The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 A บรรยาย กศป. ม.ศรีปทุม รุ่น 4 Power Point 17 10 64 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2021-10-16 06:07:23

1 A บรรยาย กศป. ม.ศรีปทุม รุ่น 4 Power Point 17 10 64 (1)

1 A บรรยาย กศป. ม.ศรีปทุม รุ่น 4 Power Point 17 10 64 (1)

คดปี กครองเกย่ี วกบั การผงั เมือง การควบคุมอาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

หลกั สูตร ประกาศนียบัตรทางกฎหมายปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง รุ่นท่ี ๔
ศูนย์กฎหมายศรีปทุมและหลกั สูตรนิตศิ าสตรมหาบัณฑิต ขอนแก่น

มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม

นายภานุพนั ธ์ ชัยรัต

3/ 2 / 2564

นายภานุพนั ธ์ ชยั รตั

อดตี ตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ

การศึกษาสงู สดุ

ผงั เมอื งมหาบณั ฑติ สาขาการวางแผนภาคและเมอื ง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

นติ ศิ าสตรม์ หาบณั ฑติ สาขากฎหมายมหาชน

ปรคะณสะนบิตศิกาสาตรร์ ณจฬุ า์ใลนงกรกณา์มหราทวทิ ยาางลยัาน

เคยรบั ราชการตาแหน่ง นักผงั เมือง กรมการผงั เมือง ก่อนลาออกจากราชการปฏิบตั ิหน้าท่ี ผ้อู านวยการ
ศูนยว์ ิชาการและปฏิบตั ิการผงั เมือง มีประสบการณ์เก่ียวกบั การวางผงั ทางกายภาพระดบั ภาคและเมือง ได้แก่
การวางผงั ภาค การวางผงั โครงสร้างจงั หวดั การวางผงั เมืองรวม การวางผงั พฒั นาพื้นท่ีเฉพาะ การเวนคืน
อสงั หาริมทรพั ยเ์ พ่ือการผงั เมือง เป็นอาจารยบ์ รรยายพิเศษแก่นิสิตนักศึกษาชนั้ ปริญญาโท สาขาการผงั เมือง และ
สาขานิติศาสตร์ การเขียนบทความทางวิชาการเก่ียวกบั การผงั เมือง

ได้รบั พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งตงั้ เป็ น ตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้นเมื่อวนั ที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๔ เป็ น

ตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้น ร่นุ ที่ ๑ และได้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั ิหน้าที่ ตุลาการเจ้าของสานวน และ ตุลาการ

ผแู้ ถลงคดี เพื่อพิจารณาพิพากษาคดีและจดั ทาคาแถลงการณ์ประจาองคค์ ณะท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะคดีปกครอง
ประเภทส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ ในศาลปกครองชนั้ ต้นและศาลปกครองสงู สดุ
มาโดยตลอด

เอกสารทมี่ อบให้ผู้เข้ารับการอบรม

การบรรยายคดีปกครองเกี่ยวกบั การผงั เมือง การควบคุมอาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ
มอบเอกสารเป็น E book (Qr Code) ดงั นี้

ส่วนที่หนึ่ง คือ POWER POINT ซ่ึงรวมเนื้อหาท่ีเก่ียวข้องกนั ซึ่งใช้ในการบรรยายคดีปกครอง
เกี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ POWER POINT 1 (368 สไลด์) และ
POWER POINT 2 (236 สไลด)์

ส่วนท่ีสอง คือ หนังสือ “เมืองเป็ นธรรม” เป็ นเอกสารพื้นฐานที่ผู้บรรยายใช้ประกอบ
การบรรยายวิชาคดีปกครองเกี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ ของ
หลกั สูตรต่างๆ เนื้อหากล่าวถึงปรชั ญา หลกั กฎหมาย แนวความคิดและวิธีคิดของนักกฎหมาย การใช้
กฎหมาย ความเป็ นเมืองและชุมชนซึ่งเป็ นสภาพทางกายภาพท่ีมนุษย์สร้างขึ้นบนโลกนี้ กรณี ศึกษา
คดีปกครองของประเทศไทยและต่างประเทศท่ีให้เหตผุ ลในการวินิจฉัยคดีและประเดน็ ความเป็นธรรม

ส่วนท่ีสาม คือ กรณีศึกษาคดีปกครอง ซึ่งแต่ละกรณีศึกษาประกอบด้วยคาสงั่ หรือคาพิพากษา
ของศาลปกครองชนั้ ต้น คาแถลงการณ์ของตลุ าการผแู้ ถลงคดีในศาลปกครองชนั้ ต้น คาสงั่ หรือคาพิพากษา
ของศาลปกครองสงู สดุ และคาแถลงการณ์ของตลุ าการผแู้ ถลงคดีในศาลปกครองสงู สดุ

ส่วนท่ีสี่ คือ กรณีศึกษา คดีมาบตาพุด ซ่ึงเป็ นคดีปกครองท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวข้องสัมพนั ธ์กัน
ในลกั ษณะ สหวิทยาการ (Interdisciplinary fields) โดยเฉพาะการรวบรวมปฏิกิริยาของมหาชน (Public
Reaction) ต่อการพิจารณาคดีมาบตาพดุ ของศาลปกครอง

ส่วนท่ีห้า คือ บทความและข้อเขียนที่เกี่ยวกบั วิธีคิดของผ้บู รรยายซึ่งเหน็ ว่าจะเป็นประโยชน์ต่อ
ผทู้ ี่สนใจศึกษาวิเคราะหก์ ารวินิจฉัยคดีปกครองหวั ข้อวิชานี้

3

หนังสือ เมืองเป็ นธรรม ปฏกิ ริ ิยาของมหาชน Public Reaction
ต่อศาลปกครองในการพจิ ารณาคดมี าบตาพดุ

กรณีศึกษา

คดปี กครองเกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ จานวน 27 คดี แต่ละคดปี ระกอบด้วย

