทักษะการอานโดยการอานออกเสียงบทรอยแกว รอยกรองตางๆ การอานประโยคขอความที่ เปนการบรรยาย การพรรณนา และอธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อานอยางหลากหลาย แยก ขอเท็จจริง ขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน วิเคราะหแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการ ดำเนินชีวิต อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม อานหนังสือที่มีคุณคาตามความ สนใจ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และมีมารยาทในการอาน ฝกทักษะการเขียนโดยการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใชคำ ไดถูกตองชัดเจนเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน เขียนยอ ความจากเรื่องที่อาน เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติผูใหญ เขียนแสดงความรูสึกความคิดเห็นไดตรง ตามเจตนา การกรอกแบบรายการตางๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการ และมีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรูความคิดเห็น ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดูเรื่องทั่วไป ตั้งคำถาม และตอบคำถาม เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล การพูดรายงาน เรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา มีมารยาทในการฟง การดูและการ พูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต เลขไทย เขียนสะกดคำ บอกความหมายของคำ เขียน เรียงความเปนประโยคงายๆ ตอคำคลองจองงายๆ สรุปเรื่องจากวรรณคดี วรรณกรรมที่อาน โดยระบุความรู และขอคิดที่ไดจากการอาน สามารถ นำไปใชในชีวิตจริง อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบท รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุปวิเคราะหขอมูลจากเรื่องและสื่อตางๆ ที่อาน ฟง และดูเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจ นำไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางภาคภูมิใจ รักความเปนไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นทำงานและมีจิตสาธารณะ และนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.5/๑, ป.5/๒, ป.5/๓, ป.5/๔, ป.5/๕, ป.5/๖, ป.5/๗, ป.5/๘ ท ๒.๑ ป.5/๑, ป.5/๒, ป.5/๓, ป.5/๔, ป.5/๕, ป.5/๖, ป.5/๗, ป.5/๘, ป.5/9 ท ๓.๑ ป.5/๑, ป.5/๒, ป.5/๓, ป.5/๔, ป.5/๕ ท ๔.๑ ป.5/๑, ป.5/๒, ป.5/๓, ป.5/๔, ป.5/๕, ป.5/๖, ป.5/7 ท ๕.๑ ป.5/๑, ป.5/๒, ป.5/๓, ป.5/๔ รวมตัวชี้วัดทั้งหมด 33 ตัวชี้วัด


ข ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดำเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและ บทรอยกรองไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา ๓. อธิบายความหมายโดยนัย จาก เรื่องที่อานอยางหลากหลาย การอานออกเสียงและการบอกความหมาย ของบทรอยแกวและบทรอยกรองที่ ประกอบดวย - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ - คำที่มีตัวการันต - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - ขอความที่เปนการบรรยายและพรรณนา - ขอความที่มีความหมายโดยนัย การอานบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจาก เรื่องที่อาน ๕. วิเคราะหและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใช ในการดำเนินชีวิต การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - วรรณคดีในบทเรียน - บทความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ - ขาวและเหตุการณประจำวัน ๖. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม เชน - การใชพจนานุกรม - การใชวัสดุอุปกรณ - การอานฉลากยา - คูมือและเอกสารของโรงเรียนที่เกี่ยวของกับ นักเรียน - ขาวสารทางราชการ


ค ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๗. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความ สนใจอยางสม่ำเสมอและแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดรวมกัน ๘. มีมารยาทในการอาน มารยาทในการอาน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและ ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชคำไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม การเขียนสื่อสาร เชน - คำขวัญ - คำอวยพร - คำแนะนำและคำอธิบายแสดงขั้นตอน ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางาน เขียน การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน ๔. เขียนยอความจากเรื่องที่อาน การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน นิทาน ความเรียงประเภทตางๆ ประกาศ แจงความ แถลงการณ จดหมาย คำสอน โอวาท คำ ปราศรัย ๕. เขียนจดหมายถึงผูปกครองและ ญาติ การเขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ ๖. เขียนแสดงความรูสึกและความ คิดเห็นไดตรงตามเจตนา การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น ๗. กรอกแบบรายการตางๆ การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงินและใบถอนเงิน - ธนาณัติ - แบบฝากสงพัสดุไปรษณียภัณฑ ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ


ง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๙. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกใน โอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๑. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และ ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู การจับใจความ และการพูดแสดงความรู ความคิดในเรื่องที่ฟงและดู จากสื่อตางๆ เชน ๒. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิง เหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู ๓. วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่อง ที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล - เรื่องเลา - บทความ - ขาวและเหตุการณประจำวัน - โฆษณา - สื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟง และดูในชีวิตประจำวัน ๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา การรายงาน เชน - การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน - การพูดลำดับเหตุการณ ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการ พูด มารยาทในการฟง การดู และการพูด สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๑. ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค ชนิดของคำ ไดแก - คำบุพบท - คำสันธาน - คำอุทาน ๒. จำแนกสวนประกอบของประโยค ประโยคและสวนประกอบของประโยค


จ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ ภาษาถิ่น ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น ๔. ใชคำราชาศัพท คำราชาศัพท ๕. บอกคำภาษาตางประเทศใน ภาษาไทย คำที่มาจากภาษาตางประเทศ ๖. แตงบทรอยกรอง กาพยยานี ๑๑ ๗. ใชสำนวนไดถูกตอง สำนวนที่เปนคำพังเพยและสุภาษิต สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและ นำมาประยุกตใชในชีวิตจริง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือ วรรณกรรมที่อาน ๒. ระบุความรูและขอคิดจากการอาน วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ นำไปใชในชีวิตจริง ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและ วรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรม เชน - นิทานพื้นบาน - นิทานคติธรรม - เพลงพื้นบาน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและ ตามความสนใจ ๔. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความ สนใจ บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ


การจัดทำหนวยการเรียนรู วิชา ภาคเรียนที่ ๑ จำ หนวยการ เรียนรู ชื่อหนวยการเรียน จำนวน (ชั่วโมง) แผนการ จัดการเรียนรู ๑ ครอบครัวพอเพียง ๗ ๑ ความหม ๒ การอาน ๓ อานจับใ ๔ การอาน ๕ อานเสริ ๖ การพูดแ ๒ กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๖ ๗ อานจับใ (วรรณคดีลำนำ) กำเนิดผิ ๘ ความหม ทั้งหลาย ๙ การอาน สังขทอง ๑๐ การแสด


