The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย ป.๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pacharipa.soralam, 2023-07-06 02:43:39

แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ป.๕

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย ป.๕

๑๐ สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบงานกลุม เรื่อง การอานจับใจความ “ครอบครัวพอเพียง” แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงานกลุม เรื่อง การอานจับ ใจความ “ครอบครัวพอเพียง” แบบประเมินการอานจับใจ ความสำคัญ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๑๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การอานออกเสียงคำที่มีอักษรนำ เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด อักษรนำ คือ พยัญชนะ ๒ ตัว ประสมอยูในสระเดียวกัน การอานออกเสียงคำที่มีอักษรนำ จะแบงเปน อานออกเสียงรวมกันเปนพยางคเดียว เมื่อคำที่มีห นำและคำที่มี อ นำ ย และการอานออกเสียง ๒ พยางค พยางคแรกออกเสียงอะกึ่งเสียง และพยางคหลังออกเสียงตามสระที่ประสมอยูและออกเสียงตามพยัญชนะตัวหนา มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกหลักการอานออกเสียงคำที่มีอักษรนำ ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานออกเสียงคำที่มีอักษรนำ เจตคติ (A) ๓. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู การอานออกเสียงคำที่มีอักษรนำ ๑) อักษรนำ ๒) คำที่มี ห นำ และคำที่มี อ นำ ย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๑๒ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน เรื่อง คำที่มีอักษรนำ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน แลวเขียนคำวา ตลับ หลับ บนกระดาน แลวใหนักเรียนบอกถึงสิ่งที่ เหมือนกันและสิ่งที่แตกตางกันระหวางสองคำนี้ ๒. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียนทั้งสองคำเปนคำที่มีอักษรนำ โดยอักษรนำ คือ พยัญชนะสองตัวเรียงกัน ประสมสระเดียวกัน ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนการอานออกเสียงในชั่วโมงนี้ ขั้นสอน ๓. ครูใหนักเรียนแบงกลุม จำนวน ๕ กลุม กลุมละเทา ๆ กัน แลวแจกบทความ เพื่อทำกิจกรรมการคนหา คำที่มีพยัญชนะตน ๒ ตัว แลวขีดเสนใตหลังจากนั้นเขียนลงบนบัตรคำ โดยกลุมที่ ๑ รับผิดชอบยอหนาที่ ๑ ไล ลำดับจนถึงกลุมที่ ๕ รับผิดชอบยอหนาที่ ๕ กำหนดเวลา ๕ นาที ๔. เมื่อครบเวลาที่กำหนดครูใหตัวแทนกลุม นำบัตรคำติดบนกระดานตามปายกลุมที่ครูติดบนกระดาน ๕. ครูใหนักเรียนทั้งชั้นอานออกเสียง ตามบัตรคำของกลุมที่ ๑ แลวใหนักเรียนรวมกันตอบคำถาม - มีคำใดบางที่ออกเสียงเพียง ๑ พยางค ใหตัวแทนกลุมที่ ๑ นำคำที่ออกเสียงพยางคเดียวจัดกลุมอยูรวมกัน - มีคำใดบางที่ออกเสียง ๒ พยางค ใหตัวแทนกลุมที่ ๑ นำคำที่ออกเสียงพยางคเดียวจัดกลุมอยูรวมกัน กลุมที่ ๒,๓,๔,๕ ใหดำเนินกิจกรรมรูปแบบเดิมเหมือนกลุมที่ ๑ ๔. ครูใหนักเรียนศึกษาใบความรู คำที่มีอักษรนำ กำหนดเวลา ๕ นาทีหลังจากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมโดย ใชสื่อ PowerPoint อักษรนำคือพยัญชนะสองตัวเรียงกัน ประสมสระเดียวกันอานออกเสียงเปน ๒ พยางค พยัญชนะตัวหนาอานออกเสียง อะ กึ่งเสียง พยัญชนะตัวหลังอานออกเสียงตามสระที่ประสม และอานออกเสียง วรรณยุกตตามพยัญชนะตัวหนา และคำที่มี ห นำ และคำที่มี อ นำ ย จะไมอานออกเสียงตัว ห หรือ อ ที แตอาน ออกเสียงตามวรรณยุกตของตัว ห หรือ อ ที่นำ โดยครูยกตัวอยาง - อักษรสูงนำ ขยับ เฉลิม สงบ ฝรั่ง - ห นำ หงิก หญิง หนึ่ง หรือ หมอ หลับ หวี - อ นำ ย อยาง อยู อยาก


๑๓ ๕. ครูขออาสาสมัครแตละกลุม เพื่อเลือกบัตรคำที่มีอักษรนำ ๖. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง ๗. ครูใหนักเรียนอานออกเสียงรายบุคคล เริ่มตนดวยเลขที่ ๑ โดยครูเปนผูประเมินผลการอานออกเสียง ขั้นสรุป ๘. นักเรียนทำใบงาน คำที่มีอักษรนำ เปนการบาน นำสงในชั่วโมงตอไป สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบความรู เรื่อง คำที่มีอักษรนำ ๓. ใบงาน เรื่อง คำที่มีอักษรนำ ๔ บทความ ๕. PowerPoint การอานคำที่มีอักษรนำ แหลงการเรียนรู - ภาษาไทย ป.5 การอานออกเสียงคำที่มีอักษรนำ ครูธนัชา ไกรอนุพงษโครงการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT (Distance Learning Information Technology) ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=3OhNRcwSMl0 การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงาน เรื่อง คำที่มีอักษรนำ ใบงาน เรื่อง คำที่มีตัวอักษรนำ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ ประเมินการอานออกเสียง ใบกิจกรรม เรื่อง คำที่มีอักษรนำ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๑๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง อานเสริม ควายหงานกับผักหวานปา เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสำคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวาใจความหรือใจความสำคัญ ซึ่ง อาจจะปรากฎอยูตามยอหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง สวนทายของยอหนาก็ได ซึ่งอาน แลวสามารถตั้งคำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม และสรุปใจความสำคัญของเรื่องได มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการ ดำเนินชีวิต จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. อานจับใจความสำคัญจากเรื่องที่กำหนดได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. เรียบเรียงใจความสำคัญจากเรื่องที่อานได ๓. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานได เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู บทอานเสริม ควายหงานกับผักหวานปา สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย


๑๕ ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงานกลุม เรื่อง การอานจับใจความ ควายหงานกับผักหวานปา กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหสงการบานใบงาน คำที่มีอักษรนำ ๒. ครูใหนักเรียนเลนเกม กลวย ไข โดยใหนักเรียนแบงกลุม จำนวน ๒ กลุม เรียงแถวตอน โดย กลุมที่ ๑ บอกชื่ออาหารที่ขึ้นตนดวยคำวา กลวย และกลุมที่ ๒ บอกชื่ออาหารที่ขึ้นตนดวยคำวา ไข วิธีการ คนที่ ๑ บอก ชื่ออาหาร คนที่ ๒ ตองทวนชื่ออาหารของคนที่ ๑ ดวย เชน คนที่ ๑ บอกคำวา กลวยไข คนที่ ๒ ตองพูดวา กลวย ไข กลวยตานี คนที่ ๓ ตองพูดวา กลวยไข กลวยตานีกลวยหอม เปนตน กลุมที่บอกชื่อและจำไดมากที่สุดเปนฝาย ชนะ (สามารถใชบัตรพลังวิเศษได) ๓. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคำถาม เพื่อทบทวนความรูเดิม การอานจับใจความ มีขั้นตอนอยางไรบาง หลังจากนั้น เชื่อมโยงเขาสูบทเรียน บทอานเสริม ควายหงานกับผักหวานปา ขั้นสอน ๔. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน แลวแจกใบงานกลุม การอานจับใจความ ควายหงานกับ ผักหวานปา โดยใหอานจับใจความสำคัญของเรื่อง กำหนดเวลา ๑๕ นาที ตามคำชี้แจงตามใบงาน ๑) อานในใจ ๒) คนหาคำยากและความหมาย ๓) ตั้งคำถามใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม ๔) เขียนแผนภาพความคิด ๕) เขียนเรียบเรียงใจความสำคัญ ๕. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูตั้งคำถาม - มีคำใดบางเปนคำยากที่นักเรียนไมรูความหมาย - ตัวละครของเรื่องนี้มีใครบาง เหตุการณเกิดที่ใด - แผนภาพความคิดของเรื่องนี้เปนอยางไร ขออาสาสมัครออกมาวาดหนาชั้นเรียน โดยครูตรวจสอบ และแกไขเพิ่มเติม - ใจความสำคัญคืออะไร ๖. ครูใหนักเรียนวาดภาพ เรื่อง ควายหงานกับผักหวานปา พรอมเขียนคำบรรยาย ๗. ครูเดินดูผลงานของนักเรียน และใหนักเรียนติดผลงานของนักเรียนที่บอรดหนาชั้นเรียน


