The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนวัดหนองม่วง ฉบับปรับปรุง 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Aranya Phina, 2022-09-03 00:37:10

หลักสูตรโรงเรียนวัดหนองม่วง

หลักสูตรโรงเรียนวัดหนองม่วง ฉบับปรับปรุง 2564

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดหนองมว. ง

พุทธศกั ดิ์ราช ๒๕๖๑
(ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ด์ิราช ๒๕๖๔)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระแกว: เขต ๒
สำนักงานคณะกรรมการขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ประกาศโรงเรียนวดั หนองม่วง
เรอ6ื ง ให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนวดั หนองม่วง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนัJ พืนJ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
สบื เน'ืองจากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมปี ระกาศเรอ'ื งการบรหิ ารจดั การเวลาเรยี นของสถานศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน
หลกั สตู รสถานศกึ ษาเมอ'ื วนั ท'ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ รวมทงั@ คาํ สงั' สพฐ.ท'ี ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท'ี ๗ สงิ หาคม
๒๕๖๐ เรอ'ื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว@ี ดั กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระ
ภมู ศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ โดยใหเ้ รมิ' ใชป้ ีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ในชนั@ ประถมศกึ ษาปีท'ี ๑
และ ๔ ชนั@ มธั ยมศกึ ษาปีท'ี ๑ และ ๔ ดงั นนั@ เพอ'ื ใหห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษามคี วามสอดคลอ้ งกบั นโยบายของการ
บรหิ ารจดั การเวลาเรยี นและสามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลกั ษณะ
คณุ ธรรมและคา่ นิยม บรรลุมาตรฐานและตวั ชว@ี ดั ทก'ี าํ หนด โรงเรยี นวดั หนองมว่ งจงึ ดาํ เนินการปรบั หลกั สตู ร
สถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยใหใ้ ช้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาเลม่ น@ี ดงั น@ี
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ใหใ้ ชใ้ นชนั@ ประถมศกึ ษาปีท'ี ๑, ๔
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใ้ ชใ้ นชนั@ ประถมศกึ ษาปีท'ี ๑, ๒, ๔, ๕
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ใหใ้ ชต้ งั@ แต่ชนั@ ประถมศกึ ษาปีท'ี ๑ ถงึ ชนั@ ประถมศกึ ษาปีท'ี ๖
ทงั@ น@ีหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองมว่ ง เลม่ น@ีไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั@
พน@ื ฐาน คราวประชมุ ครงั@ ท'ี ...... เมอ'ื วนั ท'ี ..... ๒๕๖๔ จงึ ประกาศใหใ้ ชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษาเลม่ น@ี ตงั@ แต่ปี
การศกึ ษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท'ี ... เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ลงชอ'ื .................................... ลงชอ'ื ........................................
(นายสนนั' นพทนั ) (นายสชุ าติ พนิ แพทย)์

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นวดั หนองมว่ ง

คาํ นํา
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว@ี ดั กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตรใ์ นกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ
พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน@ พ@ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคําสัง' กระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารท'ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท'ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคําสงั' สาํ นักงาน คณะกรรมการการศกึ ษา
ขนั@ พน@ื ฐานท'ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท'ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเ้ ปลย'ี นแปลงมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว@ี ดั กลุ่มสาระ
การเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมคี ําสงั' ให้โรงเรยี นดําเนินการใช้
หลกั สตู รในปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ โดยใหใ้ ชใ้ นชนั@ ประถมศกึ ษาปีท'ี ๑ และ ๔ ตงั@ แต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ มา
ใหเ้ ป็นหลกั สตู รแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรเู้ ป็นเป้าหมายและกรอบ
ทิศทางในการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น มีพฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพ มีคุณภาพและมีทกั ษะการเรยี นรู้ใน
ศตวรรษท'ี ๒๑
เพ'อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและเป้าหมายของสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐานโรงเรยี น
วดั หนองม่วง จงึ ไดท้ ําการปรบั ปรุงหลกั สูตรของสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองม่วง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช๒๕๖๐) ในกลุ่มสาระ
การเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ให้ครบทุกระดบั ชนั@ เพ'อื นําไปใชป้ ระโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพฒั นาหลกั สูตรของ
สถานศกึ ษาและจดั การเรยี นการสอน โดยมเี ป้าหมายในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ใหม้ กี ระบวนการนําหลกั สตู ร
ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยมกี ารก าหนดวสิ ยั ทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาํ คญั ของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว@ี ดั โครงสรา้ งเวลาเรยี น ตลอดจนเกณฑก์ ารวดั ประเมนิ ผลใหม้ คี วาม
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เปิดโอกาสใหโ้ รงเรยี นสามารถก าหนดทศิ ทางในการจดั ท าหลกั สูตรการ
เรยี นการสอนในแต่ละระดบั ตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท'ีชดั เจนเพ'ือ
ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพรอ้ มในการกา้ วสสู่ งั คมคุณภาพ มคี วามรอู้ ยา่ งแทจ้ รงิ และมที กั ษะ
ในศตวรรษท'ี ๒๑
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว@ี ดั ทก'ี าํ หนดไวใ้ นเอกสารเลม่ น@ี ชว่ ยทาํ ใหห้ น่วยงานทเ'ี กย'ี วขอ้ งในทกุ ระดบั
เห็นผลคาดหวงั ท'ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท'ีชัดเจนตลอดแนว ซ'ึงจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานท'เี ก'ยี วขอ้ งในระดบั ท้องถน'ิ และสถานศกึ ษาร่วมกนั พฒั นาหลกั สูตรได้อย่างมนั' ใจ ทําให้การจดั ทํา
หลกั สตู รในระดบั สถานศกึ ษามคี ณุ ภาพและมคี วามเป็นเอกภาพยงิ' ขน@ึ อกี ทงั@ ยงั ชว่ ยใหเ้ กดิ ความชดั เจนเรอ'ื งการ
วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และชว่ ยแกป้ ัญหาการเทยี บโอนระหวา่ งสถานศกึ ษา ดงั นนั@ ในการพฒั นาหลกั สตู ร
ในทุกระดบั ตงั@ แต่ระดบั ชาติจนกระทงั' ถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้และ
ตวั ชว@ี ดั ทก'ี ําหนดไวใ้ นหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน รวมทงั@ เป็นกรอบทศิ ทางในการจดั การศกึ ษาทุก
รปู แบบ และครอบคลมุ ผเู้ รยี นทกุ กลุม่ เป้าหมายในระดบั การศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐาน
การจดั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั@ พน@ื ฐานจะประสบความสาํ เรจ็ ตามเป้าหมายทค'ี าดหวงั ได้ ทกุ ฝ่ายทเ'ี กย'ี วขอ้ ง
ทงั@ ระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคล ตอ้ งรว่ มรบั ผดิ ชอบ โดยรว่ มกนั ท างานอยา่ งเป็นระบบและต่อเน'ือง
ในการวางแผน ดําเนินการ สง่ เสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแกไ้ ข เพ'อื พฒั นาเยาวชนของชาติ
ไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ก'ี าํ หนดไว้

สารบาญ หน้า

คาํ นํา ๑
สารบญั ๓
ความนํา ๔
วสิ ยั ทศั น์ ๕
สมรรถนะสาํ คญั ของผเู้ รยี น ๖
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑๙
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ๒๕
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๑๐๔
กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถนิ' ๑๐๕
คาํ อธบิ ายรายวชิ า ๑๑๒
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๑๒๓
กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ๑๓๓
กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๔๓
กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๕๓
วชิ าประวตั ศิ าสตร์ ๑๕๙
กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑๗๑
กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ๑๗๘
กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ๑๘๘
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ๑๙๘
รายวชิ าเพมิ' เตมิ ภาษาองั กฤษเพอ'ื การสอ'ื สาร ๒๓๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒๓๔
เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร
ภาคผนวก

ภาคผนวก

1

หลกั สตู รถานศกึ ษา โรงเรียนวดั หนองมว่ ง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนัG พGนื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ความนํา

กระทรวงศกึ ษาธิการไดป0 ระกาศใช0มาตรฐานการเรยี นร0แู ละตัวชว้ี ัด กลมุA สาระการเรยี นรค0ู ณติ ศาสตรE
วิทยาศาสตรE และสาระภมู ศิ าสตรEในกลAมุ สาระการเรยี นรสู0 งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.
๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำส่งั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลง
วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเ0 ปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรยี นร0แู ละตัวช้ีวัด กลAุมสาระการเรียนรูค0 ณติ ศาสตรE และ
วทิ ยาศาสตรE (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคำส่ังใหโ0 รงเรียนดำเนินการใชห0 ลักสูตรในปก] ารศกึ ษา ๒๕๖๑ โดย
ให0ใชใ0 นชน้ั ประถมศกึ ษาป]ท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแตปA ก] ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน` ตน0 มา ใหเ0 ปน` หลักสตู รแกนกลางของประเทศ
โดยกำหนดจดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรูเ0 ปน` เปาc หมายและกรอบทศิ ทางในการพฒั นาคุณภาพผเู0 รยี นมีพัฒนาการ
เต็มตามศักยภาพ มคี ุณภาพและมที กั ษะการเรียนร0ูในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือใหส0 อดคล0องกบั นโยบายและเปาc หมายของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

โรงเรยี นวดั หนองมวA ง จึงไดท0 ำการปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั
ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ในกลมAุ สาระการเรียนรคู0 ณติ ศาสตรE วิทยาศาสตรE และสาระภมู ิศาสตรใE นกลAมุ สาระ
การเรยี นร0ูสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใชใ0 นทกุ ระดับชน้ั เพอ่ื นำไปใช0ประโยชนแE ละเป`นกรอบในการวางแผน
และพัฒนาหลกั สูตร ของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน อีกท้ังในปก] ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นวดั หนองมAวง
ไดจ0 ัดการเรียนการสอนโดยเน0นใหผ0 0ูเรยี น เกดิ ความร0ู มีคุณธรรมและเสรมิ สรา0 งทักษะอาชีพ โดยมเี ปcาหมายในการ
พัฒนาคณุ ภาพผูเ0 รยี น ใหม0 ีกระบวนการนำหลักสตู รไป สAกู ารปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสยั ทัศนE จดุ หมาย สมรรถนะ
สำคญั ของผ0เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคE มาตรฐานการเรยี นร0ูและตวั ช้ีวัด โครงสรา0 งเวลาเรยี น ตลอดจน
เกณฑEการวัดประเมินผล ใหม0 คี วามสอดคล0องกับมาตรฐานการเรียนรู0 เปดi โอกาสใหโ0 รงเรยี นสามารถกำหนดทิศทาง
ในการจัดทำหลกั สูตรการเรยี นการสอนในแตAละระดบั ตามความพรอ0 มและจดุ เน0น โดยมกี รอบแกนกลาง เปน`
แนวทางท่ชี ัดเจนเพ่อื ตอบสนองนโยบายไทยแลนดE ๔.๐ มีความพรอ0 มในการกา0 วสูAสังคมคุณภาพ มีความรอ0ู ยAาง
แทจ0 ริง และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑

การจดั หลักสูตรการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานจะประสบความสำเรจ็ ตามเปcาหมายทค่ี าดหวังได0 ทุกฝาk ย
ท่ีเกี่ยวขอ0 งทงั้ ระดับชาติ ชุมชน ครอบครวั และบคุ คลต0องรAวมรบั ผิดชอบ โดยรวA มกันทำงานอยาA งเปน` ระบบ
และตAอเนอ่ื ง ในการวางแผน ดำเนินการ สAงเสรมิ สนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แกไ0 ข เพอ่ื พฒั นา
เยาวชนของชาตไิ ปสAคู ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร0ูทีก่ ำหนดไว0
ลกั ษณะาหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองมAวง พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้
พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป`นหลักสูตรท่โี รงเรียนได0พัฒนาขึน้ เพ่ือพฒั นาผเ0ู รยี นในระดับประถมศกึ ษา โดยยึด

2

องคEประกอบหลักสำคญั ๕ สAวนคอื ๑) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒) มาตรฐาน
การเรยี นร0แู ละตัวชี้วัดกลมุA สาระการเรียนร0ูคณติ ศาสตรE วิทยาศาสตรE และสาระภมู ิศาสตรE ในกลมุA สาระการเรียนรู0
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๓) นโยบายการจัดการเรยี น การสอนหนา0 ท่พี ลเมอื ง ๔) กรอบหลักสูตรระดบั ทอ0 งถิ่น และ๕)
สาระสำคัญ จดุ เน0นที่โรงเรียนพัฒนาเพ่มิ เติม เป`นกรอบในการจัดทำรายละเอียดเพ่อื ใหเ0 ปน` ไปตามมาตรฐาน
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานทก่ี ำหนดเหมาะสมกับสภาพชุมชนและทอ0 งถนิ่ และจุดเน0นของโรงเรียน โดยหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรยี นวดั หนองมวA ง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั
ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ทพ่ี ฒั นาขึน้ มลี กั ษณะของหลักสูตร ดังน้ี

๑. เป`นหลักสตู รเฉพาะของโรงเรยี นวัดหนองมวA ง สำหรับจดั การศกึ ษาในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน
พนื้ ฐานจดั ในระดับประถมศกึ ษา

๒. เป`นหลกั สตู รท่มี ีความเปน` เอกภาพสอดคลอ0 งกับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ สำหรับให0ครูผ0ูสอนนำไปจัดการเรียนรไู0 ดอ0 ยาA งหลากหลาย โดยกำหนดใหม0 ีรายละเอียด ดังนี้

๒.๑ สาระการเรยี นร0ทู ี่โรงเรียนใช0เป`นหลกั เพือ่ สรา0 งพืน้ ฐานการคดิ การเรยี นร0ู และการแกป0 ญl หา
ประกอบด0วย ภาษาไทย คณิตศาสตรE วิทยาศาสตรแE ละเทคโนโลยี

๒.๒ สาระการเรยี นร0ทู เี่ สริมสร0างความเปน` มนุษยE ศักยภาพการคิดและการทำงาน ประกอบด0วย สังคม
ศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สุขศึกษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชพี และภาษาตAางประเทศ
(ภาษาอังกฤษ)

๒.๓ สาระการเรยี นรู0เพิ่มเตมิ โดยจดั ทำเป`นรายวิชา/กิจกรรมเพิม่ เติมตามความเหมาะสม
และสอดคลอ0 งกบั โครงสรา0 งเวลาเรียน สาระการเรียนร0ทู 0องถิน่ ความต0องการของผ0ูเรียน และบริบทของโรงเรียน
และเพิ่มวิชาภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร ให0สอดคลอ0 งกับนโยบายของสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
สระแก0ว เขต 2 สำนกั งานงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานและกระทรวงศึกษาธกิ ารด0วย

๒.๔ กิจกรรมพัฒนาผ0เู รียน เพอ่ื พัฒนาผูเ0 รียนท้ังดา0 นรAางกาย จติ ใจ สติปญl ญา อารมณE
และสงั คม เสริมสร0างการเรียนรูน0 อกจากกลมุA สาระการเรยี นรู0 ๘ กลุมA และการพัฒนาตนตามศกั ยภาพ

