The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwang_500, 2021-09-10 02:22:44

04

04

243

4.2 ขอ เสียของระบอบประชาธิปไตย
1) ประชาชนสรา งความวุน วาย เพราะไมเ ขาใจสิทธิ เสรีภาพและหนาทขี่ องตนเองมักใชส ทิ ธิ

เสรภี าพเกนิ ขอบเขต เชน ประชาชนปด ถนนเพราะไมพอใจราคาพชื ผลตกตํ่า
2) ผูแ ทนราษฎรสรา งผลงานในเฉพาะทองถิน่ ของตน แตไ มส นใจปญ หาประเทศชาติเทาทค่ี วร
3) ประชาชนไมเขา ใจระบอบประชาธิปไตย ขาดสาํ นกึ ของประชาธปิ ไตย จึงเกดิ การขายเสียง
4) รัฐบาลท่ีมีเสยี งขา งมากในรฐั สภา อาจใชค วามไดเปรยี บนจี้ นกลายเปนระบอบ

คณาธิปไตยได
5) ประชาชนเกิดความเบื่อหนา ย เพราะเมอื่ เลอื กตั้งไปแลว ผูแ ทนขาดความจรงิ ใจตอ

ประเทศชาติ
6) ในระหวา งการหาเสียง อาจเกดิ การสาดโคลนทําใหประชาชนเกิดความเบอื่ หนายไดเ ชน กนั
7) คา ใชจายสูง เนื่องจากระบอบประชาธิปไตยจะตอ งทาํ การเลือกตั้งผูแทนราษฎรท่ัวประเทศ

ซงึ่ การเลอื กตง้ั แตละครง้ั จะตองเสียคา ใชจ ายเปน จาํ นวนมาก และเมือ่ ไดผ ูแ ทนเหลานมี้ าแลวก็ตองมีคาใชจาย
ดานเงินเดือนดว ย

8) กอ ใหเ กดิ ความลา ชา ในการตัดสนิ ใจ การปกครองระบอบประชาธิปไตยจําเปน ตอ งใช
การอภิปราย แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ปรึกษาหารอื ถกเถยี งปญ หาและลงมติ ซึง่ แตละขั้นตอนจะตองใช
เวลานาน

9) การปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่ประชาชนปกครองตนเองเปน
ระบอบการปกครองท่ีดแี ตใชยาก เพราะประชาชนจะตอ งมีความรูความเขาใจถึงระบอบประชาธิปไตย ดังน้ัน
ในทางปฏิบัติประเทศท่ีสามารถใชการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอยางไดผ ล จึงเปนประเทศที่ประชาชนมี
การศกึ ษาสงู หรอื ไดมีการปพู น้ื ฐานการศึกษา

กจิ กรรม
ใหผ ูเรยี นตอบคําถามตอ ไปนแ้ี ลว บันทกึ คาํ ตอบลงในแบบบันทกึ ผลการเรียนรู
เรือ่ ง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
1. จงอธิบายความหมายของคําวาการปกครองระบอบประชาธิปไตย
2. จงเปรยี บเทียบขอดแี ละขอ เสียของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
3. ผเู รยี นมีสวนรวมในกจิ กรรมทางการเมืองตามระบอบประชาธปิ ไตยในเร่อื งใดบาง

244

แบบบันทึกผลการเรยี นรู

เรอ่ื ง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

1. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย หมายถงึ
....................................................................................………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………

2. เปรียบเทียบขอ ดแี ละขอ เสยี ของระบอบประชาธิปไตย

ขอดี ขอ เสีย

3. การมสี ว นรว มในกจิ กรรมทางการเมอื งตามระบอบประชาธปิ ไตย
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
…………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………
…………………….…………………………………………………………………………………………………………………………..……..

245

เร่อื งที่ 2 การปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. ความหมายของการปกครองระบอบเผด็จการ
การปกครองระบอบเผดจ็ การ หมายถงึ การปกครองท่ีใหความสาํ คัญแกอํานาจรัฐและผูปกครอง

อํานาจรฐั จะอยเู หนอื เสรีภาพของบุคคล คณะบคุ คลเด่ยี ว หรอื พรรคการเมืองเดี่ยว โดยจะถอื ประโยชนของรัฐ
มากกวา ของประชาชน

การปกครองระบอบเผดจ็ การมลี ักษณะแตกตางจากประชาธิปไตย เพราะระบอบเผด็จการมุงให
ประชาชนมีสวนรวม “นอ ยท่ีสดุ ” หรือ “ไมมี” เลย อกี ทง้ั ยงั ไมต อ งการใหม ีฝา ยคา นแตต องการใหมีการปฏบิ ัติ
ตามอยางเต็มท่ี เพราะถือวา ฝายคา นเปน ศตั รูหรืออุปสรรคของชาติ ระบอบเผดจ็ การเปน ระบอบการเมืองการ
ปกครองที่มมี าชานานแลว และไดวิวัฒนาการไปตามกาลเวลา ซึง่ ผนู ําประเทศตา ง ๆ มีการนําระบอบเผดจ็ การ
มาปรับปรุงเพ่ือใหส อดคลองกับสถานการณทันสมยั และนาเลื่อมใส เพ่ือใหเ ปนทีย่ อมรบั ของประชาชน

2. หลักการปกครองระบอบเผดจ็ การ
2.1 ยึดหลกั รวมอาํ นาจการปกครองไวทสี่ ว นกลางของประเทศ ใหอ าํ นาจอยใู นมือผนู ําเต็มท่ี
2.2 ยดึ หลักการใชก ําลงั การบงั คบั และความรนุ แรงเพ่อื ควบคมุ ประชาชนใหป ฏบิ ัติตามความ

ตอ งการของผูนาํ
2.3 ประชาชนตอ งเชอื่ ฟง และปฏบิ ตั ิตามผนู าํ อยางเครงครัด ไมมสี ิทธิโตแยง ในนโยบายหลักการ

ของรฐั ได
2.4 สรางความรูส ึกไมม่นั คงในชวี ิตใหแกประชาชน จนประชาชนเกดิ ความหวนั่ วิตกเกรงกลัว

อนั ทําใหอ ํานาจรัฐเขม็ เขง็
2.5 ไมส นับสนนุ ใหป ระชาชนเขา มามสี วนรวมทางการเมอื งการปกครองของประเทศ
2.6 จาํ กดั สทิ ธิภาพของประชาชนทง้ั ดา นเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง
2.7 ยดึ หลักความม่นั คง ปลอดภัยของรฐั เปนสาํ คัญ ยกยองอํานาจและความสําคัญของรัฐเหนือ

เสรภี าพของประชาชน
2.8 การใหความสําคญั ตอการศกึ ษาความมน่ั คงของอํานาจรฐั ชาติและผูนาํ
2.9 ผนู าํ หรือคณะผูน ํามักจะดาํ รงตําแหนง อยูนาน อาจนานตลอดชีวิต
2.10 ระบอบเผด็จการอาจอนุญาตใหมีการเลือกตั้งหรือมีรัฐธรรมนูญ โดยรัฐสภาจะตองออก

กฎหมายทีร่ ัฐบาลเผด็จการเห็นสมควรเทา นนั้ รฐั สภาไมม ีสทิ ธลิ งมติไมไววางใจรัฐบาลอํานาจของศาลมีจํากัด
ไมมีสทิ ธิทจี่ ะพิจารณาคดีทางการเมือง หรอื พจิ ารณาไดแ ตตอ งอยภู ายใตการกาํ กบั ดแู ลของรฐั บาลเผด็จการ

3. ประเภทของการปกครองระบอบเผด็จการ
การปกครองระบอบเผด็จการแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก
3.1 ระบอบเผดจ็ การอาํ นาจนยิ ม (Authoritarianism)
ลกั ษณะสาํ คัญของระบอบเผดจ็ การอํานาจนยิ มคือ อาํ นาจการปกครองจะผกู ขาดอยูในมือของคน

กลมุ เดยี ว คอื รฐั บาลและจะจํากดั สทิ ธเิ สรีภาพทางการเมืองของประชาชน เชน หา มประชาชนวจิ ารณ

246

การทาํ งานของรฐั บาล หามแสดงความคิดเห็นที่เปนปรปกษกับรัฐบาล หามเผยแพรบทความดานประชาธิปไตย
หา มชุมชนประทว งรัฐบาล สรปุ ก็คือหามทาํ กิจกรรมการเมอื งทุกกจิ กรรม

แตส ่งิ ทีร่ ะบอบเผด็จการอํานาจนิยมยังสามารถใหเสรีภาพกับประชาชน คือ ดานเศรษฐกิจและ
สงั คม ไดแก

1) ประชาชนมีเสรีภาพท่จี ะเลอื กนับถอื ศาสนา
2) มเี สรีภาพในการดํารงชีวติ สวนตัว
3) มสี ิทธิในครอบครวั
4) สามารถกอตั้งกลุมเศรษฐกิจและสังคมได เชน จัดตั้งสมาพันธและสมาคมตาง ๆ ท่ีไม
เกีย่ วขอ งกบั การเมอื ง
5) มีเสรีภาพในทางเศรษฐกจิ เชน สามารถเลือกประกอบอาชีพได เปนตน หากกิจกรรมใด
คมุ คามตอเสถียรภาพของรฐั บาลก็จะถกู หาม
ระบอบเผด็จการอํานาจนิยมแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ เผด็จการอํานาจนิยมทหารและ
ระบอบเผด็จการฟาสซิสต
3.1.1 ระบอบเผด็จการทหาร
ระบอบเผด็จการทหาร เปนระบอบทผ่ี นู ําฝายทหารเปน ผูใชอ ํานาจเผด็จการปกครองประเทศ
โดยตรง โดยใชกฎอยั การศกึ หรอื รัฐธรรมนญู เผดจ็ การทร่ี ัฐบาลหรือคณะของคนสรางขึ้นเพ่ือใชเปนเคร่ืองมือ
การลิดรอนสิทธเิ สรภี าพทางการเมืองของประชาชนและเปน เครอื่ งมือในการปกครองของประเทศ
รัฐบาลเผดจ็ การทหารของทุกประเทศมักจะใชวิธเี ดยี วกันในการคุมอํานาจกลาวคือ ในชวงที่
ประเทศไดรับภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต หรือมีภัยคุกคามดานความม่ันคงหรือเกิดความระส่ําระสาย
ภายในประเทศ หรอื อยใู นภาวะสงคราม ผนู าํ ฝา ยทหารจะใชช ว งจังหวะดงั กลา วทําการยึดอาํ นาจ โดยฝา ยผูนาํ
ทหารมักจะใหคําสัญญาวาเม่ือประเทศคืนสูภาวะปกติก็จะคืนอํานาจการปกครองหรืออํานาจอธิปไตยให
ประชาชนดังเดมิ แตเม่ือเวลาผานพนไปก็จะยังคงอยูในอํานาจ โดยอางวาสถานการณดานความมั่นคงยังไม
เปน ท่ไี ววางใจ จนกระท่งั ประชาชนหมดความอดทนตอ ระบอบเผดจ็ การ จึงทําการเรยี กรอ งเดินขบวน ในที่สุด
กส็ ามารถโคนลม ระบอบเผด็จการทหารได ตวั อยา งการเรยี กรองประชาธปิ ไตยของประชาชน เชน ในประเทศ
ไทย คือเหตกุ ารณว ันมหาวิปโยคหรือ วันท่ี14 – 16 ตุลาคม 2516 เหตุการณนองเลือดวันท่ี 6 ตุลาคม 2519
เหตกุ ารณน องเลอื ด 17 พฤษภาคม 2535 เหตกุ ารณท เี่ กดิ ขึน้ ในประเทศฟลิปปน ส เพอื่ เรยี กรองประชาธิปไตย
จากประธานาธบิ ดมี ารกอส จนประธานาธบิ ดีมารก อส ตองหนไี ปตางประเทศ เปนตน
3.1.2 ระบอบเผดจ็ การฟาสซสิ ต
ระบอบเผดจ็ การฟาสซิสต เปนระบอบเผด็จการที่ไดรับการสนับสนุนจากกลุมนักธุรกิจและ
กองทัพ มีชื่อสิทธิทางการเมืองวา “ลิทธิฟาสซิสม” เกิดข้ึนคร้ังแรกในประเทศอิตาลีชวงหลังสงครามโลก
ครัง้ ท่ี 1 โดยมผี ูน าํ คือมุสโสลนิ ใี นสมยั ป พ.ศ. 2473 – 2486 ตอ มาไดป ระสานสอดคลองกับขบวนการทางการ
เมอื งของเยอรมัน นัน่ คอื “ขบวนการนาซ”ี ซ่ึงมีฮิตเลอร เปน ผูนําในสมัยป พ.ศ. 2476 – 2488

247

แมว า เผด็จการนาซีจะมหี ลกั การคลา ยคลึงกับฟาสซสิ ต แตห ลักการชาตนิ ยิ มของเผด็จการ
นาซีจะรุนแรงกวาเผด็จการฟาสซิสต กลาวคือ เผด็จการนาซีมีความเช่ือวา มนุษยแตละชาติพันธุ
มีความสามารถตางกัน ชนชาติเยอรมันเปนชาติพันธุท่ีเข็มแข็งฉลาดท่ีสุด จึงสมควรที่จะเปนปกครองโลก
รวมทั้งการโยนความผิดของทุกปญหา เชน ปญหาเศรษฐกิจตกตํ่า ตัวการสําคัญที่กัดกรอนเศรษฐกิจของ
เยอรมัน ฯลฯ ไปใหชาวยวิ เปน แพะรับบาป ชาวยิวนับพันนับหม่ืนคนจึงตองสูญเสียชีวิตเพราะลัทธิชาตินิยม
ของนาซี

ระบอบเผดจ็ การฟาสซิสต จะมีนโยบายการขยายอาณาเขตเปนจักรวรรดินิยมดังจะเห็นได
จากหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ไดม กี ารประชมุ ของสหประชาชาติ ซึง่ ทุกชาตทิ ป่ี ระชมุ ตางเห็นตอ งตองกนั วาลัทธิ
จักรวรรดินิยมเปนตัวการสําคัญท่ีกอใหเกิดสงครามโลกทั้ง 2 คร้ัง ดังน้ัน ประเทศอังกฤษ ฝร่ังเศส
เนเธอรแลนดและสเปน จึงปลดปลอยประเทศในอาณานิคมของตน เชน มาเลเซีย อินเดีย พมา เวียดนาม
กัมพูชา ลาว อินโดนีเซีย ฯลฯ พรอมกันนี้ประเทศเยอรมันก็ถูกแบงออกเปน 2 สวนคือเยอรมันตะวันออก
มรี ัสเซยี เปน ผูค วบคมุ และเยอรมันตะวันตกมีสหรัฐอเมริกาเปนผคู วบคุม ญป่ี ุน ถกู สหรัฐอเมริกาเปนผูควบคุม
ทําใหล ทั ธิเผดจ็ การฟาสซิสตซ่ึงเปน ลทั ธจิ ักรวรรดนิ ิยมสูญส้ินไป

