193
3. สถาบนั ทเ่ี กย่ี วของกบั การแลกเปลี่ยน ไดแก
1) คนกลาง (Middleman) หมายถึง ผูทําหนาที่เปนส่ือกลางระหวางผูผลิตกับผูบริโภค เชน
พอคาขายปลีก พอคาเรตาง ๆ เปนตน คนกลางมีประโยชนทําใหผูบริโภคไดใชสินคาและบริการตามความ
ตองการแตถา คนกลางเปน ผเู อาเปรียบผบู รโิ ภคมากเกนิ ไปจะทําใหประชาชนเดอื ดรอน
2) ธนาคาร (Bank) คือ สถาบันการเงินที่ใหความสะดวกในดานการแลกเปลี่ยน ธนาคารทํา
หนาท่เี ปน ตวั กลางระหวางผูออมและผลู งทนุ
3) ตลาด (Market) ในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนซ้ือขายสินคาและ
บรกิ าร ไมไดหมายถึงสถานท่ีทําการซ้ือขายสนิ คา แตเปนสถานทใ่ี ด ๆ ทส่ี ามารถติดตอซ้ือขายกันได อาจจะมี
หลายรูปแบบ เชน ตลาดขา ว ตลาดหนุ ตลาดโค กระบอื เปนตน หนา ทีส่ ําคัญของตลาด ไดแก
3.1) การจัดหาสินคา (Assembling) คอื จัดหา รวบรวมสินคา และบริการมาไวเพื่อจําหนาย
แกผตู อ งการซอ้ื
3.2) การเกบ็ รักษาสนิ คา (Storage) คอื การเกบ็ รกั ษาสนิ คา ท่ีรอการจาํ หนา ยแกผตู องการซอ้ื
หรือเกบ็ เพอ่ื การเกง็ กาํ ไรของผูข าย เชน โกดัง หรอื ไซโลเก็บพืชผลตาง ๆ เปน ตน
3.3) การขายสินคา และบรกิ าร (Selling) ทาํ หนา ที่ขายสนิ คาและบรกิ ารแกผูต องการซอ้ื เชน
รานคาปลกี หางสรรพสินคา ตลาดสด เปนตน
3.4) การกําหนดมาตรฐานของสินคา (Standardization) ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานของ
สินคาท่นี าํ มาเสนอขายในดานของนํ้าหนกั ปริมาณและคณุ ภาพ เพือ่ ใหผ ซู ือ้ เกดิ ความไววางใจในสินคาที่นํามา
เสนอขาย
3.5) การขนสง (Transportation) ระบบการขนสงทําหนาท่ีสงสินคาที่นํามาแลกเปล่ียนซ้ือ
ขายกนั การขนสงมคี วามสําคญั เพราะทุกขั้นตอนของการผลิตจะตองผานกระบวนการขนสงทง้ั สน้ิ
3.6) การยอมรับการเสี่ยงภัย (Assumtion of Risk) ตลาดจะยอมรับการเสี่ยงภัยตาง ๆ
อนั อาจเกดิ ข้ึนจากการแลกเปล่ียนซอ้ื ขาย อาทิ ความเสยี่ งภยั เกี่ยวกบั สนิ คาสญู หายหรอื เสอ่ื มภาพ เชน สินคา
การเกษตร ยารักษาโรค อาหาร เปนตน
3.7) การเงิน (Financing) ตลาดทําหนาที่รับจายเงินในข้ันตอนตาง ๆ ของการซื้อขาย
ตลอดจนการจัดหาทนุ หมุนเวียนและสนิ เชือ่ ตาง ๆ เพือ่ การดําเนนิ ธรุ กิจเกย่ี วกับการแลกเปล่ยี นซ้อื ขาย
ในการแขงขนั ตลาดแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะคือ
1) ตลาดท่ีมีการแขงขันท่ีไมสมบูรณ (Imperfect Competitive Market) เปนตลาดที่พบอยู
โดยทวั่ ไปในประเทศตา ง ๆ ลักษณะสาํ คญั ของตลาดชนิดน้ีคือ มักมีการจํากัดอยางใดอยางหน่ึงที่ทําใหผูขาย
หรือผซู ื้อมอี ิทธพิ ลตอการกําหนดราคาหรือปริมาณได ตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณแบงออกเปน 3 แบบ
ไดแก
1.1) ตลาดก่ึงแขงขันก่ึงผูกขาด (Monopolistic Comtetition) คือ ตลาดที่มีผูซื้อขาย
จํานวนมาก สนิ คาของผูขายแตล ะรายจะมคี วามแตกตางกันเพียงเลก็ นอยแตไมเหมอื นกนั ทุกประการ สามารถ
ท่ีจะทดแทนกันไดแ ตไ มอาจทดแทนกันไดอยางสมบูรณ สวนใหญจะแตกตางกันในเรื่องของการบรรจุหีบหอ