คาแถลงการณ์ของตุลาการผู้แถลงคดศี าลปกครองช้ันต้น คาพพิ ากษาศาลปกครองช้ันต้น
คาแถลงการณ์ของตุลาการผู้แถลงคดศี าลปกครองสูงสุด คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุด

ผู้บรรยายมอบให้ผู้เข้าอบรมเป็ นทร่ี ะลกึ

ความเข้าใจเบอื้ งต้น : ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น

“ตลุ าการศาลปกครองชนั้ อทุ ธรณ์”

เมื่อมีการแก้ไขพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๓๐ ว่า
ตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้นให้ได้รบั เงินเดือนในชนั้ ๑ ดงั นัน้ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๓๑
มีนาคม ๒๕๔๕ เป็ นต้นมา มีผลทาให้ตุลาการในศาลปกครองชนั้ ต้นได้รบั
เงินเดือนเท่ากบั เงินเดือนของผพู้ ิพากษาศาลอทุ ธรณ์ของศาลยตุ ิธรรม

เม่ือตุลาการในศาลปกครองชนั้ ต้นได้รบั เงินเดือนในชนั้ ๑ มาครบ
หนึ่งปี แล้ว ให้เล่ือนชนั้ เงินเดือนเป็ นชนั้ ๒ และเมื่ออยู่ในชนั้ ๒ มาครบเจด็ ปี
แล้ว ให้เลื่อนชนั้ เงินเดือนเป็นชนั้ ๓ จะเหน็ ว่า เมื่อตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น
ทางานมาแล้ว ๘ ปี จะได้รบั เงินเดือนชัน้ ๓ ซึ่งเงินเดือนชัน้ ๓ จะเท่ากับ
เงินเดือนของรองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้ าคณะใน
ศาลปกครองสงู สดุ และตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ

7

ศาลปกครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐

มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงาน
ของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือองค์กรตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั กบั เอกชน
หรือ ระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือองค์กรตาม

รฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ที่ของรฐั ด้วยกนั อันเน่ืองมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือ
เนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องคก์ รปกครองส่วน
ท้องถิ่น หรือองคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ทงั้ นี้ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ รวมทงั้ มีอานาจพิจารณา
พิพากษาเรื่องที่รฐั ธรรมนูญหรือกฎหมายบญั ญตั ิให้อย่ใู นอานาจของศาลปกครอง

อานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซึ่งเป็นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้

ให้มศี าลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น และจะมศี าลปกครองชนั้ อทุ ธรณ์ด้วยกไ็ ด้

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

มาตรา ๑๙๗ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี อนั เน่ืองมาจากการใช้อานาจทางปกครอง
ตามกฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ทงั้ นี้ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ

ให้มีศาลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น
อานาจศาลปกครองตามวรรคหน่ึง ไม่รวมถึงการวินิ จฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซ่ึงเป็ นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้ ๆ
การจดั ตงั้ วิธีพิจารณาคดี และการดาเนินงานของศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้

ความรบั ผิดชอบในการทาหน้าที่ของ

“ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น”

ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ

องค์กรตุลาการของรฐั “ตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้น”

เป็ นบุคคลที่ถูกกาหนดโดยกฎหมายให้ทาหน้ าท่ีที่มี

ความรบั ผิดชอบสูงมาก เพื่ออานวยความยุติธรรมแก่

ประชาชนและการรกั ษาประโยชน์ของส่วนรวม

ซึ่งหมายถึงประโยชน์ส่วนรวมของประเทศหรือ

ประโยชน์ส่วนรวมของมนุษย์ชาติตามพนั ธกรณีของ

ประเทศไทยกบั ประชาคมโลก 9

คณุ สมบตั ิของผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
ที่จะได้รบั การแต่งตงั้ เป็นตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น

ตามประกาศ ก.ศป. เร่ือง การกาหนดหลกั เกณฑก์ ารเป็ นผทู้ รงคุณวฒุ ิ ท่ีจะไดร้ ับการแต่งต้งั
เป็ นตุลาการศาลปกครองช้นั ตน้ ลงวนั ที่ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๔๔ กาหนดให้ผทู้ รงคุณวุฒิที่จะไดร้ ับการ
แต่งต้งั เป็ นตุลาการศาลปกครองช้นั ตน้ ตอ้ งมีพ้ืนฐานความรู้กฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชน
ปัจจุบนั มีหลกั สูตรกฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชนที่ ก.ศป. ไดร้ ับรองแลว้ ๓ หลกั สูตร คือ

(๑) หลักสูตรพนักงานคดีปกครอง ระดับกลาง ตามประกาศ ก.ศป. ลงวันที่ ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๘
จัดการศึกษาอบรมโดย สานักงานศาลปกครอง

(๒) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน จัดการศึกษาอบรมโดย คณะนิติศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ตามมติ ก.ศป. คร้ังที่ ๗๔-๑๑/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙

(๓) หลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ตามมาตรฐานท่ี ก.ศป. รับรอง
จัดการศึกษาอบรมโดย มูลนิธิวจิ ัยและพฒั นากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง ตามมติ ก.ศป. คร้ังท่ี
๑๓๐ – ๓/๒๕๕๔ ลงวนั ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔

ฯลฯ

10

“ความรสู้ าหรบั ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น”

จะเห็นว่า “พื้นฐานความรู้วิชาท่ีเกี่ยวกบั กฎหมายปกครอง

หรือกฎหมายมหาชน” ที่กาหนดเป็ นคณุ สมบตั ิสาหรบั “ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ
ท่ีจะได้รบั แต่งตงั้ เป็ นตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้น” ท่ีกล่าวมา รวมถึง
“ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้นผเู้ ข้ารบั ตาแหน่งใหม่”

เป็ นการเตรียมพื้นฐานความร้สู าหรบั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิและบุคคล
ที่จะต้องไป “ทาหน้ าท่ีในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์” และ
ในฐานะของ “ตุลาการชัน้ ศาลอุทธรณ์ภายใต้โครงสร้างองค์กร
ตลุ าการของรฐั ”