ฉ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ำนวน ๘๐ ชั่วโมง เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) ตัวชี้วัด มายคำ บทเรียนครอบครัวพอเพียง ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๒ นจับใจความ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔,ป.๕/๕ ใจความ ครอบครัวพอเพียง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔,ป.๕/๕ นออกเสียงคำที่มีตัวอักษรนำ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑ รม ควายหงานกับผักหวานปา ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔,ป.๕/๕ และเขียนแสดงความรูสึก ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๖,ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๕ ใจความ ๒ ท ๕.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓ ผิดพนคนทั้งหลาย มายคำ บทเรียนกำเนิดผิดพนคน ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ย นทำนองเสนาะ ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๑ ง ตอน กำเนิดพระสังข ดงบทบาทสมมติ ๑ ท ๕.๑ ป.๕/๑


หนวยการ เรียนรู ชื่อหนวยการเรียน จำนวน (ชั่วโมง) แผนการ จัดการเรียนรู สังขทอง ๓ คนละไมคนละมือ ๙ ๑๑ ความหม ๑๒ อานจับใ ๑๓ การอาน ๑๔ การอาน มารยาท ๑๕ อานเสริ จิตที่ควร ๑๖ คำบุพบ ๑๗ เครื่องห ๔ ภัยเงียบ ๖ ๑๘ ความหม ๑๙ อานจับใ ๒๐ ประโยค ๒๑ สำนวนที ๒๒ คำภาษา ๒๓ อานเสริ


ช เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) ตัวชี้วัด ง ตอน กำเนิดพระสังข มายคำ บทเรียนคนละไม คนละมือ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ คนละไม คนละมือ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ นออกเสียงคำควบกล้ำ ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๘ นรอยแกวและ ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ทในการอาน รม ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๕, ป.๕/๘ รพัฒนา : จิตสาธารณะ ท ๑ ท ๔.๑ ป.๕/๑ มายวรรคตอน ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑ มายคำ บทเรียน ภัยเงียบ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ ภัยเงียบ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ คและสวนประกอบของประโยค ๑ ท ๔.๑ ป.๕/๒ ที่เปนสุภาษิต ๑ ท ๔.๑ ป.๕/๗ าตางประเทศในภาษาไทย ๑ ท ๔.๑ ป.๕/๕ รม ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๕, ป.๕/๘


หนวยการ เรียนรู ชื่อหนวยการเรียน จำนวน (ชั่วโมง) แผนการ จัดการเรียนรู การดูแล ๕ กระเชาของนางสีดา ๖ ๒๔ ความหม (วรรณคดีลำนำ) ๒๕ อานจับใ ๒๖ นิทานพื้ ๒๗ นิทานท ๖ ประชาธิปไตยใบกลาง ๖ ๒๘ ความหม ๒๙ อานจับใ ประชาธิ ๓๐ คำเชื่อม ๓๑ การยอค ๓๒ การฟงแ ใจ ๓๓ อานเสริ ๗ รวมแรง รวมใจ ๗ ๓๔ แผนภาพ ๓๕ อานเสริ ๓๖ ความหม


ซ เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) ตัวชี้วัด ลบำรุงรักษาคอมพิวเตอร มายคำ บทเรียนกระเชาของนางสีดา ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ กระเชาของนางสีดา ๒ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ้นบาน ๑ ท ๕.๑ ป.๕/๑ องถิ่น เกาะหนู เกาะแมว ๒ ท ๕.๑ ป.๕/๑ มายคำ บทเรียนประชาธิปไตยใบกลาง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ ธิปไตยใบกลาง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ ม ๑ ท ๔.๑ ป.๕/๑ ความ ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๙ และการอานงานเขียนประเภทโนมนาว ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔ รม บทเพลงแหงประชาธิปไตย ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๕, ป.๕/๘ พโครงเรื่อง ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๓ รม เรื่องของมด ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๕, ป.๕/๘ มายคำ บทเรียนรวมแรง รวมใจ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒


หนวยการ เรียนรู ชื่อหนวยการเรียน จำนวน (ชั่วโมง) แผนการ จัดการเรียนรู ๓๗ อานจับใ ๓๘ การอาน ๓๙ คำอุทาน ๘ วิชาเหมือนสินคา ๕ ๔๐ ความหม (วรรณคดีลำนำ) ๔๑ อานจับใ ๔๒ บทอาขย ๙ จากคลองสูหองแอร ๖ ๔๓ ความหม ๔๔ อานจับใ ๔๕ เรียงควา ๔๖ การเขีย ๔๗ การเขีย ๔๘ อานเสริ ๑๐ ดั่งหยาดทิพยชโลมใจ ๘ ๔๙ ราชาศัพ ๕๐ พจนานุ ๕๑ ความหม ๕๒ อานจับใ


ฌ เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) ตัวชี้วัด ใจความ รวมแรง รวมใจ ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ท ๑.๑ ป.๕/๕ นขาวสารของทางราชการ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๖ น ๑ ท ๔.๑ ป.๕/๑ มายคำ บทเรียนวิชาเหมือนสินคา ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ วิชาเหมือนสินคา ๒ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ยาย วิชาเหมือนสินคา ๒ ท ๕.๑ ป.๕/๔ มายคำ บทเรียนจากคลองสูหองแอร ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ จากคลองสูหองแอร ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ าม ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๔ นแผนภาพความคิด ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๓ นเชิงจินตนาการ ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๘, ป.๕/๙ รม เจาชายแตงโม ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔,ป.๕/๕,ท ๒.๑ป.๕/๓ พท ๒ ท ๔.๑ ป.๕/๔ กรม ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๖ มายคำ บทเรียนดั่งหยาดทิพยชโลมใจ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ ดั่งหยาดทิพยชโลมใจ ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕


หนวยการ เรียนรู ชื่อหนวยการเรียน จำนวน (ชั่วโมง) แผนการ จัดการเรียนรู ๕๓ อานเสริ ๕๔ การคัดล ๑๑ พอคาจากเมาะตะมะ ๖ ๕๕ ความหม (วรรณคดีลำนำ) ๕๖ อานจับใ ๕๗ โวหารช ๕๘ การอาน ๑๒ กาวใหไกล ไปใหถึง ๘ ๕๙ ความหม ๖๐ อานจับใ ๖๑ การเขีย ๖๒ อานเสริ ๖๓ การคิดวิ ๖๔ การพูดแ วิเคราะห ๖๕ การเลือ รวมทั้งสิ้น (ชั่วโมง)


ญ เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) ตัวชี้วัด รม พระมหากษัตริยไทย ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ ลายมือ ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๙ มายคำ บทเรียนพอคาจากเมาะตะมะ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความพอคาจากเมาะตะมะ ๒ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ชนิดตาง ๆ ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๓ นออกเสียง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑ มายคำ บทเรียนกาวใหไกล ไปใหถึง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๒ ใจความ กาวใหไกล ไปใหถึง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ นบันทึกการอาน ๑ ท ๒.๑ ป.๕/๔ รม ลูกยางเดินทาง ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ป.๕/๕ วิเคราะหในการรับสาร ๑ ท ๓.๑ ป.๕/๓ และเขียนแสดงความคิดเห็นเชิง ห ๒ ท ๒.๑ ป.๕/๙, ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๕ กอานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๗ ๘๐


สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.1 ๑. อานออกเสียงคำ คำคลองจอง และขอความสั้น ๆ ๒. บอกความหมายของคำ และขอความที่อาน • การอานออกเสียงและบอกความหมาย ของคำ คำคลองจอง และขอความ ที่ประกอบดวย คำพื้นฐาน คือ คำที่ใช ในชีวิตประจำวัน ไมนอยกวา ๖๐๐ คำ รวมทั้งคำที่ใชเรียนรูในกลุมสาระ การเรียนรูอื่น ประกอบดวย - คำที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูป วรรณยุกต - คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ ๓. ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๔. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน • การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - นิทาน - เรื่องสั้น ๆ - บทรองเลนและบทเพลง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระ การเรียนรูอื่น ๖. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสม่ำเสมอ และนำเสนอเรื่องที่อาน • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด รวมกัน ๗. บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือสัญลักษณสำคัญที่มักพบเห็น ในชีวิตประจำวัน • การอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ ประกอบดวย - เครื่องหมายสัญลักษณตาง ๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - เครื่องหมายแสดงความปลอดภัย และแสดงอันตราย ๘. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทำลายหนังสือ ป.2 ๑. อานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงาย ๆ ไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคำและขอความ ที่อาน • การอานออกเสียงและการบอก ความหมายของคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงาย ๆ ที่ประกอบดวยคำพื้นฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ไมนอยกวา ๘๐๐ คำ รวมทั้งคำที่ใชเรียนรู ในกลุมสาระการเรียนรูอื่น ประกอบดวย - คำที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูป วรรณยุกต - คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ - คำที่มีตัวการันต - คำที่มี รร - คำที่มีพยัญชนะและสระ ที่ไมออกเสียง ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถาม เกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๔. ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด จากเรื่องที่อาน ๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อาน • การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - นิทาน - เรื่องเลาสั้น ๆ - บทเพลงและบทรอยกรองงาย ๆ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระ การเรียนรูอื่น - ขาวและเหตุการณประจำวัน ๖. อานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอ และนำเสนอเรื่องที่อาน • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด รวมกัน ๗. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตาม คำสั่งหรือขอแนะนำ • การอานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติ ตามคำสั่งหรือขอแนะนำ - การใชสถานที่สาธารณะ - คำแนะนำการใชเครื่องใชที่จำเปน ในบานและในโรงเรียน ๘. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทำลายหนังสือ - ไมควรแยงอานหรือชะโงกหนาไป อานขณะที่ผูอื่นกำลังอานอยู ป.3 ๑. อานออกเสียงคำ ขอความ เรื่องสั้น ๆ และบทรอยกรองงาย ๆ ไดถูกตอง คลองแคลว ๒. อธิบายความหมายของคำและขอความ ที่อาน • การอานออกเสียงและการบอก ความหมายของคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงาย ๆ ที่ประกอบดวยคำพื้นฐานเพิ่มจากป.๒ ไมนอยกวา ๑,๒๐๐ คำ รวมทั้งคำที่เรียนรู ในกลุมสาระการเรียนรูอื่น ประกอบดวย - คำที่มีตัวการันต - คำที่มี รร - คำที่มีพยัญชนะและสระไมออกเสียง - คำพอง - คำพิเศษอื่นๆ เชน คำที่ใช ฑ ฤ  ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล เกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๔. ลำดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อานโดยระบุเหตุผลประกอบ ๕. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน • การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับทองถิ่น - เรื่องเลาสั้น ๆ - บทเพลงและบทรอยกรอง - บทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น - ขาวและเหตุการณในชีวิตประจำวัน ในทองถิ่นและชุมชน ๖. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อาน • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด รวมกัน ๗. อานขอเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตาม คำสั่งหรือขอแนะนำ • การอานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติ ตามคำสั่งหรือขอแนะนำ - คำแนะนำตาง ๆ ในชีวิตประจำวัน - ประกาศ ปายโฆษณา และคำขวัญ ๘. อธิบายความหมายของขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ • การอานขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ ๙. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทำลายหนังสือ - ไมควรแยงอานหรือชะโงกหนา ไปอานขณะที่ผูอื่นกำลังอาน ป.4 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรื่องที่อาน • การอานออกเสียงและการบอก ความหมายของบทรอยแกว และบทรอยกรองที่ประกอบดวย - คำที่มี ร ล เปนพยัญชนะตน - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ - คำประสม - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - ประโยคที่มีสำนวนเปนคำพังเพย สุภาษิต ปริศนาคำทาย และเครื่องหมายวรรคตอน • การอานบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนด และตอบคำถามจากเรื่องที่อาน ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเรื่องที่อาน ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานโดยระบุ เหตุผลประกอบ ๖. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน • การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - เรื่องสั้น ๆ - เรื่องเลาจากประสบการณ - นิทานชาดก - บทความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ - ขาวและเหตุการณประจำวัน


