๑
หลักสูตรปฐมวัย โรงเรียนบา้ นใหมห่ นองบวั
พทุ ธศักราช 25๖๔
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช พ.ศ.2560)
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒
ประกาศโรงเรียนบา้ นใหมห่ นองบวั
เรอื่ ง ใหใ้ ช้หลกั สตู รสถานศึกษาระดับปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔
____________________
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว ระดับปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๔ ปรับปรุงจาก
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว ระดับปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยบูรณาการสาระการ
เรียนรู้ตามหลักสูตร มีจุดหมายให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาท่ี
เหมาะสมกบั วยั ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบคุ คล
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๔ ฉบบั น้จี ัดทำข้ึน
เพื่อให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของโรงเรยี นที่มีการเปลี่ยนแปลง รวมถึงสาระการเรียนรู้รายปี ที่เพิ่มเติมเร่อื ง
หลักสตู รตา้ นทุจริตตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เปน็ การเตรียมความพร้อม
ที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจ
ชาติ และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามเจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔
ทั้งนี้ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว ระดับปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๔ ได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว เมื่อวันที่ ..........เดือน
..................พุทธศักราช ๒๕๖๔ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว ระดับ
ปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๔
ทั้งนี้ ต้ังแตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นตน้ ไป
สั่ง ณ วนั ที่ ...............เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
ลงชื่อ ลงช่อื
(นายวิญญู แซห่ ยา่ ง) (นางสมยั คัจฉะภา)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านใหมห่ นองบัว
๓
คำนำ
สภาพการเปล่ียนแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศประกอบ
กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมทั้งกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนการ
ศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) เปา้ หมายยทุ ธศาสตร์การปฏิรปู การศกึ ษา ในทศวรรษท่ี ๒ (พ.ศ.๒๕๕๒-
๒๕๖๑) แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) นำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญสำหรับ
เด็กในศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีความสำคัญต่อการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีความสอดคล้อง
และทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงทกุ ดา้ น
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้มีการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
โดยได้แต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรสำหรับสถานศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ที่กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
เป็นคนดี มีวินัย สำนึกความเป็นไทย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติในอนาคต
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ขอขอบคุณผู้ที่มสี ่วนเก่ียวข้อง
ทกุ ทา่ น รวมท้งั หนว่ ยงานกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ กระทรวง
สาธารณสุข สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจนภาคเอกชนที่มี
ส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ใหม้ ีความเหมาะสม ต่อการ
นำไปใชจ้ ดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัยของประเทศต่อไป
โรงเรียนบา้ นใหม่หนองบวั จงึ ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เพ่ือ
ใช้ แทนหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เพื่อให้สถานศึกษา นำหลักสูตรฉบับนี้ไปใช้
โดยปรบั ปรุงให้เหมาะสมกบั เด็กและสภาพทอ้ งถนิ่
คณะผู้จดั ทำ
สารบญั ๔
เร่ือง หน้า
เรอื่ งใหใ้ ช้หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๔)
คำนำ ๑
ความนำ ๑
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นบา้ นใหมห่ นองบวั ๑
วสิ ยั ทศั น์ ๒
พันธกจิ ๒
เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น ๒
อัตลกั ษณ์ของโรงเรียน 2
คำขวญั ของโรงเรียน ๓
จดุ หมาย ๔
หลกั การ ๕
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สำหรบั เดก็ อายุ ๓-๖ ปี 5
มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 5
ตัวบ่งชี้ ๑๕
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ๑๕
การจัดเวลาเรียน ๑๖
โครงสร้าง ๑๗
กจิ กรรมประจำวนั ๑๘
ตารางกิจกรรมประจำวัน
หน่วยการจัดประสบการณ์
สารบัญ (ต่อ) ๕
เรอ่ื ง
สาระท่คี วรเรียนรู้ หน้า
การจัดประสบการณ์ ๒๐
การจดั สภาพแวดล้อม สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ ๒๑
การประเมินพฒั นาการ ๒๔
การบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๒๖
การประเมินหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย ๒๖
การจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๓๒
การจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัย (เด็กอายตุ ่ำกว่า ๓ ป)ี สำหรบั กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ ๓๔
การสรา้ งรอยเช่อื มต่อระหว่างการศึกษาระดับปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๓๕
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ๓๕
สาระการเรยี นรรู้ ายปี ๓๘
การวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี ๗๔
ผงั มโนทศั นส์ าระการเรียนรูเ้ ด็กปฐมวัย ๘๐
ภาคผนวก ๑๑๙
แนวทางในการสรา้ งการเช่อื มต่อของการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับการศึกษาระดบั ช้นั
ประถมศึกษาปที ี่ ๑
การวิเคราะห์การเช่อื มโยงกจิ กรรมการสอนภาษาองั กฤษในระดบั ปฐมวยั ภาคผนวก
คณะผู้จดั ทำ
๖
ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เพื่อให้
สถานศึกษาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัดนำหลักสูตรฉบับนี้ไปใช้ โดยปรับปรุงให้เหมาะสมกับเด็กและ
สภาพท้องถิ่น ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๖ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน เป็นหน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบโดยตรงได้ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
พบว่า ๒๕๔๖ มีจุดดีหลายประการ เช่น เป็นหลักสูตรที่มีความเป็นเอกภาพ ยืดหยุ่น มีความเป็นสากลบน
พื้นฐานความเป็นไทย สถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษ ให้
สอดคล้องกับบริบทความต้องการของตนเอง และหลักสูตรใช้ได้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม ผล
การศึกษาดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหาที่มีอยู่รอบด้านและความไม่ชัดเจนของการ นำ
หลักสูตรสู่การปฏิวัติ ได้แก่ ปัญหาความไม่ชัดเจนของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สถานศึกษา
ส่วนใหญ่ขาดการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างพัฒนาการเด็กปฐมวัย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
และสาระการเรยี นรู้ ปัญหาการประเมินพัฒนาการในสภาพจริง ปัญหาความเช่ือมโยงกบั หลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รวมถึงปัญหาคุณภาพเดก็ ทีจ่ บหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ที่ผลการ
ประเมินพฒั นาการในภาพรวมไมเ่ ป็นไปตามสภาพการเปลี่ยนแปลงในปัจจบุ นั
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำเนินการทบทวนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๔๖ ให้มีความสอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน เพื่อพัฒนาไปสู่หลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย และแผนแม่บทกฎหมายต่าง ๆ
มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้มีความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งเป้าหมายในการพัฒนา
คุณภาพเด็กและกระบวนการนำหลักสตู รไปสู่การปฏบิ ัติในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา อย่างไร
ก็ตาม การจัดหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ จะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายทีค่ าดหวัง
ได้ หากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติ ชุมชน และครอบครัว เห็นคุณค่าของการศึกษาปฐมวัยมีความ
กระตือรือร้นที่จะเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้และสนับสนุนการจัดการศึกษา โดยร่วมกันทำงานอย่างต่อเนื่องเป็น
ระบบในการวางแผน สง่ เสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แก้ไข เพือ่ สทิ ธิทเ่ี ดก็ ทกุ คนจะตอ้ งได้รับ
จากการอบรมเล้ยี งดูและการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ ซึง่ สถานศกึ ษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานนนั้ จำเป็นจะต้อง มี
การนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ลงสู่การปฏิบัติเพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็ก
ปฐมวัยพัฒนาไปสูค่ วามเป็นมนุษย์ทีส่ มบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
ตอ่ ไป
๗
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นบ้านใหมห่ นองบัว
โรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว จัดการศึกษาระดับปฐมวัยเพื่อพัฒนาเด็กตั้งแต่อายุ ๓ ถึง ๖ ปี
บริบูรณ์ อยา่ งเป็น องคร์ วม บนพน้ื ฐานการอบรมเลี้ยงดู และสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้ทีส่ นองต่อธรรมชาติ
และพัฒนาการตามวัยของเด็กแตล่ ะคนให้เต็มตามศักยภาพภายใต้บริบทสังคมและวฒั นธรรมที่เด็กอาศัยอยู่
ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน ด้วยการเตรียมความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ -
จิตใจ สังคม และสติปัญญา ในลักษณะบูรณาการผ่านการเล่น โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ อย่างสมดุลและ
ต่อเนื่องยึดความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบททางสังคมมีความร่วมมือระหว่างครอบครัว
เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว
สงั คม และประเทศชาติต่อไป
วิสัยทศั น์
โรงเรยี นบ้านใหม่หนองบวั จัดการศกึ ษาให้ผูเ้ รียนทุกคนเป็นบุคคลทีม่ ีความรู้คู่คุณธรรม บนพ้ืนฐาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีทักษะการ
เรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
พนั ธกิจ
๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้าน อย่างสมดุลและเต็ม
ศักยภาพ
๒. พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นที่มีจุดหมาย
อย่างตอ่ เนื่อง
๓. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็ก โดยนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้เสริมสร้างพัฒนาการและการ
เรยี นรูข้ องเด็ก
๕. สง่ เสริมทกั ษะพ้ืนฐานทางภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาไทย จนี และอังกฤษ
๖. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความร่วมมือและการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองและ
ชุมชนในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
๘
เอกลักษณ์ของโรงเรียน
“โรงเรียนน่าอยู่ คูค่ วามพอเพียง”
อัตลกั ษณข์ องโรงเรียน
“มีคุณธรรม น้อมนำวถิ ีพอเพียง”
คำขวัญของโรงเรียน
“ เด็กดี มคี วามกตัญญู รจู้ ักคิด ใช้ชีวติ อย่างพอเพยี ง ”
จุดหมาย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งเด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และมีความพร้อมในการ
เรียนรตู้ ่อไป จงึ กำหนดจดุ หมายเพื่อใหเ้ กิดกับเดก็ เมื่อจบการศึกษาระดับปฐมวัย ดังน้ี