ดังนั้น จึงต้องเป็ นการให้พื้นฐานวิชาความรู้ท่ีสูงกว่าและ
มี เนื้ อหาที่ แตกต่ างจากการบรรยายหรือการอบรมของหลักสูตร

กฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชนของสถานศึกษาโดยทวั่ ไป
11

ในการทาหน้าท่ีพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
จึงต้องคิดอย่างตลุ าการ และ

ต้องมีจิตสานึกความเป็นตลุ าการ

Judicial Mind
( จิตสานึกของความเป็นธรรม )
จึงจะทาให้การพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
เกิดผลลพั ธ์ (Outcome) คือ

ความเป็นธรรมทางสงั คม

การประสานประโยชน์ของส่วนรวมกบั การค้มุ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
และแนวทางการปฏิบตั ิราชการที่ดี

ศาลปกครองกลาง การใช้กฎหมายบังคบั กบั ส่ิงล่วงลา้ ลานา้

คดหี มายเลขดาท่ี ๑๒๕๘/๒๕๔๕ ตามกฎหมายว่าด้วยการเดนิ เรือในน่านนา้ ไทย
คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๗๐/๒๕๔๖
ความยตุ ิธรรมทางกฎหมาย กบั ความเป็ นธรรมทางสังคม

ความเป็นธรรมทางสงั คม

13

กรณศี ึกษา : ความเป็ นธรรมจากคาพพิ ากษาของศาลปกครอง

คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุด (ทป่ี ระชุมใหญ่) คดหี มายเลขแดงที่ อ.๑๑๗/๒๕๔๗

วนิ ิจฉัยว่า โดยทีก่ ฎกระทรวง (พ.ศ.๒๔๙๘) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พทุ ธศักราช ๒๔๗๙ ซึ่งเป็ น
กฎกระทรวงที่ใช้บังคับอยู่ในขณะท่ีเจ้าของอาคารท่ีเป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดีย่ืนคาขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามข้อ ๕๖ วรรคสอง
กาหนดว่า อาคารที่ก่อสร้างชิด กับที่ดินของผู้อ่ืนน้ัน จะมีระยะห่างจากเขตท่ีดินน้ันต่ากว่า ๕๐ เซนติเมตร ไม่ได้ เว้นแต่จะปลูกสร้าง
โดยวิธีตกลงทาผนังร่วมกัน แต่ท้ังนีต้ ้องไม่เสียประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม จากข้อกาหนดดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการก่อสร้างอาคาร
ที่ปลูกชิดกับท่ีดินของผู้อ่ืนโดยมีระยะห่างจากเขตท่ีดินต่ากว่า ๕๐ เซนติเมตร จะกระทาได้ก็ต่อเม่ือมีการตกลงทาผนังอาคารร่วมกัน
การที่เจ้าของอาคารดังกล่าวย่ืนขออนุญาตเพื่อก่อสร้างอาคารแทนอาคารหลงั เดมิ ซึ่งมีผนังอาคารท่ีใช้ร่วมกนั จึงต้องได้รับความยินยอม
จากผู้ฟ้องคดีตามท่ีกาหนดในข้อ ๕๖ วรรคสอง ของกฎกระทรวง (พ.ศ.๒๔๙๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พทุ ธศักราช ๒๔๗๙

อย่างไรกต็ าม การทจี่ ะพจิ ารณาว่ามกี ารให้ความยนิ ยอมหรือไม่ อาจพจิ ารณาได้จากพฤติการณ์ทีแ่ สดงให้เห็นถึงการตกลง
หรือการให้ความยนิ ยอมจากผู้ฟ้องคดี สาหรับคดนี ีแ้ ม้ว่าเจ้าของอาคารทเี่ ป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดจี ะไม่ได้มีหนังสือของผู้ฟ้องคดีที่ให้
ความยนิ ยอมในการก่อสร้างอาคารชิดเขตท่ีดนิ หรือท่ตี กลงให้ทาผนังร่วมกนั เพ่ือประกอบการพจิ ารณาในการออกใบอนุญาตให้ก่อสร้าง
อาคารแก่เจ้าของอาคารทเี่ ป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดกี ต็ ามแต่เม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่าในระหว่างการก่อสร้างอาคารดงั กล่าวมีการจดั ทา
นั่งร้านบนหลังคาอาคารของผู้ฟ้องคดี และผู้ฟ้องคดีก็รู้เห็นการกระทาดังกล่าวมาโดยตลอดแต่ไม่ได้ทักท้วงประการใด จึงถือได้ว่า
ผู้ฟ้องคดีให้ความยินยอมในการก่อสร้างอาคารชิดเขตท่ีดินหรือตกลงให้ทาผนังอาคารร่วมกันโดยปริยายแล้ว กรณีจึงเข้าข้อยกเว้นที่
สามารถดาเนินการก่อสร้างอาคารชิดเขตทด่ี นิ ของผู้อ่ืนซ่ึงมีระยะห่างจากเขตทด่ี นิ น้ันตา่ กว่า ๕๐ เซนติเมตร ได้

จะเห็นว่า ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารท่ีมีจุดมุ่งหมายและวตั ถุประสงค์ท่ตี ้องการให้เกดิ ขึน้ คือ
การให้เจ้าของที่ดินได้รับทราบและยินยอมในการก่อสร้างอาคารติดเขตที่ดินของตนเอง แต่เมื่อมีการออกกฎกระทรวงและข้อบัญญัติ
ท้องถิ่นได้กาหนดว่า “ในกรณีก่อสร้างอาคารชิดเขตท่ีดินต้องได้รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากเจ้าของที่ดินข้างเคียงด้านน้ัน” ซึ่งเป็ น
การกาหนดรูปแบบการยนิ ยอมไว้เพยี งกรณเี ดยี ว คือ การยนิ ยอมเป็ นหนังสือ ศาลปกครองสูงสุดจึงได้วางหลกั การให้ความยนิ ยอมในการ
ก่อสร้างอาคารชิดเขตทดี่ นิ หรือตกลงให้ทาผนังอาคารร่วมกนั ทถี่ ือเป็ นการให้ความยนิ ยอมโดยปริยายไว้ด้วย