๒.๕ การกำหนดมาตรฐานของโรงเรยี นทสี่ อดคล0องกบั มาตรฐานระดบั ตAาง ๆ เพ่อื เป`นเปาc หมาย
ของการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน จัดทำรายละเอยี ดสาระการเรียนร0ู และจดั กระบวนการเรียนร0ู
ใหส0 อดคลอ0 งกบั สภาพในชมุ ชน สังคม และภูมปิ lญญาทอ0 งถนิ่
น ศ๓ึ . มมี าตรฐานการเรียนรเู0 ปน` เปาc หมายสำคัญของการพฒั นาคณุ ภาพหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดหนอง
มAวง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เป`นหลกั สูตรทมี่ ี
มาตรฐานเป`นตัวกำหนดเกย่ี วกบั ความร0ู ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคขE องผ0เู รยี น
เพอ่ื เปน` แนวทางในการประกนั คุณภาพการศกึ ษาโดยมีการกำหนดมาตรฐานไว0ดังน้ี

๓.๑ มาตรฐานหลักสตู ร เปน` มาตรฐานด0านผ0ูเรยี นหรือผลผลิตของหลักสตู รโรงเรียน เกดิ ขนึ้ จาก การ
จดั กจิ กรรมตามโครงสรา0 งของหลกั สูตรทง้ั หมดของครู และใชเ0 ป`นแนวทางในการตรวจสอบคณุ ภาพโดยรวมของการ
จัดการศึกษาตามหลักสตู รในทกุ ระดบั ซ่ึงโรงเรียนตอ0 งใชส0 ำหรบั การประเมนิ ตนเองเพ่อื จัดทำรายงานประจำป]ตาม

3

บทบัญญัติในพระราชบัญญตั กิ ารศึกษา เพือ่ นำมาเป`นขอ0 มูลใน การกำหนดแนวปฏิบตั ิในการสงA เสรมิ กำกบั ตดิ ตาม

ดแู ลและปรับปรงุ คุณภาพเพอ่ื ให0ได0ตามมาตรฐานทกี่ ำหนด

๓.๒ มีตัวชีว้ ัดชั้นป] เป`นเปาc หมายระบุส่ิงท่ีนกั เรยี นพงึ ร0แู ละปฏิบัตไิ ด0 รวมทง้ั คณุ ลกั ษณะของผู0เรยี น
ในแตลA ะระดบั ชั้นซงึ่ สะทอ0 นถึงมาตรฐานการเรียนรู0 มคี วามเฉพาะเจาะจง และมคี วามเป`นรปู ธรรม นำไปใช0ในการ

กำหนดเน้ือหา จดั ทำหนวA ยการเรยี นรู0 จดั การเรยี นการสอน และเปน` เกณฑEสำคญั สำหรับ การวดั ประเมินผล เพอื่
ตรวจสอบคุณภาพผเ0ู รียน ตรวจสอบพัฒนาการผเ0ู รียน ความร0ู ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
คAานิยมอนั พงึ ประสงคE และเป`นหลกั ในการเทยี บโอนความรู0และประสบการณEจากการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ

และตามอธั ยาศัย
๓.๓ มคี วามเปน` สากล ความเปน` สากลของหลกั สตู รโรงเรียน คือมงุA ใหผ0 ู0เรียนมคี วามร0ู ความสามารถใน
เรอ่ื งเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการสิ่งแวดล0อม ภมู ปิ lญญาท0องถน่ิ มีคณุ ลักษณะทีจ่ ำเป`นในการอยAใู น

สังคมได0แกA ความซ่ือสตั ยE ความรบั ผดิ ชอบ การตรงตAอเวลา การเสียสละ การเออื้ เฟอts โดยอยบAู นพน้ื ฐานของความ
พอดรี ะหวาA งการเป`นผ0นู ำ และผู0ตาม การทำงานเปน` ทีม และการทำงานตามลำพัง การแขงA ขนั การร0ูจักพอ และการ
รวA มมอื กนั เพ่ือสังคม วิทยาการสมัยใหมA และภมู ปิ lญญาทอ0 งถน่ิ การรับวฒั นธรรมตAางประเทศ และการอนรุ ักษE

วัฒนธรรมไทยการฝuกฝนทักษะเฉพาะทาง และการบูร
ณาการ ในลักษณะทเ่ี ปน` องคEรวม
๔. มีความยืดหยนAุ หลากหลาย หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั หนองมAวง พทุ ธศักราช ๒๕๖4 ตาม

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เปน` หลักสูตรทีโ่ รงเรียนจดั ทำรายละเอยี ดตาA ง ๆ ขึ้นเอง
โดยยึดโครงสรา0 งหลักทกี่ ำหนดไวใ0 นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตร
ระดับทอ0 งถ่นิ เป`นขอบขาA ยในการจดั ทำ จงึ ทำให0หลักสูตรของโรงเรยี นมคี วามยืดหยAุน หลากหลาย สอดคล0องกับ

สภาพปlญหา และความตอ0 งการของท0องถ่ิน โดยเฉพาะอยาA งยิง่ มคี วามเหมาะสม
กบั ตัวผ0เู รยี น
๕. การวดั และประเมนิ ผลเน0นหลกั การพืน้ ฐานสองประการคือการประเมนิ เพ่ือพฒั นาผู0เรียนและ เพอ่ื

ตัดสินผลการเรียน โดยผ0ูเรียนตอ0 งได0รบั การพัฒนาและประเมนิ ตามตัวชี้วดั เพือ่ ให0บรรลตุ ามมาตรฐาน

การเรยี นร0ู สะท0อนสมรรถนะสำคัญ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคขE องผู0เรียนเปน` เปาc หมายหลกั ในการวัดและ

ประเมนิ ผลการเรียนรใ0ู นทกุ ระดับไมAวาA จะเปน` ระดับช้นั เรยี น ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และ

ระดบั ชาติ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู0 เป`นกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผ0เู รียน และใชผ0 ลการประเมินเปน` ข0อมูล

และสารสนเทศทแี่ สดงพัฒนาการ ความกา0 วหน0า และความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผเู0 รียน ตลอดจนขอ0 มลู ที่เป`น

ประโยชนEตAอการสงA เสริมใหผ0 0เู รยี นเกิดการพฒั นาและเรียนรู0อยาA งเตม็ ตามศักยภาพ

ษตาามโรหงลเรักยี สนวตู หิรสนแยั กอทนงอศกั 4อลนวา์ิทงกยาารคศมกึ ษพาุทขธ้ันศพักนื รฐาาชน ๒๕๖๓ ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖
พทุ ธศักราช

หลักสตู รโรงเรียนวดั หนองมAวง พุทธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช

2551 เปน` หลกั สูตรทม่ี งุA พัฒนาผเู0 รียนทกุ คนเปน` บุคคลแหAงการเรยี นรู0สAมู าตรฐานสากลและเป`นมนษุ ยEท่ีมีความสมดุล

ทง้ั ราA งกาย ความร0ูคคAู ณุ ธรรม มีความเปน` ผน0ู ำของสงั คมมจี ติ สำนึกในความเป`นพลเมอื งไทยและพลเมอื งโลกโดยใช0

4

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยEเปน` ประมุข มี
ความร0ูและทักษะพืน้ ฐานสามารใชน0 วตั กรรมและเทคโนโลยีรวมท้ังเจตคติทีจ่ ำเปน` ตอA การศึกษาในการประกอบอาชีพ
และการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมุAงเน0นผเ0ู รยี นเป`นสำคัญบนพ้ืนฐานความเช่อื วAาทุกคนสามารถเรียนร0ูและพัฒนาตนเองได0
เต็มศักยภาพ

สมรรถนะสาํ คญั ของผ้เู รยี น

ในการพฒั นาผเ0ู รียนตามหลกั สตู รโรงเรยี นวัดหนองมวA ง พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มAุงเน0นพัฒนาผเู0 รียนใหม0 ีคุณภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ซ่งึ จะชAวยใหผ0 เู0 รยี นเกดิ
สมรรถนะสำคัญ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป`นความสามารถในการรับและสงA สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ0 าษา
ถาA ยทอดความคดิ ความรคู0 วามเขา0 ใจ ความรูส0 ึกและทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลยี่ นข0อมูลขAาวสารและประสบการณE
อันเปน` ประโยชนตE Aอการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอA รองเพ่อื ขจดั และลดปญl หาความขัดแยง0 ตAาง ๆ
การเลอื กรับขอ0 มูลขAาวสารด0วยหลักเหตุผลและความถูกต0อง ตลอดจนการเลือกใช0วิธกี ารสือ่ สารทีม่ ีประสิทธภิ าพโดย
คำนงึ ถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อA ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคดิ เปน` ความสามารถในการคดิ วิเคราะหE การคดิ สังเคราะหE การคดิ
สรา0 งสรรคE การคิดอยาA งวิจารณญาณและการคิดเป`นระบบ เพื่อนำไปสAกู ารสร0างองคEความรู0หรือสารสนเทศเพือ่ การ
ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสงั คมได0อยAางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก4ปSญหา เปน` ความสามารถในการแกป0 ญl หาและอปุ สรรคตาA ง ๆ ท่เี ผชญิ
ไดอ0 ยAางถูกตอ0 งเหมาะสามบนพ้ืนฐานของหลักเหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ0 มูลสารสนเทศ เขา0 ใจความสัมพันธแE ละการ
เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณตE Aาง ๆ ในสัง แสวงหาความร0ู ประยกุ ตคE วามร0ูมาใชใ0 นการปอc งกันและแก0ไขปญl หาและมี
การตัดสินใจท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ตAอตนเอง สังคม และส่ิงแวดลอ0 ม

4. ความสามารถในการใชท4 ักษะชีวิต ความสามารถในการนำกระบวนการตAาง ๆ ไปใชใ0 นการ
ดำเนิน
ชวี ิตประจำวนั การเรยี นร0ูดว0 ยตนเอง การเรียนรูอ0 ยาA งตAอเนอ่ื ง การทำงานและการอยAรู วA มกันในสังคมด0วยการสรา0 ง
เสรมิ ความสัมพนั ธEอันดีระหวาA งบุคคล การจัดการปlญหาและความขัดแย0งตาA ง ๆ อยAางเหมาะสาม การปรับตวั ใหท0 ัน
กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดลอ0 มและการร0จู กั หลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมไมAพึงประสงคทE ีส่ AงผลกระทบตอA
ตนเองและผูอ0 ่ืน

5. ความสามารถในการใชเ4 ทคโนโลยี เปน` ความสามารถในการเลือกและใชเ0 ทคโนโลยีตาA ง ๆ
และมีทกั ษะกระบวนการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา0 นการเรียนร0ู การส่อื สาร การทำงาน การแกป0 ญl หาอยAา
สรา0 งสรรคEถูกตอ0 งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

5

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

หลักสูตรโรงเรียนวัดหนองมวA ง พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 มAงุ พฒั นาผ0ูเรยี นใหม0 คี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคE เพอ่ื ให0สามารถอยรูA Aวมกับผ0ูอ่นื ในสังคมได0อยAางมีความสขุ ใน
ฐานะเป`นพลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก ดงั นี้

1. รกั ชาติ ศาสนE กษัตรยิ E คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถงึ การเปน` พลงเมอื งดีของชาติและธำรงไวซ0 ่งึ ความ
เปน` ชาตไิ ทย ศรัทธา ยึดมน่ั ในศาสนา และเคารพเทิดทนู สถาบนั พระมาหากษัตรยิ E

2. ซ้ือสัตยสE ุจรติ คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถึงการยดึ มน่ั ในความถกู ต0อง ประพฤตติ รงตามความเป`นจร
ตAอตนเองและผ0ูอน่ื ทง้ั กาย วาจา ใจ

3. มีวนิ ัย คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถึงการยดึ มนั่ ในขอ0 ตกลง กฎเกณฑE และระเบยี บข0อบงั คับของ
ครอบครัว โรงเรยี นและสังคมเป`นปกตวิ สิ ยั ไมAละเมดิ สทิ ธิของผู0อนื่

4. ใฝเk รยี นร0ู คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรียน แสวงหาความรู0จากแหลAง
เรียนรูท0 ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นอยาA งสมำ่ เสมอ ด0วยการเลือกใช0สอ่ื อยาA งเหมาะสม

5. อยอูA ยAางพอเพียง คณุ ลกั ษณะทีแ่ สดงออกถงึ การดำเนินชวี ติ อยาA งพอประมาณ มเี หตุผล รอบคอบ มี
คุณธรรม มีภมู คิ มุ0 กนั ในตัวท่ีดี และปรบั ตวั เพอ่ื อยAูในสงั คมไดอ0 ยาA งมีความสขุ

6. มงAุ ม่นั ในการทำงาน คณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถึงความตั้งใจและรับผดิ ชอบในการทำหนา0 ทีก่ ารงาน
ดว0 ยความเพยี รพยายาม อดทน เพื่อใหง0 านสำเรจ็ ตามเปcาหมาย

7. รกั ความเป`นไทย คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ ความภมู ิใจ เห็นคุณคAา รAวมอนรุ ักษE สืบทอดภูมปิ lญญา
ไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ใช0ภาษาไทยในการส่ือสารได0อยAางถูกตอ0 งและเหมาะสม

8. มจี ิตสาธารณะ คณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงการมีสAวนรวA มในกจิ กรรมหรอื สถานการณทE ่กี Aอให0เกดิ
ประโยชนแE กผA ู0อนื่ ชุมชน และสงั คม ดว0 ยความเต็มใจกระตอื รอื รน0 โดยไมหA วงั ผลตอบแทน

6

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นวดั หนองมว่ ง

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองมAวง พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๔) ได0กำหนดโครงสร0างของหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให0ผู0สอน
และผท0ู เี่ กี่ยวขอ0 งในการจัดการเรยี นรูต0 ามหลกั สูตรของสถานศึกษามแี นวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
ระดับการศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองมAวง พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖4) จดั ระดับการศึกษา ดังนี้

ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาป]ท่ี ๑ – ๖) การศึกษาระดับน้ีเป`นชAวงแรกของการศึกษา ภาคบังคับ
มุAงเน0นทักษะพ้ืนฐานด0านการอAาน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การติดตAอส่ือสาร กระบวนการ
เรียนรู0ทางสังคม และพื้นฐานความเป`นมนุษยE การพัฒนาคุณภาพชีวิตอยAางสมบูรณEและสมดุล ทั้งในด0านรAางกาย
สติปญl ญา อารมณE สังคม และวัฒนธรรม โดยเน0นจดั การเรียนรแู0 บบบูรณาการ
การจัดเวลาเรียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองมAวง พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) ได0จัดเวลาเรียนตามกลุAมสาระการเรียนร0ู ๘ กลุAม
สาระ และกิจกรรมพัฒนาผูเ0 รียน โดยจัดให0เหมาะสมตามบรบิ ท จุดเนน0 ของโรงเรียน และสภาพของผเ0ู รียน ดงั นี้

ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาป]ที่ ๑ – ๖) จัดเวลาเรียนเป`นรายป] โดยมีเวลาเรียนวันละ
๖ ชั่วโมง

โครงสรา' งหลักสตู ร

จำนวนชวั่ โมงทจ่ี ัดให0นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา (ป.๑-ป.๓) เรยี นทั้งป] เทาA กบั ๑,๐๔๐ ช่วั โมง แผนการ
เรียนร/0ู จุดเนน0 การพัฒนาผู0เรียนทต่ี อ0 งการเน0นเป`นพเิ ศษ คือกลมAุ สาระการเรียนรท0ู ักษะภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และ
คณติ ศาสตรE เพ่อื พฒั นาการอาA นออก เขียนได0 และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรE คิดวิเคราะหE คิดสงั เคราะหE คิด
สร0างสรรคทE ี่ดี มีประโยชนE มคี วามสนใจใฝรk ู0ใฝkเรยี น โดยจัด การเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลเปน` รายป]