3.2 ระบอบเผดจ็ การเบด็ เสรจ็ นิยม (Totalitarianism)
ประชาชนถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพทุกดาน คือ ทั้งดานการเมืองการปกครองเศรษฐกิจ และสังคม
รวมท้งั ถูกควบคมุ ในดานวิถีชีวิตความเปนอยู การศึกษา มีการลงโทษผูแสดงตัวเปนปฏิปกษตอรัฐบาลอยาง
รุนแรง กลา วคือ ระบอบเผด็จการเบ็ดเสรจ็ นยิ ม ไมเพียงควบคมุ ประชาชนในดานการเมือง เชน หามการแสดง
ความคิดเหน็ การรวมกลุม การชุมชนทีเ่ ปนปฏิปกษกับรัฐบาล ยังควบคุมท้ังดานเศรษฐกิจและสังคมอีกดวย
เชน ศาสนา (สอนวา ศาสนาเปนส่ิงงมงาย) วัฒนธรรมและการศึกษา (รัฐหรือคอมมูนจะทําหนาที่ชวยพอแม
ในการเลยี้ งดูเด็กในชวงทพ่ี อ แมไ ปทํางานและจะสอนใหเ ดก็ รับใชสงั คม ซ่งึ หมายถึงชนช้ันกรรมาชีพหรอื ชนช้ัน
กรรมกร การศึกษาในระดับสูงก็ยังคงเนนการรับใชชนช้ันกรรมาชีพ) หรือแมแตการประกอบอาชีพ
การพกั ผอ นหยอ นใจ ทกุ อยา งทําเพอื่ ชนชนั้ กรรมาชีพทั้งสิ้น ระบอบเผด็จการประเภทนี้เขาไปควบคุมท้ังทาง
การเมือง เศรษฐกิจสังคม รวมทงั้ ความคิดจติ สาํ นกึ ของคนในสงั คม
4. ความเชอ่ื ของระบอบเผด็จการ
การปกครองระบอบเผดจ็ การไมว า จะเปนประเภทใด มคี วามเชือ่ ดังนี้
4.1 รัฐหรือพรรคทีป่ กครองรัฐเปนผูที่สามารถนําความผาสุกมาสูประชาชนอยางแทจริง ฉะนั้น
ประชาชนจึงตอ งเหน็ คณุ คา ของรัฐและตอ งใหความชว ยเหลอื กิจการของรฐั ทุกประการ
4.2 จดุ หมายของรฐั ความตองการของพรรคถอื เปนวตั ถปุ ระสงคสําคญั ประการแรกสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชนไมม คี วามสาํ คญั เทากบั ความตองการของพรรคหรือรฐั
4.3 เชอื่ วารฐั หรือพรรคมีอาํ นาจ มฐี านะเหนือประชาชนทวั่ ไป
4.4 ประชาชนยอมเกิดมาเพื่อเปนเคร่ืองมือรัฐ และมีหนาที่ประการเดียว คือใหความรวมมือ
ตอรฐั เช่อื ฟงรัฐ เพือ่ ใหร ัฐไดบรรลถุ งึ วัตถปุ ระสงคทกี่ ําหนดไว
4.5 รัฐหรือพรรคที่ปกครองรฐั ควรจะอํานาจ มสี ิทธิ ประชาชนมีหนาท่ีเพยี งอยา งเดียว

248

5. ขอ ดีและขอเสียของการปกครองระบอบเผดจ็ การ
5.1 ขอ ดีของการปกครองระบอบเผดจ็ การ
1) สามารถตดั สนิ ปญ หาตา ง ๆ ไดร วดเร็ววา ระบอบประชาธิปไตย เพราะไมตอ งรอผลประชมุ
2) การแกป ญ หาบางอยาง สามารถทําไดดกี วาระบอบประชาธปิ ไตย เชน การปราบ

การจลาจล การกอการรา ยหรือปญหาท่ีเปนภัยตอ สังคม เพราะสามารถใชว ธิ กี ารทีร่ นุ แรงและเฉยี บขาดกวา
3) สามารถแกปญหาวกิ ฤตหรอื เหตกุ ารณฉ กุ เฉินไดอยา งรวดเรว็
4) มีกําลงั กองพนั และอาวุธเขม แข็ง เปน ทีย่ ําเกรงของประเทศเพ่อื นบาน
5) มสี ว นใหเกดิ ความเจริญกา วหนา ในการพฒั นาประเทศดานตาง ๆ โดยเฉพาะดานเศรษฐกจิ
6) มสี วนกอ ใหเกดิ การปกครองที่มปี ระสทิ ธิภาพเพราะมกี ารใชอ าํ นาจบังคับโดยเดด็ ขาด

และรวดเรว็ ทันทีทันใด ทาํ ใหขา ราชการของรัฐมีความกระตอื รอื รน
5.2 ขอเสียของการปกครองระบอบเผด็จการ
1) เปนการลิดรอนสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของประชาชน ซ่ึงเปนส่ิงที่สําคัญท่ีสุดของ

การเมอื งการปกครอง
2) เปนการปกครองของคนกลุม นอย จึงทําใหเ กดิ ความผิดพลาดในการทํางานไดง า ย
3) มุงผลประโยชนเ ฉพาะกลุมหรอื พรรคพวกของตน
4) จาํ กดั และขดั ขวางสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนเปนการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน
5) สกัดก้ันมิใหผูมีความสามารถเขามามีสวนรวมในการสรางสรรคความเจริญกาวหนาของ

ประเทศ
6) บา นเมืองไมสงบสุขมีผตู อตานดา นใชกาํ ลงั อาวุธเขา ตอ สกู ับรฐั บาล
7) ผูปกครองอาจเหลิงอํานาจหรือปลอยใหพรรคพวกบริวารเขามาแสวงหาผลประโยชน

สว นตวั โดยไมสจุ รติ
8) เปด ชอ งใหมหาอํานาจเขามาแทรกแซงได
9) กอ ใหเกิดการนองเลอื ดตดิ ตามมาในภายหลงั เพราะประชาชนยอมตองเรียกรองอํานาจ

อธปิ ไตยกลบั คนื
10) นําประเทศไปสูความหายนะ เชน ฮิตเลอร มุสโสลินีและนายพลโตโจ นําประเทศเยอรมัน

อิตาลีและญีป่ ุนเขา สสู งครามโลกครั้งท่ี 2 และแพสงครามในท่ีสดุ

กิจกรรม
ใหผเู รยี นตอบคําถามตอ ไปนแ้ี ลว บันทกึ ผลการเรยี นรู
เรื่อง การปกครองระบอบเผดจ็ การ
1. จงสรปุ หลกั การของการปกครองระบอบเผดจ็ การมาสัก 3 ขอ
2. จงเปรียบเทยี บขอดีและขอ เสียของการปกครองระบอบเผด็จการ

249

แบบบันทึกผลการเรียนรู
เร่อื ง การปกครองระบอบเผด็จการ

1. สรุปหลักการของการปกครองระบอบเผด็จการ 3 ขอ
1.1. ..............................................................………………………………………………………………………
1.2...............................................................………………………………………………………………………
1.3..............................................................………………………………………………………………………

2. เปรียบเทยี บขอดีและขอเสยี ของระบอบเผด็จการ ขอ เสยี
ขอ ดี

เร่อื งท่ี 3 พัฒนาการของระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศตา ง ๆ ในโลก

1. จุดเร่ิมตนของระบอบประชาธปิ ไตย “ยคุ โบราณ” มีหลายประเทศ เชน
1.1 ประเทศกรีก
ระบอบประชาธิปไตย มจี ุดเร่มิ ตนเกดิ ขึน้ ณ นครรัฐกรีกโบราณ ในชวงคริสตศตวรรษที่ 5 ซ่ึงเปน

“ยคุ โบราณ” หรอื บางท่ี เรียกวา “ยุคกรซี โบราณ” โดยในยคุ นี้ ถือวา เปน การปกครองระบอบประชาธิปไตย
“โดยทางตรง” ซง่ึ แตเดมิ นนั้ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบ “เอเธนส” กลาวคอื

1. มีการคดั เลอื กพลเมอื งธรรมดาจาํ นวนมากเขา สรู ะบบรัฐบาล และศาล
2. มีการชุมนุมของพลเมืองทุกชนชั้น โดยชายชาวเอเธนสทุกคนจะไดรับอนุญาต
ใหอภปิ รายและลงคะแนนเสียง ในสมัชชาได แตคําวา “พลเมือง” น้ันไมรวมไปถึง “ผูหญิง” และ“ทาส”
ซึ่งจากจาํ นวนประชาชนผูอยูอาศัย กวา 250,000 คน จะมผี ูไดรับสถานการณเปน “พลเมือง” เพียง 30,000
คนเทา นั้น และคนท่ีจะไปปรากฏตวั ในสมชั ชาประชาชนเพยี ง 5,000 คนเทา น้นั

250

1.2 ประเทศซีเรีย
ประเทศซเี รียในยุคโบราณเปน เพียงเกาะช่ือ “เกาะอารว ดั ” ไดถ กู กอ ตั้งขึ้นเมอ่ื ครสิ ตส หัสวรรษ
ท่ี 2 กอ นครสิ ตกาลโดยชาว “ฟนิเซียน” ซ่ึงถูกนบั วา เปน ตัวอยา งของประชาชาธิปไตยที่พบในโลก เน่ืองจาก
ประชาชนจะถอื อํานาจ “อธปิ ไตย” ของตนเอง
1.3 ประเทศอนิ เดีย
ประเทศอนิ เดยี เปนอีกประเทศหนึ่งซึ่งมีการพิจารณาไดวามีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
โดยการปกครองของ “เวสาลี” (ปจจุบัน คือ รัฐพิหาร” นับเปนรัฐบาลแรกของโลก แตอยางไรก็ตามก็ยังมี
เสียงคัดคานวา “เวสาล”ี นาจะเปน การปกครอง แบบ “คณาธปิ ไตย” มากกวา
1.4 สาธารณรฐั โรมนั
สวนสาธารณรฐั โรมนั น้นั กม็ กี ารสนบั สนนุ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เชน มีการออก
กฎหมาย แตก็ไมเปนประชาธิปไตยอยางสมบูรณ เนื่องจากชาวโรมัน มีการเลือกผูแทนเขาสูสภาก็จริง
แตไมรวมถงึ สตรี ทาสและคนตา งดา วทมี่ มี ากจาํ นวนมหาศาล
2. ยคุ กลาง
ในชวงยคุ กลาง ไดมีรูปแบบหลายอยางที่เกี่ยวของกับการเลือกต้ังหรือสมัชชา ถึงแมวาบอยครั้ง
จะเปดโอกาสใหกับประชาชนเพียงสวนนอยเทานั้น อยางเชน เครือจักรภพโปแลนด – ลิทัวเนีย ในนครรัฐ
เวนิช ชวงอิตาลียุคกลาง รัฐในไทรอลเยอรมัน และสวิตเซอรแลนด รวมไปถึงนครพอคาอิสระซะไก ในชวง
คริสตศตวรรษท่ี 16 ในญป่ี นุ เนื่องจากการปกครองรปู แบบตาง ๆ ทีก่ ลาวมานนั้ ประชาชนมีสวนรวมเพยี งสวน
นอยเทา นนั้ จึงมักจะถกู จดั วา เปนคณาธปิ ไตยมากกวา และดนิ แดนยุโรปในสมัยน้นั ยังคงปกครองภายใตน ักบวช
และขนุ นางในยคุ ศักดินาเปนสว นมาก
อยางไรก็ตามในชวง “ยุคกลาง” รูปแบบการปกครองของหลายประเทศก็มีลักษณะใกลเคียงกับ
“ระบอบประชาธปิ ไตย” แตก็ยงั เปนประชาธปิ ไตยท่ไี มสมบรู ณ เชน
2.1 ระบบกลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คในยูเครน (คริสตศักราช 16 – 17) มีการเปดโอกาสให
ผูแทนจากตําบลตาง ๆ เลือกตําแหนงสูงสุด ซ่ึงเรียกวา “เฮ็ดมัน” (Hetman) แตเนื่องจากสาธารณรัฐ
คอสแซค็ เปนรัฐทางการทหารอยางเต็มตัว จึงทําใหการเลือก “เฮ็ดมัน” จํากัดอยูเฉพาะผูรับราชการทหาร
คอสแท็คเทา นนั้
2.2 ประเทศอังกฤษ (ค.ศ. 1265) แมจ ะมกี ารจัดต้งั รัฐสภาพที่มาจากการเลอื กตัง้ กจ็ ริง แตขนึ้ อยู
กบั ความพงึ พอใจของกษตั ริย มากกวา เสียงของประชาชน ดังนัน้ ภายหลงั จากมีการปฏวิ ัติ ในป ค.ศ. 1688
และมีการบงั คบั ใชพ ระราชบัญญตั สิ ทิ ธิในป ค.ศ. 1689 ทาํ ใหป ระชาชนมสี ทิ ธใิ นการเลอื กสมาชิกรฐั สภา
เพ่ิมมากขนึ้ ทีละนอ ย จนกระทง่ั กษตั ริยเ ปน ประมุขแตเพยี งในนามเทานั้น
2.3 สหพันธไอโรโควอสิ (Inqeeois Confederacy) รปู แบบประชาธิปไตยของสหพันธ ไอโรโควอิส
ปรากฏในแบบการปกครอง “ระบบชนเผา” ซ่ึงผูท่ีจะสามารถเปนผูนําไดตองมาจาก สมาชิกเพศชายของ
“ชนเผา” เทา น้นั

251

3. คริสตศ ตวรรษท่ี 18 – 19
ในชวงครสิ ตศ ตวรรษที่ 1 8 -19 ก็ไดเ หน็ พฒั นาการของระบอบประชาธิปไตยชัดเจนขึ้น สมบูรณ

ข้นึ กวา ยุคกลางในหลายประเทศ ถึงแมวาจะเปนประชาธิปไตยทเี่ คารพเสยี งสว นนอ ยก็ตาม เชน
3.1 ประเทศสหรัฐอเมริกา (ค.ศ. 1788) แมวาจะไมมีคําจํากัดความของคําวาประชาธิปไตย

แตวาเหลา ผูกอตัง้ สหรฐั อเมริกาไดกาํ หนดรากฐานของแนวปฏิบัติของอเมริกันเก่ียวกับเสรีภาพและความเทา
เทียมใหกับบุรุษเจาของที่ดินผิวขาว รัฐธรรมนูญแหงสหรัฐอเมริกา ซ่ึงมีผลบังคับใชต้ังแตป ค.ศ. 1788
เปน ตนมา ไดก าํ หนดใหม รี ัฐบาลทีม่ าจากการเลอื กต้งั รวมไปถึงการปกปองสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชน

3.2 ประเทศฝรั่งเศส (ค.ศ. 1789) ในป ค.ศ. 1789 ภายหลังจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ไดมีการ
ประกาศใชคําประกาศวาดวยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง และมีการเลือกตั้งสมัชชาแหงชาติฝรั่งเศส
โดยบุรษุ ทุกคน แตก ็มีอายุไมยนื ยาวนกั

3.3 ประเทศนิวซีแลนด (ค.ศ. 1867) แนวซีแลนดไดใหสิทธิการเลือกต้ังกับชาวเมารีพื้นเมือง
ในป ค.ศ. 1867 ชายผิวขาวในป พ.ศ. 1876 และผูหญิงในป ค.ศ. 1893 ซ่ึงนับเปนประเทศแรกท่ีใหสิทธิ
การเลอื กต้ังกับพลเมืองทั้งหมด แตสตรยี ังไมไดร ับอนญุ าตใหสมัครรบั เลอื กต้งั ไดจ นกระทัง่ ป ค.ศ. 1910

สรปุ

ในชว งปลายครสิ ตศตวรรษท่ี 19 ประชาธิปไตยที่เคารพเสียงขางนอยยังคงมีอายุส้ันและหลายประเทศ

มกั จะกลาวอา งวา ตนไดใหสิทธกิ ารเลอื กตั้งกับพลเมอื งท้ังหมดแลว

4. ชวงครสิ ตศตวรรษที่ 20
4.1 ในชว งครสิ ตศตวรรษท่ี 20 ไดมกี ารเปลีย่ นแปลงรปู แบบการปกครองเปน ระบอบประชาธิปไตย

ท่ีเคารพสิทธิของเสียงขางนอยจํานวนมาก จนทําใหเกิด “กระแสประชาธิปไตย” ซึ่งประสบความสําเร็จ
ในหลายพนื้ ทขี่ องโลก ซีง่ มักเปนผลมาจากสงคราม การปฏิวัติ การปลดปลอยอาณานิคมและสภาพแวดลอม
ทางเศรษฐกจิ และศาสนา

ภายหลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งท่ีหน่ึง และการลมสลายของจักรวรรดิออสเตรีย–
ฮงั การี และจกั วรรดอิ อตโตมัน ทาํ ใหเกดิ รัฐชาติจาํ นวนมากในทวปี ยุโรป ซง่ึ สวนใหญมีการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย ในชว งครสิ ตทศวรรษ 1920 ระบอบประชาธิปไตยไดเจริญขึ้น แตผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา
คร้ังใหญ ไดทําใหความเจริญดังกลาวหยุดชะงักลง และประเทศในแถบยุโรป ละตินอเมริกา และเอเชีย
ไดเ ปลีย่ นแปลงรปู แบบไปสกู ารปกครองในระบอบเผดจ็ การมากขน้ึ ทาํ ใหเ กดิ เปน สิทธิฟาสซสิ ต ในนาซเี ยอรมนี
อิตาลี สเปนและโปรตุเกส รวมไปถึงรัฐเผด็จการในแถบคาบสมุทรบอลติก คาบสมุทรบอลขาน บราซิล คิวบา
สาธารณรฐั จีนและญีป่ นุ เปน ตน