๑. รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสขุ นสิ ยั ทด่ี ี
๒. สุขภาพจิตดี มสี นุ ทรยี ภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตใจที่ดงี าม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผูอ้ นื่
ได้อย่างมีความสขุ
๔. มีทกั ษะการคดิ การใช้ภาษาสอ่ื สาร และการแสวงหาความรูไ้ ด้เหมาะสมกบั วัย
๙
หลักการ
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วย
สิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับ
พ่อแม่ เด็กกับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษา
แก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็นองค์รวม
มคี ุณภาพ และเตม็ ตามศักยภาพ โดยกำหนดหลักการ ดงั น้ี
๑. ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรแู้ ละพฒั นาการทค่ี รอบคลมุ เด็กปฐมวัยทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และวถิ ีชวี ติ ของเดก็ ตามบริบทของชมุ ชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรม
ที่หลากหลาย ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัย และมีการพักผ่อน
เพยี งพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นคนดี มีวนิ ยั และมคี วามสขุ
๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับ
พอ่ แม่ ครอบครวั ชุมชน และทกุ ฝา่ ยทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาเด็กปฐมวยั
๑๐
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยสำหรับเดก็ อายุ ๓-๖ ปี
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี เปน็ การจดั การศึกษาในลักษณะของการอบรม
เลี้ยงดูและให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัย
และความสามารถของแต่ละบคุ คล
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์จำนวน ๑๒ มาตรฐาน
ประกอบด้วย
๑. พฒั นาการดา้ นร่างกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐานคือ
มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจริญเติบโตตามวัยและมสี ุขนสิ ัยท่ีดี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนือ้ ใหญ่และกลา้ มเน้อื เลก็ แข็งแรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และ
ประสานสมั พันธก์ นั
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดแี ละมคี วามสขุ
มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว
มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจท่ดี ีงาม
๓. พฒั นาการดา้ นสงั คม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๖ มีทกั ษะชวี ติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อย่รู ว่ มกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปฏิบัตติ นเปน็ สมาชิกที่ดขี อง
สงั คมในระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ
๔. พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคือ
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกับวยั
มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทเี่ ปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวัย
๑๑
ตวั บง่ ช้ี
ตัวบ่งชี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
สภาพที่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐาน
พัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดสาระการ
เรียนรู้ในการจัดประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการเดก็ โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ตัวบง่ ช้ี และสภาพทีพ่ ึงประสงค์ ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งการเจริญเตบิ โตตามวัยและมีสขุ นสิ ยั ท่ีดี
ตวั บ่งชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑ นำ้ หนกั และ ๑.๑.๑ นำ้ หนกั และ ๑.๑.๑ นำ้ หนกั และ ๑.๑.๑ นำ้ หนักและสว่ นสูงตาม
สว่ นสงู ส่วนสูงตามเกณฑ์ของ ส่วนสูงตามเกณฑข์ อง เกณฑ์ของกรมอนามยั
ตามเกณฑ์ กรมอนามยั กรมอนามยั
๑.๒ มสี ุขภาพอนามัย ๑.๒.๑ ยอม ๑.๒.๑ รบั ประทาน ๑.๒.๑ รบั ประทานอาหารที่มี
สขุ นิสัยทด่ี ี รบั ประทานอาหารที่มี อาหารท่ีมปี ระโยชน์ ประโยชนไ์ ดห้ ลายชนิดและด่ืมนำ้
ประโยชนแ์ ละดมื่ น้ำที่ และดืม่ น้ำสะอาดด้วย สะอาดได้ด้วยตนเอง
สะอาดเมือ่ มผี ู้ช้แี นะ ตนเอง
๑.๒.๒ ล้างมือก่อน ๑.๒.๒ ลา้ งมือก่อน ๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรบั ประทาน
รบั ประทานอาหาร รบั ประทานอาหาร อาหารและหลังจากใชห้ อ้ งนำ้ ห้อง
และหลังจากใชห้ ้องน้ำ และหลังจากใชห้ ้องน้ำ สว้ มด้วยตนเอง
หอ้ งส้วมเมื่อมีผชู้ ้แี นะ ห้องส้วมดว้ ยตนเอง
๑๒
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งการเจรญิ เติบโตตามวยั และมีสุขนสิ ยั ที่ดี (ตอ่ )
ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์
๑.๓ รักษาความ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ปลอดภัยของ
ตนเองและผอู้ ่นื ๑.๒.๓ นอนพกั ผอ่ น ๑.๒.๓ นอนพกั ผอ่ น ๑.๒.๓ นอนพักผอ่ นเป็น
เปน็ เวลา
เปน็ เวลา เวลา
๑.๒.๔ ออกกำลงั กาย
เปน็ เวลา ๑.๒.๔ ออกกำลังกาย ๑.๒.๔ ออกกำลงั กายเป็น
๑.๓.๑ เลน่ และทำ เป็นเวลา เวลา
กจิ กรรมอย่าง
ปลอดภยั เมอื่ มีผู้ชี้แนะ ๑.๓.๑ เลน่ และทำ ๑.๓.๑ เลน่ ทำกจิ กรรม
กิจกรรมอย่าง และปฏิบตั ิตอ่ ผู้อ่ืนอย่าง
ปลอดภยั ด้วยตนเอง ปลอดภยั
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกล้ามเนอื้ เล็กแขง็ แรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว และประสาทสัมพันธก์ ัน
ตวั บ่งช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
อายุ ๔-๕ ปี
๒.๑ เคลอื่ นไหว ๒.๑.๑ เดนิ ตามแนวท่ี ๒.๑.๑ เดินต่อเทา้ ไป ๒.๑.๑ เดินตอ่ เท้าถอยหลงั
ร่างกายอย่าง กำหนดได้ ขา้ งหนา้ เป็นเส้นตรง เป็นเสน้ ตรงได้โดยไมต่ ้อง
คลอ่ งแคล่ว ได้โดยไมต่ ้องกางแขน กางแขน
ประสานสมั พันธ์ ๒.๑.๒ กระโดดสองขา ๒.๑.๒ กระโดดขา ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียวไป
และทรงตัวได้ ขึน้ ลงอยกู่ ับที่ได้ เดียวอยกู่ ับที่ไดโ้ ดยไม่ ข้างหนา้ ได้อย่างต่อเนื่อง
เสยี การทรงตัว โดยไมเ่ สยี การทรงตวั
๒.๒ ใช้มอื -ตา ๒.๑.๓ วิ่งแล้วหยุดได้ ๒.๑.๓ วิง่ หลบหลกี ส่งิ ๒.๑.๓ วง่ิ หลบหลกี สิง่ กีด
ประสานสัมพนั ธ์ กดี ขวางได้ ขวางได้อยา่ งคล่องแคล่ว
กนั ๒.๑.๔ รบั ลกู บอลโดย
ใช้มอื และลำตวั ช่วย ๒.๑.๔ รบั ลูกบอลโดย ๒.๑.๔ รบั ลูกบอลท่กี ระ
๒.๒.๒ เขยี นรูป ใชม้ ือทั้งสองข้าง ตอบข้นึ จากพืน้ ได้
วงกลมตามแบบได้
๒.๒.๒ เขยี นรปู ๒.๒.๒ เขียนรปู
ส่ีเหลีย่ มตามแบบได้ สามเหลีย่ มตามแบบได้
อย่างมีมุมชดั เจน อย่างมีมมุ ชัดเจน
๑๓
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนอื้ ใหญ่และกลา้ มเนื้อเล็กแข็งแรง ใชไ้ ดอ้ ย่างคล่องแคล่ว และประสาทสัมพันธก์ ัน
(ตอ่ )
ตวั บ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
๒.๒.๓ ร้อยวัสดทุ ม่ี ีรู ๒.๒.๓ รอ้ ยวสั ดทุ ่ีมรี ู ๒.๒.๓ รอ้ ยวสั ดุทีม่ ีรูขนาด
ขนาดเส้นผา่ น
ศนู ยก์ ลาง ๑ ชม. ได้ ขนาดเสน้ ผ่าน เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง ๐.๒๕
ศูนย์กลาง ๐.๕ ชม. ชม. ได้
ได้
มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมคี วามสขุ
ตวั บง่ ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์
๓.๑ แสดงออก อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ทางอารมณไ์ ด้
อยา่ งเหมาะสม ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์
๓.๒ มีความรู้สึกท่ีดี ความรูส้ กึ ไดเ้ หมาะสม ความร้สู ึกได้ตาม ความรูส้ กึ ได้สอดคล้องกับ
ตอ่ ตนเองและ
ผู้อื่น กับบางสถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์อย่าง
เหมาะสม
๓.๒.๑ กล้าพดู กลา้ ๓.๒.๑ กล้าพูดกลา้ ๓.๒.๑ กล้าพดู กลา้
แสดงออก แสดงออกอย่าง แสดงออกอยา่ งเหมาะสม
เหมาะสมบาง ตามสถานการณ์
สถานการณ์
๓.๒.๒ แสดงความ ๓.๒.๒ แสดงความ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจใน
พอใจในผลงานตนเอง พอใจในผลงานและ ผลงานและความสามารถ
ความสามารถของ ของตนเองและผูอ้ ื่น
ตนเอง
๑๔
มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว (ต่อ)
ตัวบง่ ช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
๔.๑.๑ สนใจ มี
๔.๑ สนใจ มีความสุข ความสุข และ อายุ ๔-๕ ปี ๔.๑.๑ สนใจ มี
และแสดงออก แสดงออกผ่านงาน ความสุข และ
ผา่ นงานศลิ ปะ ศลิ ปะ ๔.๑.๑ สนใจ มี แสดงออกผา่ นงาน
ดนตรี และ ๔.๑.๒ สนใจ มี ความสุข และ ศลิ ปะ
การเคล่ือนไหว ความสุข และ แสดงออกผา่ นงาน
แสดงออกผา่ น ศิลปะ ๔.๑.๒ สนใจ มี
เสียงเพลง ดนตรี ความสุข และ
๔.๑.๒ สนใจ มี แสดงออกผา่ น
๔.๑.๓ สนใจ มี ความสุข และ เสียงเพลง ดนตรี
ความสขุ และแสดง แสดงออกผ่าน
ท่าทาง/เคล่อื นไหว เสียงเพลง ดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มี
ประกอบเพลง จงั หวะ ความสุข และแสดง
และดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มี ทา่ ทาง/เคล่อื นไหว
ความสขุ และแสดง ประกอบเพลง จังหวะ
ท่าทาง/เคลอื่ นไหว และดนตรี
ประกอบเพลง จงั หวะ
และดนตรี
มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจทด่ี งี าม
ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์
๕.๑ ซือ่ สตั ย์สจุ รติ
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
๕.๒ มีความเมตตา
กรณุ า มีนำ้ ใจ ๕.๑.๑ บอกหรอื ชไ้ี ด้ ๕.๑.๑ ขออนุญาต ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรอื
และช่วยเหลอื
แบ่งปัน วา่ ส่งิ ใดเปน็ ของตนเอง หรอื รอคอยเม่ือ รอคอยเม่ือต้องการ
และสิง่ ใดเปน็ ของผู้อ่ืน ต้องการสิง่ ของของ สิง่ ของของผู้อื่นด้วย
ผ้อู ื่นเม่อื มีผชู้ ีแ้ นะ ตนเอง
๕.๒.๑ แสดงความรัก ๕.๒.๑ แสดงความรัก ๕.๒.๑ แสดงความรัก
เพือ่ นและมเี มตตา เพอื่ นและมเี มตตา เพ่ือนและมเี มตตา สตั ว์
สัตวเ์ ลีย้ ง สัตวเ์ ลีย้ ง เลยี้ ง
๑๕
มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจทีด่ ีงาม (ต่อ)
ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์
๕.๓ มีความเห็นอก
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เหน็ ใจผอู้ ่ืน ๕.๓.๑ แสดงสหี น้า
หรือท่าทางรบั รู้ ๕.๓.๑ แสดงสีหน้า ๕.๓.๑ แสดงสหี น้าและ
๕.๔ มีความ ความรู้สกึ ผู้อื่น
รบั ผดิ ชอบ และทา่ ทางรบั รู้ ทา่ ทางรบั รูค้ วามร้สู กึ ผู้อ่ืน
๕.๔.๑ ทำงานท่ไี ดร้ บั
มอบหมายจนสำเรจ็ ความรูส้ กึ ผู้อืน่ อย่างสอดคลอ้ งกับ
เมือ่ มีผู้ชว่ ยเหลอื
สถานการณ์
๕.๔.๑ ทำงานทีไ่ ดร้ ับ ๕.๔.๑ ทำงานท่ไี ด้รับ
มอบหมายจนสำเรจ็ มอบหมายจนสำเร็จดว้ ย
เมื่อมผี ู้ช้ีแนะ ตนเอง
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตวั บง่ ช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์
๖.๑ ช่วยเหลือตนเอง
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ในการปฏบิ ัติ ๖.๑.๑ แตง่ ตวั โดยมผี ู้
กิจวตั ร ช่วยเหลือ ๖.๑.๑ แตง่ ตวั ด้วย ๖.๑.๑ แต่งตัวดว้ ยตนเอง
ประจำวัน ๖.๑.๒ รบั ประทาน
อาหารดว้ ยตนเอง ตนเอง ได้อยา่ งคล่องแคล่ว
๖.๒ มีวินัยในตนเอง ๖.๑.๓ ใชห้ อ้ งน้ำห้อง
ส้วม โดยมผี ชู้ ว่ ยเหลือ ๖.๑.๒ รบั ประทาน ๖.๑.๑ รับประทานอาหาร
๖.๓ ประหยดั และ
พอเพียง ๖.๒.๑ เก็บของเล่น อาหารด้วยตนเอง ดว้ ยตนเองอย่างถูกวธิ ี
ของใช้เข้าท่เี ม่ือมี
ผู้ชี้แนะ ๖.๑.๓ ใชห้ อ้ งน้ำหอ้ ง ๖.๑.๓ ใชแ้ ละทำความ
๖.๒.๒ เข้าแถว
ตามลำดบั ก่อนหลังได้ สว้ มด้วยตนเอง สะอาดหลงั ใช้ห้องน้ำห้อง
เมอ่ื มผี ูช้ ้แี นะ
๖.๓.๑ ใชส้ ิ่งของ สว้ ม ดว้ ยตนเอง
เครอื่ งใช้อยา่ ง
ประหยดั และพอเพียง ๖.๒.๑ เก็บของเลน่ ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้
เมอ่ื มผี ชู้ ี้แนะ
ของใชเ้ ข้าทด่ี ้วยตนเอง เขา้ ท่ีอย่างเรียบร้อยดว้ ย
ตนเอง
๖.๒.๒ เขา้ แถว ๖.๒.๒ เขา้ แถวตามลำดับ
ตามลำดับก่อนหลังได้ ก่อนหลังได้ดว้ ยตนเอง
ด้วยตนเอง
๖.๓.๑ ใชส้ ง่ิ ของ ๖.๓.๑ ใชส้ ิ่งของเครื่องใช้
เครื่องใช้อยา่ ง อยา่ งประหยดั และ
ประหยัดและพอเพยี ง พอเพียง ด้วยตนเอง
เม่ือมผี ู้ช้ีแนะ
๑๖
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์