สำหรับนักเรียนระดับชน้ั ประถมศกึ ษา (ป.๔-ป.๖) เทAากบั ๑,๐๔๐ ชว่ั โมง แผนการเรยี นร0ู/จุดเนน0 การพัฒนา
ผเ0ู รยี นท่ตี 0องการเน0นเป`นพิเศษ คอื กลAมุ สาระการเรยี นรว0ู ทิ ยาศาสตรEและสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เพ่ือให0
สอดคลอ0 งกบั ประกาศของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยในโครงสร0างของหลกั สูตรโรงเรยี นวดั หนองมวA ง พ.ศ. ๒๕๖๑ มี
รายวชิ าและจำนวนชัว่ โมง ดังน้ี

7

โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนวดั หนองมว่ ง

กลมุV สาระการเรยี นร/4ู รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน : ช่วั โมง/ปY
ระดับประถมศกึ ษา
— กลมVุ สาระการเรียนร4ู/วิชาพ้นื ฐาน ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
ภาษาไทย
คณติ ศาสตรE ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตรแE ละเทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวตั ิศาสตรE ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ศิลปะ
การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาตAางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรยี น (รายวิชาพ้นื ฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

— รายวชิ าเพม่ิ เติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรยี น (รายวชิ าเพ่มิ เตมิ )
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐
— กจิ กรรมพัฒนาผเ4ู รียน
¯ กจิ กรรมแนะแนว ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
¯ กิจกรรมนกั เรยี น ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
± ลกู เสือ/เนตรนารี
± ชมุ นุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
¯ กจิ กรรมเพ่อื สงั คม
และสาธารณประโยชนE ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผูเ0 รียน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลาท้งั หมด ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑,๐๔๐ ช่วั โมง ๑,๐๔๐ ช่ัวโมง

8

โครงสร้างหลกั สตู รชนัG ประถมศกึ ษาปี ทSี ๑
โรงเรยี นวดั หนองม่วง

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน

(ชัว่ โมง/ปY) (ชัว่ โมง/สัปดาห)a

รหัสวชิ า รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ ๒๑

ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕

ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตรE ๒๐๐ ๕

ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรEและเทคโนโลยี ๘๐ ๒

ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๒

ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตรE ๔๐ ๑

พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑

ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ๑

ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑

อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓

รหสั วิชา รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ๘๐ ๒

อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๑ ๘๐ ๒

รหัสกิจกรรม กจิ กรรมพัฒนาผเ4ู รยี น ๑๒๐ ๓

ก๑๑๙๐๑ ¯ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑

¯ กจิ กรรมนักเรยี น (๘๐) (๒)

ก๑๑๙๐๒ ± ลูกเสือ/เนตรนารี 3๐ ๑
ก๑๑๙๐๓ ± ชุมนมุ 4๐ ๑

ก๑๑๙๐๔ ¯ กจิ กรรมเพ่อื สงั คม ๑๐ ผนวก

และสาธารณประโยชนE ในกิจกรรมลกู เสอื

รวมเวลาเรยี นทั้งหมดตามโครงสรา4 งหลักสตู ร ๑,๐๔๐ ๒๖

9

โครงสร้างหลกั สูตรชนัG ประถมศกึ ษาปี ทSี ๒
โรงเรียนวดั หนองม่วง

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น

(ชวั่ โมง/ป)Y (ชั่วโมง/สัปดาห)a

รหสั วชิ า รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐ ๒๑

ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕

ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตรE ๒๐๐ ๕

ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแE ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒

ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒

ส๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตรE ๔๐ ๑

พ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑

ศ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ๑

ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑

อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓

รหัสวชิ า รายวิชาเพม่ิ เติม ๘๐ ๒

อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร ๒ ๘๐ ๒

รหัสกิจกรรม กิจกรรมพฒั นาผเู4 รียน ๑๒๐ ๓

ก๑๒๙๐๑ ¯ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑

¯ กิจกรรมนักเรียน (๘๐) (๒)

ก๑๒๙๐๒ ± ลกู เสือ/เนตรนารี ๓๐ ๑
ก๑๒๙๐๓ ± ชุมนมุ ๔๐ ๑

ก๑๒๙๐๔ ¯ กจิ กรรมเพ่อื สงั คม ๑๐ ผนวก
และสาธารณประโยชนE ในกิจกรรมลกู เสือ

รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสรา4 งหลกั สูตร ๑,๐๔๐ ๒๖

10

โครงสรา้ งหลกั สูตรชนัG ประถมศกึ ษาปี ทีS ๓
โรงเรียนวดั หนองมว่ ง

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน

(ชวั่ โมง/ป)Y (ช่ัวโมง/สัปดาห)a

รหัสวชิ า รายวิชาพนื้ ฐาน ๘๔๐ ๒๑

ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕

ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตรE ๒๐๐ ๕

ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรEและเทคโนโลยี ๘๐ ๒

ส๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒

ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตรE ๔๐ ๑

พ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๑

ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑

ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑

อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓

รหสั วิชา รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๘๐ ๒

อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๓ ๘๐ ๒

รหสั กิจกรรม กจิ กรรมพัฒนาผ4ูเรียน ๑๒๐ ๓

ก๑๓๙๐๑ ¯ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑

¯ กิจกรรมนักเรยี น (๘๐) (๒)

ก๑๓๙๐๒ ± ลกู เสอื /เนตรนารี ๓๐ ๑
ก๑๓๙๐๓ ± ชมุ นมุ ๔๐ ๑

ก๑๓๙๐๔ ¯ กจิ กรรมเพื่อสังคม ๑๐ ผนวก

และสาธารณประโยชนE ในกิจกรรมลกู เสือ

รวมเวลาเรียนทัง้ หมดตามโครงสร4างหลกั สตู ร ๑,๐๔๐ ๒๖

11

โครงสร้างหลกั สูตรชนัG ประถมศึกษาปี ทSี ๔
โรงเรียนวดั หนองมว่ ง

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน

(ชั่วโมง/ป)Y (ช่วั โมง/สปั ดาห)a

รหสั วชิ า รายวิชาพน้ื ฐาน ๘๔๐ ๒๒

ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔

ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตรE ๑๖๐ ๔

ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรEและเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓

ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒๐ ๓

ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตรE ๔๐ ๑

พ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๒

ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๒

ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑

อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๒

รหสั วชิ า รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๘๐ ๑

อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๔ ๔๐ ๑

รหสั กิจกรรม กิจกรรมพฒั นาผู4เรียน ๑๒๐ ๓

ก๑๔๙๐๑ ¯ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑

¯ กิจกรรมนักเรยี น (๘๐) (๒)

ก๑๔๙๐๒ ± ลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๑
ก๑๔๙๐๓ ± ชุมนุม ๔๐ ๑

ก๑๔๙๐๔ ¯ กิจกรรมเพอื่ สังคม ๑๐ ผนวก

และสาธารณประโยชนE ในกจิ กรรมลูกเสอื

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสร4างหลักสตู ร ๑,๐๔๐ ๒๖

12

โครงสร้างหลกั สูตรชนัG ประถมศึกษาปี ทSี ๕
โรงเรยี นวดั หนองมว่ ง

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน

(ชั่วโมง/ป)Y (ช่วั โมง/สปั ดาห)a

รหสั วชิ า รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐ ๒๒

ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔

ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตรE ๑๖๐ ๔

ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตรEและเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓

ส๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒๐ ๓

ส๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตรE ๔๐ ๑

พ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๒

ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๒

ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑

อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐ ๒

รหสั วชิ า รายวิชาเพิ่มเตมิ ๘๐ ๑

อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๕ ๔๐ ๑

รหสั กิจกรรม กิจกรรมพฒั นาผู4เรยี น ๑๒๐ ๓

ก๑๕๙๐๑ ¯ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑

¯ กิจกรรมนักเรยี น (๘๐) (๒)

ก๑๕๙๐๒ ± ลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๑
ก๑๕๙๐๓ ± ชุมนุม ๔๐ ๑

ก๑๕๙๐๔ ¯ กิจกรรมเพอื่ สังคม ๑๐ ผนวก

และสาธารณประโยชนE ในกจิ กรรมลูกเสอื

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสร4างหลักสตู ร ๑,๐๔๐ ๒๖

13

โครงสร้างหลกั สูตรชนัG ประถมศึกษาปี ทSี ๕
โรงเรยี นวดั หนองมว่ ง

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน

(ชั่วโมง/ป)Y (ช่วั โมง/สปั ดาห)a

รหสั วชิ า รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ ๒๒

ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔

ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตรE ๑๖๐ ๔

ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแE ละเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓

ส๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๓

ส๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตรE ๔๐ ๑

พ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ ๒

ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๒

ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑

อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐ ๒

รหสั วชิ า รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๘๐ ๑

อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ ๔๐ ๑

รหสั กิจกรรม กิจกรรมพฒั นาผ4เู รยี น ๑๒๐ ๓

ก๑๖๙๐๑ ¯ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑

¯ กิจกรรมนักเรยี น (๘๐) (๒)

ก๑๖๙๐๒ ± ลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๑
ก๑๖๙๐๓ ± ชุมนุม ๔๐ ๑

ก๑๖๙๐๔ ¯ กจิ กรรมเพอื่ สังคม ๑๐ ผนวก

และสาธารณประโยชนE ในกจิ กรรมลูกเสอื

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสร4างหลักสูตร ๑,๐๔๐ ๒๖

14

รายวิชาของโรงเรยี นวดั หนองมว่ ง

กลมุV สาระการเรียนรภ4ู าษาไทย

รายวชิ าพื้นฐาน

ท 1101 ภาษาไทย 1 จำนวน 200 ช่ัวโมง

ท 12101 ภาษาไทย 2 จำนวน 200 ช่วั โมง

ท 13101 ภาษาไทย 3 จำนวน 200 ชว่ั โมง

ท 14101 ภาษาไทย 4 จำนวน 160 ชั่วโมง

ท 15101 ภาษาไทย 5 จำนวน 160 ชั่วโมง

ท 16101 ภาษาไทย 6 จำนวน 160 ชัว่ โมง

***********************************************

กลVมุ สาระการเรียนร4ูคณิตศาสตรa

รายวิชาพ้ืนฐาน

ค 11101 คณิตศาสตรE 1 จำนวน 200 ช่วั โมง

ค 12101 คณิตศาสตรE 2 จำนวน 200 ชั่วโมง

ค 13101 คณิตศาสตรE 3 จำนวน 200 ชัว่ โมง

ค 14101 คณิตศาสตรE 4 จำนวน 160 ชว่ั โมง

ค 15101 คณติ ศาสตรE 5 จำนวน 160 ชัว่ โมง

ค 16101 คณติ ศาสตรE 6 จำนวน 160 ชั่วโมง

**************************************************

15

กลุมV สาระการเรยี นรูว4 ิทยาศาสตรaและเทคโนโลยี

รายวิชาพ้ืนฐาน

ว 11101 วิทยาศาสตรแE ละเทคโนโลยี 1 จำนวน 80 ชว่ั โมง

ว 12101 วิทยาศาสตรแE ละเทคโนโลยี 2 จำนวน 80 ช่ัวโมง

ว 13101 วทิ ยาศาสตรEและเทคโนโลยี 3 จำนวน 80 ชั่วโมง

ว 14101 วิทยาศาสตรEและเทคโนโลยี 4 จำนวน 120 ช่วั โมง

ว 15101 วิทยาศาสตรEและเทคโนโลยี 5 จำนวน 120 ชว่ั โมง

ว 16101 วิทยาศาสตรEและเทคโนโลยี 6 จำนวน 120 ช่ัวโมง

**************************************************

กลมุV สาระการเรียนรู4สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

รายวชิ าพื้นฐาน

ส 11101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 จำนวน 80 ชั่วโมง
ส 11102 ประวัติศาสตรE 1 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ส 12101 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 2
ส 12102 ประวัติศาสตรE 2 จำนวน 80 ช่วั โมง
ส 13101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ส 13102 ประวัติศาสตรE 3
ส 14101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 จำนวน 80 ช่วั โมง
ส 14102 ประวัติศาสตรE 4 จำนวน 40 ชั่วโมง
ส 15101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5
ส 15102 ประวัตศิ าสตรE 5 จำนวน 120 ชว่ั โมง
ส 16101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 6 จำนวน 40 ชั่วโมง
ส 16102 ประวัติศาสตรE 6
จำนวน 120 ชัว่ โมง
จำนวน 40 ชั่วโมง

จำนวน 120 ชว่ั โมง
จำนวน 40 ชั่วโมง

**************************************************

16

กลมVุ สาระการเรยี นรสู4 ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

รายวชิ าพ้นื ฐาน

พ 11101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1 จำนวน 40 ชว่ั โมง

พ 12101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 2 จำนวน 40 ชวั่ โมง

พ 13101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 จำนวน 40 ชั่วโมง

พ 14101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง

พ 15101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 5 จำนวน 80 ชั่วโมง

พ 16101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 6 จำนวน 80 ชั่วโมง

**************************************************

กลมVุ สาระการเรยี นรศ4ู ิลปะ

รายวชิ าพืน้ ฐาน

ศ 11101 ศลิ ปะ 1 จำนวน 40 ชั่วโมง

ศ 12101 ศิลปะ 2 จำนวน 40 ชั่วโมง

ศ 13101 ศิลปะ 3 จำนวน 40 ชว่ั โมง

ศ 14101 ศิลปะ 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง

ศ 15101 ศิลปะ 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง

ศ 16101 ศลิ ปะ 6 จำนวน 80 ชั่วโมง

**************************************************

17

กลVมุ สาระการเรียนร4ูการงานอาชพี

รายวิชาพื้นฐาน

ง 11101 การงานอาชพี 1 จำนวน 40 ชว่ั โมง

ง 12101 การงานอาชพี 2 จำนวน 40 ช่วั โมง

ง 13101 การงานอาชพี 3 จำนวน 40 ชัว่ โมง

ง 14101 การงานอาชีพ 4 จำนวน 40 ช่ัวโมง

ง 15101 การงานอาชพี 5 จำนวน 40 ชั่วโมง

ง 16101 การงานอาชีพ 6 จำนวน 40 ช่ัวโมง

**************************************************

กลVุมสาระการเรยี นรภู4 าษาตาV งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

รายวชิ าพ้นื ฐาน

อ 11101 ภาษาองั กฤษ 1 จำนวน 120 ชว่ั โมง

อ 12101 ภาษาองั กฤษ 2 จำนวน 120 ช่ัวโมง

อ 13101 ภาษาองั กฤษ 3 จำนวน 120 ช่วั โมง

อ 14101 ภาษาองั กฤษ 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง

อ 15101 ภาษาอังกฤษ 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง

อ 16101 ภาษาองั กฤษ 6 จำนวน 80 ชั่วโมง

**************************************************

18

รายวิชาเพมิ่ เติม

อ 11201 ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สาร 1 จำนวน 80 ชั่วโมง

อ 12201 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 2 จำนวน 80 ชว่ั โมง

อ 13201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 3 จำนวน 80 ชว่ั โมง

อ 14201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 4 จำนวน 40 ชั่วโมง

อ 15201ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สาร 5 จำนวน 40 ชั่วโมง