The Three Waves of Legal Functions in Society

ในสาขาวชิ า Law and Society มโี จทย์ว่า กฎหมายมหี น้าทอ่ี ย่างไรในสังคม ศาสตราจารย์ สตีเวน ฟาโก Prof.
Emeritus of Saint Louis University ชี้ว่า นักวชิ าการช้ันนาทวั่ โลกต่างเห็นพ้องกนั ว่ากฎหมายมี ๓ หน้าทใ่ี นสังคม คือ

(๑) บทบาทระงับข้อพพิ าท (Conflict Resolution) สังคมมนุษย์ทุกแห่งต่างมีกฎเกณฑ์ระงบั ข้อพพิ าทมาแต่
ดกึ ดาบรรพ์ นั่นคือคล่ืนลูกที่ ๑ ต้งั แต่สมยั คนยงั เป็ นมนุษย์ถา้ (Cavemen) และเริ่มสัมพนั ธ์กนั เป็ นสังคม กฎเกณฑ์ในรูปของ
จารีตประเพณที ่ีใช้วธิ ีแก้แค้น(Feuding) หรือให้คู่กรณีต่อสู้กนั เพ่ือระงับข้อพพิ าท(Trial by Combat) หรือให้สภาผู้เฒ่า
(Council of Elders) เป็ นผู้ตดั สินข้อขดั แย้ง หรือใช้วธิ ีไกล่เกลย่ี เจรจา หรือประนีประนอมกนั สิ่งเหล่าน้ันคือกฎหมาย

(๒) บทบาทควบคุมสังคม (Social Control) เมื่อสังคมมนุษย์ขยายใหญ่มีการแก่งแย่งทรัพยากรและข้อพพิ าท
มากขึน้ จึงมีวธิ ีควบคุมสังคมโดยไม่เป็ นทางการ(Informal Social Control) เช่น การซุบซิบนินทาการเย้ยหยัน การทาให้
อาย ฯลฯ ต่อมาสังคมมนุษย์ขยายใหญ่และสลบั ซับซ้อนมากขนึ้ กฎเกณฑ์การระงบั ข้อพพิ าทจึงพฒั นาจากจารีตประเพณมี า
เขียนเป็ นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ควบคุมสังคม ซ่ึงเป็ นวิธีท่ีทาให้คนในสังคมยังคงระเบียบและคาดหมายได้ว่าผู้ใดจะพึง
ประพฤติเช่นไร (Social control refers to the methods used by members of a society to maintain order and promote
predictability of behavior) หน้าที่ของกฎหมายในฐานะคล่ืนลูกท่ี ๒ ของสังคมมนุษย์ จึงได้แก่บทบาทควบคุมสังคม
(Social Control)

(๓) บทบาทเปลยี่ นแปลงสังคม (Social Change) เม่ือเวลาล่วงมาถึงต้นศตวรรษ ๑๙ มีสิทธิเกดิ ขึน้ ใหม่เพราะ
การเปล่ียนแปลงของสังคม เช่น สิทธิในแสงแดด(The Rights to Sunshine) เป็ นต้น นักนิติศาสตร์ของโลกหลายคน
โดยเฉพาะศาสตราจารย์ Roscoe Pound (๑๘๗๐-๑๙๖๔) ต่างชี้ว่ากฎหมายมีหน้าที่ Social Engineering (วิศวกรสังคม)
หน้าทขี่ องกฎหมายในฐานะคลื่นลูกท่ี ๓ ในสังคมมนุษย์ จึงได้แก่บทบาท Social Change เพื่อเปลย่ี นแปลงสังคมให้ก้าวไป
ข้างหน้าตามแนวทางทค่ี นในสังคมต้องการ น่ีคือบทบาทล่าสุดของกฎหมาย

บทบาทของกฎหมายในสังคมท่ีกล่าวมา “ตุลาการ” จึงไม่ไดม้ ีหนา้ ที่เพียงตดั สินคดีให้สังคมสงบสันติและ
ธารงสงั คมใหค้ งท่ีเท่าน้นั แต่ตุลาการ ยงั มหี น้าทตี่ ัดสินคดเี พ่ือให้สังคมก้าวไปข้างหน้าตาม Social Change อกี ด้วย

16

คาถวายสตั ยป์ ฏิญาณต่อพระมหากษตั ริย์
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

“ ข้าพระพทุ ธเจ้า (ชื่อผปู้ ฏิญาณ) ขอถวายสตั ยป์ ฏิญาณว่า
ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่ อพระมหากษัตริ ย์และ
จะปฏิบตั ิหน้าที่ในพระปรมาภิไธย ด้วยความซื่อสตั ย์สุจริต
โดยปราศจากอคติ ทัง้ ปวง เพ่ือให้เกิดความยุติ ธรรมแก่
ประชาชนและความสงบสขุ แห่งราชอาณาจกั ร ทงั้ จะรกั ษาไว้
และปฏิบตั ิตามซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยและกฎหมายทกุ ประการ ”

ท่านคาดหวงั อะไร

ในหวั ข้อวิชานี้

18

ความคาดหวงั ของผบู้ รรยาย

ท่านจะการใช้กฎหมาย (Application of Law)
บรรลตุ ามจดุ ม่งุ หมายหลกั กฎหมายมหาชน

เพื่อความยตุ ิธรรมทางกฎหมาย

เพื่อความเป็นธรรมทางสงั คม

ท่านจะใช้กฎหมายอย่างสร้างสรรค์ ไม่ใช่อย่างท่านศรีธนญชยั

เนื้อหาและวิธีการบรรยายหวั ข้อวิชานี้

การบรรยายและเอกสารประกอบการบรรยายในหวั ข้อ
วิชานี้ จึงไม่ใช่การแจกตวั บทและอธิบายตามตวั บทกฎหมาย
แต่ละฉบบั หรือต้องจดจาแนวคาพิพากษาคดีปกครอง เช่น
การบรรยายให้ แก่ ผู้เรียนวิ ชากฎหมายในหัวข้อวิ ชานี้ ของ
สานักเรียนหรือมหาวิทยาลยั โดยทวั่ ไป