ภายหลังจากการสน้ิ สุดของสงครามโลกครั้งทส่ี อง ทาํ ใหเกิดผลกระทบในดานตรงกันขามในทวีป
ยโุ รปตะวนั ตก ความสําเรจ็ ในการสรา งระบอบประชาธปิ ไตยในออสเตรีย อติ าลี และญี่ปุนสมัยยึดครอง ซ่ึงได
เปนตน แบบของทฤษฎีการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง อยางไรก็ตาม กลุมประเทศในยุโรปตะวันออก
รวมไปถงึ เขตยดึ ครองของโซเวียตในเยอรมันนี ซ่ึงถูกบังคับใหมีการเปลี่ยนแปลงไปสูการปกครองในระบอบ

252

คอมมิวนสิ ตตามคายตะวันออก หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกคร้ังที่สองยังสงผลใหเกิดการปลดปลอย
อาณานคิ ม และประเทศเอกราชใหมสว นใหญจะสนบั สนนุ ใหมีการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยและอินเดยี
ไดกลายมาเปนประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีจํานวนประชากรมากท่ีสุดในโลกและดําเนิน
ตอ ไปอยา งไมหยดุ ยัง้ ในชว งหนึ่งทศวรรษภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ชาติตะวันตกที่ปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยสว นใหญไดม ีระบบเศรษฐกิจแบบผสม และดาํ เนินการตามรูปแบบรัฐสวัสดิการ สะทอนใหเห็น
ถึงความสอดคลองกันระหวางราษฎรกับพรรคการเมืองในชวงคริสตทศวรรษ 1950 และ 1960 เศรษฐกิจ
ทงั้ ในกลุมประเทศตะวันตกและกลุมประเทศคอมมิวนิสต ในภายหลังเศรษฐกิจท่ีอยูภายใตการควบคุมของ
รัฐบาลไดลดลง เมื่อถึงป ค.ศ.1960 รัฐชาติสวนใหญไดมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ถึงแมวา
ประชากรสว นใหญของโลกจะยังคงมกี ารจัดการเลือกตั้งแบบตบตา และการปกครองในรูปแบบอ่ืน ๆ อยู

กระแสของการเปลี่ยนแปลงไปสูระบอบประชาธิปไตย นําไปสูความเจริญกาวหนาของรูปแบบ
ประชาธิปไตยทเ่ี คารพสิทธขิ องเสียงขา งนอยในหลายรัฐชาติ เรม่ิ จากสเปน โปรตุเกส ในป ค.ศ. 1974 รวมไป
ถึงอกี หลายประเทศในทวีปอเมริกาใต เม่ือถึงปลายคริสตทศวรรษ 1970 และตนคริสตทศวรรษ 1980 ซึ่งได
เปลี่ยนแปลงมาจากระบอบเผด็จการทหาร มาเปนรัฐบาลพลเรือน ตามดวยประเทศในเอเชียตะวันออกและ
เอเชยี ใต ระหวา งชว งตนถงึ กลางคริสตทศวรรษ 1980 และเนอ่ื งจากความเสือ่ มถอยทางเศรษฐกิจของสหภาพ
โซเวียต รวมไปถึงความขัดแยงภายในทําใหสหภาพโซเวียตลมสลายและนําไปสูจุดส้ินสุดของสงครามเย็น
ตามมาดวยการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองภายในกลมุ ประเทศยุโรปตะวันออก ในคายตะวนั ออกเดมิ

นอกเหนือจากน้ัน กระแสของระบอบประชาธิปไตย ไดแพรขยายไปถึงบางสวนของทวีปแอฟริกา
ในชวงคริสตทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะอยางยิ่งในแอฟริกาใต ความพยายามบางประการในการเปล่ียนแปลง
ระบอบการปกครองยงั พบเหน็ อยูในอินโดนีเซีย ยูโกสลาเวีย ยูเครน เลบานอนและคีรกีซสถาน

4.2 ระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
ประเทศไทยไดเขาสูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอยางเปนทางการในป พ.ศ. 2475
สมัยรัชกาลท่ี 7 โดยมีเหตกุ ารณส าํ คัญที่แสดงถงึ ความพยายามทจ่ี ะพัฒนาประชาธปิ ไตยอยา งแทจรงิ ดงั นี้

1) เหตุการณสมยั ประชาธปิ ไตย พ.ศ. 2475 – 2535 (สมัยรัชกาลที่ 7 – กอน 14 ตุลาคม
2516) รปู แบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 6 -7 ยังคงยึดรูปแบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปรับปรุง
แกไ ขบา งเพียงเลก็ นอ ย ทง้ั 2 พระองคไดต ระหนักถงึ การเปลี่ยนแปลงการปกครองทค่ี งจะมขี ้นึ ในภายขา งหนา
สมยั รชั กาลท่ี 6 ไดมกี ารจัดต้งั “ดุสิตธาน”ี ใหเ ปนนครจําลองในการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเมื่อวันท่ี
24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 หลังจากท่ีรัชกาลท่ี 7 ทรงครองราชยได 7 ป คณะผูกอการซึ่งเรียกตัวเองวา
“คณะราษฎร” ประกอบดวยทหารบก ทหารเรือและพลเรือน จํานวน 99 คน ไดทําการยึดอํานาจและ
เปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยหรือ “ราชาธิปไตย” มาเปนระบบการปกครอง
แบบ “ประชาธิปไตย” และไดอัญเชิญรัชกาลท่ี 7 ข้ึน เปนกษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ นับไดวารัชกาลที่ 7
ทรงเปนกษตั รยิ อ งคแ รกในระบอบประชาธปิ ไตย

253

2) มูลเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
1. ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก หลังสงครามโลก รัฐบาลตองการลดรายจาย โดยปลด
ขา ราชการบางสว นออก ผูถูกปลดไมพอใจ
2. ผูท่ีไปเรียนจากตางประเทศเม่ือกลับมาแลวตองการเปล่ียนแปลงประเทศใหทันสมัย
เหมอื นประเทศที่เจริญแลว
3. ความเหลอ่ื มลา้ํ ตํา่ สูงระหวา งขาราชการและประชาชน จงึ ตองการสิทธเิ สมอภาคกัน
4. ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยไมสามารถแกป ญ หาพ้นื ฐานชีวติ ของราษฎรได
3) ลักษณะการปกครองหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
1. พระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ ภายใตร ฐั ธรรมนญู
2. รัฐธรรมนูญเปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศ
3. อํานาจอธปิ ไตยเปน ของปวงชนชาวไทยและเปน อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
4. ประชาชนใชอ ํานาจอธิปไตยผานทางรฐั สภา รัฐบาลและศาล
5. ประชาชนมสี ทิ ธเิ สรีภาพเทา เทียมกนั
6. ประชาชนเลือกตัวแทนในการบรหิ ารประเทศ ซงึ่ เรียกวา รฐั บาล หรอื คณะรฐั มนตรี
7. ในการบรหิ ารราชการแผนดนิ แบงเปน 3 สวนคือ

1) การปกครองสวนกลาง แบง เปน กระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ
2) การปกครองสว นภูมภิ าค แบงเปน จงั หวดั และอาํ เภอ
3) การปกครองสว นทอ งถนิ่ แบง เปน องคก ารบรหิ ารสวนจงั หวัด เทศบาล สขุ าภิบาล และ
องคก ารบริหารสวนตําบล
การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยเปนไปอยางสงบไมรุนแรงเหมือนบางประเทศอยางไรก็ตาม
ลกั ษณะการเมืองการปกครองมไิ ดเปนประชาธิปไตยโดยสมบูรณ อํานาจบางสวนตกอยูกับผูนําทางการเมือง
หรือผูบริหารประเทศ มีการขัดแยงกันในดานนโยบายมีการแยงชิงผลประโยชน เปนเหตุใหเกิดการปฏิวัติ
รัฐประหารขึ้นหลายคร้ังระบบการปกครองของไทย จึงมีลักษณะกลับไปกลับมาระหวางประชาธิปไตยกับ
คณาธิปไตย (การปกครองโดยคณะปฏิวตั )ิ

4. ประชาธิปไตย หลัง 14 ตลุ าคม 2516
จอมพลถนอม กติ ติขจร ไดข้ึนเปนนายกรัฐมนตรี เมื่อป 2511 หลังมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ

แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2511 ซงึ่ ใชเวลารา งถงึ 10 ป แตหลังจากบริหารประเทศมาเพียง 3 ปเ ศษ
จอมพลถนอม กิตติขจร และคณะไดทําการปฏิวัติตนเองและลมเลิก รัฐธรรมนูญฉบับน้ี เม่ือวันที่ 17
พฤศจกิ ายน 2514 และไดเ ขาควบคมุ การบรหิ ารประเทศ ในฐานะหัวหนาคณะปฏวิ ัติ การบรหิ ารประเทศ
โดยคณะปฏิวตั ิ ซง่ึ นาํ โดย จอมพลถนอม กิตตขิ จร จอมพลประภาส จารเุ สถียร และ พ.อ.ณรงค กติ ตขิ จร หรอื
กลุมถนอม ประภาส – ณรงค ถูกมองวาเปนการทําการปฏิวัติเพื่อผลประโยชนของตนเองและกลุม มีการ
คอรรัปชั่นเกิดข้ึนมากมายในที่สุด นิสิต นักศึกษาและประชาชนไดรวมกันเรียกรองรัฐธรรมนูญและขับไล

254

รัฐบาลจนนําไปสูเหตุการณนองเลือดในวันท่ี 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งเรียกเปน “วันมหาวิปโยค”และในที่สุด
จอมพลถนอม กติ ติขจร และคณะตองลาออกจากตําแหนงและเดินทางออกนอกประเทศภายหลังเหตุการณ
14 ตุลาคม 2516

นายสัญญา ธรรมศักด์ิ ไดขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีระยะหน่ึงในระยะนี้ถือวาเปนการตื่นตัวในทาง
ประชาธปิ ไตยอยา งมาก มีการเรยี กรองสทิ ธิเสรภี าพมากขน้ึ มีการจัดหยดุ งาน (Strife) มกี ารแสดงออกในทาง
เสรภี าพดานการพูด การเขยี น จาํ นวนหนังสือพิมพไดมีออกจําหนายมากข้ึน มีกลุมพลังทางการเมืองเกิดข้ึน
มากมาย มีการเดินขบวน เพื่อเรียกรองสิทธิและผลประโยชนหลายคร้ังเหตุการณเหลานี้ไดสรางความเบื่อ
หนายใหก บั ประชาชนเร่อื ยมา อกี ท้ังคณุ ภาพของผแู ทนราษฎรไมดีไปกวาเดิม นิสิตนักศึกษาไดเขาไปยุงเกี่ยว
ในเหตกุ ารณว ุนวายตา ง ๆ

จนในทสี่ ดุ เกดิ วิกฤตกิ ารณนองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ทหารในนาม “คณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน”
ไดเ ขา ยึดอํานาจจากรัฐบาล ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช และคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินไดแตงต้ังนายธานินทร
กรัยวิเชียร เปน นายกรัฐมนตรี นายธานนิ ทร กรยั วิเชยี ร บรหิ ารประเทศมาไดเ พียง 1 ป

คณะปฏิรูปฯ ไดยึดอํานาจอีกคร้ังหนึ่ง และคร้ังหลังน้ีไดแตงต้ังพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท
เปนนายกรฐั มนตรี พลเอก เกรยี งศักด์ิ ชมะนันท เปน นายกรัฐมนตรถี ึงวนั ท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ 2523 จึงไดล าออก
จากตาํ แหนง พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท ไดขน้ึ เปน นายกรฐั มนตรีตอจาก พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท ดํารง
ตําแหนงมาจนถึงวันท่ี 4 สิงหาคม 2531 รวมระยะเวลา 8 ปเศษ ไดมีการปรับปรุงคณะรัฐบาลหลายคร้ัง
ในระหวางดาํ รงตาํ แหนง มผี ูพ ยายามทาํ การรัฐประหารถงึ 2 ครงั้ แตไมสําเร็จสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท
ไดชอ่ื วา เปนหัวเลย้ี วหวั ตอท่สี าํ คญั ทางดา นการเมอื งการปกครองมกี ารพัฒนาโครงสรางทางการเมอื งใหเ ขม แขง็
รวมถงึ การพฒั นาโครงสรางทางดา นเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศใหกาวหนา ดว ย

พลเอกชาติชาย ชุณหะวัน ไดข้ึนเปนนายกรัฐมนตรี ตอจากพอเอกเปรม ติณสูลานนท เมื่อวันท่ี 4
สิงหาคม 2531 และถือไดวาเปนคณะรัฐมนตรีท่ีมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเปนความชอบธรรมในกระบวนการ
บริหารตามระบอบประชาธปิ ไตย

รัฐบาลพลเอกชาตชิ าย ชุณหะวัณ ไดถูกคณะทหารซึ่งเรียกตนเองวา คณะรักษาความสงบเรียบรอย
แหงชาติทําการยึดอํานาจ เม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ 2534 และไดแตงตั้งใหนายอานันท ปนยารชุน
เปนนายกรฐั มนตรี

คณะรฐั บาลของนายอนนั ท ปน ยารชุน ทาํ การบริหารประเทศมาไดปเศษจึงพนจากตําแหนงไปเม่ือมี
รัฐบาลชุดใหมน าํ โดย พลเอกสุจนิ ดา คราประยูร เปนนายกรฐั มนตรี

รัฐบาลโดยพลเอก สุจินดา คราประยูร ไมไดผานการเลือกตั้งจึงถูกตอตานจากพรรคการเมืองบาง
พรรค นิสิตนักศึกษาและประชาชนบางกลุม จนนําไปสูเหตุการณ “พฤษภาทมิฬ” เมื่อวันที่ 15 – 17
พฤษภาคม 2535 ในท่ีสดุ พลเอกสุจินดา คราประยรู ไดล าออกจากตําแหนง

นายอานันท ปน ยารชุน ไดกลบั มาเปน นายกรัฐมนตรีอีกครง้ั หนึ่ง โดยมีเปาหมายสําคัญที่การยุบสภา
เพอื่ เลอื กตงั้ ใหมและเม่ืออยูในตําแหนงไดประมาณ 3 เดือนเศษ จึงไดทําการยุบสภา เมื่อมีการเลือกต้ังใหม
นายชวน หลกี ภัย ไดเปน นายกรัฐมนตรี ต้ังแตว ันท่ี 23 กันยายน 2535 เปน ตนมา

255

5. ประชาธปิ ไตยกับการมสี วนรว มในประเทศไทย
การเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรว มในทางการเมอื งเปน พัฒนาการมีสวนรว มในทางการเมอื งไทย
แบบพหุนยิ ม (Pluralism) หรือเปนแนวความคิดที่เคารพความแตกตาง (Difference) และความหลากหลาย
(Diversity) ในมิติตาง ๆ ของผูคนในสังคมตั้งแตการเมือง ชีวิตทางสังคม และวัฒนธรรม (ธีรยุทธ บุญมี ,
2543) อันเปนการสง เสรมิ ใหป ระชาชนไดม ีสว นรว มในการผลักดนั หรือการพัฒนาทางการเมอื ง เศรษฐกิจและ
สงั คม กอใหชุมชนเขม แข็ง หรอื ท่ีเรียกวา “ประชาสังคม” ในปจจบุ นั ทง้ั น้ี ไดมีการนาํ เสนอแนวความคดิ เร่ือง
พหุนิยมกนั มาต้ังแตย คุ แหง การตอสเู พอ่ื ประชาธปิ ไตย 14 ตุลาคม 2516 แตชวงน้นั อดุ มการณประชาธิปไตยได
เลอื นหายไป โดยมแี นวความคิดเกย่ี วกบั สังคมนยิ มมาแทนท่ี
จนกระทัง้ ทศวรรษที่ผานมา (นบั จากเหตกุ ารณพ ฤษภา 2535) เปน ชว งหัวเลี้ยวหวั ตอของการปฏิรูป
การเมืองไทย ประชาชนนักการเมือง นักวิชาการ ส่ือมวลชน องคกรเอกชนและสภารางรัฐธรรมนูญไดให
ความสําคัญกับ “การมสี วนรวมในทางการเมือง” (Political Participation) มากเปนพิเศษ จนดูเหมือนวา
จะเปน คําท่ีมีความหมายยิ่งใหญ รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 นบั ต้งั แตก รอบเบื้องตน
ของรา งรัฐธรรมนูญ เจตจาํ นงของสภารางรัฐธรรมนญู สาระสําคญั ของรฐั ธรรมนญู จงึ ลว นแตมผี ลใหประชาชน
ไดมีสวนรว มในทางการเมอื งทุกระดับในกระบวนทางการเมืองมากย่ิงข้ึน และยังไดขยายการรับรองสิทธิขั้น
พื้นฐาน (Basic Rights or Fundamental Rights) สิทธิในการแสดงความคิดเห็น โดยการพูด การเขียน
การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมาย โดยวิธีอ่ืน เปนตน และสิทธิของพลเมือง (Citizen’s Rights)
เชน สิทธิออกเสยี งเลือกตงั้ และสมัครรบั เลือกต้ัง เสรีภาพในการรวมกันเปนพรรคการเมือง เปนตน เพื่อเอื้อ
ประโยชนต อการมีสวนรว มในทางการเมอื งของประชาชน

ตามเจตนารมณของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 น้ัน นับเปนคุณูปการ
อันยิ่งใหญของการปฏิรูปการเมือง มีผลใหประชาชนมีชองทางเขามีสวนรวมในทางการเมือง ในทุกมิติแหง
กระบวนการทางการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท้งั ในแนวราบ (รปู แบบหรอื วิธีการ) และแนวตง้ั
(ขอบเขตหรือจํานวนของประชาชนผูมีสิทธิสวนรวมในทางการเมือง) โดยบัญญัติไวชัดเจนในหมวด 5
แนวนโยบายพ้ืนฐานแหง รฐั มาตรา 76 ดังน้ี

“มาตรา 76 รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบาย
การตัดสินใจทางการเมอื ง การวางแผนพฒั นาทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม รวมท้งั การตรวจสอบการใช
อาํ นาจรฐั ทุกระดบั ”

นอกจากนั้น บทบัญญัติแหงรัฐธรรมฉบับใหมอีกหลายมาตราก็ไดเปดโอกาสใหประชาชนมี
สวนรวมในทางการเมืองอยางเปนรูปแบบเดนชัดอยางที่ไมเคยปรากฏมากอนในรัฐธรรมนูญทั้ง 15 ฉบับที่
ประเทศไทยเคยใชม า สิทธิมีสวนรวมในทางการเมอื งของประชาชนตามรัฐธรรมนูญฉบบั ใหมจึงไดเปด กวา งขึ้น
ท้ังดานรูปแบบหรอื วธิ กี ารของการมสี วนรวมในทางการเมอื งของประชาชน และขอบเขตกลุมหรือจํานวนของ
ประชาชนผูมีสทิ ธิสว นรว มในทางการเมอื ง กอ ใหเกดิ “ระบอบประชาธิปไตยแบบมีสวนรว ม” (Participatory
Democracy) และสราง “ระบบพหุการเมอื ง” (Plural Politics) ท่นี าํ ไปสู “การเมอื งภาคประชาชน”

256

สรุป

จนถึงปจจุบันนี้ ท่ัวโลกไดมีประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตย จํานวน 123 ประเทศ
(ค.ศ. 2007) และกําลังมีจํานวนเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ซึ่งไดมีการคาดเดากันวา กระแสดังกลาวจะเกิดข้ึนตอไป
ในอนาคตที่ซึ่งประชาธิปไตยท่ีเคารพสิทธิของเสียงขางนอยจะกลายเปนมาตรฐานสากลสําหรับสังคม
มนษุ ยชาติสมมตุ ิฐานดังกลาวเปน หัวใจหลักของทฤษฎี “จุดส้ินสุดของประวัติศาสตร” โดยฟรานซิส ฟุกุยะ
มะ ซึ่งทฤษฎดี งั กลา วเปนการวพิ ากษวิจารณบ รรดาผทู ่เี กรงกลวั วา จะมวี วิ ัฒนาการของประชาธิปไตยที่เคารพ
สิทธขิ องเสียงขา งนอ ยไปยังยุคหลงั ประชาธปิ ไตยและผูทช่ี ้ใี หเหน็ ถงึ ประชาธปิ ไตยไมเ สรี

เรื่องท่ี 4 เหตุการณส าํ คญั ทางการเมืองการปกครองของประเทศไทย

ประเทศไทยแมจะมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและมี
นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนา สูงสุดของรัฐบาลมาต้ังแตปพ ุทธศกั ราช 2475 แลว ก็ตาม ยังพบวามีเหตุการณสาํ คัญ
ทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทยตอ มา โดยมที ง้ั การกบฎปฏิวตั แิ ละรัฐประหาร ซ่ึงลวนแตเปนการใช
กําลังอํานาจท่ีไมถูกตองตามรัฐธรรมนูญเขายึดอํานาจทั้งส้ิน นอกจากนี้ยังพบวาการใชกําลังอํานาจมี
ความหมายแตกตา งกนั ออกไป กลาวคือ บางครง้ั เปน “การปฏิวัติ” เพ่อื ไลน กั การเมอื งท่คี ดโกงออกไปเทาน้ัน
หรือบางครัง้ หากกลมุ ทีต่ อ งการยึดอาํ นาจทางการเมืองแตทาํ ไมสําเร็จก็จะถูกเรียกวา “กบฏ” แตถาสามารถ
ยึดอาํ นาจทางการเมืองสําเรจ็ มีการเปลย่ี นแปลง แตย ังคงใชร ัฐธรรมนูญฉบับเกาหรือใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม
เพอื่ ใหม กี ารเลือกตั้งในระยะเวลาท่ไี มนานนกั กจ็ ะเรยี กการกระทาํ คร้งั นวี้ า “รฐั ประหาร” ซ่ึงบางคร้ังกม็ ีการให
ความหมายผิดจากการกระทําครั้งน้ีวาเปน “การปฏิวัติ” ก็คือ การใชอํานาจ การยึดอํานาจทางการเมือง
แลวทาํ การเปลี่ยนแปลงผนู ําการปกครอง ซึง่ แทจ รงิ แลวการเปลย่ี นแปลงรัฐบาลบอยครั้งท่ีเกิดข้ึนในประเทศ
ไทยมาจาก “การแยง ชงิ อาํ นาจ” ของกลุมทมี่ อี าํ นาจอยางไรก็ตามเหตุการณส าํ คญั ทางการเมอื งการปกครอง
ของประเทศไทยภายหลังปพ ทุ ธศกั ราช 2475 มดี งั นี้

1. กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476
ผนู ําการเปลย่ี นแปลง คอื พลเอกพระวรวงศเ ธอ พระองคเจาบวรเดชและพระยาศรีสิทธิสงคราม

(ถิ่น ทา ราม)
สาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลง คือ เพือ่ ลม ลา งการปกครองระบอบประชาธิปไตยและนาํ ประเทศกลบั

สกู ารปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย
ผลการของการเปลีย่ นแปลง คือ การปฏิวัติคร้ังนี้ลมเหลว ฝายกบฏถูกฝายรัฐบาลปราบปรามได

สาํ เรจ็
2. การรัฐประหาร พ.ศ. 2490
ผนู ําการเปลยี่ นแปลง คือ พนั เอกหลวงกาจสงครามและพลโทผนิ ชณุ หะวนั
สาเหตุของการเปลยี่ นแปลง กรณีสวรรคตของรชั กาลท่ี 8 และปญ หาการฉอราษฎรบังหลวง

257

ผลของการเปลย่ี นแปลง ทําใหจ อมพล ป.พบิ ูลสงครามกลับมามบี ทบาททางการเมืองอกี คร้ัง และ
กลุมซอยราชครูมีบทบาทสาํ คัญทางการเมืองมากข้นึ ความสัมพนั ธร ะหวา งไทยกับสหรัฐอเมริกาแนนแฟน มาก

3. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2501
ผนู ําการเปลีย่ นแปลง คือ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต
สาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลง อางสาเหตุจากภัยคุกคามของลัทธคิ อมมิวนสิ ต
ผลของการเปล่ียนแปลง ทําใหป ระเทศไทยเขาสูร ะบอบเผด็จการอาํ นาจนยิ ม

4. วันมหาวิปโยค 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
ผูนําการเปลย่ี นแปลง คือ ประชาชน นสิ ิต นกั ศึกษา
สาเหตุของการเปล่ียนแปลง เพื่อตอตานเผด็จการทหารท่ีครอบงําและลิดรอนสิทธ์ิเสรีภาพทาง

การเมอื งของประชาชน
ผลของการเปลย่ี นแปลง ประเทศไทยเขาสูระบอบประชาธปิ ไตยอยางสมบรู ณ ประชาชนมเี สรีภาพ

ในการแสดงออกทางการเมอื งอยางกวางขวาง และมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 (ที่ถือวามีความ
เปนประชาธปิ ไตยมากทสี่ ุดฉบบั หน่งึ )

5. เหตุการณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ผนู าํ การเปลย่ี นแปลง คอื พลเรอื เอกสงัด ชะลออยู
สาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลง อา งวานสิ ิตนักศึกษาทเ่ี ปน ผนู าํ การเปลย่ี นแปลงทางการเมืองในวันที่

14 ต.ค. 2516 ไดรบั การสนับสนุนจากคอมมิวนิสต
ผลของการเปล่ยี นแปลง ระบอบประชาธิปไตยถูกลมลา งและกลับไปสูการปกครองแบบเผด็จการ

อาํ นาจนิยมอกี ครั้ง สภาพการเมืองขาดเสถยี รภาพและเกิดความแตกแยกอยางรนุ แรง
6. การรัฐประหาร พ.ศ. 2520
ผนู ําการเปลย่ี นแปลง คอื พลเรือเอกสงัด ชะลออยู
สาเหตกุ ารเปล่ียนแปลง การคัดคานนโยบายแบบขวาจัดของนายธานินทร กรยั วเิ ชยี ร

(เผดจ็ การโดยพลเรอื น)
ผลของการเปลย่ี นแปลง มีการประกาศใชร ฐั ธรรมนูญฉบบั พ.ศ. 2521 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท

และพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรฐั มนตรคี นตอ มา
7. การรัฐประหาร พ.ศ. 2534 (รสช.)
ผนู ําการเปลยี่ นแปลง คือ พลเอกสุนทร คงสมพงษ, พลเอกสจุ ินดา คราประยรู , พลอากาศเอก

เกษตร โรจนนลิ
สาเหตขุ องการเปลี่ยนแปลง การฉอราษฎรบ ังหลวงของคณะรฐั บาลทมี่ พี ลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ

เปน นายกรัฐมนตรี
ผลของการเปลีย่ นแปลง นายอานนั ท ปน ยารชนุ ไดร ับการแตงตง้ั ใหเ ปน นายกรฐั มนตรี

8. เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ (17 – 19 พ.ค. 2535)
ผนู าํ การเปล่ยี นแปลง คือ ประชาชนทั่วไป นกั เรียน นักศึกษา

258

สาเหตขุ องการเปลีย่ นแปลง นกั ศึกษา ประชาชนและนกั การเมืองบางกลุมรวมกันตอตานการเขา
ดํารงตาํ แหนงผูนาํ ของพลเอกสุจนิ ดา คราประยูร

ผลของการเปลยี่ นแปลง เกดิ เหตุการณนองเลอื ดอีกครง้ั และนายอานันท ปนยารชุน กลับเขามา
ดาํ รงตาํ แหนงนายกฯ อีกวาระหนง่ึ

กบฏ 12 ครง้ั – ปฏวิ ตั ิ 1 คร้ัง – รฐั ประหาร 8 ครั้ง

การเปลีย่ นแปลงทางการเมอื งไมว า จะเปน การเปลี่ยนรฐั บาลหรอื คณะผูป กครองหรือการเปล่ยี นกติกา
การปกครองหรือรัฐธรรมนูญยอมเปนส่ิงท่ีเกิดขึ้นไดในทุกประเทศปกติรัฐธรรมนูญของแตละประเทศยอม
กําหนดวิธีการเปลีย่ นแปลงไว เชน ใหมกี ารเลือกตั้งทั่วไปทุก 4 ป หรือ 5 ป หรือเลือกประธานาธิบดีทุก 4 ป
หรอื 6 ป เพือ่ ใหโ อกาสประชาชนตัดสินใจวาจะใหบุคคลใดหรือกลุมพรรคการเมืองใดไดเปนผูปกครอง และ
กําหนดวิธกี ารเปลยี่ นแปลงหลักการหรอื สาระของรฐั ธรรมนูญหรอื แมกระทั่งสรา งรฐั ธรรมนญู ใหมแทนฉบบั เดิม

การเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการดังกลาวขางตนถือวาเปนการเปล่ียนแปลงโดยสันติวิธีและเปน
วถิ ที างท่ถี ูกตองตามกฎหมาย อยา งไรกต็ าม การเปลย่ี นแปลงอกี วิธีหน่ึงท่ีถอื วา เปน วธิ กี ารรุนแรงและไมถ ูกตอ ง
ตามกฎหมาย น่ันก็คือ การใชกําลังเขาขมขู เชน ใชกองกําลังติดอาวุธเขายึดอํานาจจากรัฐบาลเดิมไล
คณะรัฐมนตรอี อกไปและต้งั คณะรฐั มนตรใี หม โดยกลมุ ของคนท่ียึดอาํ นาจเขามาแทนทหี่ รอื ยกเลกิ รฐั ธรรมนญู
ฉบับเดิมแลวรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม วางกฎและกติกาตามที่กลุมผูมีอํานาจปรารถนา โดยปกติคณะหรือ
กลมุ บุคคลท่จี ะเขามาเปลี่ยนแปลงดวยวธิ ีนี้ จะตองมีกองกําลังติดอาวุธเขาปฏิบัติการ มิฉะนั้นแลวก็ยากที่จะ
สาํ เรจ็ และถึงมีกาํ ลงั กไ็ มอ าจไมสําเร็จเสมอไปเพราะมีองคประกอบการสนับสนุนหรือตอตานจากประชาชน
เขามาเปนปจจยั ประกอบดวย

ปญหาทเ่ี กิดข้นึ กับประเทศท่ีไมมีเสถียรภาพทางการเมืองก็คือวา การเปล่ียนรัฐบาลหรือผูปกครอง
ประเทศมักไมเ ปนไปตามกตกิ า หรือระเบยี บแบบแผนโดยสันติวธิ ี ตรงกันขามมกั เกิดการแยงชงิ อาํ นาจดวยการ
ใชกําลงั อยูเนอื ง ๆ ไมวาจะเปนไปในรูปของการจลาจลกบฏ ปฏิวัติหรือรัฐประหารความหมายของคําเหลานี้
เหมือนกันในแงท ่ีวาเปนการใชก าํ ลังอาวธุ ยึดอาํ นาจทางการเมอื ง แตม คี วามหมายตางกันในดานผลของการใช
กําลังความรุนแรงน้ัน หากทําการไมสําเร็จจะถูก เรียกวา กบฏจลาจล (rebellion) ถาการยึดอํานาจนั้น
สมั ฤทธผิ ล และเปลีย่ นเพียงรัฐบาลเรยี กวา รัฐประหาร (coupd etat) แตถ ารัฐบาลใหมไดท าํ การเปล่ยี นแปลง
มลู ฐานะระบอบการปกครอง ก็นบั วา เปนการปฏวิ ตั ิ

ในการเมอื งไทยคาํ วา ปฏวิ ตั ิ กบั รัฐประหารมักใชป ะปนกัน แลว แตผ ูย ดึ อาํ นาจไดนนั้ จะเรียกตัวเองวา
อะไร เทาท่ีผานมามักนิยมใชคําวา ปฏิวัติเพราะเปนคําท่ีดูขึงขังนาเกรงขามเพื่อความสะดวกในการธํารงไว
ซึ่งอาํ นาจท่ไี ดม านั้น ทัง้ ทโี่ ดยเน้อื แทแลว นับแตมกี ารเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถนุ ายน 2475 ซ่งึ อาจ
ถือไดว าเปนการปฏวิ ตั ิที่แทจริงครั้งเดียวที่เกิดข้ึนในประเทศไทย การยึดอํานาจโดยวิธีการใชกําลังครั้งตอ ๆ
มาในทางรัฐศาสตรถือวาเปนเพียงการรัฐประหารเทาน้ัน เพราะผูยึดอํานาจไดน้ันไมไดทําการเปล่ียนแปลง
หลกั การมูลฐานของระบอบการปกครองเลย

259

ดังนน้ั เพื่อใหสอดคลองกับพฤติกรรมทางการเมอื งและมใิ หส บั สนกบั การใชชอ่ื เรยี กตัวเองของคณะท่ี
ทาํ การยึดอํานาจทั้งหลาย อาจสรปุ ความหมายแคบ ๆ โดยเฉพาะเจาะจงสําหรบั คําวา ปฏิวัติ และรัฐประหาร
ในบรรยากาศการเมอื งไทย เปน ดงั น้ี คือ