อ 16201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 6 จำนวน 40 ชั่วโมง

**************************************************

19

สาระและมาตรฐานการเรียนรู4 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนร0ูใน ๘ กลุAมสาระการเรียนรู0 จำนวน
๓๑ สาระ ๕๕ มาตรฐาน ดงั น้ี

กลVมุ สาระการเรยี นรูภ4 าษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน)

สาระที่ ๑ การอาV น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช0กระบวนการอAานสร0างความร0ูและความคิดเพ่ือนำไปใช0 แก0ปlญ หา

ในการดำเนินชีวิตและมนี ิสยั รกั การอAาน
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช0กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยAอความ และเขียนเร่ืองราวใน

รูปแบบตาA ง ๆ เขยี นรายงานข0อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค0นคว0าอยAางมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระที่ ๓ การฟSง การดแู ละการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟlงและดูอยAางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความร0ู ความคิด ความร0ูสึก

ในโอกาสตาA ง ๆ อยาA งมวี จิ ารณญาณ และสรา0 งสรรคE
สาระท่ี ๔ หลกั การใช4ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข0าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ปิ lญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ0 ป`นสมบตั ิ ของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข0าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณEวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยAางเห็นคุณคAา

และนำมาประยกุ ตใE ช0ในชีวติ จรงิ

กลุมV สาระการเรียนรคู4 ณิตศาสตรa (๓ สาระการเรยี นร4ู ๗ มาตรฐานการเรียนร)4ู

สาระท่ี ๑ จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข0าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ

ของจำนวน ผลท่เี กิดข้ึนจากการดำเนินการสมบัติของการดำเนนิ การและนำไปใช0
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข0าใจและวเิ คราะหแE บบรปู ความสมั พนั ธE ฟlงกEชัน ลำดบั และอนกุ รม และนำไปใช0
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช0นิพจนE สมการ อสมการ และเมทริกซE อธิบายความสัมพันธEหรือชAวยแก0ปlญหา

ที่กำหนดให0

20

สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข0าใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต0องการวัด

และนำไปใช0
มาตรฐาน ค ๒.๒ เข0าใจและวิเคราะหEรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธEระหวAาง

รปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช0
สาระที่ ๓ สถติ ิและความนาV จะเปนi
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข0าใจกระบวนการทางสถติ แิ ละใช0ความร0ทู างสถติ ใิ นการแก0ปญl หา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เข0าใจหลกั การนับเบ้ืองต0น ความนAาจะเป`น และนำไปใช0

กลVุมสาระการเรยี นร4ูวิทยาศาสตรaและเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรaชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข0าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธEระหวAางสิ่งไมAมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

และความสัมพันธEระหวAางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตAางๆ ในระบบนิเวศการถAายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน
ระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปlญหา และผลกระทบที่มีตAอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล0อม แนวทางใน
การอนรุ ักษEทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ0 ขปlญหาสง่ิ แวดล0อม รวมทั้งนาความรไ0ู ปใช0ประโยชนE

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข0าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนAวยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารเข0าและออกจาก
เซลลE ความสัมพันธEของโครงสร0าง และหน0าที่ของระบบตAางๆ ของสัตวEและมนุษยEท่ีทำงานสัมพันธEกัน ความสัมพันธE
ของโครงสรา0 ง และหนา0 ท่ขี องอวยั วะตAางๆ ของพืชที่ทำงานสัมพนั ธกE ัน รวมท้ังนำความร0ูไปใช0ประโยชนE

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข0าใจกระบวนการและความสำคัญของการถAายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตAอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
สง่ิ มีชีวติ รวมท้งั นำความร0ูไปใชป0 ระโยชนE

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรaกายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข0าใจสมบัติของสสาร องคEประกอบของสสาร ความสัมพันธEระหวAางสมบัติของสสาร

กับโครงสร0างและแรงยึดเหน่ียวระหวAางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข0าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตAอวัตถุ ลักษณะการ
เคลื่อนที่แบบตาA งๆ ของวัตถุ รวมท้งั นำความร0ูไปใช0ประโยชนE

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข0าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถAายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธE
ระหวAางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณEที่เกี่ยวข0องกับเสียง แสง และ
คล่นื แมเA หล็กไฟฟcา รวมทัง้ นำความรไ0ู ปใช0ประโยชนE

21

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโa ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข0าใจองคEประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ กาแล็กซี

ดาวฤกษE และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธEภายในระบบสุริยะท่ีสAงผลตAอส่ิงมีชีวิตและการประยุกตEใช0เทคโนโลยี
อวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข0าใจองคEประกอบและความสัมพันธEของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน
โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลม ฟcา อากาศ และภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลตAอส่ิงมีชีวิต
และส่ิงแวดลอ0 ม

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข0าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยAาง

รวดเร็ว ใช0ความรู0และทักษะทางด0านวิทยาศาสตรE คณิตศาสตรE และศาสตรEอื่น ๆ เพื่อแก0ปlญหาหรือพัฒนางานอยAางมี
ความคิดสร0างสรรคEด0วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช0เทคโนโลยีอยAางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบ
ตAอชวี ิต สงั คม และสิง่ แวดลอ0 ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข0าใจและใช0แนวคิดเชิงคำนวณในการแก0ปlญหาที่พบในชีวิตจริงอยAางเป`นข้ันตอนและ
เป`นระบบ ใช0เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู0 การทำงาน และการแก0ปlญหาได0อยAางมีประสิทธิภาพ
รเ0ู ทAาทนั และมจี รยิ ธรรม

กลุVมสาระการเรียนร4ูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู0และเข0าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่

ตนนับถือและศาสนาอน่ื มศี รทั ธาทีถ่ กู ตอ0 ง ยึดม่นั และปฏิบัติตามหลกั ธรรม เพื่ออยรAู วA มกันอยาA งสนั ติสุข
มาตรฐาน ส๑.๒ เข0าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป`นศาสนิกชนท่ีดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ

ศาสนาท่ีตนนับถือ
สาระที่ ๒ หนา4 ทีพ่ ลเมืองวฒั นธรรมและการดำเนนิ ชีวิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข0าใจและปฏิบัติตนตามหน0าท่ีของการเป`นพลเมืองดี มีคAานิยมท่ีดีงามและธำรงรักษา

ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยูรA AวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยAางสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข0าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปlจจุบันยึดม่ัน ศรัทธา และธำรงรักษาไว0

ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ทE รงเปน` ประมขุ

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตรa

มาตรฐาน ส ๓.๑ เข0าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช0ทรัพยากร
ท่ีมีอยูAจำกัดได0อยAางมีประสิทธิภาพและคุ0มคAา รวมทั้งเข0าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
ดำรงชวี ิตอยาA งมีดุลยภาพ

22

มาตรฐาน ส ๓.๒ เข0าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตAาง ๆ ความสัมพันธEทางเศรษฐกิจ และความ
จำเปน` ของการรวA มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก

สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตรa
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข0าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรE สามารถใช0

วธิ ีการทางประวตั ิศาสตรมE าวเิ คราะหEเหตุการณEตAางๆ อยาA งเป`นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข0าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปlจจุบัน ในด0านความสัมพันธEและการ

เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณอE ยAางตอA เนื่อง ตระหนักถงึ ความสำคญั และสามารถวิเคราะหEผลกระทบท่เี กดิ ขึน้
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข0าใจความเป`นมาของชาติไทย วัฒ นธรรม ภูมิปlญ ญ าไทยมีความรัก

ความภูมใิ จและธำรงความเป`นไทย
สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตรa
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข0าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธEของสรรพส่ิงซ่ึงมี

ผลตAอกัน ใช0แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรEในการค0นหา วิเคราะหE และสรุปข0อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตรE
ตลอดจนใช0ภูมสิ ารสนเทศอยAางมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐาน ส ๕.๒ เข0าใจปฏิสัมพันธEระหวAางมนุษยEกับส่ิงแวดล0อมทางกายภาพท่ีกAอให0เกิดการสร0างสรรคE
วิถกี ารดาเนินชีวติ มจี ิตสำนึกและมสี วA นรวA มในการจัดการทรัพยากร และสิง่ แวดลอ0 มเพือ่ การพฒั นาทย่ี ่ังยนื

กลVุมสาระการเรยี นรู4สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ยa
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา0 ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ยE

สาระที่ ๒ ชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ๒.๑เข0าใจและเห็นคณุ คาA ตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษาและมีทกั ษะในการดำเนนิ ชวี ิต

สาระที่ ๓ การเคล่อื นไหว การออกกำลังกาย การเลนV เกม กฬี าไทย และกฬี าสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา0 ใจ มีทักษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลAนเกมและกฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเลAนเกม และการเลAนกีฬาปฏิบัติเป`นประจำ

อยAางสม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขAงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพ
ของการกฬี า

สาระท่ี ๔ การสรา4 งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอk งกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคAาและมีทักษะในการสร0างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การปcองกันโรค

และการสรา0 งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปcองกันและหลีกเลี่ยงปlจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเส่ียงตAอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช0ยาสาร

เสพตดิ และความรนุ แรง

23

สาระการเรยี นรู4ศิลปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ปl
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร0างสรรคEงานทัศนศิลป„ตามจินตนาการ และความคิดสร0างสรรคE วิเคราะหE วิพากษE

วิจารณEคุณคAางานทัศนศิลป„ ถAายทอดความรู0สึก ความคิดตAองานศิลปะอยAางอิสระช่ืนชมและประยุกตEใช0 ใน
ชีวิตประจำวัน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข0าใจความสัมพันธEระหวAางทัศนศิลป„ ประวัติศาสตรE และวัฒนธรรมเห็นคุณคAางาน
ทศั นศลิ ป„ท่เี ปน` มรดกทางวัฒนธรรมภมู ิปlญญาท0องถนิ่ ภูมปิ lญญาไทยและสากล

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข0าใจและแสดงออกทางดนตรีอยAางสร0างสรรคE วิเคราะหE วิพากษEวิจารณEคุณคAาดนตรี

ถAายทอดความร0ูสกึ ความคิดตอA ดนตรีอยาA งอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใE ชใ0 นชวี ิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข0าใจความสัมพันธEระหวAางดนตรี ประวัติศาสตรE และวัฒนธรรม เห็นคุณคAา

ของดนตรีท่ีเป`นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญl ญาท0องถ่นิ ภมู ิปญl ญาไทยและสากล
สาระที่ ๓ นาฏศลิ ปl
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข0าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป„อยAางสร0างสรรคE วิเคราะหE วิพากษEวิจารณEคุณคAา

นาฏศิลป„ ถาA ยทอดความร0ูสกึ ความคิดอยAางอสิ ระชน่ื ชมและประยุกตใE ชใ0 นชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข0าใจความสัมพันธEระหวAางนาฏศิลป„ ประวัติศาสตรEและวัฒนธรรม เห็นคุณคAา

ของนาฏศลิ ปท„ ี่เป`นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปlญญาทอ0 งถน่ิ ภมู ิปญl ญาไทยและสากล

กลุมV สาระการเรียนร4ูการงานอาชพี (๒ สาระ ๒ มาตรฐาน)

สาระที่ ๑ การดำรงชวี ติ และครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข0าใจการทำงาน มีความคิดสร0างสรรคE มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ

การจัดการ ทักษะกระบวนการแก0ปlญหา ทักษะการทำงานรAวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู0 มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช0พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล0อม เพื่อการดำรงชีวิต และ
ครอบครวั

สาระท่ี ๒ การอาชพี
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข0าใจ มีทักษะท่ีจำเป`น มีประสบการณE เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช0เทคโนโลยีเพื่อ
พฒั นาอาชพี มีคุณธรรมและมีเจตคติท่ดี ีตอA อาชพี

24

สาระการเรียนรภ4ู าษาตาV งประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน)

สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข0าใจและตีความเร่ืองที่ฟlงและอAานจากส่ือประเภทตAาง ๆ และแสดงความคิดเห็นอยAาง

มเี หตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข0อมูลขAาวสาร แสดงความร0ูสึกและ

ความคดิ เหน็ อยAางมีประสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข0อมูลขAาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองตAาง ๆ โดยการพูด

และการเขยี น
สาระที่ ๒ ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข0าใจความสัมพันธEระหวAางภาษากับวัฒนธรรมของเจ0าของภาษา และนำไปใช0ได0อยAาง

เหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข0าใจความเหมือนและความแตกตAางระหวAางภาษาและวัฒนธรรมของเจ0าของภาษา

กบั ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอ0 ยาA งถกู ต0องและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพันธaกบั กลมVุ สาระการเรียนรูอ4 นื่
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช0ภาษาตAางประเทศในการเชื่อมโยงความร0ูกับกลุAมสาระการเรียนร0ูอ่ืน และเป`นพ้ืนฐานใน

การพฒั นา แสวงหาความรู0 และเปดi โลกทัศนขE องตน
สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสมั พันธกa ับชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ0 าษาตAางประเทศในสถานการณตE าA งๆท้งั ในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช0ภาษาตAางประเทศเป`นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตAอ การประกอบอาชีพ และ

การแลกเปลย่ี นเรยี นร0กู บั สงั คมโลก

25

กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถิSนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนัG พนืG ฐาน
สาํ นักงานเขตพนGื ทSีการศกึ ษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต V
ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช VXYZ

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสระแกว0 เขต ๒ กำหนดกรอบหลกั สูตรระดับท0องถน่ิ ท่สี ำคัญไดแ0 กA
เปcาหมาย จุดเนน0 การพฒั นาผู0เรียนที่สอดคลอ0 งกบั สภาพ ปlญหาความต0องการและบริบทของทอ0 งถ่นิ เนอ้ื หา/สาระที่
เกย่ี วข0องกบั ท0องถ่ินหรอื ชุมชนทปี่ รากฏในมาตรฐานการเรยี นรู0และตวั ชว้ี ัดแตลA ะกลAมุ สาระการเรยี นรู0ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ซง่ึ มีการทบทวน ตรวจสอบและปรับปรุงกรอบหลักสูตรระดับ
ทอ0 งถน่ิ ตามมาตรฐานการเรียนร0ูและตวั ชีว้ ัด กลAมุ สาระการเรยี นรู0คณติ ศาสตรE วิทยาศาสตรE และสาระภมู ศิ าสตรE ใน
กลมุA สาระการเรียนรส0ู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพือ่ ใหส0 ถานศกึ ษานำไปใช0เปน`
แนวทางในการจดั ทำหลักสตู รสถานศกึ ษาไดอ0 ยAางมีประสิทธภิ าพ รายละเอยี ดมดี งั นี้

จุดมงุV หมาย
๑. ผู0เรยี นมคี ุณภาพตามกรอบหลกั สูตรระดบั ท0องถ่ินของเขตพื้นท่ี
๒. ผเู0 รียนมีทักษะด0านการอาA น เขียน คดิ คำนวณ ทกั ษะการคิดอยAางมีวจิ ารณญาณ และทักษะ

