คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช
FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY
แนวทางปฏิบตั ิ เร่ือง การใช้ แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภยั ในการผา่ ตดั
(Surgical Safety Checklist)
Is essential imaging displayed? ติดฟิ ลม์ เอก็ ซเรย์ ท่ีจาเป็น เรียบร้อยแล้ว
o เพอ่ื การป้องกนั ผ่าตดั ผดิ ขา้ ง ผดิ ตาแหน่ง และ แพทยจ์ ะมขี อ้ มลู เกย่ี วกบั โรคชดั เจน โดยเฉพาะผปู้ ว่ ย
ทางศลั ยกรรม หรอื ออรโ์ ธปิดกิ ส์ มกั จาเป็นทแ่ี พทยต์ อ้ งดภู าพในฟิลม์ ผ่าตดั ก่อนและระหว่างการผ่าตดั
จงึ ตอ้ งตดิ ฟิลม์ ซง่ึ ตอ้ งตดิ ใหถ้ ูกตอ้ งดว้ ย
o Checklist coordinator จะถามแพทยว์ ่าผปู้ ว่ ยรายน้ีตอ้ งตดิ ฟิลม์ เอก็ ซเรย์ หรอื MRI หรอื ไม่ ถา้ แพทย์
บอกว่าไมจ่ าเป็น ใหท้ าเครอ่ื งหมาย ในชอ่ ง ไมจ่ าเป็นตอ้ งตดิ ถา้ แพทยร์ ะบุใหต้ ดิ ให้ Checklist
coordinator ตรวจสอบว่ามกี ารตดิ ถูกตอ้ งทงั้ ช่อื ดา้ นซา้ ย/ขวา และ แผน่ ทแ่ี พทยร์ ะบุ
Anticipated critical events การระบเุ หตกุ ารณ์วิกฤติที่มโี อกาสเกิดขึน้
o To surgeon: แพทยผ์ ผู้ ่าตดั ต้องระบุ
What are the critical or non-routine steps?
ขนั้ ตอนใดของการผา่ ตดั ทอ่ี าจเกดิ ภาวะวกิ ฤต หรอื ไมเ่ ป็นไปตามปกติ เชน่ อาจเสยี เลอื ดมาก อาจมี
อนั ตรายต่ออวยั วะ หรอื อาจมผี ลต่อ Vital signs ของผปู้ ว่ ย หรอื ตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์พเิ ศษ
How long will the case take?
คาดว่าการผ่าตดั จะใชเ้ วลานานเทา่ ใด เพอ่ื ทว่ี สิ ญั ญจี ะไดว้ างแผนการระงบั ความรสู้ กึ อยา่ งเหมาะสม
และพยาบาล จะไดว้ างแผนการปรบั เปลย่ี นคนชว่ ย
What is the anticipated blood loss?
คาดวา่ จะเสยี เลอื ดมากหรอื ไม่ ในขนั้ ตอนใด วสิ ญั ญจี ะไดเ้ ตรยี มใหส้ ารน้า หรอื ให้เลอื ดอยา่ ง
เหมาะสม รวมทงั้ การประเมนิ ความเพยี งพอของสารน้า เลอื ด
o To anaesthetist: วิสญั ญีระบุ
Are there any patient-specific concerns?
วสิ ญั ญจี ะแจง้ สภาพพน้ื ฐานผปู้ ว่ ย (ASA score) ความเสถยี รของ Hemodynamic หรอื ความเสย่ี ง
อ่นื ๆ ตลอดจนแผนการรกั ษาเฉพาะของวสิ ญั ญี หากไม่มี ใหแ้ จง้ ว่า “ไมม่ ขี อ้ กงั วลในผปู้ ว่ ยรายน้ี”
o To nursing team: พยาบาลผสู้ ่งผ่าตดั
Has sterility (including indicator results) been confirmed? Scrub nurse จะแจง้ วา่ ผลการ
ตรวจสอบ Sterile indicator ของเครอ่ื งมอื ผ่าตดั เรยี บรอ้ ย ดหี รอื ไม่
Are there equipment issues or any concerns?
Scrub nurse จะแจง้ วา่ เครอ่ื งมอื พรอ้ มใชง้ าน หรอื ไม่ เครอ่ื งมอื อะไรทแ่ี พทยต์ อ้ งขอ จึงจะเปิดใหเ้ พม่ิ
21 มถิ ุนายน 2563 47/248 SD-TQM-068 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 5/ 6 หน้า
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช
FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY
แนวทางปฏิบตั ิ เร่ือง การใช้ แบบตรวจสอบเพ่ือความปลอดภยั ในการผา่ ตดั
(Surgical Safety Checklist)
ค. Sign Out การสรปุ เมอื่ จบการผา่ ตดั
เพ่อื ใหม้ นั่ ใจว่ามกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู การผ่าตดั อยา่ งถกู ตอ้ ง และขอ้ มลู สาคญั จะถกู ส่งต่อไปยงั ทมี ทด่ี แู ลต่อ
Nurse verbally confirms ทา เม่ือแพทยเ์ ริ่มเยบ็ ปิ ดแผล
ให้ Checklist coordinator ขานดงั ๆ เพ่ือให้แพทย์ และวิสญั ญี ร่วมกนั ยืนยนั
- The name of the procedure ชื่อหตั ถการท่ีทา
o เน่อื งจากอาจมกี ารเปลย่ี นแปลง ชนิดของหตั ถการทท่ี า และแตกต่างจากทร่ี ะบกุ ่อนผา่ ตดั จงึ ตอ้ งมี
การสรปุ อกี ครงั้ เมอ่ื ผ่าตดั เสรจ็ เพอ่ื ใหก้ ารบนั ทกึ ของพยาบาล วสิ ญั ญี ตรงกบั บนั ทกึ ของแพทย์
o Checklist coordinator อาจสรปุ ใหแ้ พทยย์ นื ยนั หรอื ขอใหแ้ พทยส์ รปุ ชอ่ื หตั ถการทท่ี าอกี ครงั้ หน่งึ
- Completion of instrument, sponge and needle counts ผลการนับเคร่ืองมือ ผา้ ซบั กอ๊ ซ เขม็
o เน่อื งจากการตกคา้ งของเคร่อื งมอื ผา้ ก๊อซ เขม็ สามารถพบได้ และเป็นอนั ตรายอยา่ งยงิ่ ต่อผปู้ ว่ ย
o ดงั นนั้ Scrub nurse หรอื circulating nurse ตอ้ งระบใุ หแ้ พทย์ และวสิ ญั ญรี บั รผู้ ลการตรวจนบั
o หากไมค่ รบถว้ น ทมี จะตอ้ งดาเนินการเพ่อื ตรวจสอบและคน้ หารว่ มกนั ต่อไป
- Specimen labeling (read specimen labels aloud, including name)
o เพอ่ื ป้องกนั ความผดิ พลาดของการส่งตรวจชน้ิ เน้อื
o พยาบาล circulate จะตอ้ งนับ ตรวจสอบการ label ขา้ งถุง และบอกกบั ทมี ว่า ชน้ิ เน้ือทจ่ี ะส่งมกี ช่ี น้ิ
อะไรบา้ ง และยนื ยนั วา่ การ label ขา้ งถุงถูกตอ้ ง ชดั เจน
- Whether there are any equipment problems to be addressed
o เพ่อื ป้องกนั การนาเครอ่ื งมอื ทช่ี ารดุ กลบั มาใชใ้ หม่
o ใหพ้ ยาบาลระบุวา่ มเี ครอ่ื งมอื ใดชารดุ และสง่ ซ่อม หรอื จาหน่าย
Surgeon, anaesthetist and nurse review the key concerns for recovery and management of
this patient ทีมระบปุ ระเดน็ ปัญหาและแผนการดแู ลหลงั ผ่าตดั
- เพ่อื ใหม้ นั่ ใจวา่ จะมกี ารสง่ ต่อขอ้ มลู ทส่ี าคญั อยา่ งครบถว้ นไปยงั ทมี ทด่ี แู ลต่อ ทห่ี อ้ งพกั ฟ้ืน หรอื ทห่ี อ
ผปู้ ว่ ย
- แพทย์ วสิ ญั ญี และพยาบาล จะตอ้ งระบุปญั หาสาคญั ทต่ี ้องดแู ลต่อ และแผนการดูแลทว่ี างไว้
21 มถิ ุนายน 2563 48/248 SD-TQM-068 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 6/ 6 หน้า
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร
.................................
FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY
(ผศ.ยุทธพงศ์ วงษม์ หศิ ร)
รกั ษาการแทนผอู้ านวยการโรงพยาบาล
แนวทางการปฏิบตั ิ เรื่อง การทาเครอ่ื งหมายระบตุ าแหน่งผา่ ตดั (Mark site)
1. เป้าหมาย
เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางการปฏบิ ตั ิ ในการป้องกนั การผ่าตดั ผปู้ ่วยผดิ ตาแหน่ง
2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางปฏบิ ตั กิ ารทาเครอ่ื งหมายระบุตาแหน่งผ่าตดั (Mark site) เพอ่ื ป้องกนั การผ่าตดั ผดิ ตาแหน่ง
2.2 เพ่อื ให้บุคลากรทุกวชิ าชพี ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การผ่าตดั (ศลั ยแพทย์ วสิ ญั ญี พยาบาล ฯลฯ) รบั ทราบ และเขา้ ใจ
ตรงกนั มกี ารปฏบิ ตั เิ ป็นแนวทางเดยี วกนั
3. ข้อกาหนดในการใช้
3.1 การทาเคร่อื งหมายบรเิ วณท่จี ะทาผ่าตดั เพ่อื เป็นการระบุตาแหน่งผ่าตดั (Mark site) ถอื เป็นมาตรฐานของการ
ทาผ่าตดั ทุกราย ในกรณีตาแหน่งอวยั วะทจ่ี ะผ่าตดั มสี องขา้ ง เพ่อื ระบุขา้ งซา้ ยหรอื ขา้ งขวา และทเ่ี ป็นโครงสรา้ ง
หลายส่วน (multiple structures) เช่น น้ิวมอื น้ิวเทา้ หรอื หลายระดบั เช่น กระดูกสนั หลงั เพ่อื ป้องกนั การผ่าตดั ผดิ
ตาแหน่ง
3.2 บคุ ลากรทุกวชิ าชพี ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การผ่าตดั (ศลั ยแพทย์ วสิ ญั ญี พยาบาล ฯลฯ) ตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื ในการทา
เครอ่ื งหมายระบุตาแหน่งผา่ ตดั (Mark site)
4. รายละเอียดการใช้แนวทางการปฏิบตั ิ
เพ่อื ให้การทา mark site ในผู้ป่ วยผ่าตดั เป็นไปตามมาตรฐาน และมคี วามน่าเช่อื ถือ จงึ มกี ารกาหนดแนวทาง
ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
4.1 กาหนดให้ศลั ยแพทยท์ ่จี ะทาหตั ถการเป็นผู้ทาเคร่อื งหมายบรเิ วณตาแหน่งทจ่ี ะลงมดี ผ่าตดั โดยการมสี ่วนร่วม
ของผปู้ ่วย ในทท่ี ผ่ี ปู้ ่วยต่นื ดี และมสี ติ
4.2 การทาเครอ่ื งหมายเป็นไปตามมาตรฐานเดยี วกนั เหมอื นกนั ทวั่ ทงั้ องคก์ ร โดยมรี ายละเอยี ดวธิ ดี งั น้ี
4.2.1 ใชป้ ากกา skin marker ซง่ึ เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ สนี ้าเงนิ
4.2.2 การทาเคร่อื งหมายใช้เคร่อื งหมาย ลูกศร โดยหนั หวั ลูกศรไปท่ตี าแหน่งท่จี ะลงมดี ผ่าตดั ลูกศรควรอยู่
ใกล้บรเิ วณตาแหน่งท่จี ะผ่าตดั มากทส่ี ุด และควรมองเหน็ ได้ภายหลงั ท่ที าความสะอาดผวิ หนัง และปผู ้า
คลมุ สาหรบั ผา่ ตดั แลว้
ธนั วาคม 2561 ภาพท่ี 1. ตวั อยา่ งการ mark site บรเิ วณตาแหน่งทจ่ี ะลSงDม-ดTี QผM่าต-0ดั 7ข4อ้ แเกขไ้ า่ ขดคา้ รนงั้ ทข่ีว0า1 จานวน 1/ 2 หน้า
49/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร
.................................
FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY
(ผศ.ยทุ ธพงศ์ วงษ์มหศิ ร)
รกั ษาการแทนผอู้ านวยการโรงพยาบาล
แนวทางการปฏิบตั ิ เร่ือง การทาเครื่องหมายระบตุ าแหน่งผา่ ตดั (Mark site)
4.2.3 แพทยท์ าเครอ่ื งหมายระบตุ าแหน่งผ่าตดั (mark site) บนตวั ผปู้ ่วยใหเ้ รยี บรอ้ ยก่อนส่งผปู้ ่วยมาหอ้ งผ่าตดั
4.2.4 แพทยท์ ท่ี าการ mark site ลงบนั ทกึ ขอ้ มลู ในเวชระเบยี น (progress note)
4.2.5 ในรายผปู้ ่วยทเ่ี ป็นเดก็ ตอ้ งใหผ้ ปู้ กครองยนิ ยอม และมสี ่วนในการทา mark site รว่ มกบั แพทย์
4.2.6 ในกรณีผูป้ ่ วยฉุกเฉินหรอื ไม่รสู้ กึ ตวั ให้แพทย์ทา mark site ร่วมกบั ญาตผิ ู้ป่ วย หรอื เจา้ หน้าทห่ี อผู้ป่ วย
โดยใชข้ อ้ มลู หลกั ฐานทางคลนิ ิกทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ เชน่ ฟิลม์ เอกซเรย์ หรอื ผลการตรวจทบ่ี นั ทกึ ไวใ้ นเวชระเบยี น
ผปู้ ่วย
4.2.7 ในผปู้ ่วยทม่ี กี ารผ่าตดั หลายตาแหน่ง ตอ้ งทา mark site ใหค้ รอบคลุมทกุ ตาแหน่งผ่าตดั
4.2.8 เม่อื ตรวจสอบยนื ยนั ตาแหน่งทจ่ี ะลงมดี ผ่าตดั ขณะ sign in ในหอ้ งผ่าตดั เสรจ็ ใหล้ งช่อื แพทยท์ ท่ี า mark
site ในแบบตรวจสอบความปลอดภยั จากการผ่าตดั (Surgical Safety Checklist) ใหเ้ รยี บรอ้ ย
4.2.9 กรณที ไ่ี มจ่ าเป็นตอ้ งมกี ารทา mark site ในผปู้ ่วยผา่ ตดั มดี งั น้ี
4.2.9.1 ตาแหน่งทม่ี พี ยาธสิ ภาพของการทาผ่าตดั มองเหน็ ชดั เจน เชน่ open fracture ต่างๆ
4.2.9.2 ตาแหน่งแผลต่างๆ ทม่ี ลี กั ษณะมองเหน็ ชดั เจน เชน่ แผลเปิด แผลทท่ี า debridement
4.2.9.3 ตาแหน่งผ่าตดั บรเิ วณศรี ษะ ทม่ี กี ารใชเ้ ครอ่ื ง Navigator ชว่ ยขณะทาผา่ ตดั
4.3 ผปู้ ่วยนอกผา่ ตดั ทห่ี อ้ งผ่าตดั ศลั ยกรรม ชนั้ 1 ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
4.3.1 แพทยท์ าเคร่อื งหมายระบุตาแหน่งผ่าตดั ตงั้ แต่หอ้ งตรวจผปู้ ่ วยนอก (OPD) ก่อนส่งผู้ป่ วยเขา้ ห้องผ่าตดั
ศลั ยกรรม ชนั้ 1
4.3.2 ในกรณผี ปู้ ่วยนดั ผ่าตดั ทม่ี าจากบา้ น ไมม่ เี ครอ่ื งหมายระบุตาแหน่งผา่ ตดั ใหพ้ ยาบาลทห่ี อ้ งรอผ่าตดั ชนั้ 1
ตดิ ตามแพทยท์ าเครอ่ื งหมายระบุตาแหน่งผ่าตดั ใหเ้ รยี บรอ้ ย ก่อนนาผปู้ ่วยเขา้ หอ้ งผ่าตดั
หมายเหตุ
1. ในผู้ป่ วยผ่าตัดท่ีไม่มกี ารทา mark site ตามแนวทางปฏิบตั ิ ขอความร่วมมือให้ห้องผ่าตัด ส่งรายงานถึง
หวั หน้าภาค/ หวั หน้ากลมุ่ งาน (ทบ่ี คุ ลากรนนั้ สงั กดั )
2. กรณีผู้ป่ วยไม่ยินยอมให้ทาการ mark site ขอให้ศัลยแพทย์บันทึกลงในเวชระเบียน (Progress note)
ใหช้ ดั เจนทุกราย
ธนั วาคม 2561 SD-TQM-074 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 01 จานวน 2/ 2 หน้า
50/248
Goal 2: (2.1)
1. WI-IC-016
2. WI-ICC01-017
3. WI-IC-088
4. FM-ICC01-067
51/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC - 016
เร่อื ง แนวทางปฏบิ ตั ิ การเฝ้าระวงั การติดเชอื้ ในผู้ปว่ ยทไี่ ดร้ ับการ แกไ้ ขคร้ังที่ : 02 หน้า
ผ่าตดั เปล่ยี นขอ้ เข่าเทียม (Total knee Arthroplasty) หรอื ไดร้ บั วนั ท่บี ังคบั ใช้ : 1 พ.ย. 2550 1
การผา่ ตดั ใส่อุปกรณ์ดามเหล็กกระดูกไขสนั หลัง (Spinal fusion)
วตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื พัฒนาระบบการป้องกนั การติดเช้อื ท่ตี าแหน่งผ่าตัด ภาควชิ าศัลยศาสตรอ์ อร์โธปิดกิ ส์
เกณฑ์ชี้วดั
อัตราการติดเช้ือทีต่ าแหน่งผ่าตดั ทีเ่ ฝา้ ระวงั ฯ 50 percentile ของ NNIS
ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน
1. ห้องตรวจศัลยกรรมกระดกู
1.1 จัดเตรียมแบบเฝ้าระวังการติดเช้ือในโรงพยาบาล (ICC – 01 แก้ไขครัง้ ท่ี 3) และไปรษณยี บัตร
จานวน 2 ใบ ต่อผปู้ ่วย 1 ราย โดยใช้ Code Number เดยี วกันทง้ั 3 ใบ (Code Number รบั ไดท้ ่ีหนว่ ย IC)
1.2 เมื่อรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม หรือผา่ ตัดใสอ่ ปุ กรณด์ ามเหล็กกระดูกไขสนั หลงั เป็นผ้ปู ว่ ยใน
ให้ติดช่อื – นามสกุลผปู้ ว่ ยที่แบบเฝา้ ระวัง ฯ และแนบเอกสารขอ้ 1.1 ท้งั หมดไปกบั เวชระเบียนผู้ปว่ ย
1.3 บนั ทึก Code Number ไว้ทหี่ นว่ ยงาน เพ่ือเป็นหลกั ฐานในการติดตามผู้ปว่ ย
1.4 ตรวจสอบรายชอ่ื ผู้ป่วยจากใบ Set การผา่ ตดั / คอมพวิ เตอร์ บนั ทึกรายชื่อผู้ปว่ ยท่ีไดร้ ับการผา่ ตัด
วนั / เดือน / ปี ที่ผา่ ตดั หอผู้ปว่ ยที่ผู้ป่วยพักรักษาหลังผ่าตัด และรวบรวมส่งรายช่อื ผปู้ ่วยท่หี น่วย IC ทกุ วันพฤหสั บดี
1.5 รวบรวมไปรษณียบัตรทีผ่ ู้ป่วยมาตรวจตามนดั ส่งหนว่ ย IC ทกุ สน้ิ เดือน
1.6 กรณีผ้ปู ่วยไมม่ าตรวจตามนดั ใหแ้ จ้งหน่วย IC เพื่อตดิ ตามต่อไป
2. ห้องผา่ ตดั บันทึกข้อมูลในแบบเฝ้าระวงั ฯ ได้แก่
2.1 เวลาเรม่ิ กรีดแผล ...................น. เวลาเยบ็ ปดิ แผล.....................น.