๑๖ ขั้นสรุป ๘. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาสรุปใจความสำคัญและขอคิดที่ไดจากเรื่อง ควายหงานกับผักหวานปา สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบงานกลุม เรื่อง ควายหงานกับผักหวานปา ๓. เกม กลวย ไข แหลงการเรียนรู - หนังสือพัฒนาทักษะภาษา พัฒนาความคิดดวยกิจกรรมกรเลน ประกอบการสอนภาษาไทย พิมพครั้งที่ ๑๐ โดยอัจฉรา ชีวพันธ การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงานกลุม เรื่อง ควายหงานกับผักหวานปา แบบประเมินการอานจับใจความ สำคัญ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๑๗ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การพูดและเขียนแสดงความรูสึก เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การพูดและเขียนแสดงความรูสึก เปนการพูดสื่อสารตอผูดูผูฟงและผูเขียนสื่อสารตอผูอานในโอกาสตาง ๆ เชน การแสดงความยินดี แสดงความเสียใจ ฯลฯ มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐานการเรียนรูท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐานการเรียนรูท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ป.๕/๖ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นไดตรงตามเจตนา ท ๒.๑ ป.๕/๙ มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ ป.๕/๑ พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ ป.๕/๕ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกหลักการพูดและเขียนแสดงความรูสึกได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. พูดแสดงความรูสึกได ๓. เขียนแสดงความรูสึกได ๔. มีมารยาทในการพูดและการเขียน เจตคติ (A) ๕. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู ๑. การพูดและเขียนแสดงความรูสึก ๒. มารยาทการเขียน


๑๘ ๓. มารยาทการฟง การดู และการพูด สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - การพูดแสดงความรูสึก - ใบงาน การเขียนแสดงความรูสึก - แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และเปดวิดีโอ เรื่องของแมที่ตองพูด..... ใชเวลา ๓.๔๔ นาที หลังจากรับชม วิดีทัศน ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น - นักเรียนรูสึกอยางไร - ผูพูดถายทอดความรูสึกออกมาเปนอยางไร - การใชคำและภาษาสุภาพหรือไม ออกเสียงชัดเจนหรือไม ๒. ครูสรุปจากวิดีโอผูพูดถายทอดความรูสึกใหผูฟงรูสึกซาบซึ้งกับความรักที่แมมีตอผูพูด แตผูพูดอาจจะ ออกเสียงไมชัดเจนบางคำ เชน คำควบกล้ำ แตเปนการพูดที่มีการถายทอดความรูสึกผานออกมาทางสีหนาและ แววตา แลวครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียนการพูดแสดงความรูสึก ขั้นสอน ๓. ครูและนักเรียนสนทนารวมกันถึง - ขอปฏิบัติในการพูดและเขียนแสดงความรูสึก - มารยาทการฟง การดูและการพูด - มารยาทการเขียน


๑๙ ๔. ครูใหนักเรียนทุกคน พูดความรูสึกจากภาพที่กำหนดแบบไมมีการเตรียมการลวงหนา ๕. หลังจากนักเรียนทุกคนไดพูดแสดงความรูสึกแบบไมมีการเตรียมการ ครูกำหนดเวลา ๑๐ นาที ให นักเรียนเตรียมตัวในสิ่งที่จะพูด กำหนดเวลาใหพูดหนาชั้นเรียน คนละไมเกิน ๕ นาที ๖. ครูกลาวชมเชยในการรวมกิจกรรม ครูใหนักเรียนอานตัวอยางการเขียนแสดงความรูสึก แลวให นักเรียนแสดงความคิดเห็น ระหวางการพูดกับการเขียนแสดงความรูสึกมีสิ่งใดที่แตกตางกัน ๗. ครูมอบหมายใหนักเรียนทำใบงาน เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึก เปนการบานนำสงในชั่วโมงตอไป ๘. ครูเปดวิดีโอ โฆษณาชิ้นแรก ของ กระดาษ Double A เพื่อเพิ่มความสนุกสนานและสรางบรรยากาศที่ ดีในชั้นเรียน ขั้นสรุป ๙. ครูและนักเรียนสนทนาสรุปเรื่องหลักการพูดและเขียนแสดงความรูสึก รวมทั้งมารยาทการพูด การฟง และการเขียน ๑๐. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง จำนวน ๑๐ ขอ โดยกากบาทเลือก คำตอบที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาทีเมื่อครบเวลาที่กำหนดสงครูเพื่อประเมินผล สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบความรู เรื่อง มารยาทในการฟง การดู และการพูด ๓. ภาพตัวอยาง เพื่อพูดแสดงความรูสึก ๔. ตัวอยางการเขียนแสดงความรูสึก ๔. วิดีโอ เรื่องของแมที่ตองพูด..... ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=fWW6Sjy-nm8 ๕. วิดีโอ โฆษณาชิ้นแรก ของ กระดาษ Double A ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=TgmS2yE21Ig ๖. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ประเมิน การพูดแสดงความรูสึก แบบประเมินการพูดแสดงความรูสึก รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ ใบงาน เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึก แบบประเมินการเขียน แสดงความรูสึก รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ


๒๐ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ครอบครัวพอเพียง แบบทดสอบหลังเรียนสูง กวากอนเรียน สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๒๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย (วรรณคดีลำนำ) เวลา ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง อานจับใจความ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย เวลา ๒ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสำคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวาใจความหรือใจความสำคัญ ซึ่ง อาจจะปรากฎอยูตามยอหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง สวนทายของยอหนาก็ได ซึ่งอาน แลวสามารถตั้งคำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม และสรุปใจความสำคัญของเรื่องได มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานการเรียนรูท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยาง เห็นคุณคาและนำมาประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบุความรูและขอคิดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ นำไปใชในชีวิตจริง ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม สาระการเรียนรู - อานจับใจความ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย - วรรณคดี เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายของวรรณคดีได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. สรุปใจความจากเรื่องที่อานได ๓. บอกขอคิดจากเรื่องที่อานได เจตคติ (A) ๔. นำขอคิดจากเรื่องที่อานนำไปใชในชีวิตจริงได


๒๒ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๒. ใบงาน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และแจงใหนักเรียนทราบการเรียนการสอนในวันนี้เรื่อง กำเนิดผิดพนคน ทั้งหลาย ใชหนังสือ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. นักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย จำนวน ๑๐ ขอ โดยกากบาทเลือก คำตอบที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาที เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูใหนักเรียนสลับแบบทดสอบกอนเรียน แลว ตรวจแบบทดสอบกอนเรียนตามที่ครูเฉลย พรอมบันทึกคะแนนที่ไดนำสงครูเพื่อประเมินผล ขั้นสอน ๓. นักเรียนแบงกลุม จำนวน ๕ กลุม กลุมละเทาๆ กัน ๔. ครูใหแตละกลุมเปดหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้น ประถมศึกษาปที่ ๕ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ใชวิธีการอานสำรวจโดยกวาดสายตาเฉพาะตอนที่สำคัญ (ยังไมตองอานบทรอยกรอง วรรณคดี เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข) เปนการอานเร็ว กำหนดเวลา ๕ นาที ๕. เมื่อครบเวลาที่กำหนดครูและนักเรียนสนทนารวมกัน ดังนี้ - ตัวละครหลักคือใคร - ชาลีกำลังทำอะไร - ชาลีเจอใคร แลวบุคคลนั้นมีลักษณะอยางไร


