93
2. สวนท่ีเปนบริเวณที่อยูอาศัยภายในกําแพงเมือง เริ่มต้ังแตคูเมืองเดิมไปทางทิศตะวันออก
จนจดคูเมืองทีข่ ดุ ใหมหรือคลองรอบกรุง ประกอบดวย คลองบางลําพู และคลองโองอาง และเพ่ือสะดวกใน
การคมนาคม โปรดใหขดุ คลองสองคลอง คอื คลองหลอด 1 และคลองหลอด 2 เชอ่ื มคูเมอื งเกากบั คูเมอื งใหม
ติดตอถึงกัน ตามแนวคลองรอบกรุงนี้ ทรงสรางกําแพงเมือง ประตูเมืองและปอมปราการข้ึนโดยรอบ
นอกจากน้ียังโปรดใหส รา งถนน สะพาน และสถานทอี่ ่นื ๆ ทีจ่ าํ เปนราษฎรท่ีอาศัยอยูในสวนนี้ประกอบอาชีพ
คา ขายเปน หลกั
3. สวนที่เปนบริเวณที่อยูอาศัยนอกกําแพงเมือง มีบานเรือนตั้งอยูริมคลองรอบกรุง เปนหยอม ๆ
กระจายกนั ออกไป คลองสาํ คัญทีโ่ ปรดใหขุดขึน้ คอื คลองมหานาค ราษฎรในสวนน้ีประกอบอาชีพการเกษตร
และผลติ สนิ คา อตุ สาหกรรมทางชา งประเภทตา ง ๆ
สําหรบั การสรางพระบรมมหาราชวังน้ัน นอกจากจะใหสรางปราสาทราชมณเฑียรแลว ยังโปรดให
สรา งวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม (วดั พระแกว) ข้นึ ภายในวังดว ย เหมอื นวดั พระศรสี รรเพชญสมัยกรุงศรีอยุธยา
แลวใหอ ญั เชญิ พระแกวมรกตมาประดิษฐานเปนสิริมงคลแกกรุงเทพมหานคร และพระราชทานนามใหมวา
พระพุทธมหามณรี ัตนปฏิมากร สําหรับพระนครเม่ือสรางเสรจ็ สมบูรณใ นป พ.ศ. 2328 แลว จัดใหมกี ารสมโภช
และพระราชทานนามพระนครใหมวา กรุงเทพมหานครบวรรตั นโกสินทร มหนิ ทรายุธยามหาดิลก ภพนพรตั น
ราชธานีบุรีรมยอดุ มราชนิเวชมหาสถาน อมรพมิ านอวตาลสถติ สักกะทัศตยิ วศิ นกุ รรมประสทิ ธ์แิ ตต อมาในสมัย
รัชกาลที่ 4 ทรงเปลย่ี น จากบวรรัตนโกสินทร เปน อมรรตั นโกสินทร สืบมาจนปจ จุบัน
สภาพภูมปิ ระเทศ
สภาพภูมิประเทศของกรุงรัตนโกสินทรนั้นตั้งอยูบริเวณแหลมยื่นลงไปในแมนํ้าเจาพระยาฝง
ตะวนั ออก มีแมนา้ํ เจาพระยาไหลผานลงมาจากทางเหนอื ผานทางตะวันตกและใตกอนที่จะมุงลงใตสูอาวไทย
ทาํ ใหด ูคลา ยกับกรงุ ศรอี ยธุ ยา รัชกาลที่ 1 โปรดเกลาใหขดุ คูพระนครตั้งแตบางลําพูไปถึงวัดเลียบ ทําใหกรุง-
รัตนโกสินทรมีสภาพเปนเกาะสองช้ัน คือสวนที่เปนพระบรมมหาราชวังกับสวนระหวางคูเมืองธนบุรี
(คลองคเู มืองเดิม) กบั คพู ระนครใหม ในขณะเดียวกนั ไดม ีการสรางพระบรมมหาราชวงั แบบงาย ๆ เพ่ือใชประกอบ
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พอประกอบพิธีแลวจึงร้ือของเกาออกและกออิฐถือปูน สวนกําแพงพระนครน้ัน
นาํ อฐิ จากกรงุ ศรีอยุธยามาใชส รา งและถอื วามีชยั ภมู ิชนั้ เยี่ยมในการปองกันศึกในสมัยน้ัน คือ พมา เพราะไดมี
นํ้าเจาพระยาขวางทางตะวันตก อีกทั้งกรุงธนบุรีเดิมก็สามารถดัดแปลงเปนคายรับศึกไดแตเหตุการณ
ที่พมาเขาเหยียบชานพระนครก็ไมเคยเกิดขึ้นสักครั้ง เปนท่ีสังเกตเห็นไดวา การสรางกรุงรัตนโกสินทรน้ัน
เปน การลงหลกั ปก ฐานของคนไทยอยา งเปนทางการหลังกรุงแตก เพราะมีการสรางปราสาทราชมณเฑียรทสี่ วยสด
งดงามจากสมยั ธนบรุ ี ทั้ง ๆ ที่ขณะน้นั เกิดสงครามกบั พมา ครง้ั ใหญ
การขยายพระนคร
การขยายพระนครนัน้ เรมิ่ ในรชั กาลที่ 4 เมือ่ มีการขุดคลองผดุงกรุงเกษมข้ึน พรอมสรางปอมแตไมมี
กําแพง นอกจากนั้นยังมีการตัดถนนเจริญกรุงและพระรามสี่หรือสมัยน้ันเรียกถนนตรง ทําใหความเจริญ
ออกไปพรอ มกับถนน ก็สรุปไดว า ในรัชกาลที่ 4 เมืองไดข ยายออกไปทางตะวันออก ในรัชกาลท่ี 5 ความเจริญ
94
ไดตามถนนราชดําเนินไปทางเหนือพรอมกับการสรางพระราชวังดุสิตข้ึน กําแพงเมืองตาง ๆ เริ่มถูกรื้อ
เนือ่ งจากความเจริญและศึกตา ง ๆ เร่มิ ไมม ีแลว ความเจรญิ ไดตามไปพรอ มกบั วังเจา นายตาง ๆ นอกพระนคร
ทุงตา งๆ กลายเปนเมอื ง ในสมัยรชั กาลท่ี 6 ไดเ กดิ สะพานขามแมนํ้าเจาพระยาแหงแรก เปนสะพานขามทาง
รถไฟช่ือสะพานพระรามหก พอมาถึงรัชกาลท่ี 7 ฝงกรุงธนบุรีกับพระนครไดถูกเชื่อมโดยสะพานปฐมบรม
ราชานุสรณ (สะพานพุทธ) ทาํ ใหประชาชนเกิดความสะดวกข้นึ มามากในการสัญจรเม่ือเกิดสงครามโลกครั้งท่ี
สองในรชั กาลท่ี 8 พระนครถกู โจมตที างอากาศจากฝายสมั พันธมติ รบอ ยครง้ั แตพ ระบรมมหาราชวังปลอดภัย
เน่ืองจากทางเสรีไทยไดระบุพิกัดพระบรมมหาราชวังมิใหมีการยิงระเบิด เม่ือส้ินสงครามแลวพระนคร
เรมิ่ พฒั นาแบบไมห ยดุ เกิดการรวมจงั หวดั ตาง ๆ เขา เปนกรงุ เทพมหานคร และไดเปนเขตปกครองพิเศษหนึ่ง
ในสองแหง ของประเทศไทย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลยั (รชั กาลที่ 2) เสด็จพระราชสมภพเมอื่ วันท่ี 24 กุมภาพันธ
พ.ศ. 2310 พระนามเดิมวา ฉิม เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
พระองคทรงใฝพ ระทัยในศิลปวฒั นธรรมมาก ทั้งทางดา นวิจติ รศิลปและวรรณคดีพระองคไดรับการยกยองวา
เปนกษัตริยผูเปนอัครศิลปน ทรงสรางและบูรณะวัดวาอารามจํานวนมาก ท่ีสําคัญท่ีสุดคือโปรดเกลาฯ ให
บูรณะ วัดสลักใกลพระราชวังเดิมฝงธนบุรี จนยิ่งใหญสวยสงากลายเปนวัดประจํารัชกาลของพระองคและ
พระราชทานนามวา “วัดอรุณราชวรารามมหาวิหาร” ความเปนศิลปนเอกของพระองคเห็นไดจากการ
ท่พี ระองคท รงแกะสลกั บานประตหู นาวดั สทุ ัศนฯ ดว ยพระองคเ อง ผลงานอนั วิจติ รชิ้นน้ปี จ จบุ ันเก็บรักษาไวที่
พพิ ธิ ภัณฑส ถานแหง ชาตกิ รงุ เทพฯ นอกจากฝพ ระหตั ถเ ชิงชางแลว รัชกาลที่ 2 ยงั ทรงพรอมอัจฉรยิ ภาพในทาง
กวีดวย พระราชนิพนธช น้ิ สําคัญของพระองค บทละครเรอื่ ง อเิ หนา และรามเกียรติ์
นอกจากทรงพระราชนพิ นธด วยพระองคเ องแลว ยังไดช อ่ื วาเปนองคอุปถัมภบ รรดาศลิ ปนและกวีดวย
ยคุ นี้จงึ เรียกไดว า เปน ยุคสมยั ท่กี วรี ุงเรืองทีส่ ดุ กวเี อกที่ปรากฏในรัชกาลของพระองค คือ พระศรีสุนทรโวหาร
(ภ)ู ท่ีคนไทยทัว่ ๆ ไปเรียกวา “สุนทรภ”ู
ในดานการตางประเทศ พระองคทรงไดเร่ิมฟนฟูความสัมพันธกับประเทศตะวันตกใหม หลังจาก
หยดุ ชะงักไปตง้ั แตส มัยสมเด็จพระนารายณม หาราช โดยมีพระบรมราชานุญาตใหโปรตุเกสเขามาตั้งสถานทูต
ไดเ ปนชาตแิ รก
พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจา อยหู วั (รชั กาลท่ี 3) เสด็จพระราชสมภพ เม่อื วนั ที่ 31 มนี าคม พ.ศ.
2330 มพี ระนามเดมิ วา พระองคเจา ทับ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยและเจา
จอมมารดาเรียบ เปนกษัตริยผูทรงเครงครัดในศาสนาพุทธ ชาวตะวันตกมักมองวาพระองคตึงและตอตาน
ศาสนาอืน่ แมก ระนนั้ ก็ทรงอนุญาตใหมชิ ชนั่ นารีจากอเมริกานาํ แพทยแ ผนตะวันตกเขา มาเผยแพรได
ความจริงในสมัยรัชกาลที่ 3 ประเทศสยามตองรับบรรดาทูตตาง ๆ จากชาติตะวันตกท่ีเขามาทํา
สญั ญาทางการคาบางแลว โดยเฉพาะการมาถึงของเซอรจอหน เบาริ่ง จากอังกฤษท่ีเขามาทําสัญญาเบาริ่ง
อันสงผลอยา งใหญห ลวงตองานประเทศสยามในเวลาตอมา อยางไรก็ตามผลจากการเปดประเทศมาปรากฎ
อยางเดนชดั ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ซ่ึงทรงสนพระทัยในศิลปะวิทยาการ
ของตะวนั ตกมาก พระองคทรงศกึ ษาวชิ าการตาง ๆ อยา งแตกฉาน ทรงเขาใจภาษาบาลีเปนอยางดีตั้งแตครั้งท่ี
95
ออกผนวชเปนเวลาถึง 27 พรรษากอนทรงข้ึนครองราชย สวนภาษาอังกฤษน้ันทรงไดเรียนกับมิชชันนารี
จนสามารถตรัสไดเ ปน อยางดี นอกจากนยี้ ังมีความรูในวทิ ยาศาสตรแ ขนงตาง ๆ โดยเฉพาะดาราศาสตรในยุค
สมัยของพระองค ขนมธรรมเนียมตาง ๆ ในราชสํานักไดเปล่ียนไปมาก เชน การแตงกายเขาเฝาของขุนนาง
ทรงใหสวมเสื้อผาแบบตะวันตกแทนท่ีจะเปลือยทอนบนเชนสมัยกอน หรือยกเลิกประเพณีหมอบคลาน
เปน ตน
สวนในดานการศาสนาน้นั ทรงตง้ั นิกายธรรมยตุ ิขนึ้ มา ซ่ึงเปนการเร่มิ ตนการรวมอํานาจของคณะสงฆ
ซง่ึ เคยกระจัดกระจายท่ัวประเทศใหเขามาอยทู ส่ี ว นกลาง พระองคนับวาทรงเปนกษัตริยผูมีวิสัยทัศนยาวไกล
และทรงตระหนกั ถึงภยั จากลัทธิลาอาณานคิ มของประเทศตะวันตก ซึง่ ในเวลานนั้ เขา ยึดครองประเทศเพื่อนบาน
ของสยามจนหมดส้ินแลว พระองคท รงมีพระราชดําริวา ความเขมแข็งแบบตะวนั ออกของสยามไมสามารถชว ย
ใหประเทศรอดพนจากการตกเปนอาณานิคมได จึงทรงเนนใหประเทศสยามพัฒนาใหทันสมัยเพ่ือลดความ
ขดั แยงกบั ชาติตะวันตก
ยคุ สมัยน้ีกลาวไดวาประเทศสยามเร่ิมหันทิศทางไปสูตะวันตกแทนที่จะแข็งขืนอยางประเทศเพ่ือน
บา น ซึง่ ถึงท่สี ุดแลวก็ไมอาจสูความไดเปรียบทางเทคโนโลยีของชาติตะวันตกไดในราชสํานักทรงจางครูฝร่ัง
มาสอนภาษาใหแ กพ ระราชโอรสและพระราชธิดา สวนภายนอกมีชาวตางประเทศจํานวนมากที่มาประกอบ
กิจการในเมอื งสยาม สมัยน้ีมหี นังสอื พมิ พภ าษาไทยออกมาเปนคร้งั แรก น่นั คอื บางกอกรีคอดเดอรของหมอ-
บัดเลย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันท่ี 18 ตุลาคม
พ.ศ. 2347 เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลานภาลัย และสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรม
ราชินี มีพระนามเดิมวา เจาฟามหามาลา เมื่อพระชมมายุได 9 พรรษา ไดรับสถาปนาเปนเจาฟามงกุฎ
มีพระราชอนุชารวมพระราชมารดา คือ เจาฟาจุฬามณี ซึ่งตอมาไดรับสถาปนาเปนพระบาทสมเด็จพระปน-
เกลา เจาอยหู วั เม่อื พระชนมายุได 21 พรรษา ไดออกผนวชตามประเพณแี ละอยูในเพศบรรพชติ ตลอดรัชสมัย
รชั กาลท่ี 3 เม่ือรัชกาลท่ี 3 สวรรคตจึงไดลาสิกขามาขน้ึ ครองราชยส มบตั ิ
ระหวา งทีท่ รงผนวช ประทบั อยทู ่วี ัดมหาธาตุ แลว ทรงยายไปอยวู ดั ราชาธิวาส (วัดสมอราย) พระองค
ไดทรงต้ังคณะสงฆ ช่ือ “คณะธรรมยุตินิกาย” ขึ้น ตอมาทรงยายไปอยูวัดบวรนิเวศวิหารไดรับแตงตั้งเปน
พระราชาคณะ และไดเปน เจาอาวาสวดั บวรนเิ วศองคแรก ทรงรอบรูภาษาบาลีและแตกฉานในพระไตรปฎก
นอกจากนั้น ยังศึกษาภาษาลาติน และภาษาอังกฤษจนสามารถใชงานไดดี ในรัชสมัยของพระองค อังกฤษ
สหรฐั อเมรกิ า และฝรัง่ เศส ตา งก็สง ทูตมาขอทาํ สนธสิ ัญญาในเรื่องสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขตใหแกคนในบังคับ
ของตน และสิทธกิ ารคา ขายเสรี ตอมาไทยไดท ําสัญญาไมตรีกับประเทศนอรเวย เบลเย่ียมและอิตาลี และได
ทรงสง คณะทตู ออกไปเจริญพระราชไมตรีกับตางประเทศ นับเปนคร้ังท่ีสองของไทย นับตอจากสมัยสมเด็จ-
พระนารายณม หาราช โดยไปยังประเทศอังกฤษ และฝรง่ั เศส
ทรงจางชาวยุโรปมารบั ราชการในไทย ในหนาทีล่ ามแปลเอกสารตํารา ครฝู กวชิ าทางทหารและตาํ รวจ
และงานดานการชา ง ทรงต้ังโรงพมิ พของรฐั บาล ตั้งโรงกษาปณเพื่อผลิตเงินเหรียญ แทนเงินพดดวงและเบี้ย
หอยทใ่ี ชอยูเดิม มโี รงสไี ฟ โรงเลื่อยจักร เปดท่ีทําการศุลกากร ตัดถนนสายหลัก ๆ ไดแก ถนนบํารุงเมือง
96
ถนนเฟองนคร ถนนเจริญกรุง และถนนสีลม มีรถมาขึ้นใชครั้งแรกขุดคลองผดุงกรุงเกษม คลองมหาสวัสด์ิ
คลองภาษีเจรญิ คลองดําเนินสะดวก และคลองหัวลําโพง
ดานการปกครอง ไดจัดต้ังตํารวจนครบาล ศาล แกไขกฎหมายใหทันสมัย ใหเสรีภาพในการนับถือ
ศาสนาดา นศาสนา ไดสรางวัดราชประดษิ ฐ วดั มงกุฎกษตั รยิ ารามและวดั ปทุมวนาราม เปนตน ทรงเช่ียวชาญ
ทางโหราศาสตร สามารถคํานวนการเกิดจันทรุปราคา และสุริยุปราคาไดอยางแมนยํา ทรงคํานวณการเกิด
สุริยุปราคาหมดดวงในวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 10 ป พ.ศ. 2411 ณ ตําบลหวากอ (คลองวาฬ) จังหวัด
ประจวบครี ีขนั ธ ไดอ ยา งถูกตอ ง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันท่ี 20
กนั ยายน พ.ศ. 2396 มพี ระนามเดิมวา เจาฟา จุฬาลงกรณ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา-
เจาอยูหวั และสมเดจ็ พระเทพศริ ินทรามาตย กอ นขึ้นครองราชยทรงดาํ รงพระยศเปนกรมขนุ พินติ ประชานาถ
พระองคไดทรงสรางความเจริญรงุ เรืองใหแ กป ระเทศนานัปการ ทรงบริหารประเทศกา วหนา ทัดเทียม
นานาอารยประเทศ ทรงประกาศเลิกทาส ปรับปรุงระบบการศาล ต้ังกระทรวงยุติธรรม ปรับปรุงกฎหมาย
ตาง ๆ สง เสรมิ การศึกษาอยางกวางขวางในหมูประชาชนทั่วไป ตั้งกระทรวงธรรมการ ตั้งโรงเรียนฝกหัดครู
สง นกั เรยี นไทยไปศึกษาในยุโรป สรา งการรถไฟ โดยทรงเปดเสนทางเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมา
เมอ่ื วนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2421 สรา งโรงไฟฟาจัดใหมีการเดินรถรางขึ้นในกรุงเทพฯ จัดตั้งการ ไปรษณียโทร
เลข เม่อื พ.ศ. 2421 สรางระบบการประปา ฯลฯ
ดานการตางประเทศ ทรงมีวิสัยทัศนกวางไกลย่ิงนัก ไดทรงนําประเทศไทยใหรอดพนจากการเปน
เมืองข้ึนของชาติตะวันตกไดตลอดรอดฝง โดยดําเนินการผูกสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอํานาจ เพื่อคาน
อํานาจ พระองคไดเสด็จประพาสยุโรป ถึงสองครัง้ ไดเสด็จเยือนประเทศ ฝร่ังเศส รัสเซีย เยอรมนี อังกฤษ
ออสเตรีย ฮังการี เบลเยี่ยม อิตาลี สวีเดน และเดนมารก เม่ือป พ.ศ. 2440 ทรงแตงตั้งราชทูตไปประจํา
ประเทศตางๆ ในป พ.ศ. 2424 ไดแก อิตาลี เยอรมัน เนเธอรแลนด เบลเย่ียม ออสเตรีย ฮังการี เดนมารก
สวีเดน โปรตุเกส นอรเวย และสเปน อังกฤษ ในป พ.ศ. 2425 สหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. 2427 รัสเซียในป
พ.ศ. 2440 และญป่ี นุ ในป พ.ศ. 2442
พระองคท รงปกครองอาณาประชาราษฎร ใหเปน สุขรมเย็นโปรดการเสด็จประพาสดว ยตนเอง เพอ่ื ให
ไดท รงทราบความเปน อยทู ีแ่ ทจ ริงของพสกนกิ ร ทรงสนพระทัยในวิชาความรู และวทิ ยาการแขนงตา ง ๆ อยาง
กวา งขวาง และนาํ มาใชบ ริหารประเทศใหเจริญรดุ หนาอยางรวดเร็ว พระองคจึงไดรับถวายพระราชสมัญญา
นามวา สมเดจ็ พระปยมหาราช
ดานการพระศาสนาทรงทํานุบํารงุ และจดั การใหเหมาะสมเจริญรุงเรอื ง ทรงสถาปนามหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลยั ข้นึ ณ วัดมหาธาตุ และมหามงกุฎราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดบวรนิเวศวิหารเพ่ือใหเปนสถานศึกษา
พระปริยัติธรรม และวิชาการชั้นสูง นอกจากน้ัน ยังทรงสรางวัดเทพศิรินทราวาส และวัดเบญจมบพิตร
ซ่ึงนบั วาเปน สถาปตยกรรมท่งี ดงามย่งิ แหง หนึง่ ของกรงุ เทพฯ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 6) เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันท่ี 1 มกราคม
พ.ศ. 2423 มพี ระนามเดมิ วา สมเดจ็ เจา ฟามหาวชริ าวุธ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
97
เจา อยูหวั และสมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ ไดร บั สถาปนาเปนสมเด็จเจาฟา กรมขุนเทพทวาราวดี
เมื่อพระชนมายุได 8 พรรษา เม่ือพระชนมายุได 11 พรรษา ไดเสด็จไปศึกษาวิชาการที่ประเทศอังกฤษ
ทรงศึกษาในมหาวทิ ยาลัยออกซฟอรด และศกึ ษาวชิ าการทหารบกท่ีโรงเรียนนายรอยแซนดเฮิสต ไดรับสถาปนา
เปน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอื่ ป พ.ศ. 2437
เสด็จกลับประเทศไทยแลว ทรงเขารับราชการในตําแหนง จเรทัพบก และทรงบัญชาการทหารมหาดเล็ก
ดาํ รงพระยศพลเอก
เสด็จขึ้นครองราชยสมบัติ เม่ือวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ไดทรงปรับปรุงดานการศึกษาของไทย
โปรดใหตราพระราชบญั ญัติ ประถมศกึ ษา ใหเ ปน การศกึ ษาภาคบงั คับ ทรงต้งั กระทรวงการทหารเรือ กองเสือปา
และกองลกู เสอื โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ กรมศลิ ปากร โรงไฟฟาหลวงสามเสน คลังออมสิน กรมสถติ พิ ยากรณ
กรมสรรพากร กรมตรวจเงนิ แผนดิน กรมมหาวทิ ยาลัย กรมรถไฟหลวง และเปด เดนิ รถไฟไปเชื่อมกบั มลายู
ตัง้ สถานเสาวภาและกรมรางกฎหมาย ทรงเปลีย่ นการใชรตั นโกสนิ ทรศ ก (ร.ศ.) เปนพทุ ธศักราช (พ.ศ.)