“ปฏวิ ตั ”ิ หมายถึง การยดึ อํานาจโดยวิธีการที่ไมถูกตองตามรัฐธรรมนูญ ยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใชอยู
อาจมหี รือไมมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม และรัฐบาลใหมไดทําการเปล่ียนแปลงฐานะระบอบการ
ปกครอง เชน เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย เปนระบอบประชาธิปไตยหรือ
คอมมิวนิสต ฯลฯ

สวน “รัฐประหาร” หมายถึง การยึดอํานาจโดยวิธีการที่ไมถูกตองตามรัฐธรรมนูญ แตยังคงใช
รัฐธรรมนูญฉบับเกาตอไป หรือประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม เพื่อใหมีการเลือกต้ังเกิดข้ึนในระยะเวลา
ไมนานนกั ในประเทศไทย ถือไดวา มีการปฏิวัติเกิดข้ึนครั้งแรกและครั้งเดียว คือ การเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง 2547 โดยคณะราษฎร จากระบบสมบรู ณาญาสิทธริ าชยม าเปนระบอบประชาธปิ ไตย และมีการกบฏ
เกดิ ข้ึน 12 คร้ัง และรฐั ประหาร 8 ครั้ง ดังน้ี

กบฏ 12 ครง้ั
กบฏ ร.ศ. 130
กบฏบวรเดช (11 ตุลาคม 2476)
กบฏนายสิบ (3 สงิ หาคม 2478)
กบฏพระยาทรงสรุ เดช หรือกบฏ 18 ศพ (29 มกราคม 2482)
กบฏเสนาธกิ าร (1 ตุลาคม 2491)
กบฏแบง แยกดินแดน (พ.ย. 2491)
กบฏวังหลวง (26 กมุ ภาพันธ 2492)
กบฏแมนฮัตตัน (29 มถิ นุ ายน 2494)
กบฏสันติภาพ (8 พฤศจิกายน 2497)
กบฏ 26 มนี าคม 2520
กบฏยงั เตอรก (1- 3 เมษายน 2524)
กบฏทหารนอกราชการ (9 กนั ยายน 2528)

รัฐประหาร 8 ครง้ั
พ.อ.พระยาพหลฯ ทาํ การรัฐประหาร (20 ม.ิ ย. 2476)
พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ และคณะนายทหารบก ทําการรัฐประหาร (8 พ.ย. 2490)
จอมพล ป.พิบูลสงคราม ทาํ การรัฐประหาร (29 พ.ย. 2494)
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต ทาํ การรัฐประหาร (16 กันยายน 2500)
จอมพลถนอม กติ ตขิ จร ทาํ การรัฐประหาร (20 ตลุ าคม 2501)
จอมพลถนอม กิตติขจร ทําการรัฐประหาร (17 พฤศจิกายน 2514)
พล.ร.อ. สงดั ชะลออยู ทาํ การรฐั ประหาร (20 ตุลาคม 2520)

260

พล.อ. สนุ ทร คงสมพงษ ทาํ การรฐั ประหาร (23 กมุ ภาพันธ 2534)
คณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยเปน ประมขุ ทําการ
รฐั ประหาร (19 กันยายน 2549)

กิจกรรม

ใหผเู รียนตอบคําถามตอ ไปนี้แลว บันทกึ ผลการเรยี นรูลงในแบบบนั ทกึ ผลการเรียนรู
เรื่อง เหตุการณท่สี ําคัญทางการเมืองการปกครองของไทย

1. ใหผ เู รียนสรปุ เหตุการณทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทยในชวงป 2475 จนถึงป 2550
ทผ่ี เู รียนเหน็ วาเปนเหตุการณร ัฐประหารเทา นั้น
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

2. ใหผ ูเรยี นวิเคราะหเ หตกุ ารณท างการเมอื งของไทยในปจ จบุ นั (ป 2551 – 2552) วา เปน อยา งไร
เพียงสัน้ ๆ
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

แบบบันทึกผลการเรียนรู
เรอื่ ง เหตกุ ารณสําคญั ทางการเมืองการปกครองของไทย

สรปุ เหตกุ ารณส าํ คญั ทางการเมอื งของไทยระหวางป พ.ศ. 2475 – 2549 เฉพาะเหตุการณทเี่ ปน
รฐั ประหาร

.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

261

วเิ คราะหเ หตุการณท างการเมอื งของไทยในปจ จบุ ัน (ป 2551 – 2552)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

เร่อื งท่ี 5 เหตกุ ารณส าํ คญั ทางการเมืองการปกครองของโลก
ท่ีสงผลกระทบตอ ประเทศไทย

เหตุการณสําคัญทางการเมืองการปกครองของโลก นับเปนมูลเหตุใหญที่ทําใหสังคมไทยเกิดการ
เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยา งย่ิงสงผลกระทบตอการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจของประเทศไทยอยาง
หลกี เลยี่ งไมได ซง่ึ เหตุการณส ําคัญตา ง ๆ ทเ่ี กิดข้ึนในชว งศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1900 – 2000) ดังน้ี

1. สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 (ค.ศ. 1914 – 1918)
สงครามโลกคร้ังท่ี 1 เพ่มิ ความขดั แยงระดบั โลกท่เี กดิ ขึน้ ต้ังแตค.ศ. 1914 ระหวางฝายพันธมิตรและ
ฝา ยมหาอํานาจกลาง ซง่ึ ไมเคยปรากฏสงครามขนาดใหญท ่ีมที หารหรอื สมรภูมิท่เี ก่ียวของมากขนาดน้ีมากอน
นบั ยคุ สมยั แหง ความหายนะ โดยสาเหตขุ องการเกดิ สงครามคร้ังน้ี เกดิ จากความขัดแยง ทางการเมืองของทวีป
ยุโรป ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของการส้ินสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยของยุโรปและการสิ้นสุดของ
“จกั รวรรดอิ อตโตมนั ” อนั เปนตน เหตขุ องการปฏวิ ัตริ สั เซีย
นอกจากน้ีการพา ยแพข องประเทศเยอรมนใี นสงครามครงั้ นี้ สงผลใหเกิดลทั ธิชาตินิยมข้ึนในประเทศ
อนั เปน จุดเริ่มตนของสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 (ค.ศ. 1939)
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945)
สงครามโลกครง้ั ที่ 2 อุบัตขิ ้นึ อีกครัง้ ในเดอื นกนั ยายน ค.ศ. 1939 นับเปน การประลองความยงิ่ ใหญอกี
ครง้ั ระหวา งเยอรมนั และอังกฤษเพยี ง 1 ป เยอรมันกส็ ามารถยึดครองยุโรปไวเกอื บทงั้ ทวีป องั กฤษตองสูญเสีย
อาํ นาจโดยส้นิ เชงิ สงครามครัง้ นไี้ มเพยี งแตเกิดขนึ้ ในยุโรปเทา นน้ั ทางดานเอเชียญี่ปุนไดเขายึดครองประเทศ
ตาง ๆ โดยไดบุกยึดจีนแผนดินใหญและดินแดนตาง ๆ ในเอเชียตะวันตะวันออกเฉียงใตสงผลใหสหรัฐฯ
เขารวมสงครามในคร้ังนี้อีก สงครามเร่มิ ทวคี วามรนุ แรงขึ้นเม่อื เยอรมันไดบุก โจมตี สหภาพโซเวียตและเขา ยึด
ครองไดเกอื บทง้ั หมด สว นญ่ีปุนเองก็โจมตกี องทัพเรือของสหรัฐฯ ท่ีเพริลฮาเบอร ทําใหสหรัฐฯ ใชมาตรการ
เดด็ ขาดโจมตีญีป่ ุนซงึ่ จบลงดว ยการทิง้ ระเบิดปรมาณู 2 ลกู ทีเ่ มอื งฮิโรชิมาและนางาซากิ กลาวโดยสรุปไดวา
การทําสงครามคร้ังน้ีเปนสงครามระหวาง 2 ฝาย คือ สหรัฐฯ กับญ่ีปุน เพื่อครอบครองเอเชียและระหวาง
เยอรมนั กบั สหภาพโซเวยี ต เพอื่ แยงชิงความเปนใหญในยุโรป

262

ผลกระทบของสงครามโลกทง้ั 2 คร้ัง มผี ลกระทบหลายดาน ซ่ึงสรปุ ได ดงั นี้
ประการแรก อาณานิคมของยุโรปเร่ิมไดรับอิสรภาพมากข้ึนเพราะผลของสงครามนั้น ท้ังผูแพและ
ผชู นะในยโุ รปตา งกห็ มดกําลงั ไมว า กําลังทรัพยหรือกาํ ลงั คน ประเทศอยูในสภาพบอบชํ้า จึงไมมีพลังตอตาน
กระแสการดิ้นรนแหงเสรีภาพของประเทศอาณานิคมไดอีก อังกฤษ ฝรั่งเศสตางตองผอนปรนตามกระแส
ตอตา นของประเทศอาณานคิ ม
ประการท่สี อง ผลพลวงจากสงครามทงั้ 2 ครงั้ น้ี กอ ใหเ กดิ ลทั ธิคอมมวิ นสิ ตในสหภาพโซเวียต ซ่ึงเริ่ม
ตัง้ แตส งครามโลกครง้ั ท่ี 1 จนกระทงั่ เมอ่ื สน้ิ สดุ สงครามโลกครง้ั ที่ 2 แลว ลัทธิคอมมวิ นสิ ตใ นสหภาพโซเวียต
ก็ยงั อยูแ ละเติบโตขึ้นเร่อื ย ๆ ทงั้ ในทวปี ยโุ รปและเอเชยี จึงกลาวไดวาผลของสงครามโลก ครั้งท่ี 2 ทําใหโลก
ตองพบปญ หาทีร่ ายแรงกวา เดิม เพราะเม่ือลัทธินาซีในเยอรมันลมสลายไปเน่ืองจากแพสงคราม ยุโรปกลาง
และยุโรปตะวันออกตองอยูใตอ ทิ ธิพลของลทั ธิคอมมิวนิสตจนหมดส้ิน โดยมีผูนําคือ สหภาพโซเวียต ในท่ีสุด
สหภาพโซเวียตจึงกาวขึ้นมาเปนประเทศมหาอํานาจแทนเยอรมันและมีความมุงหวังจะเปนจาวโลกใหได
แตสหภาพโซเวียตก็ตองพบคูแขงท่ีสําคัญท่ีมีแนวความคิดท่ีแตกตางกัน คือ สหรัฐอเมริกากลาวโดยสรุป
สงครามท้ัง 2 คร้ังไดเปล่ียนยุโรปจากการเปนผูนําของโลก กลายมาเปนยุโรปตองตกอยูภายใตอิทธิพลของ
สหภาพโซเวียตของฝา ยสหรฐั อเมรกิ า นับเปนการเปล่ียนโฉมหนาคร้ังสําคัญของประวัติศาสตรโลกและลัทธิ
ลา อาณานคิ มของยุโรปทเ่ี จรญิ ตง้ั แตกอนศตวรรษท่ี 20 อนั ยาวนานก็ถึงจดุ อวสานไปดวย หากจะสรุปรวม ๆ
เมอื่ สงครามโลกครั้งท่ี 2 ยุตลิ ง สถานการณโลกไดเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ คือ ยุโรปไมไดครอบครองแอฟริกา
และเอเชียตอไป อํานาจโลกข้ึนอยูกับ 2 ประเทศ คือ สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกา ความขัดแยงทาง
อุดมการณท างการเมอื งของประเทศมหาอาํ นาจท้งั สองหลังสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ไดน ําไปสเู หตกุ ารณสงครามเย็น
3. สงครามเย็น
สงครามเย็น คือ การตอสูระหวางคายประชาธิปไตยกับคายคอมมิวนิสต เปนการทําสงครามกัน
โดยปราศจากเสียงปนหรือการเขนฆา อันเปนผลสืบเนื่องจากการขยายอิทธิพลทางดานอุดมการณทาง
การเมืองของสองคาย ตางฝายตางก็แสวงหาพรรครวมอุดมการณท้ัง 2 คายตางใชยุทธวิธีตาง ๆ ท่ีจะดึง
ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกมาเปนฝายตนใหได ไมวาจะเปนการโฆษณา ประชาสัมพันธ การชวยเหลือทางดาน
เศรษฐกิจ การเมืองหรืออาวธุ ยุทโธปกรณต าง ๆ แกประเทศในโลกทส่ี ามแมจะมปี ระเทศเล็ก ๆ จะรวมตัวเปน
กลุม “ผูไมฝกใฝฝายใด”ก็ตามก็ไมสง ผลกระทบตอ ประเทศมหาอาํ นาจทง้ั สองลดการแขงขันกัน สหรฐั อเมรกิ า
ซ่ึงเปนประเทศที่มีเศรษฐกิจที่ดีมากเพราะไมไดรับผลจากสงครามมากนักและสามารถขายอาวุธใหกับชาติ
พันธมติ ร ซึง่ ตางจากสหภาพโซเวียตท่ีมีอํานาจมาก แตส ภาพเศรษฐกิจตกตํ่า เนอ่ื งจากทําสงครามกับเยอรมัน
อยางไรกต็ ามสหภาพโซเวียตกย็ งั มีอุดมการณท ีแ่ นว แนท่จี ะแพรอ ทิ ธพิ ลทางคอมมวิ นิสตใหกวางขวางเพอื่ ครอง
โลกโดยสหภาพโซเวียตมองวา เมอื่ ยุโรปตะวันออกเปนบรวิ ารของตนแลว
1. การส้ินสุดของสงครามเยน็ และการเปลย่ี นแปลงทางอํานาจในโลก
ความเปลี่ยนแปลงในชวงป ค.ศ. 1989 – 1990 มีความสําคัญอยางย่ิงในแงของความสัมพันธทาง
อาํ นาจ ทงั้ ในระดับโลกและภูมิภาค ในทางประวัติศาสตร กลาวไดวาการส้ินสุดของทศวรรษ 1980 เปนการ
ส้ินสุดของยุคสมัยหน่ึงทีเดียว นั่นคือ ยุคสมัยท่ีรูจักกันท่ัวไปวา “สงครามเย็น” อันเปนความขัดแยงหรือ

263

ปรปกษท างอุดมการณร ะหวา งทุนนยิ มและคอมมิวนิสต สงครามเย็นเรม่ิ กอตัวต้ังแตระหวางสงครามโลกคร้ังท่ี
2 ระหวางรัสเซียและพันธมิตรตะวันตกทั้ง ๆ ท่ียังอยูในระหวางการรวมมือตอตานนาซีและมาแตกแยก
กลายเปนการเผชิญหนาระหวาง “ตะวันออก” และ “ตะวันตก” อยางชัดเจน ประมาณป ค.ศ. 1946 –
1947 คําประกาศของสตาลิน ในป ค.ศ. 1946 เรียกระดมพลังในชาติเพ่ือเตรียมการเผชิญหนากับฝาย
ตะวนั ตก (ความจริงจุดมุง หมายในทางปฏิวัติ นาจะเพื่อฟนฟูบูรณะและพัฒนาประเทศอยางเรงรัด) นับเปน
การ “ประกาศสงครามเยน็ ” โดยฝายคอมมวิ นสิ ตแ ละการประกาศ “หลักการทรูแมน” ในปตอมาก็นับเปน
การ “ประกาศสงครามเย็น” ของฝายตะวันตก การลมสลายของระบอบปกครองคอมมิวนิสตในยุโรป
ตะวันออกและความเปลี่ยนแปลงในรสั เซียทีเ่ ปนแมแ บบของระบบปกครองแบบนี้ท่ีส่ันคลอน ไมเพียงแตการ
ผูกขาดอํานาจของพรรคคอมมิวนิสตรัสเซีย แตรวมไปถึง “จักรวรรดิ” รัสเซียเลยทีเดียว ซ่ึงสงผลกระทบ
สําคัญยิ่งตอความสัมพันธทางอํานาจในโลก ในชวงตอระหวางป ค.ศ. 1989 – 1990 นักสังเกตการณทาง
การเมอื งบางคนระบอุ ยางไมลังเลยวา “โลกไดเปลยี่ นไปแลวในชวงเวลาเพียงหนง่ึ ป”