เน่ืองจากกฎหมายเฉพาะแต่ละฉบบั ท่ีเก่ียวกบั หวั ข้อ
วิชานี้ ท่านสามารถหาอ่านและทาความเข้าใจได้เอง รวมทงั้
สามารถขอเอกสารหรือนัง่ ฟังการบรรยายในชนั้ ปริญญาตรี
หรือปริญญาโทของสถานศึกษาต่างๆได้

20

จดุ ม่งุ หมายในการบรรยาย

เพื่อให้ท่านมวี ธิ ีคดิ และสามารถวเิ คราะห์
หาเหตุผลในคาวนิ ิจฉัยของศาล

ไม่ใช่เพื่อให้ต้องจดจาบรรทดั ฐาน
คาสั่งหรือคาพพิ ากษาของศาล
และนาไปใช้อย่างไม่เข้าใจในเหตุผลของคาวนิ ิจฉัย

21

ขอนาเสนอองคค์ วามรพู้ น้ื ฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในบรบิ ทตา่ งๆ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ กระบวนทศั น์ (Paradigm) สาหรบั การใชก้ ฎหมาย

ตามหลกั กฎหมายมหาชนอยา่ งกา้ วหน้า

Paradigm หรือ กระบวนทศั น์
หมายถึง กรอบแนวคิดทฤษฎีทงั้ ในเชิงวิทยาศาสตรแ์ ละเชิงสงั คมวิทยา
ซึ่งเป็ นที่ยอมรบั ของวงการนักวิชาการหรือสงั คมในขณะนัน้ เมื่อสภาพสงั คม
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย จาเป็นต้องหากรอบแนวคิดทฤษฎีใหม่ในการมอง
จึงจะเข้าใจสงั คมได้ (Paradigm Shift)

อ้างใน วิทยากร เชียงกลู อธิบายศพั ท์สงั คมศาสตรเ์ พื่อการพฒั นา Dictionary of
Development Studies สานักพิมพส์ ายธาร กรงุ เทพ ๒๕๕๐ หน้า ๙๘

22

กระบวนทศั น์ หรอื Paradigm

ในคดีปกครองท่ีเก่ียวกบั ส่ิงแวดล้อม
การผงั เมอื ง อาคาร และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ

กรณีศึกษา
ผมู้ ีสิทธินาข้อพิพาททางปกครอง

ซึ่งเป็นประเดน็ สาธารณะ

เข้าส่กู ารพิจารณาในกระบวนยตุ ิธรรมทางปกครอง

เมอ่ื สภาพสงั คมเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย
จาเป็ นต้องหากรอบแนวคิดทฤษฎีใหม่ในการมอง

23

ววิ ฒั นาการวธิ ีคดิ เกยี่ วกบั เมือง
และกฎหมายท่ีเกยี่ วกบั

การผงั เมือง อาคาร และ เหตุเดือดร้อนราคาญ

24

“มรดกอนั ลา้ ค่าด้านการผงั เมือง แห่งศตวรรษที่ 19”

ขบวนการเพื่อสุขภาพพลานามยั ของสาธารณะ

THE PUBLIC HEALTH MOVEMENT

ขบวนการเพื่อสุนทรียภาพของเมือง

THE CITY BEAUTIFUL MOVEMENT

ขบวนการเนรมติ เมืองอุทยาน

THE GARDEN CITY MOVEMENT

ในช่วงศตวรรษท่ี 19 (ค.ศ.1800 – 1900) (พ.ศ.2343 – 2443 รัชกาลท่ี ๒ – รัชกาลที่ ๕)
เกิดขบวนการสาคัญด้านการผังเมือง เรียกกันว่า “มรดกอันลา้ ค่าด้านการผังเมืองแห่งศตวรรษท่ี 19”
เป็ นความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาความเลวร้ายของสังคม ซ่ึงมีจุดเร่ิมต้นมาจากสภาพความเป็ นอยู่
ทนี่ ่าสังเวชของชนช้ันแรงงานในเมืองใหญ่ท้ังในทวปี อเมริกาและทวปี ยุโรป ซึ่งเป็ นผลสืบเนื่องมาจากการ
พฒั นาอตุ สาหกรรมตามปรัชญา เลซเซ-แฟร์ (LAISSEZ – FAIRE 1776) หรือ ลทั ธิทุนนิยมอุตสาหกรรม
ทมี่ ุ่งการแข่งขนั อย่างเสรีโดยไม่มขี อบเขตจากดั เพ่ือประโยชน์สูงสุดทางด้านเศรษฐกจิ ของประเทศ

25

“มรดกอนั ลา้ ค่าด้านการผงั เมือง แห่งศตวรรษท่ี 19”

ขบวนการเพ่ือสุขภาพพลานามยั ของสาธารณะ

THE PUBLIC HEALTH MOVEMENT

ขบวนการเพ่ือสุนทรียภาพของเมือง

THE CITY BEAUTIFUL MOVEMENT

ขบวนการเนรมติ เมืองอุทยาน

THE GARDEN CITY MOVEMENT

มรดกอันลา้ ค่าด้านการผังเมืองท้ังสามกระบวนการท่ีกล่าวมา ทาให้เห็นวิธีการคิดของมนุษย์
และการตรากฎหมายท่ีเก่ียวกับ การพัฒนาเมือง ส่ิงแวดล้อม และสุขอนามัยของประชาชน ออกมาเป็ น
จานวนมาก และกฎหมายเหล่าน้ันได้เป็ นต้นแบบของกฎหมายในประเทศต่างๆ ท่ีมีความต่อเน่ืองใน
หลกั การและแนวความคดิ มาจนถงึ ปัจจุบัน

26

กฎหมายที่เป็ นต้นแบบของหลายๆประเทศ 27

Town and Country Planning Act
กฎหมายการวางผงั เมืองและชนบท
Zonning Ordinance
กฎหมายการควบคุมย่าน

