The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัยปรับปรุง-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beepraphatson, 2022-09-06 01:15:11

หลักสูตรปฐมวัยปรับปรุง-64

หลักสูตรปฐมวัยปรับปรุง-64

รู้ ปฐมวัย หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒๙ วนั เด็ก วันครู

ภาระงาน/ การวัด กิจกรรมการเรียนรู้ ()
ช้ินงาน ประเมินผล
-กจิ กรรมเคลื่อนไหวและ สอ่ื การเรียนรู้
-ใบงาน -การสงั เกต จังหวะ
-แบบฝกึ หดั -การตอบคำถาม -กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ - เกมจับค่ภู าพท่ี
-ช้ินงาน/ผลงาน -กิจกรรมสรา้ งสรรค์ สัมพนั ธ์กนั
-แบบประเมินผล -กจิ กรรมเสรี/เลน่ ตามมมุ (วันเดก็ วันคร)ู
-การรว่ มกจิ กรรม ประสบการณ์ -เพลง“หนา้ ทเ่ี ด็ก”
-การสนทนา -กิจกรรมกลางแจง้ -ภาพเด็กทำความดี
ซกั ถาม -กจิ กรรมเกมการศึกษา - ภาพเด็ก
ทำกจิ กรรมอ่ืน ๆ

๖๗

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้

มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
สีมมี ากมาย มที ้ังสีท่ีได้มา 1. แมส่ ีและการผสมสจี ากแม่ส
มาตรฐานที่ 2
กล้ามเนอ้ื ใหญแ่ ละ จากธรรมชาตแิ ละสีที่มนุษย์ 2. สผี สมข้ันท่ี 3
กล้ามเนื้อเล็ก สร้างขนึ้ แมส่ มี ีทั้งหมด 3 สี 3. ความลับของสีดำ
แขง็ แรง ใช้ได้อยา่ ง คอื สแี ดง สเี หลอื ง สนี ำ้ เงิน 4.การทา้ สีผสมอาหารจากพืช
คล่องแคลว่ และ และยงั มีสีอน่ื ๆ ท่เี กิดจากการ 5.การทำหวานเย็นจากสี
ประสานสมั พันธ์ ผสมกันของแม่สีธรรมชาติ ธรรมชาติ
กัน ได้มาจากพชื ผกั ผลไม้ เช่น สี
ตัวบ่งชท้ี ่ี 2.2 เขยี วจากใบเตย สนี ำ้ เงนิ จาก
ใช้มือ – ตา ดอกอญั ชัน สีเหลืองจากขมิ้น
ประสานสัมพนั ธก์ ัน หรอื สีแดงจากแตงโม เป็นตน้
มาตรฐานที่ 3 สามารถนำ้ ผสมใสใ่ นอาหาร
มีสุขภาพจิตและ เพอ่ื ใหม้ สี ีสันสวยงามนา่
มีความสุข รบั ประทานมากย่งิ ขน้ึ เชน่
ตัวบ่งชที้ ี่ 3.2 วุ้นสี ขนมช้นั ขนมบวั ลอย
มคี วามรสู้ ึกท่ีดี และหวานเยน็ เปน็ ต้น
ต่อตนเองและผู้อื่น

ปฐมวัย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3๐ โลกสวยด้วยสีสัน

ภาระงาน/ การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้
ช้ินงาน ประเมนิ ผล
-กจิ กรรมเคล่ือนไหวและ - บัตรภาพ/บตั รคำ
สี -ใบงาน -การสังเกต จงั หวะ - เกมจำแนกจดั
-แบบฝึกหดั -การตอบคำถาม -กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ กลุ่มสี
-ชน้ิ งาน/ผลงาน -กจิ กรรมสร้างสรรค์ - เพลง
-แบบประเมนิ ผล -กิจกรรมเสรี/เล่นตามมุม
-การร่วมกิจกรรม ประสบการณ์
-การสนทนา -กิจกรรมกลางแจง้
ซกั ถาม -กิจกรรมเกมการศกึ ษา

๖๘

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรีย

มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ สาระการเรยี นรู้
ตัวชี้วัด
ประเทศไทยมีฤดูกาล 3 ฤดู 1. ฤดูกาล 3 ฤดู ฤดรู อ้ น ฤดูฝน
มาตรฐานท่ี 1 คอื ฤดูรอ้ น ฤดฝู น ฤดหู นาว จะ ฤดหู นาวช่วงเดือนทเ่ี กิดฤดูกาล
ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตาม เกดิ ข้ึนในแต่ละชว่ งของปี แต่ ต่างๆ ในรอบปี การเกดิ ฤดูกาล
วัยและมีสขุ นสิ ัยทีด่ ี ละฤดูอณุ หภมู ิของอากาศ 2.สภาพอากาศในตา่ ง ๆ และ
ตวั บง่ ชีท้ ่ี 1.3 ตา่ งกัน อากาศร้อนจะเคลอ่ื น ปรากฏการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ ในฤดู
รกั ษาความปลอดภยั ของ ตวั ไดด้ อี ากาศทีเ่ คลื่อนตัว หนาว
ตนเองและผ้อู ืน่ เรยี กวา่ กระแสลม ฤดูหนาว ๓.แรงลมและการเคล่ือนที่
ควรทำใหร้ ่างกายอบอุ่นเพื่อ ของลม กระแสลม
รกั ษาสุขภาพของตนเองซง่ึ ทำ ๔.การรกั ษาสุขภาพของตนเอง
ไดห้ ลายวิธีสภาพแวดล้อมและ ในฤดูหนาววธิ กี ารทำให้
ระดบั ความหนาวเยน็ ในฤดู ร่างกายอบอนุ่ ในฤดหู นาว
หนาวในภมู ภิ าคต่างๆของ ๕.สภาพแวดล้อมรอบตัวใน
ประเทศเราและของโลก ภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของ
ตา่ งกนั ประเทศเรา และของโลก

ยนรู้ ปฐมวัย หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3๑ ฤดหู นาว

ภาระงาน/ การวัด กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้
ชิ้นงาน ประเมนิ ผล
น -ใบงาน -กจิ กรรมเคลื่อนไหวและ -บัตรภาพ/บตั รคำ
ล -แบบฝกึ หดั -การสงั เกต จงั หวะ
ล -การตอบคำถาม -กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ -เกมการศึกษา
ะ -ช้นิ งาน/ผลงาน -กิจกรรมสร้างสรรค์ -เพลง
-แบบประเมนิ ผล -กจิ กรรมเสร/ี เลน่ ตามมมุ
ง -การรว่ ม ประสบการณ์
กจิ กรรม -กจิ กรรมกลางแจง้
-การสนทนา -กจิ กรรมเกมการศกึ ษา
ซกั ถาม

๖๙

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ปฐมวัย

มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคญั สาระการเรียนรู้
ตัวชวี้ ดั

มาตรฐานที่ ๑ การออกแรงกระทำต่อ - แรงมผี ลทำใหส้ ิ่งตา่ งๆ

กล้ามเนอ้ื ใหญแ่ ละกล้าเนื้อ ส่งิ ของดว้ ยวธิ ีผลักๆเชน่ เปลี่ยนแปลงและเคล่ือนท่ี

เล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคลอ่ ง ดงึ บบี ทบุ ตี เปา่ เขย่า -น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ ลมไฟฟ้า

และประสานสัมพันธ์กนั ดีด สิ่งของจะมีการ ทำให้ยานพาหนะตา่ งๆเคลื่อนท

ตวั บ่งช้ีท่ี 2.1 เปลีย่ นแปลงรปู ร่างการ ได้

เคล่ือนไหวร่างกายอยา่ ง เคลอ่ื นทีแ่ ละการเกิดสง่ิ -ไฟฟ้าทำให้สงิ่ ของเคร่ืองใช้

คลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธ์ ใหม่ไดเ้ ช่น เสยี งแบบต่างๆ บางอย่างได้ช่วยอำนวยความ

และทรงตัวได้ แสง และไฟฟ้าได้จาก สะดวกใชช้ ีวติ ประจำวัน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.2 แหลง่ พลงั งาน เช่น ดวง -สง่ิ ของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าแต่ละ