การใชเ0 ทคโนโลยีที่ไดม0 าตรฐาน
๓. ผ0เู รยี นมจี ติ สำนึกในความเป`นไทย อนุรักษEศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ิปญl ญาไทย มีความร0เู ก่ียวกบั จงั หวดั

สระแกว0 รกั และภูมใิ จในท0องถิ่นของตน
๔. ผ0ูเรียนมจี ิตสาธารณะทม่ี ุAงทำประโยชนEและสร0างส่ิงที่ดีงามในสังคม มีทักษะดำเนนิ ชวี ิต

ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและอยAูรAวมกนั ในสังคมอยาA งมคี วามสุข

เปาk หมาย/จดุ เน4น และคุณลักษณะ
๑. ทักษะการอAาน การเขียน และคิดคำนวณ
๒ . ทกั ษะการคดิ อยAางมีวิจารณญาณ
๓. ทกั ษะทางเทคโนโลยี
๔. รักท0องถน่ิ
๕. จติ สาธารณะ
๖. อยูอA ยาA งพอเพียง

สาระการเรียนร4ู
สาระการเรยี นรท0ู อ0 งถนิ่ กำหนดขึ้นจากการวิเคราะหมE าตรฐานการเรยี นร0ูและตวั ชี้วัด

แตลA ะกลมุA สาระการเรียนรูต0 ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ วาA มี

26

การกำหนดให0เรียนร0ทู ีเ่ กย่ี วข0องกบั ท0องถ่นิ หรือชุมชนหรือไมA ซึง่ จากการวเิ คราะหมE ีปรากฎในกลAุมสาระ
การเรยี นร0ู จำนวน ๗ กลAุมสาระการเรียนรู0 หลงั จากน้ันไดก0 ำหนดเนอ้ื หาสาระท0องถน่ิ ที่เกย่ี วขอ0 งใน
แตAละตัวช้ีวดั ทงั้ นใ้ี หส0 ถานศึกษาพิจารณามาตรฐานและสาระการเรียนร0ทู ่เี กีย่ วข0องกบั ทอ0 งถิ่นไปใช0ในการจัดทำ
หลกั สูตรสถานศกึ ษาตามความเหมาะสม สวA นกลุAมสาระการเรยี นรค0ู ณติ ศาสตรซE ึง่ ไมAปรากฎเนอื้ หา/สาระท่ีเกยี่ วข0อง
กบั ทอ0 งถนิ่ โดยตรงจงึ ขึ้นอยูAกบั สถานศึกษาท่จี ะนำเนอื้ หาสาระการเรียนรูท0 0องถิน่ ไปใช0จดั การเรียนรใู0 นลกั ษณะบูรณา
การ สาระการเรียนร0ูท0องถ่ินทีป่ รากฎเฉพาะในมาตรฐานการเรียนรู0แตลA ะกลAมุ สาระการเรยี นรู0 มีดงั นี้

๑. สาระและมาตรฐานการเรียนรูท4 ป่ี รากฏสาระการเรยี นร4ูท4องถน่ิ
๑.๑ กลุมV สาระการเรยี นร4ภู าษาไทย

สาระที่ ๑ การอาV น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช0กระบวนการอาA นสร0างความรแ0ู ละความคิดเพื่อนำไปใชต0 ัดสนิ ใจ แก0ปญl หาใน

การดำเนนิ ชวี ิต และมนี ิสัยรกั การอาA น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก0 ระบวนการเขียนเขยี นสือ่ สาร เขียนเรียงความ ยAอความ และเขยี นเรอื่ งราวใน

รูปแบบตAางๆ เขยี นรายงานขอ0 มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน0 ควา0
อยAางมีประสิทธภิ าพ
สาระที่ ๔ หลักการใชภ4 าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข0าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภมู ปิ lญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ0 ป`นสมบตั ขิ องชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา0 ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณEวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยาA งเห็นคณุ คAา
และนำมาประยุกตใE ชใ0 นชวี ิตจริง

๑.๒ กลVุมสาระการเรยี นรวู4 ิทยาศาสตรa
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรaชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข0าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธEระหวาA งสงิ่ ไมมA ีชีวติ กับส่งิ มีชีวติ

และความสัมพนั ธรE ะหวาA งส่งิ มีชีวติ กบั สง่ิ มชี ีวติ ตAาง ๆ ในระบบนเิ วศ การถAายทอด
พลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนทใี่ นระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญl หาและ
ผลกระทบท่มี ีตAอทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล0อม แนวทางในการอนุรกั ษE
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ0 ขปlญหาส่ิงแวดล0อม รวมท้งั นำความร0ไู ปใช0ประโยชนE
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข0าใจสมบตั ิของสง่ิ มชี วี ติ หนวA ยพน้ื ฐานของสิ่งมชี ีวิต การลำเลยี งสารเขา0 และออกจาก
เซลลE ความสัมพนั ธEของโครงสร0าง และหน0าทข่ี องระบบตAาง ๆ ของสตั วEและมนษุ ยEท่ี
ทำงานสัมพันธกE ัน ความสมั พันธขE องโครงสร0าง และหน0าทขี่ องอวัยวะตAาง ๆ ของพชื ที่
ทำงานสัมพนั ธEกนั รวมทั้งนำความรไ0ู ปใช0ประโยชนE

27

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรaกายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา0 ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถาA ยโอนพลงั งาน

ปฏิสมั พนั ธรE ะหวAางสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจำวนั ธรรมชาติของคลืน่
ปรากฏการณทE เี่ กี่ยวขอ0 งกับเสียง แสง และคล่ืนแมAเหลก็ ไฟฟาc รวมทัง้ นำความรู0ไปใช0
ประโยชนEสาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรEโลก และอวกาศ
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโa ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา0 ใจองคปE ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษE และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธEภายในระบบสุริยะทสี่ งA ผลตAอสง่ิ มชี วี ติ
และการประยุกตใE ช0เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข0าใจองคEประกอบและความสมั พันธEของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายใน
โลก และบนผวิ โลก ธรณพี บิ ตั ิภยั กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟาc อากาศและ
ภมู อิ ากาศโลก รวมท้งั ผลตอA สิง่ มีชวี ิตและส่งิ แวดล0อม

๑.๓ กลุVมสาระการเรยี นรสู4 งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู0 และเขา0 ใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื

ศาสนาทต่ี นนับถือและศาสนาอืน่ มีศรัทธาทถ่ี กู ตอ0 ง ยดึ มน่ั และปฏิบตั ติ าม
หลักธรรมเพอ่ื อยรAู Aวมกนั อยAางสันตสิ ุข

สาระที่ ๒ หนา4 ท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข0าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจl จุบนั ยดึ ม่นั ศรทั ธาและธำรง

รกั ษาไวซ0 ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทE รงเปน`
ประมขุ
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตรa
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข0าใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใช0
ทรพั ยากรทีม่ อี ยAูจำกัดได0อยAางมีประสทิ ธิภาพและคม0ุ คาA รวมทงั้ เข0าใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวติ อยาA งมีดลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข0าใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจตาA ง ๆ ความสัมพนั ธEทางเศรษฐกิจและ
ความจำเปน` ของการรวA มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตรa
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข0าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรE
สามารถใช0วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรมE าวเิ คราะหEเหตุการณตE Aาง ๆ อยาA งเปน`
ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข0าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดตี จนถงึ ปlจจุบนั ในด0านความสมั พนั ธE

28

และการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณอE ยาA งตอA เนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสำคญั
และสามารถวเิ คราะหผE ลกระทบทีเ่ กิดข้ึน
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตรa
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา0 ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธขE องสรรพสง่ิ ซง่ึ มผี ลตอA กัน ใช0
แผนท่ีและเคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตรใE นการคน0 หา วิเคราะหE และสรปุ ขอ0 มูล ตาม
กระบวนการทางภูมิศาสตรE ตลอดจนใช0ภมู สิ ารสนเทศอยAางมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข0าใจปฏิสมั พนั ธรE ะหวาA งมนษุ ยEกับสิ่งแวดล0อมทางกายภาพท่กี อA ให0เกดิ การสรา0 งสรรคE
วถิ กี ารดำเนินชีวติ มจี ิตสำนกึ และมสี วA นรวA มในการจัดการทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ0 ม
เพอ่ื การพัฒนาท่ยี ่งั ยนื

๑.๔ กลุมV สาระการเรียนร4ูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
สาระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข0าใจและเหน็ คณุ คาA ตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมที ักษะในการดำเนินชีวติ

สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว การออกกำลังกาย การเลVนเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลงั กาย การเลAนเกม และการเลนA กฬี า ปฏิบตั เิ ป`นประจำอยAาง

สมำ่ เสมอ มวี นิ ยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีนำ้ ใจนักกฬี า มีจิตวิญญาณในการ
แขงA ขนั และชน่ื ชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

สาระที่ ๔ การสร4างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปkองกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คณุ คAาและมที ักษะในการสร0างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสขุ ภาพ การปcองกันโรค

และการสรา0 งเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สขุ ภาพ
สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปcองกันและหลกี เลีย่ งปlจจยั เสย่ี ง พฤตกิ รรมเสี่ยงตAอสขุ ภาพ อบุ ัติเหตุ การใช0ยา

สารเสพตดิ และความรุนแรง

๑.๕ กลุมV สาระการเรียนรศู4 ิลปะ
สาระท่ี ๑ ทศั นศิลปl
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร0างสรรคEงานทัศนศิลป„ตามจินตนาการ และความคดิ สรา0 งสรรคE วิเคราะหE

วพิ ากษEวจิ ารณคE ุณคาA งานทศั นศลิ ป„ ถาA ยทอดความรู0สกึ ความคิดตAองานศลิ ปะ
อยAางอสิ ระชื่นชม และประยกุ ตEใชใ0 นชวี ติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา0 ใจความสัมพนั ธEระหวAางทัศนศิลป„ ประวตั ิศาสตรE และวัฒนธรรม เห็นคณุ คาA งาน
ทศั นศิลปท„ เี่ ปน` มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปlญญาทอ0 งถิ่น ภูมปิ ญl ญาไทย และสากล
สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข0าใจความสมั พันธรE ะหวAางดนตรี ประวัติศาสตรE และวัฒนธรรม เห็นคณุ คาA ของดนตรี

29

ทเ่ี ปน` มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปlญญาท0องถ่ิน ภมู ิปญl ญาไทยและสากล
สาระท่ี ๓ นาฏศิลปl
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา0 ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป„อยาA งสรา0 งสรรคE วเิ คราะหE วพิ ากษEวิจารณE

คณุ คAานาฏศลิ ป„ ถาA ยทอดความรส0ู กึ ความคดิ อยาA งอิสระ ช่นื ชม และประยกุ ตE
ใช0ในชีวติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา0 ใจความสมั พนั ธEระหวาA งนาฏศลิ ป„ ประวตั ศิ าสตรEและวฒั นธรรม เห็นคณุ คAา
ของนาฏศลิ ปท„ เี่ ปน` มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญl ญาท0องถนิ่ ภูมปิ ญl ญาไทยและสากล

๑.๖ กลVมุ สาระการเรียนร4กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ การดำรงชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑. ๑ เข0าใจการทำงาน มคี วามคดิ สร0างสรรคE มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะ

การจัดการ ทักษะกระบวนการแก0ปlญหา ทกั ษะการทำงานรวA มกัน และทักษะ
การแสวงหาความร0ู มคี ุณธรรม และลกั ษณะนิสยั ในการทำงาน มจี ติ สำนกึ
ในการใช0พลงั งาน ทรัพยากร และสิง่ แวดล0อม เพอ่ื การดำรงชวี ติ และครอบครัว
สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง ๓. ๑ เขา0 ใจ เหน็ คุณคAา และใช0กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน0 ข0อมลู
การเรยี นรู0 การสื่อสาร การแก0ปญl หา การทำงาน และอาชีพอยAางมปี ระสทิ ธิภาพ
ประสิทธผิ ล มคี ุณธรรม
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๔. ๑ เขา0 ใจ มที ักษะที่จำเปน` มีประสบการณE เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ0 ทคโนโลยี
เพ่อื พัฒนาอาชพี มคี ุณธรรม และมเี จตคติทีด่ ตี อA อาชพี

๑.๗ กลมVุ สาระการเรียนรูภ4 าษาตVางประเทศ
สาระที่ ๑ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข0าใจและตคี วามเรื่องทีฟ่ lงและอAานจากสื่อประเภทตAางๆ และแสดงความ

คิดเหน็ อยAางมเี หตผุ ล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มที กั ษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นข0อมูลขาA วสาร แสดง

ความรส0ู กึ และความคดิ เห็นอยAางมีประสิทธภิ าพ
สาระท่ี ๔ ภาษากับความสมั พันธaกบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช0ภาษาตาA งประเทศในสถานการณEตAางๆ ทง้ั ในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ0 าษาตาA งประเทศเป`นเครอ่ื งมือพนื้ ฐานในการศึกษาตAอ การประกอบ

อาชพี และการแลกเปลย่ี นเรียนรูก0 บั สงั คมโลก

30

๒. รายละเอยี ดสาระการเรียนรูท4 4องถนิ่
ผลการวเิ คราะหแE ตAละกลAุมสาระการเรยี นรู0ตามมาตรฐานการเรียนร0ขู องหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รวมทัง้ มาตรฐานการเรียนรู0และตัวช้วี ดั กลมุA สาระการเรียนรคู0 ณติ ศาสตรE
วิทยาศาสตรE และสาระภูมศิ าสตรE ในกลมAุ สาระการเรียนรู0สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.
2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ดังกลาA วขา0 งตน0 กำหนดสาระการเรียนร0ู
ทอ0 งถ่ินแตลA ะกลAมุ สาระการเรียนรใู0 นแตลA ะตัวชวี้ ัด ดงั นี้

31

สาระการเรยี นร้ทู ้องถิ<น
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

สาระท่ี ๑ การอVาน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช0กระบวนการอAานสรา0 งความร0ูและความคิดเพื่อนำไปใชต0 ัดสินใจ แก0ปlญหาในการ ดำเนนิ ชวี ิต
และมนี ิสยั รักการอAาน