๗.๑ ดูแลรักษา อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม ๗.๑.๑ มีส่วนร่วมดูแล ๗.๑.๑ มีส่วนร่วมดูแล ๗.๑.๑ ดูแลรกั ษา
รักษาธรรมชาติและ รักษาธรรมชาติและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ส่ิงแวดล้อม เม่ือมี สิ่งแวดล้อม เมื่อมี ดว้ ยตนเอง
ผชู้ ี้แนะ ผู้ชีแ้ นะ
๗.๑.๒ ท้ิงขยะได้ถูกท่ี ๗.๑.๒ ท้ิงขยะได้ถูกที่ ๗.๑.๒ ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกท่ี
๗.๒ มมี ารยาทตาม ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตาม ๗.๒.๑ ปฏิบตั ิตนตาม
วัฒนธรรมไทย
และรกั ความ มารยาทไทยได้เมื่อมี มารยาทไทยได้ด้วย มารยาทไทยได้ตาม
เป็นไทย
ผู้ชี้แนะ ตนเอง กาลเทศะ
๗.๒.๒ กล่าวคำ ๗.๒.๒ กล่าวคำ ๗.๒.๒ กล่าวคำขอบคุณ
ขอบคุณและขอโทษ ขอบคุณและขอโทษ และขอโทษดว้ ยตนเอง
เมื่อมีผู้ช้แี นะ ดว้ ยตนเอง
๗.๒.๓ ยนื ตรงและร่วม
๗.๒.๓ หยุดยืนเมอ่ื ได้ ๗.๒.๓ ยืนตรงเมือ่ ได้ รอ้ งเพลงชาติไทยและ
ยินเพลงชาตไิ ทยและ ยนิ เพลงชาติไทยและ เพลงสรรเสรญิ
เพลงสรรเสริญ เพลงสรรเสริญ พระบารมี
พระบารมี พระบารมี
๑๗
มาตรฐานท่ี ๘ อย่รู ว่ มกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมีความสขุ และปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสังคมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบง่ ชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
อายุ ๔-๕ ปี
๘.๑ ยอมรบั ความ ๘.๑.๑ เลน่ และทำ ๘.๑.๑ เลน่ และทำ ๘.๑.๑ เล่นและทำกจิ กรรม
เหมอื นและความ กจิ กรรมร่วมกับเด็กที่ กจิ กรรมรว่ มกับเด็กที่ รว่ มกับเดก็ ท่ีแตกต่างไปจาก
แตกตา่ งระหวา่ ง แตกตา่ งไปจากตน แตกต่างไปจากตน ตน
บคุ คล
๘.๒ มีปฏิสมั พันธ์ท่ดี ี ๘.๒.๑ เลน่ รว่ มกบั ๘.๒.๑ เล่นหรอื ทำงาน ๘.๒.๑ เล่นหรอื ทำงาน
กบั ผู้อนื่ เพอื่ น ร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่ม ร่วมมอื กับเพื่อนอยา่ งมี
เปา้ หมาย
๘.๒.๒ ย้มิ หรอื ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายหรอื ๘.๒.๒ ย้ิม ทักทายและ
ทักทายผ้ใู หญ่และ พดู คุยกบั ผ้ใู หญแ่ ละ พูดคุยกบั ผใู้ หญแ่ ละบคุ คลท่ี
บคุ คลทีค่ ุ้นเคย เมื่อมี บคุ คลท่คี ุ้นเคยได้ด้วย ค้นุ เคยไดเ้ หมาะสมกบั
ผชู้ ีแ้ นะ ตนเอง สถานการณ์
๘.๓ ปฏบิ ตั ติ น ๘.๓.๑ ปฏิบัตติ าม ๘.๓.๑ มสี ว่ นร่วมสรา้ ง ๘.๓.๑ มสี ว่ นรว่ มสร้าง
เบ้อื งตน้ ในการ ข้อตกลงเมื่อมีผชู้ แี้ นะ ข้อตกลงและปฏิบตั ติ าม ข้อตกลงและปฏิบตั ติ าม
เป็นสมาชิกที่ดี ข้อตกลงเม่ือมี ผู้ ขอ้ ตกลงดว้ ยตนเอง
ของสังคม ช้ีแนะ
๘.๓.๒ ปฏิบตั ติ นเป็น ๘.๓.๒ ปฏิบัตติ นเปน็ ๘.๓.๒ ปฏบิ ัตติ นเป็นผูน้ ำ
ผูน้ ำและผ้ตู ามเม่ือมี ผนู้ ำและผตู้ ามได้ดว้ ย และผตู้ ามไดเ้ หมาะสมกับ
ผชู้ แี้ นะ ตนเอง สถานการณ์
๘.๓.๓ ยอมรบั การ ๘.๓.๓ ประนีประนอม ๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไข
ประนปี ระนอมแกไ้ ข แก้ไขปญั หาโดย ปัญหาโดยปราศจากการใช้
ปญั หาเมอื่ มผี ้ชู ีแ้ นะ ปราศจากการใช้ความ ความรนุ แรงด้วยตนเอง
รนุ แรง เม่ือมีผชู้ แ้ี นะ
๑๘
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกับวยั
ตัวบ่งช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
อายุ ๔-๕ ปี
๙.๑ สนทนาโต้ตอบ ๙.๑.๑ ฟงั ผ้อู นื่ พดู จน ๙.๑.๑ ฟงั ผอู้ ื่นพูดจน ๙.๑.๑ ฟังผู้อืน่ พดู จนจบ
และเล่าเร่อื งให้ จบและพูดโตต้ อบ จบและสนทนาโตต้ อบ และสนทนาโต้ตอบอยา่ ง
ผู้อ่ืนเข้าใจ เกี่ยวกับเรือ่ งท่ีฟัง สอดคลอ้ งกับเร่ืองท่ีฟงั ต่อเนอ่ื งเชอ่ื มโยงกับเร่ืองที่
ฟัง
๙.๑.๒ เล่าเรือ่ งดว้ ย ๙.๑.๒ เล่าเร่ืองเปน็ ๙.๑.๒ เลา่ เป็นเรื่องราว
ประโยคสนั้ ๆ ประโยคอย่างตอ่ เน่ือง ต่อเนอื่ งได้
๙.๒ อ่าน เขยี นภาพ ๙.๒.๑ อ่านภาพ และ ๙.๒.๑ อ่านภาพ ๙.๒.๑ อ่านภาพสญั ลักษณ์
และสัญลักษณไ์ ด้ พดู ข้อความด้วยภาษา สญั ลักษณ์ คำ พรอ้ ม คำ ดว้ ยการชี้หรือกวาดตา
ของตน ทง้ั ช้ีหรือกวาดตามอง มอง จุดเร่มิ ต้นและจุดจบ
ข้อความตามบรรทัด ของขอ้ ความ
๙.๒.๒ เขียนขีดเขี่ย ๙.๒.๒ เขียนคล้าย ๙.๒.๒ เขียนชื่อของตนเอง
อยา่ งมที ศิ ทาง ตวั อกั ษร ตามแบบ เขยี นข้อความดว้ ย
วธิ ที ่ีคดิ ขึ้นเอง
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดทีเ่ ป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้
ตัวบง่ ชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
๑๐.๑ มคี วามสามารถ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ อายุ ๔-๕ ปี ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ
ส่วนประกอบ การ
ในการคดิ รวบยอด ของสิ่งตา่ ง ๆ จากการ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ เปล่ียนแปลงหรือ
และสว่ นประกอบของสง่ิ ความสมั พันธข์ องสงิ่ ตา่ ง ๆ
สังเกตโดยใช้ประสาท ตา่ ง ๆ จากการสงั เกต จากการสงั เกตโดยใช้
โดยใช้ประสาทสัมผัส ประสาทสมั ผัส
สมั ผสั
๑๙
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ที่เปน็ พืน้ ฐานในการเรียนรู้ (ต่อ)
ตวั บ่งช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
อายุ ๔-๕ ปี
๑๐.๑.๒ จบั คหู่ รือ ๑๐.๑.๒ จบั คู่และ ๑๐.๑.๒ จบั ค่แู ละ
เปรยี บเทียบสงิ่ ตา่ ง ๆ เปรยี บเทียบความ เปรียบเทียบความแตกต่าง
โดยใชล้ กั ษณะหรือหน้าที่ แตกตา่ งหรือความ และความเหมอื นของสิ่ง
การใชง้ านเพยี งลกั ษณะ เหมือนของสงิ่ ตา่ ง ๆ ตา่ ง ๆ โดยใช้ลกั ษณะท่ี
เดียว โดยใชล้ กั ษณะที่สงั เกต สงั เกตพบสองลกั ษณะขึ้น
พบเพยี งลกั ษณะเดยี ว ไป
๑๐.๑.๓ คดั แยก ส่ิง ๑๐.๑.๓ จำแนกและจดั ๑๐.๑.๓ จำแนกและจัด
ตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะหรือ กลุ่มสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใช้ กลมุ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใชต้ ้ังแต่
หนา้ ท่ีการใช้งาน อย่างน้อยหนง่ึ ลักษณะ สองลักษณะข้ึนไปเปน็
เปน็ เกณฑ์ เกณฑ์
๑๐.๑.๔ เรียงลำดบั ๑๐.๑.๔ เรียงลำดบั ๑๐.๑.๔ เรยี งลำดับส่ิงของ
สง่ิ ของหรือเหตุการณ์ ส่งิ ของหรือเหตกุ ารณ์ และเหตุการณอ์ ย่างน้อย
อยา่ งน้อย ๓ ลำดบั อยา่ งน้อย ๔ ลำดบั ๕ ลำดบั
๑๐.๒ มี ๑๐.๒.๑ ระบทุ ี่เกิดขนึ้ ใน ๑๐.๒.๑ ระบสุ าเหตุหรือ ๑๐.๒.๑ อธบิ ายเชือ่ มโยง
ความสามารถ ในการ เหตกุ ารณ์หรือการ ผลที่เกิดขึน้ ในเหตุการณ์ สาเหตแุ ละผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ใน
คิดเชงิ เหตุผล กระทำเมอ่ื มีผชู้ แี้ นะ หรือการกระทำเม่ือมผี ู้ เหตกุ ารณห์ รือการกระทำ
ช้ีแนะ ด้วยตนเอง
๑๐.๒.๒ คาดเดา หรอื ๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือ ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสิง่ ท่ี
คาดคะเนสง่ิ ท่ีอาจจะ คาดคะเน สง่ิ ทอี่ าจจะ อาจจะเกดิ ขึน้ และมีสว่ น
เกิดขึ้น เกิดขึน้ หรือมีสว่ นร่วมใน ร่วมในการลงความเห็น
การลงความเห็นจาก จากข้อมลู อยา่ งมเี หตผุ ล
ข้อมลู
๑๐.๓ มี ๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจในเรื่อง ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรื่อง ๑๐.๓.๑ ตดั สินใจในเรือ่ ง
ความสามารถ ง่ายๆ ง่ายๆ และเรม่ิ เรียนรูผ้ ล งา่ ยๆ และยอมรับผลที่
ในการคดิ แกป้ ัญหา ที่เกิดขึ้น เกดิ ขนึ้
และตัดสนิ ใจ
๑๐.๓.๒ แก้ปัญหาโดย ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหา ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหาสรา้ ง
ลองผิดลองถูก และแกป้ ัญหาโดยลองผดิ ทางเลือกและเลือกวธิ ี
ลองถกู แก้ปัญหา
๒๐
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์
๑๑.๑ ทำงานศลิ ปะ
ความจินตนาการและ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ความคิดสรา้ งสรรค์ ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน
ศลิ ปะเพื่อส่ือสาร ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ๑๑.๑.๑ สรา้ งผลงาน
๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ ความคดิ ความรู้สึกของ
เคลอื่ นไหวตาม ตนเอง ศิลปะเพือ่ ส่ือสาร ศิลปะเพ่อื สื่อสาร
จินตนาการอย่าง
สร้างสรรค์ ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหว ความคิด ความรูส้ ึกของ ความคดิ ความร้สู ึกของ
ท่าทางเพ่ือสื่อสาร
ความคิด ความรู้สึกของ ตนเองโดยมีการดดั แปลง ตนเองโดยมีการดัดแปลง
ตนเอง
และแปลกใหมจ่ ากเดิม แปลกใหมจ่ ากเดมิ และ
หรอื มรี ายละเอียด มรี ายละเอียดเพิ่มขน้ึ
เพิ่มขนึ้
๑๑.๒.๑ เคลอ่ื นไหว ๑๑.๒.๑ เคลือ่ นไหว
ทา่ ทางเพื่อสื่อสาร ท่าทางเพ่อื ส่ือสาร
ความคิด ความรู้สึกของ ความคดิ ความรูส้ ึกของ
ตนเองอย่างหลากหลาย ตนเองอยา่ งหลากหลาย
หรอื แปลกใหม่ และแปลกใหม่
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั
ตวั บ่งชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
๑๒.๑ มเี จตคตทิ ี่ดีต่อ ๑๒.๑.๑ สนใจฟงั หรือ อายุ ๔-๕ ปี
อ่านหนังสือดว้ ยตนเอง ๑๒.๑.๑ สนใจหยิบ
การเรียนรู้ ๑๒.๑.๑ สนใจซกั ถาม หนังสือมาอ่านและเขียน
๑๒.๑.๒ กระตอื รือรน้ ใน เกีย่ วกับสัญลกั ษณ์หรือ ส่ือความคดิ ด้วยตนเอง
๑๒.๒ มี การเข้ารว่ มกจิ กรรม ตัวหนงั สือท่พี บเหน็ เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
ความสามารถ ในการ
แสวงหาความรู้ ๑๒.๒.๑ คน้ หาคำตอบ ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรน้ ใน
ของข้อสงสัยต่าง ๆ ตาม ในการเข้ารว่ มกิจกรรม การร่วมกจิ กรรมต้ังแต่
วิธีการทม่ี ีผชู้ ี้แนะ ตน้ จนจบ
๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบ
๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค ของขอ้ สงสยั ต่าง ๆ ตาม ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบ
คำถามว่า “ใคร” วธิ กี ารของตนเอง ข้อสงสยั ต่าง ๆโดย
“อะไร” ในการคน้ หา วธิ กี ารหลากหลายดว้ ย
๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค ตนเอง
คำถามวา่ “ที่ไหน”
“ทำไม” ในการค้นหา ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยค
คำตอบ คำถามว่า “เมื่อไร”
“อยา่ งไร” ในการค้นหา
คำตอบ
๒๑
การจัดเวลาเรยี น
โรงเรียนบ้านใหม่หนองบัว ดำเนินการจัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบโครงสร้าง
เวลา ในการจัดประสบการณ์ใหก้ ับเดก็ ๓ - ๖ ปีการศึกษาโดยประมาณ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเดก็ ท่เี ร่ิม
เข้าสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเวลาเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยจะขึ้นอยู่กับสถานศึกษ าแต่ละแห่ง
โดยมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๒๐๐ วันต่อ ๑ ปีการศึกษา ในแต่ละวันจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕ ชั่วโมง โดย
สามารถปรบั ให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ โรงเรยี นบา้ นใหม่หนองบัว
ชว่ งอายุ อายุ ๓ - ๖ ปี
สาระการเรียนรู้
ระยะเวลาเรยี น ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้
- ด้านร่างกาย - เร่อื งราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก
- ดา้ นอารมณ์ จิตใจ - เรื่องราวเกี่ยวกบั บุคคลและ
- ด้านสงั คม สถานที่แวดลอ้ มเด็ก
- ดา้ นสติปัญญา - ธรรมชาติรอบตัว
- สิ่งต่าง ๆรอบตัวเด็ก
ปกี ารศึกษาละ ๒ ภาคเรยี น หรอื ๒๐๐ วนั /วันละ ๕-๖ ชวั่ โมง
๒๒
การจัดกิจกรรมประจำวนั
โรงเรยี นบ้านใหม่หนองบวั
ท่ี กจิ กรรมประจำวัน ช้ันอนุบาลปีที่ ๑ ช้ันอนุบาลปที ่ี ๒ ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๓
(อายุ ๓-๔ปี) (อายุ ๔-๕ปี) (อายุ ๕-๖ปี)
๑ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ
๒ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ เวลาเรยี น (นาที/ เวลาเรียน (นาที/ เวลาเรยี น (นาท/ี
๓ กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ วนั ) วนั ) วนั )
๔ กิจกรรมการเล่นตามมุม/เสรี ๒๐ ๒๐ ๒๐
๕ กิจกรรมการเลน่ กลางแจ้ง
๖ กิจกรรมเกมการศกึ ษา ๓๐ ๓๐ ๓๐
๗ ทักษะพ้นื ฐานในชวี ิตประจำวนั
๓๐ ๓๐ ๓๐
- ตรวจสขุ ภาพ ไปหอ้ งน้ำ
- ลา้ งมือ ล้างเทา้ ๒๐ ๒๐ ๒๐
- รบั ประทานอาหาร
- แปรงฟนั ๓๐ ๓๐ ๓๐
- นอนพักผ่อน
- เก็บที่นอน ล้างหน้า ๒๐ ๒๐ ๒๐
- ด่มื นม
๑๐ ๑๐ ๑๐
รวม ๑๐ ๑๐ ๑๐
๕๐ ๕๐ ๕๐
๑๐ ๑๐ ๑๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑๐ ๑๐ ๑๐
๖ ช่ัวโมง/วัน ๖ ชวั่ โมง/วัน ๖ ชัว่ โมง/วัน
๒๓
เวลา ตารางกิจกรรมประจำวัน
๐๗.๐๐ – ๐๗.๕๐ น.