๒๓ - ชาลีกับแกละเจอกันไดอยางไร - บทรอยกรองในเรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย มาจากวรรณคดีเรื่องใด ๖. ครูอธิบายเพิ่มเติม เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ตอนที่เปนบทรอยกรองนำมาจากวรรณคดีกลอน บทละคร เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข เปนพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานนภาลัย รัชกาลที่ ๒ ๗. ครูใหนักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน หนาที่ ๓ เฉพาะบทรอยแกว แลวสนทนารวมกัน - เหตุการณเรื่องราวเกิดที่เมืองใด - พระโอรสของทาวยศวิมลและนางจันทเทวี มีลักษณะเปนอยางไร - ใครเปนผูยุยงใหโหรทำนายวาพระโอรสที่ทำใหบานเมืองวิบัติ - ผลสุดทายทาวยศวิมลทำอยางไรกับนางจันทเทวีและพระโอรส ๘. ครูแจกใบสรุป ใจความสำคัญ เพื่อใหนักเรียนไดฝกการเขียนสรุปสั้นๆ ตามที่นักเรียนเขาใจ ๙. ครูใหนักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรอง วรรณคดี สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังขหนาที่ ๓ – ๖ โดย อานออกเสียงแบบปกติ หลังจากนั้นใหนักเรียนเขียนสรุปความ กำหนดเวลา ๑๐ นาที โดยครูแนะนำใหนักเรียนได ฝกการเขียนสรุปสั้นๆ แตละบทตามที่นักเรียนเขาใจ เชน บทแรก เริ่มตน “วาพลางยกเอาลูกนอย… แลวจบที่ กำนัลจันทาก็พาไป” นักเรียนอาจเขียนสรุปสั้น ๆ วา นางจันทเทวีอุมพระโอรส แลวล่ำลาพระสามีดวยความเสียใจ เพื่อออกจากเมืองยศวิมล ๑๐. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูและนักเรียนสนทนารวมกัน - นางจันทเทวีเจอใครในปา - สรุปวาตากับยายไดชวยเหลือนางจันทเทวีกับพระโอรสหรือไม ชวยเหลืออยางไร ขั้นสรุป ๑๑. ครูแจงใหนักเรียนทราบ ชั่วโมงตอไปจะรวมกันอานจับใจความสำคัญตอ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และตั้งคำถามเนื้อความเดิมครั้งที่แลวอานเพื่อจับใจความที่หนาใด แลว เหตุการณจบอยูที่สถานการณใด ๒. จากการเรียนครั้งที่แลวนางจันทเทวีกับพระโอรส (พระสังข) ไดรับความชวยเหลือจากตายายใหอาศัย อยูดวยที่กระทอมในปา ครูเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาการอานจับใจความตอ เริ่มตนหนาที่ ๗ หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ขั้นสอน ๓. นักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน หนาที่ ๗ - ๙ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อ ชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕


๒๔ ๔. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปความ กำหนดเวลา ๑๐ นาที หลังจากนั้นครูและนักเรียนสนทนารวมกัน - นางจันทเทวีและพระสังขอยูกับตายายผานมากี่ป - แลวจากเนื้อหานักเรียนคิดวานางจันทเทวีเปนคนอยางไร ขยันหรือเกียจคราน - แลวเหตุใดพระสังขถึงออกจากหอยสังข ๕. นักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน หนาที่ ๑๐ - ๑๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษา เพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๖. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปความ กำหนดเวลา ๑๐ นาทีหลังจากนั้นครูและนักเรียนสนทนารวมกัน นาง จันทเทวีทำอยางไรกับหอยสังขแลวผลสุดทายเปนอยางไร ๗. ครูใหแตละกลุมเขียนขอคิดอะไรบางที่ไดจากเรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ขั้นสรุป ๘. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย เปนการบานนำสงในชั่วโมงตอไป ๙. ครูและนักเรียนสนทนาสรุปวรรณคดีคืออะไร มีลักษณะเปนอยางไร แลววรรณคดี เรื่อง สังขทอง ใคร คือผูแตง และนักเรียนไดขอคิดอะไรบางจากตอนกำเนิดพระสังขทอง สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบงาน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๓. ใบสรุป ใจความสำคัญ แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการประเมิน บอกความหมายของวรรณคดีได ตรวจใบงาน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ใบงาน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สรุปใจความจากเรื่องที่อานได บอกขอคิดจากเรื่องที่อานได สังเกตพฤติกรรมการมี สวนรวมในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ นำขอคิดจากเรื่องที่อานนำไปใช ในชีวิตจริงได สังเกตพฤติกรรมความมี วินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่น การทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๒๕ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย (วรรณคดีลำนำ) เวลา ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การคนควาและศึกษาความหมายของคำ กลุมคำ สำนวนที่ไมเขาใจในบทเรียน นับวาเปนสวนสำคัญใน การอานจับใจความสำคัญหรือตีความไดดี ซึ่งจะเกิดประโยชนตอผูเรียนและเกิดการพัฒนาดานการอาน มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำประโยคและขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายของคำในบทเรียนไดถูกตอง ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานและเขียนคำในบทเรียนไดถูกตอง เจตคติ (A) ๓. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู บอกความหมายของคำในบทเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู


๒๖ ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนนั่งประจำกลุมเดิม ๒. ครูตั้งคำถามทำไมจึงตั้งชื่อเรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย เพื่อตรวจสอบและทบทวนความรูเดิม แลว เชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การทำกิจกรรมกลุม โดยใหคนหาคำที่นักเรียนไมทราบความหมายและคำราชาศัพท ขั้นสอน ๔. ครูแจกใบงานกลุม เรื่อง คำ กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๕. ครูชี้แจงใหนักเรียนทราบ ใหนักเรียนคนหาคำ พรอมความหมายเขียนลงในตารางซายมือ และคำราชา ศัพทเขียนลงตารางขวามือ กำหนดเวลา ๑๕ นาที ๖. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูตรวจสอบความรูของนักเรียน ดวยการใหนักเรียนอานออกเสียงและบอก ความหมายคำที่แสดงบน สื่อ PowerPoint กลุมที่ตอบถูกจะไดรับไมไอศกรีม กลุมใดไดรับไมไอศกรีมมากที่สุดจะ ไดรับบัตรพลังวิเศษ ๗. ครูใหแตละกลุมเลือกบทรอยกรองที่มีเนื้อหากลาวถึงความรักระหวางแมกับลูก แลวนำเสนอหนาชั้น เรียน เพื่อบอกเหตุผลวาทำไมถึงเลือกบทกลอนนี้ ๘. ครูกลามเชยในการรวมกิจกรรม ขั้นสรุป ๙. ครูใหนักเรียนสงใบงานกลุม เรื่อง คำ กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๓. PowerPoint คำ กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๔. ไมไอศกรีม ๕. บัตรพลังวิเศษ แหลงการเรียนรู -


๒๗ การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการประเมิน บอกความหมายของคำใน บทเรียนไดถูกตอง ตรวจใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียน กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียน กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ อานและเขียนคำในบทเรียน ไดถูกตอง สังเกตพฤติกรรมการมีสวน รวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ มีความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการ ทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๒๘ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย (วรรณคดีลำนำ) เวลา ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การอานทำนองเสนาะ สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข เวลา ๒ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานออกเสียงบทรอยกรองตองอานออกเสียงใหชัดเจนและถูกตองตามอักขรวิธี อานใหถูกตองตาม ฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภท การอานทำนองเสนาะตองรูจักทอดจังหวะ เอื้อนเสียงหรือหลบเสียง เสียงไมเบาหรือดังเกินไป รูจักเนนเสียงแสดงอารมณใหเปนไปตามเนื้อเรื่อง มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกหลักการอานออกเสียงบทรอยกรองได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานออกเสียงบทรอยกรอง เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข เปนทำนองเสนาะไดถูกตอง เจตคติ (A) ๓. อธิบายคุณคาของการอานออกเสียงบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะได สาระการเรียนรู ๑. การอานออกเสียงบทรอยกรอง ๒. การอานออกเสียงกลอนบทละคร สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๒๙ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน การอานออกเสียงทำนองเสนาะ เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำ ๓. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนนั่งประจำกลุมเดิม ๔. ครูใชสื่อ PowerPoint แลวใหนักเรียนบอกวาดานซายหรือดานขวา เปนบทรอยกรอง นักเรียนทราบ ไดอยางไร ๕. ครูอานออกเสียงบทรอยกรอง จำนวน ๒ ครั้ง โดยครั้งที่ ๑ อานออกเสียงแบบธรรมดาเหมือนกับการ อานบทรอยแกว แตการอานครั้งที่ ๒ อานออกเสียงแบบทำนองเสนาะ ครูและนักเรียนสนทนารวมกัน การอานทั้ง สองครั้งมีอะไรที่เหมือนกัน และมีอะไรที่ตางกัน แลวเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การอานออกเสียงบทรอยกรอง สามารถอานไดทั้งแบบปกติและ แบบทำนองเสนาะตามคำประพันธที่เปนโคลง ฉันท กาพย กลอน ขั้นสอน ๔. ครูแจกใบความรู เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรอง แลวสนทนารวมกันหลักการอานออกเสียงบท รอยกรอง โดยครูใชสื่อ PowerPoint ประกอบการสอน ๕. ครูบรรยายโดยใชสื่อ PowerPoint ในหัวขอ กลอนบทละคร มีลักษณะบทกลอนเปนอยางไร แลวมีคำ ขึ้นตนบทละครอยางไร หลังจากนั้นใหนักเรียนคนหาจาก เรื่อง สังขทอง ตอนกำเนิดพระสังข จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ มีบทละครใดที่ขึ้นตนดวย “มาจะกลาวบทไป เมื่อนั้น และบัดนั้น” ๖. ครูบรรยายโดยใชสื่อ PowerPoint ในหัวขอจังหวะวรรคตอนในการอาน แลวใหนักเรียนทำ เครื่องหมายวรรคตอน / หนาที่ ๓ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้น ประถมศึกษาปที่ ๕ ๗. ครูเฉลย แลวสาธิตการอานออกเสียงทำนองเสนาะใหนักเรียนฟง หลังจากนั้นใหอานออกเสียงทำนอง เสนาะพรอมกัน โดยครูแนะนำแกไขใหถูกตองในเรื่องการเวนวรรค การทอดเสียง จังหวะในการอาน และการออก เสียงคำที่ถูกตองและชัดเจน ๘. ครูใหนักเรียนฝกอานออกเสียงทำนองเสนาะ หนาที่ ๘ โดยในชั่วโมงตอไปจะใหนักเรียนอานออกเสียง หนาชั้นเรียนทุกคน