194
และเครื่องหมายการคา ในตลาดชนิดน้ีผูขายสามารถกําหนดราคาไดบางแตตองคํานึงถึงราคาของผูขาย
รายอื่น ๆ ดวย ตัวอยางของสินคาในตลาด กึ่งแขงขันก่ึงผูกขาด ไดแก ผงซักฟอก ยาสีฟน สบู ยาสระผม
แปงเด็ก เปน ตน
1.2) ตลาดผขู ายนอยราย (Oligopoly) หมายถงึ ตลาดทมี่ ผี ขู ายไมม ากนัก ผูขายแตละราย
จะมีสว นแบง ในตลาด (Market Share) มาก สนิ คาที่ซื้อขายในตลาดจะมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กันแตไ มเ หมอื นกัน
ทกุ ประการ เชน การผลิตนาํ้ อัดลมในประเทศไทยมีเพยี งไมกีร่ าย ถาหากผูผลติ น้ําอัดลมรายใดลดราคาสินคา
ลงจะทําใหปรมิ าณขายของผูผลิตรายน้ันเพิ่มข้ึนและปริมาณขายของผูอ่ืนจะลดลง แตอยางไรก็ตามผูขายใน
ตลาดชนดิ นีม้ กั จะไมลดราคาแขง ขนั กนั เพราะการลดราคาเพอ่ื แยงลูกคาซึ่งกันและกันในที่สุดจะทําใหรายได
ของผขู ายทกุ รายลดลงโดยที่ไมไดลูกคาเพิม่ ดงั นั้น ผูข ายมกั จะแขงขนั กันดวยวิธีอ่ืน เชน การโฆษณาและการ
ปรับปรุงคุณภาพของสินคา เปนตน ตัวอยางสินคาในตลาดชนิดน้ี ไดแก น้ําดื่ม น้ําอัดลม น้ํามัน รถยนต
เปน ตน
1.3) ตลาดผูกขาด (Monopoly) หมายถงึ ตลาดทม่ี ีผูขายเพียงรายเดียวสินคาท่ีซื้อขายใน
ตลาดมีคุณลกั ษณะพเิ ศษไมเ หมอื นใคร ไมสามารถหาสินคา อื่นมาทดแทนไดอ ยางใกลเ คียง เปนการผูกขาดตาม
นโยบายของรัฐบาล เชน การผลติ บหุ รี่ การออกสลากกินแบง เปนตน หรอื ขนาดของกิจการตอ งใหญม าก เชน
กจิ การรถไฟใตดิน โทรศัพท การผลิตไฟฟา เปน ตน
2) ตลาดแขง ขนั สมบรู ณ (Prefect Competitive Market) มีลกั ษณะดงั น้ี
2.1) ผูขายและผูซื้อมีจํานวนมากราย การซื้อขายของแตละรายเปนปริมาณสินคาเพียง
เลก็ นอ ยเม่ือเทยี บกบั จํานวนซ้อื ขายทงั้ ตลาด ดังนัน้ การเปล่ยี นแปลงปรมิ าณซ้อื ขายของผูซอ้ื และผูขายรายใด
รายหนง่ึ จึงไมท าํ ใหอุปสงคข องตลาดเปลี่ยนแปลง และไมส ง ผลกระทบตอราคาตลาด
2.2) สินคามคี ุณลกั ษณะและคุณภาพใกลเคียงกันมาก (Homogeneous Product)
หมายความวา ในสายตาของผูซอ้ื เหน็ วา สินคาดังกลาวของผขู ายแตล ะรายไมแ ตกตางกันจะซอื้ จากผขู ายรายใด
กไ็ ดต ราบเทา ที่ขายในราคาตลาด
2.3) ผูผ ลิตรายใหมส ามารถเขาสตู ลาดไดโดยงา ย ขณะเดียวกันการเลิกกิจการก็สามารถทํา
ไดโดยไมมีอุปสรรคในการเขาและออกจากตลาด (Free Entry and Exit) กิจการใดที่มีกําไรสูงจะมีผูเขามา
แขงขนั มากเพอื่ จะไดมีสวนแบงในกําไรนั้น แตกิจการใดขาดทุนผูประกอบกิจการจะเลิกไปเพื่อไปประกอบ
กจิ การอยางอน่ื ที่ทาํ กาํ ไรมากกวา
2.4) ปจจยั การผลิตสามารถเคล่ือนยายไดโดยสมบูรณ (Perfect Mobility of factors of
Production) ปจจัยการผลติ สามารถเคลอ่ื นยายจากกจิ กรรมทีม่ ีผลตอบแทนต่ําไปยงั กิจกรรมที่มีผลตอบแทน
สงู กวา ทนั ทีโดยไมต องเสียตนทุนการเคล่อื นยา ยแตอยางใด
2.5) ผซู ้อื ผูขายมขี อมลู ขา วสารสมบรู ณ (Perfect information หรอื Perfect Knowledge)
กลาวคือ ผูซ ้อื ผูขายสามารถเขาถึงขอมูลเก่ียวกบั ตลาด เชน ราคาสินคาในแตละพื้นท่ไี ดส ะดวกและเสมอภาค