๐๗.๕๐ – ๐๙.๐๐ น. โรงเรยี นบ้านใหมห่ นองบวั
๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. กิจกรรม
๐๙.๒๐ - ๐๙.๕๐ น. - รับเด็กเป็นรายบุคคล
๐๙.๕๐ – ๑๐.๒๐ น. - เคารพธงชาติ
๑๐.๒๐ - ๑๐.๔๐ น. - สวดมนต์
๑๐.๔๐ – ๑๑.๓๐ น. - ทำสมาธิ
๑๑.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. - กิจกรรมสนทนา ข่าว และเหตุการณป์ ระจำวนั
๑๒.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. - ตรวจสุขภาพ / พาเด็กไปห้องน้ำ
๑๔.๐๐ – ๑๔.๑๐ น. - กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะ
๑๔.๑๐ – ๑๔.๓๐ น. - กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์
๑๔.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. - กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์
- กจิ กรรมเสรี/การเล่นตามมุม
- ล้างมือ / รับประทานอาหาร
- กิจกรรมการเลน่ กลางแจง้ / แปรงฟนั
- ทำสมาธิ / ไหวพ้ ระ / นอนหลับพกั ผ่อน
- เกบ็ ทีน่ อนลา้ งหน้า/ ดื่มนม
- กิจกรรมเกมการศึกษา
- สรปุ / เตรยี มตัวกลบั บ้าน
หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ภาคเรียนท่ี ๑ ๒๔
ระดับช้ันอนบุ าลปที ่ี ๒ – 3 หมายเหตุ
ท่ี สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการจดั ประสบการณ์
๑ เรือ่ งราวเกย่ี วกับตัวเดก็ ปฐมนเิ ทศ
๒ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั บคุ คลและสถานทีแ่ วดลอ้ มเดก็ โรงเรียนของเรา
๓ เรอ่ื งราวเกย่ี วกับตวั เด็ก ตวั เรา
๔ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก หนูทำได้
๕ เรื่องราวเก่ยี วกบั บุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็ ครอบครวั มสี ุข
๖ สิ่งต่างๆรอบตวั เดก็ อาหารดี มีประโยชน์
๗ ธรรมชาติรอบตวั ฤดูฝน
๘ ธรรมชาตริ อบตวั ข้าว
๙ เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ตวั เดก็ ปลอดภยั ไวก้ อ่ น
๑๐ เรื่องราวเก่ยี วกบั บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเดก็ วันเฉลิม
๑๑ เรื่องราวเกย่ี วกับบุคคลและสถานท่แี วดล้อมเดก็ วนั แม่
๑๒ ส่งิ ต่างๆรอบตัวเด็ก รักเมอื งไทย
๑๓ เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ตวั เดก็ ของเลน่ ของใช้
๑๔ ธรรมชาตริ อบตวั ชมุ ชนของเรา
๑๕ ธรรมชาตริ อบตัว ต้นไมท้ ีร่ กั
๑๖ ธรรมชาตริ อบตัว หนิ ดนิ ทราย
๑๗ ธรรมชาตริ อบตวั สัตว์นา่ รัก
๑๘ ส่ิงต่างๆรอบตัวเดก็ คมนาคม
๑๙ ประเมนิ พฒั นาการ
๒๐ ประเมนิ พฒั นาการ
๒๕
หน่วยการจัดประสบการณ์ ภาคเรยี นที่ ๒
ระดบั ช้ันอนุบาลปีที่ ๒ – ๓
ที่ สาระการเรยี นรู้ หน่วยการจัดประสบการณ์ หมายเหตุ
21 เรื่องราวเกย่ี วกับตัวเดก็ รรู้ อบ ปลอดภัย
22 เรื่องราวเกย่ี วกับบุคคลและสถานทแี่ วดล้อมเด็ก ลอยกระทง
23 ธรรมชาติรอบตัว กลางวนั กลางคนื
24 สง่ิ ต่างๆรอบตวั เด็ก ค่านยิ มไทย
25 เรื่องราวเกย่ี วกบั บคุ คลและสถานทแี่ วดล้อมเดก็ วันชาติ
26 ส่ิงต่างๆรอบตวั เศรษฐกิจ พอเพียง
27 สงิ่ ต่างๆรอบตวั เทคโนโลยี และการสอ่ื สาร
28 เรอื่ งราวเกีย่ วกับบคุ คลและสถานทแี่ วดลอ้ มเด็ก วนั ข้ึนปีใหม่
29 สิ่งตา่ งๆรอบตัวเด็ก สนุกกับตัวเลข
30 สง่ิ ตา่ งๆรอบตวั เดก็ ขนาด รูปรา่ ง รปู ทรง
31 เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั บคุ คลและสถานท่แี วดลอ้ มเด็ก วันเดก็ วนั ครู
32 สิ่งต่างๆรอบตวั เด็ก โลกสวยด้วยสสี ัน
33 ธรรมชาติรอบตัว ฤดูหนาว
34 สิง่ ต่างๆรอบตัวเด็ก แรงและพลังงานในชวี ิตประจำวัน
35 ส่ิงตา่ งๆรอบตัวเดก็ เสยี งรอบตัว
36 สง่ิ ต่างๆรอบตัวเด็ก รกั การอ่าน
37 เรอ่ื งราวเกย่ี วกับตัวเดก็ ปริมาตร นำ้ หนัก
38 ธรรมชาติรอบตัว ฤดูร้อน
39 ประเมินพัฒนาการ
4๐ ประเมินพฒั นาการ
หมายเหตุ บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย กิจกรรมสามภาษาน่ารสู้ ่อู าเซยี น
ลงในหน่วยการเรยี นรู้
๒๐
๒. สาระที่ควรเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำมาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็ก
เกดิ แนวคดิ หลังจากนำสาระที่ควรรนู้ ้นั ๆ มาจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็ก เพื่อใหบ้ รรลจุ ุดหมายที่กำหนดไว้
ทั้งนี้ ไม่เน้นการท่องจำเนื้อหา ผู้สอนสามารถกำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย
ความตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยใหเ้ ดก็ ได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สำคัญ ทั้งน้ี อาจยืดหยุ่น
เนือ้ หาได้ โดยคำนึงถึงประสบการณแ์ ละสิง่ แวดลอ้ มในชีวติ จรงิ ของเด็ก ดงั น้ี
๒.๑ เรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้ชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา อวัยวะ
ตา่ ง ๆ วิธีระวงั รักษารา่ งกายให้สะอาดและมีสขุ ภาพอนามัยทดี่ ี การรับประทานอาหารทเ่ี ป็นประโยชน์
การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองจากผู้อื่นและภัยใกล้ตัว รวมทั้งการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่าง
ปลอดภัย การรู้จักประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี ของ
ครอบครัวและโรงเรยี น การเคารพสิทธขิ องตนเองและผู้อ่ืน การร้จู กั แสดงความคิดเห็นของตนเองและ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การกำกับตนเอง การเล่นและทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองตามลำพังหรือกับ
ผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และ
ความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดง
มารยาทท่ีดี การมคี ณุ ธรรมจริยธรรม
๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับ
ครอบครัวสถานศึกษา ชุมชน และบุคคลต่าง ๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ใน
ชีวิตประจำวัน สถานที่สำคัญ วันสำคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน
สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทยและการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย หรือแหล่ง
เรียนรจู้ ากภูมิปญั ญาท้องถิ่นอน่ื ๆ
๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ
การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้า
สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรงและพลังงานในชีวิตประจำวันที่แวดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนุรักษ์
สง่ิ แวดลอ้ มและการรักษาสาธารณสมบัติ
๒.๔ ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็ เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพ่ือส่ือความหมายใน
ชีวิตประจำวัน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส
ขนาด รูปรา่ ง รปู ทรง ปรมิ าตร น้ำหนกั จำนวน สว่ นประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของ
สิ่งต่าง ๆ รอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การ
คมนาคม เทคโนโลยีและการสอื่ สารตา่ ง ๆ ทใี่ ช้อยูใ่ นชวี ติ ประจำวันอย่างประหยัด ปลอดภยั และรักษา
สิ่งแวดลอ้ ม
๒๑
การจดั ประสบการณ์
โรงเรียนบ้านใหม่หนองบัวจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓ -๖ ปี เป็นการจัด
กิจกรรมในลักษณะการบูรณาการผ่านการเล่น การลงมือกระทำจากประสบการณ์ตรงอย่าง
หลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญาไมจ่ ัดเป็นรายวิชา โดยมหี ลกั การ และแนวทางการจัดประสบการณ์ ดงั น้ี
๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็ก
โดยองค์รวม อยา่ งสมดลุ และต่อเนอื่ ง
๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำคญั สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล
และบริบทของสังคมท่ีเดก็ อาศัยอยู่
๑.๓ จัดให้เด็กได้รับการพัฒนา โดยให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนรู้
และพฒั นาการของเด็ก
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่ง
ของการจัดประสบการณ์ พร้อมทงั้ นำผลการประเมนิ มาพัฒนาเดก็ อยา่ งต่อเน่อื ง
๑.๕ ใหพ้ อ่ แม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาเด็ก
๒. แนวทางการจัดประสบการณ์
๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทำงานของสมอง
ท่ีเหมาะกบั อายุ วฒุ ิภาวะและระดับพฒั นาการ เพื่อให้เดก็ ทกุ คนไดพ้ ัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำ
เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า ได้เคลื่อนไหว สำรวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิดแก้ปัญหา
ด้วยตนเอง
๒.๓ จัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบรู ณาการท้งั กิจกรรม ทกั ษะ และสาระการ
เรยี นรู้
๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอ
ความคิด โดยผู้สอนหรือผู้จัดประสบการณ์เป็นผู้สนับสนนุ อำนวยความสะดวก และเรยี นรรู้ ่วมกับเด็ก
๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เดก็ มีปฏิสมั พันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดลอ้ ม
ทเี่ ออื้ ตอ่ การเรียนรใู้ นบรรยากาศท่ีอบอุ่นมีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะ
ตา่ ง ๆ กนั
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
และอยูใ่ นวถิ ชี ีวิตของเด็ก สอดคล้องกบั บรบิ ท สงั คม และวฒั นธรรมท่ีแวดล้อมเดก็
๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยท่ีดีและทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน ตาม
แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการมีวินัยให้
เปน็ สว่ นหน่ึงของการจัดประสบการณ์การเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ือง
๒๒
๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นใน
สภาพจริง โดยไมไ่ ด้คาดการณ์ไว้
๒.๙ จัดทำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของ
เดก็ เปน็ รายบุคคล นำมาไตรต่ รองและใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาเด็กและการวิจัยในชั้นเรียน
๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการวาง
แผนการสนบั สนนุ สอื่ แหล่งเรียนรู้ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม และการประเมินพัฒนาการ
๓. การจดั กจิ กรรมประจำวนั
กิจกรรมสำหรับเด็กอายุ ๓ ปี - ๖ ปีบริบูรณ์ สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันได้หลายรูปแบบ
เป็นการช่วยให้ผูส้ อนหรือผู้จัดประสบการณ์ทราบว่าแตล่ ะวันจะทำกจิ กรรมอะไร เมื่อใด และอย่างไร
ทั้งนี้ การจัดกิจกรรมประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้
ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุม
พฒั นาการทุกดา้ นการจดั กิจกรรมประจำวนั มีหลกั การจดั และขอบข่ายของกจิ กรรมประจำวนั ดังน้ี
๓.๑ หลักการจดั กิจกรรมประจำวัน
๑. กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของ
เดก็ ในแต่ละวัน แตย่ ดื หยนุ่ ไดต้ ามความต้องการและความสนใจของเด็ก เชน่
วัย ๓ - ๔ ปี มีความสนใจประมาณ ๘ - ๑๒ นาที
วยั ๔ - ๕ ปี มีความสนใจประมาณ ๑๒ - ๑๕ นาที
วัย ๕ - ๖ ปี มคี วามสนใจประมาณ ๑๕ - ๒๐ นาที
๒. กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดทั้งในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลา
ต่อเนื่องนานเกนิ กว่า ๒๐ นาที
๓. กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เพื่อช่วยให้เด็กรู้จักเลือกตัดสินใจ คิด
แก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ เชน่ การเลน่ ตามมมุ การเลน่ กลางแจง้ ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที
๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่
ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็ก
เป็นผู้ริเริ่มและผู้สอน หรือผู้จัดประสบการณ์เป็นผู้ริเริ่ม และกิจกรรมที่ใช้กำลังและไม่ใช้กำลัง จัดให้
ครบทุกประเภท ทั้งนี้ กิจกรรมที่ต้องออกกำลังกายควรจัดสลับกับกิจกรรมที่ไมต่ ้องออกกำลังมากนัก
เพื่อเดก็ จะไดไ้ มเ่ หนื่อยเกนิ ไป
๒๓
๓.๒ ขอบขา่ ยของกจิ กรรมประจำวนั
การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวันสามารถจดั ได้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
ความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ทีส่ ำคญั ผู้สอนตอ้ งคำนึงถึงการจัด
กจิ กรรมให้ครอบคลุมพฒั นาการทกุ ดา้ น ดังต่อไปนี้
๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว
การยืดหยุ่น ความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่าง ๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใช้กล้ามเนื้อ
ใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นอิสระกลางแจง้ เล่นเครื่องเล่นสนาม ปีนป่ายเล่นอิสระ เคลื่อนไหว
รา่ งกายตามจงั หวะดนตรี
๓.๒.๒ การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก เป็นการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
เล็ก กล้ามเนื้อมือ-นิ้วมือ การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่าง
คล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสัมผัส เล่นเกมการศึกษา
ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม และใช้วัสดุอุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร
พ่กู นั ดินเหนียว ฯลฯ
๓.๒.๓ การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการ
ปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ
ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและ
ศาสนาทนี่ บั ถอื โดยจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ผา่ นการเลน่ ให้เด็กไดม้ โี อกาสตัดสนิ ใจเลอื ก ได้รบั การตอบสนอง
ความต้องการ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตโิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม อย่างตอ่ เนอื่ ง
๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี
แสดงออกอย่างเหมาะสมและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตร
ประจำวัน มีนิสัยรักการทำงาน ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวงั
อันตรายจากคนแปลกหน้า ให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหาร
พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น ปฏิบัติตามกฎกติกา
ขอ้ ตกลงของสว่ นรวม เกบ็ ของเขา้ ท่ีเมอื่ เลน่ หรือทำงานเสรจ็
๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาให้เด็กมีความสามารถในการคิด
แก้ปัญหาความคิดรวบยอด และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจัดกิจกรรมให้
เด็กได้สนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่
เล่นเกมการศึกษา ฝึกการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ฝึกออกแบบและสร้างขึ้นงาน และทำกิจกรรม
ท้งั เปน็ กลมุ่ ย่อย กลุม่ ใหญ่ และรายบุคคล
๒๔
๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอด
ความรู้สึกนึกคิด ความรู้ความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถตั้งคำถามในสิ่งท่ี
สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่ง
ปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้อง
เป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงหลักการจัดกิจกรรมทางภาษาที่เหมาะสมกับเด็ก
เปน็ สำคัญ
๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้
เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่าง ๆ โดย
จัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดนตรี การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
อย่างอิสระ เลน่ บทบาทสมมติ เลน่ นำ้ เลน่ ทราย เล่นบลอ็ ก และเล่นกอ่ สรา้ ง
การจัดสภาพแวดลอม ส่อื และแหลงเรียนรู
โรงเรียนบ้านใหม่หนองบัวมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น กว้างขวาง เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
จดั สภาพแวดลอม สื่อ และแหลงเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน โดยคำนึงถึง
ความแตกต่างและความต้องการของเด็ก ช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้เด็กได้รับประสบการณ์
ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ผ่านการจัดกิจกรรมประจำวัน 6 กิจกรรมหลัก
โดยจัดทงั้ ในและนอกห้องเรยี นและคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั
การจดั สภาพแวดลอม
มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วมใช้พื้นที่ของโรงเรียนอย่างคุ้ม
ประโยชน์ภายใตบ้ รรยากาศที่ร่มรน่ื สะอาด สวยงาม เพอ่ื ให้เด็กเกดิ ความสุข สนุกไปสู่การเรียนรู้ผ่าน
การเล่นไมเ่ ครง่ เครียดและง่ายต่อการปฏิบัติ การจดั บบรรยากาศการเรยี นรู้จึงแบง่ เปน็ 3 ด้าน
๑. การจัดสภาพแวดลอมดานกายภาพ
เปนการจดั การสภาพแวดลอมตามแนวคดิ เร่ืองการตอบสนองความตองการพ้ืนฐานและการ
เรียนรูโดยการปฏิสัมพันธกับส่งิ แวดลอม การจัดการจึงมีเปาหมายใหเด็กอยูรวมกนั อยางมสี ุขอนามัยที่
ดี มีพื้นที่ในการตอบสนองการทํากิจกรรมตางๆ อยางคลองตัว และตอบสนองการทํากิจกรรมที่
หลากหลาย ลักษณะการจัดการจึงเนนในเรื่องของความสะอาด ความปลอดภัย ความสะดวกที่จะทํา
ใหรสู กึ คลองตัว สดใสกระฉบั กระเฉง ความพรอมของหองเรียนในสถานศกึ ษาที่มลี ักษณะกายภาพท่ีดี
คือ มกี ารถายเทอากาศที่ดี
๒๕
สภาพแวดลอมในหองเรียน คํานึงถึงความปลอดภัย ความสะอาดเปาหมายการพัฒนาเดก็
ความเปนระเบียบ ความเปนตัวของเด็กเอง ใหเด็กเกิดความรูสึกอบอุน มั่นใจ และมีความสุข โดย
คํานึงถึงเรื่องตอไปน้ี
๑. การจัดวางวัสดุอุปกรณ สื่อ เครื่องเลน ครุภัณฑ์เหมาะสม สอดคลองกับวัยและ
พัฒนาการเพื่อใหเด็กสามารถใชหรือทํากิจกรรมไดสะดวกดวยตนเอง
๒. วัสดอุ ปุ กรณ สื่อ เครอื่ งเลน ครภุ ณั ฑ์มขี นาดเหมาะสมกับเดก็ ปฐมวยั
๓. การจัดพื้นที่ในหองเรียนเหมาะสม เลือกที่ตั้งครุภัณฑ อุปกรณตางๆ และ
มุมประสบการณ คํานึงถึงทิศทางลม แสงสวางเพียงพอตอการทํากิจกรรม ไมมีแสงแดดสองรบกวน
สายตาเด็กขณะปฏิบัติกิจกรรม ทุกจุดของหองสามารถมองเห็นไดโดยรอบ การจัดวางครุภัณฑและ
อุปกรณ สะดวกตอการปฏิบัติกิจกรรม มีการกําหนดขอบเขตของมุมประสบการณ/มุมเลนตางๆ โดย
ใชครภุ ณั ฑ/ชนั้ วางทใ่ี หเหน็ ขอบเขต
๔. สภาพแวดลอมในหองมีความสะอาดและปลอดภยั จากสัตว แมลง พืช และสารเคมี
ท่มี ี พิษ ครภุ ัณฑ โตะ เกาอ้ี ไมควรมีมุมแหลมทเ่ี ปนอนั ตราย
๕. มีการแบงพ้ืนทีใ่ นห้องเรยี นอยา่ งเหมาะสมกับการประกอบกิจกรรมตามหลักสตู ร ดังนี้
- มพี ้นื ทอี่ ำนวยความสะดวกเพื่อเด็ก ครูผูส้ อน และพี่เลี้ยง
- มีพืน้ ทป่ี ฏิบตั กิ ิจกรรมการเคล่ือนไหวโดยไมร่ บกวนผ้อู ืน่
- มีมุมของเล่นและมุมประสบการณ์เพอ่ื ให้เดก็ ไดม้ ีโอกาสเลน่ อยา่ งเสรี
๖. จดั พ้ืนท่ีแสดงผลงานและเก็บของอยา่ งเปน็ สัดส่วน
๗. มหี อ้ งปฏิบัติการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยท่ีเดก็ สามารถเข้าไปทำกิจกรรมการทดลองได้
๘. มหี อ้ งศนู ยพ์ ัฒนาสมรรถภาพนกั เรยี นปฐมวยั
ภายในห้องเรียนมีบุคลากรพี่เลี้ยงประจำห้อง มีหน้าที่ดูแลทำความสะอาดและฆ่าเช้ือ
วัสดคุ รุภณั ฑ์ต่างๆ อยา่ งสมำ่ เสมอ
สภาพแวดลอมนอกหองเรียน โรงเรียนบ้านใหม่หนองบัวมีพื้นที่และแหล่งเรียนรู้
ภายนอกห้องเรียน ประกอบด้วย สนามเด็กเล่น ที่นั่งเล่นพักผ่อน บริเวณธรรมชาติ สนามหญ้า และ
สนามกีฬาต่างๆ มีลานเอนกประสงค์ที่ใช้จัดกิจกรรม ส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกพัฒนาการกล้าแสดงออก
และมีความมั่นใจในตนเองรวมถึงห้องปฏิบัติการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ที่เด็กสามารถเข้าไปทำ
กิจกรรมการทดลองได้ มีห้องศูนย์พัฒนาสมรรถภาพนักเรียนปฐมวัย ห้องสมุด ห้องน้ำ ห้องสุขา ที่
แยกออกเปน็ สดั ส่วนมีขนาดเหมาะสมกบั วยั
๒๖
การประเมินพฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม
ปกติทจ่ี ัดให้เดก็ ในแต่ละวนั ผลทไ่ี ดจ้ ากการสังเกตพฒั นาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์หรือจัดทำ
ข้อมูลหลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยการรวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็นรายบุคคลที่
สามารถบอกเรื่องราวหรือประสบการณ์ที่เด็กได้รับว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด
ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผนการจัดกิจกรรม และ
ส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมายของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง การประเมิน
พัฒนาการควรยึดหลัก ดงั น้ี
๑. วางแผนการประเมินพฒั นาการอย่างเปน็ ระบบ
๒. ประเมนิ พฒั นาการเด็กครบทุกด้าน
๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเปน็ รายบคุ คลอย่างสมำ่ เสมอต่อเนื่องตลอดปี
๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่
หลากหลาย ไมค่ วรใชแ้ บบทดสอบ
๕. สรุปผลการประเมิน จัดทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็ก สำหรับวิธีการ
ประเมินที่เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓-๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึก พฤติกรรมการ
สนทนากบั เด็ก การสมั ภาษณ์ การวเิ คราะหข์ ้อมูลจากผลงานเดก็ ทเ่ี กบ็ อยา่ งมรี ะบบ
การบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั
โรงเรียนบ้านใหม่หนองบัวได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย
บุคคลท่เี กี่ยวขอ้ งซง่ึ มบี ทบาทหนา้ ท่สี ำคัญ ดังน้ี
1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
1) เป็นผู้นำและมีวิสัยทัศน์ในการบริหารจัดการศึกษาตามหลักการจัดการศึกษา
ปฐมวัย ให้ความเห็นชอบกำหนดวิสัยทัศน์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็กทุกช่วงอายุร่วมกับ
ครูผูส้ อนระดบั ปฐมวยั ทั้ง 3 ระดบั ช้นั
2) จัดครูที่มีวุฒิการศึกษาด้านการศึกษาปฐมวัย และมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับ
การจัดการศึกษาปฐมวัยครบทุกชั้นเรียน จัดจ้างครูพี่เลี้ยงที่มีความรู้ผ่านการอบรมเรื่องการดูแล
บรบิ าลเดก็ ครบทุกหอ้ งเรยี น
3) จัดให้มีการบริการการรับเดก็ เข้าเรียนอย่างทั่วถึงเสมอภาค และปฏิบัติการรบั เดก็
ตามเกณฑ์ ท่กี ำหนดครบทกุ ช้ันเรียน
๒๗
4) ส่งเสริมให้ครูผู้สอนเข้ารับการอบรมอย่างต่อเนื่อง และนำผลการอบรมมาพัฒนา
เด็ก
5) สร้างความร่วมมือและประสานกับบุคลากรทุกฝ่ายในการจัดทำหลักสูตร
สถานศกึ ษา
6) จัดใหมีขอมูลสารสนเทศเก่ียวกับตัวเด็ก งานวิชาการหลักสูตรอยางเปนระบบ และ
มกี ารประชาสมั พนั ธหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
7) สนับสนุนการจัดสภาพแวดลอม สื่อ วัสดุอุปกรณ และแหลงเรียนรูที่เอื้ออํานวยต
อการเรยี นรูและสงเสรมิ พฒั นาการเด็ก
8) นเิ ทศ กาํ กบั ติดตามการใชหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั โดยจดั ใหมกี ารนเิ ทศภายใน
อยางมีระบบ
9) กํากบั ตดิ ตามใหมกี ารประเมินคณุ ภาพภายในระดับปฐมวัยในสถานศึกษา และนํา
ผลจากการประเมนิ ไปใชในการพฒั นาคุณภาพเดก็
10) กาํ กบั ตดิ ตามใหมกี ารประเมินการนาํ หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยไปใช เพ่ือนาํ ผล
จากการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาสาระของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยให สอดคลองกับความ
ตองการของเดก็ บรบิ ทสงั คมและใหมีความทันสมัย
๒. ผสู อนระดับปฐมวยั
การพัฒนาคุณภาพเด็กโดยถือวาเด็กมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตอง
สงเสริมใหเด็กสามารถพัฒนาตนตามธรรมชาติ สอดคลองกับพัฒนาการและเต็มตามศักยภาพ ดังนั้น
ผูสอนจึงมีบทบาท สำคัญยิ่งในการจัดทำหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร และนําหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวัยไปสูการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ ทำใหกระบวนการจัดการเรียนรูดังกล่าวบรรลุผลสำเร็จ
ตามเป้าหมาย ผูสอนจึงควรมีบทบาท/หนาที่ ดังนี้
๑) บทบาทในฐานะผูบริหารหลกั สตู ร
- ทำหนาที่วางแผน จัดทำหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร หน วยการจัด
ประสบการณ การจัดประสบการณการเรยี นรู และการประเมินผลพัฒนาการ
- จดั ทำแผนการจดั ประสบการณที่เนนเด็กเปนสำคัญ ใหเด็กมีอสิ ระในการเรียน
รู เปดโอกาส ใหเดก็ เลน/ทำงานและเรียนรู ทัง้ รายบคุ คลและเปนกลุม