5. การเมอื งโลกสูส ังคมไทย
จุดเปลีย่ นแปลงทส่ี ําคัญที่นาํ สูส ังคมไทยในยุคปจจุบัน กลาวไดวาเหตุการณสําคัญก็คือการลมสลาย
ของสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1997 อดีตสหภาพโซเวียตเปนประเทศที่มีดินแดนกวางใหญ มีอาณาเขต
ครอบคลุมทั้งในทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย นอกจากนี้สหภาพโซเวียตยังมีบทบาทในการเปนผูนําของโลก
คอมมิวนิสตดวยการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสตและปญหาในสหภาพโซเวียต เริ่มจากการเปล่ียนแปลง
คร้งั แรกในการปฏิวตั ิ เมื่อเดอื นตลุ าคม ค.ศ. 1917 โดยเลนินผซู งึ่ นาํ สหภาพโซเวียตเขา สคู วามเปนคอมมิวนสิ ต
และทาํ ใหโ ลกแบงออกเปน 2 ฝา ย คือ ฝา ยลัทธิคอมมวิ นิสตโดยมีแกนนํา คอื สหภาพโซเวียตและฝายโลกเสรี
นาํ โดยสหรัฐอเมรกิ า การกระทาํ ดงั กลา วก็มีอาจจะลุลวงไปไดดว ยดี ในชวงเวลาดังกลาวน้ันโลกจึงเต็มไปดวย
ความวนุ วาย ตอมาเมื่อถึงชวงปลายศตวรรษท่ี 20 ประเทศมหาอํานาจท้ัง 2 ตองประสบกับปญหาทางดาน
เศรษฐกิจอันเน่ืองมาจากการสนับสนุนประเทศตาง ๆ ในคายของตนท้ังทางดานอาวุธยุทโธปกรณ ทุน
เทคโนโลยีตา ง ๆ จนลมื ผลกระทบท่จี ะมีมาสปู ระเทศ นอกจากนี้ ประเทศตา ง ๆ เหลา น้ันเรม่ิ จะมอี ิสระในการ
ดาํ เนนิ นโยบายภายในประเทศและคาํ นึงผลประโยชนห ลกั ของตนมากข้ึน ดงั นนั้ ประเทศมหาอาํ นาจทง้ั สอง
จงึ ไดตกลงเจรจาจาํ กัดอาวธุ ยุทธศาสตรขึน้ ทาํ ใหสถานการณโลกเร่ิมคล่ีคลายลง การเปล่ียนแปลงครั้งที่สอง
ของสหภาพโซเวียตท่ีสงผลกระทบทั่วโลกและทําใหสหภาพโซเวียตตองลมสลายนั้น ก็คือ การปรับเปลี่ยน
นโยบายบริหารประเทศแบบใหมของนายมิดาฮิล กอรบาซอฟ ประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ซ่ึงไดใช
นโยบาย เปเรสทอยกา กลาสนอสต ซึ่งมีสาระสําคัญอยูท่ีการปฏิรูปโครงสรางทางการเมือง การขจัดความ
เฉ่ือยชา การคอรัปช่ันของเจาหนาท่ีพรรคและยังรวมถึงการเปดโอกาสใหมีประชาธิปไตยในการรับขาวสาร
ขอมูลนั้น ไดทาํ ใหเกดิ ความวุนวายในสหภาพโซเวียต ทําใหผูนําคอมมิวนิสตไมไววางใจผูนํา และนําไปสูการ
ปฏิวตั ทิ ี่ลมเหลว การหมดอาํ นาจของพรรคคอมมวิ นิสต ประเทศบรวิ ารของสหภาพโซเวียตในยุโรปตะวันออก
ตางแยกตัวเปนอิสระและทา ยท่สี ุดรฐั ตาง ๆ ในสหภาพโซเวียตตางแยกตัวเปนประเทศอิสระปกครองตนเอง
สง ผลใหส หภาพโซเวียตถงึ การลม สลายและดุลอํานาจ

264

6. เกดิ ขบวนการนักศกึ ษาเปนปรากฏการณระดับโลก ในชวงสงครามโลกท้ัง 2 ครงั้
ขบวนการนักศึกษาน้ีไดเกิดข้ึนจากแนวความคิด “การปฏิบัติวัฒนธรรม” ในเชิงการปลดปลอย
ตนเองเปนรปู แบบของการตอ ตานสถาบันเดิม หรอื การปลดปลอ ยตนเองจากวฒั นธรรมเกา สรางวัฒนธรรมใหม
ดังจะเห็นไดจากความนิยม “เพลงร็อค” “กางเกงยีน” “บุปผาชน” “ซายใหม” โดยความคิดท่ีเกิดกับ
นักศึกษาน้ีไมเพียงเกิดกับนักศึกษาของสหรัฐ ยุโรปตะวันตก ญ่ีปุนเทานั้น แตยังเขามาสูนักศึกษาไทยดวย
โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในชว งสงครามเวียดนามนกั ศึกษาไทยมีสวนรวมในขบวนการตอตานสงครามเปน อยา งมาก
ขบวนการนกั ศกึ ษาโลกกลายเปน พลังทางสังคมและการเมืองสาํ คญั โดยเฉพาะในการประทว งใหญข อง
นกั ศึกษาฝรั่งเศส (ค.ศ. 1968) ทที่ าํ ใหเมืองปารีส และอีกหลายเมืองของฝร่ังเศสกลายเปนอัมพาต และในป
เดียวกัน การประทวงของนักศึกษาอเมริกันก็ทําใหนายลินคอน จอหนสัน ไมกลาลงสมัครรับเลือกต้ังเปน
ประธานาธิบดขี องสหรัฐ สมยั ท่ี 2
สาํ หรบั ประเทศไทยน้ัน กระแสความคิดทีป่ ลดปลอยและขบวนการนักศึกษาไดเกิดขึ้น อันเปนผลมา
จากระยะชวงเวลาอนั ยาวนานของการเมืองโลก โดยในชวง 14 ตุลาคม 2516 เกดิ ขบวนการนกั ศึกษาประทวง
ตอตานระบอบถนอม – ประภาส – ณรงค จนนักศึกษาตองถูกรัฐทําลายชีวิตไปกวา 70 คน แตในท่ีสุดก็
สามารถไล ถนอม – ประภาส และณรงคไ ด
สรุปไดวา ขบวนการนักศึกษาไทย ชวง พ.ศ. 2516 – 2519 นับเปนสวนหนึ่งของ “ชวงระยะเวลา
ยาว” ของการเมอื งไทยกวา 100 ป ในขณะเดยี วกันก็เปน สว นหน่งึ ของ “ชวงเวลาระยะยาว” ของการเมือง
โลกกวา 2 ศตวรรษ โดยมาพรอมและทนั กบั ระยะเวลาของการปลดปลอย และเปลี่ยนแปลงของโลกคร่ึงหลัง
ของศตวรรษที่ 20 ซ่ึงหลังจากนั้นเพียงไมก่ีป เม่ือถึงศตวรรษ 1980 ทุกอยางก็เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง
โดยสหภาพโซเวียตและระบบสังคมนิยมไดล มสลาย เศรษฐกจิ ตลาดและโลกาภิวัตนก็เติบโตมาแทนท่ี ซ่ึงเชื่อ
กันวาจะมีความกาวหนาไปพรอมกับ “ความพินาศของอดีต” และ“การสิ้นสุดของประวัติศาสตรทาง
การเมอื ง”

กิจกรรมท่ี 1
ใหผูเรียนเขยี นเครือ่ งหมาย √ หนาขอ ความที่ถูกตอ งและเขยี นเครอื่ งหมาย X หนาขอ ความท่ีเหน็ วา ผิด
................... 1. เมืองฮโิ รชมิ าและเมอื งนาวาซากิ เปนเมอื งของประเทศญปี่ นุ ท่ถี กู ระเบิด

ปรมาณูในชว งสงครามโลกคร้ังท่ี 2
................... 2. ผลกระทบจากการเกิดสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ทม่ี ตี อสหภาพโซเวียต คือ

ไดรับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ
................... 3. สงครามเยน็ คอื การตอสูระหวา งคา ยประชาธิปไตยและคา ยคอมมิวนสิ ต
................... 4. ลทั ธนิ าซีเปนลทั ธขิ องประเทศรสั เซยี
................... 5. ในชว งสงครามเยน็ ยโุ รปตะวันออกปกครองระบอบประชาธิปไตย
................... 6. สงั คมไทยไดร บั ผลกระทบจากเหตุการณก ารลมสลายของสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1997
................... 7. “ขบวนการนกั ศึกษาโลก” เกิดขน้ึ จากแนวความคิด “การปฏิบตั วิ ัฒนธรรม”

265

................... 8. นักศกึ ษาไทยมีสว นรวมในขบวนการตอ ตา นสงครามเย็น
................... 9. ในป ค.ศ. 1968 เกดิ “ขบวนการนกั ศึกษา” ประทวงในประเทศฝร่ังเศสและสหรฐั อเมริกา
................... 10. “ขบวนการนักศกึ ษาไทย” ไดเกิดขนึ้ อันเปน ผลมาจาก “การเมืองโลก”

ในชว ง 14 ตลุ าคม 2520

เฉลย 5.
1. 2. 3. 4. 10.

6. 7. 8. 9.

กจิ กรรมที่ 2
ใหผ ูเรยี นศึกษาขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณสําคัญทางการเมืองของโลกชวงสงครามโลกครั้งที่ 1 และ

สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ตลอดจนเหตุการณป ฏิวัตทิ างการเมอื งของประเทศตาง ๆ จาก Internet

เร่อื งที่ 6 หลักธรรมาภบิ าล

ความหมายของหลักธรรมาภิบาล
หลกั ธรรมาภิบาล หมายถึง แนวทางในการจัดระเบียบเพอ่ื ใหสังคมของประเทศ ทัง้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ

ภาคเอกชนและภาคประชาชนสามารถอยรู วมกนั ไดอ ยา งสงบสขุ โดยตัง้ อยูใ นความถกู ตองและเปนธรรม
ปจจุบันจึงเห็นไดวา การบริหารจัดการองคกรท้ังภาครัฐและเอกชนไดใหความสําคัญกับการนํา

หลกั ธรรมาภบิ าลมาใชโดยเฉพาะเร่ืองคุณธรรมเนื่องจากพบวา มีการประสบกับภาวะวิกฤติอันเกิดจากการ
ทุจริตที่ระบาดออกไปอยางรวดเร็วและกวางขวาง มีทั้งความไมรับผิดชอบตอสังคมหรือสวนรวมโดยคํานึง
แตป ระโยชนข องตนเองและพวกพอ ง อนั เปนการบริหารจดั การทีข่ าดคุณธรรมและจริยธรรมอยางย่ิง

ธรรมาภบิ าลในองคกรภาครัฐหรือการบริหารจัดหารท่ีดีในภาครัฐ (Good Govermnance) จะชวย
กระตนุ อยา งมากตอการพัฒนาและขยายตัวของจรยิ ธรรมในทางธุรกิจ ทงั้ น้ีเพราะความสมั พนั ธระหวางภาครัฐ
กบั ภาคเอกชนมีอยูอยางใกลชิด ภาครัฐในฐานะท่ีเปนผูควบคุมกติกาการดําเนินของเอกชนยอมมีผลตอการ
เสริมสรางการบริหารจัดการท่ีดีในวงการธุรกิจและการยึดมั่นในหลักคุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งความ
รบั ผดิ ชอบทีธ่ ุรกจิ มตี อ สังคม ถา การควบคมุ ยอ หยอนหรือหนวยงานในภาครัฐ มีสวนรูเ ห็นเปนใจกับการทุจริต
หรอื การเอารัดเอาเปรียบสงั คมและผูบ รโิ ภคของธุรกจิ เอกชนหรือมีการรวมมือกันระหวางคนในภาครัฐกับใน
ภาคเอกชนเพ่อื แสวงหาผลประโยชนอนั มิชอบแลว จะเปน อุปสรรคซงึ่ ทําใหการเสรมิ สรางจริยธรรมในการทํา
ธรุ กิจเปน ไปไดลําบาก

266

หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลท่ีทุกคนไมวาจะเปนคนทํางานในหนวยงาน ภาครัฐหรือเอกชน ตองยึดม่ัน
หลักธรรมาภบิ าล 6 ประการ เปน แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน ดังน้ี
1. หลักนติ ิธรรม (The Rule of Law)
หลักนิติธรรม หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ โดยถือวาเปนการ
ปกครองภายใตกฎหมายมิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจของตัวบุคคลจะตองคํานึงถึงความเปนธรรมและ
ความยุตธิ รรม รวมท้งั มีความรดั กมุ และรวดเร็วดว ย
2. หลกั คณุ ธรรม (Morality)
หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดม่ันในความถูกตอง ดีงาม การสงเสริมใหบุคลากรพัฒนาตนเองไป
พรอมกนั เพ่ือใหบ ุคลากรมีความซือ่ สัตย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย ประกอบอาชีพสุจริต เปนนิสัย
ประจาํ ชาติ

3. หลักความโปรง ใส (Accountability)
หลักความโปรง ใส หมายถงึ ความโปรง ใส พอเทียบไดวามีความหมายตรงขามหรือเกือบตรงขามกับ
การทุจรติ คอรร ปั ชชนั่ โดยทเ่ี ร่ืองทจุ รติ คอรรปั ช่นั ใหมีความหมายในเชิงลบและความนาสะพรึงกลัวแฝงอยู
ความโปรง ใสเปนคําศัพทที่ใหแงมุมในเชิงบวกและใหความสนในเชิงสงบสุข ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสาร
ไดส ะดวกและเขา ใจงา ยและมีกระบวนการใหประชาชนตรวจสอบความถูกตองอยางชัดเจน ในการนี้เพื่อเปน
สิรมิ งคลแกบ ุคลากรทปี่ ฏิบัติงานใหม คี วามโปรง ใส ขออญั เชญิ พระราชกระแสรบั ส่ังในองคพ ระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9) ที่ไดทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง ไดแก ผูท่ีมีความสุจริตและ
บริสุทธ์ิใจ แมจ ะมคี วามรนู อยกย็ อ มทาํ ประโยชนใหแกส ว นรวมไดมากกวา ผทู ี่มีความรูมาก แตไมมีความสุจริต
ไมม ีความบรสิ ทุ ธิใ์ จ
4. หลักการมีสวนรวม (Participation)
หลักการมีสว นรวม หมายถึง การใหโ อกาสใหบ ุคลากรหรอื ผมู ีสวนเกยี่ วของเขามามีสวนรวมทางการ
บริหารจัดการเก่ียวกับการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ เชน เปนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและหรือ
คณะทํางานโดยใหขอมูล ความคดิ เห็น แนะนํา ปรกึ ษา รว มวางแผนและรวมปฏิบัติ
5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility)
หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิและหนาท่ี ความสํานึกในความรับผิดชอบตอ
สังคม การใสใจปญหาการบริหารจัดการ การกระตือรือรนในการแกปญหาและเคารพในความคิดเห็นที่
แตกตา ง รวมท้งั ความกลาท่จี ะยอมรบั ผลดแี ละผลเสียจากการกระทําของตนเอง
6. หลักความคุมคา (Cost-effectiveness or Economy)
หลักความคุมคา หมายถึง การบริหารจัดการและทรัพยากรท่ีมีจํากัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด
แกส ว นรวม โดยรณรงคใ หบุคลากรมคี วามประหยัด ใชวสั ดอุ ปุ กรณอยางคุมคาและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
ใหส มบรู ณย ่ังยืน

267

แนวปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมาภิบาล
แนวการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลที่นํามาเสนอตอไปน้ีจะเปนหลักธรรมาภิบาลในภาครัฐ
ซ่งึ ผูปฏบิ ตั งิ านในองคกรของรัฐ ควรมแี นวทางการทาํ งานดงั นี้

1. ยึดมนั่ ในวัตถุประสงคข ององคกรและผลผลิตทจ่ี ะสงมอบใหแ กประชาชนและผูที่มารับบริการ
แนวการปฏิบัติ คือ

1) ตองมคี วามเขาใจอยา งแจมแจงในวตั ถุประสงคแ ละผลผลติ ทต่ี ง้ั ใจจะทําให
2) ผรู ับไดผลผลิตทมี่ ีคณุ ภาพเปนเลศิ
3) คมุ คา กับภาษที ี่เสยี ใหแกร ัฐบาล
2. ทาํ งานอยา งมีประสทิ ธิภาพในหนาท่ีและบทบาทของตน แนวการปฏิบตั ิ คือ
1) บุคลากรตองเขา ใจในหนา ที่ของผบู รหิ าร
2) เขาใจอยา งแจม ชัดในความรบั ผดิ ชอบของผใู ตบ งั คับบญั ชาและผบู รหิ าร