Subdivision Regulation
กฎหมายจดั สรรที่ดนิ

Building and Housing Code
กฎหมายควบคุมอาคารและเคหะ

New Towns Act
กฎหมายเมืองใหม่
Housing Act
กฎหมายการเคหะ

Water Industry Act
Water Resources Act
Land Drainage Act

Highways Act
Transport Act
Harbours Act
Caravan Sites and Control of Development Act
National Parks and Access to the Countryside Act
Environment Act

Eminent Domain
การเวนคืนทดี่ นิ และทรัพย์สินของเอกชนเพื่อนามาใช้ประโยชน์สาธารณะ

Police Power
อานาจควบคุมการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ และทรัพย์สินของเอกชน

28

29

การวางผงั เมืองของนครยะลา 30

ผงั เมืองบริเวณเมืองลพบุรี ผงั บริเวณวงเวยี น ๒๒ กรกฎาคม

ผงั เมืองบริเวณกรุงปารีส ผงั เมืองบริเวณนครวอชิงตนั ดี. ซี.

10/16/2021 31

Good Governance

(CSR Corporate Social Responsibility) แห่ง ค.ศ. 1851 -1871

ค.ศ. 1851 -1871 “บัคกิง้ แฮม และ โฟริเออ” ทาการวางผังเมืองสาหรับเมืองอุตสาหกรรม ในรูปแบบ
การผสมผสานทางด้านสังคม เศรษฐกจิ และกายภาพ ซึ่งเมืองที่ได้รับการยอมรับอย่างมากในขณะน้ัน คือ
เมืองซอลแทร์ (CITY OF SALTAIRE) ในประเทศองั กฤษ (ค.ศ. 1851 พ.ศ. 2394 สมยั รัชกาลท่ี 4) 32

เซอร์ ไตตัส ซอลท์ (SIR TITUS SALT) เจ้าของโรงงานขนสัตว์จากเมืองแบรดฟอร์ด
(BRADFORD) ในประเทศองั กฤษ เป็ นผู้นาแนวคิดในการวางผังเมืองโดยทาการสารวจข้อมูล
ด้านสังคมซ่ึงเป็ นกระบวนการที่สาคัญในการวางผังเมืองของ เมืองซอลแทร์ ผลการสารวจ
ด้านทอ่ี ยู่อาศัยของคนงานและลูกจ้างนาไปสู่การจดั ทาโครงการด้านทอ่ี ยู่อาศัยของเมืองนี้

นับเป็ นคร้ังแรกท่ีได้มีการเตรียมการเก่ียวกับด้านท่ีอยู่อาศัยสาหรับเมืองอุตสาหกรรม
โดยดาเนินการอย่างพิถีพิถันเพื่อให้มีท่ีพกั ขนาดท่ีเหมาะสมกับความต้องการของคนงานและ
ขนาดของครอบครัว ให้ท่ีอยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอและมีการถ่ายเทของอากาศท่ีดี
นอกจากนี้ เซอร์ ไตตัส ซอลท์ ได้เป็ นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง โบสถ์ พพิ ธิ ภัณฑ์ โรงเรียน
สวนสาธารณะและทพ่ี กั สาหรับคนงานสูงอายุ CSR Corporate Social Responsibility ?

โครงการวางผังเมืองของเมืองซอลแทร์ เพื่อให้ตระหนักในความสาเร็จของผลประโยชน์
ทางเศรษฐกิจสูงสุดที่ เซอร์ ไตตัส ซอลท์ ได้รับ ว่า ความสาเร็จของโครงการท่ีกล่าวมาพสิ ูจน์
ให้เห็นว่า การแสวงหาผลประโยชน์จากชนช้ันกรรมาชีพและผลกาไรของลทั ธิทุนนิยม ไม่ใช่ส่ิง
ท่ีจาเป็ นต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมท้ังหมด เพ่ือหักล้างปรัชญาเศรษฐกิจ - การเมือง ตาม
ทฤษฎี เลซเซ-แฟร์ ทยี่ ดึ หลกั การแข่งขนั อย่างเสรีจนไร้ขอบเขตเพื่อกาไรสูงสุด

(พงศ์สีห์ ชุมสาย ณ อยุธยา “มรดกอนั ล้าค่าทางผงั เมือง แห่งศตวรรษ ท่ี ๑๙” สานกั ผงั เมือง
กระทรวงมหาดไทย โรงพิมพส์ านกั นายกรัฐมนตรี ๒๕๓๔ จานวน ๔๗ หนา้ )
33

The Great Pullman Strike 1894

โครงการวางผงั เมืองของเมืองซอลแทร์ในประเทศองั กฤษทาให้เกิดแรงบนั ดาลใจข้ึนในสังคมของประเทศ
สหรัฐอเมริกา โดย George Pullman ผนู้ าดา้ นอุตสาหกรรมไดส้ ร้างเมืองใหม่ ชื่อ Pullman City ข้ึนบริเวณชานเมือง Chicago
มลรัฐ Illinois โดยเรียนรู้การวางผงั เมืองจากประสบการณ์ของ เซอร์ ไตตสั ซอลท์ ท่ีว่า เมืองสามารถสร้างให้ดีไดแ้ ละ

มีผลกาไร แต่เนื่องจากแนวความคิดตามหลกั เลซเซ–แฟร์ ฝังอยใู่ นจิตวิญญาณของลทั ธิทุนนิยม ทาใหม้ ีการปรับราคาสินคา้

ในเมือง การปรับข้ึนราคาการให้บริการต่างๆ และข้ึนค่าเช่าที่อยอู่ าศยั จนถึงจุดกระเทือนต่อรายไดข้ องคนงานที่ไดร้ ับค่าจา้ ง
แรงงานต่า รวมท้งั ปัญหาของคนงานท่ีไดร้ ับค่าจา้ งต่าไม่มีความปลอดภยั ในการทางานและไดร้ ับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจาก
อุปกรณ์การทางานท่ีไม่มีความปลอดภยั หลายๆคร้ัง โดยไม่ไดร้ ับการดูแลเอาใจใส่จากนายจา้ ง ในที่สุดนาไปสู่เหตุการณ์
คร้ังสาคญั ในประวตั ิศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ ๑๙ คือ The Great Pullman Strike of ๑๘๙๔