ชั้น ตวั ช้วี ัดท่ี สาระการเรียนรแ0ู กนกลาง สาระการเรียนรท0ู 0องถนิ่

ป.๓ ๓. ต้ังคำถามและ - การอาA นจบั ใจความจาก การอAานจบั ใจความจากสื่อตาA ง ๆ เชนA
ตอบคำถามเชงิ สื่อตAาง ๆ เชนA นิทานหรอื เรอื่ งเกี่ยวกับท0องถิ่น ตัวอยาA ง
เหตุผลเกยี่ วกบั - นทิ านหรอื เร่อื งเกี่ยวกบั ๑. นทิ านในทอ0 งถนิ่ เชAน
เรื่องทอ่ี Aาน ทอ0 งถิ่น - พระลกั พระราม ขลู ูนางอวั้ นางผมหอม สงั ขE
-เรอ่ื งเลAาสนั้ ๆ ศลิ ป„ชยั จำปาสต่ี 0น ฯลฯ
๔. ลำดบั เหตกุ ารณE -บทเพลงและบทร0อยกรอง ๒. ประวตั จิ ังหวัดสระแก0ว ประวตั อิ ำเภอแตลA ะ
และคาดคะเน -บทเรียนในกลุมA สาระการ อำเภอ ตำบล หมูบA า0 น ฯลฯ
เหตุการณEจาก เรยี นรอ0ู น่ื ๓. ประวัติ/ตำนาน/ท่ีมาของสถานทแี่ หลAง
เรอ่ื งที่อาA นโดย -ขาA วและเหตุการณEในชีวติ ประวตั ศิ าสตรใE นจังหวดั สระแก0ว เชAน ตำนาน
ระบเุ หตุผล ประจำวนั ในทอ0 งถิน่ และ ทพั องคEดำและเขาฉกรรจE ตำนานเขาทะลุ
ประกอบ ชมุ ชน ประวัตสิ ระแกว0 สระขวัญ
๔. เนือ้ หาเกีย่ วกับแหลงA ทAองเท่ยี ว/สถานที่สำคญั
๕. สรปุ ความร0ูและ ในจงั หวดั สระแก0ว เชAน ละลุ อุทยานแหAงชาติ
ข0อคดิ จากเร่อื งท่ี ปางสดี า อทุ ยานแหงA ชาติตาพระยา ตลาดโรง
อAานเพือ่ นำไปใช0 เกลอื ประตูชัยอรญั ประเทศ ศาลหลกั เมือง
ในชีวิตประจำวนั สระแกว0 ฯลฯ โรงเรยี นกาสรกสิวทิ ยE ทุAงทานตะวัน
ถ้ำเพชรโพธ์ิทอง ถ้ำน้ำพระศวิ ะ ปราสาทห0วย
พระใย ปราสาทเมืองไผA อาA งเกบ็ นำ้ นฤบดินทร
จนิ ดา (จ.ปราจีนบรุ ี)
๕. ประวัติบุคคลสำคญั ในท0องถ่นิ เชAน
เจ0าพระยาบดินทรเE ดชา(สิงหE สิงหเสน)ี
เจา0 พระยาอภยั ภเู บศศรE(ชุม อภยั วงศE)
พระครอู รญั ประเทศคณาจารยE
(ลี อนิ ทโชโต) นายเสนาะ เทยี นทอง

32

นายวิทยา เทียนทอง เพลนิ พรมแดน
*บคุ คลสำคัญทีม่ ผี ลงานดเี ดนA อืน่ ๆระดับอำเภอ
ตำบล หมบู า0 นฯลฯ
6. เรื่องอน่ื ๆ เชAน
-เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษสระแกว0
-โรงพยาบาลวัฒนานครสาขาแพทยแE ผนไทย
-โรงพยาบาลวังนำ้ เยน็ สาขาแพทยEแผนไทย
๖. ศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความ
เชอื่ เชน=
- ประเพณกี ารแตAงงาน(ขึ้นสาว ซูสาว แลนA นำ
ฮ0าง) วันสงกรานตE (สรงน้ำพระ
แหAดอกไม0 รดนำ้ ดำหัว สรงหอกลางบา0 น)
บายศรสี ขู วญั เอาขวญั คนปวk ย ทำขวญั ขา0 ว
แหกA ัณฑEหลอน ลาบวช ทำบุญกลางบา0 น
ทำบญุ ขา0 วประดับดนิ บุญข0าวจี่ บุญข0าวพนั ก0อน
แฮกนา แก0บน ข้นึ บ0านใหมA งานศพ บุญบงั้ ไฟ
แหปA ราสาทผ้งึ วนั สารท / ตรุษ
- ความเช่ือ เชAน ฮีต ๑๒ ครอง๑๔ ขะลำ รำ
กะลา (กล็อต)
- การแสดง เชAน รำกรับ (เรอื มจะกรับ) รำสาก
เรอื มอัปสร รำแหAหอปราสาทผง้ึ
รำบวงสรวงแมAยAาซอม กันตรึม หมอลำฯลฯ
๗. เร่ืองราวเก่ียวกับอาชีพสำคัญในจังหวดั
สระแกว0 ทั้งระดับอำเภอ / ตำบล / หมูAบา0 น
๘. เร่ืองราวอ่นื ๆทเี่ ก่ียวขอ0 งกับทอ0 งถิน่ ในจังหวดั
สระแก0วทงั้ ระดับอำเภอ / ตำบล หรอื หมบAู า0 น
เชนA
-เขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษสระแก0ว ขาA ว และ
เหตุการณEในชวี ิตประจำวนั ในท0องถน่ิ และชมุ ชน
เชนA
-ปlญหาแรงงานคนกัมพชู า
-ปญl หาการลกั ลอบเข0าเมอื งของคนกัมพชู า
-ปญl หาการจารกรรมตาA งๆ
-ความเคลอื่ นไหวเก่ียวกบั เขตพัฒนาเศรษฐกจิ

33

พเิ ศษสระแก0ว ฯลฯ

ป.๕ ๖. อาA นงานเขยี น การอAานงานเขยี นเชิง - การอAานงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำสั่ง ขอ0 แนะนำ
เชงิ อธิบาย คำส่ัง อธบิ าย คำสั่ง ขอ0 แนะนำ และปฏิบัตติ าม
ข0อแนะนำ และ และปฏบิ ตั ติ าม เชนA - คAูมือและเอกสารของโรงเรยี นท่ีเกีย่ วขอ0 ง
ปฏิบัติตาม - การใชพ0 จนานุกรม กับนักเรยี นทกุ ประเภท
- การใช0วสั ดุอุปกรณE
ป.๖ ๖. อาA นงานเขยี น - การอาA นฉลากยา - การอาA นงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คำส่งั ข0อแนะนำ
เชิงอธบิ าย คำส่งั - คAมู ือและเอกสารของ และปฏิบตั ิตาม ตวั อยาA งเชAน
ขอ0 แนะนำ และ ขอ0 ตกลงในการอยAูรวA มกันในโรงเรียน
ปฏิบตั ิตาม โรงเรยี นทเ่ี กย่ี วขอ0 ง และการใช0สถานทสี่ าธารณะในชุมชนและ
กับนกั เรียน ทอ0 งถิ่น เชนA
- ขาA วสารทางราชการ -ข0อตกลงประจำหอ0 งเรยี น
-ระเบยี บการใชห0 อ0 งสมุด หอ0 งคอมพวิ เตอรE
การอาA นงานเขียนเชิง
อธบิ าย คำส่ัง ขอ0 แนะนำ หอ0 งตาA ง ๆ
และปฏิบัตติ าม -ระเบยี บการใช0ห0องสมุดประชาชน
- การใช0พจนานกุ รม ในโรงเรยี นฯลฯ
-การปฏบิ ัตติ นในการอยAู -ระเบยี บการเข0าชมแหลAงทอA งเทยี่ วในทอ0 งถิ่น
รAวมกนั ในสังคม ของตน
- ขอ0 ตกลงในการอยAู

รวA มกันในโรงเรยี น และ
การใช0สถานทีส่ าธารณะ
ในชมุ ชนและท0องถน่ิ

34

สาระท่ี ๓ การฟSง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟSงและดูอยVางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความร4ู ความคดิ และความร4สู กึ ใน

โอกาสตVาง ๆ อยาV งมีวจิ ารณญาณและสร4างสรรคa

ชั้น ตัวชวี้ ดั ท่ี สาระการเรียนร0แู กนกลาง สาระการเรียนรท0ู อ0 งถน่ิ

ป.3 ๕. พดู ส่อื สารได0 • การพดู สอ่ื สารใน • การพดู สือ่ สารในชีวิตประจำวัน
ชดั เจนตรงตาม ชวี ิตประจำวนั เชนA ๑. การแนะนำสถานที่ตาA ง ๆในโรงเรียน
วตั ถุประสงคE - การแนะนำตนเอง ๒. การแนะนำสถานท่ีในชมุ ชน เชนA
- การแนะนำสถานที่ใน - สถานท่ีสำคัญ
โรงเรยี นและในชุมชน - ศาลหลกั เมอื ง
- การแนะนำ/เชญิ ชวน - วดั
เก่ยี วกับการปฏิบตั ติ นใน - ท่ที ำการ อบต. /เทศบาล
ด0านตาA ง ๆ เชAน การรกั ษา - สวนสาธารณะ
ความสะอาดของรAางกาย - สถานท่ีทAองเทย่ี วตAาง ๆ
- แหลงA เรียนรู0อ่ืนในท0องถนิ่ ของตน

ฯลฯ

สาระที่ ๔ หลกั การใชภ4 าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข4าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญS ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ4 ปiนสมบัติของชาติ

ชนั้ ตัวชีว้ ดั ที่ สาระการเรยี นร0แู กนกลาง สาระการเรยี นรท0ู อ0 งถิ่น

ป.๒ ๕. เลือกใช0ภาษาไทย - ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น เชAน ภาษาญ0อ ภาษาอสี าน

มาตรฐานและ - ภาษาถิน่ ภาษาเขมร ภาษาเวยี ดนาม
ภาษาถิ่นได0 ภาษาจนี ฯลฯ
เหมาะสมกับ

กาลเทศะ

35

ชั้น ตวั ชว้ี ัดที่ สาระการเรยี นรู0แกนกลาง สาระการเรียนรู0ท0องถิน่

ป.๔ ๗. เปรยี บเทยี บ - ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่ เชนA ภาษาญอ0 ภาษาอสี าน
ภาษาไทยมาตรฐาน - ภาษาถ่ิน ภาษาเขมร ภาษาเวยี ดนาม

กับ ภาษาจีน ฯลฯ
ภาษาถิน่ ได0

ป.5 ๓. เปรยี บเทียบ - ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถนิ่ เชนA ภาษาญอ0 ภาษาอสี าน

ภาษาไทยมาตรฐาน - ภาษาถนิ่ ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม
กับ ภาษาจนี ฯลฯ
ภาษาถน่ิ

ป.6 ๒. ใชค0 ำได0เหมาะสม - คำราชาศัพทE ภาษาถิ่น เชAน ภาษาญอ0 ภาษาอีสาน
กับกาลเทศะและ - ระดับภาษา ภาษาเขมร ภาษาเวยี ดนาม
บคุ คล - ภาษาถิ่น ภาษาจีน ฯลฯ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข0าใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณวE รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยAางเห็นคุณคAาและนำมา

ประยกุ ตใE ช0ในชวี ติ จริง

ช้ัน ตวั ช้ีวัดท่ี สาระการเรียนรแู0 กนกลาง สาระการเรยี นรท0ู อ0 งถนิ่

ป.2 ๒. ร0องบทรอ0 งเลAน - บทร0องเลนA ที่มคี ุณคAา บทร0องเลAนในท0องถ่ิน
สำหรบั เด็กในท0องถิ่น - บทรอ0 งเลนA ในทอ0 งถน่ิ

- บทรอ0 งเลนA ในการละเลAน
ของเดก็ ไทย

ป.3 ๑. ระบุขอ0 คดิ ทีไ่ ด0จาก • วรรณคดี วรรณกรรม • นทิ านหรือเรื่องในทอ0 งถนิ่ เชAน

การอาA น และเพลงพืน้ บ0าน ๑. นทิ านในทอ0 งถิน่ เชAน
วรรณกรรมเพ่ือ • นิทานหรอื เรอื่ งในทอ0 งถิ่น -นิทานขูลนู างอว้ั
นำไปใชใ0 น - เร่อื งสัน้ งAายๆ - นิทานนางผมหอม ฯลฯ

ชวี ิตประจำวนั -ปริศนาคำทาย ๒. ประวัติ/ตำนาน/ทีม่ าของสถานทีแ่ หลAง
๒. ร0จู ักเพลงพ้ืนบ0าน - บทร0อยกรอง ประวตั ิศาสตรEในจังหวัดสระแก0ว เชAน
และเพลงกลAอม - เพลงพ้ืนบา0 น -ตำนานทัพองคดE ำและเขาฉกรรจE

เดก็ เพ่ือปลูกฝlง - เพลงกลอA มเดก็ -ตำนานเขาทะลุ
ความช่ืนชม • วรรณกรรมและวรรณคดี -ประวัติสระแก0วสระขวัญ
วฒั นธรรมทอ0 งถิ่น ในบทเรยี นและตามความ • ประวตั ิของอำเภอตาA งๆในจังหวดั สระแก0ว

๓. แสดงความ สนใจ ๓. เนือ้ หาเกีย่ วกับแหลAงทอA งเทีย่ ว/สถานท่สี ำคัญ

36

คิดเหน็ เก่ยี วกับ ในจังหวัดสระแกว0 เชนA
วรรณคดี ท่ีอาA น - น้ำตกปางสีดา ละลุ ประตชู ัยอรัญประเทศ
ศาลหลักเมอื งสระแก0ว ฯลฯ
๔. เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั อาชพี สำคัญในจังหวดั
สระแกว0 ทั้งระดบั อำเภอ / ตำบล หรือหมูAบ0าน
๕. เรือ่ งราวอนื่ ๆท่เี ก่ียวข0องกบั ทอ0 งถ่ินในจังหวัด
สระแกว0 ท้งั ระดบั อำเภอ / ตำบล หรือหมูAบ0าน
๖. ประวัติบคุ คลสำคัญ

ป.4 ๑. ระบขุ 0อคิดจาก • วรรณคดีและวรรณกรรม ๑. นทิ านพื้นบ0าน เชนA - พระลักพระราม
นิทานพื้นบ0าน เชนA ขูลนู างอ้วั นางผมหอม สังขศE ลิ ปช„ ัย
หรอื นิทานคติ - นทิ านพ้นื บา0 น จำปาส่ตี 0น

ธรรม - นทิ านคติธรรม ๒. เพลงพ้ืนบ0าน เชAน กนั ตรมึ หมอลำ
๒. อธิบายข0อคดิ จาก - เพลงพืน้ บ0าน (*อาจใช0เพลงพน้ื บ0านของภาคกลางแทน) เพลง
การอAานเพ่ือ - วรรณคดีและ พื้นบา0 น เชนA กนั ตรมึ หมอลำ

นำไปใช0ในชวี ติ จริ วรรณกรรมในบทเรียนและ (*อาจใช0เพลงพ้นื บ0านของภาคกลางแทน)
๓. รอ0 งเพลงพื้นบา0 น ตามความสนใจ
- เพลงพน้ื บ0าน

ป.5 ๑. สรปุ เรื่องจาก • วรรณคดีและวรรณกรรม ๑. นทิ านพื้นบา0 น เชAน - พระลกั พระราม
วรรณคดีหรอื เชนA ขูลนู างอั้ว นางผมหอม สงั ขEศิลปช„ ยั
วรรณกรรมทอ่ี าA น - นทิ านพ้ืนบ0าน จำปาสีต่ 0น

๒. ระบุความรแู0 ละ - นทิ านคตธิ รรม ๒. เพลงพื้นบา0 น เชAน กันตรึม หมอลำ
ขอ0 คิดจากการ - เพลงพื้นบา0 น (*อาจใช0เพลงพืน้ บา0 นของภาคกลางแทน)
อAานวรรณคดีและ - วรรณคดแี ละ

วรรณกรรมท่ี วรรณกรรม
สามารถนำไปใช0 ในบทเรยี นและตามความ
ในชีวติ จรงิ สนใจ

๓. อธบิ ายคณุ คAาของ
วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม

ป.6 ๑. แสดงความ • วรรณคดแี ละวรรณกรรม • นทิ านพนื้ บา0 นทอ0 งถิน่ ตนเองและทอ0 งถิ่นอ่ืน
คดิ เหน็ เชAน ๑. นทิ านพน้ื บา0 น เชนA พระลักพระราม
จากวรรณคดี หรือ - นทิ านพนื้ บ0านทอ0 งถน่ิ ขลู นู างอั้ว นางผมหอม สงั ขศE ิลป„ชยั
วรรณกรรมท่อี Aาน ตนเองและท0องถ่นิ อื่น
จำปาส่ีต0น