2.2 ASA 1 2 3 4 5
2.3 Wound Class 1 2 3 4
3. หอผูป้ ่วย
3.1 กรณหี อผู้ปว่ ยรับผูป้ ่วย เพ่ือทาการผา่ ตดั เปลีย่ นขอ้ เข่าเทยี ม หรือผ่าตดั ใส่อปุ กรณ์ดามเหล็กกระดูก
ไขสนั หลงั เป็นผ้ปู ่วยใน โดยไม่ไดผ้ ่านหอ้ งตรวจศลั ยกรรมกระดูก หรอื ทางห้องตรวจศัลยกรรมกระดูกไม่ได้ขอเลขที่
ภายในให้แจ้งห้องตรวจศัลยกรรมกระดูก และไปรบั แบบเฝ้าระวัง ฯ และไปรษณียบัตร จานวน 2 ใบ ทม่ี ี Code
Number เดียวกนั ท่หี ้องตรวจศลั ยกรรมกระดกู ในเวลาราชการ
3.2 ผปู้ ว่ ยทร่ี ับจากหอ้ งตรวจศลั ยกรรมกระดูกให้ตรวจสอบเวชระเบียนของผปู้ ่วยที่ได้รับการผา่ ตดั ท้งั 2
ตาแหน่งวา่ มแี บบเฝ้าระวงั ฯ และไปรษณียบัตร จานวน 2 ใบ ทม่ี ี Code Number เดยี วกนั หรอื ไม่ กรณีไม่มี หรอื
Code Number ไมต่ รงกนั ให้ตดิ ต่อหอ้ งตรวจศัลยกรรมกระดกู เพื่อขอรับแบบเฝา้ ระวงั ฯและไปรษณยี บัตร ที่มี
Code Number เดยี วกัน หรอื ทาการแก้ไข Code Number ใหต้ รงกัน
3.3 บนั ทกึ ขอ้ มูลเพ่ิมเติม ในแบบเฝา้ ระวงั ฯ และในใบไปรษณยี บัตร โดยเฉพาะอาการ และอาการ
แสดงของแผล อย่างครบถว้ น
3.4 กรณผี ู้ป่วยยา้ ยหอใหใ้ ส่แบบเฝา้ ระวัง ฯ และไปรษณยี บตั รในแฟม้ เวชระเบยี นของผปู้ ่วยจนถงึ วัน
จาหนา่ ย
52/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC - 016
เร่ือง แนวทางปฏิบตั ิ การเฝ้าระวังการติดเช้อื ในผู้ปว่ ยที่ได้รบั การ แก้ไขครงั้ ท่ี : 02 หน้า
ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเขา่ เทียม (Total knee Arthroplasty) หรอื ไดร้ ับ วันทีบ่ งั คับใช้ : 1 พ.ย. 2550 2
การผ่าตดั ใสอ่ ุปกรณ์ดามเหลก็ กระดกู ไขสันหลัง (Spinal fusion)
3.5 กรณสี งสยั ตาแหน่งผา่ ตดั มีการตดิ เชอื้ ให้รายงาน ICN ทันที เพ่ือการประเมนิ เพิ่มเติม (โทร 3527, 3528)
3.6 เมื่อผู้ป่วยจาหนา่ ยตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมลู ในแบบเฝ้าระวงั ฯ และไปรษณียบัตรอีกคร้ัง
และมอบไปรษณยี บตั รแก่ผปู้ ่วยท้ัง 2 ใบ (ใบที่ 1 เป็นการติดตามหลังผ่าตดั 1 เดือน ใบท่ี 2 เป็นการติดตามหลัง
ผ่าตัด 1 ป)ี
3.7 รวบรวมแบบเฝ้าระวัง ฯ ส่งหนว่ ย IC ทุกสน้ิ เดือน กรณีผูป้ ่วยนอนโรงพยาบาลครบ 1 เดือนหลัง
ผ่าตดั ให้มอบไปรษณยี บตั รแก่ผู้ป่วยท้งั 2 ใบ เช่นเดมิ แต่ใบท่ี 1 เป็นการติดตาม ตามแพทย์นดั ใบท่ี 2 เปน็ การติดตาม
หลังผา่ ตดั 1 ปี
4. หนว่ ยป้องกนั และควบคุมการติดเชอื้ ในโรงพยาบาล (หน่วย IC)
4.1 ตรวจสอบรายชอ่ื ผู้ป่วยที่ไดร้ ับการผ่าตัด จากแบบบันทึกรายชื่อผู้ปว่ ยท่ีไดร้ ับผ่าตัดของห้องตรวจ
ศลั ยกรรมกระดูก และติดตามเฝา้ ระวงั ผู้ปว่ ยขณะอยู่โรงพยาบาล
4.2 รวบรวมวเิ คราะหอ์ ัตราการติดเชอ้ื ท่ีตาแหนง่ ผ่าตัด และรายงานทุก 3 เดอื น
หมายเหตุ - ไปรษณยี บัตร 1 เดือน ใช้สาหรับการเฝา้ ระวัง ฯ ผูป้ ่วยหลังจาหน่วย 1 เดือน หรือมาพบแพทย์
ตามนดั แนะนาให้ผูป้ ว่ ยนาไปรษณยี บัตรมอบให้สถานพยาบาล / แพทยผ์ ตู้ รวจรกั ษา เพ่ือให้แพทย์ผูต้ รวจรกั ษาบันทึก
ข้อมูลแผลผ่าตดั ในไปรษณียบตั ร และสง่ กลับหนว่ ย IC โดยไม่ต้องเสียคา่ ใช้จ่าย
- ไปรษณียบัตร 1 ปี ใช้สาหรบั การตดิ ตามเฝ้าระวัง ฯ ผปู้ ่วยหลังจาหน่าย 1 ปี กรณีระหวา่ ง 1 ปี
มีความผิดปกติของแผลผา่ ตัด และได้ไปตรวจทโี่ รงพยาบาล / คลินกิ / สถานพยาบาลอน่ื ๆ ให้ผู้ปว่ ยนาไปรษณยี บตั ร
มอบใหแ้ พทย์ผู้ตรวจบนั ทึกข้อมูลในไปรษณยี บัตร และสง่ กลบั หน่วย IC โดยไมต่ ้องเสยี ค่าใช้จา่ ย
53/248
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
WI – ICC01 -017
Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindradhiraj University
หนา้
วธิ ปี ฏบิ ัติงาน แกไ้ ขครง้ั ที่ : 00 1
วันท่บี งั คับใช้ : พ.ย. 60
WORK INSTRUCTION
เรอื่ ง วธิ ีปฏบิ ตั เิ มอื่ บคุ ลากรไดร้ บั อบุ ัตเิ หตจุ ากเข็มหรอื ของมีคมขณะปฏบิ ัตงิ าน
สาหรบั บคุ ลากรตกึ เวชศาสตรฉ์ กุ เฉนิ
๑. ผรู้ บั ผดิ ชอบ
บุคลากรทางการแพทย์ ที่ปฏบิ ตั งิ านตกึ เวชศาสตร์ฉุกเฉนิ
๒. วตั ถุประสงค์
เพือ่ เป็นแนวทางการดแู ลบคุ ลากรได้รบั อุบัติเหตจุ ากเข็มหรือของมีคมขณะปฏบิ ัตงิ าน
๓. ขอบเขต
ครอบคลมุ บุคลากรทกุ ระดับที่ไดร้ บั อบุ ัติเหตจุ ากเข็มหรือของมีคมขณะปฏบิ ัติงาน
๔. วธิ กี ารดาเนนิ งาน
4.1 รบั แจง้ และใหบ้ คุ ลากรทไี่ ด้รบั อบุ ตั ิเหตุเขียนรายงาน ตามแบบรายงานการไดร้ ับอุบตั เิ หตุขณะปฏิบตั ิงาน
ทางการแพทย์ (FM-ICC๐๑ – ๐๐๖ แกไ้ ขครั้งที่ 05)
4.2 ใหค้ าปรึกษาแกบ่ ุคลากรที่ไดร้ ับอุบตั ิเหตุ
4.3 ผปู้ ่วยมผี ลเลือด Anti-HIV negative บคุ ลากรไม่ต้องรบั ประทานยาต้านไวรสั HIV
4.4 ผู้ปว่ ยมผี ลเลอื ด Anti-HIV positive หรอื inconclusive และบคุ ลากรมคี วามเสีย่ งต่อการตดิ เชื้อ HIV
ให้บคุ ลากรเร่ิมรบั ประทานยาต้านไวรัส HIV เรว็ ท่สี ุดหลงั ได้รับอุบตั ิเหตุ ภายใน ๑ – ๒ ชั่วโมง โดยดาเนินการ ดังนี้
4.4.1 บคุ ลากรขออนมุ ตั ิสทิ ธิแ์ ละสง่ ตรวจเวชศาสตรฉ์ กุ เฉนิ
4.4.2 เจาะเลือดบคุ ลากรตรวจ HIV Combi (rapid test) กอ่ นรบั ประทานยาต้านไวรสั HIV โดย
ใช้ Coding system (E๐๐๑, E๐๐๒...ฯลฯ)
4.4.3 เจาะเลอื ดบุคลากรตรวจ CBC, Cr, SGPT (ALT), Anti-HCV ก่อนรับประทานยาต้านไวรัส HIV
โดยใช้ HN ของบคุ ลากร
4.4.4 แพทยเ์ วรอบุ ตั เิ หตุ (นอกเวลาราชการ) พจิ ารณาสั่งยาตา้ นไวรสั HIV ได้เพยี ง 1 สตู ร โดยใช้
รหัส key ส่ังยาดงั ต่อไปนี้
- RILPIVIRINE (ID+ER) 25 MG TABLET OD
- TENOFOVIR+EMTRICITABINE (ID+ER) 300/200 MG TABLET OD
โดยใช้ HN ของบคุ ลากร และใหย้ าจานวนยาพอเพียง จนถงึ วันพบแพทยผ์ ้เู ชีย่ วชาญในวนั เวลาราชการ
4.5 บุคลากรท่ีตอ้ งรับประทานยาต้านไวรัส HIV รับยาทห่ี อ้ งจา่ ยยาอาคารเพชรรตั น์ ช้นั G และตดิ ตอ่ งาน IC
ในวันเวลาราชการ
54/248
@ n fu v uy{ yl u a r a sr {a 0 :fl u 1 u 1 a u ur i il u r dEJ u a fi uu :rB :r g B96rouunnfld'll
Faculty of [r4edicine Vajira HospitaI Navamindradhiraj University ...rA2.../.'..1.4^.,./...-...,v......./.c./..-..,...
(Hfi.UYi.Qn:1?5 dJ.
rruqvD)
frtirurunr:T:{flurura
,3ou uuer'''uJfrri6"lunr:rflr:virnr:6or{otu{,rhufi1dYun1:airsYolout{ cnecr list ssl bundl.e
U
o. iorqil:va.rri (surgicaI site infection:
o. uAfioq"Lvfr'qna1ni:firi fiur{vorr.1,aflfofi^nrl}J1rr:ilunr:fl0.:#,u4nr:umpr16ofisirurarjrairo''rr
I
SSI)
te. a n dn : r n 1 : Ln n n r : fr q rdo sl'r rrv rir um a r.i r 6'o
*. drcioilaornnr:"l{ Check l.ist rrirn:rvfirfioq'rrfiun1:uffttflo{rYunr:tfin SSI
t,
b. tJou[tnn1:oO1Aruu{1u
o. Check list SSI bundl.e tdriunr:airfr'n open major surgery uav laparoscopic surgery uvirriu
to. lcifluvrI nvri: u.: rulul:{ vr u ru r a
aul
m. LlU'1il614{Yl
a 4 4" u [tUt{00fl m IUO-U g- {U4
m.o fl 1591O [tOvl9l1ttl4il{il101O
6n.o.ol nr:fiordofisiruyrj.:ai'rfr'orfifrryriluavrdo16otfi'frrufii (SuperficiaI incisionat SSI)
nv o{4ilvanuilu n:urllilLnfuei' * to siotrlfi
3 rn- :' q v a (.uril iuu d, u -' o)
rij
rr o n run 1 utu iuua-.: fi'n
uiufiGn. o. or nr : n^ fl * o nl : rir ri r
ol. 6'n
d, a ji^
en.o.o.to rtlunr:fiorf,ovr-fr'lvri.:uavrfio16olfr'firu#tuBu:rufiriro,nrvirriu
.Gn.",.o.m fid'nuruvotirrrioa {o riotilfi
- n'uuo r o o n il'r o r n uri a,.i r o''Fr
- ttunrf&ror'uLo'n1nto{tua?v5ooti!lolaJ-oornttriar,t'1n-'ovAltanus[nuratd A- septic technique
- urflvrdrtjqilrnueia Tnahitd'lirnr:ril1u16'0uaufiornl:vioornr:uaorodrqiou o ourr
d,Ad49
na u?9)v:0nqLou uzuau?}J u9t{1450:0u
- uuu t) q ua vt, d :ifi odu ss t
ry'r-h
dfi a r{Ju{Lrinr
l4lJlutuntri:u cel.|.ul.itis, burn, circumcision, stitch abscess, stab wound uio pin site infection
"uvv
en.o.b nr:mnrfiouzuanirsr'er{urnirfipruavndr:rrfio (deep incisional SSt) fr'o.ra-d'nuruu n:untiltflruryi en
uru,!