พระองคไดทรงปลูกฝง ความรกั ชาติใหเกิดข้ึนในหมูประชาชาวไทย ทรงเปนศิลปนและสงเสริมงาน
ประพันธเ ปนอยางมาก ทรงเปนผูน าํ ในการประพนั ธว รรณคดีไทย ทั้งท่ีเปนรอยแกวและรอยกรอง ทรงเขียน
หนังสือทางดานประวัตศิ าสตร และดานการทหารไวเปน จาํ นวนมากประมาณถึง 200 เครอ่ื ง พระองคจึงไดรับ
ถวายพระราชสมญั ญานามวา สมเด็จพระมหาธรี ราชเจา ทรงเปน นกั ปราชญท ยี่ ิง่ ใหญพระองคห น่ึงของไทย
การปกครองประเทศไดทรงเจริญรอยตามสมเด็จพระราชบิดา สานตองานที่ยังไมเสร็จสิ้นในรัชสมัย
ของพระองคไ ดเ กิดสงครามโลกครง้ั ที่ 1 โดยมสี มรภูมิอยูในทวีปยุโรป ทรงตัดสินพระทัยประกาศสงครามกับ
เยอรมัน โดยเขารวมกับสัมพันธมิตรไดสงทหารไทยไปรวมรบ ณ ประเทศฝร่ังเศส ผลที่สุดไดเปนฝายชนะ
สงคราม ทาํ ใหไทยไดรับการแกไขสนธิสัญญา ท่ีไทยเสยี เปรยี บตา งประเทศไดเ ปน อนั มาก
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 7) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2436 มีพระนามเดิมวาสมเด็จเจาฟาประชาธิปกศักดิเดชน เปนพระราชโอรส พระองคเล็กของ
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว และสมเดจ็ ศรีพชั รินทราบรมราชนิ นี าถไดร ับสถาปนาเปนกรมขุน-
สุโขทัยธรรมราชา เม่ือพระชนมายุได 12 พรรษา ไดเสด็จไปศึกษาวิชาการทหารบกท่ีประเทศอังกฤษ และ
ฝรั่งเศส สําเรจ็ การศึกษาแลวเสด็จกลบั ประเทศไทย เขา รับราชการทก่ี องพันทหารปนใหญท ี่ 1 รักษาพระองค
ในตําแหนงผูบังคับกองรอย ตอมาไดรับราชการในตําแหนงผูบังคับการโรงเรียนนายรอยทหารบกชั้นปฐม
ปลดั กรมเสนาธิการทหารบก ผูบัญชาการกองพลทหารบกที่ 2 แลว ไดทรงกรมเปน กรมหลวงสุโขทยั ธรรมราชา
เสด็จขึน้ ครองราชยส มบตั ิ เมื่อวันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ในชวงเวลาท่ีเศรษฐกิจของประเทศ
และของโลกกาํ ลังทรดุ หนัก อันเปนผลเนื่องมาจากสงครามโลก ครั้งท่ี 1 ซึ่งพระองคก็ไดทรงแกไขอยางเต็ม
พระกาํ ลังความสามารถจนประเทศไทย ไดรอดพนจากวกิ ฤตกิ ารณน น้ั ได ในรัชสมยั ของพระองค ไทยสามารถ
ตดิ ตอ กบั นานาประเทศทางวิทยุ และโทรเลขไดโ ดยทั่วไปเปน คร้ังแรก ทรงพระราชทานนามหอสมุดแหงชาติ
พิมพพระไตรปฎ กเลมใหม สรางโรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลัย เปดเดนิ รถไฟไปถงึ ชายแดนไทยตดิ ตอ กับเขมร แกไข
ระบบการจัดเกบ็ ภาษาอากรใหม ตงั้ สถานีวิทยกุ ระจายเสียงแหงประเทศไทยประกาศพระราชบัญญัติเงินตรา
และทรงตรากฎหมายอ่ืน ๆ อีกเปนจํานวนมาก สรางสะพานพระปฐมบรมราชานุสรณ (สะพานพระพุทธ-
98
ยอดฟาฯ) วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรไดปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครองตอมา เมื่อวันที่ 2
มีนาคม พ.ศ. 2477พระองคไดตัดสินพระทัยสละราชสมบัติ ตอมาไดเสด็จสวรรคต เมื่อวันท่ี 30 พฤษภาคม
พ.ศ. 2484 ณ ประเทศอังกฤษ
พระราชหตั ถเลขาท่ที รงลาออกจากราชบลั ลงั ก มคี วามตอนหนึ่งวา “ขาพเจามีความเหน็ ใจทจี่ ะสละ
อํานาจอันเปนของขาพเจาอยูเดิมใหแกราษฎรโดยท่ัวไป แตขาพเจาไมยินยอมยกอํานาจทั้งหลายของ
ขา พเจา ใหแ กผูใด คณะใดโดยเฉพาะ เพอ่ื ใชอ าํ นาจโดยสิทธขิ าดและโดยไมฟงเสียงอันแทจริงของประชา
ราษฎร”
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รัชกาลที่ 8) เสด็จ-
พระราชสมภพ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2468 ณ เมืองไฮเดลเบิรก ประเทศเยอรมัน ทรงเปนพระราชโอรส
องคท ส่ี องของสมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรม
ราชชนนี
เมื่อพระชนมายุได 3 เดือน ไดตามเสด็จพระบรมราชชนกนาถและพระราชมารดาไปประทับอยู
ณ ประเทศฝรัง่ เศสและสหรฐั อเมริกา จนพระชนมายุได 3 พรรษา จงึ เสดจ็ กลบั ประเทศไทย เม่อื ป พ.ศ. 2471
หลังเปล่ียนแปลงการปกครอง สมเด็จพระราชชนนีไดนําเสด็จไปประทับอยู ณ เมืองโลซานน ประเทศ
สวติ เซอรแ ลนด เม่อื ป พ.ศ. 2476
เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงสละราชสมบัติ เม่ือวันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477
พระองคไดเสด็จข้ึนครองราชย เมื่อพระชนมายุได 10 พรรษา จึงตองมีคณะผูสําเร็จราชการแผนดินปฏิบัติ
หนาที่แทนพระองค พระเจา วรวงศเธอ กรมหมื่นอนุวรรตนจาตุรงต เปนประธาน ตอมาพระองคเจาอาทิตย
ทพิ อาภา เปนประธาน
พระองคม นี ้ําพระราชหฤทัยเปย มดวยพระเมตตากรุณาในพสกนิกรโปรดการศึกษาการกีฬา การชาง
และการดนตรีไดเสด็จไปศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนดเมื่อสงครามโลกครั้งท่ี 2 สงบ ไดเสด็จนิวัติ
ประเทศไทย เม่ือวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ผูสําเร็จราชการแทนพระองค จึงไดถวายราชกิจเพ่ือให
ทรงบริหารโดยพระราชอาํ นาจ
เมือ่ วนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2489 ไดเ กดิ เหตุการณอันไมคาดฝน พระองคตองอาวุธปนเสด็จสวรรคต
ณ ท่นี ัง่ บรมพิมานในพระบรมมหาราชวงั ยังความเศรา สลด และความอาลัยรักจากพสกนกิ รเปนทย่ี ง่ิ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันที่ 5
ธนั วาคม พ.ศ. 2470 ณ มลรัฐแมซซาชูเซทส ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนพระราชโอรส องคเล็กของสมเด็จ-
พระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อพระชนมายุ
ได 1 พรรษา ไดเสด็จนวิ ตั สูประเทศไทยในป พ.ศ. 2471 ภายหลังจากท่ีสมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวิกรม
พระบรมราชชนกเสดจ็ ทิวงคตแลว ไดเ สดจ็ กลับไปประทบั ทเ่ี มืองโลซานน ประเทศสวิตเซอรแ ลนด และเขา รบั
การศึกษา ณ ท่ีน้ัน เมื่อสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
พระอัฐมรามาธิบดินทรเสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี 13 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ไดเสด็จขึ้นครองราชยสืบแทน
99
เมื่อพระชนมายไุ ด 19 พรรษา โดยมผี ูส าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค แลวทรงเสด็จไปศึกษาตอในวิชานิติศาสตร
ท่ปี ระเทศสวิตเซอรแลนด
พระองคไดเสด็จนิวัติสูประเทศไทยเม่ือ ป พ.ศ. 2493 เพ่ือถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท-
สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรและไดทรงเขาพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับ
สมเด็จพระนางเจา สิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ซง่ึ ขณะนัน้ ดํารงพระยศ เปน ม.ร.ว.สิรกิ ติ ์ิ กติ ยิ ากร พระธิดาของ
พระวรวงศเ ธอกรมหมืน่ จนั ทบรุ สี รุ นาถ และไดป ระกาศพระบรมราชโองการสถาปนาเปน สมเด็จพระบรมราชนิ ี
ไดม พี ระบรมราชาภเิ ษก เฉลิมพระปรมาภไิ ธยวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
มหติ ลาธเิ บศรรามาธบิ ดี จักรีนฤบดินทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร เมอื่ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
ไดเสด็จกลับไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนด เมื่อวันท่ี 5 มิถุนายน พ.ศ. 2493 จนถึงป
พ.ศ. 2494 จงึ เสดจ็ นวิ ตั พิ ระนคร ไดเสด็จออกผนวช ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม เม่ือวันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ.
2499 แลวเสด็จประทับ ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร ระหวางทีท่ รงผนวชสมเด็จพระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ
ทรงเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค จึงไดรับโปรดเกลาฯ ใหสถาปนาเปนสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ
พระบรมราชินีนาถ
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ทรงบาํ เพญ็ พระราชกรณียกิจเปน เอนกประการแผไพศาลไปท่วั ท้งั ในประเทศและตางประเทศ
ทรงเสดจ็ พระราชดําเนินเยือนตางประเทศทั้งในยุโรป เอเชีย และอเมริกา เพื่อเจริญพระราชไมตรี
อยางกวางขวาง ปรากฏพระเกียรติคณุ อยา งทไ่ี มเ คยปรากฎมากอน ดา นในประเทศทรงเสดจ็ เยี่ยมเยยี นราษฎร
ในชนบทท่ีอยูหางไกลเพ่ือรับทราบปญหาตาง ๆ โดยตรงและไดทรงริเริ่มโครงการตามพระราชดําริ
เพ่ือแกป ญหาเหลาน้นั พรอ มท้งั พฒั นาใหด ขี ึ้นเพอ่ื ใหสามารถชว ยตนเองได
พระราชกรณียกิจของพระองค ท้ังในฐานะท่ีทรงเปนพระประมุขของประเทศและในฐานะสวน
พระองคเ ปนไปอยางไมห ยดุ ยั้ง ทรงเต็มเปยมดวยทศพิธราชธรรม ทรงมีพระอัจฉริยภาพในดานตาง ๆ ยากท่ี
จะหาผูเสมอเหมือน ทรงมพี ระราชศรัทธาต้งั ม่นั และแตกฉานในพระศาสนาและทรงถายทอดแกพสกนิกรของ
พระองคในทกุ โอกาส ดงั เราจะไดพบในพระบรมราโชวาททพี่ ระราชทานแกป ระชาชนในโอกาสตาง ๆ
การเปล่ยี นแปลงการปกครอง
ภายหลังการปฏิรูปการปกครองและการปฏิรปู การศึกษาในรัชกาลท่ี 5 พระองคไดมีกระแสความคิด
ท่ีจะใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการ
ปกครองท่ีมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเปนสถาบันหลักที่จะให
ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองมากขึ้นเปนลําดับ จนกระท่ังไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ ร.ศ.130 ซ่ึงมี
ความคิดทีป่ ฏบิ ัติการใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว แตไมทันลงมือกระทําการก็ถูกจับไดเสียกอนเมื่อ พ.ศ.
2454 ในตนรัชกาลที่ 6
อยางไรก็ตาม เสียงเรียกรองใหมกี ารเปลยี่ นแปลงการปกครองก็ยังคงมีออกมาเปนระยะ ๆ ทางหนา
หนงั สอื พิมพ แตยงั ไมผลตอ การเปลีย่ นแปลงใด ๆ มากนัก นอกจากการปรับตัวของรัฐบาลทางดานการเมือง
การปกครองใหท นั สมยั ยิง่ ขึน้ กวา เดิมเทานั้น แตก็ยังไมไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดใน
100
การปกครองประเทศแตประการใด จนกระท่ังในสมัยรัชกาลท่ี 7 ไดมีคณะผูกอการภายใตการนําของ
พ.อ.พระยาพหลพลพยหุ เสนา ซงึ่ ไดกอการเปลยี่ นแปลงการปกครองเปน ผลสําเร็จใน พ.ศ. 2475
ดังนั้นการเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 จึงเปนการเปลย่ี นแปลงทางการเมืองท่ีสําคัญของ
ประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย
สภาพการณโดยท่วั ไปของบานเมอื งกอ นเกดิ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
สังคมไทยกําลังอยูในชวงเวลาของการเปล่ียนแปลงเขาสูความทันสมัยตามแบบตะวันตก
ในทุก ๆ ดาน อันเปนผลสืบเน่ืองมาจากการปฏิรูปแผนดินเขาสูความทันสมัยในรัชกาลท่ี 5 (พ.ศ. 2411 –
2453) ความจริงแลวสังคมไทยเร่ิมปรับตัวใหเขากับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกมาต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี 4
ภายหลังไดทําสนธิสัญญาบาวร่ิงกับอังกฤษใน พ.ศ. 2398 และกับประเทศอ่ืนๆ ในภาคพื้นยุโรปอีกหลาย
ประเทศ และทรงเปดรับประเพณีและวัฒนธรรมของตะวันตก เชน การจางชาวตะวันตกใหเปนครูสอน
ภาษาอังกฤษแกพระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบรมมหาราชวัง การใหขาราชการสวมเสื้อเขาเฝา
การอนุญาตใหชาวตางประเทศเขา เฝา พรอมกบั ขนุ นางขาราชการไทยในงานพระบรมราชาภิเษก เปน ตน
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดทรงดําเนินพระบรมราโชบาย ปลดปลอยไพรใหเปนอิสระและทรงประกาศ
เลกิ ทาสใหเ ปน ไทแกตนเอง พรอ มกันน้นั ยงั ทรงปฏริ ูปการศกึ ษาตามแบบตะวันตก เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับ
การศกึ ษาถงึ ขน้ั อานออกเขยี นไดแ ละคิดเลขเปน ไมว าจะเปน เจานาย บตุ รหลาน ขนุ นาง หรือราษฎรสามญั ชน
ที่พนจากความเปนไพรหรือทาส ถาบุคคลใดมีสติปญญาเฉลียวฉลาดก็จะมีโอกาสเดินทางไปศึกษาตอยัง
ประเทศตะวันตกโดยพระบรมราชานุเคราะหจากผลการปฏิรูปการศึกษา ทําใหคนไทยบางกลุมท่ีไดรับ
การศึกษาตามแบบตะวันตก เริ่มรับเอากระแสความคิดเกี่ยวกับการเมืองสมัยใหม ท่ียึดถือรัฐธรรมนูญเปน
กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากตะวนั ตก และมคี วามปรารถนาท่ีจะเหน็ การเปลยี่ นแปลง
สมัยรชั กาลท่ี 5 ทรงปฏิรปู ประเทศเขา สคู วามทนั สมยั สงั คมไทยก็เรมิ่ กา วเขาสูความมีเสรีในการแสดง
ความคดิ เหน็ มากขึน้ โดยเริ่มเปดโอกาสสอื่ มวลชนเสนอความคดิ เหน็ ตอสาธารณชนไดคอ นขางเสรี ดงั น้นั
จงึ ปรากฏวา ส่อื มวลชนตา ง ๆ เชน น.ส.พ. สยามประเทศ, ตุลวิภาคพจนกิจ, ศริ พิ จนภาค, จนี โนสยามวารศพั ท
ซ่ึงตีพิมพจ าํ หนา ยในรัชกาลท่ี 5 น.ส.พ. บางกอกเมือง ซึ่งพิมพจําหนายในสมัยรัชกาลที่ 6 และน.ส.พ.สยาม
รวี ิว ซงึ่ พมิ พจ ําหนา ยในสมัยรชั กาลท่ี 7 ไดเรียกรองและชี้นําใหมีการเปล่ียนแปลงการปกครองประเทศไปสู
ระบบรฐั สภา โดยมรี ัฐธรรมนูญเปน หลักในการปกครองประเทศอยา งตอเนื่อง
อยา งไรก็ตาม เนือ่ งจากการปลดปลอยไพรและทาสใหเปนอิสระในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดผานพนไปได
เพียง 20 ปเศษ ดังน้ันสภาพสังคมสวนใหญในสมัยรัชกาลที่ 7 กอนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
จึงยังตกอยูภายใตอิทธิพลของวัฒนธรรมในระบบเจาขุนมูลนาย นอกจากนี้คนสวนนอยยังคงมีฐานะสิทธิ
ผลประโยชนตาง ๆ เหนือคนไทยสวนใหญ คนสวนใหญมักมีความเห็นคลอยตามความคิดที่สวนนอย
ซึง่ เปน ชนชนั้ นาํ ของสังคมไทยช้นี าํ ถา จะมคี วามขัดแยงในสงั คมก็มักจะเปนความขัดแยงในทางความคิด และ
ความขดั แยงในเชงิ ผลประโยชนใ นหมูชนช้ันนาํ ของสงั คมทไี่ ดร ับการศกึ ษาจากประเทศตะวันตกมากกวาจะเปน
ความขัดแยงระหวา งชนชน้ั นําของสังคมไทยกบั ราษฎรทว่ั ไป
101
สภาพการณทางการเมืองและการปกครองของไทยกําลังอยูในระยะปรับตัวเขาสูแบบแผนการ
ปกครองของตะวนั ตก เห็นไดจากพระบรมราโชบายของพระมหากษัตริยไทยทุกพระองค ภายหลังท่ีไทยไดมี
การติดตอกับประเทศตะวันตกอยางกวางขวาง นับต้ังแตสมัยรับกาลท่ี 4 – 7 สมัยรัชกาลที่ 4 ยังไมไดทรง
ดําเนินนโยบายปรับปรงุ การปกครองใหเปน แบบตะวันตก แตก ท็ รงมีแนวพระราชดําริโนมเอียงไปในทางเสรี
นยิ ม เชน ประกาศใหเ จา นายและขา ราชการเลอื กตั้งตําแหนงมหาราชครูปุโรหติ และตําแหนง พระมหาราชครู-
มหธิ ร อนั เปน ตาํ แหนงตุลาการทีว่ างลง แทนที่จะทรงแตง ต้งั ผูพิพากษาตามพระราชอํานาจของพระองค และ
เปลี่ยนแปลงวธิ ถี วายนํ้าพิพัฒนสัตยาดวยการที่พระองคทรงเสวยน้ําพิพัฒนสัตยา รวมกับขุนนางขาราชการ
และทรงปฏญิ าณความซอ่ื สัตยข องพระองคต อ ขุนนางขา ราชการท้งั ปวงดว ย
สมัยรชั กาลท่ี 5 ทรงปฏริ ูปการเมอื งการปกครองครง้ั ใหญ เพือ่ ใหก ารปกครองของไทยไดจ ริญกา วหนา
ทัดเทียมกับชาติตะวันตก โดยจัดต้ัง สภาท่ีปรึกษาราชการแผนดิน (Council of State) และสภาท่ีปรึกษา
สว นพระองค (Privy Council) ใน พ.ศ. 2417 เพื่อถวายคาํ ปรกึ ษาเก่ยี วกับการบรหิ ารราชการแผนดินในเรื่อง
ตาง ๆ ท่ีพระองคของคําปรึกษาไป นอกจากนี้พระองคยังทรงปฏิรูปการปกครองที่สําคัญ คือ การจัดต้ัง
กระทรวงแบบใหมจ ํานวน 12 กระทรวงขน้ึ แทนจตุสดมภในสวนกลางและจดั ระบบการปกครองหวั เมืองตาง ๆ
ในรูปมณฑลเทศาภิบาลในภูมิภาค โดยเร่ิมตั้งแต พ.ศ. 2435 เปนตนมา นอกจากน้ีพระองคทรงริเริ่มทดลอง
การจัดการปกครองทองถ่ินในรูปสุขาภิบาล จัดตั้งรัฐมนตรีสภา เพื่อทําหนาท่ีตามกฎหมาย ใน พ.ศ. 2437
ตามแบบอยา งตะวันตก
สมยั รชั กาลท่ี 6 ทรงรเิ ริ่มทดลองการปกครองแบบประชาธปิ ไตยโดยการจัดตัง้ ดสุ ิตธานีเมอื งประชาธิปไตย
ข้ึนในบริเวณพระราชวังดุสิต พ.ศ. 2461 เพื่อทดลองฝกฝนใหบรรดาขาราชการไดทดลองปกครองตนเอง
ในนครดุสิตธานี เหมอื นกับการจัดรปู แบบการปกครองทองถ่ินที่เรียกวา “เทศบาล” นอกจากน้ียังทรงจัดต้ัง
กระทรวงขึ้นมาใหมจากทม่ี อี ยูเดมิ และยุบเลิกกระทรวงบางกระทรวงใหมีความทนั สมยั มากขึ้น โดยทรงจัดตั้ง
มณฑลเพม่ิ ข้นึ และทรงปรับปรงุ การบริหารงานของมณฑลดวยการยบุ รวมมณฑลเปน หนวยราชการท่ีเก่ียวกับ
การปกครองเรียกวา มณฑลภาค เพอ่ื ใหก ารปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลมคี วามคลองตัวมากขนึ้
สมยั รชั กาลท่ี 7 (พ.ศ. 2468 – 2475) ทรงเลง็ เหน็ ความจาํ เปนที่จะตองเปลี่ยนแปลงการปกครองให
ทันสมยั และตอ งเตรียมการใหพรอ มเพิม่ มใิ หเกิดความผดิ พลาดได โดยพระองคไดทรงจัดต้ังอภิรัฐมนตรีสภา
เพอ่ื เปน ที่ปรกึ ษาราชการแผน ดนิ พ.ศ. 2468 และทรงมอบหมายใหอ ภริ ัฐมนตรีสภาวางระเบียบสําหรับจัดต้ัง
สภากรรมการองคมนตรี เพือ่ เปน สภาท่ปี รกึ ษาสว นพระองคอ กี ดว ย
นอกจากน้ีทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีวางรูปแบบการปกครองทองถิ่นในรูปเทศบาลดวยการ
แกไขปรับปรุงสุขาภบิ าลที่มีอยูใหเปนเทศบาล แตไมม โี อกาสไดป ระกาศใช เพราะไดเกิดการเปล่ียนแปลงการ
ปกครองขนึ้ กอน นอกจากนย้ี งั ทรงโปรดเกลาฯ ใหพระยาศรวี ศิ าลวาจาและนายเรยมอนด บี. สตีเวนส ซ่ึงเปน
ท่ปี รกึ ษากระทรวงการตางประเทศชวยกันรา งรัฐธรรมนูญ ตามกระแสพระราชดาํ ริใน พ.ศ.2474 มสี าระสําคัญ
ดงั น้ี
อํานาจนิติบัญญัติจะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทางออม โดยมีสมาชิก 2 ประเภท คือ
มาจากการเลอื กต้ังและการแตงต้งั สวนผูท่ีมีสทิ ธ์สิ มคั รเลอื กต้ังจะตองมีอายุไมต่ํากวา 30 ป มีพื้นฐานความรู
102
อา นออกเขียนได สวนอํานาจบริหารใหพระมหากษัตริยทรงเลือกนายกรัฐมนตรี แตเนื่องจากอภิรัฐมนตรีมี
ความเห็นประชาชนยังไมพรอม ดังน้ันการประกาศใชรัฐธรรมนูญควรระงับไวชั่วคราว จนกระท่ังไดเกิดการ
เปลย่ี นแปลงการปกครองเสยี กอนจงึ มไิ ดม กี ารประกาศใชแ ตอยางใด
สาเหตกุ ารเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475
1. ความเสือ่ มของระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย
การทีค่ ณะนายทหารหนุมภายใตการนาํ ของ ร.อ. ขุนทวยหาญพิทักษ (เหลง็ ศรีจนั ทร) ไดวางแผนยึด
อํานาจการปกครอง เพื่อเปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบที่จํากัด
พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยใหอยูในฐานะประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญเม่ือ พ.ศ. 2454
แตไมป ระสบความสําเร็จเพราะถูกจบั กุมกอนลงมือปฏิบัติงาน แสดงใหเห็นถึงความเสื่อมของระบอบนี้อยาง
เหน็ ไดช ดั ขณะเดยี วกนั ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดมีการวิพากษวิจารณกันอยางกวางขวางเก่ียวกับการใชจายเงิน
งบประมาณทไ่ี มดลุ กับรายรบั ทําใหมีการกลา วโจมตีรฐั บาลวาใชจายฟุมเฟอยเกนิ ไป ครัง้ ตอมาในสมัยรัชกาล
ที่ 7 พระองคก ถ็ ูกโจมตวี า ทรงตกอยูใ ตอทิ ธพิ ลของอภิรฐั มนตรีสภา ซึง่ เปนสภาทปี่ รึกษาทป่ี ระกอบดว ยสมาชิก
ทเ่ี ปนพระบรมวงศานวุ งศชั้นสงู และบรรดาพระราชวงศก ม็ ีบทบาทในการบริหารบา นเมอื งมากเกินไป ควรจะ
ใหบคุ คลอ่ืนทีม่ ีความสามารถเขามีสว นรว มในการบรหิ ารบานเมืองดวย ปรากฎการณด ังกลาวสะทอนใหเห็นถงึ
ความไมพ อใจตอระบอบการปกครองท่มี พี ระมหากษตั ริยอยูเหนือกฎหมาย ซึ่งนับวันจะมปี ฏิกริ ยิ าตอตา นมากขึ้น
2. การไดร ับการศึกษาตามแนวความคิดตะวันตกของบรรดาชนชั้นนาํ ในสังคมไทย
อิทธิพลจากการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลท่ี 5 ทําใหคนไทยสวนหนึ่งท่ีไปศึกษายังประเทศ
ตะวันตก ไดรับอิทธิพลแนวคิดทางการเมืองสมัยใหม และนํากลับมาเผยแพรในประเทศไทย ทําใหคนไทย
บางสวนท่ีไมไ ดไ ปศกึ ษาตอในตา งประเทศรับอทิ ธพิ ลแนวความคิดดงั กลา วดว ย อทิ ธิพลของปฏริ ปู การศึกษาได
สง ผลกระตุนใหเกิดความคิดในการเปล่ียนแปลงการปกครองมากขึ้น นับต้ังแตคณะเจานายและขาราชการ
เสนอคํากราบบังคมทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. 2427 นักหนังสือพิมพอยางเทียนวรรณ
(ต.ว.ส.วณั ณาโภ) ก.ศ.ร.กุหลาบ (ตรุษ ตฤษณานนท) ไดเ รยี กรองใหป กครองบานเมอื งในระบบรัฐสภา เพื่อให
ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองและยังไดกลาววิพากษวิจารณสังคม กระทบกระเทียบชนชั้นสูงที่ทําตัว
ฟงุ เฟอ ซึ่งตัวเทยี นวรรณเองก็ไดกราบบังคมทูลถวายโครงรา งระบบการปกครองท่ีเปนประชาธปิ ไตยแดร ัชกาล
ที่ 5 ตอมาในรชั กาลท่ี 6 กลมุ กบฏ ร.ศ.130 ทวี่ างแผนยดึ อํานาจการเปลยี่ นแปลงการปกครอง ก็เปนบุคคลท่ี
ไดรับการศึกษาแบบตะวันตกแตไ มเ คยไปศกึ ษาในตางประเทศ แตคณะผูกอการเปล่ียนแปลงการครองใน พ.ศ.