37

๒. เลาA นิทาน - นทิ านคตธิ รรม ๒. นิทานพื้นบ0านของท0องถิน่ ในจังหวัดอน่ื ๆ
พืน้ บา0 นทอ0 งถิ่น - เพลงพ้นื บา0 น ๓. เพลงพื้นบ0าน เชนA กันตรึม หมอลำ
ตนเอง และ - วรรณคดีและ (*อาจใชเ0 พลงพื้นบา0 นของภาคกลางแทน)
นิทานพืน้ บา0 นของ วรรณกรรมในบทเรยี นและ
ท0องถ่ินอืน่ ตามความสนใจ
๓. อธบิ ายคุณคาA
ของวรรณคดี และ
วรรณกรรมทอี่ Aาน
และนำไปประยกุ ตEใช0
ใน
ชีวติ จริง

38

สาระการเรยี นร้ทู ้องถ<ิน
กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรชa วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา0 ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธรE ะหวาA งสิ่งไมAมีชวี ติ
กบั สิ่งมีชีวติ และความสมั พันธรE ะหวาA งสง่ิ มชี วี ติ กบั สิ่งมีชวี ิตตาA ง ๆ ในระบบนิเวศ การถAายทอดพลังงาน
การเปล่ียนแปลงแทนทใ่ี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญl หาและผลกระทบท่ีมีตอA ทรัพยากร

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ0 ม แนวทางในการอนุรกั ษEทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ0 ขปญl หาส่ิงแวดล0อม รวมทั้งนำ
ความรู0ไปใชป0 ระโยชนa

ช้นั ตวั ชี้วดั ที่ สาระการเรียนรแ0ู กนกลาง สาระการเรยี นรทู0 อ0 งถ่ิน

ป.1 ๑. ระบุช่อื พชื และสตั วE • บรเิ วณตAาง ๆ ในทอ0 งถน่ิ เชAน • พืชและสตั วทE ี่อาศยั อยAบู ริเวณตAาง ๆ ใน
ทอ่ี าศยั อยบAู ริเวณตาA ง สนามหญ0า ใต0ตน0 ไมส0 วนหยAอม ท0องถ่นิ ของตน เชAน สนามหญา0 ใต0ต0นไม0

จากข0อมูลท่รี วบรวม แหลAงนำ้ อาจพบพืชและสัตวหE ลาย สวนหยอA ม แหลAงน้ำ ฯลฯ
ได0 ชนดิ อาศยั อยูA • สภาพแวดล0อมในทอ0 งถ่ินภายในจงั หวดั
๒. บอก • บริเวณทแี่ ตกตAางกันอาจพบพชื สระแกว0 เชAน

สภาพแวดล0อมท่ี และสัตวแE ตกตAางกันเพราะ -อุทยานแหงA ชาตปิ างสดี า
เหมาะสมกับการ สภาพแวดลอ0 มของแตลA ะบรเิ วณจะมี -อุทยานแหAงชาติตาพระยา
ดำรงชีวิต ความเหมาะสมตAอการดำรงชวี ิตของ -สถานีเพาะพันธEุสัตวEปkาชอA งกล่ำบน

ของสัตวEในบรเิ วณที่ พืชและสัตวE -โรงเรยี นกาสรกสวิ ทิ ยE
อาศยั อยูA ทอ่ี าศัยอยใูA นแตAละบริเวณ เชAน สระ -ถ้ำเพชรโพธ์ทิ อง
นำ้ มีน้ำเป`นทีอ่ ยอAู าศัยของหอย ปลา -ถำ้ นำ้ พระศิวะ

สาหรAาย เปน` ที่หลบภัยและมแี หลงA
อาหารของหอยและปลา บรเิ วณ
ต0นมะมAวงมตี น0 มะมวA งเป`นแหลAงท่อี ยAู

และมีอาหารสำหรบั กระรอกและมด
• ถ0าสภาพแวดล0อมในบรเิ วณท่พี ืช
และสตั วEอาศัยอยมูA ีการเปล่ยี นแปลง

จะมผี ลตอA การดำรงชวี ิตของ
พชื และสตั วE

ป.5 ๑. บรรยายโครงสร0าง • ส่งิ มีชวี ติ ทงั้ พืชและสัตวEมีโครงสรา0 ง • สภาพแวดล0อมในท0องถิ่นภายในจังหวัด

และลักษณะของ และลกั ษณะท่เี หมาะสมในแตAละ สระแก0ว เชAน
ส่งิ มีชีวิต แหลAงทอี่ ยAู ซ่งึ เปน` ผลมาจากการ -อทุ ยานแหงA ชาติปางสีดา

39

ทเ่ี หมาะสมกับการ ปรบั ตวั ของส่งิ มชี ีวติ เพ่อื ให0 -อทุ ยานแหงA ชาตติ าพระยา
ดำรงชวี ติ ซึ่งเปน` ผล ดำรงชวี ิตและอยรAู อดได0ในแตAละ -สถานเี พาะพนั ธุสE ัตวEปาk ชAองกลำ่ บน
มาจาก แหลAงทอ่ี ยูA เชนA ผกั ตบชวามชี Aอง -โรงเรยี นกาสรกสิวิทยE
การปรับตวั ของ อากาศในกา0 นใบ ชAวยใหล0 อยนำ้ ได0 -ถำ้ เพชรโพธิ์ทอง
สง่ิ มชี ีวติ ในแตลA ะ ต0นโกงกางที่ข้ึนอยใAู นปkาชายเลนมี -ถำ้ นำ้ พระศิวะ
แหลAงท่อี ยAู รากคำ้ จนุ ทำให0ลำต0นไมลA 0ม ปลามี
ครบี ชAวยในการเคล่ือนที่ในน้ำ

ป.5 2. อธิบาย • ในแหลAงท่ีอยูหA นึ่ง ๆ สง่ิ มีชวี ิตจะมี • สภาพแวดลอ0 มในทอ0 งถน่ิ ภายในจงั หวดั

ความสมั พันธรE ะหวาA ง ความสัมพันธE ซ่งึ กนั และกนั และ สระแกว0 เชนA
สิ่งมชี ีวิตกบั สิ่งมชี ีวิต สมั พนั ธกE บั สงิ่ ไมAมชี วี ิต เพ่ือประโยชนE -อทุ ยานแหงA ชาติปางสดี า
และความสมั พันธE ตAอการดำรงชีวติ เชนA ความสมั พนั ธE -อุทยานแหงA ชาติตาพระยา

ระหวาA งสงิ่ มีชีวิตกบั กนั ดา0 นการกินกันเปน` อาหาร เป`น -สถานเี พาะพนั ธEสุ ัตวEปkาชAองกลำ่ บน
สงิ่ ไมมA ีชวี ติ เพอ่ื แหลงA ทอ่ี ยูAอาศยั หลบภยั และเล้ียงดู -โรงเรียนกาสรกสวิ ิทยE
ประโยชนตE Aอการ ลูกออA น ใชอ0 ากาศในการหายใจ

ดำรงชวี ติ • สิ่งมีชีวิตมกี ารกินกนั เปน` อาหาร
๓. เขยี นโซอA าหารและ โดยกินตอA กันเป`นทอด ๆ ในรปู แบบ
ระบบุ ทบาทหน0าท่ีของ ของโซอA าหาร ทำใหส0 ามารถ ระบุ

สิ่งมชี ีวติ ที่เป`นผผ0ู ลิต บทบาทหนา0 ที่ของสิง่ มีชีวติ เป`นผผู0 ลติ
และผบู0 ริโภคในโซA และผบู0 ริโภค
อาหาร

๔. ตระหนกั ในคุณคาA
ของส่งิ แวดลอ0 มทมี่ ตี อA
การดำรงชีวติ ของ

สิ่งมชี ีวติ โดยมสี Aวน
รวA มในการดูแลรักษา
สิ่งแวดลอ0 ม

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรกa ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา0 ใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถาA ยโอนพลังงานปฏสิ ัมพนั ธรE ะหวาA ง
สสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณทE ีเ่ กย่ี วข0องกับเสียง แสง และคลื่น

แมAเหลก็ ไฟฟาc รวมท้ังนำความรไ0ู ปใช0ประโยชนE

ชั้น ตวั ช้ีวดั ที่ สาระการเรยี นรแู0 กนกลาง สาระการเรยี นรูท0 อ0 งถน่ิ

ป.3 ๑. ยกตัวอยาA งการ • พลงั งานเป`นปริมาณทแี่ สดงถึง ตัวอยาA งการเปลีย่ นพลังงานหน่ึงไปเป`น
เปล่ยี นพลงั งานหนึง่ ไป ความสามารถในการทำงาน อกี พลังงานหนึ่งจากหลักฐานเชงิ

40

เปน` อกี พลงั งานมหี ลายแบบ เชนA พลงั งาน ประจกั ษใE นทอ0 งถ่นิ ของตน
พลงั งานหนงึ่ จาก กล พลังงานไฟฟาc พลังงานแสง เชAน
หลกั ฐาน พลังงานเสียง และพลงั งานความ โรงงานไฟฟcาพลังงานแสงอาทติ ยE
เชิงประจกั ษE ร0อน โดยพลงั งานสามารถเปล่ยี น ต. หนั ทราย อ.อรญั ประเทศ
๒. บรรยายการทำงาน จากพลงั งานหนง่ึ ไปเป`นอกี พลังงาน จ. สระแก0ว
ของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟcา หนง่ึ ได0 เชAน การถมู ือจนรู0สกึ ร0อน -โรงไฟฟcาพลังนำ้ ชAองหกลำ่ บน
และระบุแหลAงพลังงาน เปน` การเปลีย่ นพลงั งานกลเป`น อ.วฒั นานคร จ.สระแกว0
ในการผลติ ไฟฟาc จาก พลงั งานความรอ0 นแผงเซลลEสุริยะ -กงั หันวดิ นำ้ จากพลังงานลม, พลังงาน
ข0อมูลที่รวบรวมได0 เปลย่ี นพลังงานแสงเป`นพลงั งาน ความรอ0 นจากแก็สชีวภาพ
๓. ตระหนักใน ไฟฟcา หรอื เครอ่ื งใชไ0 ฟฟาc เปลี่ยน ท่ีวทิ ยาลัยโพธิวิชชาลัย อ.วฒั นานคร
ประโยชนแE ละโทษของ พลังงานไฟฟาc เปน` พลงั งานอื่น จ.สระแก0ว
ไฟฟcา โดยนำเสนอ • ไฟฟcาผลติ จากเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟcา • ไฟฟาc ผลติ จากเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟาc ซง่ึ ใช0
วธิ ีการใชไ0 ฟฟcาอยAาง ซงึ่ ใช0พลังงานจากแหลAงพลงั งาน พลังงานจากแหลAงพลังงานธรรมชาตใิ น
ประหยัด และ ธรรมชาตหิ ลายแหลงA เชAน พลงั งาน ท0องถ่นิ เชAน พลังงานจากลม พลงั งาน
จากลม พลงั งานจากน้ำ พลงั งาน จากนำ้ พลงั งานจากแกส‰ ธรรมชาติ
จากแก‰สธรรมชาติ พลงั งานจากแสงอาทติ ยE
• พลงั งานไฟฟาc มีความสำคัญตอA เชนA
ชีวติ ประจำวนั การใชไ0 ฟฟาc นอกจาก -โรงงานไฟฟcาพลังงานแสงอาทิตยE
ต0องใช0อยาA งถูกวธิ ี ประหยดั และ ต. หนั ทราย อ.อรัญประเทศ
ค0มุ คAาแลว0 ยังตอ0 งคำนงึ ถงึ ความ จ. สระแกว0
ปลอดภัยด0วย -โรงไฟฟcาพลังน้ำชAองกล่ำบน
อ.วฒั นานคร จ.สระแก0ว
- กงั หนั วดิ นำ้ จากลม, พลังงานความร0อน
จากแก็สชวี ภาพที่วทิ ยาลยั โพธวิ ชิ ชาลยั
อ.วฒั นานคร จ.สระแกว0

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโa ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข0าใจองคEประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว

ฤกษE และระบบสรุ ยิ ะ รวมทั้งปฏิสมั พันธภE ายในระบบสรุ ยิ ะที่สAงผลตAอสิง่ มชี วี ิต และการประยุกตใE ช0เทคโนโลยอี วกาศ

ชัน้ ตัวชีว้ ดั ท่ี สาระการเรยี นรแ0ู กนกลาง สาระการเรยี นรทู0 0องถิน่

ป.1 1. ระบดุ าวทปี่ รากฏ • บนทอ0 งฟาc มดี วงอาทติ ยE ดวง • ระบบดวงดาวจากหลกั ฐานเชิง
บนทอ0 งฟาc ในเวลา จนั ทรE และดาวซง่ึ ในเวลากลางวัน ประจักษใE นทอ0 งถิ่นและชุมชนของตน
กลางวัน จะมองเหน็ ดวงอาทิตยแE ละอาจ • ระบบดวงดาวจำลองทีศ่ นู ยE

41

และกลางคนื จาก มองเหน็ ดวงจันทรEบางเวลาในบาง วทิ ยาศาสตรEสระแก0ว อ. เมอื งสระแก0ว
ข0อมลู ท่ีรวบรวมได0
๒. อธิบายสาเหตุที่ วันแตAไมAสามารถมองเห็นดาว จ.สระแกว0
มองไมเA หน็ ดาวสAวน • ในเวลากลางวนั มองไมAเหน็ ดาว
ใหญใA นเวลากลางวัน
จากหลกั ฐานเชงิ สAวนใหญA เนอ่ื งจากแสงอาทติ ยE
ประจกั ษE สวAางกวAาจงึ กลบแสงของดาว สAวน
ในเวลากลางคืนจะมองเห็นดาวและ

มองเหน็ ดวงจันทรEเกอื บทกุ คนื

ป.3 ๑. อธบิ ายแบบรูป • คนบนโลกมองเหน็ ดวงอาทิตยE • ปรากฏการณEของดวงอาทติ ยแE ละ

เสน0 ทางการขน้ึ และตก ปรากฏข้ึนทางด0านหนง่ึ และตกทาง ประโยชนEของดวงอาทติ ยEทม่ี ีตอA สง่ิ มีชีวติ
ของดวงอาทติ ยโE ดยใช0 อกี ดา0 นหน่ึงทุกวนั หมุนเวียนเป`น จากหลกั ฐานเชิงประจักษEในทอ0 งถน่ิ ของ
หลักฐานเชงิ ประจกั ษE แบบรปู ซ้ำ ๆ ตนและท่ีจำลองแบบและจดั แสดง ณ

๒. อธิบายสาเหตุการ • โลกกลมและหมนุ รอบตวั เองขณะ ศนู ยEวิทยาศาสตรEสระแก0ว อ. เมอื ง
เกดิ ปรากฏการณกE าร โคจรรอบดวงอาทิตยE ทำใหบ0 ริเวณ สระแก0ว จ.สระแกว0
ข้นึ และตกของดวง ของโลกไดร0 บั แสงอาทติ ยEไมพA รอ0 ม