กนั เปน ตน
195
ในตลาดแขงขันสมบรู ณดงั กลาว การจัดสรรและการใชทรพั ยากรที่มอี ยูอยางจํากัด รวมทั้งสินคาและ
บริการตาง ๆ จะถูกกําหนดโดยกลไกตลาด (Price Mechanism) หรือโดยปฏิสัมพันธของผูซ้ือและผูขาย
จาํ นวนมากในตลาดซึง่ ในทางเศรษฐศาสตร กค็ ืออุปสงคและอปุ ทานตลาดนนั่ เอง การซ้อื ขายเปน ไปตามความ
พอใจของผซู อ้ื และผขู ายอยา งแทจ ริง
4. การแทรกแซงราคาในตลาดของรัฐบาล
ราคาสนิ คา และบรกิ ารในตลาดบางครงั้ อาจถูกแทรกแซงโดยรฐั บาลกไ็ ด ซงึ่ สามารถทําไดใ น 3 กรณี คอื
1) การกําหนดราคาสงู สดุ (Fixing of Maximum Prices) ในกรณีท่ีรฐั บาลเหน็ วา สนิ คาท่จี ําหนา ย
จําเปนตอการครองชีพในทองตลาดเกิดการขาดแคลนและราคาสินคาสูงขึ้น ทําใหประชาชนไดรับความ
เดือดรอน รัฐบาลจะเขาควบคุมโดยกําหนดราคาสูงสุดของสินคาน้ัน ๆ เชน เน้ือสัตว น้ําตาลทราย
เปน ตน
2) การประกันราคาขั้นตํ่า (Guaranteed Minimum Prices) ในกรณีที่รัฐบาลเห็นวาราคา
สินคา บางอยางลดต่าํ ลง จนอาจเกิดผลเสยี แกผ ผู ลิต เชน สนิ คา การเกษตรบางประเภทรัฐบาลจะเขาควบคุม
โดยกาํ หนดราคาขนั้ ตํา่ หรือถา ไมม ีพอ คา รับซ้อื รฐั บาลจะเขารับซอื้ เอง เปนตน
3) การพยุงราคา (Price Support) เปนมาตรการท่ีรัฐบาลชวยใหราคาสินคาชนิดใดชนิดหน่ึง
เพ่มิ สงู ข้ึนเพอ่ื ประโยชนของผูผลิตหรือผูขายอาจกระทําโดยการเขาแทรกแซงตลาดของรัฐบาลดวยการเขา
แขงขนั การซื้อกับเอกชน เพ่ือขยายอุปสงค หรือการใหเงินอุดหนุนแกผูผลิตท่ีลดการผลิตลงเพื่อลดอุปทาน
ใหมีนอ ยลงกไ็ ด
กลาวไดว า การแลกเปลี่ยนเปนกิจกรรมที่สําคัญตอการกระจายสินคาและรายไดไปยังบุคคลตาง ๆ
ซ่ึงตองอาศยั สถาบันท่ีเกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนหลายสถาบัน อาทิ คนกลาง ตลาด ธนาคาร และสถาบัน
อ่ืน ๆ อีกมากมาย รวมทง้ั บทบาทของรัฐบาลที่จะเขา มาอาํ นวยความสะดวกใหก ารแลกเปลี่ยนดาํ เนนิ ไปดวยดี
สรปุ
การแลกเปลี่ยน หมายถึง การเปล่ียนความเปนเจาของในสินคาและบริการ โดยการโอนหรือยาย
กรรมสทิ ธิ์หรอื ความเปน เจา ของระหวา งบุคคลหรือธุรกิจ การแลกเปลี่ยนมีวิวัฒนาการมายาวนานต้ังแตการ
แลกส่ิงของกับสิ่งของจนถึงปจจุบันท่ีใชระบบเงินและเครดิตและอาศัยสถาบันตาง ๆ เปนตัวกลางในการ
แลกเปลย่ี น
แบบฝก หัดทายบทเรอื่ งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกิจ
คําส่งั เมื่อผูเรียนศึกษา เรื่องกระบวนการทางเศรษฐกิจแลวใหทําแบบฝกหัดตอไปนี้ โดยเขียนในสมุด
บันทึกกิจกรรมการเรยี นรู
แบบฝกหัดท่ี 1 ใหผูเ รยี นศึกษาวเิ คราะหช ่ือสินคา และประเภทของสินคาตามท่ีกําหนด แลวนําชื่อ ประเภท
สินคา ใสทา ยชื่อสนิ คาใหส ัมพันธ / สอดคลอ งกัน
196
ก. สินคา ไรร าคา (Free Goods)
ข. สนิ คา เศรษฐทรพั ย (Economic Goods)
ค. สินคา สาธารณะ (Public Goods)
1. นํา้ ทะเล ......................................................................................
2. ผลไม ......................................................................................