ใช้มือ – ตา อาทติ ยเ์ ชื้อเพลิงลมน้ำหรอื ชนดิ มีวิธีการใช้แตกตา่ งกนั ต้อง

ประสานสัมพนั ธ์กนั จากส่งิ มีชวี ิตเชน่ คน สตั ว์ ใชใ้ ห้ถูกจะไม่เกดิ อันตรายและ

มาตรฐานที่ 3 เปน็ การประหยัดพลังงาน

มีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสขุ

ตวั บง่ ช้ีที่ 3.2

มคี วามรู้สกึ ที่ดี

ตอ่ ตนเองและผู้อนื่

ย หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๓๒ แรงและพลังงานในชวี ติ ประจำวนั

ภาระงาน/ การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้
ชิน้ งาน ประเมินผล
-เครื่องเคาะจงั หวะ
-ใบงาน -การสงั เกต -กิจกรรมเคลื่อนไหวและ -ของเล่น/ของใช้
-แบบฝกึ หดั -การตอบคำถาม จงั หวะ -เกมการศกึ ษา
า -ช้ินงาน/ผลงาน -กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ -เพลง
ที่ -แบบประเมนิ ผล -กิจกรรมสร้างสรรค์ - สื่อมมุ บทบาท
สมมติ
-การร่วมกจิ กรรม -กิจกรรมเสรี/เล่นตามมุม - ส่อื ในมุมหนังสือ
-การสนทนา ประสบการณ์ - สอ่ื มมุ เกม
ซกั ถาม -กิจกรรมกลางแจ้ง การศกึ ษา

-กิจกรรมเกมการศึกษา



๗๐

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียน

มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคัญ สาระการเรยี นรู้
ตัวช้ีวดั

มาตรฐานท่ี 10 เสยี งเกิดจากการส่นั ไหว 1.เสยี งเกิดจากการสั่นของสงิ่ ต่าง ๆ

มีความสามารถในการคิด ของส่ิงต่างทเี่ กิดจาก 2.เสียงทีเ่ กิดจากแหลง่ ทม่ี าของเสีย

ท่เี ป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ แหลง่ ท่มี าตา่ งกนั จะไม่ แตกต่างกันจะไมเ่ หมือนกนั

ตวั บ่งช้ที ี่ 10.1 เหมือนกันๆเสยี งเชน่ 3.การมีสมาธิในการฟงั เสียง

มีความสามารถในการคิด เสยี งจากเคร่ืองดนตรี - จำแนกทศิ ทางของเสียง

รวบยอด จากเครื่องมือตา่ ง ๆ จาก -เสยี งจากเครือ่ งดนตรแี ละจาก

มาตรฐานท่ี 11 วัตถุทเี่ ปน็ ไม้ กระด แกว้ เครือ่ งมือตา่ ง

มีจินตนาการและความคิด โลหะ หูเปน็ อวัยวะ 4. การสำรวจเสยี งจากวัตถุต่างๆ

สรา้ งสรรค์ สำคญั ใชส้ ำหรับรบั เสยี ง (กระดาษแกว้ ไม้ โลหะ)

ตัวบ่งช้ี 11.2 เราตอ้ งป้องกนั อันตราย 5.การดแู ลรกั ษาหู

แสดงท่าทางเคลื่อนไหว จากเสยี งดัง และเราควร - การป้องกันอนั ตรายจากเสียงดัง

ตามจินตนาการอย่าง เรียนร้มู ารยาทในการใช้ -มารยาทในการใชเ้ สยี ง

สร้างสรรค์ เสียงกับสถานท่ีบางแห่ง

นรู้ ปฐมวัย หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๓๓ เสยี งรอบตัว

ภาระงาน/ การวัด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้
ชิ้นงาน ประเมินผล
-เครื่องเคาะจังหวะ
ๆ -ใบงาน -การสังเกต -กิจกรรมเคล่ือนไหวและ -บตั รภาพ/บัตรคำ
ย -แบบฝึกหัด -การตอบคำถาม จงั หวะ -เกมการศึกษา
-เพลง
-ชิ้นงาน/ผลงาน -กิจกรรมเสริมประสบการณ์
-แบบประเมนิ ผล -กิจกรรมสรา้ งสรรค์
-การร่วมกจิ กรรม -กจิ กรรมเสร/ี เล่นตามมมุ
-การสนทนา ประสบการณ์
ซักถาม -กจิ กรรมกลางแจ้ง

-กจิ กรรมเกมการศกึ ษา

๗๑

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียน

มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้
ตัวช้ีวดั

มาตรฐานที่ 10 การปลกู ฝงั นิสยั รกั การ 1.ความรู้พ้นื ฐานเกย่ี วกับหนังสือ

มีความสามารถในการคิด อ่าน สามารถเร่ิมได้ตั้งแต่ และตวั หนังสือจากหนังสอื ภาพ

ทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้ วยั อนุบาลโดยการสง่ เสรมิ 2.การอ่านหนังสือนิทานโดยใช้

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.1 ใหเ้ ดก็ คุ้นเคยกบั หนงั สือ การอา่ น

มีความสามารถในการคิด นทิ านการอ่านรปู แบบ 3. การอา่ นแบบช้แี นะ

รวบยอด ต่างๆหนังสือภาพท่ี 4. การอา่ นอิสระ

มาตรฐานท่ี 12 หลากหลายเล่ม เชน่ อ่าน 5.การทำหนงั สือนิทาน๔ชอ่ ง

มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ร่วมกนั อา่ นแบบช้แี นะ

และมีความสามารถในการ อ่านอิสระ และการเลน่

แสวงหาความร้ไู ด้ เกมภาษา

ตัวบ่งชี้ที่ 12.1

มเี จตนคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้

12.2

มีความสามารถในการ

แสวงหาความรู้

นรู้ ปฐมวัย หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๓๔ รักการอา่ น

ภาระงาน/ การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้
ชิ้นงาน ประเมินผล
-กิจกรรมเคล่ือนไหวและ - เครื่องเคาะ
-ใบงาน -การสังเกต จงั หวะ จงั หวะ
-แบบฝึกหดั -การตอบคำถาม -กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ -หนังสอื นิทาน
-ช้นิ งาน/ผลงาน -กิจกรรมสรา้ งสรรค์ -บัตรภาพ/บตั รคำ
-แบบประเมนิ ผล -กิจกรรมเสร/ี เลน่ ตามมมุ -เกมการศึกษา
-การรว่ มกจิ กรรม ประสบการณ์ -เพลง
-การสนทนา -กจิ กรรมกลางแจง้
ซักถาม -กจิ กรรมเกมการศกึ ษา

๗๒

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั สาระการเรียนรู้
ตัวชวี้ ดั

มาตรฐานที่ 10 ส่งิ ตา่ งๆ รอบตวั เรา มีปริมาตร 1.ปรมิ าตรของที่อยใู่ นภาช

มีความสามารถในการ และน น้ำหนกั ที่แตกต่างกัน เรา ตา่ ง

คิดที่เป็นพื้นฐานในการ สามารถใชภ้ าชนะที่แตกตา่ งตวง 2.การตวงโดยใช้เครือ่ งมือแ

เรยี นรู้ ปรมิ าตรสิ่งต่างๆและนา้ มา หน่วยไมใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐาน

ตัวบง่ ชีท้ ี่ 10.1 เปรยี บเทียบปรมิ าตรได้ ในการวดั น 3.การคาดคะเนน นำ้ หนักข

มีความสามารถในการ น้ำหนัก สง่ิ ของ

คิดรวบยอด ของสิง่ ต่างๆ เมื่อเราใช้วิธทีการ 4.นำ้ หนักของสงิ่ ของที่ใส่ใน

แทนน่ ้าดว้ ยสิง่ ของ น้ำหนักของ มีความสมั พนั ธ์กับปรมิ าตร

สง่ิ ของต่างๆจะมคี ่าเท่ากับปริมาตร ของน้ำท่ีล้นออกมา

ของนำ้ ที่ลน้ ออกมา และเมอื่ อยใู่ น 5.การช่งั โดยใชเ้ ครอ่ื งมือแล

สถานการณ์ท่ีในการ ชงั่ ตวง เรา หน่วยไม่ใช่หนว่ ยมาตราฐา

สามารถใชเ้ ครื่องมือที่ไมใ่ ช่หน่วย

มาตรฐานมาใชใ้ นการตวงปริมาตร

และวัดนน้ำหนกั สง่ิ ของได้

ปฐมวัย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓๕ ปรมิ าตร นำ้ หนกั

ภาระงาน/ การวัด กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้
ชนิ้ งาน ประเมินผล
ชนะ -ใบงาน -กิจกรรมเคลื่อนไหวและ -บัตรภาพ/บตั รคำ
-แบบฝึกหัด -การสงั เกต จังหวะ -เกมการศึกษา
และ -การตอบคำถาม -กิจกรรมเสริม -เพลง
น -ชน้ิ งาน/ผลงาน ประสบการณ์ - ดนิ หิน ทราย
ของ -แบบประเมินผล -กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ - มุมประสบการณ์
-การรว่ มกจิ กรรม -กิจกรรมเสร/ี เล่นตามมมุ ในห้องเรยี น
นน้ำ -การสนทนา ประสบการณ์
ร ซกั ถาม -กจิ กรรมกลางแจง้
-กิจกรรมเกมการศึกษา
ละ
าน

๗๓

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเร

มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้
ตัวชีว้ ัด

มาตรฐานท่ี 1 ฤดรู ้อนอากาศทอี่ ยู่รอบตัว 1.สภาพอากาศในฤดูร้อน
รา่ งกายเจริญ เติบโตตาม เรารอ้ นอบอา้ ว ทอ้ งฟา้ โปรง่ 2.การแตง่ กายและการดำรงชีวิต
วยั และมีสขุ นสิ ัยท่ีดี ลมพดั แรง และมีแสงแดดจ้า ของคน สัตว์ พชื
ฤดูรอ้ นมีผลตอ่ การดำรงชวี ิต 3.ประเพณี วัฒนธรรมและ
ตวั บง่ ช้ีที่ 1.3
รกั ษาความปลอดภัย ของคน สตั ว์ และพชื ต้นไม้ การละเล่นไทย
ของตนเองและผู้อนื่ บางชนิดเปลยี่ นสแี ละเริม่ 4.อาหารในฤดูรอ้ น
เหยี่ วเฉา เราควรแต่งกาย
ดว้ ยเสื้อผา้ ท่ีบางเบาให้ 5.โรคที่พบในฤดูร้อนและการ
เหมาะสมกบั อากาศในฤดู ป้องกัน

ร้อนอาหารในฤดูร้อนต้อง

สะอาดและปลอดภัยเพ่ือ

ป้องกันไมใ่ หเ้ กิดโรคท้องรว่ ง

อาหารเปน็ พษิ และในฤดูร้อน

ประเพณีไทยท่สี ำคญั คือ วัน

สงกรานต์และวนั ครอบครัว

รยี นรู้ ปฐมวัย หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓๖ ฤดูรอ้ น

ภาระงาน/ การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้
ช้ินงาน ประเมินผล
-กจิ กรรมเคล่ือนไหวและ - นิทาน
-ใบงาน -การสงั เกต จงั หวะ - หนงั สอื นิทาน
-แบบฝึกหดั -การตอบคำถาม -กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ - บตั รภาพ/บัตรคำ
-ช้ินงาน/ผลงาน -กิจกรรมสรา้ งสรรค์ - เกมการศึกษา
-แบบประเมินผล -กิจกรรมเสร/ี เล่นตามมุม - เพลง
-การร่วมกิจกรรม ประสบการณ์
-การสนทนา -กจิ กรรมกลางแจง้
ซกั ถาม -กจิ กรรมเกมการศึกษา

๗๔

สาระการเรยี นรู้รายปี

สาระการเรียนรู้ เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ
เดก็ ทกุ ด้าน ใหเ้ ป็นไปตามจุดหมายของหลักสตู รที่กำหนด ประกอบดว้ ย ประสบการณส์ ำคญั และสาระที่ควร
เรียนรู้ ดังนี้

๑. ประสบการณ์สำคัญ ประสบการณ์สำคัญเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนนำไปใช้ในการออกแบบ
การจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ และได้รับการส่งเสริมพัฒนาการครอบคลุมทุกด้าน
ดังน้ี

๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มี
โอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและระบบ
ประสาท ในการทำกิจวัตรประจำวันหรือทำกิจกรรมต่าง ๆ และสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและ
สขุ อนามัย สุขนสิ ยั และการรกั ษาความปลอดภัย ดังนี้

ด้านร่างกาย ประสบการณส์ ำคญั
๑.๑.๑ การใชก้ ล้ามเน้ือใหญ่ (๑) การเคล่อื นไหวอยกู่ บั ที่
(๒) การเคลื่อนไหวเคลอื่ นท่ี
๑.๑.๒ การใชก้ ล้ามเน้อื เลก็ (๓) การเคลอื่ นไหวพร้อมวัสดุอปุ กรณ์
(๔) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสานสมั พนั ธ์ของการใช้
๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพ
อนามยั ส่วนตน กลา้ มเนอื้ ใหญ่ในการขวา้ ง การจบั การโยน การเตะ
(๕) การเล่นเครื่องเลน่ สนามอย่างอสิ ระ
๑.๑.๔ การรักษาความ (๑) การเล่นเครอื่ งเลน่ สัมผสั และการสรา้ งจากแทง่ ไม้ บลอ็ ก
ปลอดภัย (๒) การเขยี นภาพและการเลน่ กบั สี
(๓) การปนั้
(๔) การประดษิ ฐ์สิ่งตา่ ง ๆ ดว้ ย เศษวสั ดุ
(๕) การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉกี การตัด การปะ และ

การร้อยวัสดุ
(๑) การปฏิบตั ติ นตามสุขอนามยั สุขนสิ ัยที่ดใี นกจิ วัตรประจำวนั

(๑) การปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภยั ในกิจวัตรประจำวนั
(๒) การฟังนทิ าน เร่ืองราว เหตกุ ารณ์ เก่ยี วกับการป้องกัน

และรักษาความปลอดภยั
(๓) การเลน่ เครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
(๔) การเล่นบทบาทสมมตเิ หตกุ ารณต์ า่ ง ๆ

๗๕

๑.๒ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้

แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะ ที่เป็น

อัตลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ได้พัฒนาคุณธรรม

จรยิ ธรรม สุนทรียภาพ ความรสู้ ึกทีด่ ีต่อตนเอง และความเชื่อมั่นในตนเองขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ ดังน้ี

ด้านอารมณ์ ประสบการณ์สำคญั

๑.๒.๑ สุนทรยี ภาพ ดนตรี (๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏกิ ริ ยิ าโต้ตอบ
เสียงดนตรี

(๒) การเลน่ เครื่องดนตรปี ระกอบจงั หวะ
(๓) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
(๔) การเลน่ บทบาทสมมติ

(๕) การทำกจิ กรรมศิลปะต่าง ๆ
(๖) การสร้างสรรค์ส่งิ สวยงาม

๑.๒.๒ การเล่น (๑) การเลน่ อิสระ
(๒) การเล่นรายบคุ คล กลุ่มย่อย กล่มุ ใหญ่
(๓) การเล่นตามมมุ ประสบการณ์
(๔) การเล่นนอกห้องเรียน

๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเรียนรู้ทางสังคม
เช่น การเล่น การทำงานกับผอู้ นื่ การปฏิบัตกิ ิจวตั รประจำวนั การแก้ปัญหาขอ้ ขัดแยง้ ต่าง ๆ

ดา้ นสังคม ประสบการณส์ ำคัญ

๑.๓.๑ การปฏบิ ตั กิ จิ วัตร (๑) การชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวตั รประจำวัน
ประจำวัน (๒) การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๑.๓.๒ การดูแลรักษา (๑) การมีส่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและ
ธรรมชาติและ ภายนอกห้องเรียน
สิ่งแวดล้อม
(๒) การใชว้ สั ดุและส่ิงของเคร่ืองใชอ้ ย่างคมุ้ คา่
(๓) การทำงานศิลปะท่นี ำวสั ดหุ รอื ส่งิ ของเครื่องใช้ท่ีใชแ้ ลว้ มาใช้ซ้ำหรือแปร
รูปแล้วนำกลับมาใชใ้ หม่
(๔) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้
(๕) การเลยี้ งสัตว์
(๖) การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ทเ่ี กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละ

ส่งิ แวดลอ้ มในชีวติ ประจำวัน

๗๖

ดา้ นสงั คม ประสบการณส์ ำคญั

๑.๓.๓ การปฏิบตั ิตาม (๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏบิ ตั ิตนในความเป็นคนไทย
วฒั นธรรมท้องถน่ิ (๒) การปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมท้องถิน่ ที่อาศัยและประเพณไี ทย
และความเปน็ ไทย (๓) การประกอบอาหารไทย
(๔) การศึกษานอกสถานที่
(๕) การละเลน่ พ้นื บา้ นของไทยฃ

๑.๓.๔ การมปี ฏิสัมพนั ธ์ (๑) การรว่ มกำหนดข้อตกลงของหอ้ งเรียน
มีวนิ ัย มีส่วนร่วม (๒) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของหอ้ งเรียน
และบทบาทสมาชกิ (๓) การใหค้ วามร่วมมือในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ
ของสงั คม (๔) การดูแลห้องเรยี นร่วมกนั
(๕) การร่วมกจิ กรรมวันสำคัญ

๑.๓.๕ การเล่นและทำงาน (๑) การร่วมสนทนาและแลกเปลย่ี นความคิดเห็น
แบบรว่ มมือร่วมใจ (๒) การเลน่ และทำงานร่วมกับผูอ้ น่ื
(๓) การทำศลิ ปะแบบรว่ มมือ

๑.๓.๖ การแก้ปัญหา (๑) การมีสว่ นร่วมในการเลอื กวิธีการแกป้ ญั หา
ความขดั แย้ง (๒) การมีสว่ นร่วมในการแก้ปัญหาความขดั แย้ง

๑.๓.๗ การยอมรบั ในความ (๑) การเลน่ หรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุม่ เพอ่ื น
เหมอื นและความ
แตกต่างระหว่าง
บคุ คล

๗๗
๑.๔ ประสบการณ์สำคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการดา้ นสติปัญญา เป็นการสนบั สนนุ ให้เด็กได้รับรู้และ
เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่าง ๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิด
เชิงเหตุผล และการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เป็น
พ้นื ฐานของการเรียนรใู้ นระดับที่สูงขนึ้ ตอ่ ไป

ดา้ นสติปัญญา ประสบการณส์ ำคญั
๑.๔.๑ การใช้ภาษา
(๑) การฟังเสียงตา่ ง ๆ ในสิง่ แวดลอ้ ม
(๒) การฟังและปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ
(๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง บทรอ้ ยกรองหรือเรื่องราวตา่ ง ๆ
(๔) การพูดแสดงความคิด ความรสู้ กึ และความต้องการ
(๕) การพูดกบั ผู้อนื่ เกยี่ วกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่า

เร่อื งราวเกย่ี วกบั ตนเอง
(๖) การพูดอธบิ ายเกี่ยวกบั ส่ิงของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์

ของสงิ่ ตา่ ง ๆ
๗) การพดู อยา่ งสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทำต่าง ๆ
(๘) การรอจังหวะทเี่ หมาะสมในการพูด
(๙) การพูดเรยี งลำดบั คำเพ่ือใชใ้ นการส่ือสาร
(๑๐) การอา่ นหนังสือภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
(๑๑) การอา่ นอยา่ งอสิ ระตามลำพงั การอ่านรว่ มกัน การอา่ นโดย

มผี ชู้ ีแ้ นะ
(๑๒) การเห็นแบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง
(๑๓) การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คำ และขอ้ ความ
(๑๔) การอ่านและชข้ี ้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจาก

ซา้ ย ไปขวา และจากบนลงลา่ ง
(๑๕) การสงั เกตตัวอักษรในชื่อของตน หรือคำคนุ้ เคย
(๑๖) การสงั เกตตัวอกั ษรที่ประกอบเปน็ คำผา่ นการอ่านหรือ

เขียนของผ้ใู หญ่
(๑๗) การคาดเดาคำ วลี หรือประโยค ที่มโี ครงสรา้ งซ้ำ ๆ กัน จาก
นิทาน เพลง คำคลอ้ งจอง
(๑๘) การเลน่ เกมภาษา
(๑๙) การเหน็ แบบอยา่ งของการเขยี นท่ีถูกต้อง
(๒๐) การเขียนร่วมกนั ตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ
๒๑) การเขียนคำท่มี ีความหมายกบั ตวั เดก็ /คำคนุ้ เคย
(๒๒) การคดิ สะกดคำและเขยี นเพอื่ สื่อความหมายด้วยตนเอง

อย่างอสิ ระ

ด้านสติปญั ญา ๗๘

๑.๔.๒ การคิดรวบยอดการ ประสบการณ์สำคญั
คดิ เชงิ เหตผุ ลการตัดสินใจ
และแกป้ ัญหา (๑) การสงั เกตลักษณะ สว่ นประกอบ การเปล่ียนแปลง และ
ความสมั พันธข์ องสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผัสอย่าง
เหมาะสม

(๒) การสังเกตสิง่ ตา่ ง ๆ และสถานท่จี ากมุมมองท่ีต่างกัน
(๓) การบอกและแสดงตำแหนง่ ทิศทาง และระยะทางของสิ่ง

ต่าง ๆด้วยการกระทำ ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ
(๔) การเล่นกบั ส่ือตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นทรงกลม ทรงสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉาก

ทรงกระบอก กรวย
(๕) การคดั แยก การจดั กล่มุ และการจำแนกสิง่ ตา่ ง ๆ ตาม

ลกั ษณะ และรปู รา่ ง รปู ทรง
(๖) การต่อของชิน้ เลก็ เติมในชิน้ ใหญใ่ หส้ มบูรณ์ และการแยก

ชนิ้ ส่วน
(๗) การทำซำ้ การต่อเติม และการสร้างแบบรูป
(๘) การนบั และแสดงจำนวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ ในชีวิตประจำวัน
(๙) การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนของสงิ่ ต่าง ๆ
(๑๐) การรวมและการแยกส่งิ ต่าง ๆ
(๑๑) การบอกและแสดงอันดับท่ขี องสิ่งตา่ ง ๆ
(๑๒) การช่งั ตวง วดั สงิ่ ต่าง ๆ โดยใชเ้ คร่ืองมือและหน่วยที่ไมใ่ ช่

หนว่ ยมาตรฐาน
(๑๓) การจบั คู่ การเปรียบเทียบ และการเรยี งลำดับ ส่ิงต่าง ๆ ตามลักษณะ
ความยาว/ความสูง นำ้ หนกั ปรมิ าตร
(๑๔) การบอกและเรียงลำดบั กิจกรรมหรือเหตกุ ารณ์ตามช่วงเวลา
(๑๕) การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตรก์ บั เหตกุ ารณใ์ นชีวิตประจำวนั
(๑๖) การอธบิ ายเชื่อมโยงสาเหตุและผลทเี่ กิดข้ึนในเหตุการณ์หรอื การกระทำ
(๑๗) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งทีอ่ าจจะเกิดข้นึ อย่างมี

เหตุผล

(๑๘) การมีส่วนร่วมในการลงความเหน็ จากข้อมลู อยา่ งมีเหตุผล

(๑๙) การตดั สินใจและมสี ่วนร่วมในกระบวนการแกป้ ัญหา

ด้านสตปิ ญั ญา ๗๙
๑.๔.๓ จินตนาการและ
ประสบการณส์ ำคัญ
ความคิดสรา้ งสรรค์ (๑) การรับรู้ และแสดงความคดิ ความรูส้ กึ ผา่ นส่ือ วสั ดุ ของเลน่

๑.๔.๔ เจตคติทดี่ ตี ่อการ และชน้ิ งาน
เรยี นรแู้ ละการ
แสวงหาความรู้ (๒) การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผา่ นภาษา ท่าทาง การ
เคล่อื นไหวและศลิ ปะ

(๓) การสร้างสรรค์ช้นิ งานโดยใช้รูปรา่ งรูปทรงจากวสั ดทุ ่ี

หลากหลาย
(๑) การสำรวจสง่ิ ต่าง ๆ และแหล่งเรยี นรรู้ อบตวั

(๒) การต้ังคำถามในเร่ืองทส่ี นใจ
(๓) การสบื เสาะหาความรู้เพ่ือค้นหาคำตอบของข้อสงสยั ต่าง ๆ

(๔) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลจาก
การสืบเสาะหาความรใู้ นรปู แบบตา่ ง ๆ และแผนภมู ิอยา่ งง่าย

การวิเคราะหส์ าระ

พัฒนาการดา้ นร่างกาย
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ขุ นิสัยทีด่ ี

สภาพที่พงึ ประสงค์

ตวั บง่ ช้ี ชั้น อ.๑ ช้ัน อ.๒ ช

๑.๑ นำ้ หนกั และ (๓ – ๔ ป)ี (๔ – ๕ ป)ี (๕
สว่ นสูงตามเกณฑ์
๑.๑.๑ นำ้ หนกั และสว่ นสงู ๑.๑.๑ นำ้ หนักและสว่ นสูง ๑.๑.๑ นำ้

ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ตามเกณฑ

๑.๒ มีสุขภาพ ๑.๒.๑ ยอมรบั ประทาน ๑.๒.๑ รบั ประทานอาหาร ๑.๒.๑ รบั
อนามยั อาหารทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละ ทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละด่มื นำ้ ที่มปี ระโย
สขุ นสิ ัยท่ดี ี ด่ืมน้ำสะอาดเมอ่ื มีผ้ชู ีแ้ นะ สะอาดได้ด้วยตนเอง และ ดื่มน
ตนเอง

๘๐

ะการเรียนรรู้ ายปี

สาระการเรยี นร้รู ายปี

ช้ัน อ.๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้
๕ – ๖ ปี)

ำหนักและสว่ นสูง ๑.การรักษาสุขภาพอนามยั เร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก

ฑ์ของกรมอนามยั สว่ นตัว - การรับประทานอาหารที่มี

- การปฏบิ ตั ิตนตาม ประโยชน์

สขุ อนามัย สขุ นิสัยทดี่ ีใน

กจิ วตั รประจำวนั

บประทานอาหาร ๑.การรักษาสุขภาพอนามัย เรอื่ งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก

ยชนไ์ ดห้ ลายชนิด สว่ นตัว - อาหารที่มีประโยชน์และไม่มี

น้ำสะอาดไดด้ ้วย - การปฏิบตั ติ นตาม ประโยชน์

สุขอนามยั สุขนิสัยทดี่ ีใน - อาหารหลกั ๕ หมู่

กิจวัตรประจำวัน - การรบั ประทานอาหาร

- การประกอบอาหารไทย - การมเี จตคตทิ ่ีมีต่อการ

รบั ประทานอาหารที่มีประโยชน์

- มารยาทในการรับประทานอาหาร

ตัวบ่งชี้ ชั้น อ.๑ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ๑.๒.๒
(๓ – ๔ ป)ี ชัน้ อ.๒ รบั ปร
๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั ๑.๒.๒ ล้างมอื กอ่ น (๔ – ๕ ปี) หลงั จ
สุขนสิ ยั ท่ดี ี รบั ประทานอาหารและ ส้วม
หลงั จากใช้ห้องนำ้ ห้อง ๑.๒.๒ ลา้ งมือก่อน
ส้วม เม่อื มผี ู้ชี้แนะ รบั ประทานอาหารและ
หลังจากใช้หอ้ งน้ำห้อง
สว้ มดว้ ยตนเอง

๑.๒.๓ นอนพักผ่อน ๑.๒.๓ นอนพักผอ่ น ๑.๒.๓

เปน็ เวลา เปน็ เวลา เวลา

๘๑

สาระการเรยี นรูร้ ายปี

ชน้ั อ.๓ ประสบการณ์สำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้
(๕ – ๖ ปี)

๒ ล้างมอื กอ่ น ๑.การรักษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตวั เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ตัวเดก็

ระทานอาหารและ -การปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามัย สขุ นิสยั ท่ี - อวยั วะต่าง ๆ ของ

จากใชห้ อ้ งน้ำห้อง ดใี นกจิ วตั รประจำวัน ร่างกายและการรักษา

ดว้ ยตนเอง ๒.การรกั ษาความปลอดภัย ความปลอดภัย

-การปฏบิ ตั ใิ หป้ ลอดภยั ในกจิ วัตร - วิธรี ะวงั รกั ษาร่างกาย

ประจำวนั ใหส้ ะอาดและมี

-การฟังนิทานเรื่องราว เหตุการณ์เกี่ยวกับ สขุ อนามยั ท่ีดี

การปอ้ งกนั และรักษาความปลอดภัย

-การช่วยเหลอื ตนเองในกจิ วัตรประจำวัน

๓ นอนพกั ผอ่ นเป็น การปฏิบัตติ นตามสขุ อนามัย สขุ นิสยั ที่ดใี น ประโยชน์ของการนอน

กิจวตั รประจำวนั หลับพักผ่อน

ตวั บ่งช้ี ชนั้ อ.๑ สภาพที่พึงประสงค์
(๓ – ๔ ป)ี ชนั้ อ.๒
๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั ๑.๒.๔ ออกกำลังกายเป็น (๔ – ๕ ป)ี
สขุ นิสัยทด่ี ี เวลา
๑.๒.๔ ออกกำลังกายเป็น ๑.
เวลา เวล

๘๒

สาระการเรียนรรู้ ายปี

ชน้ั อ.๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
(๕ – ๖ ปี)
.๒.๔ ออกกำลังกายเป็น ๑.ใช้กล้ามเนอ้ื ใหญ่ เร่อื งราวเก่ียวกับตัวเดก็
ลา
- การเคลอ่ื นไหวอย่กู ับที่ - ประโยชนข์ องการออก

- การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนท่ี กำลังกาย

- การเคล่อื นไหวพร้อมวัสดุ - การเลน่ เครอ่ื งเล่นสนาม

อุปกรณ์ อย่างถูกวิธี

- การเคลือ่ นไหวทใ่ี ชก้ ารประสาน

สัมพนั ธข์ องการใช้การเน้ือใหญ่

- การเลน่ เคร่อื งเลน่ สนามอย่าง

อิสระ

๒.การตระหนักร้เู กย่ี วกับร่างกาย

ตนเอง

- การเคลอ่ื นไหวโดยควบคมุ

ตวั เองไปในทิศทาง ระดับ และ

พืน้ ท่ี

- การเคลื่อนไหวขา้ มสงิ่ กดี ขวาง

ตัวบ่งชี้ ชนั้ อ.๑ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
(๓ – ๔ ป)ี
๑.๓ รกั ษาความปลอดภัย ชน้ั อ.๒
ของตนเองและผู้อ่ืน ๑.๓.๑ เล่นและทำกจิ กรรม (๔ – ๕ ป)ี
อยา่ งปลอดภยั เมอื่ มีผู้ชี้แนะ
๑.๓.๑ เล่นและทำกิจกรรม
อยา่ งปลอดภัยดว้ ยตนเอง

๘๓

สาระการเรียนรู้รายปี

ชน้ั อ.๓ ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้
(๕ – ๖ ป)ี
๑.การรักษาความ เร่ืองราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก
๑.๓.๑ เล่นและทำกิจกรรม ปลอดภัย - การรักษาความปลอดภยั
และปฏิบัตติ อ่ ผ้อู นื่ อยา่ ง - การปฏิบตั ใิ ห้ปลอดภยั ใน ของตนเองและการปฏบิ ตั ิ
ปลอดภยั กจิ วตั รประจำวัน ตอ่ ผู้อ่ืนอยา่ งปลอดภยั ใน
- การฟงั นทิ าน เรื่องราว ชวี ติ ประจำวนั
เหตกุ ารณ์ เกีย่ วกบั การ - การปฏบิ ตั ติ นอย่าง
ป้องกนั และรกั ษาความ เหมาะสม เม่ือเจ็บปว่ ย
ปลอดภัย - การระวงั ภยั จากคนแปลก
- การเล่นเครือ่ งเลน่ อยา่ ง หน้าและอบุ ัตเิ หตุตา่ ง ๆ
ปลอดภยั
- การเลน่ บทบาทสมมุติ
เหตุการณ์ต่าง ๆ

มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเน้ือใหญ่และกล้ามเนอื้ เลก็ แข็งแรง ใช้ได้อย่างคลอ่ งแคลว่

ตวั บ่งช้ี ช้นั อ.๑ สภาพท่ีพึงประสงค์
(๓ – ๔ ปี) ชนั้ อ.๒
๒.๑ เคล่อื นไหวร่างกาย ๒.๑.๑ เดนิ ตามแนว ท่ี (๔ – ๕ ปี)
อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสาน กำหนดได้
สมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้ ๒.๑.๑ เดนิ ต่อเท้าไปข้างหน้า
เปน็ เสน้ ตรงได้ โดยไมต่ ้อง
กางแขน

๘๔

สาระการเรียนรู้รายปี

ชั้น อ.๓ ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้
(๕ – ๖ ปี)
๒.๑.๑ เดนิ ต่อเท้าถอยหลงั ๑.ใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ เร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
เป็นเส้นตรงได้ โดยไม่ตอ้ ง - การเคลือ่ นไหวอยู่กบั ท่ี - สามารถเคลือ่ นไหวโดย
กางแขน - การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนที่ ควบคมุ รา่ งกายไปใน
- การเคลอ่ื นไหวพรอ้ มวสั ดุ ทศิ ทาง ระดบั และพื้นท่ี
อุปกรณ์ ต่าง ๆ
- การเคลื่อนไหวที่ใช้
ประสานสมั พันธข์ องการใช้
กล้ามเนอ้ื ใหญ่ในการขว้าง
การจบั การโยน การเตะ
- การเลน่ เครอื่ งเลน่ สนาม
อิสระ

ตัวบง่ ชี้ ชน้ั อ.๑ สภาพที่พงึ ประสงค์
(๓ – ๔ ปี) ช้นั อ.๒
(๔ – ๕ ปี)
๒.๑ เคล่อื นไหวรา่ งกาย ๒.๑.๒ กระโดดสองขา ขน้ึ ลงอยู่
อย่างคลอ่ งแคล่ว กับทไี่ ด้ ๒.๑.๒ กระโดดขาเดยี ว อยู่
ประสานสมั พันธ์ และ กับทไ่ี ดโ้ ดยไมเ่ สีย การทรงต
ทรงตวั ได้
๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลีกสิง่ กดี
๒.๑.๓ วิ่งแลว้ หยุดได้ ขวางได้

๘๕

สาระการเรียนรู้รายปี

ชน้ั อ.๓ ประสบการณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้
(๕ – ๖ ป)ี

๒.๑.๒ กระโดดขาเดยี ว ไป ๑.ใชก้ ลา้ มเนื้อใหญ่ เรือ่ งราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก

ตวั ขา้ งหน้าไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง โดย - การเคล่อื นไหวอยกู่ ับที่ - สามารถเคลอื่ นไหว

ไม่เสยี การทรงตวั - การเคลื่อนไหวเคลอ่ื นท่ี รา่ งกายโดยควบคุมให้อยู่

กับท่ี

๒.๑.๓ วง่ิ หลบหลีกสิง่ กดี ๑.ใชก้ ลา้ มเน้อื ใหญ่ เรื่องราวเก่ยี วกับตัวเด็ก
ขวาง ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ - การเคล่อื นไหวเคล่ือนท่ี - สามารถเคลอ่ื นไหวโดย
๒.การตระหนกั รู้เกี่ยวกับ การควบคมุ รา่ งกายไป
ร่างกายตนเอง ในทางทิศทาง ระดับและ
- การเคลอ่ื นไหวโดย พน้ื ทต่ี า่ ง ๆ
ควบคุมตนเองไปในทิศทาง
ระดบั และพืน้ ท่ี
- การเคลื่อนไหวข้ามสิง่ กดี
ขวาง

ตวั บง่ ช้ี ชน้ั อ.๑ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
(๓ – ๔ ป)ี ชน้ั อ.๒
๒.๑ เคล่ือนไหวรา่ งกาย ๒.๑.๔ รบั ลูกบอลโดยใชม้ อื (๔ – ๕ ปี)
อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสาน และลำตวั ชว่ ย
สมั พันธ์ และทรงตวั ได้ ๒.๑.๔ รบั ลูกบอลโดยใชม้ ือ
ทง้ั ๒ ข้าง

๘๖

สาระการเรียนรูร้ ายปี

ชนั้ อ.๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
(๕ – ๖ ปี)
๒.๑.๔ รบั ลูกบอลท่กี ระดอน ๑.ใช้กลา้ มเน้อื ใหญ่ เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก
ขน้ึ จากพนื้ ได้
- การเคลื่อนไหวเคล่ือนที่ - สามารถเคลื่อนไหวโดย

- การเคล่ือนไหวพรอ้ มวัสดุ การควบคุมร่างกายไป

อุปกรณ์ ในทางทิศทาง ระดบั และ

- การเคลอ่ื นไหวท่ีใช้ พืน้ ทต่ี า่ ง ๆ

ประสานสัมพันธ์ของการใช้

กลา้ มเนื้อใหญใ่ นการขวา้ ง

การจับ การโยน การเตะ

๒.การตระหนกั รเู้ กย่ี วกับ

รา่ งกายตนเอง

- การเคลอ่ื นไหวโดย

ควบคุมตนเองไปในทาง

ทิศทาง ระดบั และพื้นที่

สภาพท่พี ึงประสงค์

ตวั บง่ ช้ี ชั้น อ.๑ ช้นั อ.๒

๒.๒ ใช้มอื - ตา ประสาน (๓ – ๔ ป)ี (๔ – ๕ ป)ี
สัมพันธ์กนั
๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษ ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษ

ขาดจากกันได้โดยใช้มอื เดียว ตามแนวเสน้ ตรงได้

๒.๒.๒ เขยี นรูปวงกลม ตาม ๒.๒.๒ เขยี นรูปสเี่ หลย่ี ม ตาม
แบบได้ แบบได้อย่างมีมมุ ชดั เจน

๒.๒.๓ ร้อยวสั ดทุ ่มี ีรูขนาด ๒.๒.๓ รอ้ ยวัสดุท่ีมรี ขู นาด
เส้นผ่านศูนยก์ ลาง ๑ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง ๐.๕
เซนตเิ มตร ได้ เซนตเิ มตร ได้

๘๗

สาระการเรยี นรรู้ ายปี

ช้ัน อ.๓ ประสบการณ์สำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
(๕ – ๖ ปี)

๒.๒.๑ ใชก้ รรไกรตดั กระดาษ ๑.การใช้กลา้ มเนอ้ื เลก็ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตัวเดก็

ตามแนวเสน้ โค้งได้ - การหยบิ จบั การใช้ - การกำกับตนเอง

กรรไกร การฉกี การตัด - การเล่นและทำส่ิงต่าง ๆ

การปะ และการร้อยวัสดุ ดว้ ยตนเอง ตามลำพังหรือ

กบั ผู้อื่น

๒.๒.๒ เขยี นรูปสามเหล่ียม ๑.การใช้กลา้ มเนื้อเลก็ เรื่องราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก

ตามแบบไดอ้ ยา่ งมมี ุมชดั เจน - การเขยี นภาพและการ - การกำกับตนเอง

เล่นกับสี - การเล่นและทำสง่ิ ตา่ ง ๆ

ดว้ ยตนเอง ตามลำพงั หรือ

กบั ผู้อืน่

๒.๒.๓ ร้อยวัสดุทีม่ รี ขู นาด ๑.ใช้กล้ามเนือ้ เล็ก เรื่องราวเก่ียวกับตัวเดก็
เส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ๐.๒๕ - การหยิบจับ การใช้ - การกำกับตนเอง
เซนตเิ มตร ได้ กรรไกร การฉีก การตัด - การเลน่ และทำสิง่ ต่าง ๆ
การปะ และการร้อยวสั ดุ ด้วยตนเอง ตามลำพงั หรือ
กบั ผู้อืน่

พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดแี ละมีความสขุ

สภาพทพี่ ึงประสงค์

ตัวบง่ ชี้ ชน้ั อ.๑ ชน้ั อ.๒ ช้ัน อ.๓
(๓ – ๔ ปี)
๓.๑ แสดงออกทาง (๔ – ๕ ปี) (๕ – ๖ ปี)
อารมณ์ได้อยา่ ง ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์
เหมาะสม ความรู้สึกได้ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ
เหมาะสมกับบาง
สถานการณ์ ความรสู้ กึ ไดต้ าม ความรสู้ ึกไดส้ อดคล

สถานการณ์ กบั สถานการณ์อย่า

เหมาะสม

๓.๒ มีความร้สู ึกท่ี ๓.๒.๑ กลา้ พดู กลา้ ๓.๒.๑ กลา้ พูดกลา้ ๓.๒.๑ กลา้ พดู กลา้
ดตี อ่ ตนเองและ แสดงออก แสดงออกอย่าง แสดงออกอย่าง
ผอู้ นื่ เหมาะสมบาง เหมาะสมตาม
สถานการณ์ สถานการณ์

๓.๒.๒ แสดงความ ๓.๒.๒ แสดงความ ๓.๒.๒ แสดงความ
พอใจในผลงาน พอใจในผลงานและ พอใจในผลงานและ
ตนเอง ความสามารถของ ความสามารถของ
ตนเอง ตนเองและผอู้ ืน่

๘๘

สาระการเรียนรรู้ ายปี

ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้

ณ์ ๑.การเลน่ เรือ่ งราวเกี่ยวกับตัวเดก็

ลอ้ ง - การเลน่ อสิ ระ -การแสดงออกทางอารมณ์

าง - การเลน่ รายบุคคล และความร้สู กึ อย่าง

- การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์ เหมาะสม

- การเล่นนอกห้องเรยี น

1. การพูดสะท้อนความรู้สกึ ของตนเองและผ้อู ่นื -พูดแสดงความคดิ เหน็

2. การเล่นบทบาทสมมตุ ิ เกี่ยวกบั ตนเองและผอู้ น่ื

3. การรว่ มสนทนาและแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ -การเล่นเลยี นแบบ บทบาท

4. การพูดกับผูอ้ ่นื เกยี่ วกบั ประสบการณข์ องตนเองหรือพดู สมมุติ

เล่าเรือ่ งราวเก่ียวกับตนเอง -การสร้างความมนั่ ใจใน

พดู แสดงความความคิดเห็น ความรู้สึกและความตอ้ งการ ตนเอง ให้กล้าแสดงออก

ม ๑.การมีอัตลักษณ์เฉพาะตนและเช่ือว่าตนเองมี เรือ่ งราวเก่ียวกับตัวเดก็

ะ ความสามารถ - การตระหนกั รเู้ กีย่ วกบั

- การปฏิบตั กิ จิ กรรม ตา่ งๆ ตาม ความสามารถของตนเอง ตนเอง

๒. การเหน็ อกเห็นใจผ้อู ื่น

- การแสดงความยินดีเมอ่ื ผู้อ่ืนมีความสุข เหน็ ใจเม่ือผู้อื่น

เศรา้ หรอื เสียใจ และการชว่ ยเหลอื ปลอบโยนเมื่อผอู้ น่ื

ได้รับบาดเจบ็

มาตรฐานที่ ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว

ตัวบ่งช้ี ช้นั อ.๑ สภาพที่พงึ ประสงค์ ๔.๑.๑
(๓ – ๔ ปี) และแส
๔.๑ สนใจ มคี วามสุข ช้ัน อ.๒ ศลิ ปะ
และแสดงออก ผา่ นงาน ๔.๑.๑ สนใจ มคี วามสุข (๔ – ๕ ป)ี
ศิลปะ ดนตรี และการ และแสดงออกผา่ นงาน
เคลอื่ นไหว ศลิ ปะ ๔.๑.๑ สนใจ มี
ความสุข และ
แสดงออกผ่านงาน
ศลิ ปะ

๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ ๔.๑.๒ สนใจ มี ๔.๑.๒
และแสดงออกผ่าน ความสขุ และ และแส
เสยี งเพลง ดนตรี แสดงออกผา่ น เสียงเพ
เสียงเพลง ดนตรี

๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ ๔.๑.๓ สนใจ มี ๔.๑.๓
และแสดงท่าทาง/ ความสขุ และแสดง และแส
เคลอื่ นไหวประกอบเพลง ทา่ ทาง/เคลื่อนไหว เคลื่อน
จงั หวะ และดนตรี ประกอบเพลง จงั หวะ จังหวะ
และดนตรี

๘๙

สาระการเรยี นร้รู ายปี

ช้นั อ.๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้
(๕ – ๖ ป)ี
๑ สนใจ มีความสุข ๑.สุนทรีภาพ ดนตรี เร่ืองราวเก่ยี วกับตัวเดก็
สดงออกผ่านงาน - การทำกิจกรรมศิลปะตา่ ง ๆ - ความภูมใิ จในตนเอง
- การสร้างสรรคส์ ง่ิ สวยงาม การสะท้อนการรบั รู้อารมณ์
๒ สนใจ มคี วามสุข ๒.การแสดงออกทางอารมณ์ และความรูส้ กึ ของตนเอง
สดงออกผ่าน - การทำงานศิลปะ และผู้อน่ื
พลง ดนตรี เรือ่ งราวเกี่ยวกบั ตัวเดก็
๑.สนุ ทรีภาพ ดนตรี - การเคล่ือนไหวรา่ งกาย
๓ สนใจ มีความสุข - การฟังเพลง การร้องเพลงและการแสดง ประกอบเพลง
สดงทา่ ทาง/ ปฏกิ ริ ิยาโต้ตอบเสยี งดนตรี
นไหวประกอบเพลง - การเล่นเครือ่ งดนตรปี ระกอบจังหวะ เรื่องราวเก่ยี วกบั ตัวเดก็
ะ และดนตรี ๒.การแสดงออกทางอารมณ์ - การกำกับตนเองการเลน่
- การรอ้ งเพลง และทำสง่ิ ต่างด้วยตนเอง
ตามลำพงั หรือกับผู้อน่ื
๑.สุนทรภี าพ ดนตรี
- การเคล่อื นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
- การเล่นบทบาทสมมุติ
๒.การแสดงออกทางอารมณ์
- การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี

มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจทด่ี งี าม

สภาพที่พึงประสงค์

ตวั บง่ ช้ี ชั้น อ.๑ ชั้น อ.๒ ชน้ั
๕.๑ ซื่อสตั ย์สุจริต (๕ –
(๓ – ๔ ปี) (๔ – ๕ ปี)
๕.๑.๑ ขออ
๕.๑.๑ บอกหรือชไ้ี ดว้ ่าสง่ิ ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรอื รอ รอคอย เม
สิง่ ของของ
ใดเป็นของตนเองและส่ิงใด คอย เม่ือต้องการส่งิ ของ ตนเอง

เป็นของผอู้ นื่ ของผอู้ ื่น เม่อื มผี ูช้ แี้ นะ

๙๐

สาระการเรยี นร้รู ายปี

น อ.๓ ประสบการณ์สำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
– ๖ ปี)

อนุญาตหรือ ๑.สนุ ทรภี าพ ดนตรี เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเดก็

มอื่ ตอ้ งการ - การเล่นบทบาทสมมติ - มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ความ

งผอู้ ่ืน ดว้ ย ๒.คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เมตตากรุณา

- การฟังนทิ านเกีย่ วกับคุณธรรม จริยธรรม - เคารพสทิ ธิของตนเองและ

- การรว่ มสนทนาและแลกเปลี่ยนความ ผ้อู น่ื

คดิ เหน็ เชิงจริยธรรม

๓.การมปี ฏิสมั พนั ธ์ มีวนิ ยั มีส่วนรว่ มและ - การคดิ แยกแยะระหวา่ ง

บทบาทสมาชิกของสงั คม ผลประโยชนส์ ่วนตนและ

- การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของห้องเรยี น ผลประโยชนส์ ว่ นรวม

๔. การเล่นและทำงานแบบรว่ มมอื ร่วมใจ (การเขา้ แถว)

- การร่วมสนทนาและแลกเปล่ยี นความ - พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบ

คิดเห็น ต่อสังคม

- การเลน่ และทำงานรว่ มกับผู้อืน่ (ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง)

ตัวบง่ ชี้ ชนั้ อ.๑ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ๕.๒.๑
(๓ – ๔ ปี) เพ่อื น
๕.๒ มคี วามกรณุ า มี ชนั้ อ.๒ เลย้ี ง
นำ้ ใจและช่วยเหลือ ๕.๒.๑ แสดงความรัก (๔ – ๕ ปี)
แบ่งปนั เพอื่ น และมีเมตตาสัตว์
เลย้ี ง ๕.๒.๑ แสดงความรกั
เพ่ือน และมีเมตตาสัตว์
เลี้ยง

๕.๒.๒ แบง่ ปันผู้อ่ืนได้เม่อื ๕.๒.๒ ชว่ ยเหลือและ ๕.๒.๒
แบง่ ป
มผี ชู้ ีแ้ นะ แบ่งปันผู้อน่ื ได้เมื่อมผี ู้ ตนเอง

ชแ้ี นะ

๙๑

สาระการเรยี นร้รู ายปี

ช้นั อ.๓ ประสบการณ์สำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
(๕ – ๖ ปี)

๑ แสดงความรกั ๑.สุนทรภี าพ ดนตรี เรอื่ งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก

น และมเี มตตาสตั ว์ - การเลน่ บทบาทสมมุติ - คุณธรรม จริยธรรม

๒.คณุ ธรรมจริยธรรม เรือ่ งความเมตตากรุณา

- การฟังนิทานเก่ียวกับคุณธรรม - ความเอื้ออาทร

จรยิ ธรรม

๒ ชว่ ยเหลือและ ๑.การมปี ฏิสมั พนั ธ์ มีวินยั มีสว่ นร่วม เรอื่ งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก
ปนั ผู้อ่นื ได้ดว้ ย
ง และบทบาทสมาชิกของสงั คม - คณุ ธรรม จริยธรรม เรื่อง

-การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของ มีน้ำใจ แบง่ ปนั ชว่ ยเหลือ

ห้องเรยี น - การชว่ ยเหลอื เพื่อน

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

ตวั บ่งชี้ ชนั้ อ.๑ ชัน้ อ.๒

๕.๓ มีความเหน็ อกเหน็ (๓ – ๔ ป)ี (๔ – ๕ ป)ี
ใจผู้อน่ื
๕.๓.๑ แสดงสีหนา้ และ ๕.๓.๑ แสดงสหี น้าและ ๕.๓.๑

ท่าทางรับรูค้ วามรสู้ กึ ผู้อน่ื ทา่ ทางรับรคู้ วามรสู้ ึกผู้อ่ืน ท่าทา

อยา่ งส

สถาน

๕.๔ มคี วามรบั ผดิ ชอบ ๕.๔.๑ ทำงานท่ีได้รบั ๕.๔.๑ ทำงานท่ไี ด้รับ ๕.๔.๑

มอบหมายจนสำเร็จ เมอื่ มี มอบหมายจนสำเรจ็ เมอ่ื มี มอบห

ผู้ช่วยเหลอื ผู้ชีแ้ นะ ตนเอง

๙๒

สาระการเรียนรู้รายปี

ชั้น อ.๓ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
(๕ – ๖ ป)ี

๑ แสดงสีหนา้ และ ๑. การเหน็ อกเหน็ ใจผูอ้ ่นื เรื่องราวเกีย่ วกบั ตัวเดก็

างรบั รู้ความรสู้ กึ ผู้อ่นื - การแสดงความยินดีเมื่อผู้อ่ืนมี - ความกตัญญู

สอดคล้องกบั ความสขุ เหน็ ใจเม่ือผูอ้ ่ืนเศร้าหรอื - การแสดงออกทางอารมณ์

นการณ์ เสยี ใจและชว่ ยเหลอื ปลอบโยนเมอ่ื - การแสดงมารยาททด่ี ใี นการ

ผอู้ ่นื ไดร้ บั บาดเจ็บ เหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่นื

๒. การยอมรับในความเหมือนและ

ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล - ความเอื้ออาทร

- การเล่นหรอื ทำกิจกรรม

รว่ มกบั เพื่อน

๑ ทำงานท่ไี ด้รบั ๑.การมีอัตลักษณเ์ ฉพาะตนและ เร่ืองราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก

หมายจนสำเร็จดว้ ย เช่ือว่าตนเองมีความสามารถ - มงุ่ มัน่ ในการทำงานท่ีไดร้ ับ

ง - การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่างๆตาม มอบหมายให้สำเร็จ

ความสามารถของตนเอง - ความภมู ใิ จในตนเองสะท้อน

การรบั ความรูส้ ึกของตนเอง

และผูอ้ น่ื

พฒั นาการดา้ นสังคม
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพ

ตัวบ่งช้ี ช้นั อ.๑ สภาพท่ีพงึ ประสงค์
(๓ – ๔ ป)ี ชัน้ อ.๒
๖.๑ ชว่ ยเหลือตนเองใน (๔ – ๕ ปี)
การปฏิบัตกิ ิจวัตร ๖.๑.๑ แต่งตวั โดยมผี ู้
ประจาํ วนั ช่วยเหลือ ๖.๑.๑ แตง่ ตวั ด้วยตนเอง

๙๓

พียง

สาระการเรยี นรู้รายปี

ช้ัน อ.๓ ประสบการณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้
(๕ – ๖ ปี)
๑.การรกั ษาสุขภาพอนามัย เรื่องราวเก่ียวกบั ตัวเด็ก
๖.๑.๑ แตง่ ตวั ด้วยตนเอง ได้
อยา่ งคล่องแคล่ว ส่วนตวั -การปฏบิ ัติกิจวัตรประจำวัน

- การปฏิบัติตนตาม -การแต่งกาย

สขุ อนามยั สขุ นสิ ยั ที่ดีใน

กจิ วตั รประจำวัน - การคดิ แยกแยะระหวา่ ง

๒.การรกั ษาความปลอดภยั ผลประโยชน์ส่วนตนและ

- การปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัย ผลประโยชนส์ ่วนรวม

ในกิจวัตรประจำวัน (การแตง่ กาย)

๓.การมอี ัตลกั ษณ์เฉพาะ

ตนและเชื่อว่าตนเองมี

ความสามารถ

- การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่างๆ

ตามความสามารถของ

ตนเอง

สภาพที่พึงประสงค์

ตวั บง่ ชี้ ช้นั อ.๑ ชน้ั อ.๒

(๓ – ๔ ปี) (๔ – ๕ ปี)

๖.๑.๒ รบั ประทานอาหาร ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ดว้ ย

ดว้ ยตนเอง ตนเอง

๖.๑.๓ ใช้หอ้ งน้ำห้องสว้ ม ๖.๑.๓ ใชห้ ้องนำ้ หอ้ งสว้ ม

โดยมีผู้ชว่ ยเหลอื ด้วยตนเอง


Click to View FlipBook Version