lJOFIO LUU
en.o.Lcr.o nl:n^a&^tit'qout4nouoattqunlu"Lu ,o iu raionrulu c(o ?u va.:n1:,'{lrl9l
g & v4 u
en. o. b. [o d, n 1 : - q tt 0 Ji 0 4 O LLA U n il &
?,Ul\.l r,l A1 LU 0
[U U n vl LU tU0
ren.o.b.en fia-nrgrusodrrriou {o riohjfi
- fi r,tu o rtv a q r nt&u16'fi : urir ui ur ru r.i r n-pr
- uzuafiirfrqurunro{y6od'auuy{rdviarrnvrd6urijpruzua uavri'r-hufil{ >end oc ratarjrFr
U
il:onnLauu:r?rutLrua urlLilLqulnl:11\1vrro (frrlirnr:m:?avr160q?unl:rilrvrto v:ai6nr:6uud',rtrivlr-ru6orio
1:nr fi a'i rhi i{r rn ruq{{od)
- ilufl (Abscess) vtoua-noru6ufiuarrtnr:frqrdoornnl:n:?avrulqurr:{rruu,.i'rfr'nlv:J
y:o0a r n n 1 : Fl :? 0 & J d n1 :n :2 1 vn{ uda ? vl u'l
tu 014: 0
ru0 : { fi
Surrnl ledb6n 55/248 IC-odd u Y,; oo ritutu a/a uilt
uffltn:-1fi
@ n 6uv rn^rvr u or an irfi :il u1u1a uilriil ur duurfi uv :rB:rt 96
Faculty of Aledicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
ry94il0r4nd1:
(r.."r.flr.f'u.,.i\l..n'a..n/75"'1t..l?.t5"/)"'"u-"i-l-.q'{"v..l'0' )
{riru':unr:1:.:nurura
,3ou uurr'',uJfrr.i6'lunr:rilr:c5.:nr:6orrdotu{rhufildiunr:rirdqlould crrect< l.ist ssl bundte
U
6n.o.6n nr:onrdofioiurvytotiot1u:rnru"Luirlnraornnr:rirfr'rr (organ/space 5Sl) 6'o.:fid'nuruvnr:u
nuunruryi a {osiotild
En.o.Gn.o n1:a^Sa-i['otou4LqnuaqtvtunlU"Lu *o iu raianrutu c(o?U ua{n1:rilrlfl
d, a g .l j v a , .j< U:t2fU:0Uttr'lAr{lnq
en.o.sn.lo tUUnl:nqttOYlLnU?tO{nuff?UAl.irl ?J0{:1{nlUylann?1r,1?14U.:
ud 4 v X .!qu- nl:il1rl9r
1\{2O 14:0nA1}Jtuovt LO:U
[email protected] fi#nrgruvodr{fiou cio eiohjfi
fl- fi uuo r o a n a 1 n yi o : v u'r u ril{n r atu o r-u r v ui o ti o rTn : r"Lui I { n I u
- uu n ! ru 1 nt o{ o & J no{u? u raiotiolTn:lludrl nr u
tva?u:o tu oar
rfi otd'x Lu0
- fluA (Abscess) yiora#noru6ufiuraevirfinr:finrdoorflnr:n:?ailrlqun:rtruvairfr'o
lrari r,lt o o r n n r : rr :? a rdo rd o rai o n r : n :r o vr r r it f, i rvr a
- du Av tnilfldn1:?aau0auu a ttE0 q vt 5l
ila nufuuvr tt1 nl:Fla Lu:uuu 0? u?u Fl'l{
en.u tfiota{[ild (Wound ctassification) rnj.:rtlu < r.J:vunu 6o
en.to.o C[ean rrzuaairfr'nfitrifinr:fiq16'o tri"Ldnr:airo'fltfiurriu:suuytl{tAuulu'Lo :sul.Jv]1{tAuo1t41:
: uuuvr'r { rfi-ufl aa rr vvto oiu: vf, u il'uii
a,
sn.b.tcr Clean-Contaminated ttzuar.jrnqavarrrfirrjurflout{iuur.rar.irrt-otfiu?fi'u:uuuvt't{LAuu]u"[a :vuu
vnlr6uolyl::uuuvnrufiuflaar:s raiooiurvf;ufi'uii:ufirnr:rirm-ot#fir:vuuvtl{t6ufrn'tiolnaoquav
I
uB r:run r u"[urirno1n uil:rfi c1 nn1:An tdovionr:r]uu{outruv l.ir 6'n
n?1ilauosn1.tocrr.J6no.Crrorrnlataymiorinrzautaeftdifinurz:urJaur.rjfrulfoi'uporrrjnunrflo:ru.ir6rf'l0u:usuzuuvartlt{jtnnuLot-z'ru1a4o'r:rnnr:u1t6z'ui!uaaeIitlrtinfiorrn,trno:6ra'niornu\ rlr:taidt,tirjufrv'nudolrl'rario
en.lo.d Dirty/tnfected uruarird'rranil:nratofir,udo riluuzuafiLi':-ltq9 ri6tvqillriou firflomru finr:firrrdo
r,riofi nr :vr v at o'r rirl#
I
udi,oti
National, NosocomiaI lnfection Surveittance (NNIS) risk
en.m dtfina1il[eu{tnan1:stnttoytttaraairfro
index rrti.:rflunmurdu.: <:v6'u lduri o, o, b, [[ou o,loruorfi'unr:tfinsuuuflodurdul * flodt,do
Gn.6n.o n?ril?uLt:{llo{nr:t5duh d?tt American Society of Anesthesiologist (ASA) uillr{Ju a :vd'tl
: v du o fsi'rh u fi ru{ r r,r: r o- tri fiT: n il : r dr o''r 6 u 1
: c n'u te r!itr-h u fi fiI: n rJ : v sir 6"t fi n ? u n lr o I n 1 :16'6
d'r, d, iu:kifi i: y
rUir-Il : u fi l-T : n rJ : v o'r o'r fi fi o r n 1 : : u tt: { u'.l n fi r.r a ri o n r m rJ : v sr'r
: u pr-u d ouirt-$h u fi l-I: n fi I : u tt: w r n fr o t n r : n r : rr ua in ur o d r.:tn dfr o
:uniudfr'r-hufifrl:ndroruirl#rf,ufiimt6'lut<ri'rhrhi'irov16'iunr:r.ir6'or,rtoh.iSntr
en.en.b Wound class
6n. 6n. m :v u s Llal,.i'16'qilr n n'jr percenti[e fi ora slot nr:rJrrTq tteiavtfi o
fiu:rnr lodbm 56/248 lC-odd ufufltnYir,f;i oo siru'lu lo/a uilt
n6uvurrvlufl 16terir0:ilE rura ilurifl arir'surfi uv:rB:rt {q4rlf,ranar:
Facu[ty of lt,4edicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University 7t1--t2'-
(,rfl.l.J1r.0n:1'ln !uq-Y4-rn)
{,iirurunr:1:viurura
J uuurvrr'r.-t-l-fdruGtunr:rflr:sirnr:fi-or6Zo.1u{.r,J, aufAik,ei!Yunr:aird'olout{ check l.ist ssl bundLe
r3o.r
d. uulu0unnllua{nunltnnl-toYJrndlu.vlu.l}l19ro
<.o nr:rJorrYunr16oudolu:vgvriouiir6'n
d.6).6J .iFra1J1J!u,:ou1.:uou b d'rjordriour.irn-o
d.6).lo n?:.1ou1nonfrraio steroid riouilrd'nuw e[ectlve 9111.]Ll,.un155hulflo.l[tYivlti
<...* ilr6'orirlduavvnirn?ildiuurrJfr6:uvuwit!luvnuravtn;url.irldriour.irm-q
d.o.d o1!d"^"(.itu d% chtorhexidine scruo v'lanirlnlu ttavusriturulfl-o erouLEunouSutiloioutac r{jlu
,; I u
1Uh100 LIAUruA UU[AOr]',ttn t]1! n ouhj #o r r.ir sr-o
d.o.d rilo'otuyso ryTrvr,freo"-r[!uauasLosrJLayt C-,.lipper rrvrufll5Lnu nouU1ry!?u t1]1140.1 'l9lo Lutnu o
t't Lt.t{
<.o.u urinr':cy InruTfl'ri (maLnutrition) Ioul#orur:vrlrjrnvSovrr.:rirld (enteraL nutrition) ltio
rrairlvll{vaoo[6onrirdrui6 parentiaL fi;o totaL parenteraL nutrition d'rJnrr.iriourjror-o
Lul,l{n1u5-nu1n1']vfl'lisl-o i"
d.o.6', )a - io tt0 Lu51{n1u :0LvIta1n0uzu1rlo
l!u'luvl.rn1?vno[80
<.r.< n^:l,fiu^rJfrfituyrfionr:torriunr:fior{o (prophyLactic antibiotics) oalvlnrtdoilt6uasrf,onld
antiblotics rrlluuxylr{ilfr!-fir.t1o:nlufiioflrr.rdouusrjrtorerrusnil!nliflo.lrYuuavn2untnrifiotdolu
I:lr'roruraoio.l:yq'jrrflunr:1ri'antibiotics uuu prophytaxis hirf,u uo u^fi riouarfiourr'[un:nioiollri'drip ar
rulryrlyaoo rSoorirrtiu vancomycin uio fluroquinoLones or:1vl bo-obo urfr riour'jrm-q n:ninr:ajt m-orl{
rxaru'tun'i1 ha[f-[ife ro{ antibiotics raiorf, u r6oolrnn'ir .,doo 6n: nr:l#tn#r dose vrruaoo1600ril tr,au
ldrfiur rr< drhr yair.irn-o'lun:oifiuzuar.irm-nrflurJ:vmv Dirty u;o Infected wound dorrir pus vio tissue
cu[ture ufi otvl Antibiotics fi uvrrsarrYlnr:inurriotr]
d.b n1:ua{fl un1:n- oltJao [ut?.:5sfi ')']{n'ltH'lfl o
d.b.o r.lnarn:lu#ov'irfi'oauqoilroio fi na!zurLuavtlnrJrfl Ltauo{nl#io8o
p .A , vnnl.ZiTalna-! t1"1u:-[']fu14o.irJl0lo
qFaln:r]a.i t!auutotJlrlq
!d.b.b L
d.b.6n qnaln:tufi'orai"d'o6'otl'u5rtu bLldrFurlao:. hlv^15l lr:'tairndolrJ:vo'urrturracdrf,o
d.b.d !nain:1i10?1layo1ofio'[{ur]:rllonrS!rracloiuEurflunar to-d u1fr eirv:-rnr:r.irpr-n:ruuinto.r
iunr:rirnionfzlrio,h\jlraid.irureir, r!tof;rryr.]1ua!y,'lonfrouac{iuttruu!! LfLtutj:{v5o Lt a[cohoI hand rub trYtu
v{0 n}Joo u'r {flnm 0'l0l'll.r? 5 n^:vi.nluuo
d.b.d 6?!1dq{io u d'u ulutilfirrrlt
d.b.b onlirnxlr.raroloiJir?6ufi 'lurilrird'od':u d% chLorhexidine
d.b.6', yl1fi1ilfiwirrrur.irm-nriru to% chtorhexidine in 6'Jo96 alcohol riuurifi{ovluaur:o'[d oo%
povidone-iodine td'rrusrjrlvit{uvnin scrub and paint rJrioufi.ili1#u#lrioualfifl
d.b.d nqilr.l'l drapes [14LlOto [l4tYA0tQYl^ul.Jit?firl.l'rslO
d.to.ci [tusdl t{ Wound-protector devices'lunr:l.irfi'odolvioluelatio CLean-contaminate
,Contaminate, Dirtyllnfected
d.b.oro 5vu'j1{nr:c.itd'otrioanfi roulouai!Fttr oxygen saturation hjrioun'jr otaozo
dulrnr bdu* 57/248 lC oaa uriltn{rfi oo druru n/< vit
@ n ru u rn'{ vr u o r a sr ie 0 :r'{ u 1 u 1 a u ur t vr u r #u u a fi um :rB:r g I1aFr. ilotan61:
Faculty of A/edicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
.....t/.../l...^.'f/,..'r../.,.t./1r'...t.'........
(l.rn.uil.an:1?5 ilil<qdv.5)
{,airurunr:I:wrurura
#.0 urrrl.:rJfrrifi'lunr:rflr:si.:nr:6nr{o"lufr.rJrufildiunl:aird'qTorutd crreck l.ist 5Sl bundl.e
d.lo.oo n?UnlJofuvnil:l{nlULovu >mb oC
n 2 u q il : u d-'!uvvrtiur n r a : s u i 1 { n 1 : r.i 1 rt'q tta v u a { r,l 1 n < ls: o m g/d l.
o oolsd. Lo.
d.lo.oen :yy'jrrnr:l#ar:u'rrrarrirrn6otllfrtfrqnrrv overload nti"L{ lntra-operative goa[-directed
fl uid thera py lu{rJr uvr'fi n?ril tdu.:q{
d.b.od lirntuasorn Subcutaneous tissue rirEJ o..(o/o NSS ejuriourfiutJouzuauavtl'L{ian
adva nced d ressi n g iJ pt ttilara-lr.ir m-n
d.to.od uuvrir'L{tr,tltn6ou antimicrobial. vio Triclosan-coated sutures luriUrJUrufifin:utdul6l"Lu
j .io
n1:tna n1:mq [10iln1 Llvu{ zu1 Flfi
.i a i , S r r u r c q, r s s o \v
d.tE.ob rilf,uuqrfiofir.Jurtiou:vy'jrrnr:air6'nrioutEutJqruzuarirfr'nlnuuonrvnr:airm-ora'rlduavvrrr:u{n
<.m n1:fl o { rYunr:6o r{aturia ua#s n r:air do
d.en.o ou > enb oC
n?Uqilqrux{tl:1{n1uLv
d. en.to lrio o nfr rouTq u n ?u qtJ oxyge n sat u ratio n trjfio u n'jr .(aozo
d.en.en qfinr:lfr prophylactic antibiotics yrl{uaooL6onn'rnru"Lu tEa cj'rlil1 filuuirad'lairrirrovfivio:vtru
d.en.d tinuruaua-rrird'nodrrriou aa 6':hr unt{uurzuafi Discharge rflaulri dressing
d.en.d lirnruavorqfi o tuuu Hygienic ha nd washin g riouua vv#wir uru a air fi'n
d.en.b nt:1i1ttzuailfrlTmtnad'n Aseptic technique uavfinr:riufin#nrgruvu,',laafluuuulflr:st-tnr:fipt
ui"6o"[-u1:uarura (FM lCCoo-ooen *!
ruitclnYlfi u)
d. rnilflttt?-9r
u 6 3 io rrvrir uzua r.ir 6'o (Sta nda rd ized I nfection Ratio : 5l R)
o'n:r tfr ofr oir
nr:fr n
o. COLO (Coton)<o d. HYST (Abdominal hysterectomy) < o
<olo. CHOL (Chotecystectomy) d. KPRO (Knee prosthesis) <o
om. CSEC (Cesarean section) < b. HPRO (Hip prosthesis) < o
b. lond1:rruufrrtr
uru u rJ : v ffi u n r : rJ fr u-fr n r : n r il uu? vl'r { n r : fl 0 { flu n r : fr n rdo fi sl"T uuari l ai r m-q
ronal:d1{a{
Lohsiriwat V, MD, PhD.Guide[ines for the Prevention of Surgicat Site Infection: The Surgical lnfection
Society of Thaitand Recommendation (Executive Summary).JournaL of the A/edicaI Association of
Thail.and.vol..ooen.No.o, January lootoo.
Centers for Disease Contro[ and Prevention. Guide[ine for the Prevention of Surgical Site infection,
loooe'/
Who guidetines on hand hygiene in heatth care.Geneve: wortd Heatth Organization:lcrooc(
n:iln?!qtr1in.ru?ilAfrrufioflarriuuraun?uqlrnr:fierrdo"LuT:{vrulu1a. (vfir ax-a*) ,fiu{nitfi r.
ln : { rvr r,r 1 : dr rin fi d o'n u: n : 1 d fil n Lt o u ri dlt ri, b db m
fiurror lodben lC-odd uruiltnYYl'f;i oo qirulu a/a uilt
58/248
n 6uu Lrl.rvr u ara niafi :Tr u1u 1a uurtu u rfruur fi uu:rB:rt f"iaAu^rihrr"aunla-r':
Faculty of A/edicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University ....../.... ..t.........,...........
dJ.
(r,rfl .uil.nn:1?5 l.JfuqvT 0)
{drurunr:I:uurrra
ruuurJ:vrfiunr:rJfrrifinrilru?il1{n1:florrYunr:fiorfi'osl'rurarjsur.raairfrn (Check List SSI bundl.e)
{Jo-uuat9 na ..............0'ru.............HN..................AN ...............Ward ?uY]r,nFln..........
fl't:r.n9to I:nrJ:vsirgt'") uS uil1uluq(n- lfudh lilru.acf- lurl)
n1:?u0au L:n.
n r :fl o r riu n r : 6 o rdo"[u:v ti c ri o u r.i T er'o ( eiT raiuyr uru T av o airJ r u )
a'l9lu nr:rJfrr.i6 uflun [rJuflusr
o rorawui to a'r.Jorr.i
te {nBlnnnuqnY ilnuu
!l
6n iurJ:vvruu rrJfr fi ruv;irrair e lective co [o n s u rgery
d n r : un6 u u cirldlra qi ri ouri r 6'n ritaYu e tective co [o n s u rge ry
* o',uti', ui'r t, dolo ch lorhexid i ne scru b r6u-r{r
.Ih(uiolnd,ruadrufirs;ruiluriro-otupi':ui6nr:n6rJ Ctipper trirfiu rirllrriouilrfr'o
u9 * s u. Jr
o6'i
LO ttfl Lt n 1 ? vvll'l LntUl n 1 5 ?{ U sl'l 14 fl 0U hl'l 9l O
!
b urfittnrrvnr:rro rfi oluirtnruriour.ir6'o
6( fi n"rd,snr:inur prophytactic antibiotic
o J "Lutuuvi{1aa u e v 4v
rl,0 (d1145u r0114u1ilv4.:9,r1Fro)
n1:u0{nun1:9ro
alnu n1:uruer ilfrfia LilU0ua villuruq(n- rrud tilru.a6f- lufl)
g, uttn!! arn:lu#orriro"oa':rtnrir6'or dnauzur uuavtloilr niravoln"lrifi nfi pr
uirnaln5 qu a !, qLtJaL,aara!Uaoiluactn:0".i :U:uFlut[fl {o
[u140{rJ1r]0!auau
ie uLLavu?lJ0rnnu
d qu d d, do v n1:
UnAln:41{il0 ttttU5.i?'{0ntAULtAv tFltAUtUUt?A'l te-d U1il A1u:Ur.llrlo5rU$:n?JO'i?U
6n
r,ir6'rrnYrrioh.ldrnr:donfio uravfruururuuululfruuJ:rvtoorold atcohotic hand rub td'
d fl?rrq{fi o r, duuuulrifi ufl r
q v'l o n lir n r r u a v o r n uB tr ru fi r vril ri r n-o ri': u dolo c h [o rh ex i d i n e
yrfrau{lu5ncuzurrtlooru toolo chtorhexidine in e'lo% atcoholic /aoo/o povidine-iodine
1Jaou t14ttu{noua{il91
5., n q:r fr'r d ra pes t#fi o 8olri'rv 6 o tafl r v ui t': ru r.i r n-q
urusrjr t{ Wound-protector devices lunr:rirfi'ndotfr'oltfiouzua Ctean-contaminated ,
d
contaminated, Dirly/infected
c( lriur prophyl.actic antibiotics rioualfin bo ulfi
G')o n'tuqil oxygen saturation hjfioun'jr .teozo
@o n?unxrJi!uo!ru14fl fi i1{nr u rilr utvlo d:co-uil n fi > mb oC
ob n:rqu:v6'ur"lrnralur6oo s tooo mg/dt
{onr::vu'jrtnr:"[riar:rirrrasrhun6otu"[riufionrrv overtoad nr:1ci lntra-operative
G)6n goa [-d irected fl uid thera py lu{rJ':trfi fi ntu uf; u lql
od nr:rirnru av o lo Su bcutaeo us ti ssue ri?u o..<o/o n ss ettiuriour6ufl or unr a ua s'Luldiae
advanced dressing iJn rrr.ravdtair6'pr
od utuvrir'l{1vl rn 6 ol a ntim icrobia I uio trictosa n-coate sutu res tu n't'rilrau{a.r
!
6'urrnu t cu* 59/248 FM-lCCoo-obs'l iuilun#1fi oo drulu o/l.o ufi't
tn 6uu rr?'{vr u o r a sr ie 0:n u 1u 1 a uuriil u r delua fi uu :rB:r #HffironaT:
(r",r"PrrZ".u^"i^l'.:0f"-ny":'1"/l?'/"5"'t.J:il'qv''r.5.)