- ประเมินผลการใชหลักสูตร เพื่อนําผลการประเมินมาปรบั ปรุงพัฒนาหลักสูตร
ใหทนั สมัย สอดคลองกบั ความตองการของเด็ก ชมุ ชน และทองถ่ิน
๒๘
๒) บทบาทในฐานะผูเสรมิ สรางการเรยี นรู
- จัดประสบการณการเรียนรูที่เด็กกำหนดขึ้นดวยตัวเด็กเอง และผูสอนกับ
เด็กรวมกันกําหนด เพื่อพัฒนาเด็กใหครอบคลุมพัฒนาการทุกดานในชีวิตประจำวัน ในการแสวงหา
คาํ ตอบหรือหาคาํ ตอบในส่ิงท่เี ด็ก เรยี นรูอยางมเี หตผุ ล
- จดั ประสบการณกระตุนใหเดก็ รวมคิด แกปญหา คนควาหาคําตอบดวยตนเอง
ดวยวธิ ีการ ศึกษาท่นี ําไปสูการใฝรแู ละพัฒนาตนเอง
- จัดสภาพแวดลอมและสรางบรรยากาศการเรียนรูที่สรางเสริมใหเด็กปฏิบัติ
กิจกรรม ผานการเลนไดเตม็ ตามศกั ยภาพและความสามารถของเดก็ แตละคน
- สอดแทรกการอบรมดานจริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงคในการจัดการ
เรียนรูกิจวัตรประจําวัน และกิจกรรมตางๆ อยางสมํ่าเสมอ 141คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป
- จัดกจิ กรรมการเลนที่มีจดุ มงุ หมายเพื่อสงเสริมการเรียนรูสง่ิ แวดลอม ตลอดจน
มกี าร ปฏสิ ัมพันธกบั ผูอื่น และเรียนรูวธิ ีการแกปญหาขอขัดแยงตางๆ
- ใชปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูสอนและเด็กในการดําเนินประสบการณการเรียน
การสอน อยางสมาํ่ เสมอ
- จดั การประเมนิ ผลพัฒนาการที่สอดคลองกับสภาพจริง และนําผลการประเมิน
มาปรับปรุง พัฒนาคุณภาพเด็กใหเต็มตามศักยภาพ และนํามาปรับปรุงพัฒนาการจัดประสบการณ
ของตนใหมีประสิทธภิ าพ
๓) บทบาทในฐานะผูดแู ลเดก็
- สังเกตและสงเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ จิตใจ
สงั คม และสติปญญา
- ฝกใหเดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเองในชวี ิตประจำวนั
- ฝกใหเดก็ มคี วามเชื่อม่ัน มคี วามภูมใิ จในตนเอง และกลาแสดงออก
- ฝกการเรยี นรูหนาท่ี ความมวี ินัย และการมีนิสยั ทดี่ ี
- จาํ แนกพฤติกรรมเดก็ และสรา้ งเสรมิ ลักษณะนิสยั และแกปญหาเฉพาะบุคคล
- ประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา บ้าน และชุมชน เพื่อให เด็ก
ไดพัฒนาเตม็ ตาม ศักยภาพ และมมี าตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค
๒๙
๔) บทบาทในฐานะนักพัฒนาเทคโนโลยกี ารสอน
- นํานวัตกรรม เทคโนโลยีทางการสอนมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพ
บรบิ ทสงั คม ชมุ ชน และทองถ่นิ
- ใชเทคโนโลยีและแหลงเรียนรูในชุมชนในการเสริมสรางการเรยี นรูใหแกเด็ก
- จัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อนําไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร/กระบวนการเรียนรู
และพัฒนา สอื่ การเรยี นรู
- พัฒนาตนเองใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีคุณลักษณะของผูใฝรู มีวิสัยทัศน
และทนั สมัย ทนั เหตุการณในยุคของขอมูลขาวสาร
๓. พอแมหรือผูปกครองเด็กปฐมวัย การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยเป็นการศึกษาที่จัดใหแกเด็กที่ผู
สอนและพอแมห่ รือผูปกครอง ตองส่ือสารกันตลอดเวลา เพ่อื สรา้ งความเขาใจและ พรอมรวมมือกันใน
การอบรมเลยี้ งดูและใหการศกึ ษาแกเด็ก พอแมหรือผูปกครอง ควรมีบทบาทหนาท่ี ดงั น้ี
๑) มีสวนร่วมในการกำหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา และใหความเห็นชอบ กำหนดแผนการ
จัด ประสบการณของเดก็ ร่วมกับผูสอนและเด็ก
๒) ร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา และกิจกรรมการจัดประสบการณการ
เรยี นรู เพอื่ พัฒนาเดก็ ตามศกั ยภาพ
๓) เป็นเครือขายการเรยี นรู จัดบรรยากาศภายในบา้ นใหเอ้ือตอการเรยี นรู
๔) สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษาตามความเหมาะสมและจำเปน
๕) อบรมเลี้ยงดู เอาใจใส ใหความรัก ความอบอุน สงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการ
ดานตางๆ ของเดก็
๖) ปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค ตลอดจนสงเสริมคุณลักษณะที่พึง
ประสงค โดยประสานความรวมมอื กับผูสอนและผูทเ่ี ก่ยี วของ
๗) เปนแบบอยางที่ดีทั้งในดานการปฏิบัติตนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู และมีคุณธรรม
นาํ ไปสู การพฒั นาใหเปนสถาบันแหงการเรียนรู
๘) มีสวนรวมในการประเมินผลพัฒนาการของเด็กและในการประเมนิ การจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
๓๐
๔. ชุมชน/ทองถิ่น
ชุมชน/ทองถิ่น มีบทบาทในการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา โดยการประสานความ
รวมมือ เพื่อรวมกันพัฒนาเด็กเต็มตามศกั ยภาพ ดังนั้น ชุมชนจึงมีบทบาทในการจัดการศึกษาปฐมวยั
ดงั นี้
๑) มีสวนร่วมในการสงเสริมการบริหารสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา สมาคม/ชมรมผูปกครอง
๒) มีสวนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการดำเนินการ
ของ สถานศกึ ษา
๓) เปนศูนยการเรียนรูเครือขายการเรียนรู สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ใหเด็กไดเรียนรู มปี ระสบการณจากสถานการณจรงิ
๔) สงเสรมิ ใหมีการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอกและภมู ปิ ญญา
ทองถิ่น เพื่อเสริมสรางพัฒนาการของเด็กทุกดาน รวมทั้งสืบสานจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของ
ทองถนิ่ และของชาติ
๕) ประสานงานกบั องคกรทั้งภาครฐั และเอกชน เพอื่ ใหสถานศกึ ษาเปนแหลง
วิทยาการของชมุ ชน และมสี วนในการพฒั นาชุมชนและทองถน่ิ
๖) มีสวนรวมในการตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
โดยทําหนาท่ใี หขอเสนอแนะในการพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
การพฒั นาผูสอนและบคุ ลากรปฐมวัย
การพฒั นาผูสอนและบคุ ลากรปฐมวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีความสำคัญมากในการ
บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เพราะเป็นการสร้างความรู ความเขาใจใหแกผูสอน
ใหสามารถ นําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติไดอย่างมีประสิทธภิ าพ ทัง้ ในด้านการออกแบบพัฒนาหลักสูตร
การจัดประสบการณ การเรียนรู การจัดสภาพแวดลอมในและนอกหองเรียน การจัดพัฒนาสื่อ
สิ่งแวดลอม และแหล่งเรียนรู การประเมินพัฒนาการ โดยมีมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค
ตัวบ งชี้ และสภาพที่พึงประสงค ของ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเป็นเป้าหมายสำคัญ
ในการพัฒนาคุณภาพเด็ก สถานศึกษาจึงควรกำหนดแนวทาง การพัฒนาผูสอนและบุคลากรปฐมวัย
ดงั น้ี
๑) สํารวจและประเมินความตองการในการพัฒนาตนเองของผูสอนและบุคลากรปฐมวัย
และนํา ขอมูลมาจัดทําแผนการพฒั นาตนเองท้งั แผนระยะส้ันและแผนระยะยาว
๒) พัฒนาผูสอนและบุคลากรปฐมวัยในดานการพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัด
ประสบการณ เทคนคิ วิธีการ จดั ประสบการณ เทคนคิ การควบคมุ ช้ันเรียน และดานอ่ืนๆ ทัง้ น้ี การจัด
กิจกรรมพัฒนาผูสอน และบุคลากรปฐมวัย ควรใชเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เชน การอบรมเชิง
ปฏิบัตกิ าร การประชุมสัมมนา การศกึ ษาดงู าน การจัดกจิ กรรม PLC เปนตน
๓๑
๓) สงเสริมสนับสนุนใหมีมุมความรู โดยการจัดหาเอกสารดานหลักสูตร แนวทางการจัด
ประสบการณ ตลอดจนองคความรูดานอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อเปดโอกาสใหผูสอนและบุคลากรปฐมวัย
ศกึ ษาคนควาเพิ่มเตมิ
๔) สงเสริมใหผูสอนและบุคลากรปฐมวัยมีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกัน
รวมปรึกษาและ วางแผนการจัดการเรียนรูรวมกับผูสอนระดบั ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ เพื่อใหผูสอนเข
าใจบทบาทหนาท่ีและภารกิจ ของตนในการนําหลักสูตรไปสูปฏิบตั สิ งผลดีตอการทาํ งานรวมกนั ในการ
จัดประสบการณการเรยี นรูท่เี ปนการสราง รอยเชอ่ื มตอในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ ไดเปนอยางดี
การสนบั สนนุ งบประมาณและทรพั ยากร
การพัฒนาหลักสูตรและการจัดประสบการณ การเรียนรู ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีความจําเปนอยางยิ่งที่สถานศึกษาตองจัดหางบประมาณและทรัพยากรที่
จําเปนเพื่อสนับสนุน ใหการดําเนินการจัดประสบการณการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ประสบความสาํ เรจ็ ตามเปาหมาย ท่กี าํ หนด โดยมีแนวทางการดําเนินการ ดังน้ี
๑) จัดหาและจัดสรรงบประมาณอยางเพียงพอสําหรับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวัย การนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไปใช ในการจัดประสบการณการเรียนรู การจัด
งบประมาณสงเสริมกิจกรรม การเรียนรู/โครงการ การทัศนศึกษานอกสถานที่ การพัฒนาบุคลากร
การดําเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารระดับ ปฐมวัย และการนเิ ทศ กาํ กบั ตดิ ตาม
๒) จัดซื้อและจัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ เพื่อจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียน
จัดซื้อ และจัดหาสื่อของเลนที่สงเสริมพัฒนาการเด็กตามมุมประสบการณตางๆ การพัฒนาสนามเด็ก
เลน และแหลงเรียนรู ที่หลากหลาย รวมถึงการจัดเตรียมของใชสวนตัวใหแกเด็กตามความจําเปน
เพ่อื การดูแลอนามัยสวนบุคคลและ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตางๆ ของเดก็ ไดอยางสะดวกและปลอดภัย
๓) กาํ กับติดตามการใชงบประมาณและทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา
๔) การมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานเอกชน
ในการสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยให เปนไปตามหลักการพัฒนาเด็กทุกช วงวัย
ระดมทรัพยากรในการ จัดหาผูสอนที่มีคุณวุฒิหรือประสบการณดานการศึกษาปฐมวัย พี่เลี้ยงเด็ก
ภูมิปญญาทองถน่ิ รวมถงึ การพฒั นา สภาพแวดลอมและแหลงเรยี นรู
การนิเทศ กาํ กับ ตดิ ตาม การนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ไปสูการปฏิบัติ
การนิเทศ กํากับ ติดตาม การนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไปสูการปฏิบัติ เปนกระบวน
การสําคัญ ในการควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยผูบริหารสถานศึกษาและ
ผูมีบทบาทหนาที่ที่เกี่ยวของ ควรใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การตรวจเยี่ยม การสังเกตการสอน
ในชั้นเรียน การสอนแนะ (Coaching) การตรวจแผนการจัดประสบการณ ทั้งนี้ ควรดําเนินการ
นิเทศกํากับ ติดตามอยางเปนระบบ และเปนกัลยาณมิตร เปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกนั
และกนั โดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดงั น้ี
๓๒
๑) ประชุมผูบริหารสถานศึกษาและผูสอนระดับปฐมวัย เพื่อรวมกันกําหนดความตองการ
และชวงเวลาในการจัดทําปฏิทินการนิเทศหรือแผนการนิเทศ กํากับ ติดตามที่เหมาะสม ตอเนื่อง
และเปนรูปธรรม
๒) สรางความเขาใจและทัศนคติที่ดีในการจัดกิจกรรมการนิเทศ กํากับ ติดตาม ใหแก
บุคลากร ท่ีเกย่ี วของทุกฝาย
๓) ดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตามตามแผนการนิเทศ และนําผลการนิเทศมาวางแผนเพื่อ
จดั กจิ กรรมสงเสรมิ พฒั นาบุคลากรปฐมวัยตามความตองการจาํ เปนอยางตอเนอื่ ง
๔) นําขอมูลสารสนเทศที่ไดรับจากการนิเทศ กํากับ ติดตาม มาใชเปนสวนหนึ่งในการ
พฒั นา หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ใหมปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนกระบวนการเชิงระบบเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูล
และ สารสนเทศที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจเก่ียวกับการศึกษาคุณภาพของหลักสตู ร การปรับปรุง
พัฒนาหลักสูตร การบริหารหลักสูตร และการเปล่ยี นแปลงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยใหเหมาะสมต
อไป ซ่ึงแนวทางการประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ประกอบดวย
๑. การประเมินกอนนําหลักสูตรไปใช เปนการประเมินกระบวนการรางหลักสูตร
สถานศกึ ษา ปฐมวยั ควรดําเนินการ ดังนี้
๑) การวิเคราะหขอมูลความจําเปนพืน้ ฐานที่เกี่ยวของเพือ่ นํามาใชในการรางหลักสตู ร
สถานศึกษาปฐมวัย โดยวิเคราะหขอมูลและสารสนเทศจากการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ฉบับเดิม ศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใชหลักสูตรที่ผานมา มีผลสําเร็จอะไรบาง