2475 เปน คณะบคุ คลท่สี ว นใหญผา นการศึกษามาจากประเทศตะวนั ตกแทบทัง้ สิ้น แสดงใหเห็นถงึ อิทธพิ ลของ
ความคิดในโลกตะวันตกที่มีตอชนช้ันผูนําของไทยเปนอยางย่ิง เม่ือคนเหลานี้เห็นความสําคัญของระบอบ
ประชาธิปไตยทมี่ พี ระมหากษตั รยิ เปน ประมุข การเปลี่ยนแปลงการปกครองจงึ เกิดขนึ้
103
3. ความเคลอ่ื นไหวของบรรดาสอื่ มวลชน
ส่ือมวลชนมีบทบาทในการกระตนุ ใหเ กดิ ความตื่นตัวในการปกครองแบบใหมและปฏเิ สธระบบการ
ปกครองแบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย เชน น.ส.พ.ตุลวิภาคพจนกิจ (พ.ศ. 2443 – 2449) น.ส.พ.ศิริพจนภาค
(พ.ศ. 2451) น.ส.พ.จีนโนสยามวารศพั ท (พ.ศ. 2446 – 2450) น.ส.พ. บางกอกการเมือง (พ.ศ. 2464) น.ส.พ.
สยามรีวิว (พ.ศ. 2430) น.ส.พ. ไทยใหม (พ.ศ. 2474) ตางก็เรียกรองใหมีการปกครองในระบบรัฐสภาที่มี
รัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศ โดยช้ีใหเห็นถึงความดีงามของระบอบประชาธิปไตยท่ีจะเปน
แรงผลักดันใหประชาชาติมีความเจริญกาวหนามากกวาที่เปนอยู ดังเชนท่ีปรากฏเปนตัวอยางในหลาย ๆ
ประเทศท่ีมีการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญ กระแสเรียกรองของสื่อมวลชนในสมัยน้ันไดมีสวนตอการ
สนบั สนนุ ใหก ารดําเนนิ ของคณะผูก อ การในอันทจี่ ะเปลี่ยนแปลงการปกครองบรรลุผลสําเรจ็ ไดเ หมอื นกัน
4. ความขัดแยง ทางความคิดเก่ียวกบั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
รัชกาลที่ 7 ทรงเล็งเห็นความสําคัญของการมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครอง
ประเทศและทรงเต็มพระทยั ทจ่ี ะสละพระราชอาํ นาจมาอยภู ายใตรัฐธรรมนูญเม่ือถึงเวลาที่เหมาะสม แตเม่ือ
พระองคทรงมีกระแสรับส่ังใหพระยาศรีวิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี.สตีเวนส รางรัฐธรรมนูญขึ้นมา
เพ่ือประกาศใช พระองคไดทรงนําเร่ืองนี้ไปปรึกษาอภิรัฐมนตรีสภา แตอภิรัฐมนตรีสภากลับไมเห็นดวย
โดยอางวา ประชาชนยังขาดความพรอ มและเกรงจะเปน ผลเสียมากกวาผลดี ทั้ง ๆ ท่ีรัชกาลที่ 7 ทรงเห็นดวย
กับการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แตเม่ืออภิรัฐมนตรีสภาคัดคาน พระองคจึงมีนํ้าพระทัยเปนประชาธิปไตย
โดยทรงฟงเสยี งทดั ทานจากอภริ ัฐมนตรีสภาสวนใหญ ดังนนั้ รฐั ธรรมนูญจึงยังไมมีโอกาสไดรับการประกาศใช
เปน ผลใหคณะผกู อการชิงลงมือทาํ การเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ในท่ีสดุ
5. สถานการณค ลงั ของประเทศและการแกปญหา
การคลงั ของประเทศเรมิ่ ประสบปญหามาตัง้ แตสมัยรัชกาลท่ี 6 เพราะการผลิตขาวประสบความ
ลมเหลว เน่ืองจากเกิดภาวะนํ้าทวมและฝนแลงติดตอกันใน พ.ศ.2460 และ พ.ศ. 2462 ซึ่งกอใหเกิดผล
เสียหายตอการผลิตขา วรนุ แรง ภายในประเทศกข็ าดแคลนขา วทีจ่ ะใชใ นการบริโภค และไมสามารถสงขาวไป
ขายยังตางประเทศได ทําใหรัฐขาดรายไดเปนจํานวนมาก รัฐบาลจึงตองจัดสรรเงินงบประมาณชวยเหลือ
ชาวนา ขาราชการ และผูประสบกับภาวะคาครองชีพที่สูงขึ้น มีทั้งรายจายอ่ืน ๆ เพ่ิมขึ้นจนเกินงบประมาณ
รายได ซ่ึงใน พ.ศ. 2466 งบประมาณขาดดุลถงึ 18 ลา นบาท นอกจากนีร้ ฐั บาลไดน ําเอาเงินคงคลงั ทเี่ ก็บสะสม
ไวออกมาใชจายจนหมดสิ้น ในขณะที่งบประมาณรายไดต่ํา รัชกาลที่ 6 ทรงแกปญหาดวยการกูเงินจาก
ตา งประเทศ เพือ่ ใหม เี งนิ เพียงพอกับงบประมาณรายจาย ทําใหเกิดเสียงวิพากษวิจารณวารัฐบาลใชจายเงิน
งบประมาณอยางไมป ระหยดั ในขณะที่เศรษฐกจิ ของประเทศกําลังคบั ขัน
ตอมาสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายของรัฐบาลลดจํานวนขาราชการใน
กระทรวงตาง ๆ ใหนอยลง และทรงยินยอมตัดทอนงบประมาณรายจายสวนพระองคใหนอยลง เมื่อพ.ศ.
2469 ทําใหร ัฐบาลมีรายไดเพมิ่ ขน้ึ ปละ 3 ลานบาท แตเน่อื งจากเศรษฐกจิ ของโลกเร่มิ ตกต่ํามาเปน ลาํ ดับตงั้ แต
พ.ศ. 2472 ทาํ ใหมผี ลกระทบตอประเทศไทยอยา งไมม ีทางหลีกเลย่ี ง รัฐบาลตองตดั ทอนรายจา ยอยางเขมงวด
104
ทส่ี ดุ รวมท้งั ปลดขาราชการออกจากตาํ แหนง เปน อนั มาก จดั การยบุ มณฑลตา ง ๆ ท่ัวประเทศ งดจา ยเบย้ี เลย้ี ง
และเบย้ี กนั ดารของขาราชการ รวมทั้งการประกาศใหเงินตราของไทยออกจากมาตรฐานทองคํา
พ.ศ. 2475 รัฐบาลไดประกาศเพิ่มภาษีราษฎรโดยเฉพาะการเก็บภาษีเงินเดือนจากขาราชการ
แตมาตรการดงั กลาวก็ไมส ามารถจะกอบกูส ถานการณค ลังของประเทศไดก ระเต้อื งข้ึนได จากปญ หาเศรษฐกิจ
การคลังที่รัฐบาลไมสามารถแกไขใหมีสภาพเปนปกติได ทําใหคณะผูกอการใชเปนขออางในการโจมตี
ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงานของรัฐบาล จนเปนเง่อื นไขใหคณะผกู อ การดาํ เนินการเปล่ียนแปลงการปกครอง
เปน ผลสําเรจ็
กิจกรรม เรอ่ื งท่ี 3 ประวตั ิศาสตรช าติไทย
กจิ กรรมที่ 8 ใหผูเรียนแบง กลุม 4 กลุม แตล ะกลุมศกึ ษาคน ควา และทํารายงานสง พรอมกบั นําเสนอ
โดยมหี วั เร่ือง ดงั น้ี
กลมุ ที่ 1 ประวตั คิ วามเปน มาของชาตไิ ทย ตง้ั แตส มยั โบราณจนถงึ กรงุ ธนบุรี
กลมุ ท่ี 2 ประวตั คิ วามเปนมาของกรงุ รตั นโกสนิ ทร
กลมุ ที่ 3 การเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475
กลมุ ท่ี 4 ใหวเิ คราะหส ถานการณป จ จุบนั ของกรงุ เทพมหานครฯ วา แนวโนม
ประเทศไทยจะยา ยเมอื งหลวงไปยงั แหง ใหม หรอื ไม เพราะเหตุใด
เร่อื งท่ี 4 บุคคลสาํ คญั ของไทยและของโลกในดา นประวัติศาสตร
จากการศกึ ษาประวัตศิ าสตรไทยและของโลกทาํ ใหเราไดทราบเร่ืองราวและผลงานท่ีดํารงความเปน
เอกราช มีวัฒนธรรมดา นตาง ๆ ที่เปน เอกลักษณ และทีส่ รา งคุณคา ประโยชนส ง่ิ ท่ีดงี ามใหแกม วลมนษุ ย ฉะนนั้
อนชุ นรุน หลงั จะตอ งเอาใจใสดแู ลรกั ษามรดกตาง ๆ เหลา นี้เพอื่ ถายทอดสูคนรุนหลังตอไป
บุคคลสําคญั ของไทยและของโลก
1. สมยั กรุงสุโขทัย
1.1 พอขุนรามคาํ แหงมหาราช
พอ ขนุ รามคําแหงมหาราช เปนพระราชโอรสของพอขุนศรีอินทราทิตย (บางกลางทาว) กับนาง
เสอื ง มีพระนามเดมิ วา พระราม เมอ่ื พระชนมายุ 19 พรรษา ไดตามเสด็จพระบิดาไปในการสงครามระหวาง
สุโขทยั กบั เมอื งฉอด ทรงชว ยพระบิดาทํายุทธหัตถชี นะขนุ สามชน เจา เมอื งฉอด พระบดิ าจึงเฉลิมพระนาม
ใหเ ปน “พระรามคาํ แหง”
พระราชกรณียกิจท่สี าํ คญั
1. ทรงขยายอาณาเขตออกไปกวางขวางกวา รชั สมยั ใด ๆ และสรางความสัมพันธอันดีกับรัฐใกลเคียง
เชน พญาเมง็ รายแหง อาณาจักรลานนา พญางาํ เมืองแหงแควน พะเยา พระเจาฟาร่วั แหงอาณาจกั รมอญ
105
2. ทรงประดิษฐตวั อักษรไทยใน พ.ศ. 1826
3. ทรงสง เสริมการคา ทงั้ การคาภายในและการคาภายนอก เชน ใหง ดเวนการเก็บจงั กอบหรอื ภาษดี าน
4. ทรงบํารงุ ศาสนา เชน ใหน ิมนตพ ระสงฆนกิ ายเถรวาทแบบลังกาวงศจากนครศรีธรรมราชมาเปน
พระสังฆราชและริเรม่ิ การนิมนตพ ระสงฆมาแสดงธรรมในวนั พระ
5. ทรงดแู ลทุกขส ุขของราษฎรอยา งใกลชิด เชน ใหผูเดือดรอนมาส่ันกระด่ิง ถวายฎีกาไดใหทายาท
มีสิทธไิ ดร ับมรดกจากพอ แมท่เี สยี ชีวติ ไป เปนตน
1.2 พระมหาธรรมราชาท่ี 1
พญาลิไท หรือ พระยาลิไท หรือ พระศรีสุริยพงศรามมหาธรรม-ราชาธิราช หรือพระมหาธรรม
ราชาท่ี 1 ทรงเปนพระราชโอรสของพระยาเลอไทและพระราชนัดดา (หลานปู) ของพอขุนรามคําแหง
ครองราชย พ.ศ. 1890 แตไมทราบปส้ินสุดรัชสมัยท่ีแนนอน สันนิษฐานวาอยูระหวาง พ.ศ. 1911 – 1966
พระมหาธรรมราชาที่ 1 ทรงเปนแบบฉบับของกษัตริยในคติธรรมราชา ทรงปกครองบานเมืองและอาณา
ประชาราษฎรดวยทศพิธราชธรรม ทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองจนสุโขทัยกลายเปน
ศูนยก ลางของพระพุทธศาสนาและทรงปฏิบัติพระองคช ักนําชนทง้ั หลายใหพนทกุ ข หลักฐานสําคัญอีกชิ้นหนึ่ง
ท่ีแสดงวาพระองคมีความรูแตกฉานในพระไตรปฎกเปนอยางดี ไดแก วรรณกรรมเร่ือง ไตรภูมิพระรวง
วรรณคดชี ้ินแรกของประเทศไทย เมือ่ ป พ.ศ. 1888 ท่ีทรงนิพนธขึ้นต้ังแตกอนเสวยราชยหลังจากทรงเปน
รชั ทายาทครองเมืองศรีสชั นาลัยอยู 8 ป จึงเสดจ็ มาครองสโุ ขทัยเม่ือป พ.ศ. 1890 โดยตองใชกําลังทหารเขา มา
ยึดอํานาจเพราะที่สุโขทัย หลังส้ินรัชกาลพอขุนงัวนําถมแลวเกิดการกบฏการสืบราชบัลลังกไมเปนไปตาม
ครรลองครองธรรม
พระราชกรณียกจิ ทสี่ าํ คัญ
1. การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาศูนยรวมจิตใจของคนในชาติ เพราะสุโขทัยหลังรัชสมัยพอขุน
รามคําแหงมหาราชแลว บานเมืองแตกแยกแควนหลายแควนในราชอาณาจักรแยกตัวออกหางไป ไมอยูใน
บังคบั บญั ชาสุโขทัยตอ ไป
2. พญาลิไททรงคิดจะรวบรวมสุโขทัยใหกลับคืนดังเดิม แตก็ทรงทําไมสําเร็จ นโยบายการปกครอง
ทีใ่ ชศาสนาเปนหลกั รวมความเปนปกแผนจึงเปน นโยบายหลักในรชั สมยั นี้
3. ทรงสรางเจดียท น่ี ครชมุ (เมอื งกาํ แพงเพชร) สรา งพระพทุ ธชนิ ราชท่ีพิษณโุ ลก
ทรงออกผนวช เมอื พ.ศ. 1905 การท่ีทรงออกผนวช นับวาทําความม่ันคงใหพุทธศาสนามากข้ึน
ดงั กลา วแลว วา หลงั รชั สมยั พอ ขุนรามคาํ แหงมหาราชแลว บานเมืองแตกแยกวงการสงฆเองก็แตกแยก แตละ
สํานกั แตล ะเมืองกป็ ฏบิ ตั ิแตกตา งกนั ออกไป เมื่อผูนําทรงมีศรัทธาแรงกลาถึงข้ันออกบวช พสกนิกรทั้งหลาย
ก็คลอ ยตามหนั มาเลือ่ มใสตามแบบอยางพระองค กิตติศัพทของพระพุทธศาสนาในสุโขทัยจึงเล่ืองลือไปไกล
พระสงฆช้ันผูใหญหลายรูปไดออกไปเผยแพรธรรมใสแ ควนตาง ๆ เชน อโยธยา หลวงพระบาง เมืองนาน
พระเจากอื นา แหง ลา นนาไทย ไดน ิมนตพระสมณะเถระไปจากสโุ ขทยั เพอ่ื เผยแพรธ รรมในเมอื งเชียงใหม
106
2. สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา
2.1 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เปน พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมราชาธิบดีที่ 2 (เจา สามพระยา)
กบั พระราชธดิ าของพระมหาธรรมราชาท่ี 2 แหงสุโขทัย พระองคจงึ เปน เชื้อสายราชวงศส ุพรรณบรุ แี ละ
ราชวงศพระรว ง
พระรว ง ทรงเปนพระมหากษตั รยิ ทย่ี ่งิ ใหญพระองคห นึง่ ของอยุธยา ขึ้นเสวยราชยใน พ.ศ. 1991
เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2031 ทรงอยูใ นราชสมบตั ิ 40 ป นบั วานานทีส่ ุด
พระราชกรณียกจิ ทส่ี าํ คัญ
1. การรวมอาณาจักรสุโขทัยเขากับอยุธยา เม่ือสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นเสวยราชยใน พ.ศ.
1991 นัน้ ทางสุโขทัยไมม ีพระมหาธรรมราชาปกครองแลว คงมแี ตพระยายุทธิษเฐียร พระโอรสของพระมหา
ธรรมราชาท่ี 4 ไดร ับแตง ตั้งจากอยธุ ยาใหไ ปปกครองเมืองพิษณุโลก ถึง พ.ศ. 1994 พระยายุทธิษเฐียรไปเขา
กับพระเจาตโิ ลกราชแหงลานนา พระราชมารดาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดปกครองเมืองพิษณุโลก
ตอมาจนสิ้นพระชนมเม่ือ พ.ศ. 2006 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดเสด็จไปประทับท่ีพิษณุโลกและถือวา
อาณาจักรสโุ ขทัยถกู รวมเขากับอาณาจกั รอยุธยานบั ตงั้ แตน ั้นเปนตนมา
2.2 สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 2
สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ 2 เปน พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถครองราชย พ.ศ. 2034
ถึง พ.ศ. 2072
ใน พ.ศ. 2054 โปรตเุ กสไดเ ขามาติดตอกบั กรุงศรีอยุธยา นบั เปนชาวตะวันตกชาติแรกที่เขามาเจริญ
สัมพันธไมตรีกับไทย ไทยจึงเริ่มเรียนรูศิลปวิทยาของชาวตะวันตก โดยเฉพาะดานการทหาร ทําใหสมเด็จ-
พระรามาธบิ ดีท่ี 2 ทรงพระราชนิพนธตาํ ราพิชัย-สงครามของไทยไดเ ปน คร้งั แรก นอกจากนีท้ รงใหท ําสารบญั ชี
คอื การตรวจสอบจัดทําบัญชไี พรพ ลท้งั ราชอาณาจักร นบั เปนการสาํ รวจสํามะโนครัวครง้ั แรก โดยทรงตั้งกรม
สุรสั วดีใหม หี นา ที่สาํ รวจและคุมบัญชไี พรพ ลทางดานศาสนา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสรางวัดพระศรี-
สรรเพชญไวในเขตพระราชฐาน และใหห ลอ พระศรสี รรเพชญ สงู 8 วา หมุ ทองคํา ไวในพระมหาวิหารของวัด
ดวย ในรชั สมยั น้ีอยุธยาและลานนายังเปนคูสงครามกันเชนเดิม เน่ืองจากกษัตริยลานนา คือ พระเมืองแกว
(ครองราชย พ.ศ. 2038 – 2068) พยายามขยายอาณาเขตลงมาทางใต จนถงึ พ.ศ. 2065 มีการตกลงเปนไมตรี
กัน สงครามจงึ ส้นิ สุดลง
ทางดานศาสนา
สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 2 ทรงสรางวดั พระศรีสรรเพชญไวใ นเขตพระราชฐานและใหหลอ พระศรสี รรเพชญ
สงู 8 วา หุมทองคํา ไวใ นพระมหาวหิ ารของวัดดว ย ในรชั สมัยนีอ้ ยุธยาและลา นนายังเปน คสู งครามกันเชนเดิม
เน่ืองจากกษัตริยลานนา คือ พระเมืองแกว (ครองราชย พ.ศ. 2038 - 2068) พยายามขยายอาณาเขตลงมา
ทางใต จนถงึ พ.ศ. 2065 มีการตกลงเปนไมตรีกนั สงครามจงึ สิ้นสดุ ลง
107
2.3 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปน โอรสของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในราชวงศสโุ ขทัยกับพระวิสุทธิ-
กษัตริย พระราชธดิ าของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2098 ที่เมืองพิษณุโลกเมื่อพระชนมายุ
ได 9 พรรษา ทรงถกู สง ไปเปน ตัวประกันทีก่ รงุ หงสาวดี เพราะพมายึดเมอื งพษิ ณุโลกได ทรงไดร บั การเลยี้ งดใู น
ฐานะพระราชบุตรธรรมเปนเวลา 7 ป จน พ.ศ. 2112 กรงุ ศรอี ยธุ ยาเสียแกพมา พระมหาธรรมราชาไดรับการ
สถาปนาขน้ึ เปนกษัตริยของกรุงศรีอยุธยาในฐานะเมืองขึ้นของกรุงหงสาวดีและอนุญาตใหพระนเรศวรกลับ
กรุงศรีอยุธยา และไดรับการสถาปนาใหเปนเจาเมืองพิษณุโลกและมีตําแหนงอุปราช ระหวางน้ันทรงทํา
สงครามกับเขมรและพมา เพอื่ ปอ งกนั อยุธยา พระเจา หงสาวดเี หน็ ดังนี้จงึ คิดกาํ จัดพระนเรศวร แตพ ระองคทรง
ทราบจึงทรงประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง รวมเวลาที่กรุงศรีอยุธยาตกอยูภายใตการปกครองของพมา
เปนเวลา 15 ป หลังจากประกาศอิสรภาพก็ทรงทําสงครามกับพมาหลายคร้ัง และไดกวาดตอนผูคนจาก
หัวเมืองฝายเหนือมาไวเปนกําลังไดมาก ตอมาใน พ.ศ. 2133 สมเด็จพระธรรมราชาสวรรคต พระนเรศวร
จงึ เสด็จขึน้ ครองราชยแ ละทรงสถาปนาพระเอกาทศรถพระอนุชาขึ้นเปนพระมหาอุปราช พระราชภารกิจของ
พระองค ไดแก การทําศึกสงคราม โดยเฉพาะสงครามคร้ังสําคัญ คือ สงครามยุทธหัตถี ที่ทรงรบกับพมา
ทตี่ าํ บลหนองสาหราย แมแ ตฝายแพก ย็ ังไดร ับการยกยอ งวาเปน นกั รบแท หลงั จากน้ันตลอดระยะเวลา 150 ป
กรงุ ศรอี ยธุ ยาไมถูกรกุ รานจากพมาอีก สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงขยายอาณาเขตออกไปอยางกวางขวาง
ครอบคลุมทั้งลานนา ลานชาง ไทยใหญ และกัมพูชา รวมถึงพมา ครั้งสุดทาย คือ การเดินทัพไปตีเมือง
อังวะ ซ่งึ พระองคประชวร และสวรรคตท่ีเมอื งหาง ใน พ.ศ. 2148 พระชนมายุได 50 พรรษา เสวยราชสมบัติ
ได 15 ป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเปนวีรกษัตรยิ ท่ไี ดร ับการจารึกไวในประวัติศาสตรในฐานะผูกอบกู
เอกราชใหแ กก รงุ ศรีอยุธยา ประชาชนชาวไทยจึงยกยองพระองคใ หเปน มหาราช พระองคหน่ึง
พระราชกรณียกิจท่สี ําคญั
1. การลดสว ยและงดเกบ็ ภาษอี ากรจากราษฎรเปน เวลา 3 ปเ ศษ
2. การประกาศใชกฎหมายพระราชกาํ หนดและกฎหมายเพิม่ เตมิ ลักษณะรบั ฟอ ง
3. การสงเสริมงานดา นวรรณกรรม หนังสือที่แตงในสมัยนี้ เชน สมุทรโฆษคําฉันท โคลงทศรถสอน
พระราม โคลงพาลี-สอนนอง โครงราชสวัสด์ิ เพลงพยากรณกรุงเกา เพลงยาวบางบท รวมถึงวรรณกรรมชิ้น
สําคัญ คือ โครงเฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระนารายณนบั เปน ยุคทองแหงวรรณกรรม ของไทยยคุ หน่ึง
4. การทาํ ศกึ สงครามกบั เชยี งใหมแ ละพมา พ.ศ. 2203 และไดอัญเชิญพระพุทธสหิ งิ ค ลงมาอยุธยาดว ย
5. ดา นความสัมพันธก บั ตา งประเทศน้นั เจรญิ รุง เรืองมาท้ังประเทศตะวันออก เชน จีน อินเดีย และ
ประเทศตะวนั ตกที่สาํ คัญ ไดแ ก โปรตเุ กส ฮอลนั ดา อังกฤษ และฝร่ังเศส ท้ังดานการเชื่อมสัมพันธไมตรีและ
การปองกันการคุมคามจากชาติตาง ๆ เหลา นีจ้ ากพระราชกรณียกจิ ตาง ๆ ดังกลาว จงึ ทรงไดร บั การยกยองวา
ทรงเปนมหาราชพระองคหนึ่ง อีกทั้งในรัชสมัยของพระองคยังไดรับการยกยองวาเปนบุคคลสําคัญดาน
ศลิ ปวัฒนธรรมยุคหนึ่งดว ย สมเด็จพระนารายณมหาราชเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2231 ที่เมืองลพบุรี ราชธานี
ทส่ี องทพ่ี ระองคโ ปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึน
108
3. สมัยกรุงธนบรุ ี
สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช มนี ามเดิมวา สนิ ประสตู ิเมื่อวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2277 ในรัชสมัย
สมเด็จพระเจา อยูหวั บรมโกศ เปน บตุ รของนายไหฮอง และนางนกเอ้ียง เจา พระยาจกั รรี บั ไปเปนบตุ รบุญธรรม
ตอมาเขารับราชการจนไดตําแหนงหลวงยกกระบัตรเมืองตาก และเปนเจาเมืองตากคร้ันเม่ือพมาลอมกรุง
ใน พ.ศ. 2308 พระยาตากถูกเรียกตัวเขาปองกันพระนครหลวง แตเกิดทอใจวาหากสูกับพมาที่อยุธยาตอง
เสียชีวติ โดยเปลาประโยชนเปนแน จึงพาทัพตีฝาหนีไปต้ังตัวที่จันทบูร(จันทรบุรี) พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ.