เหตุการณ์คร้ังน้นั เป็นการเผชิญหนา้ กนั อยา่ งรุนแรงระหวา่ งผใู้ ชแ้ รงงานกบั นายทุนเจา้ ของโรงงานและกิจการ
ต่างๆ เริ่มข้ึนในวนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๑๘๙๔ เมื่อคนงานประมาณ ๓,๐๐๐ คน ของสหภาพแรงงานหลายแห่งไดน้ ดั หยดุ งาน
และรวมตวั กนั เดินไปท่ีโรงแรมพูลแมนซ่ึงเจา้ ของเป็ นหุ้นส่วนในกิจการหลายแห่งท่ีคนงานทางานอยู่ หลงั จากน้นั เกิดการ
เผชิญหน้ากับเจ้าหน้าท่ีของรัฐและผู้บริ หารของกลุ่มกิจการขนาดใหญ่ จนนาไปสู่สถานการณ์ตึงเครี ยดและการ

กระทบกระทง่ั กนั เม่ือศาลของรัฐบาลกลางประกาศวา่ การนดั หยดุ งานเป็นเร่ืองผิดกฎหมาย จึงมีการจบั กุมผนู้ าการประทว้ ง
และเจา้ หนา้ ที่สหภาพแรงงานอ่ืนๆ ซ่ึงนาไปสู่สถานการณ์ความไม่สงบเรียบร้อยขยายออกไปในพ้ืนท่ีต่างๆ เป็นบริเวณกวา้ ง

ประธานาธิบดี Grover Cleveland ของสหรัฐอเมริกามีคาสงั่ ใหก้ องกาลงั ทหารของรัฐบาลกลาง ๖,๐๐๐ คน ไปยงั เมืองชิคาโก
เพ่ือร่วมกบั ตารวจ ๓,๐๐๐ คน ปฏิบตั ิการควบคุมความไม่สงบเรียบร้อยและสถาปนาความสามคั คีให้เกิดข้ึนในชุมชน

นับเป็ นคร้ังแรกท่ีรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาส่งกองกาลงั ทหารเพื่อไปแก้ไขปัญหาการนัดหยุดงาน เมื่อเหตุการณ์
The Great Pullman Strike สงบลง มีผเู้ สียชีวติ หลายสิบรายและบาดเจบ็ เป็นจานวนมาก
34

คดีปกครองเกี่ยวกบั
ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ
เนื้อหาคดีแต่ละเร่ืองเป็นส่วนหนึ่งขององคป์ ระกอบพืน้ ฐาน

“การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย”์

HUMAN SETTLEMENT

การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ มีเนื้อหาว่าด้วย
การดารงชีวิตของมนุษย์

การจดั การสภาพแวดล้อมและการอย่อู าศยั
เพ่ือให้มีชีวิตอย่รู ่วมกนั อย่างปกติสขุ

“เมืองท่ีอย่เู ยน็ เป็นสขุ ”

(องคป์ ระกอบที่ดีด้านสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม และความยตุ ิธรรม)

36



คดีปกครองเกี่ยวกบั
ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร

และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ
มีเนื้อหาของขอ้ กฎหมาย
และข้อเทจ็ จริงในเชิงกายภาพ
ที่มีความสมั พนั ธก์ นั ในลกั ษณะ

สหวิทยาการ

(Interdisciplinary fields)

38

ความเข้าใจเบอื้ งต้นเก่ียวกบั หวั ข้อวิชานี้

ศาลปกครองชนั้ ต้นจดั องค์คณะตามกลุ่มคดีปกครองเชี่ยวชาญเฉพาะ

และจดั องค์คณะเชี่ยวชาญด้านคดีปกครองเก่ียวกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง

อาคาร การจดั สรรที่ดิน อาคารชุด โรงงาน และเหตุเดือดร้อนราคาญ เน่ืองจาก

มีเนื้อหาของข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงในเชิงกายภาพท่ีมีความสมั พนั ธ์กนั

ในลกั ษณะ สหวิทยาการ (Interdisciplinary fields)

รวมทงั้ ได้จดั อบรมในหวั ข้อวิชาคดีปกครองเช่ียวชาญเฉพาะคดีตามท่ี

กล่าวมาข้างต้น ภายหลงั ได้แยกการบรรยายออกเป็นหลายหวั ข้อวิชา ได้แก่ วิชา

คดีปกครองเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม วิชาคดีปกครองเกี่ยวกับการผงั เมืองและ

การควบคมุ อาคาร และวิชาคดีปกครองเกี่ยวกบั เหตเุ ดือดรอ้ นราคาญ

อย่างไรก็ตาม การทาหน้ าที่ “ตุลาการศาลปกครอง” เพ่ือพิจารณา

พิพากษาคดีกล่มุ นี้ให้บรรลจุ ดุ ม่งุ หมาย “ความเป็นธรรม” ต้องเข้าใจภาพรวมของ

ลกั ษณะคดีกลุ่มนี้ วตั ถปุ ระสงค์ของกฎหมายแต่ละเร่ือง และความเก่ียวข้อง

สมั พนั ธก์ นั ซ่ึงไมใ่ ช่เข้าใจในลกั ษณะแยกเป็นส่วนๆ 39

ความเข้าใจเบอื้ งต้นเกี่ยวกบั หวั ข้อวิชานี้
กฎหมายท่ีเก่ียวกบั คดีปกครอง

ด้านส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร
และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ
แยกออกเป็นกล่มุ ๆ

ตามหลกั วิชาการพืน้ ฐานที่เป็นเนื้อหาของเรอื่ ง
และวตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมายแต่ละฉบบั
ดงั นี้