Facu[ty of lvledicine Vajira HospitaI Navamindradhiraj University
fidrurunr:1:ln urula
uuurJ:crfiunr:rJfrffinT ilru?yr'r.:n1:florfrunr:fiordosl'rrur,tri.rruaraairslo (Check l.ist SSI bundle)
{Jo-uuana ..............0ru.............HN..................AN...............Ward. ?uilr,J'19rq....
lt
n T :fl o r riu n r : 6 o rfi atu : v rJ v v a'r r.i r 6'o ( 6ir u iu il u r u 1 a u o rid r u't ufluer [rJu0ust r4xr1 u $rq - dS r.a6- )
a1n! nr:rJfrffi (
nrfu tilu0uet
o n?lnXlOfUflil5lnfllU >enb oC
i1!
le 1#oo n0 roury'th uIn u nrrnu oxyge n satu ration hjrio u n'jr .(aozo
qFnr:lri prophyl.actic antibiotics yryaoo16oosirnrErlu to< t'rTur fir*rivdrr.ird'oovfi
6n
vio:vuru
t'dl rd <a -<uiotJ n ur.r a rad'r r'i r mirr o d ru .X
u n riu uiJ ou ua vtvi a re s s i n g 16'
d lir n': r u a s o r n fi o uuu Hygi e n ic h a n dwa s h i n g ri o u ua v vdll4r uru a ai r m-n
nr:liruzuarJfrfGnuva-n Aseptic technique uacfinr:fufind'nuruvafluuuutflr:vitnr:
f-l0ttJ0" !U *
L5{Y',iU'lU1A
5U?1nil bdben 60/248 FM-lCCoo-obol ruil,tnilfi oo qitu'lu to/tE rarir
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผู้อนมุ ตั เิ อกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University ....................................
(ผศ.นพ.จกั ราวุธ มณีฤทธิ์)
ผอู้ านวยการโรงพยาบาล
แบบประเมินการปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการป้องกันการติดเช้ือตาแหน่งแผลผา่ ตัด (Check list SSI bundle)
ช่ือ-นามสกุล......................................................อายุ.............HN..................AN...............Ward.........................วันทผ่ี ่าตัด.................
การผ่าตัด..................................................โรคประจาตัว....................................การวินิจฉัยโรค..........................................................
กำรปอ้ งกันกำรติดเชื้อในระยะก่อนผ่ำตัด (สำหรับพยำบำลหอผู้ปว่ ย)
ลำดับ กำรปฏิบตั ิ ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ หมำยเหต(ุ กรณีไม่ปฏิบัติ)
1 งดสูบบหุ ร่ี 2 สัปดาห์
2 งดยากดภมู ิคุ้มกัน
3 รบั ประทานยาปฏิชีวนะสาหรับ elective colon surgery
4 การเตรยี มลาใส้ใหญ่ก่อนผ่าตัดสาหรบั elective colon surgery
5 อาบนาด้วย 4% chlorhexidine scrub เย็น-เช้า
6 ไม่โกนขนถ้าจาเปน็ กาจัดขนด้วยวิธีการคลิป Clipper ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
7 ได้แก้ไขภาวะทุพโภชนาการ 1 สัปดาห์ก่อนผ่าตัด
8 แก้ไขภาวะการติดเชือในรา่ งกายก่อนผ่าตัด
9 มีคาสั่งการรักษา prophylactic antibiotic
กำรปอ้ งกันกำรติดเช้ือในระยะผ่ำตัด (สำหรับเจ้ำหนำ้ ที่หอ้ งผ่ำตัด)
ลำดับ กำรปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ หมำยเหต(ุ กรณไี ม่ปฏิบตั ิ)
1 บุคลากรในหอ้ งผ่าตัดสวมชุดผ่าตัด ท่ีคลุมผมและปิดปากและจมูกใหม้ ิดชิด
2 บุคลากรในหอ้ งผ่าตัดเล็บสัน ไม่ใส่เล็บปลอมและเครอื่ งประดับแขนและนิวมือทุกคน
3 บคุ ลากรล้างมือใช้แปรงฟอกเล็บและใต้เล็บเป็นเวลา 2-5 นาที สาหรับผ่าตัดรายแรกของวนั การ
ผ่าตัดครงั ต่อไปทาการฟอกมือ และต้นแขนแบบไม่ใช้แปรงหรืออาจใช้ alcoholic hand rub ได้
4 สวมถุงมือ 2 ชันแบบไม่มีแป้ง
5 ฟอกทาความสะอาดบรเิ วณผิวหนังผ่าตัดด้วย 4% chlorhexidine
6 ทาผิวหนังบริเวณผ่าตัดด้วย 2% chlorhexidine in 70% alcoholic /10% povidine-iodine
ปล่อยใหแ้ หง้ ก่อนลงมีด
7 คลุมผ้า drapes ใหม้ ิดชิดให้เหลือเฉพาะบริเวณผ่าตัด
8 แนะนา ใช้ Wound-protector devices ในการผ่าตัดช่องทอ้ งชนิดแผล Clean-contaminated ,
contaminated, Dirty/infected
9 ให้ยา prophylactic antibiotics ก่อนลงมีด 60 นาที
10 ควบคุม oxygen saturation ไม่น้อยกว่า 95%
11 ควบคุมอุณหภูมิรา่ งกายผู้ป่วยใหอ้ ยู่ระดับปกติ ≥ 36 ºC
12 ควบคุมระดับนาตาลในเลือด ≤ 200 mg/dl
13 ข้อควรระหว่างการให้สารนาและนาเกลือไม่ใหเ้ กิดภาวะ overload ควรใช้ Intra-operative
goal-directed fluid therapy ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง
14 ควรทาความสะอาด Subcutaeous tissue ด้วย 0.9% nss อุ่นก่อนเย็บปิดแผลและไม่ใช้วัสดุ
advanced dressing ปดิ แผลหลังผ่าตัด
15 แนะนาใช้ไหมเคลือบ antimicrobial หรือ triclosan-coate sutures ในผู้ปว่ ยท่ีมีความเสี่ยงสูง
ธนั วาคม 2563 61/248 FM-ICC01-067 แก้ไขครงั ท่ี 00 จานวน 1/2 หน้า
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช ผอู้ นมุ ตั เิ อกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University ....................................
(ผศ.นพ.จักราวุธ มณฤี ทธิ์)
ผอู้ านวยการโรงพยาบาล
แบบประเมินการปฏิบัตติ ามแนวทางการป้องกนั การติดเชอื้ ตาแหน่งแผลผ่าตัด (Check list SSI bundle)
ช่ือ-นามสกุล......................................................อายุ.............HN..................AN...............Ward.........................วันทผ่ี ่าตัด.................
การผ่าตัด..................................................โรคประจาตัว....................................การวินิจฉัยโรค..........................................................
กำรปอ้ งกันกำรติดเชื้อในระยะหลังผ่ำตัด (สำหรับพยำบำลหอผู้ป่วย)
ลำดับ กำรปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ หมำยเหต(ุ กรณไี ม่ปฏบิ ตั ิ)
1 ควบคุมอุณภมู ิรา่ งกาย ≥36 ºC
2 ให้ออกซิเจนผู้ปว่ ยโดยควบคุม oxygen saturation ไม่น้อยกว่า 95%
3 ยุติการให้ prophylactic antibiotics ทางหลอดเลือดดาภายใน 24 ช่ัวโมง ถึงแม้หลังผ่าตัดจะมี
ทอ่ ระบาย
4 ปิดแผลหลังผ่าตัดอย่างน้อย 48 ช่ัวโมง ยกเวน้ เป้ือนแฉะให้ dressing ได้
5 ทาความสะอาดมือแบบ Hygienic handwashing ก่อนและหลังทาแผลผ่าตัด
6 การทาแผลปฏิบัติตามหลัก Aseptic technique และมีการบนั ทึกลักษณะลงในแบบเฝ้าระวังการ
ติดเชือในโรงพยาบาล
ธนั วาคม 2563 62/248 FM-ICC01-067 แก้ไขครังท่ี 00 จานวน 2/2 หน้า
Goal (2.2)
1. WI-NUR01-ETtube-01
2. WI-NUR01-ETtube-02
3. WI-NUR01-ETtube-03
4. WI-NUR-ETtube-05
5. WI-NUR01-004
6. IC-046
7. FM-ICC01-060
63/248
วธิ ีปฏิบตั ิงาน หนา้ : 1/4
เร่ือง : การเตรยี มและชว่ ยใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ รหสั เอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-01
ชือ่ หน่วยงาน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลวชริ พยาบาล ทบทวนคร้งั ที่ : 01
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธริ าช วันที่ทบทวน : 3 เม.ย. 2560
วันทีอ่ นมุ ัติ : 3 เม.ย. 2560
ผ้จู ดั ทา : คณะกรรมการการเลอ่ื นหลดุ ท่อช่วยหายใจ ฝา่ ยการพยาบาล
ผอู้ นุมตั ิ :
หวั หน้าพยาบาล
1. วัตถปุ ระสงค์
เพอื่ ใหผ้ ูป้ ว่ ยไดร้ บั การใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจรวดเร็ว ปลอดภัยและถูกวิธี
2. ขอบเขต / กลุ่มเปา้ หมาย
ครอบคลมุ ผู้ปว่ ยทตี่ ้องใสท่ ่อชว่ ยหายใจทางปาก/ทางจมกู ทุกราย
3. คาจากดั ความ
การใสท่ ่อช่วยหายใจ หมายถึง การใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ ซ่งึ สามารถใส่ไดท้ ้ังทางปากหรือจมูก
4. ผรู้ บั ผิดชอบ
พยาบาลวิชาชพี
5. อุปกรณ์และเคร่ืองใช้
5.1 Laryngoscope
5.1.1 blade ตรงและ blade โคง้ เบอร์ 0-2 ใชใ้ นเดก็ และเบอร์ 3 หรือ 4 ใช้ในผูใ้ หญ่
5.1.2 ดา้ ม ( handle) ขนาดเล็กสาหรบั เดก็ และขนาดใหญ่สาหรบั ผ้ใู หญ่
5.2 ทอ่ ชว่ ยหายใจขนาดตา่ งๆ ตามชว่ งอายุดังแสดงในตารางขา้ งลา่ งและควรเตรียมขนาดทใี่ หญแ่ ละ
เล็กกวา่ ขนาดที่จะใชส้ ารองไว้ให้พร้อมอีกอยา่ งละเบอร์
5.3 Self inflating bag C Reservior bag ( Anesthic circuit สาหรบั วสิ ัญญี ) C mask
5.4 ชุดใส่ท่อชว่ ยหายใจ
5.5 ท่อเปิดการเดนิ หายใจทางปาก ( oral airway )
5.6 guide wire หรือ stylet
5.7 สายดดู เสมหะปลอดเช้ือ
5.8 Syringe 10 cc. สาหรบั blow cuff
5.9 K-Y jelly sterile
5.10 Stethoscope
64/248
วิธีปฏบิ ัตงิ าน หนา้ : 2/4
เร่อื ง : การเตรยี มและช่วยใสท่ อ่ ช่วยหายใจ รหัสเอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-01
ทบทวนครั้งที่ : 01
5.11 Plaster และ Hernia tape
5.12 ถุงมือ Sterile
5.13 Magill forcep
5.14 อุปกรณว์ ัด Pressure cuff
5.15 Monitor ได้แก่ เคร่ืองวดั ความดันโลหิต, เครอื่ งวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ( ถ้ามี ),.Pulse oximetey
( ถา้ มี )
6. วธิ ีการดาเนินงาน
6.1 ทดสอบความพร้อมใช้ของ Laryngoscope
6.2 จดั เตรยี มอปุ กรณ์ต่างๆดงั กล่าวให้ครบ วางอยู่บริเวณเดียวกันและอยใู่ นตาแหน่งทผ่ี ใู้ ส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ
สามารถหยบิ ใช้งานไดง้ ่ายและรวดเรว็
6.3 ทดสอบการร่วั ของ cuff ของท่อช่วยหายใจโดยใช้ Syringe สาหรับ blow cuff inflate ลมเขา้ cuff
จนโปง่ ตวั แล้วทิ้งไว้ประมาณ 2 วนิ าที จึง deflate ลมออกให้หมด
6.4 หลอ่ ลื่นบรเิ วณปลายท่อชว่ ยหายใจดว้ ย K-Y jelly ดว้ ยเทคนิค sterile
6.5 ติดอุปกรณ์สาหรับ monitor ผู้ปว่ ยและวดั ค่าก่อนใสท่ อ่ ช่วยหายใจ
6.6 ปรับระดับเตียงให้ใบหน้าของผู้ป่วยอยู่สูงเท่าระดับอกของผู้ใส่ท่อช่วยหายใจ ( กรณีเตียงสามารถ
ปรบั ได้ )
6.7 จัดท่าของศีรษะผู้ป่วยให้เหมาะสม และแหงนคอเล็กน้อย ยกเว้นในรายที่มีหรือสงสัยว่าน่าจะมี
Cervical spine injury ต้องให้ศีรษะผู้ป่วยอยู่น่ิงและขณะใส่ท่อช่วยหายใจจะต้องมีผู้ช่วยอีกคนช่วยยึดศีรษะ
ของผู้ป่วยไมใ่ หเ้ คล่ือนที่
6.8 ต่อสายดูดเสมหะเข้ากับเคร่ืองดูดเสมหะให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ทันที และคอยช่วยดูดเสมหะ
หากมีการสาลัก อาเจยี น หรอื มสี งิ่ คดั หลั่งจานวนมากในปาก
6.9 สังเกตค่าต่างๆจากเคร่ืองวัดขณะแพทย์/วิสัญญีแพทย์/วิสัญญีพยาบาล ใส่ท่อช่วยหายใจ หาก
ผิดปกติ รบี รายงานทนั ที
6.10 หลังใส่ท่อช่วยหายใจดูดเสมหะในท่อช่วยหายใจโดยเปล่ียนสายใหม่ และ Hyperventilate ให้
แพทย์ฟังปอด 2 ขา้ ง
6.11 ยึดทอ่ ช่วยหายใจภายหลังใสท่ ่อช่วยหายใจสาเร็จและอยูใ่ นตาแหน่งทีถ่ ูกตอ้ ง
65/248
วธิ ีปฏิบัตงิ าน หนา้ : 3/4
เรอ่ื ง : การเตรียมและชว่ ยใส่ท่อช่วยหายใจ รหัสเอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-01
ทบทวนคร้งั ที่ : 01
6.12 บันทึกตาแหนง่ และขนาดของท่อชว่ ยหายใจรวมถึง cuff pressure ในบันทึก
6.13 ติดตามผล X-ray และรายงานแพทย์
หมายเหตุ
ขนาดของทอ่ ชว่ ยหายใจท่ีใช้สาหรบั ผูป้ ว่ ยในช่วงอายตุ ่างๆ
อายุ นาหนกั ขนาดของทอ่ ช่วย สตู รการคานวณ ระยะความลกึ ของ
ท่อช่วยหายใจถึงริม
( Weight ) หายใจ ขนาดของทอ่ ช่วย
ฝปี าก
( ID ) หายใจ
ระยะความลกึ
ทารกคลอดก่อน < 1,000 gms 2.5 / uncuffed = ID*3
กาหนด 1,000-2,000 gms 3.0 / uncuffed ในเด็กอายตุ า่ กวา่ 6 ปี ในผูใ้ หญร่ ะยะ
ทารกแรกคลอดครบ 2,000-3,000,gms 3.5 / uncuffed ความลกึ 20-22 cm.
กาหนด1-6 เดอื น 3,000-4,000 gms 4.0 / uncuffed ใชส้ ตู ร = อายุเป็นปี +
6-12 เดือน 4,000 gms ขนึ้ ไป 4.5 / uncuffed 3.75 3
2 ปี 5.0 / uncuffed ในเด็กอายมุ ากกวา่ 6 ปี
4 ปี 5.5 /cuffed/uncuffed ใช้สูตร = อายุเป็นปี +
6 ปี 6.5 /cuffed/uncuffed 4.5 4
8 ปี 7.0 / cuffed
10 ปี 7.5 / cuffed
12 ปี ผู้ชาย 8.0
> 14 ปี ผู้หญงิ 7.5
ผหู้ ญิงตงั้ ครรภ์ 7.0
** บวกอีก 2-3 cm.
ถา้ ใสท่ ่อช่วยหายใจทาง
จมูก
7. เคร่ืองชีวัดคณุ ภาพ
จานวนครง้ั ของการเตรยี มใส่ทอ่ ช่วยหายใจได้ถกู ต้อง และพร้อมใช้
66/248
วิธีปฏิบัติงาน หน้า : 4/4
เรือ่ ง : การเตรยี มและช่วยใส่ท่อชว่ ยหายใจ รหัสเอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-01
ทบทวนคร้งั ที่ : 01
8. เอกสารอา้ งอิง
กองการพยาบาล. (2542). มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: สามเจรญิ พานชิ .
วรรณา สมบรู ณว์ ิบูลย์ และคณะ. (2543). วสิ ญั ญพี ื้นฐาน. กรงุ เทพฯ: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พบั ลเิ คชั่น.
วรรณา สวุ รรณจินดา และอังกาบ ปราการรตั น.์ (2538.) ตาราวสิ ญั ญีวิทยา. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2). กรงุ เทพฯ:
กรุงเทพเวชสาร.
อมรา พานิช และมยรุ ี วศินานุกร. (2535). วสิ ญั ญีวทิ ยา. กรงุ เทพฯ: โอ เอส พร้นิ ต้งิ เฮ้าส์.
ทีมพยาบาลทารกแรกเกดิ โรงพยาบาลรามาธิบดี. (2555). คู่มือการเตรียมทารกแรกเกิดสาหรบั การเคล่ือนย้าย.
กรงุ เทพฯ. ชมรมเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดแห่งประเทศไทย.
67/248
วธิ ปี ฏิบัตงิ าน หนา้ : 1/3
เร่อื ง : การดแู ลผูป้ ว่ ยทีใ่ สท่ อ่ ช่วยหายใจ
รหัสเอกสาร :
(Endotracheal tube) WI-NUR01-ETtube-02
ทบทวนคร้ังที่ : 01
ชอื่ หน่วยงาน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลวชิรพยาบาล วนั ท่ีทบทวน : 3 เม.ย. 2560
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช วนั ทีอ่ นุมัติ : 3 เม.ย. 2560
ผจู้ ดั ทา : คณะกรรมการการเล่ือนหลดุ ท่อช่วยหายใจ ฝ่ายการพยาบาล ผ้อู นุมตั ิ :
หัวหน้าพยาบาล
1. วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพอ่ื ให้ผปู้ ว่ ยไดร้ บั ออกซิเจนอยา่ งเพียงพอกบั ความตอ้ งการของร่างกาย
1.2 เพ่อื เปิดทางเดนิ หายใจและระบายเสมหะ
1.3 เพ่อื ใหผ้ ู้ปว่ ยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนของการใสท่ ่อช่วยหายใจ
2. ขอบเขต/กลุ่มเป้าหมาย
ครอบคลุมผ้ปู ว่ ยที่ใสท่ ่อชว่ ยหายใจทกุ ราย
3. คาจากัดความ
การใส่ท่อช่วยหายใจ หมายถึงการใส่ทอ่ เขา้ ไปในหลอดลมโดยตรง โดยใชท้ ่อ Endotracheal tube (E-T tube)
ซ่งึ อาจใสผ่ ่านทางปาก (Orotracheal intubation) หรือผา่ นทางจมูก (Nasotracheal intubation)
4. ผ้รู ับผดิ ชอบ
พยาบาลวชิ าชพี
5. อุปกรณแ์ ละเครือ่ งใช้
5.1 ชุดดูดเสมหะ
5.2 อุปกรณ์สาหรบั ช่วยหายใจโดยใช้มอื บีบ (Self inflating bag and reservoir bag)
5.3 Oropharyngeal airway
5.4 Syringe ขนาด 10 ml
5.5 Stethoscope
5.6 Plaster หรอื เชอื กผูกทอ่ ชว่ ยหายใจ
5.7 กรรไกร
5.8 ถงุ /ภาชนะรองรับขยะติดเชอ้ื
5.9 อุปกรณว์ ัด cuff pressure (cuff pressure manometer)
5.10 ชุดทาความสะอาดปากและฟัน
68/248
วธิ ีปฏบิ ัติงาน หน้า : 2/3
เรอ่ื ง : การดูแลผ้ปู ่วยทีใ่ ส่ท่อชว่ ยหายใจ
รหัสเอกสาร :
(Endotracheal tube) WI-NUR01-ETtube-02
ทบทวนครัง้ ท่ี : 01
6. วิธดี าเนนิ งาน
6.1 ประเมนิ สภาพท่ัวไปของผูป้ ว่ ย
6.2 สังเกตอาการและบันทึกสัญญาณชีพ ถา้ พบวา่ ผิดปกติ เช่นหายใจเหน่ือยหอบ ชีพจรเรว็ รายงานแพทย์
6.3 ดดู เสมหะเม่อื พบว่ามเี สมหะในหลอดลมคอ พรอ้ มทัง้ บันทึกลกั ษณะสี และจานวนของเสมหะ
6.4 ประเมนิ โอกาสเส่ยี งตอ่ การดึงทอ่ ชว่ ยหายใจ
6.5 ดแู ลใสล่ มใน pressure cuff และตรวจสอบ pressure cuff ไม่ควรเกนิ 25-30 เซนติเมตรนา้ อย่างน้อย
ทุก 8 ชั่วโมง
6.6 ฟงั เสยี งลมหายใจผา่ นทรวงอกทงั้ 2 ข้างว่าไดย้ นิ เสียงลมหายใจเข้าเทา่ กนั ท้ัง 2 ข้าง
6.7 ดูแลท่อชว่ ยหายใจไม่ให้เลื่อนหลดุ และอยตู่ รงตาแหน่งทก่ี าหนดดว้ ย plaster หรอื เชอื กให้เรยี บร้อย
โดยเปล่ียนเชอื กหรือ plaster วันละคร้ังและเม่ือสกปรก
6.8 ดูแลท่อช่วยหายใจและสาย circuit ของเครื่องชว่ ยหายใจไม่ให้หกั พับงอ หรอื ดึงร้ัง
6.9 ดแู ลทาความสะอาดปากและฟันให้ผู้ปว่ ยอย่างนอ้ ยทุก 8 ช่ัวโมง
6.10 สังเกต บันทึกอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย ดังนี้
6.10.1 สังเกตอาการและบนั ทึกสัญญาณชพี
6.10.2 ลกั ษณะสีผวิ รมิ ฝีปาก อณุ หภมู ขิ องอวยั วะสว่ นปลาย
6.11 ติดตามและประเมินตาแหนง่ ทอ่ ชว่ ยหายใจจาก Chest x-ray และตรวจสอบตาแหนง่ ทกุ ครั้งหลงั
ใหก้ ารพยาบาล
6.12 สง่ ตรวจและตดิ ตามผล ค่าความดันของก๊าซในหลอดเลอื ดแดง (ABG) ตามแผนการรกั ษา
7. เคร่อื งช้ีวัดคณุ ภาพ
7.1 ค่าความอิ่มตวั ของออกซิเจนในหลอดเลือดแดง
7.2 อัตราการเกิดปอดอักเสบจากการใสท่ ่อช่วยหายใจ
7.3 อตั ราการเกดิ ภาวะเสมหะอุดกน้ั
8. เอกสารอ้างอิง
นรตุ ม์ เรอื นอนุกุล. (2551). การบาบดั ระบบหายใจในเวชปฏิบตั ิ. (พิมพ์ครงั้ ที่ 1). กรงุ เทพ: บ.บยี อนด์
เอ็นเทอรไ์ พรซ์ จากดั .
นลิน โชคงามวงศ์. (2557). The Smart ICU. (พิมพ์คร้งั ท่ี 1). กรุงเทพ: บ.บยี อนด์เอ็นเทอรไ์ พรซ์ จากดั .
69/248
วิธีปฏบิ ัตงิ าน หน้า : 3/3
เรอ่ื ง : การดูแลผู้ป่วยที่ใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ รหสั เอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-02
(Endotracheal tube) ทบทวนครั้งท่ี : 01
Kovacs G., JA Law, et al. (2004). Acute airway management in the emergency department by
Non-anesthesiologists. Canadian journal of anesthesia, 51, 174-180.
Keir J., Warner BS, et al. (2009). Management of the difficult airway : A prospective cohort study.
The Journal of Emergency Medicine, 36, 257-265.
70/248
วิธีปฏิบตั ิงาน หน้า : 1/4
เรื่อง : การดแู ลผปู้ ่วยทใ่ี ช้เครือ่ งช่วยหายใจ รหสั เอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-03
ชือ่ หน่วยงาน : ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลวชริ พยาบาล ทบทวนครัง้ ที่ : 01
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช วนั ท่ีทบทวน : 3 เม.ย. 2560
วันท่อี นมุ ัติ : 3 เม.ย. 2560
ผู้จัดทา : คณะกรรมการการเลอ่ื นหลดุ ท่อช่วยหายใจ ฝา่ ยการพยาบาล
ผู้อนมุ ัติ :
หวั หน้าพยาบาล
1. วัตถุประสงค์
1.1 เพ่อื ใหผ้ ปู้ ว่ ยได้รับออกซิเจนอยา่ งเพยี งพอกับความต้องการของร่างกาย
1.1 เพ่ือใหเ้ น้ือเยื้อตา่ งๆของร่างกายได้รบั ออกซเิ จนเพยี งพอ
1.2 เพื่อลดการทางานของกลา้ มเน้ือหายใจและปอด
1.3 เพอ่ื ให้ผู้ป่วยปลอดภยั จากภาวะแทรกซ้อนจากการใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ
2. ขอบเขต/กลุ่มเป้าหมาย
ครอบคลุมผูป้ ว่ ยทไี่ ด้รับการรักษาด้วยการใส่ทอ่ ช่วยหายใจหรือท่อหลอดลมคอทุกราย
3. คาจากัดความ
เครื่องช่วยหายใจ หมายถงึ อุปกรณท์ ใ่ี ช้เทคนิคในการปรบั ความดนั ในทางเดนิ หายใจ
ผปู้ ่วยท่ีใชเ้ ครื่องชว่ ยหายใจ หมายถึง ผปู้ ่วยที่ใสท่ ่อหลอดลม/ทอ่ ชว่ ยหายใจร่วมกับการใช้เครื่องช่วยหายใจ
4. ผ้รู บั ผิดชอบ
พยาบาลวิชาชพี
5. อุปกรณแ์ ละเครื่องใช้
5.1 เครื่องช่วยหายใจและชุดสายเคร่อื งช่วยหายใจ
5.2 อุปกรณ์สาหรับช่วยหายโดยใช้มือบบี (Self inflating bag and reservoir bag)
5.3 ปอดเทียม (Test lung)
5.4 Sterile water
5.5 ชดุ ดูดเสมหะ
5.6 Spirometer
5.7 เครอ่ื งวัดคา่ ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง (Pulse oximeter)
5.8 เคร่ืองตดิ ตามคลืน่ ไฟฟ้าหัวใจแบบตอ่ เน่ือง (EKG-Monitor) หรอื EKG 12 lead (ถ้าม)ี
71/248
วิธปี ฏบิ ตั ิงาน หน้า : 2/4
เรอ่ื ง : การดแู ลผปู้ ว่ ยทใี่ ชเ้ ครอื่ งชว่ ยหายใจ รหัสเอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-03
ทบทวนครง้ั ที่ : 01
5.9 Stethoscope
5.10 เคร่อื งวัดความดนั
5.11 Plaster หรอื เชอื กผูกท่อหลอดลมคอ/ท่อชว่ ยหายใจ
5.12 กรรไกร
5.13 Oropharyngeal airway
5.14 Syringe ขนาด 5 ml, 10 ml, และ 20 ml
5.15 อุปกรณ์วัด cuff pressure (cuff pressure manometer)
5.16 ชดุ ทาความสะอาดปากและฟัน
6. วิธีการดาเนินงาน
6.1 การดูแลเครอื่ งชว่ ยหายใจ
6.1.1 ดแู ลใหท้ อ่ หลอดลมคอ/ทอ่ ชว่ ยหายใจที่ต่อกับเคร่ืองช่วยหายใจอยใู่ นตาแหน่งท่ีกาหนด
6.1.2 ดแู ลให้เครอ่ื งชว่ ยหายใจทางานตามแผนการรกั ษาของแพทย์
6.1.3 บันทกึ ขอ้ มูลการตง้ั และปรบั เปล่ียนเครื่องช่วยหายใจทกุ คร้ัง พรอ้ มชือ่ แพทย์และพยาบาล
ผ้ปู ฏิบัติตามแผนการรักษาลงใน Ventilator setting record และบันทึกตรวจสอบข้อมูลการปรบั เปล่ียนเคร่ือง
ครงั้ สดุ ทา้ ยทุก 2 ชว่ั โมง
6.1.4 ตรวจสอบน้าในทด่ี ักน้า (water tap) หรอื ในสายเคร่ืองชว่ ยหายใจ (ventilator tubing)
ถ้ามนี ้าให้เท นา้ ดว้ ยเทคนิคปลอดเชื้อลงในภาชนะรองรบั ที่มีฝาปิดเปน็ ระยะๆ
6.1.5 เปลี่ยนชดุ สายเคร่ืองชว่ ยหายใจตามแนวปฏบิ ตั ิคณะกรรมการควบคุมโรคตดิ เชอ้ื
6.1.6 ดูแลใหม้ ีนา้ อยู่ในเคร่ืองควบคมุ ความชืน้ (humidifier) ตามมาตรฐาน และปรบั อุณหภมู ิ
34 – 41 องศาเซลเซียส
6.1.7 จัดสายต่อเคร่อื งชว่ ยหายใจไมใ่ หด้ งึ รง้ั หรอื หกั พับ งอ
6.1.8 ดแู ลลมใน pressure cuff ไมใ่ หเ้ กิน 25-30 เซนตเิ มตรนา้ อยา่ งน้อยทุก 8 ช่ัวโมง
6.2 การดูแลผปู้ ว่ ยขณะใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจ
6.2.1 ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ ระดบั ความรู้สกึ ตัว คา่ ความอิม่ ตัวของออกซิเจนในเลือดแดง
คล่นื ไฟฟ้าหวั ใจทุก 1 ชัว่ โมง ถา้ พบอาการผดิ ปกติต้องติดตามทุก 15 นาที หรอื 30 นาที จนกวา่ จะอยู่ในเกณฑ์ปกติ
72/248
วิธีปฏบิ ัติงาน หนา้ : 3/4
เรื่อง : การดแู ลผ้ปู ่วยทใี่ ชเ้ คร่ืองช่วยหายใจ รหสั เอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-03
ทบทวนครงั้ ที่ : 01
6.2.2 ประเมินและบันทกึ ทางเดนิ หายใจโดย
6.2.2.1 สังเกตอัตราการหายใจ ลักษณะการหายใจ และการเคล่ือนไหวของทรวงอก
6.2.2.2 ฟงั เสยี งปอดหรือเสียงการหายใจอย่างน้อยทุก 8 ช่วั โมง และเมอื่ มีอาการผิดปกติ
6.2.2.3 ตรวจสอบและบันทึกตาแหนง่ และขนาดของท่อชว่ ยหายใจอย่างน้อยทุก 8 ช่วั โมง
6.2.3 บันทึกลักษณะของสีผวิ ความชืน้ ความอุ่น บรเิ วณปลายมอื ปลายเทา้ ทุก 1 ชว่ั โมง
6.2.4 ดูดเสมหะทกุ 2 ชว่ั โมง หรือเมื่อจาเปน็ สงั เกตและบนั ทึกจานวน ลักษณะ สี กลิ่น
6.2.5 จัดทา่ นอนผปู้ ว่ ยในทา่ ศรี ษะสูง 30-45 องศา ในกรณไี ม่มขี อ้ หา้ มของแผนการรักษา และ
เปล่ียนท่านอนทกุ 2 ช่ัวโมง
6.2.6 เคาะปอด กระตนุ้ ใหห้ ายใจเขา้ – ออกลกึ ๆ และไออย่างถกู วธิ ี ทาการส่นั สะเทอื นปอด
ทุก 2 ชว่ั โมง ในกรณีไม่มขี ้อห้ามของแผนการรกั ษา
6.2.7 บนั ทึกปญั หาทพ่ี บขณะใชเ้ ครือ่ งชว่ ยหายใจ ได้แก่ การหายใจของผู้ป่วยไม่สัมพันธ์กบั
เครอ่ื งชว่ ยหายใจ ตอ้ งรบี หาสาเหตจุ ากผู้ปว่ ย หรือจากการทางานของเครื่องช่วยหายใจและรายงานแพทย์
6.2.8 ดแู ลทาความสะอาดช่องปากและฟนั ใหผ้ ูป้ ่วยอย่างน้อยทุก 8 ช่ัวโมง
6.2.9 ใหข้ ้อมลู ผู้ปว่ ยและญาติ แนะนาและสอนวธิ ีการตดิ ตอ่ ส่อื สารกับผอู้ ่ืนตามสภาพของผปู้ ว่ ย
6.2.10 สง่ ตรวจและติดตามผลคา่ ความดันกา๊ ซในหลอดเลอื ดแดง ตามแผนการรกั ษา
6.2.11 ตดิ ตามผล Chest x-ray ตามแผนการรักษา
7. เครื่องช้วี ดั คณุ ภาพ
7.1 คา่ ความอิ่มตวั ของออกซเิ จนในหลอดเลือดแดง
7.2 อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครอ่ื งชว่ ยหายใจ
8. เอกสารอา้ งอิง
ทนันชยั บุญบูรพา. (2551). การบาบัดระบบหายใจในเวชปฏิบัติ. (พิมพ์ครงั้ ที่ 1). กรงุ เทพ: บ.บียอนด์ เอ็น
เทอร์ไพรซ์ จากัด.
เพชร วัชรสนิ ธ์ุ. (2552). การติดตามสภาวะทางระบบหายใจทคี่ วรทราบเมือ่ ต้องดแู ลผปู้ ่วยทใี่ ชเ้ คร่ืองชว่ ยหายใจ.
Basic to advanced Ventilator and Hemodynamic Management : Monitoring in
73/248
Mechanical Ventilated Patient. (พมิ พค์ ร้ังที่ 1). กรงุ เทพ: บ.บียอนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ์ จากดั .
วธิ ีปฏิบัตงิ าน หนา้ : 4/4
เร่ือง : การดูแลผู้ปว่ ยท่ใี ช้เครือ่ งช่วยหายใจ รหสั เอกสาร :
WI-NUR01-ETtube-03
ทบทวนครง้ั ที่ : 01
รฐั ภมู ิ ชามพูนท. (2553). alarm sign. Critical care : At difficult time. (พมิ พค์ รั้งท่ี 1). กรงุ เทพ: บ.บยี อนด์
เอน็ เทอร์ไพรซ์ จากัด.
ทนนั ชยั บุญบรู พา. (2557). The Smart ICU. (พมิ พ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพ: บ.บยี อนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ์ จากดั .
Ruben D Restrepo, Brain K Walsh. (2012). AARC Clinical Practice Guideline: Humidification
During Invasive and Noninvasive Mechanical Ventilation. Respiratory Care. 57, 782-788.