๓๐ ขั้นสรุป ๙. ครูและนักเรียนสนทนารวมกัน - ทำไมถึงตองมีการอานออกเสียงบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ - การอานออกเสียงแบบปกติกับแบบทำนองเสนาะใหความรูสึกที่ตางกันหรือไม ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และสอบถามการฝกอานออกเสียงทำนองเสนาะเปนอยางไร ๒. ครูเปดวิดีโอ สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข (ทำนองเสนาะ) แลวเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน นักเรียนทุก คนจะไดอานออกเสียง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข (ทำนองเสนาะ) ขั้นสอน ๓. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอานออกเสียงทำนองเสนาะ หนาที่ ๘ โดยเริ่มจากกลุมที่ ๑ ไปจนถึง กลุม สุดทาย โดยครูแนะนำเพื่อใหนักเรียนอานออกเสียงไดถูกตอง ๔. ครูใหนักเรียนอานออกเสียงหนาชั้นเรียน เริ่มจากเลขที่ ๑ โดยครูประเมินผลการอาน ๕. ครูกลาวชมเชยนักเรียนทุกคน ๖. ครูแจงใหนักเรียนเตรียมตัวแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังขโดยใหนักเรียน แบงกลุม จำนวน ๒ กลุม กลุมละเทา ๆ กัน ซึ่งในชั่วโมงตอไปจะใหนักเรียนไดซอมกอนแสดงจริงหนาชั้นเรียน ทั้งนี้เพื่อความสมจริงนักเรียนอาจเตรียมอุปกรณ เสื้อผา โดยเปนสิ่งของที่นักเรียนมีอยูแลว หามซื้อเด็ดขาด ขั้นสรุป ๗. ครูและนักเรียนสนทนารวมกันคุณคาการอานออกเสียงบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะแลวควรที่จะ อนุรักษและสืบตอหรือไม สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบความรู เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรอง ๓. PowerPoint การอานออกเสียงบทรอยกรอง ๔. วิดีโอ เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข (ทำนองเสนาะ) ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=UaY4df9F4DI&t=35s แหลงการเรียนรู - มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ ที่มา https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/2043


๓๑ ๑๐. การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ บอกหลักการอานออกเสียงบท รอยกรองได ประเมินการอานทำนองเสนาะ เรื่อง สังขทอง ตอนกำเนิดพระ สังข แบบประเมินการอานออก เสียงทำนองเสนาะ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ อานออกเสียงบทรอยกรอง เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระ สังข เปนทำนองเสนาะได ถูกตอง สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ อธิบายคุณคาของการอานออก เสียงบทรอยกรองเปนทำนอง เสนาะได สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ เรียนรูและมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๓๒ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย (วรรณคดีลำนำ) เวลา ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง การแสดงบทบาทสมมติ เวลา ๑ ชั่วโมง เรื่อง สังขทอง ตอนกำเนิดพระสังข สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การแสดงบทบาทสมมติแบบละคร เปนการแสดงบทบาทตามเรื่องราวที่มีอยูแลว ผูแสดงจะไดทราบ เรื่องราวทั้งหมด แตจะไมไดรับบทที่กำหนดใหแสดงตามอยางละเอียด ผูแสดงจะตองแสดงออกตามความคิดของ ตน และดำเนินเรื่องไปตามทองเรื่องที่กำหนดไวแลวซึ่งมีลักษณะเหมือนละคร มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานการเรียนรูท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยาง เห็นคุณคาและนำมาประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน จุดประสงคการเรียนรู ความรู(K) ๑. เขาใจเนื้อเรื่องสังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. แสดงบทบาทสมมติโดยถายทอดจากเรื่องที่อานได เจตคติ (A) ๓. เห็นคุณคาวรรณคดี สาระการเรียนรู - วรรณคดี เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๓๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. การแสดงบทบาทสมมติตาม เรื่อง สังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข ๒. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และสอบถามการเตรียมตัวแสดงละครเปนอยางไรบาง ๒. ครูเปดวิดีโอ เรื่อง วิดีโอ เรื่อง นิทาน เรื่อง กำเนิดสังขทอง เพื่อทบทวนเนื้อหาใจความสำคัญ ขั้นสอน ๓. ครูใหนักเรียนทั้งสองกลุมไดซอมเพื่อแสดงจริงหนาชั้นเรียน กำหนดเวลาการซอม ๑๕ นาทีเมื่อครบ เวลาที่กำหนด แตละกลุมแสดงหนาชั้นเรียน โดยครูประเมินผลการแสดง ๔. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย จำนวน ๑๐ ขอ โดยกากบาทเลือก คำตอบที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาทีเมื่อครบเวลาที่กำหนดสงครูเพื่อประเมินผล ขั้นสรุป ๕. ครูกลาวชมชมนักเรียน แลวสนทนารวมกัน โดยครูขอความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการแสดง บทบาทสมมติหรือการแสดงละคร เพื่อนำไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตอไป โดยมีคำถามดังรี้ - นักเรียนคิดวาการแสดงบทบาทสมมติหรือแสดงละครทำใหนักเรียนจำเนื้อหาไดดีขึ้นหรือไม - นักเรียนชอบการแสดงบทบาทสมมติหรือไม สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย ๓. วิดีโอ เรื่อง นิทาน เรื่อง กำเนิดสังขทอง ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=qkafG3_vssE