อาทติ ยE การเกดิ กนั โลกดา0 นทไ่ี ดร0 ับแสงจากดวง
กลางวันกลางคนื อาทติ ยEจะเป`นกลางวนั สAวนดา0 นตรง
และการกำหนดทศิ ข0ามทไ่ี มไA ด0รบั แสงจะเป`นกลางคืน

โดยใช0แบบจำลอง นอกจากน้ีคนบนโลกจะมองเหน็
๓. ตระหนักถงึ ดวงอาทิตยปE รากฏขึ้นทางด0านหน่ึง
ความสำคญั ของดวง ซ่งึ กำหนดให0เปน` ทศิ ตะวันออก และ

อาทติ ยE โดยบรรยาย มองเหน็ ดวงอาทิตยEตกทางอีกดา0 น
ประโยชนEของ หน่ึง ซึง่ กำหนดให0เป`นทศิ ตะวนั ตก
ดวงอาทิตยEตอA และเมือ่ ใหด0 0านขวามืออยทูA างทศิ

สิง่ มีชวี ิต ตะวนั ออกด0านซ0ายมืออยทAู างทิศ
ตะวันตก ด0านหนา0 จะเปน` ทิศเหนือ
และด0านหลงั จะเปน` ทิศใต0

• ในเวลากลางวันโลกจะไดร0 ับ
พลังงานแสงและพลังงานความร0อน
จากดวงอาทิตยE ทำใหส0 ิ่งมชี วี ิต

ดำรงชีวิตอยไAู ด0

42

ป.4 ๑. อธิบายแบบรปู • ดวงจันทรเE ป`นบริวารของโลก โดย • แบบรปู เสน0 ทางการขึน้ และตกของดวง

เสน0 ทางการขึ้นและตก ดวงจนั ทรหE มนุ รอบตวั เองขณะโคจร จนั ทรE โดยใชห0 ลักฐานเชิงประจกั ษใE น
ของดวงจนั ทรE โดยใช0 รอบโลก ขณะท่ีโลกกห็ มนุ รอบ ทอ0 งถ่ินของตน และท่จี ำลองแบบและจัด

หลักฐานเชิงประจกั ษE ตวั เองดว0 ยเชนA กัน การหมนุ รอบ แสดง ณ ศูนยEวทิ ยาศาสตรEสระแกว0 อ.
๒. สรา0 งแบบจำลองที่ ตัวเองของโลกจากทิศตะวันตกไป เมอื งสระแกว0 จ.สระแก0ว
อธิบายแบบรปู การ ทิศตะวนั ออกในทิศทางทวนเข็ม •การเปลยี่ นแปลงรูปราA งปรากฏของดวง

เปลยี่ นแปลงรปู ราA ง นาŠกิ าเมอ่ื มองจากข้วั โลกเหนอื ทำ จันทรEและการพยากรณEรูปรAางปรากฏ
ปรากฏของดวงจันทรE ใหม0 องเห็นดวงจันทรEปรากฏขนึ้ ของดวงจนั ทรEที่จำลองแบบและจัดแสดง
และพยากรณรE ูปรAาง ทางด0านทิศตะวนั ออกและตก ณ ศนู ยEวทิ ยาศาสตรสE ระแก0ว อ. เมือง

ปรากฏของดวงจันทรE ทางดา0 นทศิ ตะวนั ตกหมนุ เวียนเปน` สระแก0ว จ.สระแก0ว
๓. สร0างแบบจำลอง แบบรูปซ้ำ ๆ • องคปE ระกอบของระบบสุริยะ และ
แสดงองคปE ระกอบ • ดวงจนั ทรเE ป`นวตั ถทุ เ่ี ป`นทรงกลม เปรยี บเทยี บคาบการโคจรของดาว

ของระบบสุริยะ และ แตAรปู ราA งของดวงจันทรEที่มองเหน็ เคราะหEตAาง ๆ จากแบบจำลองทจี่ ัดแสดง
อธบิ ายเปรียบเทยี บ หรอื รปู รAางปรากฏของดวงจันทรEบน ณ ศนู ยวE ทิ ยาศาสตรEสระแกว0 อ. เมอื ง
คาบการโคจรของดาว ทอ0 งฟcาแตกตAางกันไปในแตAละวนั สระแกว0 จ.สระแกว0

เคราะหตE าA ง ๆ จาก โดยในแตลA ะวนั ดวงจนั ทรจE ะมี
แบบจำลอง รปู ราA งปรากฏเปน` เสี้ยวที่มีขนาด
เพมิ่ ข้นึ อยAางตAอเน่ืองจนเต็มดวง

จากนั้นรปู ราA งปรากฏของดวงจันทรE
จะแหวงA และมีขนาดลดลงอยาA ง
ตAอเน่ืองจนมองไมAเห็นดวงจนั ทรE

จากน้นั รปู ราA งปรากฏของดวงจนั ทรE
จะเปน` เส้ยี วใหญAขน้ึ จนเต็มดวงอกี
ครั้งการเปล่ยี นแปลงเชAนน้เี ป`นแบบ

รูปซำ้ กนั ทกุ เดือน
• ระบบสุริยะเป`นระบบทมี่ ดี วง
อาทิตยเE ปน` ศนู ยEกลางและมีบรวิ าร

ประกอบด0วย ดาวเคราะหEแปดดวง
และบรวิ าร ซึ่งดาวเคราะหแE ตลA ะ
ดวงมขี นาดและระยะหAางจากดวง

อาทติ ยEแตกตAางกนั และยงั
ประกอบด0วย ดาวเคราะหEแคระ
ดาวเคราะหEนอ0 ย ดาวหาง และวัตถุ

ขนาดเลก็ อนื่ ๆ โคจรอยAรู อบดวง

43

อาทติ ยE วัตถุขนาดเล็กอน่ื ๆ เม่ือ
เขา0 มาในช้ันบรรยากาศเนอื่ งจาก
แรงโนม0 ถAวงของโลกทำให0เกดิ เป`น
ดาวตกหรือผพี ุAงไต0และอกุ กาบาต

ป.5 ๑. เปรียบเทียบความ • ดาวทีม่ องเห็นบนทอ0 งฟcาอยAใู น ความแตกตAางของดาวเคราะหแE ละดาว
แตกตAางของดาว อวกาศซ่ึงเป`นบริเวณทอี่ ยAูนอก ฤกษจE ากแบบจำลองทจี่ ัดแสดง ณ ศนู ยE

เคราะหแE ละดาวฤกษE บรรยากาศของโลก มีท้งั ดาวฤกษE วิทยาศาสตรEสระแกว0 อ. เมืองสระแกว0
จากแบบจำลอง และดาวเคราะหE ดาวฤกษเE ปน` จ.สระแกว0 การใช0แผนทดี่ าวระบตุ ำแหนAง
๒. ใช0แผนทด่ี าวระบุ แหลงA กำเนิดแสงจึงสามารถมองเหน็ และเสน0 ทางการขึน้ และตกของกลAมุ ดาว

ตำแหนงA และเสน0 ทาง ได0 สAวนดาวเคราะหไE มใA ชA ฤกษบE นทอ0 งฟcา และแบบรปู เส0นทางการ
การขน้ึ และตกของ แหลAงกำเนดิ แสง แตสA ามารถ ขนึ้ และตกของกลุมA ดาวฤกษEบนทอ0 งฟcา
กลAมุ ดาวฤกษบE น มองเห็นได0เนื่องจากแสงจากดวง ในรอบป]จากแบบจำลองและจดั แสดง ณ

ท0องฟcา และอธบิ าย อาทิตยEตกกระทบดาวเคราะหEแลว0 ศูนยEวิทยาศาสตรEสระแก0ว อ. เมอื ง
แบบรปู เสน0 ทางการ สะทอ0 นเข0าสตAู า สระแกว0 จ.สระแก0ว
ขึ้นและตกของกลมAุ • การมองเหน็ กลุมA ดาวฤกษมE รี ปู ราA ง

ดาวฤกษEบนท0องฟาc ใน ตาA ง ๆ เกิดจากจนิ ตนาการของผ0ู
รอบป] สังเกต กลAมุ ดาวฤกษตE Aาง ๆ ท่ี
ปรากฏในทอ0 งฟcาแตAละกลAมุ มดี าว

ฤกษแE ตAละดวงเรยี งกันทตี่ ำแหนงA
คงท่ี และมเี ส0นทางการขน้ึ และตก
ตามเสน0 ทางเดมิ ทกุ คืน ซึง่ จะ

ปรากฏตำแหนAงเดิม การสังเกต
ตำแหนงA และการขน้ึ และตกของดาว
ฤกษE และกลมAุ ดาวฤกษE สามารถทำ

ได0โดยใช0แผนทดี่ าว ซงึ่ ระบุมุมทิศ
และมุมเงยที่กลุมA ดาวนน้ั ปรากฏ ผู0
สงั เกตสามารถใช0มอื ในการ

ประมาณคาA ของมุมเงยเมอื่ สงั เกต
ดาวในท0องฟาc

44

ป.6 ๑. สรา0 งแบบจำลองที่ • เมื่อโลกและดวงจนั ทรE โคจรมาอยAู การเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณE

อธิบายการเกิด และ ในแนวเสน0 ตรงเดยี วกันกบั ดวง สุริยุปราคาและจนั ทรปุ ราคาจาก
เปรียบเทียบ อาทติ ยEในระยะทางที่เหมาะสมทำ แบบจำลองและจัดแสดง ณ ศนู ยE

ปรากฏการณE ใหด0 วงจนั ทรบE ังดวงอาทติ ยE เงาของ วทิ ยาศาสตรEสระแก0ว อ. เมืองสระแก0ว
สรุ ิยุปราคา ดวงจนั ทรทE อดมายงั โลก ผ0ูสังเกตที่ จ.สระแกว0 พัฒนาการของเทคโนโลยี
และจันทรปุ ราคา อยูAบรเิ วณเงาจะมองเห็นดวง อวกาศ และตวั อยาA งการนำเทคโนโลยี

๒. อธิบายพัฒนาการ อาทิตยEมดื ไป เกดิ ปรากฏการณE อวกาศมาใช0ประโยชนใE นชวี ิตประจำวัน
ของเทคโนโลยอี วกาศ สุรยิ ปุ ราคาซงึ่ มีทั้งสุริยุปราคาเตม็ จากแบบจำลองและการจัดแสดง ณ
และยกตวั อยAางการนำ ดวง สุริยุปราคาบางสวA นและ ศูนยEวิทยาศาสตรสE ระแกว0 อ. เมือง

เทคโนโลยอี วกาศมา สรุ ิยุปราคา วงแหวน สระแกว0 จ.สระแก0ว
ใช0ประโยชนใE น • หากดวงจนั ทรแE ละโลกโคจรมาอยูA
ชวี ิตประจำวนั จาก ในแนวเส0นตรงเดียวกนั กับดวง

ขอ0 มลู ทร่ี วบรวมได0 อาทิตยE แล0วดวงจนั ทรEเคลือ่ นท่ีผาA น
เงาของโลกจะมองเห็นดวงจันทรมE ดื
ไปเกดิ ปรากฏการณEจันทรปุ ราคาซึง่

มที ้ังจนั ทรุปราคาเตม็ ดวง และ
จนั ทรุปราคาบางสAวน

• เทคโนโลยีอวกาศเรมิ่ จากความ
ต0องการของมนุษยEในการสำรวจ
วตั ถุทอ0 งฟาc โดยใช0ตาเปลาA กล0อง
โทรทรรศนE และได0พฒั นาไปสAูการ
ขนสAงเพ่ือสำรวจอวกาศด0วยจรวด
และยานขนสงA อวกาศและยังคง
พฒั นาอยAางตAอเนอ่ื ง ปlจจุบนั มีการ
นำเทคโนโลยีอวกาศบางประเภทมา
ประยกุ ตใE ช0ในชวี ติ ประจำวนั เชAน
การใชด0 าวเทยี มเพือ่ การสอ่ื สาร
การพยากรณEอากาศหรอื การสำรวจ
ทรพั ยากรธรรมชาติ การใชอ0 ุปกรณE
วดั ชพี จรและการเตน0 ของหัวใจ
หมวกนริ ภยั ชุดกีฬา

45

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโa ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข0าใจองคEประกอบและความสัมพันธEของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายในโลก

และบนผิวโลก ธรณพี ิบัตภิ ยั กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟาc อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมท้ังผลตAอสิ่งมีชวี ติ และ
สิง่ แวดล0อม

ช้นั ตัวช้ีวัดท่ี สาระการเรียนรแู0 กนกลาง สาระการเรียนรท0ู อ0 งถนิ่

ป.1 ๑. อธบิ ายลกั ษณะ • หนิ ที่อยใูA นธรรมชาติมลี กั ษณะ หินทีอ่ ยูใA นธรรมชาติในทอ0 งถน่ิ ของตน
ภายนอกของหิน จาก ภายนอกเฉพาะตัวท่สี ังเกตได0 เชAน

ลกั ษณะเฉพาะตัวที่ สี ลวดลาย น้ำหนกั ความแข็งและ
สงั เกตได0 เน้อื หิน

ป.6 ๑. เปรียบเทยี บ • หินเป`นวัสดุแขง็ เกดิ ข้ึนเองตาม ลักษณะของหินอคั นี หินตะกอน และหิน
กระบวนการเกิดหิน ธรรมชาตปิ ระกอบดว0 ยแรAต้งั แตหA นึ่ง แปรทอ่ี ยAูในบริเวณจงั หวดั สระแกว0 เชนA
อคั นหี นิ ตะกอน และ ชนิดขึ้นไป สามารถจำแนกหินตาม -ถำ้ เพชรโพธิท์ อง

หนิ แปร และ กระบวนการเกิดได0เป`น ๓ ประเภท -ถ้ำเขาฉกรรจE
อธิบายวฏั จักรหนิ จาก ได0แกA หินอัคนี หนิ ตะกอนและหนิ -อาA งเกบ็ นำ้ เขาสามสิบ
แบบจำลอง แปร -น้ำตกปางสดี า

• หินอคั นีเกดิ จากการเย็นตัวของ -ปลAองภเู ขาไฟแซรอE อ
แมกมา เนื้อหนิ มลี กั ษณะเปน` ผลกึ -ปราสาทสดก็ กอ‰ กธม
ทง้ั ผลึกขนาดใหญAและขนาดเล็ก -ปราสาทเขาน0อยสชี มพู

บางชนดิ อาจเปน` เนอื้ แก0วหรอื มรี ู -ปราสาทหว0 ยพระใย
พรุน -ละลุ
• หนิ ตะกอน เกดิ จากการทบั ถม ฯลฯ

ของตะกอนเม่ือถูกแรงกดทับและมี
สารเชื่อมประสานจงึ เกิดเป`นหินเน้อื
หนิ กลมAุ นีส้ AวนใหญมA ีลักษณะเปน`

เม็ดตะกอนมที ้งั เน้ือหยาบและเนอื้
ละเอยี ด บางชนิดเปน` เนือ้ ผลกึ ท่ียดึ
เกาะกันเกิดจากการตกผลกึ หรือ

ตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะนำ้
ทะเล บางชนิดมลี กั ษณะเป`นชน้ั ๆ
จงึ เรียกอกี ชือ่ วาA หนิ ชนั้

• หินแปร เกิดจากการแปรสภาพ
ของหนิ เดมิ ซงึ่ อาจเป`นหินอัคนี หิน
ตะกอน หรอื หนิ แปรโดยการกระทำ


Click to View FlipBook Version