74/248
วิธปี ฏบิ ตั งิ าน หนา้ : 1/2
เร่อื ง : การป้องกนั การเล่อื นหลุดของท่อช่วยหายใจ รหัสเอกสาร :
ทางปาก/จมูก WI-NUR01-ETtube-05
ทบทวนครัง้ ที่ : 01
ชอื่ หน่วยงาน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลวชริ พยาบาล วนั ท่ีทบทวน : 3 เม.ย. 2560
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช วันท่ีอนมุ ัติ : 3 เม.ย. 2560
ผ้จู ัดทา : คณะกรรมการการเลือ่ นหลดุ ท่อช่วยหายใจ ฝา่ ยการพยาบาล ผู้อนุมัติ :
หัวหน้าพยาบาล
1. วัตถุประสงค์
เพอื่ ป้องกันการเลือ่ นหลุดของท่อช่วยหายใจ
2. ขอบเขต/กลมุ่ เป้าหมาย
ครอบคลุมการป้องกันการเลอื่ นหลดุ ของท่อชว่ ยหายใจ สาหรับผู้ป่วยทีใ่ สท่ อ่ หายใจทกุ ราย
3. ผ้รู บั ผิดชอบ
พยาบาลวิชาชีพ/พยาบาลเทคนคิ /เจา้ หนา้ ทพี่ ยาบาล
4. อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งใช้
1. Syringe ขนาด 10 มล. และอุปกรณ์วดั pressure cuff
2. อปุ กรณผ์ ูกยึดท่อชว่ ยหายใจ ได้แก่ พลาสเตอร์ผ้า และ hernia tape
3. Manometer
4. Lowgan Bow (กรณีผปู้ ่วยเด็กโต)
5. กระดาษกาว/เหลก็ ยึดสายอปุ กรณ์เครื่องช่วยหายใจ (กรณีผปู้ ่วยเดก็ )
6. อุปกรณส์ าหรบั การผูกยดึ ผปู้ ่วย ได้แก่ ผา้ ผกู ยดึ ทบ่ี ุดว้ ยฟองน้า เสอ้ื สามารถ
7. “คาแนะนาสาหรบั ผ้ปู ว่ ยทใี่ ส่ทอ่ ชว่ ยหายใจและญาติ”
8. แผน่ ภาพ “คมู่ ือภาพประกอบการสือ่ สาร”
9. อปุ กรณ์เคร่อื งเขียน
5. วธิ ีการดาเนนิ งาน
5.1 ดแู ลใหผ้ ปู้ ่วยและญาติคลายความวิตกกงั วลและสามารถปฏิบตั ิตนได้ถูกต้อง โดย
5.1.1 ให้คาแนะนาผู้ปว่ ยและญาตทิ ราบถึงประโยชน์ ความจาเปน็ ในการใส่ท่อช่วยหายใจ และอนั ตราย
ที่เกิดจากการเล่ือนหลุดของท่อชว่ ยหายใจ โดยเปิดโอกาสให้ผปู้ ว่ ยและญาตซิ กั ถามข้อสงสยั
5.1.2 แนะนาถึงขอ้ ปฎบิ ตั ทิ ี่ผู้ปว่ ยและญาตสิ ามารถทาได้ ขณะผู้ปว่ ยใสท่ ่อชว่ ยหายใจ
5.1.3 สอนผปู้ ่วยถึงวธิ กี ารส่อื สารแทนการใชเ้ สียง ในขณะทยี่ ังใส่ท่อชว่ ยหายใจ
5.1.3.1 กรณผี ู้ปว่ ยรู้สกึ ตัว สามารถเขียนหนังสือได้ สือ่ สารโดยการเขยี น
5.1.3.2 กรณีผูป้ ่วยรู้สึกตวั แต่เขยี นหนงั สอื ไม่ได้ ใหใ้ ช้ท่าทางประกอบ อ่านรมิ ฝปี าก หรือใช้ “คมู่ ือ
ภาพประกอบการส่ือสาร”
75/248
วธิ ปี ฏิบัตงิ าน หนา้ : 2/2
เรอ่ื ง : การป้องกันการเลื่อนหลดุ ของท่อชว่ ยหายใจ รหสั เอกสาร :
ทางปาก/ จมูก WI-NUR01-ETtube-05
ทบทวนครั้งที่ : 01
5.1.4 ประเมินและตอบสนองความตอ้ งการของผปู้ ่วยอย่างรวดเรว็
5.1.5 อธบิ ายใหผ้ ู้ปว่ ยทราบทกุ คร้ังกอ่ นใหก้ ารพยาบาล กรณเี ปลีย่ น position ต้องใชพ้ ยาบาลอยา่ งนอ้ ย 2 คน
5.2 อธบิ ายผ้ปู ่วยและญาติตาม “คาแนะนาสาหรบั ผปู้ ว่ ยท่ีใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจและญาติ”
5.3 ผูกยดึ ทอ่ ชว่ ยหายใจตามคมู่ อื “เทคนิคการผูกยึดท่อชว่ ยหายใจด้วยพาสเตอรผ์ ้าและ hernia tape” และ
“เทคนคิ การผูกยึดทอ่ ชว่ ยหายใจในผ้ปู ว่ ยเดก็ ” กรณีผู้ป่วยใสท่ ่อช่วยหายใจทางปาก ผูกยดึ ท่อช่วยหายใจตามคูม่ ือ
โดยเปลยี่ นพลาสเตอรผ์ า้ และ Hernia tape ทุกวนั และทุกคร้งั ทสี่ กปรก หรือหลุดลอกของพลาสเตอรผ์ ้า ถา้ ผู้ป่วย
แพ้พลาสเตอรผ์ า้ หรือมโี อกาสเส่ยี งต่อการเกิดแผลจากการตดิ พลาสเตอรผ์ ้า ใหผ้ ูกยึดท่อชว่ ยหายใจเฉพาะ hernia tape
5.4 ตรวจสอบท่อช่วยหายใจใหอ้ ยู่ในตาแหนง่ ที่กาหนดทุกครง้ั ที่ให้การพยาบาล และอย่างน้อยทุก 1 ชัว่ โมง
ตามความเหมาะสมของผูป้ ่วยแตล่ ะราย
5.5 วดั pressure cuff ทกุ 8 ชวั่ โมง
5.6 ลดการดงึ ร้งั ของท่อชว่ ยหายใจ
5.7 ประเมนิ ระดับความรสู้ กึ ตัวของผปู้ ่วยทุกเวร เพอื่ เฝ้าระวังผปู้ ว่ ยดึงท่อช่วยหายใจ
5.7.1 กรณผี ปู้ ่วยมีอาการสับสน ไม่ใหค้ วามร่วมมือ มีแนวโนม้ จะดงึ ท่อช่วยหายใจ ให้ปฏิบตั ติ ามวธิ ีปฏิบตั งิ าน
เร่อื งการผูกยึดผู้ป่วย
5.7.2 กรณผี ูป้ ่วยรสู้ ึกตวั ดี แจง้ ผู้ป่วยเพอ่ื ขอผกู ยดึ ขอ้ มอื ในขณะทผี่ ู้ปว่ ยหลบั
5.8 กรณที ี่พบว่าทอ่ ชว่ ยหายใจเลอ่ื นหลุด ให้ปฏิบัติ ดังนี้
5.8.1 รายงานแพทยด์ ว่ น
5.8.2 กรณผี ้ปู ่วยสามารถหายใจไดเ้ อง และไมม่ ีขอ้ ห้าม จัดทา่ นอนศรี ษะสงู พรอ้ มท้ังให้ O2 mask with
bag 10 ลิตร/นาที
5.8.3 กรณีผู้ป่วยไมส่ ามารถหายใจได้เอง จดั ทา่ นอนราบ ศีรษะแหงนเล็กนอ้ ย ให้หายใจดว้ ยอุปกรณ์
สาหรบั บีบช่วยหายใจโดยใชม้ ือบบี ขณะรอแพทย์
5.8.4 ประเมินระดับความรสู้ ึกตัวผปู้ ่วย วัดสัญญาณชพี วัดคา่ ความอม่ิ ตัวของออกซเิ จนในหลอดเลอื ดแดง
พร้อมทง้ั เตรียมอุปกรณใ์ นการใส่ท่อช่วยหายใจใหม่ เพ่อื พร้อมใช้งานทันที
6. เครือ่ งชีว้ ดั คุณภาพ
อตั ราการเล่ือนหลุดของท่อช่วยหายใจ
7. เอกสารอา้ งอิง
ฝา่ ยการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร.์ (2542). คู่มอื ปฏบิ ัติการพยาบาล. สงขลา:
ฝา่ ยการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร.์
สนั ต์ ใจยอดศลิ ป์ และคณะ. (2540). คูม่ ือการช่วยชีวิตขัน้ สงู . กรงุ เทพ: บรษิ ทั พิมพส์ วยจากดั .
Kavitha Selvan, Hawa Edriss, et al. (2014). SelF Extubtion in ICU patients. The Southwest
Respiratory and Critical care Chronicles. 2; 8, 31-34.
76/248
วธิ ปี ฏิบัตงิ าน หนา้ : 1/3
เร่ือง : การดูดเสมหะทางทอ่ ชว่ ยหายใจ รหัสเอกสาร:
WI-NUR01-004
ช่ือหน่วยงาน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ทบทวนครง้ั ท่ี : 01
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล วนั ที่ทบทวน :
ผจู้ ัดทา : คณะกรรมการปรบั ปรงุ วธิ ีปฏิบัตกิ ารพยาบาลส่วนกลาง วนั ทอ่ี นมุ ัติ : 30 พฤษภาคม 2560
ฝา่ ยการพยาบาล
ผู้อนุมัติ :
หวั หน้าฝ่ายการพยาบาล
1. วตั ถุประสงค์
1.1 เพ่อื ให้ผปู้ ่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพยี งพอ
1.2 เพือ่ เปดิ ทางเดนิ หายใจและระบายเสมหะ
2. ขอบเขต / กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยที่ใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ / ทอ่ หลอดลมคอทกุ ราย
3. คาจากัดความ
การดูดเสมหะทางทอ่ ช่วยหายใจ หมายถึง การดูดสิง่ คดั หลงั่ ทอ่ี ดุ ตันทางเดนิ หายใจออกมาทาง
ทอ่ ชว่ ยหายใจ
4. ผรู้ ับผดิ ชอบ
พยาบาลวชิ าชีพ / พยาบาลเทคนคิ / เจ้าหนา้ ทพี่ ยาบาล
5. อุปกรณ์และเครื่องใช้
5.1 สายดูดเสมหะปลอดเชอ้ื ตามขนาดทเี่ หมาะกับผู้ปว่ ย
อายุ ขนาดของสายดดู เสมหะ(เบอร์)
แรกเกิด –18 เดือน 6 – 8 Fr.
18 – 24 เดือน 8 – 10 Fr.
2 – 4 ปี 10 – 12 Fr.
7 – 10 ปี 12 – 14 Fr.
ผใู้ หญ่ 12 – 16 Fr.
5.2 ชุดเคร่อื งดดู เสมหะ
5.3 ถุงมือปราศจากเชื้อสาหรับผดู้ ดู เสมหะ และถงุ มือสะอาดสาหรบั ผ้ชู ่วยดูดเสมหะ
5.4 สาลีปราศจากเช้อื และ 70% alcohol
5.5 0.9 % NSS ampule ขนาด 3 มิลลลิ ติ ร
5.6 ภาชนะใส่น้าสะอาดสาหรบั ลา้ งสายดูดเสมหะที่ใชแ้ ลว้
5.7 อุปกรณ์สาหรับช่วยหายใจโดยใชม้ ือบีบ (self-inflating bag with reservoir bag)
77/248
วิธปี ฏบิ ัติงาน หนา้ : 2/3
เรอ่ื ง : การดดู เสมหะทางท่อชว่ ยหายใจ รหสั เอกสาร:
WI-NUR01-004
ทบทวนครงั้ ท่ี : 01
6. วธิ ีดาเนินการ
6.1 ประเมินอาการของผู้ป่วยที่จะดูดเสมหะ เชน่ หายใจมีเสียงดงั ครดื คราด กระสบั กระส่าย
6.2 แจง้ ผู้ป่วยและญาติใหท้ ราบถงึ เหตผุ ล และประโยชน์ในการดดู เสมหะ
6.3 จัดผูป้ ่วยใหอ้ ยใู่ นทา่ ทเี่ หมาะสมกบั สภาพผปู้ ่วย
6.4 ผู้ดูดเสมหะลา้ งมือ (hygienic hand washing) และผกู ผ้าปดิ ปากปดิ จมกู
6.5 ผู้ช่วยดูดเสมหะล้างมอื (hygienic hand washing) ผูกผ้าปดิ ปากปดิ จมูกและสวมถุงมือสะอาด
6.6 ใหอ้ อกซเิ จน 100% แกผ่ ูป้ ่วยก่อนดูดเสมหะ
- ผปู้ ่วยที่ใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจชนดิ ทีม่ ีป่มุ ปรับออกซิเจน ให้ปรบั ปุม่ ไปท่ีออกซิเจน 100% suction
ก่อนการ suction ประมาณ 2- 3 นาที
- ผู้ป่วยท่ีใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดที่ไม่มีปุ่มปรับออกซิเจน 100% suction หรือใช้ออกซิเจน
T- piece/ collar mask ให้ปลดข้อต่อเครื่องช่วยหายใจ วางหงายหรือแขวนในตาแหน่งส่วนปลายที่ต่อกับ
ท่อช่วยหายใจไมใ่ ห้สัมผัสกับส่งิ ใด ผู้ช่วยดดู เสมหะใช้สาลีเปียก 70% alcohol เช็ดบริเวณรอบท่อช่วยหายใจ
แลว้ ใหอ้ อกซเิ จน 100% ตอ่ เขา้ กับ self-inflating bag บบี ให้ผ้ปู ว่ ยนาน 2-3 นาที
6.7 เปิดเคร่ืองดดู เสมหะ ปรบั ความดันสาหรับเด็ก ใช้แรงดูดประมาณ 70 – 80 มิลลิเมตรปรอท
และผใู้ หญ่ใช้แรงดูดประมาณ 80-120 มิลลเิ มตรปรอท
6.8 ผดู้ ดู เสมหะสวมถงุ มอื ปราศจากเชอ้ื ต่อสายดูดเสมหะกบั สายต่อขวดดดู เสมหะ
6.9 ใส่สายดูดเสมหะเข้าไปทางท่อหลอดลมคอ / ท่อช่วยหายใจ ในจังหวะที่ผู้ป่วยหายใจเข้า
ด้วยความนุ่มนวล จนลึกถึงระดับท่ีควร คือเมื่อรู้สึกมีแรงต้าน แล้วดึงสายดูดเสมหะข้ึนมา 1 เซนติเมตรหรือ
1/2 นิ้ว เพื่อป้องกันการดูดเยื่อบุหลอดลมคอ แล้วจึงเร่ิมทา pressure control โดยหมุนสายดูดเสมหะไป
รอบๆ ท่อ พร้อมดึงสายดูดเสมหะออกมาใช้เวลา 10- 15 วินาทีในผู้ใหญ่และเด็กโต ใช้เวลา 10 วินาที
ในเด็กเล็ก และใช้เวลา 5 วินาทีในทารกแรกเกิด หลังจากน้ันดึงสายดูดเสมหะออกมาพร้อมสังเกตลักษณะสี
และจานวนของเสมหะ การหายใจ ความอ่มิ ตวั ของออกซิเจนในเลอื ดปลายนว้ิ และคลนื่ ไฟฟา้ หัวใจ
6.10 ขณะท่ีผู้ดูดเสมหะกาลังดูดเสมหะอยู่ ผู้ช่วยดูดเสมหะเช็ดข้อต่อเครื่องช่วยหายใจด้านในและ
ปลายของท่อด้านนอกด้วยสาลีเปียก 70% alcohol แล้ววางไว้ให้ปลอดจากส่ิงปนเป้ือนหลังดูดเสมหะ
ให้ออกซิเจน 100% ประมาณ 2- 3 นาที
6.11 ผู้ช่วยดูดเสมหะใช้สาลีเปียก 70% alcohol เช็ดบริเวณรอบท่อช่วยหายใจ แล้วต่อเข้ากับ
เครอื่ งช่วยหายใจ
6.12 ลา้ งสายดดู เสมหะดว้ ยนา้ สะอาดในภาชนะที่เตรียมไวล้ า้ งสายยาง
6.13 ผ้ดู ูดเสมหะถอดถุงมือท้ิงถังขยะติดเชื้อ
6.14 ผดู้ ูดเสมหะและผู้ช่วยดดู เสมหะล้างมอื (hygienic hand washing)
7. เอกสารอา้ งองิ
ทนนั ชัย บญุ บูรพงศ,์ ธนติ วีรงั คบุตร และประสาทนยี ์จันทร. (2551). การบาบัดระบบหายใจในเวชปฏบิ ตั ิ.
กรงุ เทพฯ: บียอนด์ เอน็ เทอรไ์ พรซ.์
78/248
สปุ าณี เสนาดิสยั , และมณี อาภานันทิกลุ . (2552). ค่มู อื ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: จดุ ทองการพิมพ.์
วิธปี ฏบิ ตั งิ าน หน้า : 2/3
เรอ่ื ง : การดดู เสมหะทางทอ่ ช่วยหายใจ รหสั เอกสาร:
WI-NUR01-004
ทบทวนคร้งั ท่ี : 01
Eckman, M., & et al. (2015).Nursing Procedures. (7thed). Pennsylvania: Lippincott William &
Wilkins.
Jaypee Brothers Medical Pubishers.(2011). Textbook of Nursing Foundations. New Delhi:
Rajkamal Electric Press.
Potter, P. A., Perry, A. G., Stockert, P. A., & Hall, A. M. (2013).Fundamentals of Nursing. (8th ed).
Missouri : Mosby Elsevier.