๓๔ แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ เขาใจเนื้อเรื่องสังขทอง ตอน กำเนิดพระสังข ประเมินการแสดงบทบาท สมมติ แบบประเมินบทบาทสมมติ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ แสดงบทบาทสมมติโดย ถายทอดจากเรื่องที่อานได ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคนทั้งหลาย แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำเนิดผิดพนคน ทั้งหลาย แบบทดสอบหลัง เรียนสูงกวากอน เรียน เห็นคุณคาวรรณคดี สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๓๕ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนคนละไม คนละมือ เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การคนควาและศึกษาความหมายของคำ กลุมคำ สำนวนที่ไมเขาใจในบทเรียน นับวาเปนสวนสำคัญใน การอานจับใจความสำคัญหรือตีความไดดี ซึ่งจะเกิดประโยชนตอผูเรียนและเกิดการพัฒนาดานการอาน มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำประโยคและขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายของคำในบทเรียนไดถูกตอง ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานและเขียนคำในบทเรียนไดถูกตอง ๓. แตงประโยคโดยใชคำในบทเรียนได เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู บอกความหมายของคำในบทเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๓๖ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง คนละไม คนละมือ ๒. ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนคนละไม คนละมือ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง คนละไม คนละมือ โดย กากบาทเลือกคำตอบที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาที เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูใหนักเรียนสลับแบบทดสอบกอน เรียน แลวตรวจแบบทดสอบกอนเรียนตามที่ครูเฉลย พรอมบันทึกคะแนนที่ได นำสงครูเพื่อประเมินผล ๒. ครูใหนักเรียนเลนเกม แขงขันเขียนคำ โดยใหนักเรียนแบงเปน ๒ กลุม กลุมละเทาๆ กัน ยืนเขาแถว ตอน หางจากกระดานประมาณ ๓ เมตร ผูเลนถือปากกาไวทบอรดไวคนละ ๑ แทง ครูเขียนตัวอักษรบนกระดาน ตรงกับผูเลนคนที่ ๑ ทั้งสองกลุม ครูใหสัญญาณเริ่มเลน ผูเลนคนแรกวิ่งไปที่กระดาน และเติมอักษรไปอีกหนึ่งตัว เมื่อเสร็จแลววิ่งกลับมาสงปากกาไวทบอรดใหคนที่ ๒ แลวไปตอทายแถว คนที่ ๒ จะตองวิ่งออกไปเขียน สระ, พยัญชนะหรือวรรณยุกตก็ได แตเพียงหนึ่งอยางเทานั้น ดำเนินการเลนไปเชนนี้เรื่อย ๆ จนผูเลนทุกคนไดเติมอักษร ประกอบเปนคำที่สมบูรณ กลุมใดเสร็จกอนและสะกดถูกตอง เปนผูชนะและไดรับบัตรพลังวิเศษ ๓. ครูสรุปผลการแขงขัน ซึ่งเกม แขงขันเขียนคำ มีจุดมุงหมายเพื่อใหนักเรียนเพิ่มทักษะการสะกดคำ แลวเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การรูความหมายของคำยากในบทเรียน ขั้นสอน ๔. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน เพื่อคนหาคำยาก คำที่ไมรูความหมาย หลังจากไดกลุมแลวนั้น ใหเลือกหัวหนากลุม ๕. ครูแจกใบงานกลุม เรื่อง คำ คนละไม คนละมือ แลวใหนักเรียนเขียนชื่อสมาชิกในกลุมและหนาที่ รับผิดชอบ เชน นาย ก กุกไก รับผิดชอบ คนหาคำและความหมายหนาที่ ๑๙ เปนตน เพื่อฝกใหนักเรียนทำงาน เปนทีม มีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน ๖. ครูชี้แจงใบงานกลุม ใหนักเรียนคนหาคำและความหมาย หนวยการเรียนที่ ๓ คนละไม คนละมือ จาก หนังสือเรียน รายวิชาภาษาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาชั้นปที่ ๕ หนา ๑๙ – ๒๖ กำหนดเวลา ๑๕ นาที


๓๗ ๗. ครูทบทวนวิธีการคนหาความหมาย เริ่มตนใหนักเรียนอานในใจแลวขีดเสนใตคำยาก แลวอานบริบท ประโยคกอนหนาหรือตามหลัง หากยังไมสามารถบอกความหมายได ใหยกมือเพื่อขอใชพจนานุกรม แลวเขียน ความหมายลงบัตรความหมาย ๘. ระหวางดำเนินการทำใบงานกลุม นักเรียนที่มีบัตรพลังวิเศษสามารถใชบัตรได ๙. ครูขออาสาสมัครตัวแทนกลุมนำเสนอผลงานอานคำยากหนาชั้นเรียน โดยครูใหอานคำและ ความหมาย แลวสอบถามกลุมอื่น ๆ มีคำคำนี้หรือไมความหมายตรงกันหรือไม ๑๐. หลังจากจบการนำเสนอของกลุมอาสาสมัคร ครูสอบถามมีกลุมใดที่มีคำเพิ่มเติมนอกเหนือจากนี้ หรือไม ขั้นสรุป ๑๑. ครูตรวจสอบความรูนักเรียน โดยใหนักเรียนบอกความหมายจากบัตรคำที่ครูจัดเตรียมไว ๑๒. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง คำ คนละไม คนละมือ เปนการบาน นำสงในชั่วโมงตอไป สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง คนละไม คนละมือ ๓. ใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนคนละไม คนละมือ ๔. ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนคนละไม คนละมือ ๕. บัตรพลังวิเศษ ๖. เกม แขงขันเขียนคำ ๗. บัตรคำ แหลงการเรียนรู - หนังสือพัฒนาทักษะภาษา พัฒนาความคิดดวยกิจกรรมกรเลน ประกอบการสอนภาษาไทย พิมพครั้งที่ ๑๐ โดยอัจฉรา ชีวพันธ


๓๘ ๑๐. การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการประเมิน บอกความหมายของคำ ในบทเรียนไดถูกตอง ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง คนละไมคนละมือ แบบทดสอบกอนเรียน เรื่องคนละไมคนละมือ คะแนนแบบทดสอบ หลังเรียนสูงกวากอน เรียน อานและเขียนคำใน บทเรียนไดถูกตอง ตรวจใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนคน ละไม คนละมือ ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียน คนละไม คนละมือ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ แตงประโยคโดยใชคำใน บทเรียนได ตรวจใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนคน ละไม คนละมือ ใบงานกลุม เรื่อง ความหมายคำ บทเรียน คนละไม คนละมือ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ ความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมการมีสวน รวมในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ ความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการ ทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๓๙ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง การอานจับใจความ คนละไม คนละมือ เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสำคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวาใจความหรือใจความสำคัญ ซึ่ง อาจจะปรากฎอยูตามยอหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง สวนทายของยอหนาก็ได ซึ่งอาน แลวสามารถตั้งคำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม และสรุปใจความสำคัญของเรื่องได มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการ ดำเนินชีวิต จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. อานจับใจความสำคัญจากเรื่องที่กำหนดได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. เรียบเรียงใจความสำคัญจากเรื่องที่อานได ๓. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานได เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู อานจับใจความ เรื่อง คนละไม คนละมือ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๔๐ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานกลุม เรื่อง อานจับใจความ คนละไม คนละมือ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนสงการบาน แลวนั่งประจำกลุมเดิม ๒. ครูและนักเรียนสนทนารวมกันหลักการอานจับใจความ มีขั้นตอนอยางไร แลวเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การอานจับใจความ เรื่อง คนละไม คนละมือ จากหนังสือเรียน รายวิชาภาษาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาชั้นปที่ ๕ ขั้นสอน ๓. ครูแจกใบกิจกรรมกลุม อานจับใจความ คนละไม คนละมือ ใหแตละกลุม เพื่อเขียนเรียบเรียงใจความ สำคัญตามที่ไดรับมอบหมาย กำหนดเวลา ๑๐ นาทีในระหวางการดำเนินกิจกรรมนักเรียนสามารถใชบัตรพลัง วิเศษได ๔. ตัวแทนกลุมนำเสนอหนาชั้นเรียน เริ่มจากกลุมที่ ๑ โดยครูเปนผูตรวจสอบความถูกตอง แกไขเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดรับความรูเนื้อหาที่ถูกตอง ๕. หลังจากจบการนำเสนอกลุมที่ ๔ ครูและนักเรียนรวมสรุปใจความสำคัญดวยการเลนเกม ชองนำโชค โดยใหนักเรียนแตละกลุมแขงขันกัน เชน กลุม ๑ แขงขัน กลุม ๒, กลุม ๓ แขงขัน กับ กลุม ๔ เปนตน ๖. ครูชี้แจงวิธีการเลนเกม ชองนำโชค ครูแจกบัตรตาราง ๓x๓ ชอง ใหแตละคูที่แขงขัน ครูอานคำถาม กลุมใดยกมือกอนจะไดสิทธิตอบคำถามกอน กรณีตอบถูกไดสิทธิเขียนสัญลักษณ อาจเปน กากบาท วงกลม หัวใจ ขึ้นอยูกับมติกลุม แลวเขียนสัญลักษณลงชองตาราง ดำเนินการเลนไปเรื่อย ๆ เมื่อครบ ๓ ชองตามแนวตั้ง แนวนอน หรือแนวเสนทแยง จะเปนผูชนะ โดยมีคำถามดังตอไปนี้ - พอของตั้มเปนอาจารยสอนที่ไหน - พอของตั้ม รับบริจาคสิ่งใดจากชาวบาน - พอของตั้มรับบริจาคของจากชาวบานเพื่อไปทำสิ่งใด - มหาวิทยาลัยนำน้ำมันพืชที่ใชแลวไปทำอะไร - ครอบครัวของตั้มเมื่อจัดงานวันเกิดแลว เขามีรายการทำอะไรตอ - ผูใหญบริจาคโลหิต แตตั้มอยากทำอะไร