2310 กรุงศรอี ยธุ ยา กเ็ สียแกพ มา แตหลังจากน้ัน 7 เดือน พระยาตากกไ็ ดยกทัพมาขับไลพ มาออกจากกรุงศรี-
อยธุ ยา ไดท งั้ หมด แตเหน็ วากรงุ ศรอี ยธุ ยาเสียหายมาก จงึ สถาปนากรงุ ธนบรุ ีเปน เมอื งหลวง และประกอบพิธี
บรมราชาภิเษกขึน้ ครองราชยใ น พ.ศ. 2310 ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 แตคนทั่วไปนิยมออก
พระนามวา สมเด็จพระเจาตากสิน พรอมท้ังพระราชทานนามเมืองวา กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร เหตุที่เลือก
ธนบรุ ีเปนเมอื งหลวง เนื่องจากทรงเหน็ วา ธนบุรีเปน เมืองเล็กปองกันรักษางายอยูใกลปากอาวสะดวกแกการ
ติดตอ คา ขายกบั ตา งชาติ และการลาํ เลยี งอาวุธ มีเสน ทางคมนาคมสะดวก โดยเฉพาะทางเรือมีแมน้ําค่ันกลาง
เชน เดยี วกบั พษิ ณุโลกและสุพรรณบรุ ี เพื่อจะไดใชกองทัพเรือสนับสนนุ การรบ และต้งั อยูไมไกลศูนยกลางเดิม
มากนกั เปนแหลง รวมขวญั และกาํ ลังใจของผูคน โดยอาศัยมีผนู าํ ทเ่ี ขม แขง็
พระราชกรณยี กิจท่ีสาํ คญั ที่สดุ
การรวบรวมบรรดาหัวเมืองตาง ๆ เขา อยภู ายใตการปกครองเดียวกนั เนอ่ื งจากมคี นพยายามต้งั ตวั ข้ึน
เปนผูนําในทองถ่ินตาง ๆ มากมาย เชน ชุมนุมเจาเมืองพิษณุโลก ชุมนุมเจาเมืองพิมาย ชุมนุมเจาเมือง
นครศรธี รรมราช เปน ตน ตลอดรัชกาลมีศกึ สงครามเกดิ ขึน้ มากมาย ไดแก ศึกพมา ทบ่ี างกงุ ศึกเมืองเขมร
ศึกเมืองเชียงใหม ศกึ เมอื งพชิ ยั ศกึ บางแกว ศึกอะแซหวุนกี้ ศึกจําปาศกั ด์ิ ศกึ เวยี งจนั ทน ซึ่งพระเจากรุงธนบุรี
ไดร ับชยั ชนะในการศึกษามาโดยตลอด ในสมยั กรงุ ธนบรุ ีตอนปลาย
4. สมยั กรุงรตั นโกสินทร
4.1 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก
ในรชั สมัยสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวบรมโกศ เมอ่ื วนั ท่ี 20 มนี าคม พ.ศ. 2279 พระบดิ ามพี ระนามเดิมวา
ทองดี พระมารดาช่ือ หยก
เมอ่ื ทรงมพี ระชนั ษา 21 พรรษา ทรงผนวชเปน พระภิกษุ 3 เดอื น เมอื่ ลาสกิ ขากท็ รงเขารบั ราชการ
ในแผน ดินสมเดจ็ พระเจาอทุ มุ พร ครน้ั ถงึ แผน ดนิ สมเดจ็ พระเจา เอกทศั ทรงไดร ับตาํ แหนง เปนหลวงยกกระบตั ร
ประจาํ เมืองราชบุรี พระองคทรงมีความชํานาญในการรบอยางยิ่ง จึงไดรับพระราชทานปูนบําเหน็จความดี
ความชอบใหเ ลอื่ นเปน พระราชวรินทร พระยาอภัยรณฤทธ์ิ พระยายมราชวา ทส่ี มุหนายก เจาพระยาจักรี และ
ในที่สดุ ไดเลอ่ื นเปนเจา พระยามหากษัตริยศ ึก มเี ครอื่ งยศอยาง เจาตางกรม เมอื่ ทรงตไี ดเวียงจนั ทร พระองคไ ด
109
อญั เชญิ พระพุทธมหามณรี ัตนปฎมิ ากร (พระแกวมรกต) จากเมืองเวียงจันทนมายังกรุงธนบุรีดวย ตอมาเกิด
เหตุจลาจล ขาราชการและประชาชนจึงอญั เชญิ เปน พระมหากษัตริยแทนสมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช
พระราชกรณียกิจทีส่ ําคญั
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชทรงเปน ทงั้ นกั ปกครองและนกั การทหารทยี่ อดเยี่ยม
ทรงแตง ตงั้ ใหเ จา นายท่เี คยผา นราชการทัพศึกมาทําหนา ท่ชี ว ยในการปกครอง บานเมอื งโปรดเกลาฯ
1. ใหชําระกฎหมายใหสอดคลอ งกับยคุ สมัยของบานเมอื ง คอื กฎหมายตราสามดวง
2. รวมถึงการชาํ ระพระพทุ ธศาสนาใหบรสิ ุทธอ์ิ นั เปนเครื่องสง เสรมิ ความมั่นคงของกรุงรัตนโกสินทร
3. นอกจากนพ้ี ระองคย งั คงทรงสงเสรมิ วฒั นธรรมของชาติ ทั้งดานวรรณกรรมท่ีทรงแสดงพระปรีชา
สามารถในการประพนั ธ โดยพระราชนิพนธ บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิ บทละครเร่ืองอุณรุท บทละเครื่อง
อิเหนา บทละครเรื่องดาหลัง เพลงยาวรบพมาที่ทาดินแดง นอกจากดานวรรณกรรมแลว พระบาทสมเด็จ-
พระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชยงั ทรงสง เสริมศลิ ปะดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม และนาฏกรรม
4. ภายหลังที่ครองกรุงรัตนโกสินทรเพียง 3 ป ไดเกิดศึกพมายกทัพมาตีเมืองไทย พระองคทรงจัด
กองทัพตอสูจนทัพพมาแตกพาย ยังความเปนเอกราชใหกับแผนดินไทยมาจนทุกวันนี้ พระบาทสมเด็จ-
พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชทรงเปนพระมหากษตั ริยทท่ี รงมพี ระมหากรณุ าธิคุณอยางลน พน ตอ พสกนิกร
ชาวไทย เปน มหาราชอีกพระองคหนึ่งในประวัติศาสตรไทย และทรงเปนปฐมบรมกษัตริยแหงราชจักรีวงศ
ท่ปี กครองบานเมืองใหเ กิดความสงบสขุ จวบจนปจ จุบนั
4.2 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูห ัว มพี ระนามเดมิ วา สมเดจ็ พระเจา ลกู ยาเธอเจา ฟามงกฎุ
เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลานภาลยั รัชกาลท่ี 2 กับกรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบ
รมราชนิ ี ทรงพระราชสมภาพเมอื่ วนั ที่ 17 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 ในรชั กาลพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ า-
โลกมหาราชเม่อื พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลานภาลยั จะเสด็จสวรรคตนัน้ พระองคม ไิ ดตรัสมอบราชสมบตั ิ
ใหแ กเจา นายพระองคใด ทปี่ ระชมุ พระบรมวงศานวุ งศและขนุ นางผใู หญจ งึ ปรึกษายกราชสมบัติใหแกพระเจา
ลูกยาเธอกรมหมืน่ เจษฎาบดินทร ฝา ยเจามงกฎุ ซงึ่ ทรงผนวชตามราชประเพณกี อนพระราชบิดาสวรรค ไมก ่ีวัน
จงึ ไดดํารงอยูในสมณเพศตอไปถึง 26 พรรษา ทําใหพระองคมีเวลาทรงศึกษาวิชาการตาง ๆ อยางมากมาย
โดยเฉพาะภาษาตางประเทศ เปนเหตุใหท รงทราบเหตกุ ารณโลกภายนอกอยา งกระจางแจง ทั้งยังไดเ สดจ็ ธดุ งค
จารกิ ไปนมสั การปชู นียสถานตามหัวเมืองหางไกล ทท่ี าํ ใหท รงทราบสภาพความเปนอยขู องราษฎรเปนอยางดี
110
พระราชภารกจิ ท่สี ําคญั
1. การทาํ สนธสิ ญั ญากับอังกฤษ เพื่อแลกกบั เอกราชของประเทศ ยอมใหต้ังสถานกงสุลมีสิทธิสภาพ
นอกราชอาณาเขต ยอมเลกิ ระบบการคาผูกขาดเปน การคาเสรี เกบ็ ภาษีขาเขาในอตั รารอ ยชักสาม
2. ทรงปรบั ปรงุ การรักษาความม่นั คงของประเทศ มีการต้งั ขาหลวงปกปนพระราชอาณาเขตชายแดน
ดานตะวันตกรวมกับอังกฤษ ทรงจางผูเช่ียวชาญชาวยุโรปมาสํารวจทําแผนที่พระราชอาณาเขตชายแดน
ดานตะวันออก จางนายทหารยุโรปมาฝกสอนวิชาทหารแบบใหม ทรงใหตอเรือกลไฟขึ้นใชหลายลําและ
ผลจากการทําสัญญากบั องั กฤษทําใหเศรษฐกิจเจรญิ รงุ เรอื งมาก
3. พระองคจึงขยายพระนครออกไปทางทิศตะวันออก ไดมีการขุดคลองและสรางถนนข้ึนมากมาย
เชน คลองผดุงกรุงเกษม คลองภาษเี จรญิ คลองดําเนนิ สะดวก ถนนเจรญิ กรงุ ถนนบาํ รุงเมือง ถนนเฟอ งนคร
4. ไดเกิดกจิ การแบบตะวันตกขน้ึ หลายอยา ง เชน ใชร ถมา เดนิ ทาง มตี กึ แบบฝร่งั มีโรงสีไฟ โรงเลื่อย
จกั ร เปน ตน นอกจากน้ียังมีการรับชาวตางประเทศเขามารับราชการ ออกหนังสือราชกิจจานุเบกษา ต้ังโรง
กษาปณ ฯลฯ
5. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดพระราชทานเสรีภาพในการนับถือศาสนา เพราะทรง
เห็นวาไมมีผลตอ กจิ การแผนดิน
6. พระองคไดท รงปญ ญตั ิกฎหมายข้นึ เกือบ 500 ฉบับ ซึ่งเปนกฎหมายทเี่ ตม็ ไปดว ยมนุษยธรรม
7. พระองคทรงเปนนักวิทยาศาสตร ทรงยอมรับวิชาการทางตะวันตกมาใช เชน การถายรูป
การกอ สราง และงานเครื่องจักร เปนตน ท้ังยังทรงมีพระปรีชาสามารถในดานดาราศาสตร คือ ทรงคํานวณ
เวลาเกดิ สุรยิ ุปราคาหมดดวงในประเทศไทย ที่ตําบลหวากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ ไดวาจะเกิดข้ึนวันท่ี
18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 เวลา 10.32 นาฬิกา เวลาดวงอาทิตยมืดเต็มดวง คือ 6 นาที 46 วินาที และ
เหตุการณไ ดเกิดขน้ึ จรงิ ตามที่ทรงคาํ นวณไวท ุกประการ
ในการเสดจ็ ไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาครั้งนั้นทําใหพระองคประชวรดวยไขจับสั่นอยางแรง และ
เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411 สิรพิ ระชนมายไุ ด 64 พรรษา รวมเวลาครองราชยได 17 ปเ ศษ
4.3 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูห วั เปนพระราชโอรสในรชั กาลท่ี 4 และสมเดจ็ พระเทพศิริน-
ทราบรมราชินี พระราชสมภพเม่อื วันท่ี 20 กันยายน พ.ศ. 2396 มีพระนามเดิมวา สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ-
เจาฟาจฬุ าลงกรณ ทรงไดรับการศกึ ษาข้นั ตน ในพระบรมมหาราชวังเมอื่ พระชนมายุ 13 พรรษา ทรงเปนกรม
ขุนพนิ ิตประชานาถ เสวยราชยเ มือ่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411
111
ขณะมีพระชนมพรรษาเพียง 15 พรรษา โดยมีเจาพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) เปนผูสําเร็จ
ราชการแผน ดิน จนถงึ พ.ศ. 2416 ทรงบรรลนุ ิติภาวะ พระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา จึงมีพระราชพิธีบรม-
ราชาภเิ ษกครั้งท่ี 2 ทรงครองราชยส มบัติยาวนานถึง 42 ป สวรรคตเมอื่ วนั ท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453
พระราชกรณยี กจิ ที่สาํ คญั
เพ่ือใหไทยเจริญกาวหนาทัดเทียมอารยประเทศและรอดพนจากภัยจักรวรรดินิยมท่ีกําลังคุมคาม
ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอ ยขู ณะน้นั รชั กาลที่ 5 ทรงพัฒนาและปรับปรงุ ประเทศ ทกุ ดา น เชน
การปกครอง
ทรงปฎิรูปการปกครองใหมตามอยางตะวันตก แยกการปกครองออกเปน 3 สวน คือ การปกครอง
สวนกลาง แบงเปนกระทรวงตาง ๆ การปกครองสวนภูมิภาคโดยระบบเทศาภิบาลและการปกครองสวน
ทองถน่ิ ในรูปสขุ าภบิ าล
กฎหมายและการศาล
ใหตั้งกระทรวงยตุ ิธรรมรับผิดชอบศาลยุตธิ รรม เปนการแยกอาํ นาจตลุ าการ ออกจากฝา ยบริหารเปน
คร้ังแรก ยกเลิกจารีตนครบาลท่ีใชวิธีโหดรายทารุณในการไตสวนคดีความ ต้ังโรงเรียนกฎหมายขึ้นและ
ประกาศใชป ระมวลกฎหมายลักษณะอาญาอันเปนประมวลกฎหมายฉบบั แรกของไทย การปรับปรุงกฎหมาย
และการศาลนเ้ี ปนลูท างทที่ ําใหป ระเทศไทยสามารถแกป ญหาสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขตไดในภายหลงั
สงั คมและวัฒนธรรม
ทรงยกเลกิ ระบบทาสและระบบไพร ใหประชาชนมีอิสระในการดํารงชีวิต ยกเลิกประเพณีที่ลาสมัย
และรบั เอาวฒั นธรรมตะวันตกเขา มา
การเงิน การธนาคารและการคลัง
ผลจากการทําสนธิสัญญาเบาวร ิงในสมัยรชั กาลที่ 4 ทําใหเศรษฐกจิ การคาขยายตวั มชี าวตา งประเทศ
เขา มาทาํ กิจการในประเทศไทยมากขน้ึ รชั กาลท่ี 5 จึงใหออกใชธนบัตรและมีการกําหนดอัตราแลกเปล่ียนท่ี
แนน อนเปนคร้งั แรก ทรงอนญุ าตใหธนาคารพาณิชยของตา งประเทศเขา มาต้งั สาขาและสนบั สนนุ ใหค นไทย
ตง้ั ธนาคารพาณิชยขน้ึ ในดานการคลัง มีการจัดทํางบประมาณแผน ดินเปน ครั้งแรก และปรับปรงุ ระบบจัดเก็บ
ภาษอี ากรใหมปี ระสิทธภิ าพข้ึน
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว ทรงมีพระกรุณาธิคุณตอประชาชนชาวไทยและประเทศ
ไทยอยางใหญหลวง จึงทรงไดรับพระราชสมัญญาวา พระปยมหาราชอันหมายถึงวา ทรงเปนที่รักย่ิงของ
ปวงชนชาวไทย และในโอกาสครบรอบ 150 พรรษาแหงวันคลายวันพระราชสมภพ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ.
112
2546 องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) ไดประกาศ
ยกยอ งใหพระองคเปนบุคคลสําคัญและมีผลงานดีเดนของโลกทางสาขาการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร
มนษุ ยวิทยา การพฒั นาสังคม และสือ่ สาร
4.4 สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ
สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เปนพระโอรสในรัชกาลที่ 4 กับเจาจอม
มารดาชุม มีพระนามเดิมวา พระองคเจาดิศวรกุมาร ประสูติเม่ือวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 ทรงไดรับ
การศึกษาเบ้ืองตนในพระบรมมหาราชวัง ในสมัยรัชกาลท่ี 5 ไดรับการสถาปนาเปนกรมหมื่นดํารง
ราชานุภาพ แลวเล่ือนเปนกรมหลวง ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดเลื่อนข้ึนเปนกรมพระยา และเม่ือถึงสมัย
รัชกาลที่ 7 ไดรับการสถาปนาเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สมเด็จฯกรม
พระยาดํารงราชานุภาพทรงเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาบานเมือง โดยเฉพาะการปฏิรูปประเทศในสมัย
รัชกาลท่ี 5 ทรงปฏิบัติหนาที่ราชการดานความวิริยะอตุ สาหะ มีความรอบรู มคี วามซื่อสัตย และจงรักภักดีตอ
พระมหากษัตริยท ุกพระองค
กรณยี กจิ ท่ีสําคญั
การศกึ ษา
ใน พ.ศ. 2423 ทรงไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงผูบังคับการกรมทหารมหาดเล็ก จึงเก่ียวของกับ
การศกึ ษามาตั้งแตนั้น เนือ่ งจากมกี ารตั้งโรงเรยี นทหารมหาดเล็กขนึ้ ในกรมทหารมหาดเล็ก ตอมาเปล่ียนเปน
โรงเรยี นเรยี นพลเรอื น จนถงึ พ.ศ. 2433 ทรงเปน อธบิ ดกี รมศึกษาธิการและกํากับกรมธรรมการ จึงปรับปรุง
งานดานการศกึ ษาใหทันสมัย เชน กาํ หนดจุดมุง หมายทางการศกึ ษาใหส อดคลอ งกับความตองการของประเทศ
คือ ฝกคนเพ่ือเขารับราชการกําหนดหลักสูตร เวลาเรียนใหเปนแบบสากล ทรงนิพนธแบบเรียนเร็วข้ึนใช
เพ่ือสอนใหอานไดภายใน 3 เดือน มีการตรวจคัดเลือกหนังสือเรียน กําหนดแนวปฏิบัติราชการในกรม
ธรรมการและรเิ ร่ิมขยายการศกึ ษาออกไปสูร าษฎรสามัญชน เปนตน
การปกครอง
ทรงตาํ แหนง เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยคนแรกเปน เวลานานถึง 23 ป ติดตอกันต้ังแตพ.ศ. 2435 –
2458 ทรงมีบทบาทสําคัญในการวางรากฐานระบบการบริหารราชการแผนดินสวนภูมิภาพในแนวใหม
โดยยกเลิกการปกครองทเี่ รียกวา ระบบกินเมอื ง ซ่ึงใหอํานาจเจาเมืองมาก มาเปนการรวมเมอื งใกลเคยี งกันต้ัง
เปน มณฑล และสงขาหลวงเทศาภิบาลไปปกครองและจา ยเงนิ เดือนใหพ อเลีย้ งชีพ ระบบนี้เปนระบบการรวม
อาํ นาจเขาสูศูนยก ลาง นอกจากนีม้ ีการตง้ั หนว ยงานใหมข้ึนในกระทรวงมหาดไทย เพ่ือทําหนาที่ดูแลทุกขสุข
ราษฎร เชน กรมตํารวจ กรมปาไม กรมพยาบาล เปนตน ตลอดเวลาท่ีทรงดูแลงานมหาดไทย ทรงให
ความสําคัญแกการตรวจราชการเปนอยางมาก เพราะตองการเห็นสภาพเปนอยูที่แทจริงของราษฎรดูการ
ทํางานของขา ราชการ และเปน ขวัญกําลงั ใจแกข า ราชการหวั เมืองดว ย
113
งานพระนิพนธ
ทรงนิพนธงานดา นประวตั ิศาสตรโบราณคดี และศิลปวัฒนธรรมไวเปนจาํ นวนมาก ทรงใชวิธีสมัยใหม
ในการศึกษาคนควาประวัติศาสตรและโบราณคดี จนไดรับการยกยองวาเปนบิดาทางโบราณคดีและ
ประวตั ิศาสตรไทย สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงลาออกจากตาํ แหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
เมอื่ พ.ศ. 2458 ในสมัยรชั กาลท่ี 6 เนอื่ งจากมปี ญ หาดา นสุขภาพ แตตอมาเสด็จกลับเขารับราชการอีกครั้งใน
ตาํ แหนงเสนาบดีมุรธาธร และเม่ือถึงสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงดํารงตําแหนงอภิรัฐมนตรี งานสําคัญอื่น ๆ ท่ีทรง
วางรากฐานไว ไดแก หอสมดุ สําหรบั พระนคร และงานดานพพิ ธิ ภัณฑและหอจดหมายเหตุ สมเด็จฯกรม
พระยาดํารงราชานุภาพส้ินพระชนมเม่ือ พ.ศ. 2486 ทรงเปนตนราชสกุล ดิศกุล ใน พ.ศ. 2505 ยูเนสโก
ประกาศยกยองพระองคใหเปนผูมีผลงานดีเดนทางดานวัฒนธรรมระดับโลก นับเปนคนไทยคนแรกท่ีไดรับ
เกยี รติ
4.5 สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ เจาฟากรมพระยานริศรานวุ ัดตวิ งศ
สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนเจาฟาผูทรงพระปรีชาสามารถ
ในวิชาการหลายแขนง ทรงเปนปราชญทางอักษรศาสตร ประวัติศาสตร ดนตรี และงานชาง พระองคมีพระ
นามเดิมวา พระองคเ จา จติ รเจริญ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหัว กับหมอมเจา
หญิงพรรณราย ประสูติทต่ี าํ หนักในพระบรมมหาราชวงั เม่ือวนั ท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2406 ทรงไดรับการศกึ ษา
ขัน้ ตน ทโี่ รงเรียนเตรียมทหาร จากนั้นผนวชเปน สามเณรอยทู ่ีวัดบวรนิเวศวหิ าร หลังจากนน้ั ทรงศึกษาวิชาการ
ตาง ๆ และราชประเพณี ครัน้ ลาผนวชแลว ทรงรับราชการในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัวทรงมี
พระสติปญญารอบรู เปนท่ีวางพระราชหฤทัยจนไดรับพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเล่ือนพระอิสริยยศเปน
พระเจานองยาเธอเจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ ทรงรับราชการในตําแหนงสําคัญ อยูหลายหนวยงาน
เพอื่ วางรากฐานในการบรหิ ารราชการใหม ั่นคง ทัง้ กระทรวงโยธาธกิ าร กระทรวงพระคลัง และกระทรวงวัง
ใน พ.ศ. 2452 ทรงกราบบงั คมลาออกจากราชการ เนอื่ งจากประชวร ดว ยโรคพระหทยั โต ทรงปลูก
ตาํ หนกั อยูท่ีคลองเตย และเรยี กตําหนักนี้วา บานปลายเนิน ครั้นเม่ือรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา
เจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเล่ือนพระอิสริยยศเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรม
พระนรศิ รานุวดั ติวงศ และโปรดเกลาฯ ใหทรงกลับเขารับราชการอีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง จงึ ทรงพน จากตาํ แหนง
ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รัชกาลท่ี 8)
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเ ลอื่ นกรมขึ้นเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟา กรมพระยานริศรานุวัด
ติวงศในบัน้ ปลายพระชนมท รงประทับทบี่ า นปลายเนินจนสน้ิ พระชนมลงเมื่อวันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2490
พระชันษา 83 ป ทรงเปนตน ราชสกุล จติ รพงศ
สมเดจ็ ฯ เจา ฟา กรมพระยานริศรานวุ ดั ติวงศ ทรงมีพระปรีชาสามารถในงานชางหลายแขนง ไดทรง
งานออกแบบไวเปนจํานวนมาก ท้ังงานภาพเขียนในวรรณคดี ภาพประดับผนัง พระราชลัญจกรและตรา
สัญลักษณตาง ๆ ตาลปต ร ตลอดจนสถาปต ยกรรม ซง่ึ เปน ท่รี จู กั แพรหลาย เชน พระอุโบสถวดั เบญจมบพิตร-
114
ดุสติ วนาราม พระอุโบสถวัดราชาธิวาส พระอโุ บสถวัดพระปฐมเจดีย ฯลฯ ดวยพระปรีชาสามารถทางดานงาน
ชา งนี้เอง ทาํ ใหทรงไดรับพระสมัญญานามวา นายชา งใหญแหง กรงุ สยาม
นอกจากน้ียงั ทรงพระปรชี าสามารถทางดา นดนตรี ทรงพระนิพนธเพลงเขมรไทรโยค เพลงตับนิทรา
ชาคริต เพลงตับจลู ง ฯลฯ สว นดา นวรรณกรรมทรงมีลายพระหตั ถโ ตตอบกบั สมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ
ซึ่งภายหลังไดกลายเปนเอกสารที่มีคุณคาดานประวัติศาสตรโบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและอักษร
ศาสตร ท่ีรูจักกันท่ัวไปในนาม สาสนสมเด็จ ความท่ีสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ
ทรงพระปรีชาสามารถในวิชาการหลายแขนง จึงมิไดเปนบุคคลสําคัญของชาติไทยเทานั้น หากแตทรงเปน
บุคคลที่ชาวโลกพึงรูจัก โดยใน พ.ศ. 2506 อันเปนวาระครบรอยปแหงวันประสูติ ยูเนสโกไดประกาศให
พระองคเ ปน บุคคลสาํ คัญของโลกพระองคหนึ่ง
4.6 ขรวั อนิ โขง
ขรวั อินโขง เปนช่อื เรียกพระอาจารยอ ิน ซง่ึ เปน จติ รกรในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู ัว
ขรวั อนิ โขง เปนชาวบางจาน จังหวัดเพชรบุรี บวชอยูจนตลอดชีวิตท่ีวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) กรุงเทพฯการที่
ทา นบวชมานานจงึ เรยี กวา ขรวั สวนคําวา โขง น้ันเกิดจากทานบวชเปนเณรอยูนานจนใคร ๆ พากันเรียกวา
อนิ โขง ซง่ึ คาํ วา โขง หรอื โคง หมายถงึ ใหญห รอื โตเกินวยั น้ันเอง
ขรัวอินโขง เปนชางเขียนไทยคนแรกท่ีมีความรูในการเขียนภาพท้ังแบบไทยที่นิยมเขียนกันมา
แตโบราณ และทง้ั แบบตะวนั ตกดวย นับเปนจิตรกรคนแรกของไทยท่ีมีพัฒนาการเขียนรูปจิตรกรรมฝาผนัง
โดยการนาํ ทฤษฎีการเขยี นภาพแบบสามมิตแิ บบตะวันตกเขา มาเผยแพรในงานจติ รกรรมของไทยยคุ นนั้
ภาพตา ง ๆ ทีข่ รวั อนิ โขงเขียนจงึ มีแสง เงา มคี วามลกึ และเหมอื นจรงิ
ผลงานของขรวั อินโขงเปนทีโ่ ปรดปรานของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูหวั มากเคยโปรดเกลา ฯ
ใหเ ขยี นรูปตาง ๆ ตามแนวตะวันตกไวท ่พี ระอโุ บสถวดั บวรนเิ วศวิหาร ซึง่ เปนภาพเขยี นแรก ๆ ของขรัวอินโขง
นอกจากนัน้ มีภาพเหมอื นพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาท่หี อพระราชกรมานสุ รณ
ภาพของขรัวอินโขง เทาท่ีมปี รากฏหลักฐานและมีการกลาวอางถึง อาทิ ภาพเขียนชาดก เรื่องพระยา
ชางเผือก ที่ผนังพระอุโบสถ และภาพสุภาษติ ทหี่ นา ตางพระอุโบสถวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ภาพพงศาวดาร
กรุงรัตนโกสินทรใ นหอพระราชพงศานุสรณในพระบรมมหาราชวงั ภาพปรศิ นาธรรมท่ผี นงั พระอโุ บสถวดั บรม
นวิ าส ภาพพระบรมรปู รัชกาลที่ 4 ฯลฯ
ภาพเขียนจากฝมือขรัวอินโขงเหลานี้ มีเอกลักษณเฉพาะตัว โดดเดน แปลกตา ใชสีเขมและสีออน
แตกตางจากงานจิตรกรรมที่เคยเขียนกันมาในยุคน้ัน ทําใหเกิดรูปแบบใหมของงานจิตรกรรมในสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวท่ีเรียกกันวา จิตรกรรมสกุลชางขรัวอินโขงที่เปนตนกําเนิดของงาน
จติ รกรรมไทยในยุคตอ ๆ มา
115
4.7 สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนชี ทรงมีพระนามเดิมวา สังวาล ตะละภัฏ พระราชราชสมภพ
เมอ่ื วันอาทิตยที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ทรงเปนบุตรคนที่ 3 ในพระชนกชู และพระชนนีคํา ทรงมีพระภคินี
และพระเชษฐา 2 คนซึง่ ไดถ งึ แกกรรมตง้ั แตเยาววยั คงเหลอื แตพระอนชุ าออ นกวา พระองค 2 ป คอื คุณถมยา
สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนอี ภิเษกสมรสกบั สมเด็จเจาฟา ฯ กรมขนุ สงขลานครนิ ทร
ไดประสูติพระโอรสและพระธิดา ดังน้ี
1. หมอมเจา กลั ยาณิวัฒนามหดิ ล ภายหลงั ทรงไดร บั การสถาปนาพระอิสริยศักด์ิ เปน สมเดจ็ พระเจา -
พีน่ างเธอ เจา ฟากลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
2. หมอมเจาอานนั ทมหดิ ล (รชั กาลที่ 8)
3. พระวรวงศเธอพระองคเจา ภมู ิพลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี 9)
พระราชกรณียกจิ ท่สี าํ คัญ
การแพทย พยาบาล การสาธารณสขุ และการศกึ ษา
สมเดจ็ ยาทรงจดั ตงั้ หนวยและมลู นธิ ทิ ่ีสาํ คัญขึ้น ดังน้ี
1. หนวยแพทยอาสาสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เปนหนวยแพทยอาสาเคล่ือนท่ี
ที่เดนิ ไปในถิน่ ทุรกันดาร ประกอบดว ย แพทย ทนั ตแพทย เภสัชกร พยาบาล เจาหนาทีส่ าธารณสขุ และสมาชิก
สมทบอกี คณะหนงึ่ ซง่ึ ไมไ ดรบั สิง่ ตอบแทนและเบีย้ เลี้ยง เงินเดอื น
2. มลู นิธิขาเทยี ม จดั ตง้ั เมือ่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2535
3. มลู นิธถิ นั ยรักษ ท่โี รงพยาบาลศริ ริ าช จดั ตั้งเมอ่ื เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2538 เพอ่ื ใชเ ปน สถานที่ตรวจ
วินจิ ฉยั เตานม
4. ทรงบริจาคเงนิ เพอ่ื สรา งโรงเรยี นกวา 185 โรงเรียน และทรงรบั เอาโครงการของโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดนไวใ นพระราชูปถัมภ
การอนุรกั ษธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ ม
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเปนพระราชวงศที่โปรดธรรมชาติมาก ทรงสราง
พระตําหนักดอยตุง ข้ึนบริเวณดอยตุง เน้ือที่ 29 ไร 3 งาน ท่ีบานอีกอปากลวย อําเภอแมฟาหลวง จังหวัด
เชียงราย ดวยพระราชทรัพยสวนพระองคเอง ในพื้นท่ีเชาของกรมปาไมเปนเวลานาน 30 ป มีความสูงกวา
ระดับน้ําทะเลประมาณ 1,000 เมตร โดยทรงเรียกพระตําหนักน้ีวา บานท่ีดอยตุง ทรงพัฒนาดอยตุงและ
สง เสริมงานใหชาวเขาอกี ดวย ดงั นี้
1. โครงการพัฒนาดอยตงุ เมื่อป พ.ศ. 2531
2. ทรงพระราชทานกลา ไมแกผูตามเสดจ็ และทรงปลกู ปา ดวยพระองคเอง
3. ทรงนาํ เมลด็ กาแฟพนั ธุอาราบกิ า และไมด อกมาปลูก
4. โครงการขยายพนั ธโุ ดยวิธีเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยือ่ หนอไมฝรง่ั กลวย กลวยไม เห็ดหลนิ จอื สตรอเบอรรี่
116
5. จดั ต้งั ศนู ยบาํ บัด และฟนฟูสมรรถภาพผูต ดิ ยาเสพติด ท่ีบานผาหมี ตําบลเวียงพางคาํ อาํ เภอ
แมสาย จงั หวัดเชยี งราย
จากพระราชอตุ สาหะดงั กลา ว และโครงการที่ยังมิไดนําเสนอขึ้นมาขางตนนี้ ยอดดอย ที่เคยหัวโลน
ดวยการถางปา ทําไรเล่ือนลอยปลูกฝน จึงไดกลับกลายมาเปนดอยท่ีเต็มไปดวยปาไมตามเดิม ดวยเหตุน้ี
พระองคจ งึ ทรงไดรบั ขนานนามวา สมเด็จยาแมฟาหลวงของชาวไทย
ในวันองั คารท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงไดเสด็จสวรรคต
แตพ ระเกยี รติคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงปรารถนาใหชาวไทยมีความสุข ยังคงสถิตถาวรอยูในความ
ทรงจําของพสกนิกรทั่วไทยตลอดกาล และในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2543 เปนวันคลายวันพระราชสมภพ
ครบรอบ 100 ป องคการวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก ไดเฉลิมพระเกียรติ
ยกยองใหสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเปน “บุคคลสาํ คัญของโลก”
4.8 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รัชกาลที่ 9)
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช พระราชโอรสพระองคเล็กในสมเด็จเจาฟามหิดล
อดุลยเดช กรมขนุ สงขลานครินทร และหมอมสงั วาล ประสูติ ณ โรงพยาบาลเมานทออเบรน เมืองเคมบริดจ
รัฐแมสสาซูเสตต ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่ 5 ธนั วาคม 2570 ตรงกบั วันจันทร เดอื นอาย ขึ้น 12 คํ่า ปเถาะ
เหตุที่ประสูตทิ อี่ เมรกิ าเพราะขณะน้นั พระบรมราชนกเสด็จทรงศกึ ษาและปฏิบัติหนาทรี่ าชการในตางประเทศ
ทรงเปนพระมหากษัตริยรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจ กั รี เสดจ็ ขึ้นครองราชยตั้งแตวนั ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.
2489 และเสด็จสวรรคตในวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ทรงอยูในราชสมบัติ เปนระยะเวลา 70 ป
ทรงพระสถานะเปนประมขุ แหงรัฐตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย
พระองคทรงไดรับการถวายพระราชสมัญญาวา “สมเด็จพระภัทรมหาราช” ซึ่งมีความหมายวา
“พระมหากษัตริยผูประเสริฐยิ่ง” ตอมาไดมีการถวายพระราชสมัญญาใหมวา “พระบาทสมเด็จ-
พระเจา อยหู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช” เมอ่ื พ.ศ. 2530 และ“พระภูมิพลมหาราช” อนุโลมตามธรรมเนียม
เชนเดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) ท่ีทรงไดรับพระราชสมัญญาวา
“พระปยมหาราช” อนึ่ง ประชาชนท่ัวไปนิยมเรียกพระองควา “ในหลวง” คําดังกลาวคาดวายอมาจาก
“ใน (พระบรมมหาราชวงั ) หลวง” บางกว็ า เพยี้ นมาจากคําวา “นายหลวง” ซึ่งแปลวา เจา นายผเู ปนใหญ
ทงั้ นี้ ทรงเปน พระมหากษัตริยท ีท่ รงอยใู นตาํ แหนงยาวนานที่สุดในโลก และเสวยราชยยาวนานท่ีสุด
ในประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทยดวยเชนกนั
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงหมนั้ กบั ม.ร.ว. สริ กิ ิติ์ เมอื่ วันท่ี 19 กรกฎาคม
พ.ศ. 2492 เสด็จพระราชดาํ เนนิ นวิ ตั พระนครในปถ ัดมา โดยประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ตอมาวันท่ี 28
เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดเกลาฯ ใหจัดการพระราชพิธี-
ราชาภิเษกสมรสกับหมอมราชวงศสิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตําหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี
พระพันวัสสาอัยยิกาเจาในวังสระปทุม ซ่ึงในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสน้ี มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหส ถาปนาหมอมราชวงศหญงิ สิรกิ ติ ิ์ กติ ยิ ากร ขึน้ เปน สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ วันท่ี 5 พฤษภาคม
พ.ศ. 2493 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลากระหมอมใหตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกตามแบบอยางโบราณราช
117
ประเพณขี น้ึ ณ พระที่น่ังไพศาลทักษณิ เฉลมิ พระปรมาภไิ ธยตามทีจ่ ารกึ ในพระสพุ รรณบฏั วา พระบาทสมเดจ็ -
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถ-
บพติ ร พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการวา “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชน
ชาวสยาม” และในโอกาสนี้ มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหเ ฉลมิ พระนามาภไิ ธย สมเดจ็ พระราชินีสิริกติ ์ิ
เปนสมเด็จพระนางเจาสิริกติ ิ์ พระบรมราชินี
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชและสมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ
มพี ระราชโอรส และพระราชธดิ าดวยกันส่พี ระองคตามลําดับดังตอไปนี้
1. ทูลกระหมอมหญงิ อุบลรตั นราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม : สมเดจ็ พระเจา ลูกเธอ
เจาฟา อบุ ลรตั นราชกัญญา สิรวิ ัฒนาพรรณวดี ประสตู ิ 5 เมษายน 2494 สถานพยาบาล มงตช ัวชี เมืองโลซาน
ประเทศสวิตเซอรแลนด) สมเด็จพระเจาลูกเธอพระองคน้ีไดทรงลาออกจากฐานันดรศักด์ิแหงพระราชวงศ
โดยมีพระโอรสหนึ่งองคแ ละพระธิดาสององค ทั้งนี้ คาํ วา “ทูลกระหมอมหญิง” เปนคําเรียกพระราชวงศที่มี
พระชนนีเปน สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี
2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกฎราชกุมาร (พระนามเดิม :
สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟา วชิราลงกรณ บรมจักรยาดศิ รสนั ตตวิ งศ เทเวศรธํารงสุบรบิ าล อภิคุณูประการ
มหิตตลาดุลเดช ภมู ิพลนเรสวรางกูร กติ ตสิ ิริสมบรู ณสวางควัฒน บรมขัตติยราชกุมาร; ประสูติ: 28 กรกฎาคม
2495, พระทน่ี ั่งอัมพรสถาน)
3. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจา ฟา มหาจกั รีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปยชาติ สยามบรมราชกุมารี
(พระนามเดิม: สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย; ประสูติ:2 เมษายน
2498, พระทีน่ ่งั อัมพรสถาน)
118
4. สมเดจ็ พระเจาลูกเธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ อคั รราชกุมารี (ประสูติ: 4 กรกฎาคม 2500,
พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน)
พระราชกรณียกิจ พระราชนพิ นธ และผลงานอน่ื โดยสังเขป
ทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ ท่ีถงึ พรอมทงั้ ความบรสิ ุทธิ์บรบิ รู ณ จึงเปน ชวงเวลา 60 ป ทพี่ สกนิกร
ชาวไทยอยูไดอยางรมเย็นเปน สขุ ภายใตรม
พระบารมี พระราชกรณียกจิ ทั้งหลายท่ีพระองค
ทรงบาํ เพญ็ นับเปน พระมหากรุณาธคิ ุณอยางหา
ทส่ี ุดไมไดท พี่ ระองคทรงมตี อประเทศชาตแิ ละ
ประชาชนชาวไทย ดังพระราชกรณียกจิ และ
พระราชนพิ นธ ดังนี้
มลู นธิ ิชยั พัฒนา
มูลนิธิโครงการหลวง
โครงการสว นพระองคสวนจิตรลดา
โครงการหลวงอางขาง
โครงการปลกู ปาถาวร
โครงการแกมลงิ
โครงการฝนหลวง
โครงการสารานกุ รมไทยสําหรบั เยาวชน
โครงการแกลงดนิ
กังหนั ชยั พัฒนา
แนวพระราชดาํ ริ ผลติ แกสโซฮอลในโครงการสว นพระองค (พ.ศ. 2528)
แนวพระราชดาํ ริ เศรษฐกิจพอเพยี ง
เพลงพระราชนพิ นธ
พระสมเดจ็ จติ รลดา
พระเกยี รติยศ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทรงไดรับการทลู เกลาฯ ถวายรางวลั และเกยี รติยศ
ตา ง ๆ มากมาย ทง้ั จากบุคคลและคุณบคุ คลในประเทศและตา งประเทศ อนั เนอื่ งมาจากพระราชกรณยี กิจและ
พระราชอัธยาศยั ในการแสวงหาความรู ท่ีสาํ คญั เปน ตน วา
ประธานรฐั สภายโุ รปและสมาชกิ รวมกันทูลเกลาฯ ถวาย “เหรยี ญรัฐสภายุโรป”
(19 กรกฎาคม พ.ศ. 2519)
ประธานคณะกรรมมาธกิ ารเพื่อสนั ติภาพของสมาคมอธกิ ารบดีระหวา งประเทศ ทูลเกลา ฯ ถวาย
“รางวลั สันติภาพ” (9 กันยายน พ.ศ. 2529)
119
สถาบนั เทคโนโลยีแหง เอเชีย ทลู เกลาฯ ถวาย “เหรียญทองเฉลิมพระเกียรติคุณ ในการนําชนบทให
พฒั นา” (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2530)
ผูอํานวยการใหญโ ครงการส่งิ แวดลอมแหง สหประชาชาติ (UNEP) ทูลเกลา ฯถวาย “เหรยี ญทองประกาศ
พระเกียรตคิ ุณดานสง่ิ แวดลอ ม” (4 พฤจิกายน พ.ศ. 2535)
ผอู าํ นวยการใหญองคการอนามยั โลก (WHO) ทลู เกลาฯ ถวาย “เหรียญทองสาธารณสุขเพ่อื มวลชน”
(24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535)
คณะกรรมการสมาคมนิเวศวิทยาเชิงเคมีสากล (International Society of Chemical Ecology)
ทลู เกลาฯ ถวาย “เหรยี ญรางวลั เทดิ พระเกยี รติในการสงวนรักษาความหลายหลายทางชีวภาพ” (26 มกราคม
พ.ศ. 2536)
หัวหนา สาขาเกษตร ฝา ยวชิ าการภูมภิ าคเอเชียของธนาคารโลก ทลู เกลาฯ ถวาย “รางวัลหญา แฝกชุบ
สาํ ริด” สดดุ ีพระเกียรตคิ ุณในฐานะท่ีทรงเปนนักอนุรกั ษดนิ และนํา้ (30 ตุลาคม พ.ศ. 2536)
ผอู าํ นวยการบริหารของยูเอ็นดีซีพี (UNDCP) แหงสหประชาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองคํา
สดดุ ีพระเกียรตคิ ณุ ดา นการปอ งกันแกไขปญหายาเสพติด” (12 ธันวาคม พ.ศ. 2537)
องคก ารอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญสดุดีพระเกียรติคุณ
ในดานการพัฒนาการเกษตร” (6 ธนั วาคม พ.ศ. 2539)
สํานักงานโครงการพฒั นาแหงสหประชาชาติ (UNDP) ทลู เกลา ฯ ถวาย “รางวลั ความสําเร็จสงู สดุ ดาน
การพฒั นามนษุ ย” จากการที่ไดทรงอุทิศกําลังพระวรกายและทรงพระวิริยะอุตสาหะในการปฏิบัติพระราช
กรณียกจิ นอ ยใหญนานปั การ เพ่ือยงั ประโยชนแ ละความเจรญิ อยางยงั่ ยนื มาสปู ระชาชนชาวไทยทง้ั ประเทศมา
โดยตลอด (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549)
ในป พ.ศ. 2550 องคการทรัพยสินทางปญญาโลก (World Intellectual Property Organization-
WIPO) แถลงขาวการทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญรางวัลผูนําโลกดานทรัพยสินทางปญญา” (Global Leaders
Award) โดยนายฟรานซิส เกอรรี่ ผูอํานวยการใหญเปนผูนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย ณ พระราชวังไกลกังวล
ในวันท่ี 14 มกราคม 2552 เพ่อื เทิดพระเกยี รติท่ีทรงมบี ทบาทและผลดา นทรัพยส นิ ทางปญ ญาทีโ่ ดดเดน ทั้งน้ี
พระองคทรงเปน ผนู ําโลกคนแรกท่ไี ดร บั การทูลเกลาฯ ถวายเหรยี ญรางวัลดังกลาว
4.9 พระยากลั ยาณไมตรี (ดร.ฟรานซิส บี แซร) Dr. Francis Bowes Sayre
ดร.ฟรานซิส บ.ี แซร เปน ชาวตะวันตกคนท่ี 2 ทไ่ี ดรับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปน พระยากลั ยาณไมตรี
ชาวตะวันตก คนแรกท่ีเปนพระยากัลยาณไมตรี มีนามเดิมวา เจนสไอเวอรสันเวสเตนการด (Jens Iverson
Westengard) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2428 ที่มลรัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกาสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย
ฮารว ารด เขามารับราชการในประเทศไทยในสมยั รชั กาลที่ 5 - 6 โดยใน พ.ศ. 2446-2451 เปนผูชวยทีป่ รึกษา
ราชการแผนดนิ หลงั จากน้ันเปนทปี่ รกึ ษาราชการแผน ดินจนถึง พ.ศ. 2458 จึงกราบถวายบังคมลาออกกลบั ไป
สหรฐั อเมริกา เวสเตนการดไดร ับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปนพระยากลั ยาณไมตรเี มอ่ื พ.ศ. 2454
ดร.แซร มีบทบาทสําคัญในการปลดเปลื้องขอผูกพันตามสนธิสัญญาเบาวริงท่ีไทยทําไวกับประเทศ
อังกฤษในสมยั รชั กาลท่ี 4 และสนธิสัญญาลักษณะเดียวกันที่ไทยทําไวกับประเทศอื่น ซ่ึงฝายไทยเสียเปรียบ
120
มากในเรอ่ื งที่คนในบังคบั ตา งชาตไิ มต อ งข้ึนศาลไทย และไทยจะเก็บภาษีจากตางประเทศเกินรอยละ 3 ไมได
ประเทศไทยพยายามหาทางแกไขสนธิสัญญาเสียเปรียบน้ีมาโดยตลอด ตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 5 มาจนถึงสมัย
รัชกาลท่ี 6 ปรากฏวามีเพียง 2 ประเทศที่ยอมแกไขให โดยมีขอแมบางประการ ไดแก สหรัฐอเมริกาเปน
ประเทศแรกทย่ี อมแกไ ขใน พ.ศ. 2436 และญีป่ นุ ยอมแกไ ขใน พ.ศ. 2466
เมื่อ ดร.แซร เขามาประเทศไทยแลว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงแตงตั้งใหเปน
ผแู ทนประเทศไทยไปเจรจาขอแกไขสนธิสัญญากับประเทศในยุโรป ดร.แซร เริ่มออกเดินทางไปปฏิบัติงาน
ใน พ.ศ. 2467 การเจรจาเปนไปอยา งยากลาํ บาก โดยเฉพาะอยางย่ิงการเจรจากบั อังกฤษ และฝร่งั เศสซง่ึ ตา งก็
พยายามรกั ษาผลประโยชนข องตนเต็มที่ แตเน่อื งจาก ดร.แซร เปนผูมีวิรยิ ะอตุ สาหะ มีความสามารถทางการ
ทูต และมีความตั้งใจดีตอประเทศไทย ประกอบกับสถานภาพสวนตัวของ ดร.แซร ท่ีเปนบุตรเขยของ
ประธานาธิบดวี ูดโรว วสิ สัน แหง สหรฐั อเมริกา จึงทําใหการเจรจาประสพความสําเร็จ ประเทศในยุโรปที่ทํา
สนธิสัญญากับไทย ไดแก ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอรแลนด สเปน โปรตุเกส เดนมารก สวีเดน อิตาลี
และเบลเยีย่ ม ยินยอมแกส นธิสัญญาใหเปนแบบเดียวกับท่ีสหรฐั อเมรกิ ายอมแกใ ห
ดร.แซร ถวายบังคมลาออกจากหนา ท่ีกลบั ไปสหรัฐอเมรกิ าใน พ.ศ. 2468 แตก็ยังยินดีที่จะชวยเหลือ