79/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
IC - 046
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
เรื่อง แนวทางปฏิบตั ิการทาความสะอาดชอ่ งปากผู้ปว่ ยทใ่ี ส่ แก้ไขคร้งั ที่ : 01 1/2
เครื่องชว่ ยหายใจ วนั ที่บงั คับใช้ : มี.ค. 58
1. วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื เปน็ แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการทาความสะอาดชอ่ งปากผู้ปว่ ยท่ีใสเ่ คร่ืองช่วยหายใจ
ในคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธริ าช
2. คาจากัดความ
การใส่ท่อช่วยหายใจ หมายถึงการใส่ท่อเข้าไปในหลอดลมโดยตรง ประกอบด้วย
1. การใส่ Endotracheal tube (E-T tube) ซงึ่ อาจใสผ่ า่ นทางปาก (orotracheal intubation)
หรือผ่านทางจมูก (nasotracheal intubation)
2. การใสท่ ่อในหลอดลมคอ Tracheostomy tube (T-T tube)
เครอ่ื งชว่ ยหายใจ หมายถงึ อุปกรณ์ทใี่ ชเ้ ทคนิคในการปรับความดันในทางเดนิ หายใจ
ผู้ปว่ ยท่ีใชเ้ ครือ่ งช่วยหายใจ หมายถึง ผู้ปว่ ยท่ใี ส่ทอ่ หลอดลมคอ / ท่อชว่ ยหายใจร่วมกับการใชเ้ ครื่องชว่ ยหายใจ
3. ผู้รับผิดชอบ
บคุ ลากรทางการแพทย์
4. แนวทางการปฏิบตั ิ
4.1 ประเมนิ ความผดิ ปกติในช่องปากของผู้ป่วย ก่อนทาความสะอาดช่องปาก และห้ามใช้ 0.12 %
Chlorhexidine Gluconate ทาความสะอาดช่องปากในผู้ปว่ ยดังต่อไปนี้
4.1.1 มแี ผลในชอ่ งปาก
4.1.2 Mucositis
4.1.3 แพ้ Chlorhexidine Gluconate
4.1.4 ผู้ป่วยเด็ก อายุ < 2 เดือน
4.2 ลา้ งมอื ด้วย Alcohol hand rub หรอื สบู่ผสมน้ายาทาลายเช้ือ ก่อนทาความสะอาดช่องปาก
4.3 สวมถงุ มอื สะอาด ผา้ ปิดปาก – จมกู
4.4 จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนราบ ตะแคงหนา้ ไปดา้ นใดด้านหน่งึ ขณะทาความสะอาดในช่องปาก เพื่อปอ้ งกันการสาลัก
4.5 ทาความสะอาดภายในชอ่ งปากของผปู้ ว่ ย อย่างน้อยวันละ 3 คร้งั ซึ่งจะเลือกใช้วิธใี ดวิธีหน่ึงตามสภาพ
ของผปู้ ว่ ย ดังน้ี
4.5.1 แปรงฟัน และลา้ งชอ่ งปากดว้ ยน้าตม้ สกุ / 0.9 % NSS Irrigate / เคลือบดว้ ย 0.12 %
Chlorhexidine Gluconate ประมาณ 15 ml เคลอื บดว้ ยการชุบผา้ ก๊อซ หรือไม้พันลาลี
ภายในช่องปาก (ฟนั ลนิ้ เหงือก เพดานปาก และกระพุ้งแก้ม)
4.5.2 ทาความสะอาดช่องปาก โดยการใช้ผ้าก๊อซ หรือไม้พันทน่ี ้าต้มสุก / 0.9 % NSS ทาความ
สะอาด Irrigate / 0.12 % Chlorhexidine ประมาณ 15 ml / เคลือบด้วยการชุบ
ผ้าก๊อซ หรอื ไม้พนั สาลีเชด็ ภายในชอ่ งปาก (ฟนั ลน้ิ เหงอื ก เพดานปาก และกระพุง้ แกม้ )
4.5.3 สามารถปรับเปล่ยี นเวลา และเพ่มิ จานวนครัง้ ในการทาความสะอาด ได้ตามความเหมาะสม
ของผปู้ ว่ ย
4.6 ลา้ งมือดว้ ยสบู่ผสมนา้ ยาทาลายเช้ือ หลงั ทาความสะอาดชอ่ งปาก
80/248
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
IC - 046
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
เร่ือง แนวทางปฏบิ ัตกิ ารทาความสะอาดช่องปากผู้ปว่ ยท่ใี ส่ แก้ไขคร้งั ที่ : 00 2 /2
เคร่ืองชว่ ยหายใจ วนั ท่ีบงั คบั ใช้ : มี.ค. 58
5. วธิ ีการเบิกนา้ ยาทาความสะอาดช่องปาก 0.12 % Chlorhexidine Gluconate ขนาดบรรจุ 180 ml. ดังนี้
5.1 ผูป้ ว่ ยใน เบิกจากคลังยา (คิดเปน็ ค่าหัตถการ) รายการ 0.12 % Chlorhexidine mouth wash 180 ml
รหสั ยา 70429
5.2 ผปู้ ่วยนอก / ผปู้ ่วยกลับบ้าน เบิกจากห้องยารายการ 0.12 % Chlorhexidine mouth wash 180 ml
รหัสยา 70429
เอกสารอา้ งอิง
Centers for Disease Control and Prevention Web site . Published 2014.
http://www.aacn.org/WD/CETests/Media/ACC4322.pdf
Munro CL, Grap MJ, Hummel R, Sessler. Chlorhexidine, Tooth Brushing, and Preventing
Ventilator-associated Pneumonia in Critically III Adults. American Journal Critical
Care. 2010;18(5):428-437.
81/248
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ม
แบบ check list การดแู ลผู้ป่ว
ช่ือ-สกุล...............................................................HN………………………….. AN……......……………
Day/ว/ด/ป Day….วันท่ี…....... Day...วัน
เวลา ด ช บ ด ช
1. ประเมินความพร้อมในการถอดท่อช่วยหายใจทุกวัน
2. ล้างมือตามหลัก 5 moments อย่างเคร่งครัด
3. ยกหัวเตียงสูง 30-45 องศา
4. วัด pressure cuff อย่างน้อยเวรละ 1 คร้ัง (pressure cuff
20-30 cmH2O)
5. เทน้าทคี่ ้างใน circuit ทิ้งโดยล้างมือก่อนและหลังเทน้าทุกคร้ัง
6. แปรงฟันอย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง และเคลือบด้วย 0.12 % CHG
ผู้ประเมิน
หมายเหตุ
ท้าเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องกรณีปฏิบัติ และ × กรณีไม่ปฏิบัติ
Day = จ้านวนวันของการใส่เคร่ืองช่วยหายใจ
ขอ้ ห้ามปฏิบัติ
ห้ามใช้ CHG ในเด็กอายุต้่ากว่า 2 เดือน และผู้ป่วยท่ีมีแผลในปาก/mucositis
82/2
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
วยทใ่ี ช้เคร่ืองชว่ ยหายใจ
หน่วยงาน..........................วันท่ีใส่เครื่องช่วยหายใจ……….......................……………….
นที่….... Day…วันที่….... Day…วันท่ี….. Day…….วันท่ี….. Day…วันที่…... Day...วันท่ี…......
ช บ ด ช บดชบ ด ช บ ด ชบด ช บ
FM-ICC01-060 (แก้ไขครั้งท่ี 01)
248
83/2
248
84/2
248
Goal (2.3)
1. WI-NUR00-006
2. WI-NUR00-004
3. FM-ICC01-033
4. FM-ICC01-061
85/248
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University WI-NUR00-006
ค่มู อื การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล แก้ไขครัง้ ที่ : 02 หนา้
WORK INSTRUCTION วันทบี่ ังคับใช้ : พ.ย. 2561 1/4
เร่อื ง การดูแลผปู้ ่วยใสส่ ายสวนปสั สาวะ
1. วตั ถปุ ระสงค์
1.1 ปอ้ งกนั การติดเช้ือของระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสมั พนั ธ์กับการใส่สายสวนปสั สาวะคา
1.2 เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตใิ ห้กับบุคลากร
2. ขอบเขต / กลุม่ เปา้ หมาย
ครอบคลุมการดูแลผปู้ ่วยท่ใี สส่ ายสวนปัสสาวะคา สวนปัสสาวะทง้ิ และการเกบ็ ปัสสาวะส่งตรวจ
3. คาจากัดความ
การใส่สายสวนปสั สาวะคา หมายถึง การใส่สายสวนปสั สาวะผ่านท่อปสั สาวะเข้าไปในกระเพาะปสั สาวะ
โดยคาสายสวนปสั สาวะไว้
การสวนปัสสาวะทง้ิ หมายถงึ การใส่สายสวนปสั สาวะผา่ นทอ่ ปัสสาวะเขา้ ไปในกระเพาะปสั สาวะ โดยไม่
คาสายสวนปัสสาวะไว้
4. หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
พยาบาลวิชาชีพ / พยาบาลเทคนคิ / เจา้ หนา้ ที่พยาบาล / บุคลากรทางการแพทยท์ ี่เกย่ี วข้อง
5. การเตรียมอปุ กรณ์
5.1 บคุ ลากรลา้ งมือด้วยสบผู่ สมนา้ ยาท้าลายเชือ้ (Hygienic hand washing) กอ่ นเตรียมอปุ กรณ์
5.2 เตรยี มอปุ กรณ์อย่าง Aseptic Technique ประกอบดว้ ย ชุดสวนปสั สาวะ, ถงุ มือปราศจากเชอ้ื , สายสวน
ปัสสาวะ, ชุดรองรับปัสสาวะ, syringe disposable ขนาด 10 มิลลลิ ิตร, สารหล่อลนื่ ปราศจากเชอ้ื แบบใช้ครัง้ เดยี ว, น้า
กล่นั ปราศจากเชื้อ
5.3 เลอื กใช้สายสวนปสั สาวะที่เหมาะสมกบั ผู้ป่วยสามารถระบายน้าปัสสาวะไดด้ ี โดยใช้สายสวนทมี่ ีขนาดเลก็
ท่สี ดุ เท่าทจ่ี ะเปน็ ไปได้ เพ่ือลดการบาดเจ็บบรเิ วณท่อปสั สาวะ
6. แนวทางปฏบิ ตั ิ
6.1 การสวนปัสสาวะ
6.1.1 ลา้ งมอื ด้วยสบผู่ สมน้ายาท้าลายเชือ้ (Hygienic hand washing)
6.1.2 สวมถงุ มอื สะอาด ท้าความสะอาดบรเิ วณอวยั วะสืบพนั ธภ์ุ ายนอกดว้ ยสบู่และน้าซับให้แห้งดว้ ยผ้าสะอาด
6.1.3 จัดท่านอนของผู้ป่วย ดงั นี้
- ผูป้ ่วยชาย ใหน้ อนหงายเท้าราบ
- ผู้ป่วยหญงิ ให้นอนหงายชันเข่า
6.1.4 ลา้ งมอื ดว้ ยสบผู่ สมน้ายาทา้ ลายเชอื้ (Hygienic hand washing) ก่อนทา้ การสวนปัสสาวะ
6.1.5 สวมถุงมอื ปราศจากเช้ือ ใช้ NSS/Sterile water ในการท้าความสะอาดบริเวณรูเปิดของท่อทางเดิน
ปสั สาวะกอ่ นการสวนปสั สาวะ
6.1.6 ใช้สารหลอ่ ลน่ื ท่ปี ราศจากเชื้อแบบใช้ครั้งเดยี ว หลอ่ ลน่ื บริเวณสว่ นปลายสายสวน
86/248
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมินทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI-NUR00-006
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
ค่มู อื การปฏบิ ตั ิการพยาบาล แก้ไขคร้ังท่ี : 02 2/4
WORK INSTRUCTION วนั ที่บงั คบั ใช้ : พ.ย. 2561
เรอื่ ง การดูแลผปู้ ว่ ยใส่สายสวนปัสสาวะ
6.1.7 ดา้ เนนิ การใส่สายสวน ดงั นี้
- ผู้ป่วยชายรั้งองคชาตใหต้ ั้งฉากกับลา้ ตัว เช็ดบริเวณรูเปิดปลายท่อปัสสาวะ ดว้ ย ส้าลชี บุ Sterile
normal saline และสอดสายสวนเข้าในท่อปสั สาวะช้าๆ จนปสั สาวะไหลออกมา เล่ือนสายสวนปสั สาวะเข้าไปอีก 1 - 2 นิว้
- ผู้ป่วยหญงิ ใช้นว้ิ หัวแม่มอื และนวิ้ ชแี้ หวก Labia minora เชด็ บรเิ วณรเู ปดิ ท่อปัสสาวะ ดว้ ยส้าลีชุบ
Sterile normal saline และสอดสายสวนเข้าในท่อปัสสาวะชา้ ๆ จนปสั สาวะไหลออกมา เลือ่ นสายสวนปัสสาวะเขา้ ไปอกี
1 - 2 นว้ิ
6.1.8 ฉีดน้ากลน่ั ปราศจากเช้อื เข้าลูกโปง่ สายสวน 5 – 10 มลิ ลลิ ิตร (ตามข้อก้าหนดของสายสวนแตล่ ะชนิด)
แล้วคอ่ ยๆ ดงึ สายสวนออกจนลูกโปง่ ตรงึ กระชับกับสว่ นล่างของกระเพาะปสั สาวะพอดี
6.1.9 ตอ่ สายสวนปัสสาวะเข้ากับท่อของถุงรองรบั ปัสสาวะด้วยเทคนคิ ปราศจากเช้ือ
6.1.10ตรงึ สายสวนปสั สาวะด้วยปลาสเตอร์
- ผ้ปู ว่ ยชายตรงึ สายสวนปัสสาวะทีห่ น้าท้อง หรอื โคนขาดา้ นนอก และรูดหนงั หุ้มปลายอวัยวะเพศ
คนื ทุกครงั้
- ผู้ปว่ ยหญงิ ตรงึ สายสวนปสั สาวะท่โี คนขาดา้ นใน
6.1.11 จัดสายสวนใหล้ าดลงจากท่อปัสสาวะสถู่ งุ รองรับปัสสาวะทแ่ี ขวนไวข้ า้ งเตียง ตา่้ กวา่ ระดบั กระเพาะปัสสาวะโดย
ไมใ่ ห้ปลายถุงรองรบั ปัสสาวะสมั ผัสพน้ื / ข้างเตียง
6.1.12 เขียนวนั เปล่ียนสายสวนปสั สาวะทีถ่ ุงรองรบั ปสั สาวะ (กรณีของการใสส่ ายสวนปัสสาวะครง้ั แรก
กา้ หนด 2 สปั ดาห)์
6.1.13 ถอดถงุ มือ และลา้ งมือด้วยสบู่ผสมนา้ ยาท้าลายเชือ้ (Hygienic hand washing)
หมายเหตุ กรณีสวนปัสสาวะในผูป้ ่วยเด็กให้ทาความสะอาดอวยั วะสืบพันธ์ภุ ายนอกด้วยนาและสบู่ ราดด้วย
นากลั่นปราศจากเชอื ซับให้แหง้ ด้วยผา้ สะอาด
6.1.14 กรณีสวนปัสสาวะทิ้งให้ปฏิบัติตามข้อ 6.1.1 – 6.1.9 และเม่ือปัสสาวะหยุดไหล เพ่ือให้แน่ใจว่า
ปัสสาวะหมดจริง ใช้มือกดเบาๆ บนผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางที่คลุมอยู่บริเวณหัวหน่าว เมื่อไม่มีปัสสาวะไหลให้เล่ือนสายสวน
ออกช้าๆ ผู้ป่วยชายใหร้ ูดหนังหมุ้ ปลายอวัยวะเพศคืนทกุ ครั้ง
6.2 การดูแลผปู้ ่วยคาสายสวนปัสสาวะ
6.2.1 ล้างมือดว้ ยสบูผ่ สมนา้ ยาท้าลายเชือ้ (Hygienic hand washing) กอ่ น และหลงั สัมผสั สายสวนปสั สาวะทกุ ครัง้
6.2.2 สวมถงุ มือสะอาด
6.2.3 ตรวจสอบการยึดตรึงของสายสวนที่โคนขา / หน้าท้องเพ่ือป้องกันการเล่ือนเข้าออกของสายสวน
ปัสสาวะ
6.2.4 จัดวางต้าแหน่งของถุงรองรับปัสสาวะให้ต่้ากว่าระดับกระเพาะปัสสาวะตลอดเวลาโดยถุงรองรับ
ปสั สาวะไม่สัมผัสกบั พืน้ / ข้างเตียง
6.2.5 ดูแลสายสวนปัสสาวะใหเ้ ป็นระบบปดิ ตลอดเวลาและใหป้ สั สาวะไหลลงส่ถู ุงรองรับปัสสาวะ
ไดส้ ะดวก สายต่อไมห่ ักพบั งอหรืออุดตนั
6.2.6 หากถุงรองรบั ปสั สาวะ หรือสายตอ่ รัว่ ให้เปลี่ยนถุงรองรบั ปัสสาวะและสายสวนปสั สาวะใหมท่ ง้ั ชุด
87/248
คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI-NUR00-006
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
คู่มือการปฏิบตั กิ ารพยาบาล แกไ้ ขครั้งที่ : 02 3/4
WORK INSTRUCTION วนั ทบ่ี งั คับใช้ : พ.ย. 2561
เร่ือง การดูแลผู้ป่วยใสส่ ายสวนปัสสาวะ
6.2.7 เทปัสสาวะออกเม่ือมนี ้าปสั สาวะประมาณ 3 / 4 ของถงุ หรือในระยะเวลาทกี่ ้าหนดหรือเมอ่ื เคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ย
6.2.8 การเทปัสสาวะใชส้ า้ ลชี บุ 70 % Alcohol เช็ดปลายท่อก่อน และหลงั เทปสั สาวะ ระมดั ระวงั ไม่ให้ท่อ
เปิดสา้ หรบั เทปัสสาวะสมั ผัสกบั ภาชนะท่รี องรบั ภาชนะที่รองรับควรจะแหง้ สะอาด และใชแ้ ยกเฉพาะผ้ปู ว่ ยแต่ละราย
6.2.9 ท้าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุ และสายสวนปัสสาวะด้วยน้า และสบู่เวรละ 1 ครั้ง และหลัง
การขับถา่ ยทุกคร้งั ซับใหแ้ หง้ ดว้ ยผ้าสะอาด
6.2.10 ถอดถุงมือ และลา้ งมือด้วยสบผู่ สมน้ายาท้าลายเชอื้ (Hygienic hand washing) หลังสมั ผัสสายสวนปัสสาวะ
6.3 การเกบ็ ปสั สาวะส่งตรวจ
6.3.1 ลา้ งมือดว้ ยสบ่ผู สมนา้ ยาทา้ ลายเชอ้ื (Hygienic hand washing)
6.3.2 ใส่ถงุ มือสะอาด
6.3.3 เชด็ บรเิ วณกระเปาะของปลายสายสวนปัสสาวะเหนือรอยตอ่ กบั ถุงรองรับปัสสาวะประมาณ 1 นิ้ว
ดว้ ยสา้ ลชี บุ 70 % Alcohol และเช็ดตามด้วย 2 % Chlorhexidine in 70 % alcohol รอให้แห้ง
6.3.4 ใช้ sterile syringe และเข็มท่ีปราศจากเชอื้ เบอร์ 24, 25 ดดู ปสั สาวะสง่ ตรวจประมาณ 5 – 10
มิลลิลติ ร
6.3.5 กรณีปสั สาวะออกนอ้ ยให้ Clamp สายสวนปสั สาวะบรเิ วณใตก้ ระเปาะของปลายสายสวนปสั สาวะ
เปน็ เวลาไมเ่ กิน 10 – 20 นาที
6.3.6 ถอดถุงมือ และล้างมือด้วยสบ่ผู สมน้ายาท้าลายเชอื้ (Hygienic hand washing)
6.3.7 สง่ ปสั สาวะพร้อมใบส่งตรวจไปท่ีห้องปฏิบตั กิ ารภายใน 1 ชั่วโมง
6.4 การเปล่ยี นสายสวนปสั สาวะและถุงรองรับปสั สาวะ มหี ลกั ปฏบิ ัติดังต่อไปนี
6.4.1 เปล่ียนสายสวนและถุงรองรับปสั สาวะใหม่ทั้งชุดเมื่อมีการอุดตัน / รัว่ / ขอ้ ต่อหลดุ หรอื มีการทา้ ลาย
Closed system
6.4.2 กรณตี ้องคาสายสวนไว้นานจะกา้ หนดระยะเวลาการเปลี่ยนสายสวนไม่เกิน 4 สัปดาห์ เพ่ือป้องกัน
การเกาะของหินปนู ซึ่งจะเป็นอปุ สรรคตอ่ การดึงสายสวนออก ดังน้ันการเปลย่ี นสายสวนในผู้ป่วยแต่ละรายใหท้ ดสอบ ดงั น้ี
- คาสายสวนครบ 2 สปั ดาหแ์ ลว้ เปลยี่ นถงุ รองรับปัสสาวะและสายสวนปัสสาวะใหมท่ ้ังชดุ ถ้าไม่พบ
หินปูนทปี่ ลายสายสวน คร้ังต่อไปใหเ้ ปลย่ี นเมื่อครบ 4 สปั ดาห์ แตถ่ ้ามีคราบหินปูนที่ปลายสายสวนให้เปล่ยี นทกุ 2 สัปดาห์
6.5 การถอดสายสวนปสั สาวะ
6.5.1 พิจารณาถอดสายสวนปัสสาวะออกทันทีเม่ือหมดความจ้าเป็น
6.5.2 ลา้ งมือดว้ ยสบผู่ สมน้ายาท้าลายเชื้อ (Hygienic hand washing) ก่อนสวมถงุ มือ
6.5.3 สวมถุงมือสะอาด ท้าความสะอาดบริเวณอวัยวะสบื พนั ธุภ์ ายนอกดว้ ยน้า และสบู่
6.5.4 ดูดน้ากล่นั ออกจากบอลลนู ให้หมด ให้ผ้ปู ่วยหายใจเข้าและออกยาวๆ และค่อยๆ ดึงสายสวนปสั สาวะ
ออกอยา่ งเบามือ
6.5.5 ท้ิงชุดสวนและถงุ รองรับน้าปัสสาวะใสถ่ ุงขยะติดเชื้อ
6.5.6 ล้างมือหลังถอดถุงมือ
88/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
WI-NUR00-006
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
คู่มือการปฏบิ ัติการพยาบาล แก้ไขครง้ั ที่ : 02 4/4
WORK INSTRUCTION วนั ท่ีบังคบั ใช้ : พ.ย. 2561
เรอื่ ง การดแู ลผปู้ ว่ ยใสส่ ายสวนปสั สาวะ
7. เคร่ืองชีวัดคณุ ภาพ
อัตราการติดเชือ้ ของระบบทางเดนิ ปัสสาวะท่สี ัมพนั ธก์ บั การใสส่ ายสวนปัสสาวะ
8. เอกสารอ้างองิ
Centers for Disease Control and Prevention. (2017).Guideline for Prevention of Catheter –
Associated Urinary Tract Infection. Retrieved January 24, 2018,Available from:
https://www.cdc.gov/infectioncontrol/guidelines/cauti/
Centers for Disease Control and Prevention. (2017). Guideline for Prevention of Catheter –
Associated Urinary Tract Infection. Retrieved January 18, 2018,Available from:
https://www.cdc.gov/infectioncontrol/guidelines/cauti/index.html
Fasugba O, Koerner J, Mitchell BG, Gardner A. Systematic review and meta-analysis of the
effectiveness of antiseptic agents for meatal cleaning in the prevention of catheter-associated
urinary tract infections. Journal of Hospital Infection 2017;95:233-242.