๔๑ ขั้นสรุป ๗. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหาคนละไม คนละมือ และขอคิดที่ไดจากบทเรียน นักเรียนจะเลือกสิ่ง ใดบางนำเปนแนวทางในการดำเนินชีวิต สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบงานกลุม เรื่อง อานจับใจความ คนละไม คนละมือ ๓. บัตรพลังวิเศษ ๔. เกม ชองนำโชค แหลงการเรียนรู - หนังสือพัฒนาทักษะภาษา พัฒนาความคิดดวยกิจกรรมกรเลน ประกอบการสอนภาษาไทย พิมพครั้งที่ ๑๐ โดยอัจฉรา ชีวพันธ การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการประเมิน อานจับใจความสำคัญจาก เรื่องที่กำหนดได ตรวจใบงานกลุม เรื่อง อาน จับใจความ คนละไมคนละ มือ แบบประเมินการอานจับใจ ความสำคัญ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ -เรียบเรียงใจความสำคัญ จากเรื่องที่อานได -แยกขอเท็จจริงและ ขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานได สังเกตพฤติกรรมการมีสวน รวมในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ มีความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการ ทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๔๒ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง การอานออกเสียงคำควบกล้ำ เวลา ๒ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด คำควบกล้ำ หมายถึง คำที่มีพยัญชนะที่ควบหรือกล้ำกับตัว ร ล ว ออกเสียงควบหรือกล้ำเปนสระเดียวกัน มี ๒ ชนิด คือ คำควบแท และคำควบไมแท มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง ท ๑.๑ ป.๕/๘ มีมารยาทในการอาน จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. แยกคำควบแทและคำควบไมแทได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานออกเสียงคำควบกล้ำไดถูกตอง เจตคติ (A) ๓. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู การอานออกเสียงคำควบกล้ำ ๑) คำควบแท ๒) คำควบไมแท สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย


๔๓ ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. ใบงาน เรื่อง คำควบกล้ำ ๒. การอานออกเสียงคำควบกล้ำ กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน แลวใหนักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน คำวา กราบ ทราบ ตามสื่อ PowerPoint แลวสนทนารวมกันทั้งสองคำตางกันอยางไร ๒. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน คำควบกล้ำ โดยคำวา กราบ เปนคำควบแท และ ทราบ เปนคำควบไมแท ขั้นสอน ๓. ครูใหนักเรียนแบงกลุม จำนวน ๕ กลุม กลุมละเทา ๆ กัน แลวแจกใบความรูคำควบกล้ำ ๔. ครูใหนักเรียนแตละกลุมทำกิจกรรม “ทำไมตองออกเสียงคำควบกล้ำ” โดยเขียนลงกระดาษ A๔ โดย ครูยกตัวอยาง เชน “การออกเสียงคำควบกล้ำที่ชัดเจนและถูกตอง ทำใหไดเขาใจความหมายของคำที่ถูกตอง เชน กราบ เมื่อไมออกเสียงคำควบกล้ำจะเปน กาบ ซึ่งหมายถึง กาบมะพราว” เปนตน ๕. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ๑๐ นาที ตัวแทนกลุมนำเสนอหนาชั้นเรียน ๖. ครูกลาวชมเชยนักเรียนในการรวมกิจกรรม เมื่อทราบเหตุผลที่จะตองออกเสียงคำควบกล้ำแลว นักเรียนจะตองบอกไดวาคำควบกล้ำ เปน คำควบแท หรือ คำควบไมแท เพื่อการออกเสียงที่ถูกตอง ครูใชสื่อ PowerPoint ในการยกตัวอยางและใหนักเรียนอานออกเสียงตาม ๗. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง คำควบกล้ำ กำหนดเวลา ๑๐ นาที ๘. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยใบงาน ขั้นสรุป ๙. นักเรียนอานออกเสียงใบงาน เรื่อง คำควบกล้ำ พรอมกัน ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และแจงใหนักเรียนทราบวันนี้จะใหนักเรียนทุกคนไดอานออกเสียงคำควบ กล้ำ โดยจะมีการประเมินผลการอานออกเสียง ขั้นสอน ๒. ครูแจกใบกิจกรรมกลุม แลวใหนักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน โดยครูแนะนำ พรอมกับสาธิตการอาน ๓. ครูใหนักเรียนไดฝกซอมการอาน กำหนดเวลา ๕ นาที เมื่อครบเวลาที่กำหนด เลขที่ ๑ อานออกเสียง หนาชั้นเรียน โดยครูประเมินผล


๔๔ ๔. ครูใหนักเรียนเลือกเพื่อนที่อานออกเสียงที่ชัดเจนที่สุด โดยครูมอบรางวัลบัตรพลังวิเศษ ขั้นสรุป ๕. ครูขอใหนักเรียนออกเสียงคำควบกล้ำใหชัดเจน นอกจากจะทำใหการสื่อสารไมผิดพลาด ยังเปนการ สืบสานและอนุรักษวัฒนธรรมทางภาษา ที่สืบทอดมา สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบความรู เรื่อง คำควบกล้ำ ๓. ใบงาน เรื่อง คำควบกล้ำ ๔. ใบกิจกรรม เรื่อง คำควบกล้ำ ๕. PowerPoint การอานคำควบกล้ำ แหลงการเรียนรู - DLIT Classroom หองเรียน DLIT การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการ ประเมิน แยกคำควบแทและคำควบ ไมแทได ตรวจใบงาน เรื่อง คำควบ กล้ำ ใบงาน เรื่อง คำควบกล้ำ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ อานออกเสียงคำควบกล้ำได ถูกตอง ประเมินการอานออกเสียง แบบประเมินการอานออก เสียงคำควบกล้ำ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ มีความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมการมีสวน รวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมี วินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่น การทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๔๕ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง การอานรอยแกวและมารยาทในการอาน เวลา ๒ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานออกเสียงบทรอยแกวไดถูกตองตามอักขรวิธี โวหาร และประเภทงานเขียน จะทำใหเกิดความ ไพเราะ การอานมีประสิทธิภาพ ผูฟงสามารถเขาใจไดชัดเจน มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง ท ๑.๑ ป.๕/๗ อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป.๕/๘ มีมารยาทในการอาน จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายรอยแกวได ๒. บอกหลักการปฏิบัติการอานรอยแกวที่ถูกวิธีได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๓. อานออกเสียงรอยแกวไดถูกตอง เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู ๑ การอานรอยแกว - การอานขอความเชิงบรรยาย - การอานขอความเชิงพรรณนา - การอานขอความเชิงอธิบาย ๒. มารยาทการอาน ๓. การเสริมสรางการรักการอาน


๔๖ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - การอานออกเสียงบทรอยแกว กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และสาธิตการอาน - ครั้งที่ ๑ ครูอานบทอานเสริม จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ (๑ ยอหนา) - ครั้งที่ ๒ ครูอานบทอาขยายวิชาเหมือนสินคา (ทำนองเสนาะ) ๒. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคำถาม การอานครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ มีสิ่งใดบางที่แตกตางกัน ๓. ครูอธิบายการอานครั้งที่ ๑ คือ การอานบทรอยแกว แตการอานครั้งที่ ๒ คือการอานบทรอยกรองดวย การออกเสียงดวยทำนองเสนาะ ๔. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การอานออกเสียงบทรอยแกวที่ถูกตองตามหลักปฏิบัติ ขั้นสอน ๕. ครูอธิบายเพิ่มเติมบทรอยแกว เปนขอเขียนที่นำคำมาเรียบเรียงเปนขอความหรือเรื่องราวแบบตาง เชน บรรยาย พรรณนา อธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ สำหรับบทรอยกรอง คือ การอานคำประพันธที่เปนโคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ซึ่งการอานบทรอยแกว สามารถอานไดทั้งสองแบบ การอานออกเสียงปกติเหมือนกับการอาน บทรอยแกว และการอานแบบทำนองเสนาะ ๖. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน ศึกษาความรูจากใบความรู การอานรอยแกว กำหนดเวลา ๕ นาที ๗. เมื่อครบเวลาที่กำหนดครูและนักเรียนสนทนารวมกัน ดังนี้ - ขอควรปฏิบัติในการอานรอยแกว - การอานออกเสียงรอยแกวมีหลักการอยางไร - ความเขาใจสาระของบทอานสำคัญหรือไมอยางไร


๔๗ - ความพรอมทางรางกายและจิตใจสำคัญตอการอานออกเสียงหรือไม - การใชเสียงดัง เบา มีผลตอการอานหรือไม - ความเร็วในการอาน ถาอานเร็วไปจะเปนอยางไร และถาอานชาไปจะเปนอยางไร ๘. ครูจำลองเหตุการณสมมติ “นักเรียนไปอานหนังสือที่หองสมุด มีสิ่งใดบางที่นักเรียนไมควรปฏิบัติ” กลุมใดเขียนไดเขียนจำนวนขอไดมากที่สุด จะไดรับรางวัลบัตรพลังวิเศษ โดยเขียนลงกระดาษ A๔ ๙. ครูสอบถามกลุมใดไดจำนวนขอมากที่สุด ออกมานำเสนอหนาชั้นเรียน โดยครูตรวจสอบความถูกตอง และสอบถามกลุมอื่นมีกลุมใดเพิ่มเติมหรือแตกตางจากกลุมที่นำเสนอหรือไม ๑๐. ครูเปดวิดีโอ การอานรอยกรอง หลังจากจบวิดีโอใหนักเรียนวิเคราะห - การอานเปนอยางไร มีคำใดไมชัดเจนบาง - การเวนจังหวะวรรคตอนเปนอยางไร มีการเนนคำหรือไม ขั้นสรุป ๑๑. ครูและนักเรียนสนทนารวม ขอควรปฏิบัติหลักการอานรอยแกว และมารยาทการอาน ซึ่งการเรียน ครั้งตอไปนักเรียนจะไดอานออกเสียงทุกคน ๑๒. ครูมอบหมายใหแตละกลุมคนหาความแตกตางการอานขอความเชิงบรรยาย การอานขอความเชิง พรรณนาและการอานขอความเชิงอธิบายแตกตางกันอยางไร ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนนั่งประจำกลุมเดิม ๒. ครูสอบถามงานที่มอบหมายใหคนหาความแตกตางการอานเชิงบรรยาย การอานขอความเชิงพรรณนา และการอานขอความเชิงอธิบายแตกตางกันอยางไร ๓. ครูขอตัวแทนกลุมเพื่อเปนอาสาสมัครนำเสนอหนาชั้นเรียน ขั้นสอน ๔. ครูใหแตละกลุมฝกอานออกเสียงการอานตาง ๆ หนาที่ ๓๕-๓๖ กำหนดเวลา ๕ นาที ๕. ครูสาธิตการอานออกเสียงขอความเชิงบรรยาย พรรณนาและอธิบายใหนักเรียนฟง ๖. นักเรียนอานออกเสียงหนาชั้นเรียนรายบุคคล โดยครูประเมินผล เริ่มตนดวยเลขที่ ๑ จับฉลากเพื่อ เลือกหัวขอที่ตองอานออกเสียงดังนี้ ๗. ครูกลาวชมเชยนักเรียนในการอานออกเสียง และสนทนารวมกันเรื่องการสรางนิสัยรักการอาน ๘. การอานขอความเชิงบรรยาย หนาที่ ๓๕ การอานขอความเชิงพรรณนา หนาที่ ๓๕ การอานขอความเชิงอธิบาย หนาที่ ๓๖


๔๘ ขั้นสรุป ๙. ครูใหนักเรียนอานออกเสียงใหชัดเจน คำควบกล้ำ มีการเวนวรรค รวมทั้งมารยาทการอาน สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. ใบความรู เรื่อง การอานรอยแกว ๓ กระดาษ A๔ ๔. วิดีโอ เรื่อง การประกวดการอานออกเสียงรอยแกว โรงเรียนวัดไรขิงวิทยา ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=zq0SINm71yA&t=64s แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการประเมิน บอกความหมายรอยแกวได บอกหลักการปฏิบัติการอาน รอยแกวที่ถูกวิธีได ประเมินการอานออกเสียง แบบประเมินการอานออก เสียง รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ อานออกเสียงรอยแกวได ถูกตอง สังเกตพฤติกรรมการมีสวน รวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ มีความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการ ทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๔๙ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๕ เรื่อง อานเสริม จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสำคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวาใจความหรือใจความสำคัญ ซึ่ง อาจจะปรากฎอยูตามยอหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง สวนทายของยอหนาก็ได ซึ่งอาน แลวสามารถตั้งคำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม และสรุปใจความสำคัญของเรื่องได มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการ ดำเนินชีวิต ท ๑.๑ ป.๕/๘ มีมารยาทในการอาน จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. อานจับใจความสำคัญจากเรื่องที่กำหนดได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. เรียบเรียงใจความสำคัญจากเรื่องที่อานได ๓. สรุปขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในการดำเนินชีวิตได เจตคติ (A) ๔. เห็นคุณคาการปฏิบัติจิตสาธารณะ สาระการเรียนรู บทอานเสริม จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด


๕๐ ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ปายประชาสัมพันธ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และเปดวิดีโอ หนังสั้นจิตอาสา GEN A : The Short Film (Eng Sub) ใช เวลา ๙.๕๗ นาที ๒. ครูและนักเรียนสนทนารวมกัน หนังสั้นจิตอาสา GEN A : The Short Film โดยคุณปู ผูใหญบานจะ สรางพิพิธภัณฑเพื่อใหคนรุนหลัง ซึ่งหลานใชระบบโซเชียล ประชาสัมพันธเพื่อขอใหชาวบานหรือผูที่สนใจเขา มารวมสรางพิพิธภัณฑ ๓. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน การอานจับใจความสำคัญ บทอานเสริม จิตที่ควรพัฒนา จิตสาธารณะ ขั้นสอน ๔. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน อานจับใจความ โดยวาดแผนภาพความคิดลงในกระดาษ A๔ กำหนดเวลา ๑๐ นาที โดยครูทบทวนหลักการอานจับใจความ ดังนี้ ๑) อานในใจ ๒) คนหาคำยากและความหมาย ๓) ตั้งคำถามใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ทำไม ๔) เขียนแผนภาพความคิด ๕) เขียนเรียบเรียงใจความสำคัญ ๕. เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูตั้งคำถาม - มีคำใดบางเปนคำยากที่นักเรียนไมรูความหมาย - ตัวละครของเรื่องนี้มีใครบาง เหตุการณเกิดที่ใด - แผนภาพความคิดของเรื่องนี้เปนอยางไร ขออาสาสมัครนำผลงานแสดงหนาชั้นเรียน - ใจความสำคัญคืออะไร


๕๑ ๖. หลังจากจบการจับใจความบทอานเสริม ครูใหนักเรียนแตละกลุมทำกิจกรรม ชวนกันทำ ชวนกันเชิญ ชวน หนาที่ ๓๗ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ โดยทำ คิดกิจกรรมที่เปนประโยชนแลวจัดทำปายประชาสัมพันธ ๗. ตัวแทนกลุมนำเสนอหนาชั้นเรียน ขั้นสรุป ๘. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปขอดีของจิตสาธารณะ ๙. ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นรายบุคคล “นักเรียนเลือกอาสาทำสิ่งใดเพื่อเปนประโยชนตอ สวนรวม ตอสังคม” ๙. สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. กระดาษ A๔ ๓. วิดีโอ หนังสั้นจิตอาสา GEN A : The Short Film (Eng Sub) ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=TTdNYOqKSBI&t=107s แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการประเมิน -อานจับใจความสำคัญจาก เรื่องที่กำหนดได -เรียบเรียงใจความสำคัญจาก เรื่องที่อานได ตรวจผลงาน ปาย ประชาสัมพันธ แบบประเมินผลงานปาย ประชาสัมพันธ รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ -สรุปขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในการดำเนิน ชีวิตได -เห็นคุณคาการปฏิบัติจิต สาธารณะ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการ ทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๕๒ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๖ เรื่อง คำบุพบท เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด คำบุพบท คือ คำที่ปรากฏหนาคำนาม คำสรรพนาม เพื่อบอกตำแหนงเวลา สิ่งที่คาดหวัง ความเปน เจาของ สาเหตุ ผูรับประโยชน ฯลฯ มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรูท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติ ของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๕/๑ ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายของคำบุพบทได ๒. บอกหนาที่ของคำบุพบทได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๓. ใชคำบุพบทไดถูกตอง เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู คำบุพบท สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม


๕๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน เรื่อง คำบุพบท กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนเรียงประโยค โดยครูโดยใชสื่อ PowerPoint ๒. ครูเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน คำบุพบท ขั้นสอน ๓. ครูแจกใบความรู เรื่อง คำบุพบท และใชสื่อ PowerPoint ประกอบการสอน ๔. ครูและนักเรียนสนทนารวมกัน - คำใดในประโยคที่บอกตำแหนง ที่ตั้ง สถานที่ - คำใดในประโยคที่บงบอกความเปนเจาของ - คำใดในประโยคที่บอกความเกี่ยวของ - คำใดในประโยคบอกเวลา - คำใดในประโยคบอกสาเหตุ ๕. ครูใหแตละกลุมจับฉลากบัตรคำบุพบท กลุมละ ๓ บัตรคำ เพื่อแตงประโยค แลวนำเสนอหนาชั้นเรียน โดยครูตรวจสอบความถูกตองและแนะนำ ในระหวางการดำเนินกิจกรรมนักเรียนสามารถใชบัตรพลังวิเศษได ๖. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง คำบุพบท กำหนดเวลา ๑๐ นาที เมื่อครบเวลาที่กำหนดครูและนักเรียน รวมกันเฉลยใบงาน ๗. ครูใหนักเรียนเลนเกม กลองดำ โดยใหนักเรียนนั่งรอบลอมเปนวงกลม เปดเพลง และเมื่อเพลงหยุด และนักเรียนคนใดถือกลองดำไว ตองลวงจับฉลากกลองดำแลวตอบคำถาม กรณีที่ตอบผิดจะใหนักเรียนดื่มน้ำ จำนวน ๑ แกว กำหนดเวลา ๑๐ นาทีนักเรียนสามารถใชบัตรพลังวิเศษได ขั้นสรุป ๘. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องคำบุพบท สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. PowerPoint เรื่อง คำบุพบท