รวมทง้ั ตอ งมัน่ ใจวาทุกคนปฏิบตั หิ นา ที่ตามความรบั ผดิ ชอบของตน
3) มีความเขา ใจอยา งชดั เจนในความสมั พนั ธระหวา งผูบริหารกบั ประชาชน

ผรู บั บรกิ าร
3. สงเสริมคานิยมขององคกรและแสดงใหเห็นถึงคุณคาของธรรมาภิบาล โดยการปฏิบัติหรือ
พฤติกรรม แนวการปฏบิ ตั ิ คือ

1) นําคานยิ มขององคกรมาใชป ฏบิ ัติ
2) ผูบรหิ ารองคกรประพฤตติ นเปน ตวั อยางที่ดี
3) ผูบรหิ ารตดั สนิ และวินจิ ฉยั อยา งโปรง ใสและเปด เผย
4) บรหิ ารงานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. มกี ารสอื่ สารท่ีดี มกี ารตดั สินใจอยางโปรงใสและมกี ารบริหารความเส่ยี งทรี่ ัดกมุ แนวการปฏิบตั ิคอื
1) การตดั สนิ ใจทกุ ครั้ง ตอ งกระทําอยางโปรงใสและยุติธรรม
2) ใชข อมูลทีด่ ี รวมทงั้ คาํ แนะนาํ และการสนบั สนนุ
3) ตอ งม่นั ใจวา มีระบบบรหิ ารความเสีย่ งท่ีมีประสิทธิภาพอยใู นระบบการทํางาน
5. พัฒนาศักยภาพและความสามารถของสวนบริหารจัดการอยางตอเนื่อง พรอมท้ังใหมี
ประสิทธิภาพยิ่งขน้ึ แนวการปฏิบัติ คือ
1) ตองมั่นใจวาผูไดเลื่อนตําแหนงขึ้นมาเปนผูบริหารจัดการนั้นมีทักษะ ความรูและ
ประสบการณท ่ีจําเปนตองใชใ นหนา ทนี่ น้ั ๆ
2) พัฒนาความสามารถของผูท่ีทําหนาท่ีในสวนบริหาร รวมท้ังมีการประเมินผลงานไมวาจะ
เปนรายบุคคลหรอื เปน กลมุ กไ็ ด
3) มีความเช่ือมโยงในการทดแทนบุคลากรในสายบริหารจัดการเพ่ือความตอเน่ืองในการ
ปฏบิ ัติงานขององคก ร

268

6. เขาถงึ ประชาชนและตองรบั ผดิ ชอบตอ การทํางานและผลงานอยางจริงจัง แนวการปฏิบัติ คือ
1) ตอ งมคี วามเขา ใจถึงขอบเขตของความรบั ผดิ ชอบ
2) ริเร่ิมการวางแผนที่จะติดตอกับประชาชน เพื่อใหทราบถึงหนาท่ีและความรับผิดชอบ

ในผลงานของตน
3) ริเริม่ การแสดงออกถึงความรบั ผิดชอบตอบคุ ลากรภายในองคก ร
4) ประสานงานกบั หนวยเหนือหรอื ผบู งั คบั บัญชาอยางใกลชดิ

กจิ กรรมที่ 1
ใหผ ูเ รียนเขียนเคร่ืองหมาย √ หนาขอ ความท่ีถกู ตอง และเขยี นเครือ่ งหมาย X หนา ขอความทีผ่ ดิ

แลวตรวจกบั เฉลยทายกจิ กรรม
.......... 1. หลักธรรมาภบิ าล เปนแนวทางในการจดั ระเบียบเพือ่ ใหส งั คมของประเทศ ทัง้ ภาครฐั ภาคธรุ กจิ

และภาคประชาชนอยรู วมกันอยา งสงบสขุ

.......... 2. การปฏบิ ัตงิ านโดยยดึ หลักนิตธิ รรมน้นั ตอ งทําอะไรดว ยตนเองอยางมน่ั ใจ อาจถกู ตองตามระเบยี บ
หรือไมก ็ได

.......... 3. บุคคลใดก็ตามทีย่ ดึ มน่ั ในความถูกตอ ง ดีงาม จรงิ ใจ และขยนั ถอื วา เปนผูย ึดมัน่ ในหลกั ความคมุ คา
.......... 4. “สมชาย” มกั จะชว ยทํากจิ กรรมของชมุ ชนอยเู สมอ และเปน ผทู ่ยี อมรบั ฟงความคดิ เหน็ ของเพ่ือน

รว มงาน ถือวา “สมชาย” เปนผูย ึดม่ันในหลกั การมสี วนรว ม
.......... 5. ในการทํากจิ กรรมกลมุ ทุกคร้งั “นนุ ” จะเปน ผูทกี่ ลา ออกความคดิ เห็น และรับอาสาเปนผูดแู ลการ

ทํางาน ซง่ึ งานจะประสบความสําเรจ็ ทกุ ครงั้ ถอื วา “นนุ ” เปน ผยู ึดม่นั ในหลกั ความโปรง ใส

กิจกรรมที่ 2

คาํ ส่งั หากผเู รียนไดท าํ งานเอกชนกบั บรษิ ทั แหง หนงึ่ ผูเรียนมีแนวการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล
อยา งไร
แบบบันทึกผลการเรยี นรู

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

269

กจิ กรรมที่ 3
1. ใหผ ูเ รียนศกึ ษาเรยี นรเู พ่ิมเติมเกย่ี วกบั เรอ่ื งการพฒั นาของระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศ
ตา ง ๆ ในโลกจาก Internet เอกสารแบบเรียน ตาํ ราตา ง ๆ ตลอดจนศึกษาจากผรู ู
2. ใหผูเรียนทาํ แบบฝกหดั แลว ตรวจเฉลยทายเรอื่ ง

แบบฝกหดั

คาํ สัง่ ใหผเู รียนเลอื กคําตอบท่ีถกู ตอง แลว วงกลมลอ มรอบตวั อกั ษรหนาขอ ความท่ีถกู ตอ ง
1. ประเทศใดบางทีเ่ ปนจดุ เรมิ่ ตนของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยใน
“ยคุ โบราณ”

ก. ญปี่ นุ จนี เกาหลี
ข. กรีก ซีเรยี อินเดยี
ค. กรกี เกาหลี จีน
ง. ไทย จีน ญปี่ ุน
2. ประเทศใดบางทีจ่ ดั อยูใน “ยคุ กลาง” ของการพัฒนาการระบอบประชาธิปไตย
ก. ไทย จีน ญีป่ ุน
ข. กรกี ซเี รยี อนิ เดยี
ค. ยูเครน อังกฤษ สหพันธไ อโรโควอสิ
ง. องั กฤษ ฝรงั่ เศส อเมริกา
3. “คอสแซ็ค” มคี วามเกย่ี วขอ งกบั ประเทศยูเครนอยางไร
ก. เปนรัฐทางการทหารของยูเครน
ข. เปนรัฐที่ปกครองโดยประชาชนของยเู ครน
ค. เปนรัฐทีป่ กครองแบบประชาธปิ ไตย
ง. ไมม ีขอ ใดถกู
4. รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย “สหพันธไ อโรโควอสิ ” เปน แบบใด
ก. ราชาธปิ ไตย
ข. รัฐอิสระ
ค. อาณาธปิ ไตย
ง. ระบบชนเผา

270

5. ประเทศใดบางท่มี กี ารพัฒนาการระบอบประชาธิปไตยในชวง “คริสตศตวรรษที่ 18 – 19”
ก. อนิ เดยี ซีเรยี เกาหลี
ข. สหรัฐอเมรกิ า ฝรัง่ เศส นวิ ซีแลนด
ค. สหรัฐอเมรกิ า รัสเซยี องั กฤษ
ง. ไทย จนี ญป่ี นุ

6. ขอใดเปนการแสดงถงึ พฒั นาการการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของฝร่ังเศส
ก. การทําสงครามในประเทศ
ข. การเขา รวมสงครามโลกคร้ังท่ี 2
ค. ภายหลงั การปฏวิ ัติ มีการเลือกต้ังสมชั ชาแหงชาติฝรง่ั เศส
ง. การยดึ ครองอาณานิคมในยุโรป

7. ในชวงปลายครสิ ตว รรษท่ี 19 ลกั ษณะของประชาธิปไตยของประเทศตา ง ๆ
ในโลกเปนอยา งไร
ก. ประชาธปิ ไตยท่ีเคารพเสียงขา งนอย
ข. ประชาธปิ ไตยท่ีเคารพเสยี งขางมาก
ค. ประชาชนไมสามารถแสดงความคดิ เห็นได
ง. ไมมีขอใดถกู

8. ภายหลงั การส้นิ สดุ ของสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เกดิ เหตุการณส าํ คัญเกี่ยวกับ
การเมืองการปกครองของประเทศตา ง ๆ ในโลกอยา งไร
ก. ทกุ ประเทศแพสงคราม
ข. กระแสการเปลย่ี นแปลงไปสูร ะบอบประชาธิปไตยในหลายประเทศ
ค. กระแสของระบอบประชาธิปไตยแพรข ยายไปยังแอฟรกิ าใต
ง. ขอ ข และ ค ถกู

9. ประเทศไทยเขา สกู ารปกครองระบอบประชาธิปไตยในรชั สมยั ใด
ก. รัชกาลที่ 6
ข. รัชกาลท่ี 7
ค. รัชกาลท่ี 8
ง. รชั กาลที่ 9

10. ขอ ใดคอื รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศไทย
ก. ประชาชนมีสทิ ธิเสรีภาพเทาเทียมกนั
ข. พระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุขภายใตรฐั ธรรมนูญ
ค. อาํ นาจอธิปไตยเปน ของปวงชนชาวไทย
ง. ถูกทกุ ขอ

271

แนวเฉลยกิจกรรมท่ี 1
ภูมศิ าสตรกายภาพ

กจิ กรรมที่ 1.1 สภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ
1. ใหบ อกลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและลกั ษณะเศรษฐกิจของประเทศไทยและทวีปยโุ รป

พน้ื ที่ ลักษณะภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกจิ

ประเทศไทย ภาคเหนือมีเทือกเขาสูงทอดยาวนานในแนวเหนอื มีการทําเกษตรกรรม ทาํ นา

ใตท่มี รี าบลุมสลบั อยู เปน แหลง กําเนดิ แมนาํ้ สาย ทาํ ไร ทาํ สวนผลไม ยางพารา

สําคัญ คือ ปง วัง ยม นา น พื้นท่ีสองฝง นํา้ อุดม ปาลม ปา ไม และเล้ยี งสัตว

สมบรู ณ เหมาะแกก ารเพาะปลูก อตุ สาหกรรมเหมอื งแร

ภาคกลางเปน ดินดอนสามเหลย่ี ม ปากแมน ้ํา อุตสาหกรรมการแปรรปู ผลผลิต

เจา พระยาทเี่ กิดการรวมตัวของแมน ้าํ ปง วงั ยม นา น ทางการเกษตร ฯลฯ

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมี ราบสงู ที่มีราบลมุ

แมนํ้าทส่ี ําคญั คอื มูลและชี

ภาคตะวันออก มีทร่ี าบใหญอ ยูทางตอนเหนอื

ตอนกลางมีเทือกเขาจนั ทบุรขี องภาค มีทร่ี าบ

แคบ ๆ ชายฝง ทะเล

272

พน้ื ที่ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกิจ

ทวีปยุโรป ตอนเหนอื มเี ทือกเขาสูงและทร่ี าบชายฝง ทะเล มกี ารทําเกษตรกรรม ปลกู ขา วสาลี

ทเี่ วาแหวง และอา วลึกทเ่ี รียกวาฟยอรด เนอื่ งจาก ไรปศุสัตว เล้ียงสตั วค วบคกู บั การ

เกิดถูกธารนํา้ แขง็ กัดเซาะ ปลูกพชื และเล้ียงสัตวแ บบเรร อน

เขตทร่ี าบสูงตอนกลาง เชน แบล็กฟอเรสตของ การทําอตุ สาหกรรมแรเ หล็กและ

เยอรมัน ท่ีราบสูง โบฮีเมยี เขตตดิ ตอเยอรมนั นี้กบั ถานหนิ มกี ารทาํ ประมง เพราะมี

สาธารณรัฐเชค ที่ราบเมเซตา ในเขตสเปน และ ชายฝง ท่ียาวและเวา แหวง และติด

โปรตเุ กส ทะเลทัง้ 3 ดา น

เขตทร่ี าบตอนกลาง ตัง้ แตช ายฝง มหาสมทุ ร

แอตแลนตกิ ไปถึง เทอื กเขาอรู าลในรัสเซีย ตะวันตก

ของฝรงั่ เศสตอนใตข องเบลเยี่ยม เนเธอรแ ลนด

เดนมารก ภาคเหนอื ของเยอรมันนมี ปี ระชากรอาศัย

อยหู นาแนน เพราะมคี วามสําคญั ทางเศรษฐกจิ

เขตเทือกเขาตอนใต มเี ทอื กเขาสงู ทอดตัวยาว

ต้ังแตตะวันออกเฉียงใตข องฝรง่ั เศสผานสวสิ

เยอรมันนไี ปจนถงึ ทางเหนอื ของอติ าลี ยอดเขามี

นํ้าแข็งปกคลมุ เกอื บตลอดป

แนวตอบกจิ กรรม 1.1 สภาพภูมิศาสตรก ายภาพ

2. ปจ จยั ที่มีอิทธิพลตอ ภมู อิ ากาศของทวปี อเมรกิ าใต คอื
1. ละติจูด พ้ืนทส่ี ว นใหญข องทวีปครอบคลมุ เขตอากาศรอน และประมาณ 1 ใน 3 ของพน้ื ท่ที วีป

เปน เขตอากาศแบบอบอุน ภูมิภาคทางเหนือของทวีปจะมีฤดกู าลท่ตี รงขา มกบั ภมู ิภาคทางใต
2. ลมประจาํ ไดแก
2.1 ลมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผานมหาสมุทรแอตแลนตกิ จงึ นําความชุมชื่นเขาสูท วปี บริเวณ

ชายฝง ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
2.2 ลมตะวันออกเฉยี งใต พัดผานมหาสมุทรแอตแลนติกจึงนําความชุมช่ืนเขาสูทวีปบริเวณ

ชายฝง ตะวนั ออกเฉยี งใต
2.3 ลมตะวันตกเฉียงเหนือ พัดผานมหาสมุทรแปซิฟกจึงนําความชุมช่ืนเขาสูทวีปบริเวณ

ชายฝง ตะวันตกของทวปี ตั้งแตป ระมาณละตจิ ดู 40 องศาใตลงไป

273

3. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทวีปอเมรกิ าใตม เี ทอื กเขาสงู อยทู างตะวนั ตกของทวีป ดังน้ันจึงเปนสิ่งท่ี
กน้ั ขวางอิทธิพลจากทะเลและมหาสมุทร ทําใหบ รเิ วณทีใ่ กลเทือกเขาคอนขางแหงแลง แตในทางตรงกันขาม
ชายฝง ดานตะวนั ออกจะไดรับอทิ ธิพลจากทะเลอยา งเตม็ ท่ี

4. กระแสนาํ้ มี 3 สายทสี่ ําคัญ คือ
4.1 กระแสนํา้ อุนบราซลิ ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซิล
4.2 กระแสนํ้าเย็นฟอลก แลนด ไหลเลยี บชายฝง ประเทศอารเจนตินา
4.3 กระแสนา้ํ เย็นเปรู (ฮมั โบลด) ไหลเลยี บชายฝง ประเทศเปรแู ละชลิ ี

3. ปจ จัยสําคญั ทท่ี ําใหท วอี อสเตรเลยี มีสภาพภูมิอากาศท่แี ตกตา งกนั
ปจ จัยสาํ คัญทที่ าํ ใหทวีปออสเตรเลยี มีภมู ิอากาศตาง ๆ กัน คือ ต้ังอยูในโซนรอนใตและอบอุนใต

มีลมประจาํ พัดผา น ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและมกี ระแสน้าํ อนุ และกระแสน้าํ เหน็ ไหลผาน

แนวตอบกจิ กรรมที่ 1.2 ลกั ษณะปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีสําคญั และการปองกันอนั ตราย

1. ปรากฏการณเ รอื นกระจกคืออะไร
คําวา เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถึง อาณาบริเวณที่ปดลอมดวยกระจกหรือวัสดุอื่น ซึ่งมี

ผลในการเก็บกักความรอนไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใชเรือนกระจําในการเพาะปลูกตนไม
เพราะพลังงานแสงอาทติ ยส ามารถผานเขา ไปภายในไดแ ตความรอ นท่อี ยูภ ายในจะถูกกักเก็บโดยกระจกไมให
สะทอน หรือแผออกสภู ายนอกไดทําใหอ ุณหภมู ิของอากาศภายในอบอนุ และเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของ
พชื แตกตา งจากภายนอกทย่ี งั หนาวเยน็ นักวิทยาศาสตรจ ึงเปรียบเทียบปรากฏการณ ที่ความรอนภายในโลก
ถูกกับดักความรอนหรือกาซเรือนกระจก (Greenhouse agses) เก็บกักเอาไวไมใหสะทอนหรือแผออกสู
ภายนอกโลกวา เปนปรากฏการณเ รอื นกระจก

โลกของเราตามปกติมีกลไกควบคมุ ภมู อิ ากาศโดยธรรมชาติอยูแลว กระจกตามธรรมชาติของโลกคือ
กา ซคารบอนไดออกไซดและไอน้าํ ซ่ึงจะคอยควบคุมใหอ ณุ หภูมขิ องโลกโดยเฉล่ียมคี าประมาณ 15 °C และถา
หากในบรรยากาศไมมกี ระจกตามธรรมชาตอิ ณุ หภูมิของโลกจะลดลงเหลือเพียง -20°C มนุษยและพืชก็จะลม
ตายและโลกก็จะเขาสูยคุ นํา้ แข็งอีกครัง้ หนงึ่

2. ในฐานะท่ีทานเปนสวนหนึ่งของประชากรโลกทานสามารถจะชว ยปองกันและแกไขปญหา
ภาวะโลกรอนไดอยา งไรใหบ อกมา 5 วิธี

1. อาบน้ําดวยฝก บวั จะชวย ประหยดั วา การตักนา้ํ อาบหรอื ใชอา งอาบน้าํ ถงึ ครงึ่ หนง่ึ ในเวลาเพียง
10 นาที และปด นํา้ ขณะแปรงฟน

2. ใชหลอดไฟตะเกียบ ประหยดั กวา หลอดธรรมดา 4 เทา ใชงานนานกวา 8 เทา แตล ะหลอด
ชว ยลดการปลอ ยกา ซคารบ อนไดออกไซด ได 4,500 กโิ ลกรมั หลอดไฟธรรมดาเปลย่ี นพลงั งานนอยกวา 10%
ไปเปน แสงไฟ สว นทเ่ี หลอื ถูกเปล่ียนไปเปนความรอ น เทา กบั สญู พลงั งานเปลา ๆ มากกวา 90%

3. ถอดปล๊ักเครอื่ งใชไฟฟาทกุ ครงั้ จากใชง าน

274

4. พกถุงผา แทนการใชถุงพลาสตกิ
5. เชค็ ลมยาง การขับรถโดยทย่ี างมลี มนอ ย อาจทาํ ใหเ ปลืองนา้ํ มนั

แนวตอบ กจิ กรรมที่ 1.3 วิธใี ชเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร
1. แผนที่ หมายถึง การแสดงลกั ษณะพ้นื ผวิ โลกลงบนแผนราบ โดยการยอสว นและการใชส ัญลักษณ

ไมว าเครอื่ งหมายหรอื สี แทนสง่ิ ตาง ๆ บนพน้ื ผิวโลก แผนทจี่ งึ ตางจากลูกโลกและแผนผงั
2. จงบอกประโยชนของการใชแ ผนทม่ี า 5 ขอ
1. ประโยชนในการศึกษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ แผนที่จะทาํ ใหผ ศู ึกษาทราบวาพน้ื ทใ่ี ดมลี กั ษณะ

ภมู ิประเทศแบบใดบาง
2. ประโยชนต อ การศกึ ษาธรณวี ิทยา เพ่ือใหท ราบความเปนมาของแหลง ทรัพยากร ดนิ หนิ

แรธาตุ
3. ประโยชนด านสมุทรศาสตรแ ละการประมง เพ่ือใหท ราบสภาพแวดลอ มชายฝง ทะเล
4. ประโยชนด า นทรพั ยากรนํา้ รขู อ มลู เก่ียวกบั แมน ํา้ และการไหล อา งเกบ็ นาํ้ ระบบ

การชลประทาน
5. ประโยชนดา นปา ไม เพื่อใหท ราบคุณลกั ษณะของปาไมแ ละการเปล่ยี นแปลงพ้ืนทปี่ าไม

3. ใหบอกวธิ กี ารใชเขม็ ทศิ คูกับการใชแ ผนทา พอสังเขป
1. วางเข็มทศิ ใหเ ปน ตามทิศจากจุดเริ่มตน ไปยงั จุดทจี่ ะไป
2. หมุนตวั เข็มทิศจนเสน เมอรเิ ดยี นในแผนท่ีขยายกบั แนว orienting lines
3. หมุนแผนที่กับเข็มทิศไปดวยกันจนกระทง่ั ปลายเขม็ แดงของเขม็ ทิศชไ้ี ปที่ทิศเหนอื
4. เดนิ ไปตามทศิ นน้ั โดยรักษาแนวไวใ หเ ขม็ ยังอยใู นแนวเดมิ ตลอด

แนวตอบ กิจกรรมที่ 4 การทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม

จงเลือกคําตอบทีถ่ กู ตอ งทส่ี ดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว

1. ข 2. ค 3. ง 4. ง

5. ก 6. ข 7. ง 8. ง

แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2 เรื่องประวัตศิ าสตร

เรอ่ื งที่ 1 กิจกรรมที่ 1
1. ค 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง

275

เรือ่ งที่ 2 กิจกรรมที่ 3
1. ค 2. ก 3. ข 4. ค 5. ค

เร่ืองท่ี 5 กจิ กรรมที่ 5
1. ค 2. ข 3. ง 4. ง 5. ข

เฉลยบทท่ี 4 การเมืองการปกครอง 4. ง 5. ข
9.ข 10. ง
1. ข 2. ค 3. ก
6.ค 7.ก 8.ง

276

บรรณานุกรม

การศกึ ษาทางไกล, สถาบัน, กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2546. ชดุ การเรียนทางไกล
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หมวดวชิ าพัฒนาสงั คมและชมุ ชน. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พค ุรุสภาลาดพราว.

โกเมน จิรัฐกุล, รศ.ดร.และเสรี ลลี าลัย, รศ. หนังสือเรยี น ส.504 สงั คมศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษา
ปท่ี 5. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จาํ กดั

คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ. (พ.ศ. 2553). หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน
ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 4-6 เลม 1 ประวัตศิ าสตรไทย. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ลาดพราว.

คมิ ไชยแสนสุข, รศ. และศนั สนยี  วรรณากูร. 2545. ชุดปฏริ ูปการเรียนรูหลักสตู รการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2544 กลมุ สาระการเรียนรู สวนศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชว งช้นั ท่ี 4 สาระ 3 เศรษฐศาสตร. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพประสานมติ ร.

ญาดา ประภาพนั ธ. (2548). ระบบภาษีนายอากร. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเคลด็ ไทย จาํ กัด.
ดนยั ไชยโยธา. (2550). ประวตั ิศาสตรแ ละวัฒนธรรมไทย. กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร
ธนาคารกรงุ เทพ. ลักษณะไทย อิเลก็ ทรอนิกส. http://laksanathai.com.book two,/poois.aspx สบื คน

วันท่ี 27 สิงหาคม 2557.
นามานุกรมพระมหากษตั รยิ ไ ทย กรุงเทพ มูลนิธิสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา. (2554). กรุงเทพมหานคร :

ชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กัด.
ประเวศ วะส.ี 2544. เศรษฐกจิ พอเพยี งและประชาสงั คม : แนวทางผลติ ฟนฟเู ศรษฐกิจสังคม.

กรงุ เทพฯ : พิมพด ี
ปย พร บญุ เพญ็ . หลักเศรษฐศาสตร 3200–0101, 05-110-103. กรงุ เทพฯ :

บรษิ ทั บัณฑติ สาสน จาํ กดั . มปป.
พรรณิภา ศรสี ุข และผดุ ผอง ปติฐพร. พัฒนาสงั คมและชมุ ชน. กรุงเทพ : บริษัท บางกอก-

บุคสแอนดมเี ดีย จํากัด. 2548.
พระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบบั หลวงประเสริฐและประชมุ พงศาวดาร ภาคท่ี 63. (2545).

กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ดา นสทุ ธาการพมิ พ.
ไพฑรู ย พงศะบตุ ร และวันชยั ศริ ิรตั น. หนังสือเรยี นสังคมศกึ ษา ส. 504 สงั คมศกึ ษา

ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปท่ี 5. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั โรงพมิ พไ ทยวฒั นาพานชิ ย จํากดั 2537.
มานติ กิตติจูงจิต และสุรพล เอีย่ มอูทรัพย, สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม.

กรุงเทพฯ : แสงจันทรก ารพมิ พ, ปป.
วิไล ทรงโดม , พัฒนาสังคมและชมุ ชน. กรุงเทพฯ : บริษัท สามเจริญพาณชิ ย, 2548

277

ศิลาจารึกสโุ ขทัยหลักท่ี 1 จารกึ พอขนุ รามคาํ แหง. (2520). กรงุ เทพมหานคร : หอสมุดแหง ชาติ

กรมศลิ ปากร.

ศุภรตั น เกษมศรี ม.ร.ว.; พลตรี. การศกึ ษาประวตั ิศาสตรไ ทยเชิงวิเคราะห : สถาบันพระมหากษัตรยิ ใ น

บรบิ ทสังคมไทย ปาฐกถาชุด “สริ ินธร” ครงั้ ท่ี 28. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั .

สมชาย ภคภาสนวิวฒั น. การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ . วารสารเอเชียปริทศั น. ปท่ี 15 ฉบบั ท่ี 1
(ประจาํ เดอื นมกราคม –เมษายน 2537) : 1-7

สถาบนั การศกึ ษาทางไกล ชุดการเรยี นทางไกล หมวดวชิ าพัฒนาสังคมและชมุ ชน
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 2548.

อภินนั ท จนั ตะนี. เอกสารคําสอนเศรษฐศาสตร มหภาค 1 . ภาคงิชาเศรษฐศาสตร
คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฎพระนครศรอี ยุธยา. กรงุ เทพฯ : พิทักษอ กั ษร. 2541.

อภินนั ท จันตะนี และชยั ยศ ผลวฒั นา. ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ.
กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พพ ิทักษอักษร. 2538.

http : //rirs3.royin.go.th/dictionary.asp
http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/09.htm
http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/20.htm
http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/05.htm
http://seas.art.tu.ac.th/6tula.htm
http://th.wikipedia.orq/wiki%EO%B8%9B%E0%B8%A3%E0%b8%B0%E0%...
http://www.thaigoodview.com/node/16621
http://www.parliament.go.th/parcy/889.0.htm
file://C:\DOCUME 1\ADMINI 1\LOCALS 1\Temp\1I2k4IKW.htm
http://dek-d.com/board/view.php?id = 663147
http://www.kr.ac.th/ebook/saiyud/b1.htm
http://www. Pathumthani.go.th/webkm/km. file / lefe –l – k .ppt#256,)
http://sujitwongtheg.com.book two,/poois.aspx เขาถงึ วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2557.

278

คณะผูจ ดั ทาํ

ทปี่ รกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
อมิ่ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายประเสรฐิ จําป รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ แกวไทรฮะ ที่ปรกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
3. นายวัชรินทร ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. ดร.ทองอยู
5. นางรกั ขณา

ผเู ขยี นและเรยี บเรยี ง

1. นางสาวสุดใจ บตุ รอากาศ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
2. นางสาวพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
3. นางดุษณี เหลี่ยมพนั ธุ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
4. นางดวงทพิ ย แกว ประเสริฐ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
5. นายนิพนธ ณ จันตา สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
6. นางอบุ ลรตั น มโี ชค สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
7. นางกรรณกิ าร ยศตื้อ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
8. นางณชิ ากร เมตาภรณ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ

ผบู รรณาธกิ ารและพฒั นาปรบั ปรงุ

1. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
3. นางสาวสรุ ัตนา บรู ณะวทิ ย สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก
4. นางสาวสปุ รดี า แหลมหลกั สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก
5. นางสาวสาลินี สมทบเจรญิ กลุ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก
6. นายอดุ มศกั ดิ์ วรรณทวี สาํ นกั งาน กศน. อ.โขงเจยี ม
7. นายเรืองเวช แสงรตั นา สาํ นักงาน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
8. นางพัฒนสุดา สอนซือ่ ขา ราชการบํานาญ
9. นางธญั ญาวดี เหลาพาณชิ ย ขา ราชการบํานาญ
10. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
11. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
12. นายเรืองเดช แสงวฒั นา สถาบนั กศน. ภาคตะวนั นออกเฉยี งเหนอื
13. นางมยุรี สวุ รรณาเจรญิ สถาบนั กศน. ภาคใต

279

14. นางสาววาสนา บูรณาวทิ ย สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
15. นางสาววาสนา โกลียวฒั นา สถาบนั การศกึ ษาทางไกล
16. นางธัญญาวดี เหลาพาณชิ ย ขาราชการบาํ นาญ
17. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

คณะทาํ งาน มนั่ มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ศรรี ัตนศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ ปทมานนท กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค กุลประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร เหลอื งจิตวัฒนา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวศรญิ ญา
5. นางสาวเพชรินทร กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผพู ิมพตน ฉบบั คะเนสม กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
เหลอื งจิตวัฒนา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นางปยวดี กวีวงษพ พิ ัฒน กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวเพชรนิ ทร ธรรมธษิ า
3. นางสาวกรวรรณ บา นชี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวชาลนี ี
5. นางสาวอริศรา

ผอู อกแบบปก ศรรี ตั นศลิ ป

นายศภุ โชค

280

คณะผูจดั ทํา

เน้อื หา เพิม่ เติม เร่อื ง “บทบาทของสถาบันพระมหากษตั ริยใ นการพฒั นาชาตไิ ทย”

ท่ีปรกึ ษา สกุลประดิษฐ เลขาธกิ าร กศน.
ทับสพุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายการุณ จําจด รองเลขาธิการ กศน.
2. นายชาญวิทย ภาคพรต ขา ราชการบาํ นาญ
3. นายสุรพงษ งามเขตต ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางระวิวรรณ
5. นางศทุ ธินี

ผเู ขียน เรียบเรยี ง จากการประชุม คร้ังท่ี 1

1. นายปณ ณพงศ ทาวอาจ สํานกั งาน กศน. จงั หวดั สโุ ขทยั
กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวดั สโุ ขทยั
2. นายจริ พงศ ผลนาค กศน.อําเภอบางแกว จงั หวัดพทั ลงุ
กศน.อาํ เภอจะนะ จังหวัดสงขลา
3. นายวรวุฒิ จริยภคั รตกิ ร กศน.อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี
กศน.อําเภอวงั นอ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
4. นายรอศกั ด์ิ เหะเหรม็ โรงเรียนสตรีวทิ ยา 2 ในพระอปุ ถัมภ
สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
5. นางสาวประภารสั ม พจนพิมล

6. นางสาววนั ทนา จะระ

7. นายรจุ น หาเรอื นทรง

ผูเขยี น เรียบเรยี ง และ บรรณาธกิ าร จากการประชมุ ครงั้ ที่ 2

1. นางอมั รา หันตรา ขาราชการบาํ นาญ

2. นางนงลักษณ พรคาํ พลอย กศน.อําเภอเมือง จงั หวัดชลบรุ ี

3. นายนิวฒั น หนางเกษม โรงเรยี นสตรเี ศรษฐบตุ รบําเพ็ญ

คณะทาํ งาน

1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาวสุลาง เพช็ รสวา ง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น

4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี

5. นางสาวชมพูนท สงั ขพ ิชยั

281

คณะผปู รับปรุงขอ มลู เก่ยี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560

ท่ีปรกึ ษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
1. นายสุรพงษ ปฏิบตั หิ นา ทร่ี องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสริฐ สขุ สเุ ดช ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. นางตรีนุช
กศน.เขตบางซ่ือ กรงุ เทพมหานคร
ผปู รบั ปรุงขอ มูล
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นางสาวลลิตา แกว มณี กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
คณะทํางาน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
1. นายสรุ พงษ มัน่ มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี

4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ

5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพูนท สงั ขพิชยั


Click to View FlipBook Version