ประเทศไทย ดังเชนใน พ.ศ. 2469 หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงข้ึนครองราชยได
ไมน าน ดร.แซรไ ดถวายคําแนะนาํ เกยี่ วกับสถานการณบานเมือง และแนวทางแกปญหาตาง ๆ ตามที่ทรงถาม
ไป และยงั ไดรา งรัฐธรรมนญู ถวายใหทรงพจิ ารณาดวย
จากคุณงามความดที ่ี ดร.แซร มตี อ ประเทศไทย จึงไดร ับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปนพระยากัลยาณ
ไมตรี เมอื่ พ.ศ. 2470 และตอ มาใน พ.ศ. 2511 รัฐบาลไทยไดต ง้ั ชอื่ ถนนขาง กระทรวงตางประเทศ (วังสราญ
รมย) วา ถนนกัลยาณไมตรี พระยากัลยาณไมตรีถงึ แกอ นจิ กรรมที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2515
4.10 หมอบรดั เลย (Dr. Dan Beach Bradley)
ดร.แดน บีช แบรดเลย ชาวไทยเรียกกันวา หมอบรัดเลย หรือ ปลัดเล เปนชาวนิวยอรก ประเทศ
สหรัฐอเมรกิ า เกดิ เมอ่ื พ.ศ. 2345 หมอบรัดเลยเดินทางเขามายังสยาม เมื่อ พ.ศ. 2378 โดยพักอาศัยอยูกับ
มชิ ชนั นารี ชื่อ จอหน สัน ท่วี ัดเกาะ เม่ือเขามาอยูเมอื งไทย ในตอนแรกหมอบรัดเลยเ ปดโอสถศาลาขึ้นท่ีขางใต
วัดเกาะ รับรักษาโรคใหแกชาวบานแถวนั้น พรอมท้ังสอนศาสนาคริสตใหแกชาวจีนที่อยูในเมืองไทย
สวนซาราหภ รรยาของหมอเปนครสู อนภาษาองั กฤษ
ตอ มาหมอบรดั เลยย า ยไปอยแู ถวโบสถวดั ซางตาครสู ขยายกิจการจากรบั รกั ษาโรค เปน โรงพมิ พ
โดยรับพิมพหนังสือเกี่ยวกับศาสนาคริสต แจกและพิมพประกาศของทางราชการ เร่ือง หามนําฝนเขามา
ในประเทศสยามเปนฉบับแรก จาํ นวน 9,000 แผน เม่อื วนั ท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2382 อกี ดวย กิจการโรงพิมพ
นน้ี ับเปน ประโยชนสาํ หรับคนไทยมาก เอกสารทางประวตั ิศาสตรท่สี าํ คัญซ่ึงคนรนุ หลังไดศ ึกษาสว นหนึ่ง
กม็ าจากโรงพิมพข องหมอบรดั เลย นอกจากนี้ทานไดออกหนังสือพิมพรายปฉบับหนึ่ง ชื่อวา บางกอกคาเลน
เดอร (Bangkok Galender) ตอ มาไดออกหนงั สือพิมพรายปกษอกี ฉบับหนง่ึ เมื่อ พ.ศ. 2387 ชื่อวา บางกอกรี
คอรเดอร (Bangkok Recorder) นอกจากหนังสอื พิมพแลว ยงั ไดพิมพหนงั สือเลม จําหนายอีกดวย เชน ไคเก็ก
121
ไซฮั่น สามกก เลียดกก หองสนิ ฯลฯ หนังสือของหมอบรัดเลยน้ันเปนที่รูจักแพรหลายในหมูขุนนางและราช
สํานกั โดยเฉพาะหนงั สอื พิมพทีล่ งบทความแสดงความคิดเหน็ อยางกวางขวาง
นอกจากงานดา นโรงพิมพท ี่หมอบรัดเลยเขา มาบุกเบิกและพัฒนาใหวงการสิ่งพิมพไทยแลวงานดาน
การแพทยและดานสาธารณสุขท่ีทา นทําไวกม็ ิไดย ง่ิ หยอ นไปกวา กนั หมอบรัดเลย นบั เปนหมอฝรั่งคนแรกที่ได
นําเอาหลักวิชาการแพทยสมยั ใหมเ ขามาเผยแพรในเมืองไทย มีการผาตัดและชวยรักษาโรคตาง ๆ โดยใชยา
แผนใหม ซ่งึ ชว ยใหค นไขห ายปวยอยา งรวดเรว็ ท่สี าํ คัญทีส่ ดุ คอื การปลกู ฝปอ งกนั ไขท รพิษ
ดวยคุณงานความดีที่หมอบรัดเลยมีตอแผนดินไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวจึงได
พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหพวกมิชชันนารี และหมอบรัดเลยเชาที่หลังปอมวิไชยประสิทธิ์อยูจนถึง
รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว จึงพระราชทานใหอ ยูโดยไมต อ งเสยี คา เชาจนกระท่ังหมอบ
รดั เลยถ งึ แกก รรมเม่ือ พ.ศ. 2416 รวมอายไุ ด 71 ป
บุคคลสาํ คัญของประเทศไทยท่อี งคการศกึ ษา วิทยาศาสตร และวฒั นธรรมแหง
สหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกยอง
อันดับ ผูไดร ับยกยอง ยกยอ งเม่อื วนั ที่ ยกยองเนอ่ื งในวาระ
1. สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอฯ 21 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2505 ฉลองวันประสูติ
กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ครบ 100 พรรษา
2. สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอฯ 28 เมษายน พ.ศ. 2506 ฉลองวันประสูติ
กรมพระยานรศิ รานุวัดติวงศ ครบ 100 พรรษา
122
อันดับ ผูไดร ับยกยอ ง ยกยองเมอ่ื วนั ที่ ยกยอ งเนื่องในวาระ
3. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2511 ฉลองวนั พระราชสมภพ
หลา นภาลยั ครบ 200 พรรษา
4. พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฏเกลา 1 มกราคม พ.ศ. 2524 ฉลองวันพระพระราช
เจา อยหู วั สมภพครบ 100 พรรษา
5. สุนทรภู 26 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2529 ฉลองครบชาตกิ าล
200 ป
6. พระยาอนุมานราชธน 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2531 ฉลองครบชาติกาล 100 ป
7. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรม 11 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ฉลองวันประสูติครบ 200
พระปรมานชุ ติ ชโิ นรส พรรษา
8. พระเจาวรวงศเ ธอกรมหมืน่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2534 ฉลองวันประสูตคิ รบ 100
นราธปิ พงศป ระพันธ พรรษา
9. สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ฉลองวันพระราชสมภพ
อดลุ ยเดชวิกรม ครบ 100 พรรษา
พระบรมราชชนก
10. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2539 ฉลองสิรริ าชสมบัติ
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ครบ 50 ป
11. สมเดจ็ พระศรีนครินทรา 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 ฉลองวันพระราชสมภพ
บรมราชชนนี ครบ 100 พรรษา
12. นายปรีดี พนมยงค 20 กนั ยายน พ.ศ. 2543 ฉลองครบชาติกาล 100 ป
13. พระบาทสมเดจ็ พระ 20 กันยายน พ.ศ. 2546 ฉลองวนั พระราชสมภพ
จุลจอมเกลาเจา อยูห วั ครบ 150 พรรษา
14. หมอ มหลวงปน มาลากลุ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ฉลองครบชาตกิ าล
100 ป
123
อนั ดับ ผไู ดร ับยกยอง ยกยองเมื่อวนั ที่ ยกยองเนือ่ งในวาระ
15. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2547 ฉลองวนั พระราชสมภพ
เจาอยหู ัว ครบรอบ 200 พรรษา
16. นายกหุ ลาบ สายประดิษฐ 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 ฉลองครบชาตกิ าล
17. พทุ ธทาสภิกขุ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2548 100 ป
ฉลองครบชาติกาล
100 ป
18. พระเจาบรมวงศเ ธอฯ กรม 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2550 ฉลองวันประสูติครบ
หลวงวงศาธิราชสนทิ 200 พรรษา
กจิ กรรมที่ 9 เรือ่ ง บคุ คลสําคญั ของไทยและของโลกดา นประวัติศาสตร
ใหนักศกึ ษาแบง กลมุ 4 กลมุ แตละกลุมศกึ ษาคน ควาและทาํ รายงานสง พรอ มกับนําเสนอ โดยมี
หวั เรือ่ ง ดังน้ี
กลมุ ท่ี 1 พระราชประวัตแิ ละพระราชกรณยี กิจทส่ี าํ คญั ของพอ ขุนรามคําแหงมหาราช
กลมุ ที่ 2 พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจทีส่ าํ คญั ของ
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั
กลมุ ที่ 3 พระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กิจทส่ี าํ คัญของ
สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
กลมุ ที่ 4 พระราชประวตั ิและพระราชกรณยี กิจทส่ี ําคญั ของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
124
เรอ่ื งท่ี 5 เหตุการณสาํ คัญของโลกท่ีมีผลตอ ปจ จบุ นั
เหตกุ ารณส ําคญั ที่มผี ลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของโลกนั้นหมายถึงเหตุการณสําคัญท่ีทําใหโลก
เกิดการเปลี่ยนแปลงภายหลังสงครามสิ้นสุดลง ซึ่งพบวาสหประชาชาติสามารถยับยั้งการทําสงครามอาวุธ
ไดในระดับหน่งึ แตเ ม่อื สงครามอาวธุ ผานไปเหตกุ ารณป จ จบุ ันจะกลายเปน สงครามเศรษฐกจิ ชวี ิตความเปน อยู
วัฒนธรรม จารีตประเพณี รวมถึงการเมืองการปกครองในปจจุบัน ซ่ึงเหตุการณสําคัญในอดีตท่ีสงผล
ตอ ปจจุบนั มดี งั น้ี
1. สงครามโลกคร้ังท่ี 1 และ 2
สงครามโลกครง้ั ทหี่ นงึ่ เปนสงครามความขดั แยงบนฐานการลาอาณานิคม ระหวางมหาอํานาจยุโรป
สองคา ย คอื ฝายไตรพันธมิตร (Triple Alliance) ซงึ่ ประกอบไปดวยเยอรมนี และอิตาลี กับฝายมหาอํานาจ
(Triple Entente) ประกอบไปดวยบริเตนใหญ ฝรั่งเศสและรัสเซีย เกิดขึ้นในชวง ค.ศ.1914-1918
(พ.ศ.2547-2461)
สาเหตขุ องสงครามโลกครัง้ ที่หน่ึง เกดิ จากความขดั แยงทางการเมืองของทวีปยุโรป โดยเปนจุดเริม่ ตน
ของการส้ินสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยของยุโรป การส้ินสุดของจักรวรรดิออตโตมัน เปนตัวเรง
ปฏกิ ิรยิ าของการปฏวิ ัติรัสเซีย การพายแพข องประเทศเยอรมนใี นสงครามครงั้ นี้ สง ผลใหเกิดลัทธิชาตินิยมขึ้น
ในประเทศ และเปน จุดเร่ิมตน ของสงครามโลกครั้งที่สอง เมอ่ื พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939)
ในชวงแรกของสงครามมหาอํานาจกลางเปนฝายไดเปรียบ แตหลังจากที่อเมริกาเขารวมกับฝาย
พันธมิตร พรอมกับสงอาวุธยุทโธปกรณและกําลังพลเกือบ 5 ลานคน ทําใหพันธมิตรกลับมาไดเปรียบและ
สามารถเอาชนะฝายมหาอํานาจกลางไดอยา งเดด็ ขาด ในที่สดุ เมือ่ ฝายมหาอาํ นาจกลางยอมแพแ ละเซ็นสัญญา
สงบศึกเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.1918 สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ซึ่งกินระยะเวลายาวนาน 4 ป 5 เดือน จึงยุติ
ลงอยา งเปน รปู ธรรม
ผลกระทบ
หลงั จากทส่ี หรฐั อเมริกาไดเ ขารวมรบและประกาศศกั ดาในสงครามครั้งนี้ ทําใหสหรัฐอเมริกาไดกาว
เขา มาเปนหน่ึงในมหาอํานาจโลกเสรบี นเวทีโลกเคยี งคูกับองั กฤษและฝรั่งเศส รสั เซียกลายเปน มหาอํานาจโลก
สังคมนิยม หลังจากเลนินทําการปฏิวัติยึดอํานาจ และตอมาเม่ือสามารถขยายอํานาจไปผนวกแควนตาง ๆ
มากข้ึน เชน ยเู ครน เบลารสุ ฯลฯ จงึ ประกาศจดั ตงั้ สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Republics – USSR)
ในป ค.ศ.1922 เกิดการรางสนธิสัญญาแวรซาย (The treaty of Veraailles) โดยฝายชนะสงครามสําหรับ
เยอรมนี และสนธิสัญญาสันตภิ าพอีก 4 ฉบับ สําหรับพันธมติ รของเยอรมนี เพอ่ื ใหฝ ายผูแพย อมรบั ผิดในฐานะ
125
เปนผูกอใหเกิดสงครามในสนธิสัญญาดังกลาว ฝายผูแพตองเสียคาปฏิกรรมสงคราม เสียดินแดนทั้งในยุโรป
และอาณานิคม ตองลดกาํ ลังทหาร อาวธุ และตอ งถูกพันธมิตรเขายึดครองดนิ แดนจนกวา จะปฏิบตั ติ ามเงอ่ื นไข
ของสนธิสัญญาเรียบรอย อยางไรก็ตามดวยเหตุที่ประเทศผูแพไมไดเขารวมในการรางสนธิสัญญา แตถูกบีบ
บังคบั ใหลงนามยอมรบั ขอ ตกลงของสนธิสญั ญาจึงกอ ใหเกดิ ภาวะตึงเครยี ดขึน้ เกดิ การกอ ตัวของลัทธฟิ าสซสิ ต
ในอติ าลี นาซใี นเยอรมนั และเผดจ็ การทหารในญีป่ ุน ซง่ึ ทา ยสุดประเทศมหาอํานาจเผดจ็ การทั้งสามไดรวมมอื
เปนพนั ธมิตรระหวางกัน เพอ่ื ตอตานโลกเสรแี ละคอมมิวนสิ ต เรียกกันวาฝายอกั ษะ (Axis) มีการจัดต้ังข้ึนเปน
องคกรกลางในการเจรจาไกลเกล่ียขอพิพาทระหวางประเทศ เปนความรวมมือระหวางประเทศ เพ่ือรักษา
ความม่ันคง ปลอดภัยและสันติภาพในโลก แตความพยายามดังกลาวก็ดูจะลมเหลว เพราะในป ค.ศ. 1939
ไดเกิดสงครามทีร่ นุ แรงขนึ้ อีกครงั้ นัน่ คอื สงครามโลกครั้งท่ี 2 เปน ความขัดแยงในวงกวาง ครอบคลุม ทุกทวีป
และประเทศสวนใหญในโลก เร่ิมตนในป พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939) และดําเนินไปจนกระท่ังส้ินสุดในป พ.ศ. 2488
(ค.ศ.1945) ไดช ่ือวาเปน สงครามท่ีมขี นาดใหญแ ละทาํ ใหเกิดความสญู เสียครงั้ ใหญทส่ี ุดในประวัติศาสตรโลก
ตนเหตุท่แี ทจ รงิ ของสงครามคร้งั น้ี ยังเปน ประเด็นที่ถกเถียงกันอยูไมวาจะเปนสนธิสัญญาแวรซายส
ภาวะเศรษฐกิจตกตาํ่ ครัง้ ใหญ ความเปนชาตินิยม การแยงชงิ อาํ นาจและตองการแบงปนโลกใหมของประเทศ
ทเ่ี จริญตามมาทีหลังและกระแสนยิ ม เชน เดยี วกับวนั เริ่มตนสงครามท่ีอาจเปนไปไดท้ังวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.
2482 (ค.ศ.1939) ทเ่ี ยอรมันรุกรานโปแลนด, วนั ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (ค.ศ.1937)
ท่ีญป่ี ุนรุกรานแมนจูเรยี บางคนกลาววาสงครามโลกคร้ังที่หนึ่งและสงครามโลกคร้ังน้ีเปนขอพิพาท
เดียวกันแตแยกกันดวย “การหยุดยิง” การตอสูมีข้ึนต้ังแตมหาสมุทรแอตแลนติก ยุโรปตะวันตกและ
ตะวันออกทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น แอฟริกา ตะวันออกกลาง มหาสมุทรแปซฟิ ก เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตและจีน
สงครามในยุโรปสิ้นสุด เม่ือเยอรมนียอมจํานนในวันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ.1945) แตในเอเชีย
ยังดําเนินตอไปจนกระทงั่ ญป่ี นุ ยอมจาํ นนในวันที่ 15 สิงหาคม ปเดียวกัน คาดวามีผูเสียชีวิตในสงครามครั้งนี้
ราว 57 ลานคน
2. สงครามเย็น
สงครามเย็น (อังกฤษ : Cold War) (พ.ศ.2490-2534 หรือ ค.ศ.1947-1991) เปนการตอสูกัน
ระหวางกลุมประเทศ 2 กลุม ท่ีมีอุดมการณทางการเมืองและระบบการเมืองตางกัน เกิดข้ึนในชวงหลัง
สงครามโลกคร้ังทส่ี อง ฝายหนึ่งคือสหภาพโซเวยี ต เรยี กวา คายตะวนั ออก ซ่งึ ปกครองดว ยระบอบคอมมวิ นิสต
อีกฝายหนึ่งคอื สหรฐั อเมริกาและกลมุ พันธมติ ร เรยี กวา คายตะวันตก ซึ่งปกครองดว ยระบอบเสรปี ระชาธปิ ไตย
นโยบายตา งประเทศของสหรฐั อเมริกาและสหภาพโซเวยี ตในชวงเวลาดังกลาว คํานึงถึงสงครามเย็น
เปนหลัก นับจากป ค.ศ.1947 (พ.ศ.2490) จนกระทั่งการลมสลายของสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ.1991
126
(พ.ศ.2534) สมัยเรม่ิ ตน สงครามเย็น นาจะอยใู นสมัยวกิ ฤตการณท างการทูตในตอนกลางและปลาย ค.ศ.1947
เม่ือสหรัฐอเมรกิ ากบั สหภาพโซเวียตเกดิ ขัดแยงเรื่องการจัดตั้งองคการสันติภาพในตุรกี ยุโรปตะวันออกและ
เยอรมนี
ความตึงเครยี ดเนื่องจากการเผชิญหนากันระหวางอภมิ หาอํานาจ แตย ังไมมีการประกาศสงครามหรือ
ใชก ําลังเปนสมยั ลัทธิทรูแมน วันที่ 12 มีนาคม คศ.1947 กับประกาศแผนการมารแชลล เพือ่ ฟน ฟูบรู ณะ
ยุโรปตะวันตก ซึ่งไดรับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สอง การขยายอิทธิพลของโซเวียตในยุโรป
ตะวันออกและการแบงแยกเยอรมนี
การวิจัยและพฒั นาโครงการทางการทหารทงั้ ขนาดเลก็ และขนาดใหญจํานวนมาก เกิดขึ้นในชวงเวลา
นี้รวมถึงการแขงขันกันสํารวจอวกาศ การจารกรรมและการสะสมอาวุธนิวเคลียรดวยท้ังหมดนี้เปนไป
เพ่อื แสดงแสนยานภุ าพของฝายตน
3. สงครามเศรษฐกิจ
หากยอนไปเมื่ออดีตการเกิดข้ึนของสงครามจะเปนการแกงแยงชิงดินแดนและทรัพยากร
เพราะสงครามในขณะน้ันจะเปนการขยายอาณาเขตออกไป โดยมไิ ดม ุงหวังเพียงดินแดนเทาน้ัน แตยังมุงหวัง
ทรัพยากรในดินแดนอีกดวย ภายหลังสงครามโลกสิ้นสุดลง การแขงขันดานการคา ชีวิตความเปนอยู
เปลยี่ นแปลงไปกลางเปน สงครามเศรษฐกิจ การทาํ สงครามเศรษฐกจิ จะมกี ารใชวฒั นธรรมเขา ไปแทรกแซงเปน
การกลืนชาติดวย ที่เรียกวา “Crelization” หมายความวา เปนความพยายามยัดเยียดวัฒนธรรมของตน
ใหเปน สว นหนึง่ ของวฒั นธรรมในชาตนิ ้ัน ๆ โดยครอบงําทาํ ใหค นมีวถิ ชี ีวิตตามแบบฉบบั วฒั นธรรมของตนหรือ
รสู ึกวาเหมอื นเปนวัฒนธรรมของตน เพราะวาวถิ ีชวี ิตจะมตี วั สินคาเปนองคป ระกอบ
4. เหตกุ ารณโลกปจจบุ นั
หลักการเกิดสงครามโลกทั้งประเทศท่ีชนะและแพสงครามตางก็เปนประเทศอุตสาหกรรมทําให
ทุกประเทศตองฟนฟูเศรษฐกิจในประเทศตน ในท่ีสุดผลผลิตมีมากเกินความตองการจนกลายเปนสาเหตุ
เศรษฐกิจตกตาํ่ ท่วั โลกในป ค.ศ. 1929-1933
เหตกุ ารณโ ลกปจ จบุ นั มีการแขงขันดานเศรษฐกิจสูงหรือการทําสงครามดานเศรษฐกิจทําใหวิถีชีวิต
ของชาวไทยไมว า จะเปน การดําเนินชวี ติ ปจ จบุ นั การบริโภคคา นิยมเปลย่ี นแปลงไป เม่ือเรายอมรับวถิ ชี วี ติ ใด ๆ
ก็ตาม วิถชี วี ติ เหลานั้นยอมจะตองรองขอสินคาบางอยางเพ่ือท่ีจะทําใหการดําเนินชีวิตเหลาน้ันเดินตอไปได
เชน เม่อื เรายอมรับวิถีชีวิตดิจิทัล (Digital) เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส และ PC ก็จะกลายเปนสวนหน่ึงของวิถี
ชีวติ เรา ญ่ปี นุ เปนชาตหิ น่งึ ทผ่ี ลติ เครื่องเสยี งไดดี ซึ่งการรองเพลงตามเนือ้ รอ งท่ีเรียกกันเปน ภาษาญ่ปี นุ วา
127
“คาราโอเกะ” เมอื่ เรายอมรับวิธีการรองเพลงกันตามเน้ือเพลงที่เปน คาราโอเกะ ในท่ีสุดสินคาเก่ียวกับการ
รองเพลงคาราโอเกะแบบญี่ปุนก็จะขายดีไปดวย การรับประทานอาหารฟาสตฟูด ตามแบบฉบับวัฒนธรรม
อเมรกิ นั หรอื การยอมรับภาษาทใี่ ชในการสื่อสารทางธุรกิจตอ งเปนภาษาอังกฤษ ภาษาจนี เปน ตน
การเกดิ ขน้ึ ของกระแสวัฒนธรรมโลก จะทําใหบรษิ ทั ยกั ษใหญระดับโลกสามารถผลติ สนิ คา ดวยตนทนุ
ต่ําที่ขายไดทั่วโลก ซึ่งเปนการแสวงหาผลประโยชนขามชาติ จากประเทศดอยพัฒนา หรือการทําการคา
โดยเสรจี ากบรษิ ทั ใหญ ซึง่ มตี น ทุนหรอื กาํ ลงั ทรพั ยม ากมาแขงขันธรุ กจิ ในประเทศทกี่ ําลงั พัฒนา จะเหน็ ไดว าใน
ยุคเศรษฐกจิ ใหม มกี ารหลง่ั ไหลของวัฒนธรรมตางชาตเิ ขา มาในสงั คมไทยอยา งหนัก จนทาํ ใหรสู ึกวาวัฒนธรรม
คา นิยม รปู แบบวิถีการดาํ เนนิ ชีวติ แบบไทย ๆ กาํ ลังถูกกลืนและถูกทําลายความเปนไทยทําใหปฏิเสธไมไดวา
ปจ จบุ นั วัฒนธรรม รปู แบบวถิ ชี ีวติ ตะวนั ตกหรือของตางชาติกาํ ลังมีบทบาทตอ การดาํ เนนิ ชีวติ ความเปน อยขู อง
คนทุกเพศทกุ วยั
อยางไรก็ตาม แมวาระบบตลาดทุนนิยมน้ีจะมีการแขงขันที่สงผลดีตอผูบริโภค ในเร่ืองคุณภาพ
ผลิตภณั ฑและรปู แบบของนวัตกรรม (Innovation) ก็ตาม แตก็ทําใหสังคมไทยยุคใหมมีลักษณะเปนบริโภค
นิยม (Consumerism) และสังคมมีความเสี่ยงตอการถูกกลืนทางวัฒนธรรม ซ่ึงคนรุนใหมท่ีจะเปนฟนเฟอง
กลไกทางสงั คมตอไปในอนาคตก็กําลังหลงใหลนิยมชมชอบกับความสุขจากส่ิงบันเทิงตาง ๆ ที่มากับกระแส
โลกาภวิ ัฒนและการเปดเสรที างการคา
ในป ค.ศ.2508 (พ.ศ.2551) วนั ท่ี 15 กันยายน 2551 บรษิ ทั ยกั ษใหญใ นสหรฐั อเมรกิ าประกาศภาวะ
ขาดทนุ ลม ทําใหส ง ผลกระทบตอเศรษฐกจิ โลกถดถอยจนถงึ ป พ.ศ. 2552
เร่ืองที่ 6 บทบาทของสถาบันพระมหากษัตรยิ ในการพฒั นาชาตไิ ทย
บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ นการพฒั นาชาติไทย
สถาบนั พระมหากษตั ริย : กาํ เนิด ความหมาย แนวคิด สัญลักษณ และพัฒนาการ
ในคัมภีรพราหมณ กลาวถึงการแตงต้ังมนุษยคนแรกเปนกษัตริยและจักรพรรดิในการปกครอง
ประชาชน ซ่ึงมีบางคัมภีรกลาววาพระพรหมทรงตั้งพระมนูเปนกษัตริยองคแรกขึ้นมาเพ่ือใหทําหนาที่แกไข
ปญหาการทะเลาะววิ าทของมนษุ ยทแี่ ยง ชงิ ขาวสาลกี นั จนวนุ วายจนยุติปญ หาลงไดสําเรจ็ ถอื วาเปนการเรม่ิ ตน
ของการมีสถาบนั กษตั ริยใ นมนุษยโลกตามความเชอื่ ของพราหมณฮ นิ ดใู นอินเดีย