๕๔ ๓. ใบความรู เรื่อง คำบุพบท ๔. ใบงาน เรื่อง คำบุพบท ๔. บัตรคำบุพบท ๕. บัตรพลังวิเศษ ๖. เกม กลองดำ แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑการ ประเมิน -บอกความหมายของคำบุพ บทได -บอกหนาที่ของคำบุพบทได ตรวจใบงาน เรื่อง คำบุพบท ใบงาน เรื่อง คำบุพบท รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ ใชคำบุพบทไดถูกตอง สังเกตพฤติกรรมการมีสวน รวมในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ มีความกระตือรือรนในการ เรียน สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรูและมุงมั่นการ ทำงาน แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับ พอใชขึ้นไป


๕๕ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คนละไม คนละมือ เวลา ๙ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๗ เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เครื่องหมายวรรคตอน เปนเครื่องหมายที่ใชประกอบการเขียน เมื่ออานขอความที่ใชเครื่องหมายบางชนิด ตองทำเสียงใหสอดคลองกับขอความ บางชนิดใชแยกสวน แยกตอน บางชนิดตองอานเครื่องหมายนั้น ๆ มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรูท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกชื่อเครื่องหมายวรรคตอนได ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. ใชเครื่องหมายวรรคตอนไดถูกตอง ๓. อานออกเสียงเครื่องหมายวรรคตอนไดถูกตอง เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู การอานเครื่องหมายวรรคตอน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู


๕๖ ๓. มุงมั่นการทำงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. ใบงาน เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน ๒. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คนละไม คนละมือ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนแบงกลุม จำนวน ๕ กลุม กลุมละเทา ๆ กัน แลวสงตัวแทน จับฉลากบัตรเครื่องหมายวรรคตอน จำนวน ๒ บัตร แลวใหนักเรียนแตละกลุมคนหาประโยคจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ แลวคัดลอกลงบัตรประโยคที่ครู แจก กำหนดเวลา ๕ นาที ๒. เมื่อครบเวลาที่กำหนดครูใหตัวแทนกลุมติดบัตรประโยคบนกระดาน แลวตั้งคำถามเพื่อใหนักเรียน แสดงความคิดเห็น เครื่องหมายวรรคตอนที่นักเรียนไดคนหาจากหนังสือเรียน เมื่อตองอานหรือใชเปนภาษาพูด ตางกับภาษาเขียนอยางไร ขั้นสอน ๓. ครูแจกใบความรู เรื่อง การอานเครื่องหมายวรรคตอน แลวใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาความรู กำหนดเวลา ๕ นาที ๔. ครูเชื่อมโยงความรูกับผลงานบัตรประโยคในตอนตนชั่วโมง เริ่มตั้งแตประโยคที่ใชเครื่องหมายวรรค ตอน ! ? “ ”. , ( ) % ฯลฯ / และ = ๕. ครูใหแตละกลุมเลนเกม ละคร โดยใหอานประโยคที่ใชเครื่องหมายวรรคตอน วิธีการใหตัวแทนกลุม โยนลูกบอลใหลงตะกรา กรณีลงตะกราจะไดสิทธิอานประโยค เมื่ออานผิดจะได ๐ คะแนน กรณีอานถูกได ๑ คะแนน กลุมใดไดคะแนนสูงสุดเปนฝายชนะไดรับบัตรพลังวิเศษ ๖. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน ๗. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยใบงาน ขั้นสรุป ๘. ครูสรุปเรื่องเครื่องหมายวรรคตอน ใชสื่อ PowerPoint ๙. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คนละไม คนละมือ จำนวน ๑๐ ขอ โดยกากบาทเลือกคำตอบ ที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาที หลังจากครบเวลาที่กำหนด สงคืนครูเพื่อประเมินผล สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. PowerPoint เรื่อง สรุปเครื่องหมายวรรคตอน ๓. ใบงาน เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน


๕๗ ๔. บัตรเครื่องหมายวรรคตอน ๕. บัตรประโยค ๖. บัตรพลังวิเศษ ๗. เกม ละคร ๘. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คนละไม คนละมือ แหลงการเรียนรู - การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงาน เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน ใบงาน เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน คนละไม คนละมือ แบบทดสอบหลังเรียน คนละไม คนละมือ แบบทดสอบหลังเรียนสูง กวากอนเรียน สังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวม ในกิจกรรมกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม รอยละ ๖๐ ขึ้นไป ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค ผานเกณฑระดับพอใช ขึ้นไป


๗๗ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๘ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง กระเชาของนางสีดา (วรรณคดีลำนำ) เวลา ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒๔ เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกระเชาของนางสีดา เวลา ๑ ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การคนควาและศึกษาความหมายของคำ กลุมคำ สำนวนที่ไมเขาใจในบทเรียน นับวาเปนสวนสำคัญใน การอานจับใจความสำคัญหรือตีความไดดี ซึ่งจะเกิดประโยชนตอผูเรียนและเกิดการพัฒนาดานการอาน มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำประโยคและขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา จุดประสงคการเรียนรู ความรู (K) ๑. บอกความหมายของคำในบทเรียนไดถูกตอง ทักษะ/กระบวนการ (P) ๒. อานและเขียนคำในบทเรียนไดถูกตอง ๓. แตงประโยคโดยใชคำในบทเรียนได เจตคติ (A) ๔. มีความกระตือรือรนในการเรียน สาระการเรียนรู บอกความหมายของคำในบทเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นการทำงาน


๗๘ ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กระเชาของนางสีดา ๒. ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกระเชาของนางสีดา กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนำ ๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กระเชานางสีดา จำนวน ๑๐ ขอ โดยกากบาทเลือกคำตอบที่ถูกตอง กำหนดเวลา ๑๐ นาที เมื่อครบเวลาที่กำหนด ครูใหนักเรียนสลับกันตรวจ และบันทึกคะแนนลงในแบบทดสอบกอนเรียน นำสงคืนครูเพื่อประเมินผล ขั้นสอน ๒. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน เพื่อคนหาคำที่ไมรูความหมาย ๓. ครูทบทวนวิธีการคนหาความหมาย เริ่มตนใหนักเรียนอานในใจแลวขีดเสนใตคำยาก แลวอานบริบท ประโยคกอนหนาหรือตามหลัง หากยังไมสามารถบอกความหมายได ใหยกมือเพื่อขอใชพจนานุกรม ๔. ครูแจกใบบันทึกคำ แลวอธิบายใหนักเรียนเขียนคำพรอมคนหาความหมาย พรอมแตงประโยค แลว พับและตัดตามรอยที่ระบุไวในใบบันทึกคำ ๕. ครูชี้แจงใหนักเรียนคนหาคำและความหมาย เรื่อง กระเชาของนางสีดา จากหนังสือเรียน รายวิชา ภาษาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาชั้นปที่ ๕ หนา ๒๑ – ๒๘ กำหนดเวลา ๑๕ นาที ๖. เมื่อครบเวลาที่กำหนดตัวแทนกลุมนำเสนอผลงานหนาชั้นเรียน ๗. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกระเชานางสีดา ตอนที่ ๑ โดยเขียนคำตามที่ครูบอก ๘. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยใบงานตอนที่ ๑ ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนทำใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกระเชาของนางสีดา ๙. ตอนที่ ๒ แตงประโยคจากคำที่กำหนด สงในชั่วโมงตอไป ๙. สื่อและแหลงการเรียนรู ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ๒. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กระเชาของนางสีดา ๓. ใบงาน เรื่อง ความหมายคำ บทเรียนกระเชาของนางสีดา ๔. ใบบันทึกคำ ๕. บัตรพลังวิเศษ แหลงการเรียนรู -


Click to View FlipBook Version