ความเขา้ ใจเบอื้ งต้นเก่ียวกบั หวั ข้อวิชา

กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกบั การผงั เมือง หลกั วิชาการพืน้ ฐานท่ีเป็ นเนื้อหาของเรื่อง คือ การจดั การพื้นท่ี
(Spatial Management) เพ่ือความเหมาะสมทางด้านกายภาพและคณุ ภาพท่ีดีด้านส่ิงแวดล้อมตามวตั ถปุ ระสงค์
ของกฎหมายแต่ละเรื่องที่มีมาตรฐานของกฎหมายในเรื่องนัน้ ๆกาหนดไว้ ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิการผงั เมือง
พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบญั ญตั ิการจดั สรรท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ พระราชบญั ญตั ิการเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗
พระราชบญั ญตั ิการนิ คมอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบญั ญตั ิจดั รูปที่ดินเพื่อพฒั นาพื้นท่ี พ.ศ. ๒๕๔๗
เป็ นต้น

กล่มุ กฎหมายควบคมุ อาคาร หลกั วิชาการพืน้ ฐานท่ีเป็นเนื้อหาของเรื่อง คือ การควบคมุ การก่อสร้าง
อาคาร (Building Control) เพื่อความปลอดภยั ของสาธารณะและตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมายแต่ละเรื่อง ที่มี
มาตรฐานของกฎหมายในเรื่องนัน้ ๆ กาหนดไว้ แยกเป็ น “การควบคุมอาคารท่ีก่อสร้างบนพื้นดิน” ได้แก่
พระราชบญั ญตั ิควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบญั ญตั ิโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปวตั ถุ และ
พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ พระราชบญั ญตั ิการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยเขต
ปลอดภยั ในราชการทหาร พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๘ เป็นต้น และ “การควบคมุ อาคารท่ีก่อสร้างในพืน้ น้าที่มีการสญั จร
ทางน้า” ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๕๖ เป็นต้น

กลุ่มกฎหมายควบคุมเหตุเดือดร้อนราคาญ หลักวิชาการพื้นฐานท่ีเป็ นเนื้อหาของเร่ือง คือ
การควบคมุ การประกอบกิจกรรม (Activity Control) เพือ่ ความปลอดภยั ของสาธารณะและตามวตั ถปุ ระสงคข์ อง
กฎหมายแต่ละเรื่อง ที่มีมาตรฐานของกฎหมายในเร่ืองนัน้ ๆกาหนดไว้

41

ความเข้าใจเบอื้ งต้นเกี่ยวกบั หวั ข้อวิชา

การควบคุมเหตุเดือดร้อนราคาญ แยกเป็ น “เหตุราคาญ” ตามบทบัญญัติ มาตรา ๒๕ แห่ง
พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่บญั ญตั ิว่า ในกรณีท่ีมีเหตุอนั อาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่

ผอู้ ย่อู าศยั ในบริเวณใกล้เคียงหรือผทู้ ่ีต้องประสบกบั เหตนุ ัน้ ดงั ต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็น “เหตรุ าคาญ”
ส่วน “เหตุเดือนร้อน” เป็ นเหตทุ ี่มีความรนุ แรงเกินเกณฑม์ าตรฐานท่ีกาหนดไว้เป็ น “เหตุราคาญ” ของ

กิจกรรมตามกฎหมายต่างๆ ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิการประกอบกิจการ
พลงั งาน พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิ
รกั ษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิการขดุ ดินและ
ถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นต้น

เนื่องจากเนื้อหาหลกั วิชาการท่ีเป็ นพื้นฐานของกฎหมายคดีปกครอง

เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ มีมิติ
ด้านกายภาพเป็นจดุ ร่วม รวมทงั้ วตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมายแต่ละฉบบั ในแต่ละ
กลุ่มกฎหมายและระหว่างกลุ่มกฎหมายท่ีกล่าวมา มีจุดร่วมเพื่อประโยชน์ของ
ส่วนรวม

ดงั นัน้ การใช้กฎหมาย (Application of Law) แต่ละฉบบั จึงต้องเป็นไป
อย่างสอดคล้องกนั และต้องบรรลุตามจุดมุ่งหมายประโยชน์ของส่วนรวมตาม

หลกั กฎหมายมหาชน 42

กล่มุ กฎหมายเกี่ยวกบั การผงั เมอื ง

หลกั วิชาการพืน้ ฐานที่เป็นเนื้อหาของเร่ือง คือ การจดั การพืน้ ที่
(Spatial Management) เพื่อความเหมาะสมทางด้านกายภาพและ
คณุ ภาพท่ีดีด้านส่ิงแวดล้อมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมายแต่ละเร่ือง
ท่ีมีมาตรฐานของกฎหมายในเรื่องนัน้ ๆกาหนดไว้

ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิการผงั เมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบญั ญตั ิ
การจดั สรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ พระราชบญั ญตั ิการเคหะแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๓๗ พระราชบัญญัติ การนิ คมอุตสาหกรรม พ. ศ. ๒๕๒๒
พระราชบญั ญตั ิจดั รปู ท่ีดินเพ่ือพฒั นาพืน้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต้น

43

ผงั เมืองรวม
กรุงเทพมหานคร

10/16/2021 ผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานคร
และ

ผงั เมืองรวมสมุทรปราการ

45

การวางผงั เมืองโดยเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรทด่ี นิ

10/16/2021 พระราชบัญญตั จิ ัดสรรท่ดี นิ พ.ศ. ๒๕๔๓ 46

การวางผงั เมืองโดยเอกชน ตามกฎหมายว่าด้วยการจดั สรรทีด่ ิน

มหาวทิ ยาลยั รังสิต

10/16/2021 47

การวางผงั เมืองโดยการเคหะแห่งชาติ

10/16/2021 พระราชบัญญตั กิ ารเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ 48

พระราชบัญญตั กิ ารนิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒

นิคมอตุ สาหกรรม โดยการนิคมอตุ สาหกรรม 49

10/16/2021

MOTORWAY

10/16/2021 นิคมอุตสาหกรรมโดยภาคเอกชน 50


Click to View FlipBook Version