Baron EJ. Specimen collection, transport, and processing: Bacteriology. In: Jorgensen JH, Pfaller
MA, Carroll KC, Funke G, Landry ML, Richter SS, et al, editors. Manual of clinical
microbiology. 11th ed. Washington, DC: ASM press; 2015. p. 270-315.
Tille PM. Specimen Management. Diagnostic Microbiology. 13th ed. St. Louis,Missouri: Mosby,Incan
Elsevire Inc;2014. 53-67.
กา้ ธร มาลาธรรม และ ศิรลิ ักษณ์ อภวิ านิชย์. คู่มือการปอ้ งกันและควบคมุ การตดิ เชื้อในโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ : โรง
พมิ พ์จุดทอง; 2558.
89/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
WI-NUR00-004
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
คมู่ อื การปฏิบัตกิ ารพยาบาล แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 01 1
WORK INSTRUCTION วนั ท่ีบงั คบั ใช้ : 1 กนั ยายน 2548
เร่อื ง การเกบ็ ปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชอื้
1. วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพ่ือตรวจหาชนดิ ของเชือ้ โรคในปัสสาวะและนบั จานวน colony
1.2 เพ่ือตรวจดคู วามไวของเชือ้ ตอ่ ยา (sensitivity test)
2. ขอบเขต / กลุ่มเป้าหมาย
ครอบคลมุ ผปู้ ่วยท่ีไดร้ บั การสง่ ปัสสาวะตรวจเพาะเชือ้ ทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารทกุ รายท่ีปัสสาวะเองได้
3. คาจากัดความ
การเก็บปัสสาวะสง่ ตรวจเพาะเชือ้ หมายถึง การเก็บปัสสาวะท่ีสะอาดจากผปู้ ่วยโดยตรงนาไปเพาะเลีย้ งเชือ้
หาแบคทีเรีย เชือ้ ราในอาหารเลีย้ งเชือ้
4. หน้าทค่ี วามรับผิดชอบ
พยาบาลวิชาชีพ / พยาบาลเทคนิค / เจา้ หนา้ ท่ีพยาบาล
5. อุปกรณแ์ ละเครือ่ งใช้
5.1 สบแู่ ละนา้ สะอาด
5.2 หมอ้ นอน
5.3 ภาชนะท่ีปราศจากเชือ้ สาหรบั ใสป่ ัสสาวะพรอ้ มฝาปิด และตดิ ฉลากท่ีเขียนช่ือ-นามสกลุ ผปู้ ่วย หนว่ ยงาน
ท่ีสง่ ตรวจ วนั ท่ี ชนิดส่งิ สง่ ตรวจ และวิธีการตรวจ
5.4 ใบสง่ ตรวจ
6. วธิ ีการดาเนินงาน
6.1 บนั ทกึ ขอ้ มลู สง่ ตรวจในคอมพวิ เตอร์ พิมพใ์ บรายการและตรวจสอบความถกู ตอ้ งกบั Kardex เขียนฉลาก
ตดิ ขวดท่ีระบชุ ่ือหนว่ ยงาน ช่ือ-นามสกลุ ผปู้ ่วย วนั ท่ี รายการท่ีตรวจ แลว้ ติดท่ีขา้ งขวด หรือกระบอกใสป่ ัสสาวะ
6.2 ตรวจสอบช่ือ-นามสกลุ ผปู้ ่วยใหต้ รงกบั ใบรายการสง่ ตรวจ
6.3 แจง้ ใหผ้ ปู้ ่วยทราบ และอธิบายวิธีการเก็บใหผ้ ปู้ ่วยเขา้ ใจ
6.4 ผปู้ ่วยท่ีชว่ ยเหลือตวั เองได้
6.4.1 ผปู้ ่วยหญิง ใหไ้ ปเก็บปัสสาวะสง่ ตรวจท่ีหอ้ งนา้ โดยแนะนาใหผ้ ปู้ ่วยทาความสะอาดอวยั วะ
สืบพนั ธุภ์ ายนอก และบรเิ วณรูเปิดของทอ่ ปัสสาวะดว้ ยสบแู่ ละนา้ สะอาด ซบั ใหแ้ หง้ หลงั จากนนั้ ลา้ งมือใหส้ ะอาด
90/248
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
WI-NUR00-004
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
คมู่ ือการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล แกไ้ ขครงั้ ที่ : 01 2
WORK INSTRUCTION วนั ท่ีบงั คบั ใช้ : 1 กนั ยายน 2548
เรอ่ื ง การเกบ็ ปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชอื้
แลว้ ใชม้ ือแหวก labia ออก เพ่ือไมใ่ หป้ ัสสาวะถกู บรเิ วณ labia ถา่ ยปัสสาวะส่วนตน้ ทิง้ แลว้ เก็บปัสสาวะสว่ นกลาง
(midstream urine) ใสใ่ นภาชนะปราศจากเชือ้ ท่ีเตรียมไว้
6.4.2 ผปู้ ่วยชาย ใหไ้ ปเก็บปัสสาวะท่ีหอ้ งนา้ โดยแนะนาผปู้ ่วยใหท้ าความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธุ์
ภายนอก บรเิ วณหนงั หมุ้ ปลาย และรูเปิดของทอ่ ปัสสาวะดว้ ยสบแู่ ละนา้ สะอาด ซบั ใหแ้ หง้ ถ่ายปัสสาวะสว่ นตน้ ทงิ้
แลว้ เก็บปัสสาวะสว่ นกลาง (midstream urine) ใสใ่ นภาชนะปราศจากเชือ้ ท่ีเตรียมไว้ ระวงั อยา่ ใหถ้ กู บรเิ วณ
หนงั หมุ้ ปลาย
6.5 ผปู้ ่วยท่ีชว่ ยเหลือตวั เองไมไ่ ด้ ใหน้ อนบนหมอ้ นอน และทาความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธุภ์ ายนอกใหส้ ะอาด
ดว้ ยสบแู่ ละนา้ สะอาด ซบั ใหแ้ หง้ โดยปฏิบตั เิ ชน่ เดยี วกบั ขอ้ 6.4.1 หรือ 6.4.2
6.6 สง่ ปัสสาวะพรอ้ มใบสง่ ตรวจไปท่ีหอ้ งปฏิบตั กิ ารภายใน ½ ช่วั โมง ถา้ ไมส่ ามารถสง่ ไดใ้ หเ้ ก็บปัสสาวะไวใ้ น
ตเู้ ย็น (อณุ หภมู ิ 4 0C) ไดไ้ มเ่ กิน 24 ช่วั โมง
7. เอกสารอ้างอิง
Miller, J.M., and Holmes, H.T. “Specimen Collection, Transport, and Storage.” In Patrick R.
Murray, et al. eds. Manual of Clinical Microbiology, (7thed.), 48-49. Washington, D.C.: ASM press, 1999.
91/248
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลมหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราช เม.ย.๖๑
๖๘๑ ถนนสามเสน แขวงวชริ พยาบาล เขตดุสิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๔๔-๓๓๓๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๔-๔๓๘๘
แบบประเมนิ การดแู ลผู้ปว่ ยใส่สายสวนปสั สาวะคา
ชื่อ………………………….......นามสกลุ ………………………………WARD…………………. วันทป่ี ระเมนิ ……..……………......ผปู้ ระเมิน........................................
No ขน้ั ตอนการใส่สายสวนปสั สาวะคา การปฏิบัติ เหตผุ ล
Yes No (กรณีไมป่ ฏิบัติ)
๑. ล้างมอื ด้วยสบผู่ สมน้ายาทา้ ลายเชอื้ (Hygenic hand washing) ก่อนเตรียม Set
๒. ใช้สารหลอ่ ลื่นทป่ี ราศจากเชือ้ แบบใชค้ รั้งเดียว
๓. เตรยี มนา้ กลั่นปราศจากเช้อื ใน Syringeและใสไ่ ว้ใน Tray ฉดี ยา
๔. เลือกใชส้ ายสวนปัสสาวะทีม่ ขี นาดเหมาะสมกับผู้ปว่ ย
๕. สวมถงุ มือสะอาด ทา้ ความสะอาดอวยั วะสืบพันธุภ์ ายนอกด้วยสบู่และน้า และซับใหแ้ ห้ง
๖. ถอดถุงมอื และลา้ งมือดว้ ยสบผู่ สมน้ายาทา้ ลายเชอ้ื (Hygenic hand washing) กอ่ นใสส่ ายสวน
ปัสสาวะ
๗. สวมถงุ มอื ปราศจากเช้อื
๘. คลมุ บริเวณอวัยวะสืบพันธดุ์ ้วยผา้ ส่เี หลย่ี มเจาะกลาง
๙. เช็ดบริเวณรูเปดิ ของท่อทางเดินปสั สาวะดว้ ย NSS/Sterile water/๑o% povidine iodine
(กรณีผ้ปู ว่ ยเด็กราดดว้ ยน้ากลัน่ ปราศจากเชื้อ ซับให้แหง้ )
๑๐. ใสส่ ายสวนปัสสาวะที่หล่อล่ืนดว้ ยสารหล่อล่นื ปราศจากเช้ือแบบใชค้ รง้ั เดียว
๑๑. ใชน้ ้ากล่ันปราศจากเชอ้ื ใส่ในบอลลนู (ตามมาตรฐานของสายสวนแตล่ ะชนดิ )
๑๒. ตรงึ สายสวนปสั สาวะ (ผู้ชายบรเิ วณต้นขาดา้ นนอก / หนา้ ท้อง และผูห้ ญงิ บรเิ วณต้นขาด้านใน)
๑๓. แขวนถงุ รองรบั น้าปสั สาวะตา้่ กวา่ ระดับกระเพาะปัสสาวะ
๑๔. ลา้ งมอื หลังถอดถงุ มือ
๑๕. เขยี นวันทกี่ ้าหนดเปลี่ยนชดุ สายสวนปัสสาวะทถ่ี งุ รองรับน้าปัสสาวะ
การทาความสะอาดบริเวณอวยั วะสืบพันธุ์ภายนอก
1. ล้างมอื ด้วยสบผู่ สมนา้ ยาท้าลายเชอ้ื (Hygenic hand washing) ก่อนสวมถุงมือ
2. สวมถงุ มอื สะอาดท้าความสะอาดบริเวณอวยั วะสบื พันธุ์ภายนอกดว้ ยน้าและสบู่ และซบั ให้แห้ง (ระบ)ุ
ทุก 8 ช่ัวโมง ทุก 12 ชว่ั โมง
3. สวมถุงมือสะอาด ท้าความสะอาดบริเวณอวัยวะสบื พันธุ์ภายนอกดว้ ยนา้ และสบูห่ ลังผู้ปว่ ยถ่าย
อจุ จาระทกุ คร้งั และซับให้แห้ง
4. ลา้ งมือหลังถอดถุงมอื
การดูแลผู้ป่วยระหวา่ งคาสายสวนปสั สาวะ
1. ลา้ งมือด้วยสบผู่ สมน้ายาท้าลายเชอ้ื (Hygenic hand washing) ก่อนสมั ผสั สายสวนปสั สาวะ
2. สายสวนปสั สาวะได้รบั การตรึงถูกตา้ แหน่ง และไม่เลอ่ื นหลดุ
3. สายสวนปสั สาวะไมด่ งึ รั้ง /หัก / พบั งอ
4. ถงุ รองรบั น้าปัสสาวะอยูต่ ้า่ กวา่ ระดบั กระเพาะปสั สาวะตลอดเวลา
5. ล้างมอื หลงั สมั ผสั สายสวนปสั สาวะ
92/248 FM-ICC01-033 แกไ้ ขครัง้ ที่ 01
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาลมหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช เม.ย.๖๑
๖๘๑ ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๔-๓๓๓๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๔-๔๓๘๘
แบบประเมินการดแู ลผปู้ ว่ ยใสส่ ายสวนปสั สาวะคา
ช่ือ………………………….......นามสกลุ ………………………………WARD…………………. วันท่ีประเมนิ ……..……………......ผปู้ ระเมิน.........................................
No การเทปัสสาวะออกจากถงุ รองรับนา้ ปัสสาวะ การปฏิบตั ิ เหตุผล
1. ลา้ งมือด้วยสบ่ผู สมน้ายาท้าลายเชอื้ (Hygenic hand washing) ก่อนสวมถุงมือ
Yes No (กรณีไมป่ ฏิบัต)ิ
2. สวมถงุ มอื สะอาดเชด็ ปลายเปดิ ถงุ รองรบั น้าปสั สาวะดว้ ย ๗๐% Alcohol ก่อน และหลงั เทปสั สาวะ
3. เทปสั สาวะ (ระบ)ุ ทุก ๘ ชว่ั โมง มีปัสสาวะ ๓/๔ ถุง กอ่ นเคล่ือนยา้ ยผ้ปู ่วย
4. ปลายถงุ รองรบั ปสั สาวะไมส่ ัมผสั กบั กรวย / พืน้ / ขา้ งเตียง
5. แยกขวดรองรบั ปสั สาวะ และกรวยในผู้ป่วยทุกราย
6. ไม่วางขวดท่ีมีนา้ ปสั สาวะไว้ทีเ่ ตียงผู้ปว่ ย (ยกเว้น Record urine ทุก ๑ ชัว่ โมง)
7. เปลี่ยนถงุ มือทุกครง้ั เม่ือทำกำรเทปัสสำวะในผู้ป่วยแตล่ ะรำย
8. ลำ้ งมอื หลังถอดถุงมอื
การดูแลระบบระบายน้าปสั สาวะใหอ้ ยู่ในระบบระบายแบบปิด
1. ไมป่ ลดสายสวนปสั สาวะ และข้อต่อ
2. เปลีย่ นสายสวนปัสสาวะใหม่ทงั้ ชดุ เม่อื ขอ้ ต่อหลดุ / ปนเปอ้ื นหรอื มกี ำรทำลำย Closed system
การเกบ็ ปสั สาวะส่งตรวจ
1. ลา้ งมอื ดว้ ยสบูผ่ สมนา้ ยาท้าลายเชอ้ื (Hygenic hand washing) ก่อนสวมถงุ มอื
2. สวมถุงมอื สะอาด
3. เชด็ ๗๐%Alcohol และเชด็ ตามด้วย 2% Chlorhexidine in 70% alcoholบริเวณกระเปาะ
ปลายสายสวนปสั สาวะเหนือรอยต่อกบั ถงุ รองรับปสั สาวะประมาณ ๑ น้วิ รอใหแ้ หง้ ใช้syringe และ
เขม็ ที่ปราศจากเชอ้ื เบอร์ ๒๔, ๒๕ ดูดปสั สาวะส่งตรวจ
4. ลา้ งมอื หลังถอดถุงมอื
การถอดสายสวนปสั สาวะ
1. ลา้ งมอื ด้วยสบผู่ สมน้ายาท้าลายเชอื้ (Hygenic hand washing) ก่อนสวมถุงมือ
2. สวมถุงมือสะอาด
3. ทา้ ความสะอาดบรเิ วณอวยั วะสบื พันธ์ุภายนอกด้วยนา้ และสบู่
4. ดูดน้ากลัน่ ออกจากบอลลนู ให้หมด ใหผ้ ู้ป่วยหายใจเขา้ และออกยาวๆ และคอ่ ยๆดึงสายสวนปสั สาวะ
ออกอยา่ งเบามือ
5. ทง้ิ ชุดสวนและถงุ รองรับน้าปสั สาวะใส่ถุงขยะตดิ เช้อื
6. ล้างมือหลงั ถอดถงุ มอื
93/248 FM-ICC01-033 แก้ไขครัง้ ท่ี 01