มีปญหาและอุปสรรคอะไรบาง ในการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยใชขอมูลจากแหลงตางๆ
เชน การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา การ
ประเมินพัฒนาการ นโยบายทางการศึกษาของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ การเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม ผลการสอบถามความตองการของพอแม ผูปกครองและชุมชน เพื่อใหไดสารสนเทศทีเ่ กี่ยวของ
นาํ ไปใชในการรางหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั
๒) การตรวจสอบคุณภาพของรางหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั เปนการประเมินเอกสาร
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เพื่อพิจารณาความสอดคลอง เหมาะสมเกี่ยวกับองคประกอบตาง ๆ
ของหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย โดยใชวิธีการสอบถามความคิดเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวของ ไดแก
ผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ผูแทนชุมชน องคกร ผูเชี่ยวชาญ
และผูทรงคุณวุฒิ เพื่อใหไดสารสนเทศที่จะนํา ไปใชในการปรับปรุงและแกไขเอกสารหลักสูตรใหมี
ความเหมาะสมและมคี ณุ ภาพ
๓๓
๓) การประเมินความพรอมกอนนําหลักสูตรไปใช เปนการประเมินความพรอมและ
ความพอเพียง ดานปจจัยหรือทรัพยากรในการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดแก ดานบุคลากร
มีจํานวนพอเพียงหรือไม มีคุณลักษณะพรอมที่จะจัดประสบการณมากนอยเพียงใด ดานเอกสาร
หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร มีความพรอมและพอเพียงตอการจัดประสบการณหรือไม
ดานสื่อและแหลงเรียนรูที่เกี่ยวของกับการจัด ประสบการณมีพอเพียงหรือไม เพื่อการจัดการพัฒนา
หรือการจัดซื้อและจัดหาใหทันตอการใชหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย ประเมินโดยใชวิธีการสนทนา
กลมุ การตรวจสอบรายการ หรือการสอบถาม
๒. การประเมินระหวางการดําเนินการใชหลักสูตร เปนการประเมินกระบวนการใช
หลักสูตร เกี่ยวกับการบริหารหลักสูตร การจัดประสบการณการเรียนรู การสงเสริมสนับสนุนการใช
หลักสูตร เพื่อศึกษา ความกาวหนาของการใชหลักสูตรเปนระยะๆ เพื่อตรวจสอบวาหลักสูตรเปนไป
ตามแผนการดําเนินงานทีก่ ําหนด ไวหรือไม มีปญหาและอุปสรรคอยางไร ควรมีการปรับปรุงแกไขใน
เรื่องใดบาง ประเด็นการประเมิน ไดแก การวางแผนการใชหลักสูตร การเตรียมความพรอมและ
บุคลากร การนิเทศ การฝกอบรมและพัฒนาครูและบุคลากร เพิ่มเติมระหวางการใชหลักสูตร การจัด
ปจจัยและสิ่งสนับสนุนการใชหลักสูตร ประเด็นการประเมินเกี่ยวกับการจัด ประสบการณการเรียนรู
ไดแก การจัดกิจกรรมและพฤติกรรมการจัดการเรียนรู การจัดการชั้นเรียน การเลือกและ ใชสื่อการ
จัดการเรียนรู การประเมินพัฒนาการ ความรูความสามารถของผูสอนและบุคลากร และประเด็น
ประเมิน เกี่ยวกับการจัดมุมประสบการณ ไดแก การจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียน
การตรวจสอบคุณภาพ หลักสูตรระหวางการใชอาจใชวิธีการนิเทศ ติดตาม การสอบถาม การสนทนา
กลมุ หรือการสังเกต
๓. การประเมินหลังการนําหลักสูตร เปนการประเมินหลักสูตรทั้งระบบ หลังจาก
ดําเนินการใช หลักสูตรครบแตละชวงอายุแลว โดยมีจุดมุงหมายเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย และสรุปผลภาพรวมของหลักสูตรที่จัดทําวาบรรลุผล
ตามเปาหมายของหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัยหรือไม บรรลุผลมากนอยเพียงใด ตองมีการปรับปรุง
หรือพัฒนาสวนใดบาง ปรับปรุงหรือพัฒนา อยางไร ประเด็นการประเมินเกี่ยวกับประสิทธิผลของ
หลักสูตร ไดแก การบรรลุผลตามมาตรฐานคุณลักษณะ ที่พึงประสงคตามหลักสูตร การบรรลุผลตาม
เปาหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยท่ีกําหนดไว ประเดน็ การประเมินเกย่ี วกับประสิทธิภาพของ
หลักสูตร ไดแก หนวยการจัดประสบการณที่สอดคลองกับหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย การจัด
ประสบการณการเรียนรู ส่อื และแหลงการเรยี นรู การประเมินพฒั นาการ การบริหาร จัดการหลักสูตร
และการสรางรอยเชื่อมตอของการศึกษา ประเมินโดยใชวิธีการตรวจสอบรายการการศึกษา เอกสาร
การสอบถาม หรอื การสนทนากลุม
๓๔
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเป็นหลักสูตรของสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัยแต่ละแห่ง
วางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้เด็กบรรลุมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้และสภาพที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนด สถานศึกษาต้องคำนึงถึง วิสั ยทัศน์
จุดเนน้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ สภาพบรบิ ทและความต้องการของชุมชน มาออกแบบหลักสตู รสถานศกึ ษา ดังน้ี
๑. จดุ หมายของหลักสตู รสถานศึกษา
สถานศึกษาต้องดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาบนพื้นฐานหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
โดยสถานศึกษาต้องเชื่อมโยงมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปสู่การจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษา และสะท้อนให้เห็นหลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เช่น การประสานความ
ร่วมมือระหว่างครอบครวั ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้สอนปฐมวัยและ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ในการพฒั นาเด็ก
๒. การสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาจะต้องสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจและปรับเปลี่ยนให้
สอดคล้องกบั ธรรมชาติและการเรยี นรู้ของเด็กปฐมวัย การสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาควรดำเนินการ ดงั น้ี
๒.๑ ศึกษาทำความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และ
เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กและครอบครวั สภาพปัจจุบนั
สภาพต่าง ๆ ท่ีเปน็ ปญั หา จดุ เดน่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ความต้องการของชมุ ชนและท้องถิ่น
๒.๒ จัดทำหลกั สูตรสถานศึกษา โดยกำหนดปรชั ญา วิสยั ทัศน์ ภารกจิ หรือพนั ธกจิ เป้าหมาย
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ โดยโครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย การ
วิเคราะห์ สาระการเรียนรู้รายปีเพื่อกำหนดประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรรู้ ในแต่ละช่วงอายุ
ระยะเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การประเมิน
พัฒนาการและการบริหารจัดการหลักสูตร ซึ่งสถานศึกษาอาจกำหนดโครงสร้างหลักสูตรได้ตามความ
เหมาะสมและความจำเป็นของสถานศึกษาแต่ละแหง่
๒.๓ การประเมินหลักสูตรของสถานศึกษาปฐมวัย แบ่งออกเป็นการประเมินก่อนนำ
หลักสูตรไปใช้เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร องค์ประกอบของหลักสูตรหลังจากที่ได้
จัดทำแล้ว โดยอาศัยความคิดเห็นจากผู้ใช้หลักสตู ร ผู้มีส่วนร่วมในการทำหลักสตู ร ผู้เชีย่ วชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ในด้านต่าง ๆ การประเมินระหว่างการดำเนินการใช้หลักสูตรเป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบว่าหลักสูตร
สามารถนำไปใชไ้ ด้ดเี พียงใด ควรมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขในเรื่องใด และการประเมินหลังการใช้หลกั สูตร เปน็ การ
ประเมินเพื่อตรวจสอบหลักสูตรทั้งระบบหลังจากที่ใช้หลักสูตรครบแต่ละช่วงอายุเพื่อสรุปผ ลว่าหลักสูตรที่
จัดทำควรมีการปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาใหด้ ีขึ้นอย่างไร
๓๕
การจดั การศึกษาระดับปฐมวยั (เด็กอายุ ๓-๖ ป)ี สำหรบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะสามารถนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ไปปรับใช้ได้ ทั้งในส่วนของโครงสร้างหลักสูตร สาระการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ และการประเมิน
พฒั นาการใหเ้ หมาะสมกับสภาพ บริบท ความต้องการ และศกั ยภาพของเด็กแตล่ ะประเภท เพ่ือพัฒนาให้เด็ก
มีคณุ ภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคท์ หี่ ลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนด โดยดำเนนิ การ ดังนี้
๑. การกำหนดเป้าหมายคุณภาพเด็ก ซึ่งหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดมาตรฐาน
คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ และสาระการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางเพ่ือให้ทุกฝา่ ยทเ่ี ก่ียวข้องใช้ใน
การพัฒนาเดก็ สถานศึกษาหรอื ผจู้ ัดการศึกษาสำหรบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ สามารถเลือกหรือปรับใช้ ตัวบ่งชี้
และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาเด็ก เพื่อนำไปจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลให้ครอบคลุม
พัฒนาการของเดก็ ทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา
๒. การประเมินพัฒนาการเด็กจะต้องคำนึงถึงปัจจัยความแตกต่างของเด็ก อาทิ เด็กที่มีความ
พิการแต่ละด้าน อาจต้องมีการปรับการประเมินพฒั นาการที่เอื้อตอ่ สภาพความพิการของเด็ก ทั้งวิธีการและ
เครือ่ งมือทใี่ ชค้ วรใหส้ อดคล้องกบั เดก็ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้านดงั กล่าว
๓. สถานศึกษาที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้านควรได้รับการสนับสนุนครูพี่เลี้ยงให้การดูแล
ช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนาการ กรณีที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้านมีผลพัฒนาการไม่เป็นไปตาม
เปา้ หมาย ควรมีการสง่ ต่อไปยังสถานพัฒนาเด็กทมี่ ีความต้องการพเิ ศษเพ่ือให้ได้รบั การพัฒนาต่อไป
การสร้างรอยเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งการศกึ ษาระดับปฐมวยั กบั ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑
การสร้างรอยเชื่อมต่อระหว่างการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ มีความสำคัญ
อย่างยิ่ง ส่งผลดีต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี สามารถ
พัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่น การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ จะ
ประสบผลสำเรจ็ ได้ บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวขอ้ งต้องดำเนินการดังตอ่ ไปนี้
๑. ผบู้ ริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลสำคัญที่มีบทบาทเป็นผู้นำในการสร้างรอยเชื่อมต่อระหว่าง
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยกบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานในช้นั ประถมศึกษา
ปีที่ ๑โดยต้องศึกษาหลักสูตรทั้งสองระดับ เพื่อทำความเข้าใจและจัดระบบการบริหารงานด้านวิชาการที่จะ
เอ้ือต่อการเชอ่ื มต่อการศึกษา โดยดำเนินการดังน้ี
๑.๑ จัดประชุมผู้สอนระดับปฐมวัยและผู้สอนระดับประถมศึกษา ร่วมกันสร้างความเข้าใจ
รอยเชื่อมต่อของหลักสูตรทั้งสองระดับให้เป็นแนวปฏิบัติของสถานศึกษา เพื่อผู้สอนทั้งสองระดับจะได้
เตรียมการสอนไดส้ อดคลอ้ งกับเด็กวัยนี้
๑.๒ จัดหาเอกสารหลักสูตรและเอกสารทางวิชาการของทั้งสองระดับมาไว้ให้ผู้สอนและ
บุคลากรอ่ืนๆ ได้ศึกษาทำความเขา้ ใจ อย่างสะดวกและเพยี งพอ
๑.๓ จดั กิจกรรมให้ผสู้ อนทง้ั สองระดับมีโอกาสแลกเปล่ียนและเผยแพร่ความรใู้ หมๆ่ ร่วมกัน
๑.๔ จัดหาสือ่ วสั ดุอุปกรณ์ และจดั สภาพแวดลอ้ มท่ีส่งเสริมการสรา้ งรอยเช่อื มตอ่
๓๖
๑.๕ จัดกจิ กรรมใหค้ วามรู้ กจิ กรรมสัมพนั ธใ์ นรปู แบบต่างๆ และจัดทำเอกสารเผยแพร่ให้กับ
พ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือให้พ่อแม่ ผปู้ กครองเข้าใจการศึกษาทั้งสองระดับและให้ความร่วมมือใน
การชว่ ยเหลอื เดก็ ให้สามารถปรบั ตัวเข้ากบั สภาพแวดลอ้ มใหม่ไดด้ ี
ในกรณีที่โรงเรียนไม่มีชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ในสถานศึกษาของตนเอง ผู้บริหารสถานศึกษาควร
ประสานกับสถานศึกษาทคี่ าดว่าเดก็ จะไปเข้าเรยี น เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจใหพ้ ่อแม่ ผูป้ กครอง ในการชว่ ยเหลอื