สถาบันพระมหากษัตริยไทย คือ 1 ใน 3 สถาบันสูงสุดของชาติที่เปนศูนยรวมจิตใจทําใหเกิด
ความมั่นคงเปน เอกภาพของประชาชนชาวไทยเพราะพระมหากษตั รยิ ทรงทําหนาท่ีเปนทั้งผูปกครองเขตแดน
และคุม ครองปอ งกันอาณาประชาราษฎรในฐานะของจอมทัพทําสงครามกับขา ศกึ เพ่ือปองกนั ดินแดนและ
128
เอกราชของชาติอาจเร่มิ จากการเปนผปู กครองเมืองเล็กเมอื งนอยมากอนเม่ือมกี าํ ลงั แข็งแกรงมากข้ึน
จนสามารถผนวกเมืองอ่นื ๆ เขาดวยกันแลวกต็ ง้ั ตนเปน ประมขุ ยกฐานะขน้ึ เปน พระมหากษัตริยปกครองเมือง
ศูนยก ลางและเมืองบรวิ ารในพระราชอาณาจักร
บนเสนทางแหงกาลเวลาสถาบันพระมหากษัตริยมีพัฒนาการจากรูปแบบการปกครองท่ีเรียบงาย
เสมอื นพอปกครองลูกหรอื การดูแลบริวารในครอบครวั จนมีความสลับซับชอนมากข้ึนดวยเหตุผลของจํานวน
ประชากร หรือความกวางขวางของดินแดน และปจจัยดานตาง ๆ ของลักษณะทางสังคมและสภาพของ
เศรษฐกจิ ท่ีตอ งมกี ารกาํ หนดวธิ กี ารในการควบคมุ ดแู ลอยา งเปน ระบบเพอ่ื ใหเ กิดความสงบปลอดภัย และเจรญิ
ม่งั คง่ั ของอาณาจักรซงึ่ มีสถาบนั พระมหากษตั ริยท รงเปน ศนู ยกลางของการปกครองน้นั
สถาบนั พระมหากษตั ริยประกอบดว ยคาํ ๒ คาํ คือ สถาบนั กับพระมหากษตั รยิ คาํ วาสถาบนั หมายถงึ
ส่ิงซึ่งคนในสวนรวมคือสังคมจัดต้ังใหมีขึ้น เพราะเห็นประโยชนวามีความตองการและจําเปนแก
วิถีชีวิตของตน เชน สถาบันชาติ สถาบันการเงิน และสถาบันศาสนา เปนตน สถาบันเปนส่ิงสําคัญในสังคม
เพราะมีหนาที่ยึดเหน่ียวคนในสังคมใหมีทิศทางดําเนินชีวิตไปในแบบเดียวกัน หรือมีความสุขเสมอกัน
นอกจากน้ีสถาบันจะบังเกิดข้ึนไดดวยคนในสังคมมีความเห็นพองกันวาจําเปนตองมีและสามารถอํานวย
ประโยชนใหบังเกิดได คําวาพระมหากษัตริยมีความหมายถึงพระเจาแผนดิน พระเจาอยูหัวเปนคําในภาษา
สันสกฤติวา “กษฺตฺริย” หรือภาษาบาลีวา “ขัตติย” หมายถึง คนในวรรณท่ี 2 ในสังคมอินเดีย ซ่ึงมีอยู 4
วรรณะ คอื พราหมมณ กษตั ริย แพทย และศูทร หมายถงึ ผูน าํ ในการรบ ผปู อ งกันภัย หรือชาตินักรบ ซึ่งเดิม
หมายถึง บคุ คลผูมหี นาท่ปี องกันขาศึกหรอื ผเู ปน หวั หนาและยงั เปน รากศัพทเดียวกับคาํ วาเกษตร สถาบันชาติ
สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริยมีอยูคูกับแผนดินไทยตลอดมาควบคูกับการสถาปนาอาณาจักร
โบราณตาง ๆ นับตั้งแตพุทธศตวรรษ 12 ซึ่งพบหลักฐานที่เปนประเภทลายลักษณอักษรท่ีแสดงถึงการมี
พระมหากษัตรยิ ข องอาณาจักรทวารวดี มีเมืองอูทองซึ่งปจจุบันเปนที่ตั้งอําเภออูทองจังหวัดสุพรรณบุรีเปน
เมืองสําคญั จากการคน พบเหรียญเงนิ ท่เี มืองอูทองบนเหรียญปรากฏจารึกภาษาสันสกฤตวา “ศรที วารวดี
ศวร ปนุ ยะ” แปลวา การบุญของผเู ปน ใหญแ หงศรที วารวดี เปนการยืนยนั วา มีสถาบันกษัตริยเกิดข้ึน ในขณะ
เริ่มตน ของยุคประวัตศิ าสตรข องดนิ แดนไทยและมกี ารคนพบตอมาวา บานเมอื งและอาณาจกั รอื่น ๆ ในดินแดน
ทเ่ี ปนชาติไทยในปจ จุบันนล้ี วนปกครองดว ยระบอบกษตั ริยท ้งั ส้นิ
ตอมาในสมัยสุโขทัยสังคมไทยมีลักษณะเปนครอบครัว โดยมีประมุขเปนหัวหนาชุมชนที่เรียกวา
“พอขุน” การเก็บผลประโยชนเขารัฐอาจมีนอยดงั ท่กี ลา วไวใ นศลิ าจารึกสุโขทยั หลักท่ี 1 วา “เจาเมือง บเอา
จกอบในไพรล ูทา ง” ซ่งึ หมายถงึ การไมเ ก็บภาษีการคาและใหเสรที างการคา ดังความวา “ใครจักใคร คาชาง
คา ใครจักใครคา มา คา ใครจกั ใครค าเงอื น (เงิน) คาทองคา ” แมก ารปกครองโดยสถาบันกษตั ริยในสมัยสุโขทัย
จะมีผูกลาววามีวิถีสงบรมเย็นแตในช้ันหลังก็มีทั้งปจจัยภายใน คือ ความขัดแยงของเจานายท่ีเปนสมาชิก
ภายในสถาบนั และปจ จัยภายนอก คอื การขยายอาํ นาจของลานนาและกรงุ ศรอี ยธุ ยาทําใหสโุ ขทยั ทเี่ ปน เสมือน
รัฐกันชนของสองอาณาจักรตองตกอยูในภาวะสงครามและการแยงชิงกันจนตองยอมผนวก เขากับกรุงศรี-
อยุธยาในทสี่ ุด
129
กรุงศรีอยุธยาซึ่งเปนรัฐท่ีเกิดจากการผนึกกําลังกันของสุพรรณบุรีและละโว ซ่ึงในอดีตเคยอยูใน
อิทธพิ ลของวัฒนธรรมเขมรมากอน กรุงศรีอยุธยาจึงรบั เอาคติของเทวราชาจากวัฒนธรรมเขมรมาใช ทําใหมี
คตคิ วามเชอื่ บางสวนเปนการปกครองแบบฮินดูของอินเดีย พระมหากษัตริยอยุธยาจึงเปนเสมือนสมมุติเทพ
ทอี่ วตารหรอื แบง ภาคลงมาปราบยุคเข็ญในมนุษยโลก และเปนศูนยรวมของการปกครอง มีแนวคิดเกี่ยวกับ
สถาบันพระมหากษัตริยที่เกิดจากศาสนาพราหมณ ฮินดู ไดยกยองพระมหากษัตริยไวในฐานะของเทวดา
ซง่ึ เปรียบดงั องคพระนารายณ หรือพระวิษณุอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ ทําใหมีการสรางสัญลักษณแทนองค
พระมหากษตั รยิ เมือ่ ประทับหรอื เสดจ็ ไปท่ตี าง ๆ เปน ”ธงครุฑ” อันหมายถงึ พาหนะของพระนารายณ
ครุฑเปน พาหนะของพระนารายณ
เรือพระทีน่ งั่ นารายณท รงสบุ รรณ
พระมหากษัตรยิ ทรงประทับในการประกอบพระราชพธิ ีตา ง ๆ ทางชลมารค
130
หรือแมแ ตห นาบนั ของพระอโุ บสถในพระอารามหลวงท่ีพระมหากษัตริยท รงสรา งกจ็ ะจาํ หลกั หรือทาํ ลวดลาย
ปูนปน รปู นารายณท รงครฑุ เพอ่ื แสดงถงึ ความเปนวัดทกี่ ษัตรยิ ท รงสรา ง
พระนารายณทรงสุบรรณ (ครฑุ )
บนหนาบันพระอุโบสถและวหิ ารในพระอารามหลวง
ในดานพระราชอํานาจพระมหากษตั รยิ กท็ รงมสี ทิ ธขิ าดในการใชอ ํานาจที่เรยี กวา “สมบรู ณาญาสิทธริ าชย”
ในการลงโทษลดโทษหรืออภยั โทษแกบ คุ คลในพระราชอาณาเขตและมกี ฎมณเฑียรบาลท่จี ะตราข้นึ เพอ่ื รักษา
พระราชฐาน เพอ่ื ถวายพระอภิบาลปอ งกนั เภทภยั เพื่อรกั ษาพระเกียรติยศและเปน กฎระเบียบในการปฏิบัติ
ตนตอ องคพระมหากษตั ริยแ ละสมาชิกในสถาบันพระมหากษตั ริย ไดแก พระมเหสี พระราชโอรสธิดา
พระบรมวงศานวุ งศ แมแตบ คุ คลอื่น ๆ ที่อาศัยหรอื ทํางานอยูใ นพระราชฐาน มีการกําหนดคําราชาศพั ทข น้ึ
เปนภาษาเฉพาะใชกับพระมหากษตั รยิ ห รอื พระบรมวงศานวุ งศตามลาํ ดบั ชนั้ ซึง่ คาํ ราชาศัพทหลายคาํ มาจาก
ภาษาเขมร เชน คําวา เสวย - กนิ , พระแกล - หนาตา ง ,พระขนอง - หลัง การกําหนดรปู แบบของทป่ี ระทบั
เชน พระบรมมหาราชวงั หรอื พระตาํ หนกั ทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษ คอื เปน เรือนยอดหลังคาซอ นชนั้ ตามฐานานุศักดิ์
ตา งไปจากบานเรอื นสามัญชนโดยท่ัวไป
พระทน่ี ั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง
131
ในดา นพธิ ีกรรมตาง ๆ นบั แตการประสูติจนถงึ สวรรคตของพระมหากษตั รยิ แ ละสมาชกิ ในราชตระกูล
เชน พระราชพธิ ขี นึ้ พระอู พระราชพิธลี งสรง พระราชพิธีสมโภชเดือน พระราชพิธีโสกันต พระราชพิธีบรม-
ราชาภเิ ษก พระราชพธิ ีถอื น้าํ พระพพิ ฒั นสัตยา (ศรีสัจปานการ) พระราชพธิ ีออกพระเมรุ ฯลฯ ซ่ึงลวนแลวแต
เปนพิธกี รรมท่เี ก่ยี วกบั ความเปน “เทพเจา ” ท้ังสน้ิ
พระราชพธิ โี สกนั ตท เ่ี ขาไกลาส (จําลอง)
พระเมรมุ าศ
ในการเฉลิมพระนามพระมหากษตั ริยใ นยคุ สมัยตา ง ๆ จะเห็นถงึ ความเชอื่ ในวิถีการเมืองการปกครอง
ของพระมหากษัตริยแตละพระองควาจะทรงวางพระองคอยูในแนวทางเชนไร คือ ทรงเปนเทวราชา เชน
พระนามสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 (อทู อง) สมเด็จพระรามราชาธิราช สมเด็จพระนารายณมหาราช หมายถึง
พระรามพระนารายณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หมายถึงพระอิศวร สมเด็จพระอินทราธิราช หมายถึง
พระอินทร หรือทรงเปนพุทธราชา และธรรมราชา เชน สมเด็จพระมหาธรรมราชา (ลิไท) สมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระสรรญเพชญท่ี 1 สมเดจ็ พระเจา ทรงธรรม เปน ตน
132
ศาสนาพราหมณ์
ฮินดู
พุทธศาสนา สถาบัน ความเชอื ท้องถนิ
พระมหากษัตริย์ไทย
แผนภูมแิ สดงความสัมพนั ธของสถาบันพระมหากษัตรยิ ก บั ศาสนาและความเชื่อทองถน่ิ
จากแผนภมู ขิ า งตน นี้ช้ใี หเห็นวา แมสถาบนั พระมหากษัตรยิ จะมีลกั ษณะของเทวราชาชัดเจนในหลาย
สว น แตม ีอกี หลายสว นที่แสดงถึงความเปน “ธรรมราชา” หรือ “พุทธราชา” ของพระมหากษัตริย ในสมัย-
สุโขทัยอทิ ธพิ ลของพุทธศาสนาทาํ ใหพ อขุนรามคําแหงเสดจ็ ออกสง่ั สอนประชาชนดว ยพระองคเ องบนขดานหิน
“มนังคศิลาบาต” กลางดงตาล หรือพระมหาธรรมราชาลิไท ทรงสรางพระพุทธชินราชเมืองพิษณุโลกและ
เสดจ็ ออกผนวช เปน ตน โดยเฉพาะสมยั อยุธยา ท่ีเห็นไดชัดวา พระพุทธศาสนาสงผลตอการรับเอาหลักพุทธ
ธรรมมาใชใ นการปกครองบา นเมอื งของสถาบันพระมหากษตั ริย เชน พระมหากษัตริยตองมีทศพิธราชธรรม ,
จักรวรรดิวัตร 12 และสังคหวัตถุ 4 และหลักธรรมอื่น ๆ อีกมากมาย ซ่ึงพระมหากษัตริยพระองคใด
ทรงสมบรู ณพ รอมดว ยธรรมเหลา นี้ กจ็ ะทรงไดรบั การยกยองวา ทรงเปน “ธรรมราชา”
ในพระราชพงศาวดาร กลา วถึง พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยอ ยธุ ยาวา ทรงมพี ระราชศรทั ธา
ในการทาํ นุบาํ รุงพระพทุ ธศาสนาในการสรางพระอารามหลวงที่งดงามและใหญโตโอฬารมากมาย ในกรุงศรี-
อยุธยา เชน วัดพระศรีสรรเพชญ วัดพระราม วัดราชบูรณะ วัดมหาธาตุ วัดไชยวัตนาราม ฯลฯ และมีการ
สถาปนาพระพุทธรูปใหญง ดงาม เชน พระพุทธชินราช พระศรสี รรเพชญ พระพทุ ธไตรรัตนนายก (พระพทุ ธเจา
พแนงเชิง) พระมงคลบพิตร เปนตน พระเจา แผน ดนิ ทุกพระองคทรงบําเพ็ญกุศลเสด็จนมัสการพระพุทธบาท
และพระพุทธฉายที่สระบุรีเปนประจํา นับแตรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรมเปนตนมา เหตุการณดังกลาว
แสดงใหเ หน็ ถงึ ความม่นั คงในหลักพุทธธรรมท่ที รงปรับปรุงพระราชจริยวัตรใหเหมาะกับวิถีความเปนอยูของ
คนไทย ในวรรณคดีโคลงพระราชพิธีทวาทศมาสที่กลาวถึงพระราชพิธีสิบสองเดือน ซ่ึงกําหนดไวในรอบป
ปรากฏวาหลายพระราชพิธีทท่ี รงพระราชทานพระราชทรัพยโดยการโปรยทานแกประชาชนในการท่ีสถาบัน
พระมหากษตั ริยไดแสดงถึงพระเมตตาท่ที รงมตี อประชาชนและมิไดม คี วามเด็ดขาดแรงกลา จนเกินไปในการใช
133
พระราชอํานาจเชน น้ี อาจเปน ชอ งทางใหเกิดความไมม่นั คงในพระราชบลั ลังกแ ละการสบื ราชสมบัติไดแมจะมี
กฎมณเฑียรบาลบังคบั ใชอยู ทาํ ใหพ ระมหากษตั รยิ แ ละองครัชทายาทยิ่งตองทรงบําเพ็ญพระบุญญาบารมีให
เปน ทจี่ งรักภักดีของขนุ นาง ขา ราชการและไพรฟาขา แผนดิน ในขณะทต่ี องทรงมวี ธิ ีการปรับปรุงระบบราชการ
และการปกครองใหเหมาะสมกับสภาพบานเมืองแตละยุคสมัยดวยจึงจะทรงรักษาพระราชอํานาจและราช-
บัลลังกเ อาไวได
พระมหากษัตรยิ บ างพระองคเ ชื่อในการบาํ เพ็ญพระบารมีในฐานะพระโพธิสัตว เชน สมเด็จพระเจา
ปราสาททอง ทรงอธิษฐานปรารถนาพุทธภูมิ พระองคทรงเปล่ียนรูปทรงของพระประธานในพระอุโบสถ
วัดหนาพระเมรุ เปนพระพุทธรูปทรงเครื่อง ซ่ึงสันนิษฐานไดอีกนัยคือ เปรียบเสมือนพระศรีอริยเมตไตรย
จนถึงกรุงธนบรุ ีและรตั นโกสนิ ทรต อนตน ก็ยังคงรับคตคิ วามเชือ่ เชน เดียวกบั สมยั อยุธยาไวค อ นขางจะครบถวน
สมบรู ณ เพยี งแตก ารสนิ้ พระชนมของพระมหากษัตรยิ เ ปลีย่ นจาก คําวาเสด็จนฤพาน (นิพพาน) มาเปนคําวา
“สวรรคต” เทา น้ัน คือลดฐานะลงมาไมไ ดแสดงฐานะวา ทรงเปน พระพุทธเจา หรือพระโพธิสัตว อยางชัดเจน
เชน สมยั อยุธยา สวนสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชนั้นทรงใฝพระทัยในการเจริญกัมมัฏฐานอยางย่ิง หรือ
สมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชกท็ รงมพี ระปฐมบรมราชโองการวา
“ตง้ั ใจจะอปุ ถมั ภก ยอยกวรพุทธศาสนา
ปองกนั ขอบขณั ฑสมี า รกั ษาประชาชนและมนตร”ี
จะเหน็ ไดวา พระบรมราชโองการน้แี สดงถึงความตระหนักในพระราชภาระที่ทรงมีตอบานเมืองใน 3
ประการ คอื การปองกนั การรกั ษา และการคมุ ครอง “ไพรฟ าขา แผนดิน” โดยเฉพาะเปน การฟนฟูบํารุงขวัญ
และกําลังใจใหแ กค นทย่ี งั ไมลืมการลม สลายของทุกสถาบันในคราวเสียกรงุ ศรอี ยุธยาครง้ั ที่ 2 ในป พ.ศ. 2310
ครั้นมาถงึ ในรัชกาลตอ ๆ มา เชน สมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูห วั รชั กาลที่ 4 พระองคท รงเคยผนวชมา
นานกอนขึน้ ครองราชสมบัติจึงทรงสงเสรมิ พระพทุ ธศาสนาอยางเตม็ ทตี่ ามท่ที รงเลาเรยี นมาพระราชกระแสใน
รัชกาลที่ 4 ทรงตรสั ไวตอนหนง่ึ วา “พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยมิไดย่ิงใหญไปกวาความสุขสวนรวม
ของประชาชน” และยงั ทรงมแี นวคดิ ในการเปลย่ี นแปลงยอมรบั พระราชฐานะของพระมหากษตั ริยวาทรงเปน
“มหานิกร สโมสรสมมติ” ไมใชการปราบดาภิเษกหรือการข้ึนครองราชย โดยอํานาจดังในอดีต แตเปนการ
ยนิ ยอมพรอ มใจยกยองของมหาชน และแสดงใหเหน็ วา สถาบนั พระมหากษัตรยิ ไดเ รมิ่ ตระหนักใน “อํานาจ”
ของประชาชน หรือ “ประชาธิปไตย” มากข้ึน ซ่ึงในรัชสมัยของพระมหากษัตริยอ่ืน ๆ ถัดมาก็ทรงมี
พระราชดําริเก่ียวกับการพระราชทานพระราชอํานาจของพระองคคืนสูประชาชนมากขึ้นมาโดยลําดับ เชน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหขุนนางที่เดินทางไปราชการในยุโรปใหกลับมาถวาย
รายงานถงึ การสงั เกตแนวทางการปกครองแบบประชาธปิ ไตยของประเทศเหลานั้น การทดลองใหขาราชการ
ไดฝ กบทบาทสมมตุ ใิ นวถิ ีประชาธปิ ไตยจากดสุ ิตธานี ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ตลอดจนการตัดสินพระทัยสละพระราชอํานาจแกประชาชนของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
เมื่อคณะราษฎรทต่ี ้ังตนเองเปนตัวแทนของราษฎรขอพระราชทานอาํ นาจอธปิ ไตย การทคี่ วามหางเหินกันดวย
ระบบเทวราชเกือบจะหมดไปโดยส้นิ เชิงในหวงเวลานนี้ บั สมยั รัชกาลที่ 4 เปนตนมา ทรงโปรดฯ ใหประชาชน
134
เฝา ชมพระบารมไี ดส ะดวกข้นึ กวาในอดตี และเริ่มคลค่ี ลายมากจนน่ังเกาอ้ีในขณะเขาเฝา ได แตประชาชนก็ยัง
ยนิ ดที ่ีจะหมอบกราบแทบพระยุคลบาทดวยความรูสึกจงรักภักดีเสมือนพระองคทรงเปนเจาชีวิตดังแตกอน
แมการปกครองดวยสถาบนั กษตั รยิ ข องไทยเราจะมีลักษณะเปนการปกครองท่ีประชาชนไมมีสวนรวมในการ
กําหนดผูปกครอง อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเปนของพระมหากษัตริย แตมีลักษณะที่ผิดไปจาก
ระบอบเผดจ็ การ เพราะพระมหากษตั ริยไดรบั การยอมรบั เทิดทูนจากประชาชน ในลกั ษณะเปนเสมือนสถาบนั
ศักดิส์ ทิ ธ์ทิ ใี่ หค วามคุม ครองแกตน การยอมอยใู ตก ารปกครองของพระมหากษัตริยเปนไปดวยความสมัครใจ
บังเกิดจากความจงรักภักดีเพราะตระหนักวา ประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงดวยพระบารมีของ
พระมหากษตั รยิ ซ ง่ึ มีระบบศกั ดนิ าชว ยจดั ระเบยี บทางสงั คมสบื เนอื่ งจนถงึ สมัยรัตนโกสินทรตอนตนดว ยจึงเลกิ ไป
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชดําเนนิ ทร่ี พ.ศิรริ าช
(รัชกาลทื่ 9) เสด็จออกสีหบญั ชร
บทบาทของสถาบันพระมหากษัตรยิ ในการพฒั นาชาตไิ ทย
สถาบันพระมหากษัตริยมีความสําคัญอยางย่ิงในการเปนศูนยรวมจิตใจของชนชาวไทยทุกหมู
เหลา ทุกฐานะทุกเชื้อชาติและศาสนา ตางยึดถือพระมหากษัตริยเปนธงชัย เปนท่ีพึ่ง และเปนแบบอยาง
ในการดาํ เนินชวี ิต ทง้ั นเี้ พราะชาวไทยมีความเช่ือมั่นศรัทธารวมกันวาองคพระมหากษัตริยทุกพระองคทรงมี
พระบุญญาธกิ ารอันสงู สง ดวยทรงบาํ เพ็ญพระบารมีส่ังสมมาหลายภพชาติ ดุจดังความเชื่อในพุทธศาสนาวา
บุรุษที่ไดบําเพ็ญกุศลทานอันถึงพรอมชักชวนใหผูคนมารวมกุศลอันย่ิงใหญแลวเทาน้ันจึงจะไปบังเกิด
ในดาวดึงสเสวยอินทรสมบัติในวิมานน้ันได และยังเชื่อวาพระมหากษัตริยคือพระโพธิสัตวเสด็จลงมาจาก
สวรรคชัน้ ดุสติ เพ่อื ลงมาบาํ เพ็ญพระบารมีเพื่อการตรัสรใู นพุทธภมู ิอันใกล บา งกเ็ ช่ือวา พระองคค ือ พระอิศวร
มหาเทพ หรอื พระวิษณุอวตารลงมาดบั ทกุ ขรอ นใหปวงชนในมนษุ ยโลก
135
พระสยามเทวาธริ าชทลู เชิญพระอศิ วรลงมาจตุ ิเปนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ดว ยความศรทั ธาอนั หย่ังรากลกึ ลงในจิตใจของชาวไทยทุกหมูเหลาตอสถาบันพระมหากษัตริย เชนน้ี
จึงเปนส่ิงทท่ี าํ ใหส ถาบันพระมหากษัตรยิ เ ปน ทห่ี วงั พ่ึงในพระบารมแี ละพระมหากรณุ าธิคุณในทกุ ๆ ดาน โดยท่ี
สมาชกิ ในสถาบันพระมหากษตั ริยกไ็ ดรบั การกาํ หนดบทบาทดวย “ธรรมะของพระราชา”อยูแลวรวมท้ังการ
ส่ังสมมาโดยการบอกกลาวส่ังสอนมาในสายพระราชสกุลถึงความรับผิดชอบตอพระราชภาระของผูครอง
แผนดนิ ดงั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวทรงกวดขนั ดูแลพระราชโอรส คอื สมเดจ็ เจาฟากรมขุนพินิต
ประชานาถ (ตอมาคอื รชั กาลที่ 5) ในการศึกษาราชการแผน ดินโดยโปรดเกลาฯ ใหเฝาปฏิบัติประจําพระองค
นอกเหนือจากเวลาเฝา ตามปกตเิ พอื่ ทรงรับฟงพระบรมราโชวาทและพระบรมราชาธิบายในเร่ืองราชการและ
ราชประเพณีตาง ๆ อยเู สมอ หรอื ความในพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ทรงมีถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิรุณหิศถึงภาระรับผิดชอบของผูเกิดในราชตระกูลภายใต
พระมหาเศวตฉัตรวา อยาถือวา ตวั เองมีบุญแตใหถ อื วา มกี รรมทต่ี อ งมหี นา ทีต่ องปฏิบัตติ อประชาชนในดานการ
ศกึ สงครามผทู เี่ ปน องคร ัชทายาทนนั้ จะตอ งฝก ฝน และรบั ผิดชอบต้ังแตทรงพระเยาว พ.ศ. 2357 ในรัชสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา นภาลัย เมื่อมอญไมพอใจท่ีถูกพมาเกณฑแรงงานกอสรางพระเจดีย จึงกอ
กบฏที่เมืองเมาะตะมะ ทําใหถูกพมาปราบปราม ตองหนีเขามายังไทยเปนระลอกใหญเพ่ือพึ่งพระบรม
โพธิสมภาร เจา ฟา มงกุฎ (ตอ มาคือรัชกาลท่ี 4) เสด็จเปนแมก องพรอมดวยกรมหลวงพิทักษมนตรี ออกไปรับ
ถึงชายแดน แมแตพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเองก็ทรงไดรับการฝกฝนใหไปราชการสงคราม
ตงั้ แตพระชนมายเุ พยี ง 8 พรรษา
ท่ีเดนชัดคือบทพระนิพนธของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีที่ทรงกลาว
เปรียบเทียบการทรงงานวา คือการเดินไปในปาท่ีมีแตอันตรายในบทรําพึงของลูกและบทปลอบใจของ
พอ ใหล กู มีกาํ ลังใจทีจ่ ะทําตามอุดมการณค ือการเสียสละเพือ่ ผอู นื่ ดงั นั้นบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย
136
จึงเปลยี่ นไปไมใ ชเ พยี งการทรงงานของพระมหากษัตริยเ พียงลาํ พังแตพระบรมวงศานุวงศกร็ ว มมบี ทบาทตาง ๆ
กนั ทจี่ ะชวยสงเสรมิ ความเจรญิ กา วหนา แกช าติบานเมืองมิใชเ พียงออกทาํ ราชการสงครามเทา นัน้
ฉันเดินตามรอยเทา อันรวดเรว็ ของพอโดยไมห ยุด
ผานเขาไปในปา ใหญ นากลวั ทบึ แผไ ปโดยไมม ที สี่ ้นิ สุด มืดและกวา ง
มตี น ไมใหญเ หมือนหอคอยท่เี ขม แขง็
พอ จา ...ลกู หิวจะตายอยแู ลว และเหนอื่ ยดวย
ดซู ิจะ เลอื ดไหลออกมาจากเทาทง้ั สองท่ีบาดเจ็บของลกู
ลูกกลัวงู เสอื และหมาปาพอ จา ...เราจะถงึ จุดหมายปลายทางไหม?
ลูกเอย...ในโลกนี้ไมม ที ่ไี หนดอกท่มี ีความรื่นรมณแ ละความสบายสําหรบั เจา
ทางของเรามไิ ดป ูดวยดอกไมสวยสวยจงไปเถิด แมวา มนั จะเปน สิง่ ท่ีบบี ค้นั หวั ใจเจา
พอเห็นแลว วา หนามตาํ เนอ้ื ออ นออนของเจาเลอื ดของเจา เปรียบดงั่ ทบั ทมิ บนใบหญาใกลน ้ํา
นํ้าตาของเจา ท่ไี หลตอ งพุมไมสเี ขยี วเปรียบด่งั เพชรบนมรกตทีแ่ สดงความงามเต็มท่ี
เพ่อื มนุษยชาต.ิ ..จงอยา ละความกลาเมอื่ เผชิญกบั ความทุกข. ...ใหอ ดทนและสุขมุ
และจงมีความสขุ ทไ่ี ดย ดึ อุดมการณทม่ี คี า ไปเถดิ ..ถา เจาตองการเดนิ ตามรอยเทาพอ
บทพระราชนิพนธส มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
137
บทบาทหนาที่ของพระมหากษัตริย
บทบาทหนาท่ีของพระมหากษัตริยคือ การเปนประมุขของประเทศ และทรงมีหนาที่ในดานการ
ปกครอง เสริมสรางความม่ันคงใหพระราชอาณาจักร นอกจากน้ี พระมหากษัตริยก็ยังทรงสงเสริมดาน
เศรษฐกจิ ทําใหม ีความม่งั คงั่ เจรญิ รุงเรอื ง พรอ มทัง้ ทาํ นุบาํ รุงศลิ ปวฒั นธรรมสรางความงดงามในความเปน ไทย
1. ดานการเมืองการปกครองและเสริมสรา งความม่ันคง
พระมหากษัตริยท รงเปน ผูน าํ ในการสรา งความมั่นคงในพระราชอาณาจักร และทรงเปนจอมทพั ในการ
ทําศึกสงครามเพื่อขยายพระราชอาณาเขตใหกวางใหญไพศาล ในขณะเดียวกันพระมหากษัตริยก็ยังทรง
ปกปองบา นเมืองจากขา ศกึ ศัตรู ดังเชน สมัยสุโขทัยพอขุนบางกลางหาว ทรงรวมมือกับพอขุนผาเมืองขับไล
ขอมสบาดโขลญลาํ พงออกจากสโุ ขทัย พอขุนบางกลางหาวทรงยึดเมืองศรีสัชนาลัยไวไดและทรงคืนเมืองให
พอ ขุนผาเมอื ง สว นพอ ขนุ ผาเมืองก็ทรงปราบดาภเิ ษกพอขนุ บางกลางหาวเปน กษัตรยิ สุโขทัย ทรงพระนามวา
“พอขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย” ปฐมกษตั ริยแ หง ราชวงศพ ระรว งเจา กรุงสุโขทัย พอขุนศรีอินทราทิตยทรงปกครอง
บานเมืองแบบพอปกครองลูกและปกปองพระราชอาณาเขตเพ่ือใหไพรฟาประชาชนอยูอยางรมเย็นเปนสุข
พระองคทรงทําสงครามยุทธหัตถีกับขุนสามชน เจาเมืองฉอด โดยมีพระราชโอรสองคที่ 3 รวมรบจนสามารถ
เอาชนะขุนสามชนได พระองคจ งึ ทรงเฉลมิ พระนามวา “พระรามคําแหง”
คร้ันตอมา พระรามคําแหงก็ไดขึ้นครองราชยตอจากพอขุนบานเมือง ซึ่งเปนพระเชษฐาธิราชของ
พระองคทรงพระนามวา “พอขุนรามคาํ แหง”พระองคท รงปกครองบา นเมือง และขยายพระราชอาณาเขตได
กวางใหญไพศาลท่ีสุดในสมัยสุโขทัย คือ ทิศตะวันออกทรงปราบไดถึงเมืองสระหลวง สองแคว (พิษณุโลก)
ลุมบาจาย สะคา ขามฝงแมนํ้าโขงไปถึงเวียงจันทน เวียงคําในลาว ทิศใตทรงปราบไดคนที (บานโคน
กาํ แพงเพชร) พระบาง (นครสวรรค) แพรก (ชยั นาท) สพุ รรณภมู ิ ราชบรุ ี เพชรบุรี นครศรีธรรมราช มฝี ง ทะเล
สมุทร (มหาสมุทร) เปนเขตแดน ทางทิศตะวันตกทรงปราบไดเมืองฉอด เมืองหงสาวดี และมีมหาสมุทรเปน
เขตแดน ทิศเหนือทรงปราบไดเมืองแพร เมืองนาน เมืองพลัว (อําเภอปว จังหวัดนาน) ขามฝงโขงถึงเมืองชวา
(หลวงพระบาง) เปน เขตแดน นอกจากน้ี พอขุนรามคําแหงมหาราชยงั ทรงสรางพระราชไมตรีกับพระยามังราย
แหง ลา นนา และพระยางาํ เมอื งแหงพะเยา ทรงยินยอมใหพระยามังรายขยายอาณาเขตลานนาทางแมน้ํากก
แมนํา้ ปง และแมน้าํ วังไดอยา งสะดวก เพราะพระองคต องการใหล านนาเปนกันชนระหวา งจนี กบั สุโขทยั
เมื่อ พ.ศ. 1839 พอขนุ รามคําแหงมหาราชยังทรงชวยเหลอื พระยามังรายหาชัยภูมใิ นฐานะมิตรสหาย
สว นในสมัยอยธุ ยา พระเจาอูทองทรงรวบรวมสพุ รรณบรุ ีกับละโว ซึ่งเปนกลุมเมืองในเครือญาติเขา
ดวยกัน แลวสถาปนากรุงศรีอยุธยาบริเวณท่ีเรียกวา หนองโสน เม่ือจุลศักราช 712 ปขาล โทศก วันศุกร
ขนึ้ 6 ค่ํา เดือนหา เวลารงุ แลว 3 นาฬิกา 9 บาท (9 โมงเชา 54 นาท)ี เมือ่ แรกเสวยราชสมบตั ทิ รงพระนามวา
สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุนทรบรมบพิตรพระพุทธเจาอยูหัว ขณะพระชนมายุได 37 พรรษา ภายหลังการ
สถาปนาพระราชอาณาจักรแลว ปรากฏความในจุลยุทธการวงศวา ประเทศราช 16 หัวเมือง ไดเขามาถวาย
บังคมยอมรับในพระราชอํานาจ เชน มะละกา (แหลมมลาย)ู ชวา (หลวงพระบาง) ตะนาวศรี นครศรธี รรมราช
138
ทวาย เมาะตะมะ เมาะลําเลงิ สงขลา จันทบูรณ พษิ ณุโลก สโุ ขทยั พิชยั สวรรคโลก พิจิตร กําแพงเพชร และ
นครสวรรค นอกจากนพี้ ระองคย ังทรงทาํ สงครามและกวาดตอ นเทครวั ชาวกมั พชู ามายังกรุงศรีอยุธยา
รัชสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดใหมีการปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดิน โดยการ
แตงตั้งตําแหนงสมุหพระกลาโหม ดูแลทหาร และสมุหนายก ดูแลพลเรือน ขณะเดียวกันพระองคก็ยังทรง
แตงตั้งคณะบุคคลขน้ึ มารบั สนองพระราชกจิ ซ่ึงแบง เปน 4 ฝาย เรียกวา จตุสดมภ คือ อธิบดีกรมเมือง (เวียง)
อธบิ ดีกรมวัง อธิบดีกรมคลัง อธิบดกี รมนา และพระองคยงั ทรงโปรดใหพระญาติวงศไปปกครองบานเล็กเมือง
นอยตามฐานะดวย แตตองอยูในพระเนตร พระกรรณของพระองค ดังนั้นสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงทรง
เปน ศนู ยก ลางอํานาจในการปกครองทงั้ ปวง
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทํายทุ ธหตั ถีกับพระมหาอปุ ราชาเมอ่ื พ.ศ. 2135
ตอมาในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระมหากษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยา ผูทรงพระปรีชา
สามารถในดานการทําศึกสงคราม พระองคทรงขยายพระราชอาณาเขตออกไปอยางกวางขวางและปกปอง
บานเมืองจากขาศกึ ศตั รู เชน สงครามยทุ ธหัตถี เม่อื พ.ศ. 2135 พระเจา หงสาวดีนันทบเุ รง ทรงใหพระมหา-
อุปราชายกทัพมาบกุ กรงุ ศรีอยธุ ยาผานดา นเจดียส ามองค สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเม่อื ทรงทราบขาวศกึ
ก็ทรงแตงกองทพั พรอ มดว ยสมเดจ็ พระเอกาทศรถ พระอนุชาธิราชออกรบกับพระมหาอุปราชาท่ีหนองสาหราย
พระองคทรงทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาจนสามารถเอาชนะไดสําเร็จ ผลของสงครามทําใหพระมหา-
อปุ ราชาทรงสน้ิ พระชนมบ นคอชาง ในการทําสงครามยทุ ธหัตถคี ร้งั น้เี ปน สาเหตุทาํ ใหพมาไมกลา เขามารุกราน
กรุงศรีอยุธยายาวนานกวา 100 ป
ครั้นในสมยั สมเด็จพระนารายณม หาราช พระองคท รงเจริญสัมพันธไมตรีกับพระเจาหลุยสท่ี 14 แหง
ประเทศฝร่งั เศส เพอ่ื สรา งรากฐานแหง พระราชอํานาจใหเปนที่นา เกรงขามในบรรดานานาประเทศ เนื่องจาก
ฝร่ังเศสเปน ประเทศมหาอํานาจท่ีไดร บั การยอมรบั โดยทวั่ ไปวา มคี วามสามารถทางดา นการรบ และความเจรญิ
ดานศิลปวทิ ยาการ สมเดจ็ พระนารายณม หาราชทรงโปรดใหทหารชาวตา งชาตมิ ารับราชการในราชสํานักและ
ทรงสรา งเมืองลพบรุ ีไวเปน ราชธานีแหงท่ี 2 พรอ มท้ังใหชาวตา งชาติสรางปอมปราการไวเพื่อต้ังรับขาศึกศัตรู
ทจี่ ะเขา มากระทําอันตรายตอ พระราชอาณาจกั ร
139
สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช พระมหากษัตริยแ หงกรุงธนบุรี
เม่ือกรงุ ศรอี ยุธยาพา ยแพใหกับพมาในป พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราชทรงกอบกเู อกราช
ขับไลขาศึกศัตรูออกจากพระราชอาณาจักร แลวพระองคก็ทรงสถาปนากรุงธนบุรีเปนราชธานี ตอจากนั้น
พระองคก็ไดทรงรวบรวมบานเมืองใหเปนปกแผนดวยการปราบปรามชุมนุมตาง ๆ คือ ชุมนุมเจาพระยา-
พิษณโุ ลก (เรือง) ชุมนุมเจา พระฝาง (เรอื น) ชมุ นุมเจาพระยานครศรีธรรมราช (หน)ู และชุมนมุ เจา พมิ าย หรือ
กรมหมนื่ เทพพิพธิ กระท่งั ถึง พ.ศ. 2313 จงึ สามารถมชี ัยเหนือชุมนมุ ตา ง ๆ ไดทงั้ หมดสงผลใหช าตไิ ทยกลบั มา
รวมเปนอันหนง่ึ อันเดยี วกนั อีกครั้ง หลังศึกอะแซหวุนกี้ ใน พ.ศ. 2318 สมเด็จพระเจา ตากสินมหาราชทรง
ดําเนนิ การขยายพระราชอาณาเขตของกรุงธนบุรีออกไปอยางกวางใหญไพศาล ทิศเหนือไดถึงเมืองเชียงใหม
ทิศใตต ลอดหัวเมอื งตานี (ปต ตาน)ี ทิศตะวันออกตลอดกัมพูชา จําปาศักดิ์ถึงญวนใต ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ตลอดเวยี งจันทน หวั เมอื งพวน และหลวงพระบาง ทิศตะวนั ตกถึงเมืองมะริด และตะนาวศรอี อกมหาสมทุ รอินเดีย
ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระองคทรงสถาปนาราชธานี
ขน้ึ ใหมในป พ.ศ. 2325 บริเวณฝง ตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยา เรียกวากรงุ รตั นโกสินทร ในตอนตนรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงรวมกับกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ผูเปน
พระอนุชาธิราชทําศึกสงครามกับพมา ในป พ.ศ. 2328 ซึ่งเปนสงครามคร้ังใหญ เรียกวา สงคราม 9 ทัพ
พระเจา ปดุง กษตั รยิ แ หง พมา ยกกองทัพมาตีไทยมากถึง 9 ทัพ ต้ังแตทิศเหนอื ทิศตะวนั ตก และทิศใต แตดวย
พระปรีชาสามารถของท้ังสองพระองคจงึ เอาชนะพมาไดสาํ เร็จ
140
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว (กลาง)
ทรงฉายพระรปู กับสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ (ขวา)
และสมเดจ็ ฯ กรมพระยาเทวะวงศว โรปการ (ซาย)
ครน้ั ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รชั กาลที่ 5 แหง กรงุ รัตนโกสินทร พระองค
ทรงปฏิรูปบานเมืองใหทัดเทียมกับนานาประเทศที่เขามาเจริญสัมพันธไมตรีในราชสํานักสยาม ทรงมี
พระราชดําริแกไขระบบบริหารราชการแผนดินคร้ังใหญเมื่อป พ.ศ. 2435 โดยทรงยกเลิกระบบเสนาบดี
แบบเดิมท่มี ีมาตัง้ แตส มัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ แลว ทรงจดั ตั้งกระทรวงจํานวน 12 กระทรวง ทรงแบง
หนา ทใ่ี หชดั เจน และเหมาะกบั ความเปลี่ยนแปลงของบานเมือง พระราชกรณียกิจทสี่ ําคญั ของพระองคค อื การ
รักษาเอกราชของชาติไวไดร อดปลอดภัย ในขณะท่ีประเทศเพอ่ื นบานโดยรอบ ทวั่ ทุกทิศตอ งตกเปน อาณานคิ ม
ของชาติตะวันตก โดยเฉพาะอังกฤษกบั ฝรง่ั เศส ซึง่ ในขณะนนั้ เปนมหาอาํ นาจที่นาหวาดกลัว
ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) พระองคทรงเปนประมุข
ของประเทศตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย และทรงเปน ผูท่ีคอยบาํ บดั ทกุ ขบ ํารงุ สขุ ของพสกนิกรชาว
ไทยท้ังประเทศ ดังพระบรมราชโองการแกป ระชาชนชาวไทยวา “เราจะครองแผน ดินโดยธรรม เพ่อื ประโยชน
สุขแหงมหาชนชาวสยาม” พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปนท่ี
ประจกั ษ ทั้งชาวไทยและชาวตางชาตนิ บั ต้งั แตท รงครองสริ ิราชสมบัตพิ ระองคทรงอุทิศกําลังพระวรกาย และ
กําลังพระสติปญญาเพื่อประโยชนสุขของประชาชนตลอดมา ทรงเสด็จพระราชดําเนินเย่ียมราษฎรท่ัวทั้ง
ประเทศ ซ่งึ ทาํ ใหทรงทราบถงึ ปญ หาทุกดา นของประชาชน จนนํามาซ่ึงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ตา ง ๆ เชน โครงการฝนหลวง เพ่ือชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยแลง การขาดแคลนนํ้าหรือฝนทิ้งชวง และ
ชว ยดานการอปุ โภคบริโภคของประชาชน โครงการนํ้าดีไลน ้ําเสยี เพอ่ื แกไ ขปญหามลพิษทางนาํ้ โครงการแกม
ลิงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อแกไขปญหานํ้าทวม พระราชดําริการอนุรักษปาไมดวยการสราง
ความสํานกึ ใหรักปา ไมรวมกัน การปลูกปา นอกจากนี้ยังมแี นวพระราชดําริดานการเกษตร คือ เกษตรทฤษฎี
ใหมอนั เปน การใชป ระโยชนจ ากพื้นที่ทมี่ ีอยอู ยางจํากดั ใหเ กดิ ประโยชนส งู สุด แนวพระราชดาํ ริเร่อื งเศรษฐกิจ
พอเพยี งซึง่ เปนวถิ ีแหง การดําเนินชวี ิตอยอู ยางเรียบงาย รูจักประมาณตน มีเหตุผล มีภูมิคุมกันท่ีดี มีความรู
คคู ณุ ธรรม และโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดํารอิ นื่ ๆ อีกมากมาย
141
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)
ทรงบําเพญ็ พระราชกรณยี กิจนานัปการเพ่อื บาํ บัดทุกขบาํ รุงสขุ ของพสกนิกรชาวไทย
พัฒนาการบทบาทหนาที่ของพระมหากษัตริยจากอดีตสูปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปในบริบท
ทางสังคมของแตล ะยคุ สมัย เพราะพระมหากษัตรยิ ในอดีตตองเปนจอมทัพในการทําศึกสงครามปกปองและ
ขยายพระราชอาณาเขต สรางความเปนปกแผนมั่นคง ความเจริญรุงเรืองของพระราชอาณาจักร สวนใน
ปจจุบันพระมหากษัตริยทรงไมไดทําศึกสงครามแลว แตทรงมีบทบาทในการบําบัดทุกขบํารุงสุข แกอาณา
ประชาราษฎรใหอยรู มเยน็ ภายใตพระบรมโพธิสมภารดว ยการแกไขปญหาการทาํ มาหากนิ และการดาํ เนินชีวติ
ของประชาชนโดยทรงพระราชทานโครงการหลวงตา ง ๆ ตามแนวพระราชดําริ
ในรัชกาลปจจุบนั สมเดจ็ พระเจา อยหู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู พระองคข้ึนทรงราชย-
สืบราชสันตติวงศ เปนสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 10 ทรงเปนประมุขของประเทศตามรัฐธรรมนูญแหง-
ราชอาณาจักรไทย และสานตอพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
(รัชกาลท9ี่ ) ตอไป
142
นอกจากนี้พระบรมวงศานวุ งศท กุ พระองคในราชตระกลู กย็ ังทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจในดานตาง ๆ
ตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) ดังน้นั สถาบนั
พระมหากษตั รยิ จ ึงเปน ศนู ยรวมจิตใจของปวงชนชาวไทยท้ังปวง
2. ดา นการสง เสรมิ เศรษฐกจิ ของชาติ
การสงเสริมเศรษฐกิจของชาติ เปนบทบาทที่สําคัญของสถาบันพระมหากษัตริย ต้ังแตสมัยสุโขทัย
เปนราชธานี ในศิลาจารึกสุโขทัยหลกั ที่ 1 กลาวเกีย่ วกบั การสง เสริมการคา ในสมยั พอขุนรามคาํ แหงมหาราชวา
“เจาเมืองบเอาจกอบในไพรลทู าง เพือ่ นจูงวัวไปคาขมี่ า ไปขาย ใครจกั ใครคา ชางคา ใครจกั ใครค ามา คา ใครจัก
ใครคา เงือน (เงิน) คาทองคา ”
จากขอความขางตน แสดงใหถึงการสงเสริมเศรษฐกิจการคาของพระมหากษัตริยดวยการเปดเสรี
ทางการคา และไมเก็บ “จกอบ” ซ่ึงหมายถึงภาษีคาผานดานกับบรรดาพอคาที่มาทําการคาในสุโขทัย
พระมหากษัตริยสมัยสุโขทัยมีการปรับปรุงระบบชลประทาน เพ่ือกักเก็บน้ําตามธรรมชาติใหเพียงพอตอ
การอุปโภค บริโภค ตลอดทั้งปของไพรฟา ปรากฏวา มกี ารขดุ สระ (ตระพัง) สรางเขอ่ื น (สรีดภงส หรือทํานบ
พระรวง) ดังในศิลาจารึกสุโขทัยหลักท่ี 1 วา “กลางเมืองสุโขทัยนี้มีนํ้าตระพังโพยสีใสกินดี ดั่งกินน้ําโขง
เมอ่ื แลง ” ซง่ึ เปนการสงเสริมการทําเกษตรกรรมของบรรดาไพรฟา เชน การปลูกหมาก พลู มะพราว ขนุน
มะมวง มะขาม และทรพั ยากรอื่น ๆ
สวนการคากบั ตา งประเทศ องคพระมหากษัตรยิ ทรงสนับสนุนใหพอคาชาวตางชาติเขามาทํา การคา
กบั สุโขทัย อาทิ จีน อนิ เดีย เปอรเซีย อาหรบั มะริด และลาว ฯลฯ สินคาสําคัญของสุโขทัยที่สงไปคาขายกับ
ตางประเทศ คือ เครื่องสังคโลก ซึ่งเปนเครื่องปนดินเผาท่ีมีสีเขียวไขกา น้ํายาเคลือบแตกลายงา
เปน ลักษณะเฉพาะของสโุ ขทัยที่งดงาม
เศรษฐกิจสมัยสุโขทยั เรม่ิ ขยายตัวเพ่ิมมากข้ึนเพราะพระมหากษัตริยทรงสนับสนุนการคาทั้งภายใน
และภายนอก ประกอบกับสุโขทัยมีความอุดมสมบูรณ จึงเปนปจจัยสําคัญท่ีชวยสงเสริมนโยบายของ
พระมหากษัตรยิ ส มัยสโุ ขทยั ใหป ระสบความสาํ เรจ็ ความอุดมสมบรู ณ น้ปี รากฏในศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลักท่ี 1 วา
“เมอื งสโุ ขทยั น้ดี ี ในนํา้ มีปลา ในนามีขา ว”
สมัยอยุธยามีที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ สังคมอยุธยาเปนสังคมเกษตร
ประกอบอาชพี ทํานา ทําสวน ทําไร และการประมง ผลผลิตทางการเกษตรทง้ั มีทเ่ี ก็บไวบริโภคและทําการคาขาย
พระมหากษตั รยิ ท รงมนี โยบายสงเสรมิ เศรษฐกิจดวยการสรางเสน ทางคมนาคมใหส ะดวกขึ้น เชน การขดุ คลอง
ลัดเชอื่ มกบั ลําน้ําหลัก อาทิ แมน าํ้ เจาพระยา แมนํา้ ปาสัก แมน้ําลพบุรี นอกจากน้ี ยังทรงเจริญสัมพันธไมตรี
กบั นานาประเทศ ทั้งชาติตะวันออกและชาติตะวันตก ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ทรงผูกมิตรกับ
พระเจา หลุยสท่ี 14 ดวยการสงราชฑูตนําพระราชสาสนไปเจริญสัมพันธไมตรี ณ ประเทศฝรั่งเศส พระองค
ไมทรงกดี กนั ชาวตางชาติที่เขา มายงั ราชสํานัก เพราะทรงมีวิสัยทัศนกวางไกลในการนําพาประเทศไปสูความ
เจริญม่ังคั่งและม่ันคง นอกจากน้ีพระองคยังทรงติดตอกับจีน ญี่ปุน ชวา ญวน อินเดีย เปอรเซีย ฮอลันดา
และอกี หลายประเทศในทวปี ยุโรป สงผลใหการคาสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เจริญรุงเรืองเปนที่โดด
เดนมากในสมัยอยธุ ยา