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - สารคดีและบันเทิงคดี ๗. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจ อยางสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่อาน • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด รวมกัน ๘. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน ป.5 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา ๓. อธิบายความหมายโดยนัย จากเรื่องที่อาน อยางหลากหลาย • การอานออกเสียงและการบอก ความหมายของบทรอยแกว และบทรอยกรองที่ประกอบดวย - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ - คำที่มีตัวการันต - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - ขอความที่เปนการบรรยาย และพรรณนา - ขอความที่มีความหมายโดยนัย • การอานบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเรื่องที่อาน ๕. วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการดำเนินชีวิต • การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - วรรณคดีในบทเรียน - บทความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ - ขาวและเหตุการณประจำวัน ๖. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม • การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม เชน - การใชพจนานุกรม - การใชวัสดุอุปกรณ - การอานฉลากยา - คูมือและเอกสารของโรงเรียน ที่เกี่ยวของกับนักเรียน - ขาวสารทางราชการ


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๗. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจ อยางสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่อาน • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด รวมกัน ๘. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน ป.6 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และขอความที่เปนโวหาร • การอานออกเสียงและการบอก ความหมายของบทรอยแกว และบทรอยกรอง ประกอบดวย - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ - คำที่มีตัวการันต - คำที่มาจากภาษาตางประเทศ - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - วัน เดือน ปแบบไทย - ขอความที่เปนโวหารตาง ๆ - สำนวนเปรียบเทียบ • การอานบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ ๓. อานเรื่องสั้น ๆ อยางหลากหลาย โดยจับเวลาแลวถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเรื่องที่อาน ๕. อธิบายการนำความรูและความคิด จากเรื่องที่อานไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิต • การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน - เรื่องสั้น ๆ - นิทานและเพลงพื้นบาน - บทความ - พระบรมราโชวาท - สารคดี - เรื่องสั้น - งานเขียนประเภทโนมนาว - บทโฆษณา - ขาว และเหตุการณสำคัญ • การอานเร็ว ๖. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม • การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม - การใชพจนานุกรม - การปฏิบัติตนในการอยูรวมกัน


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ในสังคม - ขอตกลงในการอยูรวมกันใน โรงเรียน และการใชสถานที่ สาธารณะในชุมชนและทองถิ่น ๗. อธิบายความหมายของขอมูล จากการอาน แผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ • การอานขอมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ ๘. อานหนังสือตามความสนใจ และอธิบาย คุณคาที่ไดรับ • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสืออานที่ครูและนักเรียน กำหนดรวมกัน ๙. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควา อยางมีประสิทธิภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.1 ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารดวยคำและประโยคงาย ๆ • การเขียนสื่อสาร - คำที่ใชในชีวิตประจำวัน - คำพื้นฐานในบทเรียน - คำคลองจอง - ประโยคงาย ๆ ๓. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.2 ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ • การเขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับ ประสบการณ ๓. เขียนเรื่องสั้น ๆ ตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องสั้น ๆ ตามจินตนาการ ๔. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่นหรือทำใหผูอื่น เสียหาย ป.3 ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไดอยางชัดเจน •การเขียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ ของคน สัตว สิ่งของ สถานที่ ๓. เขียนบันทึกประจำวัน • การเขียนบันทึกประจำวัน ๔. เขียนจดหมายลาครู • การเขียนจดหมายลาครู ๕. เขียนเรื่องตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ จากคำ ภาพ และหัวขอที่กำหนด ๖. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่นหรือทำใหผูอื่น เสียหาย ป.4 ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชคำไดถูกตองชัดเจน และเหมาะสม • การเขียนสื่อสาร เชน - คำขวัญ - คำแนะนำ


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน • การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน ๔. เขียนยอความจากเรื่องสั้น ๆ • การเขียนยอความจากสื่อตาง ๆ เชน นิทาน ความเรียงประเภทตาง ๆ ประกาศ จดหมาย คำสอน ๕. เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา • การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดา มารดา ๖. เขียนบันทึกและเขียนรายงาน จากการศึกษาคนควา • การเขียนบันทึกและเขียนรายงาน จากการศึกษาคนควา ๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ๘. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน ป.5 ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชคำไดถูกตองชัดเจน และเหมาะสม • การเขียนสื่อสาร เชน - คำขวัญ - คำอวยพร - คำแนะนำและคำอธิบายแสดง ขั้นตอน ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน • การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน ๔. เขียนยอความจากเรื่องที่อาน • การเขียนยอความจากสื่อตาง ๆ เชน นิทาน ความเรียงประเภทตาง ๆ ประกาศ แจงความ แถลงการณ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย ๕. เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ • การเขียนจดหมายถึงผูปกครอง และญาติ ๖. เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น ไดตรงตามเจตนา • การเขียนแสดงความรูสึก และความคิดเห็น ๗. กรอกแบบรายการตาง ๆ • การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงินและใบถอนเงิน - ธนาณัติ - แบบฝากสงพัสดุไปรษณียภัณฑ


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ๙. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน ป.6 ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชคำไดถูกตองชัดเจน และเหมาะสม • การเขียนสื่อสาร เชน - คำขวัญ - คำอวยพร - ประกาศ ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน • การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด ๔. เขียนเรียงความ • การเขียนเรียงความ ๕. เขียนยอความจากเรื่องที่อาน • การเขียนยอความจากสื่อตาง ๆ เชน นิทาน ความเรียงประเภทตาง ๆ ประกาศ แจงความ แถลงการณ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน รายงาน ระเบียบ คำสั่ง ๖. เขียนจดหมายสวนตัว • การเขียนจดหมายสวนตัว - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเห็นใจ - จดหมายแสดงความยินดี ๗. กรอกแบบรายการตาง ๆ • การกรอกแบบรายการ - แบบคำรองตางๆ - ใบสมัครศึกษาตอ - แบบฝากสงพัสดุและไปรษณียภัณฑ ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการและสรางสรรค • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ และสรางสรรค ๙. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน


สาระที่ 3 การฟง การดู การพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.1 ๑. ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆ และปฏิบัติตาม • การฟงและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งงาย ๆ ๒. ตอบคำถามและเลาเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง ๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก จากเรื่องที่ฟงและดู • การจับใจความและพูดแสดงความ คิดเห็น ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน - เรื่องเลาและสารคดีสำหรับเด็ก - นิทาน - การตูน - เรื่องขบขัน ๔. พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค • การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เชน - การแนะนำตนเอง - การขอความชวยเหลือ - การกลาวคำขอบคุณ - การกลาวคำขอโทษ ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด • มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่ม ไปรับประทานขณะที่ฟง - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผูอื่น • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน้ำเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ผูอื่นกำลังพูด


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.2 ๑. ฟงคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซอน และปฏิบัติตาม • การฟงและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่ง ที่ซับซอน ๒. เลาเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู และความบันเทิง ๓. บอกสาระสำคัญของเรื่องที่ฟงและดู ๔. ตั้งคำถามและตอบคำถาม เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก จากเรื่องที่ฟงและดู • การจับใจความ และพูดแสดงความ คิดเห็น ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน - เรื่องเลาและสารคดีสำหรับเด็ก - นิทาน การตูน และเรื่องขบขัน - รายการสำหรับเด็ก - ขาวและเหตุการณประจำวัน - เพลง ๖. พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค • การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เชน - การแนะนำตนเอง - การขอความชวยเหลือ - การกลาวคำขอบคุณ - การกลาวคำขอโทษ - การพูดขอรองในโอกาสตาง ๆ - การเลาประสบการณ ในชีวิตประจำวัน ๗. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด • มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่ม ไปรับประทานขณะที่ฟง - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผูอื่น • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน้ำเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่น กำลังพูด


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - ไมพูดลอเลียนใหผูอื่นไดรับ ความอับอายหรือเสียหาย ป.3 ๑. เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง ๒. บอกสาระสำคัญจากการฟงและการดู ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับ เรื่องที่ฟงและดู ๔. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก จากเรื่องที่ฟงและดู • การจับใจความและพูดแสดงความ คิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน - เรื่องเลาและสารคดีสำหรับเด็ก - นิทาน การตูน เรื่องขบขัน - รายการสำหรับเด็ก - ขาวและเหตุการณในชีวิตประจำวัน - เพลง ๕. พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค • การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เชน - การแนะนำตนเอง - การแนะนำสถานที่ในโรงเรียน และในชุมชน - การแนะนำ/เชิญชวนเกี่ยวกับ การปฏิบัติตนในดานตาง ๆ เชน การรักษาความสะอาด ของรางกาย - การเลาประสบการณ ในชีวิตประจำวัน - การพูดในโอกาสตาง ๆ เชน การพูด ขอรอง การพูดทักทาย การกลาว ขอบคุณและขอโทษ การพูดปฏิเสธ และการพูดชักถาม ๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด • มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่ม ไปรับประทานขณะที่ฟง - ไมแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โห ฮา หาว - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผูอื่น • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน้ำเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่น กำลังพูด - ไมพูดลอเลียนใหผูอื่นไดรับ ความอับอายหรือเสียหาย ป.4 ๑. จำแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเรื่องที่ฟงและดู • การจำแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเรื่องที่ฟงและดูในชีวิตประจำวัน ๒. พูดสรุปความจากการฟงและดู ๓. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ๔. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจาก เรื่องที่ฟงและดู • การจับใจความ และการพูดแสดง ความรู ความคิดในเรื่องที่ฟงและดู จากสื่อตาง ๆ เชน - เรื่องเลา - บทความสั้น ๆ - ขาวและเหตุการณประจำวัน - โฆษณา - สื่ออิเล็กทรอนิกส - เรื่องราวจากบทเรียนกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ๕. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา • การรายงาน เชน - การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน - การพูดลำดับเหตุการณ ๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด • มารยาทในการฟง การดู และการพูด ป.5 ๑. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และ ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ๒. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล จากเรื่องที่ฟงและดู ๓. วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟง • การจับใจความ และการพูดแสดง ความรู ความคิดในเรื่องที่ฟงและดู จากสื่อตาง ๆ เชน - เรื่องเลา - บทความ


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง และดูอยางมีเหตุผล - ขาวและเหตุการณประจำวัน - โฆษณา - สื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส • การวิเคราะหความนาเชื่อถือ จากเรื่องที่ฟงและดูในชีวิตประจำวัน ๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา คนควาจากการฟง การดู และการสนทนา • การรายงาน เชน - การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน - การพูดลำดับเหตุการณ ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด • มารยาทในการฟง การดู และการพูด ป.6 ๑. พูดแสดงความรูความเขาใจจุดประสงค ของเรื่องที่ฟงและดู ๒. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล จากเรื่องที่ฟงและดู • การพูดแสดงความรู ความเขาใจ ในจุดประสงคของเรื่องที่ฟงและดู จากสื่อตาง ๆ ไดแก - สื่อสิ่งพิมพ - สื่ออิเล็กทรอนิกส ๓. วิเคราะหความนาเชื่อถือจากการฟงและดู สื่อโฆษณาอยางมีเหตุผล • การวิเคราะหความนาเชื่อถือ จากการฟงและดูสื่อโฆษณา ๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา คนควาจากการฟง การดู และการสนทนา • การรายงาน เชน - การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน - การพูดลำดับเหตุการณ ๕. พูดโนมนาวอยางมีเหตุผลและนาเชื่อถือ • การพูดโนมนาวในสถานการณตาง ๆ เชน - การเลือกตั้งกรรมการนักเรียน - การรณรงคดานตาง ๆ - การโตวาที ๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด • มารยาทในการฟง การดู และการพูด


สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติ ของชาติ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.1 ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย • พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต • เลขไทย ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ • การสะกดคำ การแจกลูก และการอาน เปนคำ • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา • การผันคำ • ความหมายของคำ ๓. เรียบเรียงคำเปนประโยคงาย ๆ • การแตงประโยค ๔. ตอคำคลองจองงาย ๆ • คำคลองจอง ป.2 ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย • พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต • เลขไทย ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ • การสะกดคำ การแจกลูก และการอาน เปนคำ • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา • การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ • คำที่มีตัวการันต • คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ • คำที่มีอักษรนำ • คำที่มีความหมายตรงขามกัน • คำที่มี รร • ความหมายของคำ ๓. เรียบเรียงคำเปนประโยคไดตรงตามเจตนา ของการสื่อสาร • การแตงประโยค • การเรียบเรียงประโยคเปนขอความสั้น ๆ ๔. บอกลักษณะคำคลองจอง • คำคลองจอง ๕. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ • ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.3 ๑. เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ • การสะกดคำ การแจกลูก และการอานเปนคำ • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา • การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ • คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ • คำที่มีอักษรนำ • คำที่ประวิสรรชนีย และคำที่ไมประวิสรรชนีย • คำที่มี ฤ  • คำที่ใช บัน บรร • คำที่ใช รร • คำที่มีตัวการันต • ความหมายของคำ 2. ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค • ชนิดของคำ ไดแก - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกริยา 3. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคำ • การใชพจนานุกรม 4. แตงประโยคงายๆ • การแตงประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแก - ประโยคบอกเลา - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคำถาม - ประโยคขอรอง - ประโยคคำสั่ง 5. แตงคำคลองจองและคำขวัญ • คำคลองจอง • คำขวัญ 6. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถิ่น ไดเหมาะสมกับกาลเทศะ • ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.4 ๑. สะกดคำและบอกความหมายของคำใน บริบทตาง ๆ • คำในแม ก กา • มาตราตัวสะกด • การผันอักษร • คำเปนคำตาย • คำพอง ๒. ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค • ชนิดของคำ ไดแก - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกริยา - คำวิเศษณ ๓ ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคำ • การใชพจนานุกรม ๔. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา • ประโยคสามัญ - สวนประกอบของประโยค - ประโยค ๒ สวน - ประโยค ๓ สวน ๕. แตงบทรอยกรองและคำขวัญ • กลอนสี่ • คำขวัญ ๖. บอกความหมายของสำนวน • สำนวนที่เปนคำพังเพยและสุภาษิต ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษา ถิ่นได • ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น ป.5 ๑. ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค • ชนิดของคำ ไดแก - คำบุพบท - คำสันธาน - คำอุทาน ๒. จำแนกสวนประกอบของประโยค • ประโยคและสวนประกอบของประโยค ๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ ภาษาถิ่น • ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น ๔. ใชคำราชาศัพท • คำราชาศัพท ๕. บอกคำภาษาตางประเทศในภาษาไทย • คำที่มาจากภาษาตางประเทศ ๖. แตงบทรอยกรอง • กาพยยานี ๑๑ ๗. ใชสำนวนไดถูกตอง • สำนวนที่เปนคำพังเพยและสุภาษิต


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.6 ๑. วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคำในประโยค • ชนิดของคำ - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกริยา - คำวิเศษณ - คำบุพบท - คำเชื่อม - คำอุทาน ๒. ใชคำไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล • คำราชาศัพท • ระดับภาษา • ภาษาถิ่น ๓. รวบรวมและบอกความหมายของ คำภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย • คำที่มาจากภาษาตางประเทศ ๔. ระบุลักษณะของประโยค • กลุมคำหรือวลี • ประโยคสามัญ • ประโยครวม • ประโยคซอน ๕. แตงบทรอยกรอง • กลอนสุภาพ ๖. วิเคราะหและเปรียบเทียบสำนวนที่เปนคำ พังเพย และสุภาษิต • สำนวนที่เปนคำพังเพย และสุภาษิต


สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็น คุณคาและนำมาประยุกตใชในชีวิตจริง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.1 ๑. บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟง วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง สำหรับเด็ก • วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง สำหรับเด็ก เชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคำทาย - บทรองเลน - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ๒. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรอง - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.2 ๑. ระบุขอคิดที่ไดจากการอาน หรือการฟง วรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อนำไปใช ในชีวิตประจำวัน • วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง สำหรับเด็ก เชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคำทาย - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ๒. รองบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถิ่น • บทรองเลนที่มีคุณคา - บทรองเลนในทองถิ่น - บทรองเลนในการละเลนของเด็กไทย ๓. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.3 ๑. ระบุขอคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรม เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน ๒. รูจักเพลงพื้นบานและเพลงกลอมเด็ก เพื่อปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น • วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบาน - นิทานหรือเรื่องในทองถิ่น - เรื่องสั้นงาย ๆ ปริศนาคำทาย - บทรอยกรอง


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๓. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี ที่อาน ๔. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบท รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ - เพลงพื้นบาน - เพลงกลอมเด็ก - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียน และตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.4 ๑. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบาน หรือนิทานคติธรรม ๒. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนำไปใช ในชีวิตจริง • วรรณคดีและวรรณกรรม เชน - นิทานพื้นบาน - นิทานคติธรรม - เพลงพื้นบาน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ ๓. รองเพลงพื้นบาน • เพลงพื้นบาน ๔. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.5 ๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรม ที่อาน ๒. ระบุความรูและขอคิดจากการอาน วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ นำไปใชในชีวิตจริง ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดี และวรรณกรรม • วรรณคดีและวรรณกรรม เชน - นิทานพื้นบาน - นิทานคติธรรม - เพลงพื้นบาน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ ๔. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.6 ๑. แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อาน ๒. เลานิทานพื้นบานทองถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบานของทองถิ่นอื่น ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อานและนำไป ประยุกตใชในชีวิตจริง • วรรณคดีและวรรณกรรม เชน - นิทานพื้นบานทองถิ่นตนเอง และทองถิ่นอื่น - นิทานคติธรรม - เพลงพื้นบาน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๔. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ


๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนครอบครัวพอเพียง เวลา ๒ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การคนควาและศึกษาความหมายของคำ กลุมคำ สำนวนที่ไมเขาใจในบทเรียน นับวาเปนสวนสำคัญใน การอานจับใจความสำคัญหรือตีความไดดี ซึ่งจะเกิดประโยชนตอผูเรียนและเกิดการพัฒนาดานการอาน มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำประโยคและขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายของคำในบทเรียนไดถูกตอง ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานและเขียนคำในบทเรียนไดถูกตอง ๓. แตงประโยคโดยใชคำในบทเรียนได เจตคติ (A) ๔. เห็นประโยชนการคนหาความหมายคำในบทเรียน สาระการเรียนรู บอกความหมายของคำในบทเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต


๒ - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง ๒. ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนครอบครัวพอเพียง กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายและแจงใหนักเรียนทราบ หนังสือเรียนที่ใชในการเรียนการสอน ประกอบดวย - หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ - หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ครูและนักเรียนสนทนารวมกัน การจัดการเรียนการสอนที่นักเรียนตองการเปนอยางไร ขั้นสอน ๓. ครูแจงใหนักเรียนทราบกิจกรรมการเรียนการสอนจะเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง มุงเนนการทำ กิจกรรมกลุม ใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการเรียน โดยมีกิจกรรมดังนี้ - การทำแบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียน ซึ่งนักเรียนจะตองไดคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวา กอนเรียน - บัตรพลังวิเศษ จะไดรับเมื่อชนะการเลนเกม มีสวนรวมในการเรียน รวมทั้งกิจกรรมกลุม พิจารณา แลวเห็นวา มีผลงานถูกตอง หรือ ความคิดสรางสรรค หรือทำกิจกรรมเสร็จกอนเวลาและถูกตอง นักเรียนจะไดรับบัตรพลังวิเศษ ทั้งนี้เปนไปตามกิจกรรมที่ครูจัดขึ้น ๔. นักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง จำนวน ๑๐ ขอ โดยกากบาทเลือกคำตอบ ที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาที ๕. ครบเวลาที่กำหนด ครูใหนักเรียนสลับแบบทดสอบกอนเรียน หลังจากนั้นครูเฉลย โดยใหนักเรียน ตรวจและบันทึกคะแนนที่ไดลงบนแบบทดสอบกอนเรียน แลวนำสงครูเพื่อประเมินผล ๖. ครูใหนักเรียนดูตัวอยางบัตรพลังวิเศษ


๓ ขั้นสรุป ๗. ครูใหนักเรียนนำหนังสือ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาป ที่ ๕ เพื่อใชเรียนในชั่วโมงตอไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายและใหนักเรียนเลนเกมรูทา รูคำ รูไหม (กำหนดเวลา ๑๐ นาที) โดยครูอธิบายวิธีการ เลนเกม - นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๘ คน โดยใหผูเลนแตละคนยืนเขาแถวตอนหางกันคนละหนึ่งชวงแขน หันหนาไปหลังหอง - วิธีการเลนใหผูเลนตนแถวหันหนาหาครูจับฉลากคำที่ครูเตรียมไว ซึ่งจะตองแสดงทาทางตามคำที่ จับฉลากไดแลวสะกิดหลังผูเลนคนที่ ๒ เพื่อหันมาดูทาทางที่ตนเองทำใหดูโดยหามพูด เมื่อแสดง ทาทางเสร็จใหหันหลังกลับ ดำเนินการเลนจนถึงคนสุดทาย คนสุดทายตองทายวาขอความจาก ภาษาทาทางที่ถายทอดมานั้นคืออะไร ๒. ครูกลาวชมเชยนักเรียนในการรวมเลนเกม เปนการฝกทักษะการสื่อสารดวยภาษาทาทางและฝก สังเกต คิดวิเคราะห ๓. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การรูความหมายของคำยากในบทเรียนกอนที่จะอานเนื้อหาเพื่อจับใจความ สำคัญของเรื่อง จะชวยใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาไดรวดเร็วขึ้น ขั้นสอน ๔. ครูใหนักเรียนแบงกลุม จำนวน ๔ กลุม กลุมละเทาๆ กัน เพื่อคนหาคำยาก คำที่ไมรูความหมาย โดย ใหเลือกหัวหนากลุม ๕. ครูแบงบทเรียนเพื่อคนหาคำและความหมาย จากหนังสือเรียน รายวิชาภาษาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาชั้นปที่ ๕ หนา ๑ – ๗ ดังนี้ - กลุมที่ ๑ หนา ๑, ๓ - กลุมที่ ๒ หนา ๔ - กลุมที่ ๓ หนา ๕ - กลุมที่ ๔ หนา ๖, ๗ ๖. ครูแจกบัตรคำ บัตรความหมายและบอรดใหหัวหนากลุม ๗. ครูแจงใหนักเรียนทราบวิธีการคนหาความหมาย - เริ่มตนใหนักเรียนอานในใจแลวขีดเสนใตคำยาก คำที่ไมรูความหมายแลวเขียนลงในบัตรคำ - หัวหนากลุม นับจำนวนบัตรคำที่กลุมตนเองไมรูความหมาย แลวแจกจายใหสมาชิกทุกคนไดคนหา ความหมายแตถาจำนวนบัตรคำมีจำนวนนอยกวาสมาชิก ใหสมาชิกในกลุมจับคูแลวรวมคนหา ความหมาย - วิธีการคนหาความหมายเริ่มตนดวยอานบริบทประโยคกอนหนาหรือตามหลัง หากยังไมสามารถ บอกความหมายได ใหยกมือเพื่อขอใชพจนานุกรม แลวเขียนความหมายลงบัตรความหมาย


๔ - นักเรียนแตละกลุมนำบัตรคำ บัตรความหมาย ติดบอรดที่ครูจัดเตรียมไว ๘. ตัวแทนกลุมนำเสนอผลงานหนาชั้นเรียน เริ่มตนดวยกลุมที่ ๑ จนถึงกลุมสุดทาย โดยครูตรวจสอบ ความถูกตองพรอมแกไข เพื่อใหนักเรียนไดรูถึงความหมายที่ถูกตอง ๙. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนครอบครัวพอเพียง กำหนดเวลา ๑๐ นาที ๑๐. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยใบงาน ขั้นสรุป ๑๑. ครูใหนักเรียนเดินดูผลงานจัดบอรดคำ สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง ๓. ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนครอบครัวพอเพียง ๔. บัตรพลังวิเศษ ๕. เกมรูทา รูคำ รูไหม ๖. บัตรคำ บัตรความหมาย ฟวเจอรบอรด แหลงการเรียนรู - หนังสือพัฒนาทักษะภาษา พัฒนาความคิดดวยกิจกรรมกรเลน ประกอบการสอนภาษาไทย พิมพครั้งที่ ๑๐ โดยอัจฉรา ชีวพันธ การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง คะแนนแบบทดสอบหลัง เรียนสูงกวากอนเรียน ตรวจใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนครอบครัวพอเพียง ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียน ครอบครัวพอเพียง รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๕ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การอานจับใจความ เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสำคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวาใจความหรือใจความสำคัญ ซึ่ง อาจจะปรากฎอยูตามยอหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง สวนทายของยอหนาก็ได ซึ่งการ มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการ ดำเนินชีวิต จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกหลักการอานจับใจความ ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. จัดทำแผนภาพความคิดจากเรื่องที่อาน ๓. เรียบเรียงใจความสำคัญจากเรื่องที่อานได เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู - การอานจับใจความ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต


๖ - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน เรื่อง การอานจับใจความ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และแจกบทความ ตำนานผูสรางแบบเรียน "มานี มานะ"เพื่อใหนักเรียนอาน จับใจความ แลวขีดเสนใตใจความสำคัญ ๒. ครูขออาสาสมัครบอกใจความสำคัญแตละยอหนาจากการอาน ตำนานผูสรางแบบเรียน "มานี มานะ" โดยครูแจกบัตรพลังวิเศษใหแกอาสาสมัคร ๓. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียนดวยการตั้งคำถาม “การอานจับใจความมีหลักการปฏิบัติอยางไร” ขั้นสอน ๔. ครูแจกใบความรู เรื่องการอานจับใจความ ใชวิธีการบรรยายดวยการใชสื่อ PowerPoint ๕. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน เพื่อทำกิจกรรมการอานจับใจความ ๖. ครูอธิบายขั้นตอนการอานจับใจความ ควรปฏิบัติดังนี้ ๑) อานในใจทุกยอหนา ๒) ศึกษาความหมายของคำ ๓) ตั้งคำถามวา ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม ๔) สังเกตประโยคใดเปนใจความสำคัญ ๕) จัดทำแผนภาพความคิดของเรื่องที่อาน แลวเรียบเรียงเปนใจความสำคัญ ๗. ครูกำหนดเวลา ๑๐ นาที ในการทำกิจกรรม และระหวางการทำกิจกรรม นักเรียนที่มีบัตรพลังวิเศษ สามารถใชบัตรพลังได ๘. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ตัวแทนกลุมนำเสนอหนาชั้นเรียน ขั้นสรุป ๑๑. ครูและนักเรียนสนทนารวมกันประโยชนการอานจับใจความ


๗ ๑๒. นักเรียนทำใบงาน การอานจับใจความ เปนการบาน นำสงในชั่วโมงตอไป สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. PowerPoint การอานจับใจความ ๓. ใบความรู เรื่อง การอานจับใจความ ๔. ใบงาน เรื่อง การอานจับใจความ ๕ ตำนานผูสรางแบบเรียน "มานี มานะ" ที่มา https://hilight.kapook.com/view/169248 แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงาน เรื่อง การอานจับใจความ ใบงานการอานจับใจความ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๘ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง อานจับใจความ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสำคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวาใจความหรือใจความสำคัญ ซึ่ง อาจจะปรากฎอยูตามยอหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง สวนทายของยอหนาก็ได ซึ่งอาน แลวสามารถตั้งคำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม และสรุปใจความสำคัญของเรื่องได มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการ ดำเนินชีวิต จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. อานจับใจความสำคัญจากเรื่องที่กำหนดได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. เรียบเรียงใจความสำคัญจากเรื่องที่อานได ๓. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานได เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู - อานจับใจความ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๙ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงานกลุม เรื่อง การอานจับใจความ ครอบครัวพอเพียง กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหสงการบาน ใบงาน เรื่อง การอานจับใจความ ๒. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การเรียนในชั่วโมงนี้จะนำหลักการอานจับใจความมาใชกับการอาน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง จากหนังสือเรียน รายวิชาภาษาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ประถมศึกษาชั้นปที่ ๕ ขั้นสอน ๓. ครูแจกใบงานกลุม เรื่อง การอานจับใจความ ครอบครัวพอเพียง ๔. นักเรียนแบงกลุม ตามกลุมเดิมที่จัดทำบอรดบัตรคำ-ความหมาย เพื่อใหแตละกลุมอานจับใจความ ตามที่ครูกำหนด ดังนี้ - กลุมที่ ๑ หนา ๑, ๓ - กลุมที่ ๒ หนา ๔ - กลุมที่ ๓ หนา ๕ - กลุมที่ ๔ หนา ๖, ๗ ๕. ตัวแทนกลุมนำเสนอหนาชั้นเรียน เริ่มจากกลุมที่ ๑ โดยครูเปนผูตรวจสอบความถูกตอง แกไข เพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดรับความรูเนื้อหาที่ถูกตอง ๖. หลังจากจบการนำเสนอกลุมที่ ๔ ครูและนักเรียนรวมสรุปใจความสำคัญของเรื่องครอบครัวพอเพียง และใหนักเรียนรวมกันตอบคำถาม ซึ่งครูแจกบัตรพลังวิเศษ เพื่อกระตุนใหนักเรียนมีสวนรวม - การเตรียมตัวเดินทางไปพักผอนตางจังหวัด นักเรียนคิดวาตองเตรียมอะไรไปบาง - การเดินทางไปชมธรรมชาติ มีความแตกตางกับการเดินทางในศูนยการคาอยางไร - พืชผักสวนครัว ผลไมที่ปลูกในทองถิ่นของนักเรียนมีอะไรบาง ๗. ครูใหนักเรียนแตละกลุมวาดรูปตามจินตนาการ โดยมีบานอยูบนเนินเขารอบ ๆ บานปลูกดอกไม พืชผักสวนครัวและผลไม พรอมเขียนคำบรรยาย ระบายสี แลวติดที่บอรดหนาชั้นเรียน ขั้นสรุป ๘. ครูใหนักเรียนบอกสิ่งที่ไดจากการอานบทเรียน ครอบครัวพอเพียง และสามารถนำเรื่องใดในบทเรียน มาใชในชีวิตประจำวันไดอยางไร ๙. ครูกลาวปดทายใหนักเรียนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชการที่ ๙


Click to View FlipBook Version