เด็กสามารถปรับตัวเข้ากบั สถานศกึ ษาใหม่ได้
๒. ผู้สอนระดบั ปฐมวยั
ผู้สอนระดับปฐมวัยต้องศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการเรียนการ
สอนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และสร้างความเข้าใจให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคลากรอื่น ๆ รวมท้ัง
ช่วยเหลือเดก็ ในการปรับตัวก่อนเลอื่ นขนึ้ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ โดยผูส้ อนควรดำเนนิ การ ดังน้ี
๒.๑ เก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับตัวเด็กเป็นรายบุคคลเพ่ือส่งต่อผสู้ อนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑
ซึ่งจะทำให้ผู้สอนระดับประถมศึกษาสามารถใช้ข้อมูลนั้นช่วยเหลือเด็กในการปรับตัวเข้ากับการเรียน รู้ใหม่
ตอ่ ไป
๒.๒ พูดคุยกับเด็กถึงประสบการณ์ทีด่ ี ๆเกี่ยวกับการจัดการเรยี นรู้ในระดับช้ันประถมศึกษา
ปที ่ี ๓ เพื่อให้เดก็ เกิดเจตคติทด่ี ตี ่อการเรียนรู้
๒.๓ จัดให้เด็กได้มีโอกาสทำความรู้จักกับผู้สอน ตลอดจนการสำรวจสภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศของหอ้ งเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
๒.๔ จัดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ หนังสือที่เหมาะสมกับวัยเด็กที่ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้และมี
ประสบการณ์พ้ืนฐานท่ีสอดคล้องกบั รอยเชื่อมตอ่ ในการเรยี นระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑
๓. ผู้สอนระดับประถมศกึ ษา
ผู้สอนระดับประถมศึกษาต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพัฒนาการเด็กปฐมวัย และมีเจตคติที่ดี
ต่อการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อนำมาเป็นข้อมูลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ให้ตอ่ เนือ่ งกับการพัฒนาเด็กในระดับปฐมวยั โดยควรดำเนนิ การ ดังน้ี
๓.๑ จัดกิจกรรมให้เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง มีโอกาสได้ทำความรู้จักคุ้นเคยกับผู้สอนและ
ห้องเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ก่อนเปิดภาคเรยี น
๓.๒ จัดสภาพห้องเรียนให้ใกล้เคียงกับห้องเรียนระดับปฐมวัย โดยจัดให้มีมุมประสบการณ์
ภายในห้อง เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสทำกิจกรรมได้อย่างอิสระ เช่น มุมหนังสือ มุมของเล่น มุมเกมการศึกษา
เพอื่ ชว่ ยใหเ้ ดก็ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ได้ปรบั ตัวและเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจริง
๓.๓ จดั กิจกรรมรว่ มกันกบั เดก็ ในการสรา้ งข้อตกลงเก่ยี วกบั การปฏบิ ัติตน
๓.๔ จดั กิจกรรมชว่ ยเหลอื ส่งเสริมการเรียนร้ใู ห้กบั เด็กตามความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
๓.๕ เผยแพร่ข่าวสารด้านการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง
และชุมชน
๓๗
๔. พ่อแม่ ผูป้ กครอง
พ่อแม่ ผู้ปกครองเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมการศึกษาของบุตร
หลาน และเพ่ือช่วยบตุ รหลานของตนเองในการศกึ ษาต่อชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ควรดำเนินการดงั นี้
๔.๑ ศึกษาและทำความเขา้ ใจหลักสูตรของการศึกษาทั้งสองระดบั
๔.๒ จดั หาหนังสือ อปุ กรณ์ที่เหมาะสมกับวัยเด็
๔.๓ มีปฏสิ ัมพนั ธท์ ีด่ กี บั บุตรหลาน ใหค้ วามรัก ความเอาใจใส่ ดูแลบตุ รหลานอย่างใกล้ชิด
๔.๔ จัดเวลาในการทำกิจกรรมร่วมกับบุตรหลาน เช่น เล่านิทาน อ่านหนังสือร่วมกัน
สนทนาพูดคุย ซักถามปัญหาในการเรยี น ให้การเสรมิ แรงและให้กำลังใจ
๔.๕ ร่วมมือกับผู้สอนและสถานศึกษาในการช่วยเตรียมตัวบตุ รหลาน เพื่อช่วยใหบ้ ุตรหลาน
ปรบั ตัวไดด้ ีข้นึ
การกำกบั ติดตาม ประเมินและรายงาน
การจัดการศกึ ษาปฐมวยั มหี ลักการสำคัญในการใหส้ ังคม ชมุ ชน มสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาและ
กระจายอำนาจการศึกษาลงไปยังท้องถ่ินโดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็น
ผู้จัดการศึกษาในระดับนี้ ดังนั้น เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพตามมาตรฐาน คุณลักษณะท่ี
พึงประสงค์และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม จำเป็นต้องมีระบบการกำกับ ติดตาม
ประเมินและรายงานท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษา เห็น
ความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน วางแผน และ
ดำเนินงานการจัดการศึกษาปฐมวัยให้มคี ณุ ภาพอยา่ งแทจ้ ริง
การกำกับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการจดั การศึกษาปฐมวยั เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
บรหิ ารการศึกษา กระบวนการนิเทศ และระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท่ีต้องดำเนนิ การอย่างต่อเนื่อง
เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สร้างความมั่นใจให้ผู้เก่ียวข้อง โดยต้องมีการ
ดำเนินการที่เป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมทั้งหน่วยงานภายในและภายนอก ในรูปแบบของคณะกรรมการ
ที่มาจากบุคคลทุกระดับและทุกอาชีพ การกำกับ ติดตาม และประเมินผลต้องมีการรายงานผลจากทุกระดบั
ให้ทุกฝ่าย รวมทั้งประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อนำข้อมูลจากรายงานผลมาจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาหรอื สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยต่อไป
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปฐมวัย
มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ สาระการเรยี นรู้
ตัวชว้ี ดั
โรงเรยี นคือสถานที่ท่ี - ปฐมนเิ ทศ
มาตรฐานท่ี ๙
นกั เรยี นมาอยรู่ ว่ มกันเพือ่ ห้องเรียน ,โรงเรยี น
ใชภ้ าษาสือ่ สารได้
เหมาะสมกบั วยั แสวงหาความรู้ ท่โี รงเรียน - หอ้ งเรียนของฉนั
ตวั บ่งชที้ ่ี ๙.๑ - ครขู องฉัน
สนทนาโต้ตอบและเล่า เรามเี พ่ือน ครูอาจารย์ ส่ัง - เพือ่ นของฉนั
เร่ืองให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ สอนใหเ้ ราเป็นคนดี
จำนวนเพอื่ นในหอ้ งเรยี น
หอ้ งเรียนคือสถานท่ีท่ี
เพ่ือนทีฉ่ นั รจู้ กั
นักเรียนจะมาเรียนหนังสือ ที่ - เพอื่ นของฉัน
หอ้ งเรียนเราทำกิจกรรม ชื่อเพือ่ น
ตา่ งๆ รว่ มกนั
๓๘
ย หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ สุขสนั ตว์ นั เปดิ เทอม (ปฐมนิเทศ)
ภาระงาน/ การวดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้
ชิน้ งาน ประเมินผล
-กิจกรรมเคลื่อนไหวและ -ห้องเรยี น
-ใบงาน -การสงั เกต จงั หวะ -โรงเรยี น
-แบบฝึกหัด -การตอบคำถาม -กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ -เคร่ืองเลน่ สนาม
-ชน้ิ งาน/ผลงาน -กจิ กรรมสร้างสรรค์ -ของเลน่ /ของใช้
-แบบประเมนิ ผล -กิจกรรมเสร/ี เล่นตามมุม -บัตรภาพ/บตั รคำ
-การร่วมกจิ กรรม ประสบการณ์ -เกมการศกึ ษา
-การสนทนา -กิจกรรมกลางแจง้ -เพลง
ซกั ถาม -กิจกรรมเกมการศึกษา
๓๙
การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี น
มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั สาระการเรียนรู้
ตวั ช้วี ัด
มาตรฐานท่ี ๖ ทุกโรงเรียนมชี อื่ โรงเรยี น โรงเรยี นของฉัน
มที กั ษะชวี ติ และปฏบิ ตั ิ โรงเรยี นทุกโรงเรียนมี - ช่อื โรงเรียน
ตนตามหลักปรัชญา สัญลกั ษณข์ องตนเอง - ทตี่ ้ัง
ของเศรษฐกิจพอเพียง สถานท่ีตา่ งๆ ในโรงเรยี น - สัญลักษณ์สถานที่ต่างๆ ใน
เชน่ หอ้ งเรียน หอ้ งน้ำ หอ้ ง โรงเรยี น
ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ พยาบาล สนามเด็กเลน่ เป็น - ห้องเรียน - ห้องนำ้
ชว่ ยเหลือตนเองในการ ตน้ ในโรงเรียนจะมีบุคคล - ห้องพยาบาล - ห้องสมดุ
ปฏบิ ัตกิ จิ วตั ร -โรงอาหาร -สนามเด็กเลน่
ประจำวัน ตา่ งๆ ซ่ึงทำหน้าทแ่ี ตกต่าง -บุคคลตา่ งๆ ในโรงเรียน
กนั ไปสนามเด็กเล่นเป็น - ครูใหญ่ - ครูประจำช้ัน
ตวั บ่งช้ีที่ ๖.๒ - ครูพเ่ี ลยี้ ง - นักเรยี น
มวี ินัยในตนเอง สถานทท่ี ่เี รามาเล่นเครื่อง - เจา้ หน้าท่ี - นักการภารโรง
เล่นสนามและทำกจิ กรรมที่ - แมค่ รวั
พฒั นารา่ งกาย
นรู้ ปฐมวัย หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ โรงเรยี นของเรา
ภาระงาน/ การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้
ชนิ้ งาน ประเมินผล
-กจิ กรรมเคล่ือนไหวและ -ภาพโรงเรยี น
-ใบงาน -การสังเกตการมี จังหวะ -ป้ายช่อื
-แบบฝึกหดั สว่ นร่วม -กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ - แบบฝกึ หดั
-การตอบคำถาม -กจิ กรรมสร้างสรรค์ - สัญลักษณ์ของ
-การรว่ มกิจกรรม -กิจกรรมเสร/ี เลน่ ตามมมุ
-การสนทนา ประสบการณ์ โรงเรียน
ซักถาม -กจิ กรรมกลางแจ้ง . สถานทต่ี า่ งๆ ใน
-กิจกรรมเกมการศึกษา
โรงเรยี น
. บุคคลต่างๆใน
โรงเรยี น
. - สนามเดก็ เลน่
- เครอื่ งเล่นสนาม
๔๐
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเ
มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ สาระการเรยี นรู้
ตวั ชี้วดั
๑.บอกชอ่ื อวยั วะและความสำคัญ
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายของเรามอี วยั วะ ของอวัยวะนน้ั เปรียบเทยี บความ
แตกต่างของอวัยวะร่างกาย
ร่างการเจริญเติบโต ทสี่ ำคัญและมีหนา้ ที่ 2. การเรยี นรหู้ น้าท่ีของอวยั วะขอ
รา่ งกาย บอกประโยชนข์ องอวัยว
ตามวยั และมสี ุขนิสยั ที่ดี แตกต่างกัน ควรดแู ล ของร่างกาย
มาตรฐานท่ี ๒ 3. การวิทยากรสาธติ การแปรงฟัน
กลา้ มเน้ือใหญแ่ ละ รักษาอวัยวะโดยการทำ ปฏิบัตจิ รงิ การแปรงฟันอยา่ ถูกวิธ
กลา้ มเนือ้ เล็กแข็งแรง ความสะอาดร่างกาย 4. การดูแลรักษาและปอ้ งกนั
ใชไ้ ด้อย่างคลอ่ งแคลว่ การแปรงฟัน และควร อนั ตรายของอวัยวะ แบ่งกลุ่ม
และประสาทสัมพันธ์กนั ดูแลรกั ษาอวัยวะให้ สงั เกต ชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้น
สาธติ การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ปลอดภัยตลอดจนรักษา 5. การปฏิบตั ติ นใหม้ ีพลานามยั ท
โดยใชภ้ าพ สุขบัญญัติ 10
มีสขุ ภาพอนามยั สุขนสิ ัย ร่างกายให้มสี ุขภาพ
ท่ีดี ประการ
ตัวบง่ ช้ีท่ี ๑.๓ อนามยั ท่ดี ี
รักษาความปลอดภัยของ
ตนเองและผู้อ่ืน
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๒.๒
ใช้มอื -ตาประสาน
สมั พนั ธก์ ัน
เรยี นรู้ ปฐมวัย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ ตัวเรา
ภาระงาน/ การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้
ชนิ้ งาน ประเมนิ ผล
- ตัวเด็ก
ญ -ใบงาน -การสังเกต -กจิ กรรมเคลื่อนไหวและ
ม -แบบฝกึ หัด -การตอบคำถาม จงั หวะ - บัตรคำอวัยวะ
-เพลงแปรงฟัน
-ช้ินงาน/ผลงาน -กิจกรรมเสรมิ -คำคลอ้ งจอง
อง -แบบประเมินผล ประสบการณ์ เดก็ นอ้ ย
วะ -การรว่ มกิจกรรม -กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ -บัตรภาพสุข
บญั ญัติ 10
-การสนทนา -กจิ กรรมเสร/ี เล่นตามมุม ประการ
น ซกั ถาม ประสบการณ์
ธี -กจิ กรรมกลางแจ้ง
-กจิ กรรมเกมการศกึ ษา
ท่ดี ี
๔๑
การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเร
มาตรฐานการ สาระสำคญั สาระการเรียนรู้
เรียนรู/้ ตัวช้ีวดั
มาตรฐานท่ี ๖ ปฐมนเิ ทศเปน็ สปั ดาหแ์ รกท่คี รู . การลา้ งมือตาม 7
มที กั ษะชีวิตและ ขัน้ ตอน
ปฏบิ ัตติ นตามหลกั แนะนำเด็กใหม้ ีความคุ้นเคย 2. การเลือกเคร่ืองแต่ง
ปรัชญาของ เก่ียวกบั โรงเรียน ของใช้ส่วนตวั กายและการแต่งตัว
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ช่อื ตนเอง ช่อื เพอ่ื น ชื่อครู ชือ่ พ่ี 3. การใชเ้ คร่ืองมือ
เลี้ยง สัญลักษณ์ประจำตวั สถานที่ เครอ่ื งใชใ้ นการ
ตวั บง่ ชท้ี ี่๖.๑ รบั ประทานอาหาร
ชว่ ยเหลอื ตนเอง ใน ในโรงเรียน การปฏิบตั ติ นตาม 4. การใชแ้ ละทำความ
การปฏิบตั ิ กจิ วัตร ข้อตกลงและมารยาทไทย เพื่อ สะอาดหลงั ใช้ห้องน้ำห้อง
ประจำวัน นำมาใช้ในกิจวัตรประจำวันได้ ส้วม
อย่างถูกต้อง การปฏบิ ตั ติ นตาม 5. การปแู ละเกบ็ เคร่อื ง
สขุ อนามยั สุขนสิ ัยท่ดี ี การเลน่ นอน
6. การเกบ็ ของใชส้ ว่ นตวั
และทำกิจกรรมรว่ มกบั กลมุ่ เพือ่ น
การแบง่ ปนั และการอยู่รว่ มกับ
ผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข