The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

VAJIRA 2P SAFETY GOAL ฉบับปรับปรุง2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ., 2021-10-14 23:37:32

VAJIRA 2P SAFETY GOAL ฉบับปรับปรุง2

VAJIRA 2P SAFETY GOAL ฉบับปรับปรุง2

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล

แบบ check list การดูแลผ

ชื่อ-สกุล....................................................HN……………………….. AN……......…………… หน่วยงาน

Day/ว/ด/ป Day…......วันท…่ี ...... Day…......วันท…ี่ ...... Day

เวลา

กรณีดูแลท่ัวไป

1. ถุงรองรบั ปสั สาวะอยู่ต่ากวา่ กระเพาะปสั สาวะตลอดเวลา

2. เป็นระบบปิดตลอดเวลา

3. ถุงรองรบั ปสั สาวะไม่สัมผัสพ้ืน

ผู้ประเมิน

Day/ว/ด/ป Day…..วันท…่ี .......... Day…..วันท…่ี .......... Day

เวลา ด ช บ ด ช บ ด

กรณี Record I/O

1. ถุงรองรับปัสสาวะอยู่ตา่ กวา่ กระเพาะปัสสาวะตลอดเวลา

2. เป็นระบบปดิ ตลอดเวลา
3. ถุงรองรับปัสสาวะไม่สัมผัสพ้ืน

4. แยกภาชนะรองรับปสั สาวะในผู้ป่วยแต่ละราย 94/2

5. เทปัสสาวะไม่ใหร้ ูเปดิ ของถุงสัมผัสภาชนะรองรับ
6. ล้างมือ สวมถุงมือ เช็ดรเู ปดิ ของถุงด้วย 70% alcohol
ก่อนและหลังเทปัสสาวะ

ผู้ประเมิน

หมายเหตุ
ท่าเครอื งหมาย √ ลงในช่องกรณีปฏบิ ตั ิ และ X กรณีไม่ปฏบิ ัติ
Day = จ่านวนวนั ของการใส่สายสวนปสั สาวะคา

ล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
ผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะคา
น............................วันท่ีใส่สายสวนปัสสาวะคา………................................…….......…

y…......วันท…ี่ ...... Day…......วันท…ี่ ...... Day…......วันท…่ี ...... Day…......วันท…่ี ...... Day…......วันท…่ี ......

y…..วันท…่ี .......... Day…..วันท…ี่ .......... Day…..วันท…ี่ .......... Day…..วันท…่ี .......... Day…..วันท…่ี ..........

ด ชบด ชบด ชบด ชบด ชบ

FM-ICC01-061 (แก้ไขครั้งท่ี 01)

248

Goal (2.4)
1. IC-028
2. IC-027
3. FM-ICC01-062

95/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC – 028

เรือ่ ง แนวทางปฏบิ ัตกิ ารใสแ่ ละการดแู ลสายสวนหลอด แกไ้ ขคร้ังที่ : 02 หน้า
เลอื ดดาสว่ นกลาง (Central line) วันที่บังคับใช้ : ม.ิ ย. 2561 1/3

1. วัตถุประสงค์
เพอ่ื ปอ้ งกนั การติดเชอื้ ในกระแสโลหิต / การติดเช้อื เฉพาะตาแหนง่ ท่ีสัมพันธก์ บั การใสสายสวนหลอดเลอื ดดาสว่ นกลาง

2. ขอบเขต / กลมุ่ เป้าหมาย
ครอบคลมุ การดแู ลผู้ปว่ ยทใี่ สสายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลาง

3. คาจากดั ความ
การตดิ เช้ือในกระแสโลหติ ท่ีสมั พนั ธกบั การใสสายสวนหลอดเลือดดาส่วนกลาง หมายถงึ การตดิ เชอ้ื ในกระแสโลหติ

ชนิดปฐมภูมโิ ดยท่ผี ปู้ ว่ ยมกี ารใสส่ ายสวนหลอดเลอื ดดาสว่ นกลางในขณะน้นั ตอ่ เนอ่ื งกัน มากกวา่ 2 วัน การวนิ จิ ฉยั เป็นไป
ตาม CDC กาหนด (CDC guideline 2017)
4. หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ

แพทย์ / พยาบาล / บคุ ลากรทางการแพทยท์ ีเ่ กย่ี วข้อง
5. แนวทางการปฏิบตั ิ

5.1 บุคลากร
5.1.1 ไดร้ บั ความรู้เกย่ี วกบั ขอ้ บ่งช้ี ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ต้องของการดูแลรกั ษาผปู้ ่วยทไ่ี ด้รับการ

ใสส่ ายสวนหลอดเลือดดาส่วนกลาง
5.1.2 ได้รับการประเมินความรู้ และการปฏิบัติงานเป็นระยะ

5.2 การเตรยี มสารอาหาร / สารละลาย / เลอื ด / ยา
5.2.1 ล้างมอื ดว้ ยสบผู่ สมน้ายาทาลายเช้ือ (Hygienic hand washing) / Alcohol hand rub กอ่ นและ

หลังการเตรยี มสารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา
5.2.2 เตรียมอปุ กรณ์ และสารอาหาร / สารละลาย / เลอื ด / ยา ให้ถูกต้องตามแผนการรักษา

5.3 การเตรยี มการใสส่ ายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลาง ปฏิบตั ิ ดงั นี้
5.3.1 ล้างมอื ดว้ ยสบผู่ สมนา้ ยาทาลายเชื้อ (Hygienic hand washing) / Alcohol handrub กอ่ นและ

หลังการใส่สายสวนหลอดเลอื ดดาส่วนกลาง
5.3.2 การเลอื กตาแหน่งที่ใส่

 ผ้ใู หญ่ควรใช้ตาแหน่ง Subclavian vein มากกวา่ ตาแหน่ง Jugular vein / Femoral vein

 การฟอกเลอื ด และการถา่ ยเลือดควรใช้ตาแหนง่ Jugular vein / Femoral vein มากกวา่ Subclavian vein
5.3.3 ทาความสะอาดผวิ หนังด้วย 4% Chlorhexidine เช็ดให้แห้ง
5.3.4 ผู้ทใ่ี สส่ ายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลางใหส้ วมหมวก ผา้ ปดิ ปากและจมกู เสื้อคลุมปราศจากเชื้อ
ถงุ มือปราศจากเช้อื และใช้ผ้าคลมุ ปราศจากเชือ้ ขนาด 100 cm. x 150 cm. (เดก็ 100 cm. x 100 cm.)
5.3.5 ทาความสะอาดผวิ หนังผู้ป่วยดว้ ย 2 % Chlorhexidine in 70% Alcohol รอใหแ้ หง้ กอ่ นใส่

สายสวนหลอดเลือดดาส่วนกลาง (ไม่แนะนาใหใ้ ช้ 2 % Chlorhexidine in 70% Alcohol ในทารกอายุ  2 เดอื น/

หญงิ อายคุ รรภ์  26 สปั ดาห)์
5.3.6 ปิดตาแหนง่ ทใี่ ส่สายสวนหลอดเลอื ดดาสว่ นกลางดว้ ย Sterile gauze / Transparent
5.3.7 ระบวุ ันท่ี ในการเปลยี่ นชุดให้สารอาหาร / สารละลาย / ยา ตามข้อ 5.4.5

96/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC – 028

เรอื่ ง แนวทางปฏบิ ตั กิ ารใสแ่ ละการดแู ลสายสวนหลอด แก้ไขคร้ังที่ : 02 หนา้
เลอื ดดา ส่วนกลาง (Central line) วันท่ีบังคับใช้ : มิ.ย. 2561 2/3

5.4 การดแู ลตาแหน่งทใี่ สส่ ายสวน
5.4.1 ประเมนิ ตาแหนง่ ทีใ่ ส่สายสวนทกุ วนั และทบทวนความจาเป็นของการใสส่ ายสวน โดยทีมสหสาขาวิชาชพี
5.4.2 ไมใ่ ช้ขผ้ี ึ้งปฏิชวี นะ / ครมี ปฏชิ ีวนะ ทาตาแหน่งท่ีใสส่ ายสวน
5.4.3 การเปล่ยี น Dressing ปฏบิ ัติ ดังน้ี
 ปดิ ดว้ ย Sterile gauze ให้เปลี่ยน Dressing ไม่เกนิ 24 ช่วั โมงแรก และเปลย่ี น Dressing
คร้ังต่อๆ ไปทกุ 2 วัน หรอื เมือ่ ลอกหลดุ เปยี กชน้ื หรือเป้อื นเลือด / สารคดั หลัง่
 ปดิ ด้วย Transparent เปล่ยี น Dressing ทุก 7 วนั หรอื เม่ือลอกหลดุ เปยี กชน้ื หรือเปอื้ นเลอื ด /

สารคดั หลั่ง
5.4.4 การเปลยี่ นชุดใหส้ ารละลาย
 ชดุ ให้สารละลายเปลี่ยน ทกุ 96 ชัว่ โมง
 ชุดให้สารละลายทปี่ ระกอบด้วยไขมนั เปล่ยี นทุก 24 ช่ัวโมง
 ชดุ ให้สารไขมนั แขวนลอยเปลยี่ นทกุ 12 ชว่ั โมง
 ชดุ ใหย้ าปฏิชวี นะเปลย่ี นทุก 24 ช่วั โมง
 ชดุ ให้เลอื ด / ส่วนประกอบของเลอื ดเปลี่ยน ทุก 4 ชัว่ โมง

5.4.5 การผสมสารละลายใหใ้ ช้ขวดนา้ ยาสาหรบั การผสมชนดิ ใชค้ ร้ังเดียว

5.4.6 สารละลายที่เหลอื จากการใช้ครงั้ เดยี ว ไมแ่ นะนาให้นามารวมกนั สาหรับใชค้ ร้ังต่อไป

5.4.7 สารอาหาร / สารละลาย / ยา ทผี่ สมแล้วให้แชต่ เู้ ยน็ ไม่เกิน 24 ชั่วโมง หลงั มกี ารเปดิ ใช้

5.4.8 ไมแ่ นะนาใหด้ ดู เลือดทางสายสวนสาหรบั การฟอกเลอื ดไปตรวจ ยกเว้นระหว่างการฟอก
เลือด หรอื ในภาวะฉกุ เฉนิ

5.4.9 เติม Heparin ปรมิ าณตา่ (0.25-1.0 U/ml) ในสารนา้ ทใี่ หผ้ า่ นทางสายสวนหลอดเลือดแดงของสายสะดือ
5.4.10 ควรถอดสายสวนออกทันที เมือ่ ไมม่ คี วามจาเป็น และ

 สายสวนหลอดเลอื ดแดงของสายสะดอื ไมค่ วรใส่ไว้เกนิ 5 วนั
 สายสวนหลอดเลือดดาของสายสะดอื สามารถทิ้งไว้ได้นานถงึ 14 วัน
5.4.11 กรณีมอี าการและอาการแสดงของการตดิ เช้ือในกระแสโลหิตจากการใสส่ ายสวนหลอดเลือด
ดาส่วนกลาง ใหบ้ ันทึกเป็นการรายงานอตั ราการติดเชอื้ ท่ีตาแหนง่ Catheter Associated Bloodstream Infection
(CLABSI) โดยใชส้ ตู ร

CLABSI = จานวนครัง้ ของการเกดิ CLABSI x 1,000
จานวนวนั ทใ่ี ส่สายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลาง ในชว่ งเวลาเดยี วกนั

97/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าช Faculty หมายเลขเอกสาร
IC – 028
of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University

เรอื่ ง แนวทางปฏบิ ัตกิ ารใสแ่ ละการดูแลสายสวนหลอด แก้ไขครั้งท่ี : 02 หน้า
เลอื ดดา สว่ นกลาง (Central line) วันท่ีบังคบั ใช้ : มิ.ย. 2561 3/3

6. เอกสารอา้ งองิ
Center for Disease Control and Prevention. (2011). Guideline for the Prevention of Intravascular
Catheter-Related Infections. Update Recommendation July, 2017. Retrieved January 20, 2018.
Available from: http://www.cdc.gov/hicpac/pdf/guidelines/bsi-guidelines-2011.pdf.
Center for Disease Control and Prevention. (2017). Definition CDC guideline Central line
Associated Bloodstream Infection. Retrieved January 20, 2018. Available from:
https://www.cdc.gov/infectioncontrol/guidelines/clabsi/

98/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธิราช หมายเลขเอกสาร

Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC – 027

เรื่อง แนวทางปฏบิ ัติการดูแลผู้ป่ วยทไี่ ด้รับการใส่สายสวนหลอด แกไ้ ขคร้ังที่ : 00 หน้า
1/3
เลอื ดดาส่วนปลาย (Peripheral line) วนั ท่ีบงั คบั ใช้ : ส.ค. 2552

1. วตั ถุประสงค์
เพอื่ ป้ องกนั การเกิดหลอดเลือดดาส่วนปลายอกั เสบจากการไดร้ ับสารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา

2. คาจากดั ความ
หลอดเลือดดาส่วนปลายอกั เสบ (Pheblitis) หมายถึง การอกั เสบของหลอดเลือดดาส่วนปลายจากการให้

สารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา แบ่งออกเป็น 5 ระดบั ดงั น้ี
ระดบั 0 ไม่มีอาการ
ระดบั 1 แดงบริเวณที่แทง ปวดหรือไม่ปวดกไ็ ด้
ระดบั 2 ปวดบริเวณท่ีแทงพร้อมกบั แดงและ / หรือบวม
ระดบั 3 ปวดบริเวณที่แทงพร้อมกบั แดงและ / หรือบวม มีรอยแดงเป็นทาง คลาไดห้ ลอดเลือดแขง็
ระดบั 4 ปวดบริเวณท่ีแทงพร้อมกบั แดงและ / หรือบวม มีรอยแดงเป็นทาง คลาไดห้ ลอดเลือดแขง็

ยาวมากกวา่ 1 นิ้ว มีหนอง

3. ข้นั ตอนการปฏบิ ัติ

3.1 บุคลากร
3.1.1 ไดร้ ับความรู้เกี่ยวกบั ขอ้ บ่งช้ี ข้นั ตอนการปฏิบตั ิที่ถูกตอ้ งของการดูแลรักษาผปู้ ่ วยท่ีไดร้ ับการใส่

สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลาย
3.1.2 ไดร้ ับการประเมินความรู้และการปฏิบตั ิงานเป็นระยะ

3.2 อปุ กรณ์สาหรับการให้สารอาหาร / สารละลาย / เลอื ด / ยา
3.2.1 ชุดใหส้ ารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา
3.2.2 สารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา ตามแผนการรักษา
3.2.3 สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลาย (Peripheral catheter) สาหรับใหส้ ารอาหาร / สารละลาย / เลือด

/ ยา ตามความเหมาะสม
3.2.4 สายยางรัดแขน (Tourniquet)
3.2.5 Transfer forceps
3.2.6 สาลีปราศจากเช้ือ
3.2.7 70% Alcohol
3.2.8 Sterile gauze / Transparent dressing
3.2.9 พลาสเตอร์
3.2.10 เสาแขวนสารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา

99/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธิราช หมายเลขเอกสาร
IC – 027
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
เร่ือง แนวทางปฏบิ ัติการใส่และการดูแลสายสวนหลอดเลอื ดดา แกไ้ ขคร้ังที่ : 00 2/3

ส่วนปลาย (Peripheral line) วนั ที่บงั คบั ใช้ : ส.ค. 2552

3.2.11 เคร่ืองกาหนดอตั ราการไหล (Infusion pump) ของสารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา ในกรณีตอ้ งใช้
3.2.12 แถบสีกาหนดวนั เปล่ียนชุดใหส้ ารอาหาร / สารละลาย / ยา

3.3 การเตรียมสารอาหาร / สารละลาย / เลอื ด / ยา
3.3.1 ลา้ งมือแบบ Hygienic / ใช้ Alcohol handrub ก่อนและหลงั การเตรียมสารอาหาร / สารละลาย /

เลือด / ยา
3.3.2 เตรียมอุปกรณ์ และสารอาหาร / สารละลาย / เลือด / ยา ใหถ้ ูกตอ้ งตามแผนการรักษา
3.3.3 ตรวจสอบการร่ัว แตก ซึม มีตะกอน วนั ท่ีหมดอายุ และความผดิ ปกติอ่ืนๆ

3.4 การให้สารอาหาร / สารละลาย / เลอื ด / ยา
3.4.1 ลา้ งมือแบบ Hygienic / ใช้ Alcohol handrub ก่อนสวมถุงมือสะอาด
3.4.2 เลือกตาแหน่งท่ีใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลาย ดงั น้ี
 ผใู้ หญ่ ควรเลือกตาแหน่งบริเวณแขน > ขา

 เดก็ ควรเลือกตาแหน่งบริเวณศีรษะ มือ หรือดา้ นหลงั เทา้
3.4.3 ทาความสะอาดผวิ หนงั บริเวณใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลาย โดยเช็ดบริเวณท่ีจะแทงเขม็ ดว้ ย
70% Alcohol วนจากดา้ นในออกไปโดยรอบรอใหแ้ หง้ จึงแทงเขม็
3.4.4 ปิ ดบริเวณที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดาดว้ ย Transparent หรือ Sterile gauze
3.4.5 ระบุวนั ท่ี ในการเปล่ียนตาแหน่งท่ีใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลาย และชุดใหส้ ารอาหาร /
สารละลาย / ยา บริเวณตาแหน่งท่ีใส่สายสวน / ชุดใหส้ ารละลาย
3.4.6 การเปล่ียน Dressing ปฏิบตั ิ ดงั น้ี

 ปิ ดดว้ ย Sterile gauze เปลี่ยน Dressing ทุก 24 ชวั่ โมง / เมื่อเป้ื อน / หลุด
 ปิ ดดว้ ย Transparent เปล่ียน Dressing ทุก 3 วนั / เมื่อเป้ื อน / หลุด
3.4.7 การเปล่ียนตาแหน่งท่ีใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลาย ในผใู้ หญ่ใหเ้ ปล่ียนทกุ 72 ชว่ั โมง ยกเวน้
ผปู้ ่ วยเดก็ ใหจ้ นสิ้นสุดการใหส้ ารละลาย หรือเม่ือมีอาการและการแสดงการอกั เสบของหลอดเลือดดาส่วนปลาย
ตามคาจากดั ความ
3.4.8 การเปลี่ยนชุดใหส้ ารละลาย

 ชุดใหส้ ารละลาย เปลี่ยนทุก 72 ชว่ั โมง
 ชุดใหส้ ารละลายที่ประกอบดว้ ยไขมนั เปลี่ยน ทุก 24 ชว่ั โมง
 ชุดใหส้ ารไขมนั แขวนลอยเปล่ียน ทุก 12 ชว่ั โมง
 ชุดใหย้ าปฏิชีวนะเปลี่ยน ทุก 24 ชวั่ โมง
 ชุดใหเ้ ลือด / ส่วนประกอบของเลือดเปล่ียน ทุก 4 ชว่ั โมง

100/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
IC – 027
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
เร่ือง แนวทางปฏบิ ตั ิการใส่และการดูแลสายสวนหลอดเลอื ดดา แกไ้ ขคร้ังท่ี : 00 3/3

ส่วนปลาย (Peripheral line) วนั ที่บงั คบั ใช้ : ส.ค. 2552

3.4.9 การผสมสารละลายใหใ้ ชข้ วดน้ายาสาหรับการผสมชนิดใชค้ ร้ังเดียว
3.4.10 สารละลายท่ีเหลือจากการใชค้ ร้ังเดียว ไม่แนะนาใหน้ ามารวมกนั สาหรับใชค้ ร้ังต่อไป
3.4.11 สารอาหาร / สารละลาย / ยาท่ีผสมแลว้ ใหแ้ ช่ตเู้ ยน็ หลงั มีการเปิ ดใช้

3.4.12 ตรวจสอบการอกั เสบของหลอดเลือดดาส่วนปลาย อยา่ งนอ้ ยทุก 8 ชว่ั โมง กรณีพบอาการ และการ
แสดงการอกั เสบของหลอดเลือดดาส่วนปลาย ควรบนั ทึกเป็นรายงานประจาเดือน และรายงานอตั ราการเกิดหลอด

เลือดดาส่วนปลายอกั เสบ โดยใชส้ ูตร

อตั ราการเกิดหลอดเลือดดาส่วนปลายอกั เสบ = จานวนคร้ังของการเกิดหลอดเลือดดาส่วนปลายอกั เสบ x 100

จานวนคร้ังที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนปลายสาเร็จ

4. เอกสารอ้างองิ
Center for Disease Control and Prevention. (2002). Guideline for the Prevention of Intravascular
Catheter-Related Infection. Available from http://www.cdc.gov/ncidod/dhqp/gl_intravascular.html
Infusion nursing standards of practice. J Intravenous Nursing 2000; 23(6S): S56 – S69.

101/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
แบบ check list การดแู ลผู้ป่วยทใ่ี
ชื่อ-สกุล...............................................................HN………………………….. AN……......……………

Day/ว/ด/ป Day……วันท…่ี ........ Day……วันท…ี่ .......

เวลา

กรณี Dressing/ให้ยา

1. ล้างมือตามหลัก 5 moments อย่างเคร่งครัด
2. ใช้ 2 % CHG in 70 % Alcohol ในการ Dressing

3. Scrub the hub ด้วย 70 % Alcohol อย่างน้อย
15 วินาที

Day/ว/ด/ป Day……วันท…ี่ ........ Day……วันท…่ี .......

กรณีใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนกลาง ดชบ ด ช บ

1. ล้างมือตามหลัก 5 moments อย่างเคร่งครัด

2. ใส่ Maximal sterile barrier เม่ือทาหัตถการ

C – line ได้แก่ Mask, Gown, Gloves, Cap, Sterile

full body drape

3. ใช้ 2 % CHG in 70 % Alcohol ทาความสะอาด
ผิวหนังก่อนทาหัตถการ C – line

ผู้ประเมิน
หมายเหตุ

ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องกรณีปฏิบัติ และ X กรณไี ม่ปฏิบัติ
Day = จานวนวันของการใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนกลาง

ขอ้ ห้ามปฏิบัติ
ห้ามใช้ CHG ในเด็กอายุต่ากว่า 2 เดือน

102/

ล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
ใส่สายสวนหลอดเลือดดาส่วนกลาง
หน่วยงาน.....................................วันท่ใี ส่ C-line …….....................……………………………..
.. Day……วันท…่ี ...... Day……วันท…่ี ......Day……วันท…ี่ ......Day……วันท…ี่ ......Day……วันท…่ี ......

.. Day……วันท…่ี ...... Day……วันท…่ี ......Day……วันท…่ี ......Day……วันท…่ี ......Day……วันท…ี่ ......
ด ช บ ดชบ ด ชบ ด ชบด ช บ

FM-ICC01-062 (แก้ไขครั้งท่ี 01)

/248

Goal 3
1. IC-062
2. IC-012
3. WI-ICC01-003
4. WI-ICC01-017

103/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC- 062

เรอ่ื ง แนวทางการปฏบิ ตั เิ ม่อื บุคลากรเปน็ วัณโรค แกไ้ ขครง้ั ที่ : 01 หน้า
วนั ที่บังคบั ใช้ : ก.ย.58 1/2

1. วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื เป็นแนวทางการดแู ลบุคลากรท่ีตรวจพบวัณโรค และป้องกันการแพร่กระจายเช้ือวณั โรค

2. คาจากดั ความ
วัณโรค (Tuberculosis) เกดิ จากเชอ้ื แบคทีเรียทมี่ ีชือ่ วา่ Mycobacterium tuberculosis ตดิ ตอ่ โดยการ

แพร่กระจายเชอื้ ทางอากาศ (Airborne transmission) และทางละอองเสมหะ (Droplet transmission) จากการไอจาม
ของผ้ปู ่วยวณั โรคในระยะแพร่เช้ือ (ระยะฟกั ตวั 4 – 6 สัปดาห)์

3. แนวทางการปฏิบัติเมอ่ื บคุ ลากรเปน็ วณั โรค
3.1 หนว่ ยงานทตี่ รวจพบ / หวั หน้าหนว่ ยงาน / บุคลากรทปี่ ว่ ย แจ้งงาน IC ทนั ที (โทร.3527 – 8) ในเวลาราชการ
3.2 บคุ ลากรท่ปี ่วยติดตอ่ หน่วยโรคระบบทางเดินหายใจและทรวงอก (โทร.3478) ในเวลาราชการ เพอ่ื ให้

คาปรกึ ษา ลงทะเบียน และให้การดูแลบุคลากรท่ปี ว่ ยตอ่ เนอื่ ง โทร.แจง้ งาน IC ทันที (โทร.3527 – 8) ในเวลาราชการ
3.3 แพทยผ์ ู้ตรวจรกั ษา ให้บคุ ลากรทเ่ี ป็น Pulmonary TB (ผลการตรวจ Brocholavage / Sputum AFB /

Chest x-ray ยนื ยัน) หยดุ พักงานระหว่างรับประทานยา 2 สัปดาหแ์ รก ส่วนกรณีอื่นๆ พิจารณาตามความเหมาะสม
3.4 แนะนาใหบ้ คุ ลากรทปี่ ่วยสวม Surgical mask ระหว่างรับประทานยา 2 สัปดาหแ์ รก / เมื่อยังมอี าการไอ

เพ่ือปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชือ้
3.5 กรณบี คุ ลากรทางการพยาบาลป่วย ไม่สามารถกลบั ไปพกั ทบี่ ้าน ฝ่ายการพยาบาลจัดหอ้ งพักแยกให้บุคลากรท่ี

ป่วยตามความเหมาะสม
3.6 ICN สอบสวนการระบาด และเฝา้ ระวังบคุ ลากรผูส้ มั ผัสโรค
3.7 บคุ ลากรอื่นๆ ท่ีสัมผสั กับบคุ ลากรทปี่ ว่ ยใหส้ งั เกต หากมีอาการไข้เรื้อรงั นา้ หนกั ลด หรอื ไอเร้ือรัง พบแพทย์ที่

หนว่ ยโรคระบบทางเดินหายใจและทรวงอก เพ่ือพิจารณาสง่ เสมหะตรวจ AFB 3 คร้งั ร่วมกับถา่ ยภาพรังสที รวงอก ถา้ มี
ลักษณะเข้าไดก้ บั วัณโรคปอดใหก้ ารรกั ษาทันที และจดั ให้มกี ารตดิ ตามผทู้ ีม่ ภี าพถา่ ยรงั สที รวงอกผิดปกติท่ีไมม่ ีอาการทกุ
6 เดอื น เพอื่ รบั การวินิจฉยั และดแู ลโดยเรว็

3.8 หน่วยงานทตี่ รวจรกั ษาเขยี นใบ รง.506 สง่ งานเวชสารสนเทศ

4. แนวทางปฏิบตั สิ าหรบั บุคลากรในการยนื่ คารอ้ งขอค่าชดเชย
4.1 บุคลากรทปี่ ่วยประสานกับงาน IC แจง้ ความจานง ย่ืนคารอ้ งขอคา่ ชดเชย (ภายใน 1 ปนี บั จากวนั ทท่ี ราบความ

เสยี หาย)
4.2 เตรยี มเอกสาร / หลักฐาน ดงั นี้
4.2.1 ตรวจสอบคน้ หาผรู้ ับบริการ (สทิ ธิบ์ ตั รทอง) ที่ป่วยเปน็ วัณโรคในหนว่ ยงาน (ยอ้ นหลงั 1 – 2 ป)ี
4.2.2 เขียน แบบการยนื่ คารอ้ งขอรบั เงินช่วยเหลอื เพ่ือการชดเชย กรณผี ใู้ หบ้ รกิ ารได้รบั ความเสยี หายจาก
การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ หมายเหตุ ในแบบยน่ื คาร้องหวั ข้อที่ 2 ขอ้ 2.4 เหตทุ แ่ี ละความเสียหายที่
เกิดขน้ึ ใหบ้ รรยายถึงเหตุการณ์ และความเสียหายตา่ งๆ ท่ไี ดร้ ับอยา่ งชดั เจน เชน่ การรักษาทไี่ ดร้ บั
ผลข้างเคยี งของยา ระยะเวลาท่ีต้องรกั ษาตวั หรือถ้ามีบาดแผลบอกลักษณะบาดแผล (โดยเขียนในใบ
บนั ทกึ ขอ้ ความ ระบุเป็นเอกสารแนบ ความยาวไม่ควรเกนิ หนา้ กระดาษ A4)

104/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC- 062

เรอ่ื ง แนวทางการปฏบิ ัตเิ ม่อื บคุ ลากรเปน็ วัณโรค แกไ้ ขคร้ังที่ : 01 หน้า
วันทบี่ งั คบั ใช้ : ก.ย.58 2/2

4.2.3 ถ่ายสาเนาเอกสารหรอื หลักฐาน (เขยี นรับรองสาเนาถกู ตอ้ งทกุ แผน่ ) ดังน้ี
บุคลากรผใู้ หบ้ รกิ าร
1) เวชระเบยี น สาเนาแผ่นแรกของท่ีมชี ือ่ ที่อยู่ และสาเนาช่วงทร่ี ะบวุ นั ทที่ ่ไี ดร้ บั ความเสียหาย
การวินิจฉยั และการรักษา
2) สาเนาบตั รประจาตัวขา้ ราชการ / พนกั งานมหาวทิ ยาลัย และบัตรประชาชน
3) ใบรบั รองแพทย์ (ถ้ามี)
4) สาเนาการตรวจท่เี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ผลการตรวจเสมหะ (AFB)
ผรู้ บั บรกิ าร
1) เวชระเบยี น สาเนาแผน่ แรกทม่ี ชี อ่ื ทีอ่ ยู่ และสาเนาช่วงท่ีไดร้ ับการวนิ จิ ฉยั และการรกั ษา
2) ใบตรวจสอบสทิ ธใ์ิ นระบบหลักประกนั สุขภาพ (ขอท่ศี ูนยป์ ระสานสิทธ)ิ์

หมายเหตุ มุมบนขวาของแบบการย่นื คาร้องฯ ไม่ต้องลงชอื่ หนว่ ยรบั คารอ้ ง และวนั ท่ยี นื่ คารอ้ ง

5. งานควบคมุ โรคติดเชอื้
5.1 ตรวจสอบความถูกต้องครบถว้ นของ แบบการยื่นคาร้องขอรบั เงนิ ช่วยเหลือเพอ่ื การชดเชย กรณีผใู้ ห้บรกิ ารได้รับ

ความเสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข
5.2 ทาบนั ทกึ ข้อความ เพ่ือประกอบการยนื่ แบบคารอ้ งฯ ใสซ่ องปดิ ผนกึ จา่ หนา้ ซองถึงผ้อู านวยการสานกั งาน

หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 13 กทม. โดยกาหนดรวบรวมคาร้องส่งทกุ 3 เดอื น (สง่ ภายในวนั ท่ี 5 ของเดือนตลุ าคม
มกราคม เมษายน และกรกฎาคม)

6. เอกสารอา้ งอิง
1. Diane I. Bennett, Michael F. Iademarco, Paul A. Jensen and et al., Guidelines for Preventing
the Transmission of Mycobacterium tuberculosis in Health-Care Settings,
December 30, 2005 / 54(RR17);1-141
2. www.who.int/tb/publications/who_tb_99_269/en/ Addendum to "WHO guidelines for the
prevention of tuberculosis in health care facilities in resource-limited settings", 1999.

105/248

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University IC – 012

เรอื่ ง แนวทางปฏบิ ัติงานการใชอ้ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งปอ้ งกนั เพอื่ ป้องกนั การ แกไ้ ขครั้งท่ี : 02 หนา้
1 /8
ติดเช้ือและการแพรก่ ระจายเช้อื / เชอ้ื ดอื้ ยา วนั ทีบ่ งั คับใช้ : เม.ย. 61

1. วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพื่อป้องกันการติดเชอ้ื และการแพรก่ ระจายเช้อื ในโรงพยาบาล
1.2 เพอ่ื เป็นแนวทางการใช้อปุ กรณ์เคร่ืองปอ้ งกันสาหรบั บคุ ลากร

2. คาจากดั ความ
การใชอ้ ปุ กรณเ์ คร่อื งป้องกัน หมายถงึ การเลือกอุปกรณเ์ ครอื่ งปอ้ งกนั ใหเ้ หมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ท่ตี อ้ งการปอ้ งกัน

และใช้เครอื่ งปอ้ งกันรา่ งกายเฉพาะในกรณที ่มี ีข้อบ่งช้เี ท่านน้ั

3. ประเภทอปุ กรณป์ อ้ งกันและแนวทางปฏบิ ัติ
3.1 หมวก (cap) คณุ สมบตั ทิ าดว้ ยผา้ หรือกระดาษ
ข้อบง่ ชี้ในการสวมหมวก
1. ผา่ ตดั หรือชว่ ยผ่าตัด
2. ปฏบิ ตั งิ านในสถานทที่ ต่ี อ้ งการความสะอาดหัตถการท่อี าจมีเลอื ด/สารคัดหล่ังกระเด็น
3. ขณะปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกบั วสั ดปุ ราศจากเช้อื
แนวทางปฏบิ ตั ิ

1. ล้างมอื ด้วยน้าและสบ่เู หลว / สบ่ผู สมนา้ ยาฆ่าเชอ้ื ก่อนสวมหมวก และหลงั ถอดหมวก
2. สวมหมวกให้คลมุ ผมและเกบ็ ผมไดท้ ง้ั หมด
3. ระหวา่ งการใช้งานถ้าเปอ้ื นเลือด หรอื สารคดั หล่ังให้เปลี่ยนใหมท่ นั ที
4. ระหว่างสวมหมวก ใหร้ ะมัดระวังไมจ่ บั ด้านนอกของหมวก
5. การถอดหมวกควรคอ่ ย ๆ ถอดหมวกออก แล้วมว้ นให้ด้านในอยู่ด้านนอก
3.2 แวน่ ปอ้ งกันตา ต้องเปน็ แวน่ ท่ปี กปดิ เพ่อื ป้องกนั สิ่งปนเปอื้ น นา้ หรือละอองไมใ่ หก้ ระเด็นหรือฟุ้งเขา้ ตา
ชนดิ ของแว่นปอ้ งกันตา
3.2.1แว่นป้องกนั ตา (Goggles) เป็นแว่นตาที่มีแผงกันด้านขา้ งและด้านล่างจะกระชับกับใบหนา้
ปอ้ งกนั สารน้าและละอองได้ดี
3.2.2หน้ากาก (face shield) เป็นแผงตดิ กับกรอบใชส้ วมศรี ษะสามารถป้องกนั การฟุ้งกระจาย
ของสารคัดหลง่ั ดา้ นหน้า แต่ป้องกนั นา้ และละอองทเ่ี ขา้ ด้านขา้ งและลา่ งไมค่ ่อยดี สามารถใชส้ วมกบั Goggles ได้
ขอ้ บง่ ชีใ้ นการใสแ่ ว่นป้องกนั ตา
1. หตั ถการทอ่ี าจจะมเี ลือด / สารคดั หลง่ั กระเดน็ เข้าตา
2. การปฏิบัตใิ นห้องปฏิบตั ิการ
แนวทางปฏิบตั ิ
1. ล้างมอื ด้วยนา้ และสบ่เู หลว / สบ่ผู สมนา้ ยาฆ่าเช้ือกอ่ นสวมแว่นปอ้ งกันตา และหลงั ถอดแว่น
ปอ้ งกนั ตา
2. สวมแวน่ ปอ้ งกนั ตาใหก้ ระชับใบหน้า
3. ระหว่างการใช้งานถ้าเป้อื นเลอื ด หรอื สารคดั หลงั่ ให้เปลี่ยนใหม่ทนั ทแี ละท้งิ เปน็ ขยะติดเชอ้ื
4. หลงั เสรจ็ กจิ กรรมแล้วใหถ้ อดล้างด้วยนา้ และสบู่ ผึ่งใหแ้ หง้

106/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University

เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ัติงานการใช้อปุ กรณเ์ ครอื่ งป้องกนั เพอ่ื ป้องกัน การ แกไ้ ขครง้ั ท่ี : 02 หนา้
วนั ท่ีบงั คบั ใช้ : เม.ย. 61 2 /9
ติดเชอ้ื และการแพรก่ ระจายเชือ้ / เชอ้ื ดอ้ื ยา

3.3 ผ้าปดิ ปาก – จมกู (Mask)
ชนิดของผา้ ปิดปาก - จมูกแบง่ เป็น 2 ชนดิ
3.3.1.1 Surgical mask คือ ผา้ ปดิ ปาก – จมกู ทาจากใยสังเคราะห์ใชค้ รง้ั เดยี วทงิ้
3.3.1.2 Particulate mask คอื อุปกรณ์เครื่องป้องกนั การตดิ เชอ้ื ระบบทางเดินหายใจ สามารถ

ปอ้ งกันฝุน่ ละออง อนุภาค รวมทัง้ เชื้อจลุ ชพี ที่มีขนาดตัง้ แต่ 0.3 ไมครอนได้
ขอ้ บง่ ช้ีในการใชผ้ ้าปดิ ปาก – จมกู (Mask)
1. Surgical mask
- การทาหตั ถการ
- เมอ่ื บุคลากรหรอื ผเู้ ยีย่ มไขเ้ ปน็ โรคติดต่อทางเดนิ หายใจ
- การดูแลผูป้ ่วยหรอื การปฏบิ ัติงานในหอ้ งทดลอง
2. Particulate mask ใช้ในการดแู ลผ้ปู ว่ ยที่มกี ารแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ เชน่ SARS,

Avian Flu, Varicella และ TB
แนวทางปฏบิ ตั ิ
1. ลา้ งมอื กอ่ น และหลงั สวมผา้ ปดิ ปาก – จมูก
2. การสวม Surgical mask ใหส้ ว่ นท่กี ันนา้ ไดอ้ ย่ดู า้ นนอก ส่วนท่ีเปน็ แถบอลมู เิ นียมอยูท่ ส่ี ันจมูก

และใหผ้ ้าปดิ ต้งั แตจ่ มูกคลุมถงึ ใตค้ าง
3. การสวม Particulate mask ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
3.1 สวมใหค้ ลมุ จมกู ปากและคาง
3.2 กดแถบอลูมิเนยี มให้แนบกับสนั จมูก
3.3 คลอ้ งเชอื กไปด้านหลงั ศีรษะ
3.4 ขยบั ให้หนา้ กากกระชบั พอดี ทดสอบความกระชบั (fit test) โดย
- หายใจเขา้ หนา้ กากควรยุบตวั ลงเลก็ นอ้ ย
- หายใจออกไมม่ ีลมรั่วตามแนวสันจมกู คาง
4. ระหวา่ งการใช้งานถา้ เปอ้ื นเลือด / สารคัดหล่ังใหเ้ ปลี่ยนใหมท่ ันที
5. หลงั เสรจ็ กิจกรรมแล้วให้ถอดท้งิ เป็นขยะตดิ เชื้อ

3.4 ถงุ มอื (Glove)
ประเภทของถงุ มือ
1. ถุงมอื ทางการแพทย์ (Surgical gloves) หมายถงึ ถุงมือท่ใี ช้ในการปฏบิ ตั ิงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั

ผปู้ ่วย ได้แก่
1.1 ถุงมือปราศจากเชอื้ (Sterile gloves) มี 2 ขนาด
- ถงุ มือปราศจากเชอ้ื ขนาดส้ันใช้ท่ัวไป
- ถงุ มอื ปราศจากเช้ือขนาดยาว ใช้สาหรบั การลว้ งรกหรอื การผา่ ตดั อวัยวะท่อี ย่ลู กึ

2. ถุงมือสะอาด (Non sterile gloves)
3. ถุงมือยางหนา หรอื ถุงมือแมบ่ า้ น (Heavy duty gloves)

107/248

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั งิ านการใช้อปุ กรณเ์ ครอ่ื งปอ้ งกนั เพอื่ ป้องกัน การ แกไ้ ขคร้ังท่ี : 02 3 /8
วนั ทบ่ี ังคับใช้ : เม.ย. 61
ติดเช้อื และการแพรก่ ระจายเช้ือ / เชอ้ื ดอ้ื ยา

ข้อบง่ ชี้ในการใช้ถงุ มือปราศจากเชอ้ื
1. เมอื่ หยิบจับเครือ่ งมือทปี่ ราศจากเช้อื
2. เมอ่ื ทาหัตถการ

ขอ้ บง่ ช้ีในการใช้ถงุ มอื สะอาด
1. การหยบิ จับสง่ิ ของสกปรก
2. การจบั ตอ้ งผปู้ ่วยหรอื อวัยวะสว่ นใดส่วนหนง่ึ ของผู้ป่วย
3. การหยิบจบั ลา้ ง วัสดหุ รือสถานทที่ ี่สกปรก หรอื มเี ชื้อโรค

ข้อบ่งชีใ้ นการใช้ถงุ มือยา่ งหนา
1. ลา้ งอปุ กรณท์ างการแพทย์ เกบ็ ล้างกระโถน กวาดพนื้ เชด็ พื้น
2. เชด็ โตะ๊ ขา้ งเตยี ง เชด็ เตียงผู้ป่วย

แนวทางปฏบิ ัติ
1. การใช้ถุงมอื ทางการแพทย์
1.1 การใชถ้ ุงมอื ปราศจากเชือ้
- ลา้ งมือกอ่ นใสถ่ งุ มือ และหลังถอดถงุ มอื
- หลังเสร็จกจิ กรรมแล้วถอดถงุ มือทิง้ เปน็ ขยะตดิ เช้อื
- เปลีย่ นถุงมือทกุ ครงั้ เมอื่ ให้การพยาบาล หรอื ทาหัตถการกับผู้ปว่ ยรายตอ่ ไป
1.2 การใชถ้ ุงมอื สะอาด
- ล้างมอื กอ่ นใส่ถุงมอื และหลงั ถอดถงุ มอื
- หลงั เสรจ็ กิจกรรมแล้วถอดถงุ มอื ทง้ิ เปน็ ขยะตดิ เช้ือ
- เปลยี่ นถงุ มือทุกคร้ังเมอื่ ใหก้ ารดแู ลรักษาพยาบาลกบั ผ้ปู ่วยรายตอ่ ไป
1.3 ถุงมือยา่ งหนาหรอื ถุงมือแมบ่ า้ น
- ลา้ งมอื กอ่ นใส่ถงุ มือและหลงั ถอดถุงมือ
- สวมถุงมอื เม่อื ทากจิ กรรม เชน่ กวาดถูพ้นื เก็บลา้ งกระโถนลา้ งอุปกรณ์ที่ใช้กบั

ผปู้ ว่ ยเชด็ โต๊ะข้างเตียงและเตียงผู้ป่วย
- ถอดถงุ มอื เมอ่ื เปิด- ปิดประตู
- ล้างถุงมือด้วยนา้ และผงซกั ฟอกนาถุงมอื ไปผ่งึ ให้แห้งก่อนนามาใช้ใหม่

3.5 เสอื้ คลมุ (Gown)
ขอ้ บง่ ชข้ี องการใสเ่ สอ้ื คลมุ
1. เมือ่ จะสัมผสั กบั สงิ่ ท่มี ีเช้อื โรค
2. เพ่ือป้องกันเช้ือโรคแพรส่ ู่ผปู้ ่วย
ประเภทของเสอื้ คลมุ
- เส้ือคลุมสาหรับหอ้ งผ่าตัด
- เสือ้ คลุมกันน้า
- เส้อื คลมุ สาหรับเช้อื ดือ้ ยา

108/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
เรอื่ ง แนวทางปฏบิ ัตงิ านการใช้อปุ กรณเ์ ครอื่ งป้องกนั เพอื่ ป้องกัน การ แก้ไขคร้ังที่ : 02 4 /8
วนั ทบี่ ังคับใช้ : เม.ย. 61
ตดิ เชอ้ื และการแพรก่ ระจายเชอื้ / เชอ้ื ดอื้ ยา

แนวทางปฏบิ ตั ิ
1. ล้างมอื ก่อนสวมเสอ้ื คลุมและหลงั ถอดเส้อื คลมุ
2. เลอื กใชช้ นดิ ของเสือ้ คลุมให้สอดคล้องกับกจิ กรรม
3. ใชเ้ ส้ือคลุม 1 ตัวต่อการดูแลผู้ปว่ ย 1 คน
4. ระหว่างการใชง้ านถ้าเปอ้ื นเลือด สารคัดหลัง่ ใหเ้ ปล่ยี นใหม่ทันที
5. การถอดเสอื้ คลมุ ให้ระมัดระวังไมจ่ บั ดา้ นนอกของเสอื้ ควรคอ่ ย ๆ ถอดเสอ้ื คลมุ ออก แลว้ มว้ น

ให้ดา้ นในอยูด่ ้านนอก นาเส้อื คลุมใสถ่ ังผ้าตดิ เชอื้ และเสอ้ื คลมุ กนั นา้ ใสข่ ยะติดเชื้อ
3.6 ผ้ากนั เปอ้ื น (Apron)
ประเภทของผา้ กนั เปอื้ น
1. ผ้ายางกนั เปือ้ นชนิดใช้คร้งั เดียวท้งิ
2. ผา้ ยางกันเปอื้ นแมบ่ า้ น
ขอ้ บง่ ชใี้ นการใช้ผา้ กนั เปอ้ื น
1. ผ้ากนั เปื้อนชนิดใชค้ รั้งเดียวใชเ้ มื่อคาดวา่ จะมเี ลอื ดหรอื สารคดั หล่งั จากร่างกายผูป้ ่วยกระเดน็

หรอื พ่งุ เขา้ สู่รา่ งกายบุคลากร
2. ผา้ กันเป้อื นแม่บ้านใช้ขณะล้างทาความสะอาดเคร่ืองมอื ท่ปี นเปอ้ื น และทาความสะอาด

ส่ิงแวดล้อมหอผู้ปว่ ย
แนวทางปฏบิ ตั ิ
1. ลา้ งมอื กอ่ นสวมผ้ายางกันเปื้อน และหลังถอดผ้ายางกันเป้ือน
2. ผ้ายางกันเปื้อนแม่บ้านหลังเสร็จส้ินการใช้งาน ให้ทาความสะอาดผึ่งให้แห้งทุกคร้ัง กรณี

เป้ือนเลือด หรือสารคัดหล่ังจากร่างกายให้ล้างออกและแช่ด้วย 0.5 % sodium hypochlorite นาน 30 นาทีก่อนล้าง
ทาความสะอาดตามปกติ และผ่งึ ใหแ้ หง้ ก่อนนามาใชใ้ หม่

3. ผ้ายางกันเป้ือนชนดิ ใช้คร้ังเดยี ว หลังจากใช้แลว้ ถอดอยา่ งระมดั ระวงั โดยไม่จบั ดา้ นนอกของ
ผ้ายางกันเปอื้ นเมือ่ จะถอดควรค่อยๆ ถอดผ้ายางกนั เปื้อนออก แล้วม้วนให้ดา้ นในอยู่ด้านนอกกอ่ น นาไปท้งิ ถงั ขยะติดเชอื้

3.7 รองเทา้ (Foot ware)
ประเภทของรองเทา้
1. รองเทา้ แตะ
2. รองเท้ายางหมุ้ ข้อ (รองเทา้ บ๊ทู ) ใช้ป้องกันเท้าจากสารน้าทีส่ กปรก
ข้อบง่ ชี้ในการใช้รองเท้า
1. สวมรองเทา้ แตะเมือ่ เข้าห้องผ่าตัดหอ้ งคลอด
2. สวมรองเทา้ ยางหุ้มขอ้ เมอื่ ปฏบิ ตั งิ านบริเวณเปยี กชน้ื หรือปฏิบตั งิ านท่ีคาดว่าจะมสี ารคัดหลัง่

กระเดน็ หรือปอ้ งกนั การแทงทะลุของเครื่องมือมีคมต่าง ๆ ทีอ่ าจตกลงถูกเทา้
แนวทางปฏบิ ตั ิ
1. หลงั เสรจ็ สน้ิ การใช้ ล้างดว้ ยนา้ และผงซกั ฟอก และเชด็ ทาความสะอาดทุกวนั หรือเมื่อสกปรก
2. ไมส่ วมรองเทา้ เหลา่ นี้เดนิ ไปบริเวณทส่ี กปรก
3. ถา้ รองเทา้ เปอื้ นเลอื ดหรือสารคดั หลงั่ จากร่างกาย ใหล้ ้างคราบสกปรกออกและแชใ่ นน้ายา

0.5 % sodium hypochlorite นาน 30 นาทกี อ่ นลา้ งทาความสะอาดตามปกติ และผ่งึ ให้แหง้ ก่อนนามาใช้ใหม่

109/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั งิ านการใชอ้ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งป้องกนั เพอื่ ป้องกัน การ แกไ้ ขครัง้ ที่ : 02 5 /8
วนั ทบี่ งั คับใช้ : เม.ย. 61
ตดิ เช้ือและการแพรก่ ระจายเชอื้ / เชอื้ ดอ้ื ยา

เอกสารอา้ งองิ
กาธร มาลาธรรม และ ศิรลิ ักษณ์ อภวิ านิชย.์ คูม่ ือการป้องกันและควบคมุ การตดิ เชื้อในโรงพยาบาล.

กรงุ เทพฯ : โรงพิมพจ์ ุดทอง; 2558.
คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อแหง่ ชาต.ิ แนวปฏิบตั ิของสถานพยาบาลในการดาเนนิ การ

ปอ้ งกนั การตดิ เช้ือจากเข็มท่มิ ตา ของมคี มและการสมั ผสั เลอื ดหรอื สารคัดหลง่ั จากการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากร. กรงุ เทพฯ
โรงพิมพส์ านกั งานพระพุทธศาสนา. 2557.

สมหวัง ด่านชยั วจิ ติ ร. โรคตดิ เช้อื ในโรงพยาบาล. กรงุ เทพฯ โรงพิมพ์เรอื นแก้วการพิมพ.์ 2539.

110/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั งิ านการใช้อปุ กรณเ์ ครอ่ื งปอ้ งกนั เพอื่ ป้องกัน การ แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 02 6/8
วนั ทบี่ ังคบั ใช้ : เม.ย. 61
ติดเช้ือและการแพรก่ ระจายเช้ือ / เชอ้ื ดอ้ื ยา

ตารางท่ี 1 การใชอ้ ุปกรณเ์ คร่ืองปอ้ งกนั ในกจิ กรรมท่ีมกี ารปฏิบัติบอ่ ยครัง้ ในผปู้ ่วยทว่ั ไป

กจิ กรรม ถงุ มอื ถงุ มอื ถงุ มอื อปุ กรณ์ ผา้ แวน่ ถงุ คลมุ
ปราศจากเช้ือ สะอาด ยางหนา เสอื้ ผา้ ปดิ ปาก กนั เปอื้ น ปอ้ งกนั ตา เทา้
1. ฉีดยา กาวน์ – ปดิ จมกู -
2. เจาะเลือด - + - -- - - -
3. ให้สารน้า / เลอื ด - + - -- - - -
4. ดูดเสมหะ - + - -- - - -
5. ดแู ลผปู้ ว่ ยเป้ือนเลือด / หนอง / + - - -+ - + -
- + - -+ + -
สารคัดหลั่ง
6. ทาแผล + --- + - - -
7. ทาความสะอาดเตียง
8. ลา้ งเครื่องมือท่ใี ชแ้ ล้ว - -+- - - --

- -+- + + +-

ตารางที่ 2 การใชอ้ ปุ กรณเ์ คร่ืองปอ้ งกนั ในกจิ กรรมทม่ี กี ารปฏิบตั ิน้อยในผปู้ ่วยทวั่ ไป

อปุ กรณ์

กจิ กรรม ถงุ มอื ถงุ มอื ถงุ มอื เสอ้ื ผา้ ปดิ ปาก ผา้ แวน่ ถงุ คลมุ

1. การตรวจพิเศษ เชน่ เจาะเขา่ ปราศจากเชือ้ สะอาด ยางหนา กาวน์ – ปดิ จมกู กนั เปอ้ื น ปอ้ งกนั ตา เทา้
2. เยบ็ แผลทม่ี เี ลือดออกมาก
3. เยบ็ แผลที่มเี ลือดออกไม่มาก + --- + - --
4. ใส่ท่อชว่ ยหายใจ
5. เจาะคอ + --- + + ++
6. C – line
7. ช่วยหายใจด้วย Ambu bag + --- - + - -
8. กชู้ พี (CPR)
9. เตรียมผิวหนังเผ่ือผา่ ตัด + --+ + + + -
10. ทาความสะอาดแผลอบุ ัตเิ หตุ
11. ทาความสะอาดแผลไฟไหม้ + --+ + + + -

นา้ ร้อนลวก + --+ + - + -
12. ลา้ งท้อง
13. Blood Exchange - +-+ + + + -
14. Hemodialysis
15. ตรวจภายในสตรี - +-- + + + -

- +-- - - - -

+ --- + + + -

+ --- + + - -

- +-- + + + -
+ --+ + + + +
+ --- + + + -
+ --- + + - -

111/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั งิ านการใช้อปุ กรณเ์ ครอื่ งป้องกนั เพอื่ ป้องกัน แก้ไขครง้ั ที่ : 02 7 /8
การตดิ เชอ้ื และการแพร่กระจายเชอ้ื / เชื้อดือ้ ยา วนั ทีบ่ ังคับใช้ : เม.ย. 61

ตารางท่ี 2 การใชอ้ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งปอ้ งกนั ในกจิ กรรมทมี่ กี ารปฏิบตั ินอ้ ยในผู้ปว่ ยทว่ั ไป (ตอ่ )

อปุ กรณ์

กจิ กรรม ถงุ มอื ถงุ มอื ถงุ มอื เสอ้ื ผา้ ปดิ ปาก ผา้ แวน่ ถงุ คลมุ

16. ทาความสะอาดเตรยี มคลอด ปราศจากเช้ือ สะอาด ยางหนา กาวน์ – ปดิ จมกู กนั เปอื้ น ปอ้ งกนั ตา เทา้
17. ทาคลอด
18. เช็ดตัวทารกแรก - +--+ + + -
19. ขูดมดลกู เกดิ
20. แตง่ ศพ + - -++ + + +

+ ---+ + - -

+ - -++ + + +

- +--+ + - -

ตารางที่ 3 การใช้อปุ กรณเ์ คร่ืองปอ้ งกนั ในหนว่ ยงานพิเศษในผปู้ ่วยท่ัวไป

กจิ กรรม ถุงมือ ถุงมอื ถุงมือ อุปกรณ์ ผ้า แว่น ถุงคลมุ

1. ทนั ตกรรม ปราศจากเชื้อ สะอาด ยางหนา เสื้อ ผ้าปิ ดปาก กนั เปื้ อน ป้ องกนั ตา เท้า
2. ชันสูตรสงิ่ ส่งตรวจ
3. ตรวจและเตรียมเลือด - + - กาวน์ – ปิ ดจมูก - + -
4. ผา่ ตดั เลก็ - + - - /+ + -
- + - ++ - /+ + -
+ - - ++ - + -
++
++

ตารางท่ี 4 การใชอ้ ปุ กรณเ์ คร่ืองปอ้ งกนั ในกจิ กรรมทมี่ กี ารปฏิบตั ิบอ่ ยครัง้ ในผปู้ ว่ ยเช้ือดอื้ ยา

กจิ กรรม ถุงมอื ถุงมือ ถุงมอื อปุ กรณ์ ผ้า แว่น ถุงคลมุ

1. ฉดี ยา ปราศจากเชื้อ สะอาด ยางหนา เสื้อ ผ้าปิ ดปาก- กนั เปื้ อน ป้ องกันตา เท้า
2. เจาะเลือด
3. ให้สารน้า / เลอื ด - + - กาวน์ ปิ ดจมูก - - -
4. ดูดเสมหะ - + - - - -
5. ดแู ลผ้ปู ่วยเป้ือนเลือด / หนอง / - + - ++ - - -
+ - - ++ - + -
สารคัดหลง่ั - + - ++ + -
6. ทาแผล ++
7. ทาความสะอาดเตียง ++
8. ลา้ งเครอ่ื งมอื ท่ีใช้แล้ว
+ --++ - - -
- +-++ - - +
- +-++ - ++

112/248

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
IC – 012
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University

เรอื่ ง แนวทางปฏบิ ัติงานการใช้อปุ กรณเ์ ครอ่ื งปอ้ งกนั เพอ่ื ปอ้ งกนั แกไ้ ขคร้งั ที่ : 02 หนา้
การตดิ เชอ้ื และการแพร่กระจายเชอื้ / เชือ้ ดือ้ ยา วันทบ่ี ังคบั ใช้ : เม.ย. 61 8 /8

ตารางที่ 5 การใช้อปุ กรณเ์ ครือ่ งปอ้ งกนั ในกจิ กรรมท่ีมกี ารปฏบิ ตั ินอ้ ยในผู้ปว่ ยเชื้อดื้อยา

กจิ กรรม ถงุ มอื ถงุ มอื ถงุ มอื อปุ กรณ์ ผา้ แวน่ ถงุ คลมุ
ปราศจากเชือ้ สะอาด ยางหนา เสอื้ ผา้ ปดิ ปาก กนั เปอื้ น ปอ้ งกนั ตา เทา้
1. การตรวจพเิ ศษ เช่นเจาะเข่า กาวน์ – ปดิ จมกู -
2. เยบ็ แผลท่ีมเี ลือดออกมาก + - - ++ - - +
3. เยบ็ แผลที่มีเลือดออกไมม่ าก + - - ++ - + -
4. ใสท่ อ่ ช่วยหายใจ + - - ++ - - -
5. เจาะคอ + - - ++ - + -
6. C – line + - - ++ + + -
7. ช่วยหายใจดว้ ย Ambu bag + - - ++ - + -
8. กชู้ พี (CPR) - + - ++ - + -
9. เตรยี มผิวหนงั เผอื่ ผ่าตดั - + - ++ - + -
10. ทาความสะอาดแผลอบุ ตั เิ หตุ - + - ++ - - -
11. ทาความสะอาดแผลไฟไหม้ + - - ++ - + -
+ - - ++ - -
น้าร้อนลวก +
12. ลา้ งทอ้ ง - +-+ + - + -
13. Blood Exchange + --+ + + + -
14. Hemodialysis + --+ + - + -
15. ตรวจภายในสตรี + --+ + - - +
16. ทาความสะอาดเตรียมคลอด - +-+ + - + -
17. ทาคลอด + --+ + + + +
18. เช็ดตัวทารกแรกเกิด + --+ + - - -
19. ขูดมดลูกเกดิ + --+ + + +
20. แตง่ ศพ - +-+ + - -

ตารางท่ี 6 การใช้อปุ กรณเ์ คร่อื งปอ้ งกนั ในหนว่ ยงานพิเศษในผปู้ ว่ ยเชือ้ ดื้อยา

กจิ กรรม ถุงมอื ถุงมือ ถุงมอื อุปกรณ์ ผ้า แว่น ถุงคลุม

1. ทันตกรรม ปราศจากเชื้อ สะอาด ยางหนา เสื้อ ผ้าปิ ดปาก กนั เปื้ อน ป้ องกันตา เท้า
2. ชนั สตู รสง่ิ สง่ ตรวจ
3. ตรวจและเตรียมเลือด - + - กาวน์ – ปิ ดจมูก - + -
4. ผ่าตัดเลก็ - + - - + -
- + - ++ - + -
+ - - ++ - + -
++
++

113/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
วธิ ปี ฏบิ ัติงาน แก้ไขครง้ั ท่ี : 08 1/ ๗
วันทบ่ี ังคบั ใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอื่ ง วธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอื่ บคุ ลากรได้รบั อบุ ตั เิ หตุจากเข็มหรือของมคี มขณะปฏบิ ตั ิงาน

๑. ผรู้ บั ผดิ ชอบ
บคุ ลากรทางการแพทย์ / บคุ ลากรสายสนับสนนุ ทั่วไป

๒. วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ป้องกันการติดเชื้อ HIV, HBV, HCV หลงั การสมั ผสั (Post-Exposure Prophylaxis)

๓. ขอบเขต
ครอบคลุมบุคลากรทกุ ระดบั ที่มีการสมั ผัสทเ่ี ส่ียงตอ่ การติดเชือ้ ขณะปฏิบตั ิงาน

๔. คาจากดั ความ
การสมั ผสั จากการปฏิบัตงิ าน (occupational exposures) หมายถงึ การสมั ผัสทกี่ อ่ ให้เกิดความเสยี่ งตอ่ การ

ติดเชือ้ HIV, HBV, HCV ไดแ้ ก่
4.1 การไดร้ ับบาดเจบ็ ผ่านผิวหนัง (percutaneous injury) ได้แกถ่ ูกเข็มตาถูกมดี บาดเปน็ ตน้
4.2 การสัมผัสเย่ือบุ (contact of mucous membrane) ได้แกเ่ ลือดกระเซ็นเข้าตาปากเป็นต้น
4.3 การสมั ผสั ผิวหนงั ทีไ่ มป่ กติ (contact of non-intact skin) ไดแ้ กก่ ารสัมผัสกับผวิ หนงั ทมี่ บี าดแผล
หรือผวิ หนังทีม่ ีผ่นื แพผ้ ิวหนังอักเสบ (dermatitis) เป็นตน้

๕. วธิ กี ารดาเนนิ งาน
วธิ ีปฏบิ ตั ิเมื่อบุคลากรมกี ารสมั ผัสทเ่ี ส่ยี งตอ่ การติดเชือ้ ขณะปฏบิ ัติงาน แบง่ ออกเปน็ ๔ กลมุ่ ไดแ้ ก่

 กลุ่มท่ี ๑ วิธีปฏิบัติงานสาหรับบุคลากรที่ไดร้ ับอุบัติเหตุฯ

 กลุ่มที่ 2 วิธีปฏิบัติงานสาหรับบุคลากร ตึกเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

 กลุ่มที่ 3 วิธปี ฏิบัติงานสาหรบั แพทย์เวรอุบตั ิเหตุ (นอกเวลาราชการ) และแพทย์ผูเ้ ชีย่ วชาญ
ด้านโรคติดเช้อื (ในเวลาราชการ)

 กลุ่มท่ี 4 วิธีปฏิบัติงานสาหรับ ICN
๕.๑. กล่มุ ท่ี ๑ วิธีปฏิบัติงานสาหรับบุคลากรท่ไี ด้รับอุบัติเหตฯุ

๕.๑.๑ เมอื่ ไดร้ ับอุบตั ิเหตอุ นั เกรงว่าอาจจะทาใหเ้ กิดการตดิ เช้อื ให้ปฏบิ ัตเิ บอ้ื งต้น ดังนี้
๕.๑.๑.๑ ถูกเขม็ / ของมคี มท่มี เี ลอื ดผปู้ ว่ ยทม่ิ ตาหรอื บาด ให้เชด็ เลอื ดออก ลา้ งด้วยน้า
สะอาดและสบู่ เช็ดดว้ ย ๗๐ % Alcohol หรือ ๑๐ % Povidone iodine
๕.๑.๑.๒ เลอื ด / สารคัดหลั่งกระเด็นถกู ผิวหนังให้ลา้ งด้วยน้าสะอาดและสบู่ เช็ดดว้ ย ๗๐ %
Alcohol หรือ ๑๐ % Povidone iodine
๕.๑.๑.๓ เลือด / สารคัดหล่ังกระเด็นเขา้ ตาให้ลา้ งดว้ ยนา้ สะอาดหลายๆ ครั้ง และใช้ ๐.๙ %
NSS ล้างอีกครง้ั
๕.๑.๑.๔ เลอื ด / สารคดั หลง่ั กระเด็นเขา้ ปากใหบ้ ว้ นน้าลายออก ล้างปากกลวั้ คอด้วยนา้
สะอาดหลาย ๆ ครงั้

114/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
วธิ ปี ฏบิ ัติงาน แกไ้ ขครั้งที่ : 08 2/ ๗
วนั ที่บงั คบั ใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอ่ื ง วธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอ่ื บคุ ลากรไดร้ ับอบุ ตั เิ หตจุ ากเขม็ หรือของมคี มขณะปฏบิ ตั ิงาน

5. วิธกี ารดาเนนิ งาน (ต่อ)
๕.๑.๒ ตรวจสอบผลเลือดของผู้ปว่ ย
5.1.2.1 ผ้ปู ว่ ยมีผลเลอื ด Anti-HIV (CLIA), HBsAg, Anti-HCV ปฏิบัติ ดงั น้ี

 ในเวลาราชการ ตดิ ต่องาน IC ทันที โทร. ๓๕๒๗ – ๘

 นอกเวลาราชการ ตดิ ตอ่ ตึกเวชศาสตร์ฉกุ เฉนิ ทนั ที โทร. ๓๒๐๘ - ๙

5.1.2.2 ผูป้ ว่ ยไม่มีผลเลอื ดใหค้ าปรกึ ษา ขอเจาะเลอื ด HIV Combi (rapid test) ,
Anti-HIV (CLIA), HBsAg และ Anti-HCV ปฏิบัติ ดังนี้

 ผปู้ ่วยใน พิมพ์ใบสง่ ตรวจทางคอมพิวเตอร์ HIV Combi (rapid test) รหัส
๑๙๘๐, Anti-HIV (CLIA) รหัส ๒๐๐๑, HBsAg รหสั ๒๐๑๕ และ Anti-HCV
รหัส ๒๐๙๓ บนั ทกึ ในใบส่งตรวจว่า “บุคลากรไดร้ ับอบุ ตั ิเหตุ” นาสง่ ห้องตรวจ
เคมคี ลนิ กิ พรอ้ ม blood clot จานวน ๕ มิลลิลิตร [ทางห้อง Lab จะสง่ ตรวจ
Anti-HIV (CLIA), HBsAg และ Anti-HCV ตอ่ ไป]

 ผปู้ ว่ ยนอก / ER
- ผปู้ ว่ ยใช้สทิ ธเิ บกิ จา่ ยตรง / ประกนั สังคม / สปสช. บนั ทกึ การสง่ ตรวจทาง
คอมพวิ เตอร์ HIV Combi (rapid test) รหสั ๑๙๘๐, Anti-HIV (CLIA) รหัส
๒๐๐๑, HBsAg รหัส ๒๐๑๕ และ Anti-HCV รหสั ๒๐๙๓ บนั ทกึ ในใบส่งตรวจว่า
“บคุ ลากรไดร้ บั อบุ ตั เิ หตุ” นาส่งห้องเคมีคลินกิ พรอ้ ม blood clot จานวน ๕
มลิ ลิลิตร [ทางห้อง Lab จะส่งตรวจ Anti-HIV (CLIA), HBsAg และ Anti-HCV
ตอ่ ไป]
- ผปู้ ว่ ยใชส้ ิทธิเงนิ สด กรณไี มม่ ีเงนิ จ่าย ปรึกษานักสังคมสงเคราะห์ บันทึกการ
สง่ ตรวจทางคอมพวิ เตอร์ HIV Combi (rapid test) รหัส ๑๙๘๐, Anti-HIV
(CLIA) รหสั ๒๐๐๑, HBsAg รหัส ๒๐๑๕ และ Anti-HCV รหสั ๒๐๙๓ บนั ทกึ
ในใบสง่ ตรวจวา่ “บุคลากรไดร้ บั อบุ ัติเหตุ” นาสง่ ห้องเคมีคลินกิ พรอ้ ม blood
clot จานวน ๕ มิลลลิ ิตร [ทางห้อง Lab จะส่งตรวจ Anti-HIV (CLIA), HBsAg
และ Anti-HCV ตอ่ ไป]

5.1.2.3 หลงั ได้รับผลเลือดของผ้ปู ่วย ในเวลาราชการติดตอ่ งานIC ทันที
นอกเวลาราชการตดิ ตอ่ ตึกเวชศาสตร์ฉกุ เฉนิ ทันที

๕.2 กล่มุ ท่ี 2 วิธีปฏิบัติงานสาหรับบุคลากรตกึ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
๕.2.๑ รับแจง้ และใหบ้ ุคลากรทไ่ี ดร้ บั อบุ ัตเิ หตเุ ขยี นรายงาน ตามแบบรายงานการไดร้ บั อุบัตเิ หตุ
ขณะปฏบิ ัตงิ านทางการแพทย์ (FM-ICC๐๑ – ๐๐๖ แกไ้ ขครง้ั ที่ 05)
๕.๒.๒ ใหค้ าปรึกษาแกบ่ ุคลากรท่ีไดร้ บั อุบตั เิ หตุ
๕.2.๓ เจาะเลือดบุคลากรตรวจ HIV Combi (rapid test) ในบุคลากรที่ต้องรบั ประทานยาตา้ นไวรัส
HIV โดยใช้ Coding system (E๐๐๑, E๐๐๒...ฯลฯ)

115/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หนา้
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน แกไ้ ขครั้งท่ี : 08 3/ ๗
วนั ทบ่ี ังคับใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอื่ ง วธิ ปี ฏบิ ัตเิ มอ่ื บคุ ลากรไดร้ ับอุบตั ิเหตจุ ากเข็มหรือของมคี มขณะปฏบิ ัติงาน

5. วธิ กี ารดาเนนิ งาน (ต่อ)
๕.2.๔ เจาะเลือดบุคลากรตรวจ CBC, Cr, SGPT (ALT), Anti-HCV ในวันท่ีเริ่มรับประทานยาต้าน
ไวรสั HIV สาหรับบุคลากรทต่ี อ้ งรบั ประทานยาตา้ นไวรสั HIV
๕.2.๕ บคุ ลากรทตี่ ้องรับประทานยาตา้ นไวรัส HIV รับยาทห่ี ้องจา่ ยยาอาคารเพชรรัตน์ ชั้น G
๕.2.๖ รวบรวมแบบรายงานการไดร้ บั อบุ ัตเิ หตุและแนะนาบคุ ลากรทีไ่ ด้รบั อบุ ตั เิ หตตุ ดิ ตอ่ งาน IC
เพื่อปรกึ ษาแพทยผ์ ู้เชย่ี วชาญในวนั เวลาราชการ

๕.3 กลมุ่ ท่ี 3 วธิ ปี ฏบิ ัตงิ านสาหรบั แพทยเ์ วรอุบตั ิเหตุ (นอกเวลาราชการ) และแพทย์ผเู้ ชยี่ วชาญด้านโรค
ตดิ เชอ้ื (ในเวลาราชการ)
๕.3.๑ ผปู้ ่วยมีผลเลือด Anti-HIV negative บุคลากรไม่ตอ้ งรับประทานยาต้านไวรสั HIV
๕.3. ๒ ผู้ปว่ ยมผี ลเลอื ด Anti-HIV positive หรอื inconclusive และบคุ ลากรมคี วามเส่ยี งต่อการตดิ เชื้อ
HIV ใหบ้ คุ ลากรเริ่มรบั ประทานยาตา้ นไวรสั HIV เรว็ ทสี่ ดุ หลังได้รบั อบุ ตั ิเหตุ ภายใน ๑ – ๒ ชว่ั โมง
๕.๓.๓ สาหรับแพทยเ์ วรอุบตั ิเหตุ (นอกเวลาราชการ) พจิ ารณาส่ังยาตา้ นไวรสั HIV โดยให้ RICOVIR-EM
300/200 mg tab (TDF/FTC) + Rilpivirine 25 mg tab รับประทานทุก ๒๔ ชว่ั โมง
จานวนยาพอเพียงจนถึงวนั พบแพทย์ผ้เู ช่ียวชาญในวันเวลาราชการ

วธิ กี ารใหย้ าต้านไวรัส HIV
1. พิจารณาจากขอ้ มลู ความเสย่ี งของอบุ ตั ิเหตุ
1.1 ชนดิ ของสารทส่ี มั ผสั

 body fluids ที่ก่อให้เกดิ การตดิ เช้อื ได้ ไดแ้ ก่ นา้ อสจุ ิ สารคดั หลั่งในช่องคลอด นา้ ไขสนั หลงั
นา้ ในขอ้ น้าในชอ่ งปอด นา้ ในช่องท้อง น้าในชอ่ งหวั ใจ น้าคร่า และหนอง

 น้ามกู นา้ ลาย น้าตา เหงอ่ื เสมหะ อาเจยี น อุจจาระ และปัสสาวะโดยทั่วไปหากไมม่ กี าร
ปนเป้ือนเลอื ดซึ่งมองเห็นได้ ถอื ว่ามีจานวนเชือ้ ไมเ่ พียงพอตอ่ การถา่ ยทอดสู่ผู้อืน่

1.2 ลกั ษณะการสมั ผสั การสมั ผสั ที่ก่อให้เกดิ ความเส่ียงต่อการติดเชอื้ HIV ไดแ้ ก่

 การได้รับบาดเจ็บผ่านผวิ หนงั (percutaneous injury) ได้แก่ ถกู เข็มตา ถกู มดี บาด เป็นตน้

 การสมั ผัสเย่ือบุ (contact of mucous membrane) ไดแ้ ก่ เลือดกระเซ็นเขา้ ตา ปาก เป็นตน้

 การสมั ผสั ผวิ หนังท่ไี ม่ปกติ (contact of non-intact skin) ได้แก่ การสมั ผัส กับผวิ หนังที่มี
บาดแผล หรอื ผวิ หนังท่มี ีผ่ืนแพผ้ ิวหนงั อกั เสบ (dermatitis) เป็นตน้

1.3 ความเสย่ี งตอ่ การติดเชอ้ื HIV

 พบว่าความเสี่ยงโดยเฉลี่ยต่อการติดเชื้อ HIV ในบคุ ลากรทางการแพทย์จากการ
ถกู เขม็ ตาหรอื มดี บาดเทา่ กบั รอ้ ยละ 0.3 ตอ่ ครง้ั การสมั ผสั เย่ือบเุ ท่ากบั รอ้ ยละ 0.09 ตอ่ คร้ัง
และการสมั ผัสผิวหนังท่ีไมป่ กตินอ้ ยกวา่ ร้อยละ 0.09 ตอ่ ครั้ง โดยท่ัวไปการสมั ผสั กบั ผวิ หนัง
ปกตไิ ม่ถอื วา่ เป็นความเสย่ี งต่อการติดเชื้อ HIV และไม่มคี วามจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งไดร้ ับยาต้าน
ไวรสั HIV

116/248

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
วธิ ปี ฏบิ ัตงิ าน แกไ้ ขคร้งั ที่ : 08 4/ ๗
วันท่บี งั คับใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอ่ื ง วธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอื่ บคุ ลากรไดร้ บั อุบตั เิ หตุจากเขม็ หรอื ของมคี มขณะปฏบิ ัติงาน

5. วธิ กี ารดาเนนิ งาน (ตอ่ )

2. แนวทางการให้ยาต้านไวรสั HIV*

สตู รยาตา้ นไวรสั ** หมายเหตุ
หา้ มใช้ boosted PI เชน่ ATV/r หรอื
สูตรA TDF 300 mg + 3TC 300 mg +  Rilpivirine 25 mg LPV/r รว่ มกบั ยากลุม่ ergotamine เชน่
แนะนา ทุก ๒๔ ชัว่ โมง หรอื cafergot และตอ้ งแนะนาไมใ่ ห้ผ้สู มั ผสั เชอื้
ทกุ ๒๔ ชัว่ โมง หรอื ใช้ยาหรอื ซ้ือยาแกป้ วดไมเกรนเอง
สตู รB
ทางเลือก TDF 300 mg +FTC 200 mg  ATV/r 300 / 100 mg หา้ มใช้ EFVร่วมกบั ยากล่มุ ergotamine
ทกุ ๒๔ ชัว่ โมง ทุก ๒๔ ชั่วโมง หรอื เชน่ cafergot และตอ้ งแนะนาไม่ให้ผู้สัมผสั
กรณี เชอ้ื ใชย้ าหรือซื้อยาแก้ปวดไมเกรนเอง
มีปญั หาไต  LPV/r 400 / 100 mg
ทกุ ๑๒ ชัว่ โมง ในผูท้ ่ีมี Cr clearance < 60 mL/min

TDF 300 mg + 3TC 300 mg +  Raltegravir 400 mg
ทุก ๒๔ ชั่วโมง หรอื ทุก ๑๒ ชว่ั โมงหรอื
TDF 300 mg +FTC 200 mg
ทุก ๒๔ ชัว่ โมง  EFV 600mg
ทกุ ๒๔ ชัว่ โมง

AZT 300 mg ทุก ๑๒ ช่วั โมง แทน TDF ในสูตร A หรอื B

หมายเหตุ
* บุคลากรที่สมั ผัสทกุ รายควรติดตอ่ แพทยผ์ ้เู ชีย่ วชาญที่โรงพยาบาลไดก้ าหนดใหเ้ ป็นแพทยท์ ่ีปรึกษากรณีทีม่ ีการ
สัมผสั สารคดั หล่ัง จากการทางานภายใน 3 วัน
** การสงั่ ยาอนื่ ๆ นอกเหนอื จากนี้ เชน่ กรณี source patient มปี ญั หาหรอื สงสัยว่าจะมีปญั หา drugresistant
HIV ใหป้ รึกษาแพทย์ผเู้ ช่ยี วชาญทโ่ี รงพยาบาลไดก้ าหนดใหเ้ ปน็ แพทยท์ ปี่ รกึ ษา
ยาต้านไวรสั TDF - Tenofovir (เมด็ ละ ๓๐0 mg)
3TC - Lamivudine (เมด็ ละ 150 mg)
AZT - Zidovudine (เม็ดละ 100 mg)
FTC - Emtricitabine (อยูใ่ นรูปของยาเม็ดรวม TDF 300 mg +FTC 200 mg)
ATV/r - Atazanavir ๓๐๐ mg และ ritonavir ๑๐๐ mg
LPV/r - Lopinavir / ritonavir (มสี องขนาด ๑๐๐ mg / ๒๕ mg และ ๒๐๐ mg / ๕๐ mg)

๕.4 กล่มุ ที่ 4 วิธีปฏิบัติงานสาหรับ ICN
๕.4.๑ รบั แจ้งและตดิ ตามรายงานการได้รบั อุบัติเหตุขณะปฏบิ ตั งิ านทางการแพทย์ และให้บคุ ลากร
ท่ไี ดร้ บั อบุ ตั เิ หตุเขียนรายงานตามแบบรายงานการได้รบั อบุ ตั ิเหตขุ ณะปฏบิ ัตงิ านทาง
การแพทย์ (FM-ICC๐๑ - ๐๐๖)
๕.4.๒ ให้คาปรึกษาแกบ่ ุคลากรทไี่ ดร้ บั อุบตั เิ หตุ
๕.4.3 ตดิ ต่อแพทยผ์ ู้เชีย่ วชาญ เพ่อื พจิ ารณาใหก้ ารรกั ษาในเวลาราชการ ดังรายนามต่อไปน้ี

117/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
วธิ ปี ฏบิ ัตงิ าน แกไ้ ขคร้ังที่ : 08 5/ ๗
วันทบี่ ังคับใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอื่ ง วธิ ปี ฏบิ ัตเิ มอ่ื บคุ ลากรไดร้ บั อบุ ตั ิเหตจุ ากเข็มหรอื ของมคี มขณะปฏบิ ัตงิ าน

5. วิธกี ารดาเนนิ งาน (ตอ่ )

วนั แพทยท์ ีป่ รกึ ษา โทรศพั ท์
จนั ทร์ นายแพทยธ์ นานนั ต์ ตัณฑไ์ พบลู ย์ 08 6905 6363
อังคาร แพทยห์ ญงิ วรางคณา ม่นั สกลุ 08 1622 5305
พธุ นายแพทย์ทววี งศ์ ตนั ตราชีวธร ๐๘ ๑๘๐๗ ๕๘๑๔
พฤหัสบดี นายแพทย์กติ ตศิ กั ด์ิ ผลถาวรกุลชัย 08 9775 9702
ศุกร์ แพทย์หญิงลกั ขณา บุญญกาศ 08 1480 5804

๕.4.4 เจาะเลือดบคุ ลากร ดงั นี้
5.4.4.1 บคุ ลากรท่ีต้องรับประทานยาต้านไวรัส HIV
- เจาะเลอื ดตรวจ HIV Combi (rapid test) โดยใช้ Coding system (A๐๐๑,
A ๐๐๒ ... ฯลฯ)
- เจาะเลอื ดตรวจ CBC, Cr, SGPT (ALT), HBsAg, AntiHBs (ในกรณที ีเ่ คยตรวจมา
กอ่ นและทราบผลวา่ เปน็ บวกไมต่ ้องตรวจ) Anti-HCV
- นัดบุคลากรเจาะเลอื ดตรวจ CBC, Cr, SGPT (ALT) หลังไดร้ ับอบุ ตั ิเหตุ 4
สัปดาห์ หากมอี าการหรอื อาการแสดงทส่ี งสัยผลข้างเคยี งของยาต้านไวรสั
- นัดบุคลากรเจาะเลือดตรวจ Anti-HIV หลังไดร้ ับอุบตั ิเหตุ 1 เดือนและ 3 เดือน
ตามลาดับกรณีบคุ ลากรมกี ารตดิ เช้อื HCV ควรเจาะเลือดซา้ หลงั สมั ผัส ๑๒ เดอื น
- รับยาไดท้ ีห่ ้องจา่ ยยาอาคารเพชรรัตน์ ชน้ั ๒
5.4.4.2 กรณีผู้ปว่ ยมีผลเลือด HBsAg positive พจิ ารณาใหก้ ารป้องกันและนัดบุคลากร
พบแพทยผ์ ู้เชี่ยวชาญระบบทางเดนิ อาหาร ดงั นี้
1) บุคลากรเคยไดร้ ับวัคซนี ครบ ๓ เขม็ (previous vaccinated)
1. มภี ูมิค้มุ กนั (responder) ไม่ต้องให้การรักษา
2. ไมท่ ราบวา่ มภี ูมิคมุ้ กนั (Ab response unknown) ให้เจาะ Anti-HBs
- Anti-HBs ≥ ๑๐ mIU / ml ไม่ตอ้ งใหก้ ารรกั ษา
- Anti-HBs < ๑๐ mIU / ml ให้ HBV vaccine กระตุ้น ๑ เขม็ IM
นดั เจาะเลือดตรวจ Anti-HBs หลังได้รบั วัคซนี ๗ วนั
3. ไม่มภี มู คิ ้มุ กัน (non - responder) ใหเ้ จาะ Anti-HBs
- Anti-HBs ≥ ๑๐ mIU / ml ไมต่ ้องใหก้ ารรักษา
- Anti-HBs <๑๐ mIU / ml ให้ HBV vaccine กระตนุ้ ๑ เขม็ IM
นดั เจาะเลอื ดตรวจ Anti-HBs หลังไดร้ ับวัคซนี ๗ วัน
2) บุคลากร ไม่เคยไดร้ บั วคั ซีน (unvaccinated) เจาะเลอื ดตรวจ HBsAg, Anti-HBs
และAnti-HBc
- Anti-HBs ≥ ๑๐ mIU / ml ไม่ต้องใหก้ ารรักษา

118/248

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน แก้ไขครั้งที่ : 08 6/ ๗
วันท่ีบงั คับใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอื่ ง วธิ ปี ฏบิ ัตเิ มอ่ื บคุ ลากรได้รบั อุบตั ิเหตุจากเขม็ หรือของมคี มขณะปฏบิ ัตงิ าน

5. วธิ กี ารดาเนนิ งาน (ตอ่ )
- Negative ท้ัง ๓ ตัวให้ HBV vaccine ๓ เข็ม (๐, ๑, ๖ เดือน) IM
และนัดเจาะ Anti-HBs หลังได้รับวคั ซีนครบ ๑ เดอื น
- Anti-HBc positive ตวั เดยี วให้ HBV vaccine กระตุ้น ๑ เขม็ IM นดั เจาะ
เลอื ดตรวจ Anti-HBs หลงั ไดร้ บั วคั ซีน ๗ วนั
- HBsAg / Anti-HBc positive นัดพบแพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญระบบทางเดนิ อาหาร

๕.4.4.3 กรณีผูป้ ว่ ยมผี ลเลือด Anti-HCV positive
1) เจาะเลอื ดบคุ ลากรตรวจ Anti-HCV
2) บคุ ลากรถกู เขม็ ตา นัดพบแพทย์ผเู้ ช่ยี วชาญระบบทางเดินอาหาร หลงั ได้รบั
อบุ ตั ิเหตุ 1 สปั ดาห์
3) บคุ ลากรถกู สารคดั หลง่ั กระเด็นนดั พบแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญระบบทางเดิน
อาหาร หลังไดร้ ับอบุ ตั เิ หตุ 3 เดือน

เอกสารอา้ งอิง
1. Update U.S Public Health Service Guidelines for the Management of Occupational Exposures

To HBV, HCV, and HIV and Recommendations for Post-Exposure Prophylaxis, MMWR Recomm Rep.
2001 Jun 29; 50(RR-11): 1-52.

2. กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ .แนวทางการตรวจรกั ษาและปอ้ งกันการติดเชื้อเอชไอวปี ระเทศไทย
ปี 2557(Thailand National Guidelines on of HIV/AIDS Treatment and Prevention 2014 Thailand)
เขา้ ถงึ ได้จาก:http://www.thaiaidssociety.org/images/PDF/hiv_guideline_2557.pdf

119/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช หมายเลขเอกสาร
WI - ICC01 - 003
Faculty of Medicine Vajira Hospital Navamindradhiraj University
หน้า
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน แกไ้ ขคร้ังที่ : 08 7/ ๗
วันทบี่ ังคับใช้ : ๑6 ธ.ค. 59
WORK INSTRUCTION

เรอ่ื ง วธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอ่ื บคุ ลากรได้รบั อบุ ตั ิเหตุจากเข็มหรอื ของมคี มขณะปฏบิ ตั งิ าน

แนวทางปฏบิ ตั ิเมอ่ื บคุ ลากรไดร้ บั อบุ ตั เิ หตจุ ากเข็ม หรือของมคี มขณะปฏบิ ัตงิ าน
คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช

ถูกเข็ม / ของมคี ม เลือด / สารคดั หลงั่ เลอื ด / สารคดั หลงั่ เลอื ด / สารคดั หลง่ั
เปอื้ นเลือด กระเด็นเข้าตา กระเดน็ ถกู ผิวหนงั กระเด็นเขา้ ปาก

เช็ดเลือดออกล้างด้วย ลา้ งด้วยนา้ สะอาดหลาย ๆ เช็ดเลือดออกลา้ งด้วย บว้ นนา้ ลายออก ลา้ งปาก
น้าสะอาด และสบู่ เชด็ ด้วย ครง้ั (อาจใช้ ๐.๙ % NSS นา้ สะอาด และสบู่ เชด็ ดว้ ย กลั้วคอดว้ ยน้าสะอาด
๗๐% Alcohol หรือ ๑๐ % ล้างตาอกี ครั้ง) ๗๐ % Alcohol หรือ ๑๐ % หลาย ๆ ครั้ง
Povidone iodine Povidone iodine

ผปู้ ่วย มีผล No เจาะเลอื ดผปู้ ่วยตรวจหา
Anti-HIV, Anti-HCV HIV Combi (rapid test),
Anti-HIV (CLIA), Anti-HCV,
HBsAg HBsAg โดยให้คาปรึกษากอ่ น
และหลงั เจาะเลอื ด

Yes

- ในเวลาราชการแจ้งงาน IC ทนั ที โทร. ๓๕๒๗ - ๘
- นอกเวลาราชการแจง้ แผนกเวชศาสตร์ฉุกเฉนิ ทนั ที โทร.๓๒๐๘ - ๙
- บันทกึ รายงานการไดร้ ับอบุ ัติเหตุ (FM ICC๐๑ - ๐๐๖)

ผลเลอื ดผปู้ ว่ ย Anti-HIV + ผลเลอื ดผู้ป่วย ผลเลอื ดผปู้ ว่ ย Anti-HCV + ผลเลอื ดผู้ป่วย HBsAg+
ปรึกษาแพทย์โรคตดิ เช้ือ Anti-HIV - ปรึกษาแพทย์โรคระบบทางเดนิ อาหาร ปรึกษาแพทยโ์ รคระบบทางเดินอาหาร
อาหาร อร
ต้องรับประทานยาต้าน ไม่ต้องรบั ประทาน
- เจาะเลอื ดตรวจ Anti-HCV ทนั ที - เจาะเลือดบุคลากรตรวจ
ไวรสั HIV ยาตา้ นไวรัส HIV - ถกู เขม็ ตานดั พบแพทย์ 1 สัปดาห์ Anti-HBs, Anti-HBc และ HBsAg
- ถูกสารคัดหลั่งกระเด็น นดั พบแพทย์ - มภี ูมคิ มุ้ กนั ไมต่ อ้ งให้การรกั ษา
3 เดอื น - ไม่มภี ูมคิ มุ้ กนั พจิ ารณาให้
HBVvaccine
- เจาะเลือดบุคลากรตรวจ Anti-HIV, CBC, Cr, SGPT (ALT), HBsAg, AntiHBs (เว้นในกรณี - Anti-HBs < ๑๐ mIU/ml พิจารณา
ที่เคยตรวจมาก่อนและทราบผลว่าเปน็ บวก), Anti-HCV ก่อนรับประทานยาตา้ นไวรสั HIV ให้ HBV vaccine
- Anti-HBc + ตวั เดียว พจิ ารณาให้
- ใหบ้ ุคลากรได้รบั ประทานยาภายใน ๑ - ๒ ชั่วโมง ทันที HBV vaccine
- รบั ประทานยา ๔ สปั ดาห์ - HBsAg / Anti-HBc + พบแพทย์
- เจาะเลอื ดตรวจ Anti-HIV เพ่อื การเฝ้าระวงั ตดิ ตามใน เดือนที่ 1 และเดือนท่ี 3 ผเู้ ชีย่ วชาญ
- ถ้าบุคลากรมกี ารตดิ เชอื้ HCV ควรเจาะเลอื ดตรวจ Anti-HIV ซา้ หลงั สมั ผสั ๑๒ เดอื น
ธนั วาคม ๒๕๕9

120/248

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธิราช หมายเลขเอกสาร
WI – ICC01 -017
Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindradhiraj University
หน้า
วธิ ปี ฏบิ ัติงาน แก้ไขครัง้ ที่ : 00 1
วันท่ีบังคับใช้ : พ.ย. 60
WORK INSTRUCTION

เรอื่ ง วธิ ีปฏบิ ตั เิ มอื่ บคุ ลากรไดร้ บั อบุ ัตเิ หตจุ ากเขม็ หรือของมคี มขณะปฏบิ ัตงิ าน
สาหรบั บคุ ลากรตกึ เวชศาสตรฉ์ กุ เฉนิ

๑. ผรู้ บั ผดิ ชอบ
บุคลากรทางการแพทย์ ที่ปฏบิ ัติงานตึกเวชศาสตรฉ์ กุ เฉิน

๒. วตั ถุประสงค์
เพือ่ เป็นแนวทางการดแู ลบคุ ลากรไดร้ ับอุบัตเิ หตุจากเข็มหรือของมีคมขณะปฏบิ ัตงิ าน

๓. ขอบเขต
ครอบคลมุ บุคลากรทกุ ระดับท่ีไดร้ ับอุบัติเหตุจากเขม็ หรือของมคี มขณะปฏิบัตงิ าน

๔. วธิ กี ารดาเนนิ งาน
4.1 รบั แจง้ และใหบ้ คุ ลากรทไี่ ดร้ บั อบุ ตั เิ หตุเขยี นรายงาน ตามแบบรายงานการไดร้ ับอบุ ัติเหตุขณะปฏบิ ตั ิงาน

ทางการแพทย์ (FM-ICC๐๑ – ๐๐๖ แกไ้ ขครง้ั ท่ี 05)
4.2 ใหค้ าปรึกษาแกบ่ ุคลากรทีไ่ ดร้ ับอบุ ตั เิ หตุ
4.3 ผปู้ ่วยมผี ลเลือด Anti-HIV negative บุคลากรไมต่ ้องรับประทานยาต้านไวรสั HIV
4.4 ผู้ปว่ ยมผี ลเลอื ด Anti-HIV positive หรือ inconclusive และบคุ ลากรมคี วามเสย่ี งตอ่ การติดเชื้อ HIV

ให้บคุ ลากรเร่ิมรบั ประทานยาต้านไวรัส HIV เรว็ ทีส่ ุดหลงั ไดร้ ับอุบัติเหตุ ภายใน ๑ – ๒ ชวั่ โมง โดยดาเนนิ การ ดังนี้
4.4.1 บคุ ลากรขออนมุ ตั ิสทิ ธแิ์ ละสง่ ตรวจเวชศาสตรฉ์ กุ เฉนิ
4.4.2 เจาะเลือดบคุ ลากรตรวจ HIV Combi (rapid test) กอ่ นรับประทานยาตา้ นไวรัส HIV โดย

ใช้ Coding system (E๐๐๑, E๐๐๒...ฯลฯ)
4.4.3 เจาะเลอื ดบุคลากรตรวจ CBC, Cr, SGPT (ALT), Anti-HCV ก่อนรบั ประทานยาตา้ นไวรัส HIV

โดยใช้ HN ของบคุ ลากร
4.4.4 แพทยเ์ วรอบุ ตั ิเหตุ (นอกเวลาราชการ) พจิ ารณาส่ังยาตา้ นไวรสั HIV ได้เพยี ง 1 สตู ร โดยใช้

รหัส key ส่ังยาดงั ต่อไปนี้
- RILPIVIRINE (ID+ER) 25 MG TABLET OD
- TENOFOVIR+EMTRICITABINE (ID+ER) 300/200 MG TABLET OD

โดยใช้ HN ของบคุ ลากร และใหย้ าจานวนยาพอเพียง จนถึงวนั พบแพทย์ผู้เชยี่ วชาญในวนั เวลาราชการ
4.5 บุคลากรท่ีตอ้ งรับประทานยาต้านไวรัส HIV รับยาที่ห้องจา่ ยยาอาคารเพชรรัตน์ ช้นั G และติดต่องาน IC

ในวันเวลาราชการ

121/248

Goal (4.1)
SD-PTC-06

122/248

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

(นายสุรวฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

แนวทางปฏิบตั ิ เร่ือง การใช้ยาท่ีมีความเส่ียงสงู (High Alert Drugs)

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื เป็นแนวทางปฏบิ ตั ใิ หก้ บั บคุ ลากรทางการแพทยท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งในการใชย้ าทม่ี คี วามเสย่ี งสงู
2. เพ่อื ใหผ้ ปู้ ่วยเกดิ ความปลอดภยั จากการใชย้ าทม่ี คี วามเสย่ี งสงู

คาจากดั ความ
ยาทม่ี คี วามเสย่ี งสงู (High Alert Drugs) หมายถงึ ยาทม่ี โี อกาสเกดิ ความคลาดเคล่อื นทางยาในอตั ราสงู หรอื เกดิ

เหตุการณ์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การใชย้ านนั้ ทเ่ี ป็นอนั ตรายรนุ แรง (Sentinel Events) ในอตั ราสงู และยาทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ เ่ี สย่ี งต่อ
การใชใ้ นทางทผ่ี ดิ เกดิ ความคลาดเคลอ่ื นหรอื ผลไมพ่ งึ ประสงคส์ งู กว่ายาอ่นื (JCAHO)1

เกณฑใ์ นการพิจารณาเลือกยาที่มีความเส่ียงสงู

1. เป็นยาทม่ี โี อกาสสงู ทจ่ี ะเกดิ อนั ตรายแก่ผปู้ ่วย เพราะมผี ลขา้ งเคยี งรา้ ยแรงต่ออวยั วะสาคญั หากมกี ารบรหิ ารยาทผ่ี ดิ พลาด

2. เป็นยาทม่ี อี ุบตั กิ ารณ์การรายงานความคลาดเคล่อื นทางยา ทท่ี าใหเ้ กดิ เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์ Adversed drug

event (ADE) ทร่ี นุ แรงในโรงพยาบาล

3. เป็นยาทม่ี ดี ชั นกี ารรกั ษาแคบ (Narrow Therapeutic Index)

รายการยาความเสย่ี งสงู ทก่ี าหนดในโรงพยาบาลวชริ พยาบาล มดี งั น้ี
1. Digoxin 7. Norepinephrine
2. Heparin 8. Dopamine
3. Regular insulin 9. Dobutamine
4. Morphine injection 10. Fentanyl injection

5. Potassium chloride injection 11. Thrombolytic agents
6. Warfarin 12. Antineoplastic drugs

รายละเอียด

การรบั ยาเข้ามาใช้ในโรงพยาบาล

 การพจิ ารณานายาเขา้ มาใชใ้ นโรงพยาบาลตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการเภสชั กรรม และการบาบดั
(Pharmacy and Therapeutic Committee; PTC) โดยคานงึ ถงึ ประโยชน์และความเสย่ี งในการนามาใช้ รวมถงึ ประเดน็ เรอ่ื ง
ชอ่ื พอ้ งมองคลา้ ย (Look Alike – Sound Alike) เพ่อื ใหเ้ กดิ การใชย้ าอย่างเหมาะสมปลอดภยั

 กาหนดตวั อกั ษร H ต่อทา้ ยช่อื ยาบนฉลากยาความเสย่ี งสงู เพอ่ื สอ่ื สารใหบ้ ุคลากรในโรงพยาบาลทราบ
การเกบ็ รกั ษา

 สถานทเ่ี กบ็ ยาความเสย่ี งสงู ทกุ แหง่ ตอ้ งตดิ ป้ายตาแหน่ง หรอื ภาชนะใสย่ าใหเ้ หน็ ชดั เจน
 เกบ็ รกั ษาโดยแยกจากยาอ่นื ๆ หรอื ป้องกนั การเขา้ ถงึ โดยงา่ ย
 การจดั เกบ็ ยาทม่ี หี ลายความแรง ใหม้ กี ารแสดงสญั ลกั ษณ์เตอื นอยา่ งชดั เจน
 เภสชั กรจะตดิ สตก๊ิ เกอรว์ งกลมสแี ดง HAD บนฉลากยาความเสย่ี งสงู (เฉพาะผปู้ ่วยทน่ี อนรกั ษาในโรงพยาบาล)
เพ่อื เป็นสญั ลกั ษณ์เตอื นบุคลากรวา่ เป็นยากล่มุ เสย่ี งสงู
 พยาบาลผรู้ บั คาสงั่ ตดิ สตก๊ิ เกอรว์ งกลมสแี ดง HAD ในใบ MAR เพ่อื เป็นการเตอื นเมอ่ื มกี ารบรหิ ารยา

ตุลาคม 2561 123/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 1/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

(นายสุรวฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

แนวทางปฏิบตั ิ เร่ือง การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสงู (High Alert Drugs)

 ยาทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ในกลมุ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ให้เกบ็ ในตหู้ รอื ลน้ิ ชกั ทม่ี กี ุญแจและมกี ารบนั ทกึ เมอ่ื ใชย้ ากบั ผปู้ ่วย
ตามแบบบนั ทกึ การรบั จ่ายยาเสพตดิ ชนิดฉดี (FM–TQM-038 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 01) โดยมกี ารตรวจสอบอยา่ งสม่าเสมอ
การใช้ยาความเสี่ยงสงู

1. แพทยผ์ สู้ งั่ ใช้ยา

1.1 ไม่สงั่ ยาทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ดว้ ยวาจา ในกรณีเร่งด่วนจาเป็นตอ้ งสงั่ ดว้ ยวาจา ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามแนวทางการรบั คาสงั่

ทางโทรศพั ท์ และแพทยล์ งลายมอื ช่อื ทค่ี าสงั่ นนั้ ภายใน 24 ชวั่ โมง
1.2 แพทยร์ ะบตุ วั ผปู้ ่วยอย่างถกู ตอ้ งก่อนการเขยี นสงั่ ยา
1.3 เขยี นใบสงั่ ยาใหค้ รบถว้ น ประกอบดว้ ย
1.3.1 ช่อื ยา (หา้ มใชต้ วั ยอ่ )
1.3.2 ขนาดยา หรอื ความเขม้ ขน้ (ไมเ่ ขยี นเป็นอตั ราสว่ น)
1.3.3 ชนดิ ของสารน้าและปรมิ าตรทใ่ี ชผ้ สมยา
1.3.4 วธิ กี ารบรหิ ารยาและอตั ราเรว็ ในการใหย้ า
1.3.5 น้าหนกั ตวั ผปู้ ่วย
1.3.6 กรณสี งั่ ใชย้ า Norepinephrine และ KCL injection ใหร้ ะบุวา่ บรหิ ารผ่าน peripheral line หรอื central line
1.3.7 กรณสี งั่ ใช้ KCl ใหร้ ะบุค่าระดบั โพแทสเซยี มในเลอื ด (Serum K) ในใบสงั่ ยาทกุ ครงั้
1.4 แพทยพ์ จิ ารณาผลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื คา่ พารามเิ ตอรท์ ส่ี าคญั ก่อนสงั่ ยาใหแ้ ก่ผปู้ ่วย เชน่ กรณีสงั่ ใช้

Heparin แพทยต์ ดิ ตามค่า aPTT และปรบั ยาตามสถานการณ์ทางคลินิกของผปู้ ่วยแต่ละราย กรณปี รบั ยา Heparin ใหใ้ ช้
แนวทางการปรบั ยาเบื้องต้น ตาม “ตารางปรบั unfractionated heparin” ในภาคผนวก ทงั้ น้ี ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของแพทยใ์ น
การปรบั ขนาดยาของผปู้ ่ วยแต่ละราย

1.5 แพทยพ์ จิ ารณาขอ้ หา้ มใชแ้ ละปฏกิ ริ ยิ าระหว่างยาทส่ี งั่ ใชก้ บั ยาอ่นื ๆ ทผ่ี ปู้ ่วยใชอ้ ยู่
1.6 แพทยป์ รบั ยาตามสถานการณ์ทางคลินิกของผปู้ ่วยแต่ละราย โดยใชค้ วามเขม้ ขน้ และอตั ราเรว็ ในการ

บรหิ ารยาในภาคผนวกเป็นแนวทางขนั้ ตน้ ทงั้ น้ี ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของแพทยใ์ นการปรบั ขนาดยาของผปู้ ่วยแต่ละราย
2. พยาบาล

2.1.การรบั คาสงั่ ใชย้ าความเสย่ี งสงู : ตรวจสอบความครบถว้ นของคาสงั่ ใชย้ าดงั ขอ้ 1.3 หากไมค่ รบองคป์ ระกอบตามท่ี
กาหนดใหไ้ มร่ บั คาสงั่

2.2.การบรหิ ารยา พยาบาลบรหิ ารยาความเสย่ี งสงู โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
2.2.1. ตดิ สตก๊ิ เกอร/์ ประทบั ตรา HAD ในใบ MAR
2.2.2. ตรวจสอบช่อื -นามสกุลผปู้ ่วย ชอ่ื ยา ขนาดยา วธิ กี ารบรหิ ารยาทถ่ี กู ตอ้ ง
2.2.3. กรณเี ตรยี มยาใหม้ กี ารตรวจสอบ ชอ่ื ยา ความแรง ปรมิ าณยาทผ่ี สม อตั ราการใหย้ า โดยพยาบาลคนท่ี 2 เป็น

ผตู้ รวจสอบซา้ (Independent Double check) ก่อนใหย้ าแก่ผปู้ ่วย
3. เภสชั กร

3.1 เภสชั กรตรวจสอบความครบถว้ นของคาสงั่ ใชย้ าความเสย่ี งสงู หากคาสงั่ ใชย้ าในขอ้ 1.3 หากไมค่ รบ องคป์ ระกอบ
ตามทก่ี าหนดใหไ้ มร่ บั คาสงั่ (ใหป้ ระสานหน่วยงานทนั ทเี พ่อื แจง้ แพทยผ์ สู้ งั่ ใชย้ า)

ตุลาคม 2561 124/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 2/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

(นายสุรวฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

แนวทางปฏิบตั ิ เรื่อง การใช้ยาที่มคี วามเสี่ยงสงู (High Alert Drugs)

3.2 เภสชั กรตรวจสอบช่อื นามสกุลของผปู้ ่วย ช่อื ยา ขนาดยา (dose) ปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งยา (drug interaction) ขอ้ หา้ ม
ใชย้ านนั้ ๆ (contraindication)

3.3 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความเขม้ ขน้ อตั ราเรว็ ในการบรหิ ารยา สารน้าทเ่ี ขา้ กนั ได้ ตามตารางการคานวณและผสม
ยาในภาคผนวก

3.4 กรณพี บปัญหาของใบยาด่วน ใหต้ ดิ ต่อพยาบาลประจาหอผปู้ ่วยทนั ที
3.5 เภสชั กรผตู้ รวจสอบยา ตดิ สตกิ๊ เกอรส์ แี ดงวงกลม (HAD) ทฉ่ี ลากยา โดยทาการจ่ายยาตามใบคาสงั่ การรกั ษาของ
แพทยผ์ สู้ งั่ ใชย้ า
การเฝ้าระวงั ผลจากการใช้ยาที่มีความเส่ียงสงู

 พยาบาลเฝ้าระวงั อาการขา้ งเคยี งจากยา ตดิ ตามและลงบนั ทกึ ผลการใชย้ าหรอื การเปลย่ี นแปลงหลงั การใชย้ าทม่ี ี
ความเสย่ี งสงู ในแบบบนั ทกึ การรายงานเหตุการณ์ไมพ่ งึ ประสงคจ์ ากการใชย้ าทม่ี คี วามเสย่ี งสงู (FM-PTC 03
แกไ้ ขครงั้ ท่ี 02)

 กรณบี รหิ ารยา Heparin พยาบาลบนั ทกึ ค่า aPTT ในตารางปรบั ยา Heparin (FM-MR-50 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00) และลง
ลายมอื ชอ่ื ในชอ่ ง “ผปู้ รบั ยา” พรอ้ มระบุชอ่ื แพทยผ์ สู้ งั่ ปรบั ยาในช่อง “ผสู้ งั่ ปรบั ยา”

 พยาบาลแจง้ แพทยเ์ จา้ ของไขท้ นั ทเี มอ่ื พบความผดิ ปกตหิ รอื ความผดิ พลาดจากการใชย้ า

 เมอ่ื เกดิ อาการไมพ่ งึ ประสงคร์ นุ แรง หรอื เกดิ ความผดิ พลาดทถ่ี งึ ตวั ผปู้ ่วยจากการใชย้ า ผพู้ บเหตุการณ์รายงาน
อุบตั กิ ารณ์ความเสย่ี งทนั ที (รายงานทาง VRM) โดยใชร้ หสั N06 และเลอื กสง่ รายงานให้ “หวั หน้าฝ่ายเภสชั กรรม”

ตวั ชี้วดั

1. จานวนเหตุการณ์ไมพ่ งึ ประสงคจ์ ากการใชย้ าทม่ี คี วามเสย่ี งสงู
2. จานวนเหตุการณ์ไมพ่ งึ ประสงคจ์ ากการใชย้ าทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ทป่ี ้องกนั ได้ เทา่ กบั 0
3. อตั ราความคลาดเคลอ่ื นทางยาของยาความเสย่ี งสงู (prescribing error, dispensing error, administration error)
ของผปู้ ่วยนอกและผปู้ ่วยใน
เอกสารอ้างอิง

1. Rich DS. New JCAHO medication management standards for 2004. Am J Health-syst Pharm 2004 ; 61 :
1349-1358.

2. The Joint Commission on the Accreditation of Healthcare Organization. National patient safety goals
(Accessed on May. 21, 2008, at http://www.JCAHO.org)

3. มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพฉบบั ฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั พฒั นาและ
รบั รองคณุ ภาพโรงพยาบาล (พ.ร.พ.), 2549.

4. กติ ติ พทิ กั ษน์ ติ นิ นั ท.์ โครงการมาตรการความปลอดภยั ดา้ นยา ภายใตโ้ ครงการ First Global Patient Safety
Challenge: Clean Care is Safer Care และนโยบาย Thailand Patient Safety Goal. สานกั พฒั นาระบบบรกิ าร
สขุ ภาพ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ , ในรายงานการประชุมชแ้ี จงมาตรการความปลอดภยั
ดา้ นยา, หน้า 1-6. 20-21 สงิ หาคม 2550 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรงุ เทพมหานคร.

ตุลาคม 2561 125/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 3/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NAVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

(นายสรุ วฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

ตารางคานวณการผสมและบริการยา potassium chloride (KCl) ในผใู้ หญ่
Potassium chloride injection (KCl) 20 mEq / 10 mL (Ampule)

บริหารยาผา่ น infusion pump เท่านัน้

Serum Potassium Route Max conc. Max. infusion rate Max. dose in 24 hr
> 2.5 mEq/L 200 mEq
< 2.5 mEq/L Peripheral line 40 mEq/L 10 mEq/hr 400 mEq

Central line 400 mEq/L 40 mEq/hr

ตารางแสดงการผสมยา KCl injection สาหรบั ฉีดเข้าหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral line)

Peripheral line (max rate 10 mEq/ hr)

Conc. (mEq/L) 20 40 (max conc.)*

ปริมาตร KCl (mL)ท่ีเติม 2.5 5 10 2 5 10 20

ปริมาตรสารน้า* (mL) 247.5 495 990 98 245 490 980

ปริมาตรรวม (mL) 250 500 1000 100 250 500 1000

Max rate (mL/hr) 500 250

*กรณีจากดั น้า : max conc.for peripheral line =10 mEq in 100 mL (100 mEq/L)

อตั ราการบริหารยาไม่เกิน 10 mEq/hr และให้เฝ้าระวงั phlebitis / extravasation

ตารางแสดงการผสมยา KCl injection สาหรบั ฉีดเข้าหลอดเลือดส่วนกลาง (Central line)

Central line (max rate 40 mEq/hr)

Conc. (mEq/L) 80 100 200 400 (max.conc.)

ปริมาตร KCl (mL) 4 10 20 40 5 12.5 25 50 25 50 100 50 100 200

ปริมาตรสารน้า*(mL) 96 240 480 960 95 237.5 475 950 225 450 900 200 400 800

ปริมาตรรวม (mL) 100 250 500 1000 100 250 500 1000 250 500 1000 250 500 1000

Max rate (mL/hr) 500 400 200 100

เม่อื บริหารยาด้วยอตั ราเรว็ มากกว่า 10 mEq/hr ให้ monitor EKG ทกุ ครงั้

สารน้าที่แนะนาให้ใช้ในการผสม : 1) NSS หรือ 2) D5W (D5W อาจลดประสิทธิภาพของ KCl ได้)
ตวั อย่างการผสม: ตอ้ งการ KCl ความเขม้ ขน้ 80 mEq/L ปรมิ าตร 1000 mL ใน NSS เตรยี มโดยนา NSS 1000 mL
ดดู NSS ออก 40 mL จากนนั้ ดดู KCl 40 mL (80 mEq) เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ พลกิ ไปพลกิ มาใหย้ าเขา้ กนั
หมายเหตุ การผสม KCl ที่ความเข้มข้นนอกเหนือจากที่ระบไุ ว้ให้สอบถามจาก

หน่วยวิชาการเภสชั กรรม โทร. 3140

ตุลาคม 2561 126/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 4/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและบริหา

Dobutamine inj.: 1 vial = 250 mg/ 5 mL

Dobutamine Dose 40 45 50
(250 mg/ 250 mL) mcg/kg/min

วธิ ผี สม 3 7.2 8.1 9.0
-D5W,NSS 250 mL ดดู ออก 5 mL 5 12.0 13.5 15.0
-ดดู ยา Dobutamine 5 mL (250 mg) เตมิ 7 16.8 18.9 21.0
ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ 10 24.0 27.0 30.0
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั 15 36.0 40.5 45.0
20 48.0 54.0 60.0
ยาที่ผสมแล้วอย่ไู ด้ 24 ชม.

Dobutamine Dose 40 45 50
(200 mg/100 mL) mcg/kg/min

วธิ ผี สม 3 3.6 4.0 4.5
-D5W, NSS 100 mL 5 6.0 6.7 7.5
ดดู ออก 4 mL 7 8.4 9.4 10.5
-ดดู ยา Dobutamine 4 mL (200 mg) เตมิ 10 12.0 13.5 15.0
ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ 15 18.0 20.2 22.5
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั 20 24.0 27.0 30.0

ยาที่ผสมแล้วคงตวั อยไู่ ด้ 24 ชม.

ตุลาคม 2561 127/

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

ารยา Dobutamine injection ในผใู้ หญ่ (นายสรุ วฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

Body weight (kg) 80 85 90
55 60 65 70 75
Drip rate (microdrop/min หรือ mL/hr) 14.4 15.3 16.2
9.9 10.8 11.7 12.6 13.5 24.0 25.5 27.0
16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 33.6 35.7 37.8
23.1 25.2 27.3 29.4 31.5 48.0 51.0 54.0
33.0 36.0 39.0 42.0 45.0 72.0 76.5 81.0
49.5 54.0 58.5 63.0 67.5 96.0 102.0 108.0
66.0 72.0 78.0 84.0 90.0
80 85 90
Body weight (kg)
55 60 65 70 75 7.2 7.6 8.1
Drip rate (microdrop/min หรอื mL/hr) 12.0 12.7 13.5
4.9 5.4 5.8 6.3 6.7 16.8 17.8 18.9
8.2 9.0 9.7 10.5 11.2 24.0 25.5 27.0
11.5 12.6 13.6 14.7 15.7 36.0 38.2 40.5
16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 48.0 51.0 54.0
24.7 27.0 29.2 31.5 33.7
33.0 36.0 39.0 42.0 45.0

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 5/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและบริหาร

D Dobutamine inj.: 1 vial = 250 mg/5 mL

Dobutamine Dose
(500 mg/250 mL) mcg/kg/min 40 45 50

วธิ ผี สม 3.6 4.0 4.5 4.9
-D5W,NSS 250 mL ดดู ออก 10 mL
-ดดู ยา Dobutamine 6.0 6.7 7.5 8.2
2 vial = 10 mL (500 mg) เตมิ ลงในสาร 8.4 9.4 10.5 11.5
น้าทเ่ี ตรยี มไว้ 12.0 13.5 15.0 16.5
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั 18.0 20.2 22.5 24.7

ยาที่ผสมแล้วคงตวั อย่ไู ด้ 27.0 30.0 33.0

24 ชม. 24.0

Dobutamine inj.: 1 vial = 250 mg/5 mL

Dobutamine Dose 40 45 50
mcg/kg/min
(1,000 mg/250 mL)

วธิ ผี สม 3 1.8 2.0 2.2
-D5W,NSS 250 mL ดดู ออก 20 mL 5 3.0 3.3 3.7
-ดดู ยา Dobutamine 4 vial = 20 mL 7 4.2 4.7 5.2
(1,000 mg) เตมิ ลงในสารน้าทเี ตรยี มไว้ 10 6.0 6.7 7.5
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั 15 9.0 10.1 11.2
20 12.0 13.5 15.0
ยาที่ผสมแล้วคงตวั อย่ไู ด้
24 ชม. 128/

ตุลาคม 2561

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

รยา Dobutamine injection ในผใู้ หญ่ (นายสรุ วฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

Body weight (kg) 80 85 90

55 60 65 70 75 7.6 8.1 3.6
Drip rate (microdrop/min หรือ mL/ hr) 12.7 13.5 6.0
17.8 18.9 8.4
5.4 5.8 6.3 6.7 7.2 25.5 27.0 12.0
9.0 9.7 10.5 11.2 12.0 38.2 40.5 18.0
12.6 13.6 14.7 15.7 16.8 51.0 54.0 24.0
18.0 19.5 21.0 22.5 24.0
27.0 29.2 31.5 33.7 36.0
36.0 39.0 42.0 45.0 48.0

Body weight (kg)
55 60 65 70 75 80 85 90
Drip rate (microdrop/min หรือ mL/hr)

2.4 2.7 2.9 3.1 3.3 3.6 3.8 4.0
4.1 4.5 4.8 5.2 5.6 6.0 6.3 6.7
5.7 6.3 6.8 7.3 7.8 8.4 8.9 9.4
8.2 9.0 9.7 10.5 11.2 12.0 12.7 13.5
12.3 13.5 14.6 15.7 16.8 18.0 19.1 20.2
16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 24.0 25.5 27.0

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 6/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและบริหา

Dopamine 1 amp = 250 mg / 10 mL Dose 40 45 50
mcg/kg/min
Dopamine 7.2 8.1 9.0
3 12.0 13.5 15.0
(250 mg/ 250 mL) 5 16.8 18.9 21.0
7 24.0 27.0 30.0
การผสม 10 36.0 40.5 45.0
-ใช้ D5W หรอื NSS 250 mL ดดู ออก 10 mL 15 48.0 54.0 60.0
-ดดู ยา Dopamine 1 amp = 10 mL (250 mg) 20
เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ 40 45 50
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั
3.6 4.0 4.5
ยาทีผสมแล้ว คงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม. 6.0 6.7 7.5
8.4 9.4 10.5
Dopamine Dose 12.0 13.5 15.0
(200 mg /100 mL) mcg/kg/min 18.0 20.2 22.5
24.0 27.0 30.0
การผสม 3
-ใช้ D5W หรอื NSS 100 mL 5 129/
7
ดดู ออก 8 mL 10
-ดดู ยา Dopamine 8 mL (200 mg) 15
เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ 20
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั

ยาทีผสมแล้ว คงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม.

ตุลาคม 2561

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

ารยา Dopamine injection ในผใู้ หญ่ (นายสุรวฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

Body weight (kg)

55 60 65 70 75 85 85 90

Drip rate (microdrop/ min หรือ mL/ hr)

9.9 10.8 11.7 12.6 13.5 14.4 15.3 16.2

16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 24.0 25.5 27.0

23.1 25.2 27.3 29.4 31.5 33.6 35.7 37.8

33.0 36.0 39.0 42.0 45.0 48.0 51.0 54.0

49.5 54.0 58.5 63.0 67.5 72.0 76.5 81.0

66.0 72.0 78.0 84.0 90.0 96.0 102.0 108.0

Body weight (kg) 85 85 90
55.0 60 65 70 75
Drip rate (microdrop / min หรอื mL/hr) 7.2 7.6 8.1
4.9 5.4 5.8 6.3 6.7 12.0 12.7 13.5
8.2 9.0 9.7 10.5 11.2 16.8 17.8 18.0
11.5 12.6 13.6 14.7 15.7 24.0 25.5 27.0
16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 36.0 38.2 40.5
24.7 27.0 29.2 31.5 33.7 48.0 51.0 54.0
33.0 36.0 39.0 42.0 45.0

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 7/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและบริหารย

Dopamine 1 amp = 250 mg/ 10 mL

Dopamine Dose 40 45 50
mcg/ kg/ min
(500 mg/ 250 mL) 3.6 4.0 4.5
3 6.0 6.7 7.5
การผสม 5 8.4 9.4 10.5
-ใช้ D5W หรอื NSS 250 mL ดดู ออก 20 mL 7 12.0 13.5 15.0
-ดดู ยา Dopamine 2 amp = 20 mL 10 18.0 20.2 22.5
(500 mg) เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ 24.0 27.0 30.0
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั

ยาทีผสมแล้ว คงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม.

15

20

Dopamine Dose 40 45 50
mcg/kg/min
(1,000 mg/ 250 mL) 1.8 2.0 2.3
3 3.0 3.3 7.5
การผสม 5 4.2 4.7 5.2
-ใช้ D5W หรอื NSS 250 mL 7 6.0 6.7 7.5
10 9.0 10.1 11.2
ดดู ออก 40 mL 15 12.0 13.5 15.0
-ดดู ยา Dopamine 4 amp = 40 mL 20
(1,000 mg) เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั

ยาทีผสมแล้ว คงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม.

ตุลาคม 2561 130/

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

ยา Dopamine injection ในผใู้ หญ่ (ต่อ) (นายสุรวฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

Body weight (kg)
55 60 65 70 75 85 85 90
Drip rate (microdrop/ min หรือ mL/ hr)
4.9 5.4 5.8 6.3 6.7 7.2 7.6 8.1
8.2 9.0 9.7 10.5 11.2 12.0 12.7 13.5
11.5 12.6 13.6 14.7 15.7 16.8 17.8 18.0
16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 24.0 25.5 27.0
24.7 27.0 29.2 31.5 33.7 36.0 38.2 40.5
33.0 36.0 39.0 42.0 45.0 48.0 51.0 54.0

Body weight (kg)
55 60 65 70 75 85 85 90
Drip rate (microdrop/ min หรอื mL/ hr)
2.5 2.7 2.9 3.1 3.3 3.6 3.8 4.0
4.1 4.5 4.8 5.2 5.6 6.0 6.3 6.7
5.7 6.3 6.8 7.3 7.8 8.4 8.9 9.0
8.2 9.0 9.7 10.5 11.2 12.0 12.7 13.5
12.3 13.5 14.6 15.7 16.8 18.0 19.1 20.2
16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 24.0 25.5 27.0

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 8/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมแล

Heparin : 25,000 Units/ 5 mL (5,000 units/ mL)

Bolus dose (ตาม initial dos

Heparin 25,000 units/ 250 mL Indication Bolus do

(units/ kg

วธิ ผี สม Acute MI treated with 60
70
-NSS 250 ml. ดดุ ออก 5 mL fibrinolytic 80
-ดดู ยา Heparin 5 mL (25,000 units) ACS, mechanical valve
เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี มไว้ 80
พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั PE & ventricular/
atrial thrombus

ยาที่ผสมแล้ว คงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม. Peripheral arterial
embolism/ DVT

Note : 1) Adjust by weight and clinical correlation

2) Total dose : 48,000 units/ day (2,000 units/ hr)

หมายเหตุ ในการผสมยา heparin ให้ปรบั ปริมาตรตามการใช้จริงของผปู้ ่ วยแต่ละร

ตุลาคม 2561 131/

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

ละบริหารยา Heparin ในผใู้ หญ่ (นายสรุ วฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

Dose infusion rate
se of heparin)
ose Maximum bolus Initial infusion Maximum initial
g.) (units)
(units/ kg./ hr.) infusion rate
4,000
5,000 (units/ hr.)
10,000
12 1,000

15 1,000

18 1,000

5,000 18 1,000

ราย โดยคงความเข้มข้นของยาเป็น 100 units/mL

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 9/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและ

ตารางการปรบั unfractionated

aPTT Repeated bolus Stop infusion Chan
dose (units)
> 7.0 (min)
5.1 - 7.0 _
4.1 - 5.0 _ 180 Reduc
3.1 - 4.0 _
2.6 - 3.0 _ 60 Reduc
1.5 - 2.5 _
1.2 - 1.4 _ 30 - 60 Reduc
< 1.2 2,500
5,000 30 - 60 Reduc

30 - 60 Redu

0

0 Increase

0 Increa

ตุลาคม 2561 132/

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

ละบริหารยา Heparin ในผใู้ หญ่ (นายสรุ วฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

heparin (UFH) ตามค่า aPTT Time to next aPTT
(hours)
nge rate dose of infusion
(Adjusted dose) 3
6
ce rate by 500 units/ hour 6
ce rate by 500 units/ hour 6
ce rate by 300 units/ hour 6
ce rate by 200 units/ hour next morning
uce rate by100 units/ hour 6
6
no change
rate by 100 - 200 units/ hour
ase rate by 400 units/ hour

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 10/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและบริหารย

Norepinephrine inj.: 1 vial = 4 mg/ 4 mL

Norepinephrine Dose 40 45
(4 mg/ 250 mL) mcg/ kg/ min

วธิ ผี สม 0.08 12.0 13.5
-D5W, D5S 250 mL ดดู ออก 4 mL 0.2 30.0 33.7
-ดดู ยา Norepinephrine 0.4 60.0 67.5
1 vial = 4 mL (4 mg) เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี ม 0.6 90.0 101.2
ไว้ พลกิ ไปมาใหย้ าเขากนั 0.8 120.0 135.0
ยาที่ผสมแลว้ คงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม. 1 150.0 168.7

Norepinephrine Dose 40 45
(8 mg/ 250 mL) mcg/ kg/ min

วธิ ผี สม 0.08 6.0 6.7
-D5W, D5S 250 mL ดดู ออก 8 mL 0.2 15.0 16.8
-ดดู ยา Norepinephrine 0.4 30.0 33.7
2 vial = 8 mL (8 mg) เตมิ ลงในสารน้าทเ่ี ตรยี ม 0.6 45.0 50.6
ไว้ พลกิ ไปมาใหย้ าเขากนั 0.8 60.0 67.5
ยาที่ผสมแล้วคงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม. 1 75.0 84.3

ตุลาคม 2561 133/

วิทยาลยั นวมินทราธิราช ผอู้ นุมตั ิเอกสาร

AVAMINDRADHIRAJ UNIVERSITY .................................

ยา Norepinephrine injection ในผใู้ หญ่ (นายสรุ วฒุ ิ ลฬี หะกร)

ผอู้ านวยการโรงพยาบาล

Body weight (kg)

50 55 60 65 70 75 80 85

Drip rate (microdrop/ min หรือ mL/ hr) 24.0 25.5
60.0 63.7
15.0 16.5 18.0 19.5 21.0 22.5 120.0 127.5
180.0 191.2
37.5 41.2 45.0 48.7 52.5 56.2 240.0 255.0
300.0 318.7
75.0 82.5 90.0 97.5 105.0 112.5
80 85
112.5 123.7 135.0 146.2 157.5 168.7
12.0 12.7
150.0 165.0 180.0 195.0 210.0 225.0 30.0 31.8
60.0 63.7
187.5 206.2 225.0 243.7 262.5 281.2 90.0 95.6
120.0 127.5
Body weight (kg) 150.0 159.3

50 55 60 65 70 75

Drip rate (microdrop/min หรือ mL/ hr)

7.5 8.2 9.0 9.7 10.5 11.2

18.7 20.6 22.5 24.3 26.2 28.1

37.5 41.2 45.0 48.7 52.5 56.2

56.2 61.8 67.5 73.1 78.7 84.3

75.0 82.5 90.0 97.5 105.0 112.5

93.7 103.1 112.5 121.8 131.2 140.6

/248 SD-PTC-06 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00 จานวน 11/ 15 หน้า

คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาว

FACULTY OF MEDICINE VAJIRA HOSPITAL NA

ตารางคานวณการผสมและบริหารย

Norepinephrine inj.: 1 vial = 4 mg/ 4 mL

Norepinephrine Dose 40 45 50

(4 mg./ 100 mL) mcg/ kg/ min 5.4 6.0
13.5 15.0
วธิ ผี สม 0.08 4.8 27.0 30.0
-D5W, D5S 100 mL ดดู ออก 4 mL 40.5 45.0
-ดดู ยา Norepinephrine 0.2 12.0 54.0 60.0
67.5 75.0
4 mL (4 mg) เตมิ ลงในสารน้าท่ี 0.4 24.0
45 50
เตรยี มไว้ พลกิ ไปมาใหย้ าเขากนั 0.6 36.0
ยาท่ีผสมแล้วคงตวั อยไู่ ด้ 24 ชม. 0.8 48.0 2.7 3.0
6.7 7.5
1 60.0 13.5 15.0
20.2 22.5
Norepinephrine Dose 40 27.0 30.0
mcg/ kg/ min 33.7 37.5
(8 mg/ 100 mL) 2.4
6.0 134/
วธิ ผี สม 0.08 12.0
-D5W, D5S 100 mL ดดู ออก 8 mL 0.2 18.0
-ดดู ยา Norepinephrine 0.4 24.0
2 vial = 8 mL (8 mg) เตมิ ลงในสาร 0.6 30.0
น้าทเ่ี ตรยี มไว้ พลกิ ไปมาใหย้ าเขา้ กนั 0.8
ยาที่ผสมแล้วคงตวั อย่ไู ด้ 24 ชม. 1

ตุลาคม 2561


Click to View FlipBook Version