3. โทรศพั ท ......................................................................................
4. รถยนต ......................................................................................
5. ขยะ ......................................................................................
7. ปลาทตู วั เล็ก ......................................................................................
8. กองทพั แหงชาติ ......................................................................................
9. ขาวสารชนดิ 25% ......................................................................................
10. แสงแดด ......................................................................................
แบบฝก หัดที่ 2 ใหผูเ รียนตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. การผลิต หมายถงึ อะไร
…………………………………………………………………………………………………….…………..…………………
2. ปจ จยั การผลติ ไดแ กอะไรบา ง
………………………………………………………………………………………………………………..…………………
3. ลาํ ดับข้ันการผลติ มีก่ีลาํ ดบั ขนั้ ไดแ กอ ะไรบา ง
………………………………………………………………………………………….……………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………..……………......
4. สินคามกี ่ีประเภท อะไรบา ง
.........................................................................................................................………....
.........................................................................................................................………....
5. สงิ่ กาํ หนดการผลิตไดแกอ ะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………
6. ประเภทของหนวยธรุ กิจไดแ กอะไรบาง
………………………………………………………………………………………………………..………………...……
…………………………………………………………………………………………………..……………………………
197
7. การแบง สรร หมายถงึ อะไร
……………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………
8. การแบง สรรมีกีป่ ระเภท อะไรบาง
………………………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………
9. ความแตกตา งในดา นรายไดข องคนเราเกิดจากอะไร
………………………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………
แบบฝก หัดที่ 3 ใหผูเรยี นอา นขอ ความทกี่ าํ หนดใหแ ลว ตอบคําถาม
อุปสงค (Demand) หมายถงึ ความตอ งการของผูบ ริโภคในการที่จะบริโภคสินคาอยางใด อยางหนึ่ง
ดว ยเงินที่เขามอี ยู ณ ราคา และเวลาใดเวลาหนึ่ง เปน ความตอ งการทีผ่ ซู ้อื ตองการและเต็มใจท่จี ะซอ้ื สนิ คา
อุปทาน (Supply) หมายถงึ ปรมิ าณการเสนอขายสินคา ณ ราคาหนง่ึ ตามความตอ งการของผูซอื้ เปน
สภาพการตดั สินใจของผขู ายวาจะขายสนิ คา จํานวนเทาใด ในราคาเทา ใด
ใหผเู รียนพจิ ารณาตารางแสดงอุปสงค อุปทานของลําไยในตลาดแหง หนึง่ แลวตอบคําถาม
ตารางราคาลําไย ปริมาณซ้อื (Demand) ปริมาณจา ย (Supply)
(กก.) (กก.)
ราคา (บาท) 20 80
35 65
30 50 50
25 65 35
20 80 20
15
10
198
คําถาม
1. ราคาสินคา จะสงู หรือตาํ่ ขึน้ อยูกบั
....................................................................................................................
2. เพราะเหตุใดลาํ ไยราคากโิ ลกรมั ละ 30 บาท ผซู ื้อจึงตองการซื้อนอ ย
....................................................................................................................
3. ณ ราคาเทาใดทผ่ี ูข ายตอ งการขายลําไยนอ ยทส่ี ุด
....................................................................................................................
4. ลาํ ไยราคา 20 บาท เรียกวา
....................................................................................................................
5. ปริมาณลาํ ไย 50 กิโลกรัม เรียกวา
....................................................................................................................
แบบฝก หัดที่ 4 ใหผ เู รยี นศึกษาปจ จัยการผลิตและผลตอบแทนตอ ไปน้แี ลว ตอบคําถามท่กี ําหนดให
ในการผลติ สนิ คา จะตองอาศยั ปจ จัยการผลิต 4 อยาง คอื
1. ที่ดิน (Land) หมายถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ุกชนิด มผี ลตอบแทนเปนคา เชา
2. แรงงาน (Labour) หมายถึง ความมานะพยายามของมนษุ ยท ัง้ ทางกายและทางสมองมผี ลตอบแทน
เปน คา จาง
3. ทนุ (Capital) หมายถึง สนิ คาประเภททนุ หรือเครอ่ื งมือในการผลติ มผี ลตอบแทนเปน ดอกเบย้ี
4. ผูประกอบการ (Entrepreneurship) หมายถึง การจัดต้ังองคการเพ่ือผลิตสินคาและบริการ
มผี ลตอบแทน คอื กาํ ไร
ใหผ ูเ รียนแสดงผลตอบแทนของปจ จัยการผลติ แตละชนดิ
ปจ จยั การผลติ ผลตอบแทนของปจจยั การผลิต
1. ที่ดนิ
2. แรงงาน
3. ทุน
4. ผปู ระกอบการ
199
เรอ่ื งท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ
1. ความหมายและความสาํ คญั ของการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การเปล่ียนแปลงโครงสรา งทางสงั คม การเมอื ง และเศรษฐกจิ ใหอยู
ในภาวะทีเ่ หมาะสม เพอ่ื ทําใหร ายไดทแี่ ทจริงเฉล่ียตอบุคคลเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ือง อันเปนผลทําใหประชากร
ของประเทศมีมาตรฐานการครองชพี สงู ขนึ้
การพัฒนาเศรษฐกจิ ของแตละประเทศ จะมีจดุ มุงหมายทแ่ี ตกตางกัน ท้งั น้ีเนอ่ื งจากทรพั ยากร
การผลิต สภาพภูมิศาสตร ตลอดจนพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมไมเหมือนกัน แตอยางไรก็ตาม ในแตละประเทศ
ยงั คงมีจดุ มงุ หมายท่ีเหมอื นกันประการหน่ึง คือ มุงใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพ
เพื่อใหป ระชากรของประเทศอยูดีกินดนี น่ั เอง
การพัฒนาเศรษฐกิจ หากทาํ ไดผลดยี อ มสงผลใหประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดีข้ึน ประชาชนมี
ความเปนอยสู ุขสภาพในทางตรงกันขาม หากการพฒั นาเศรษฐกิจไมไ ดผลหรอื ไมไ ดร ับการเอาใจใสอ ยา งจริงจงั
ฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศก็จะทรดุ โทรมลง และประชาชนมีความเปนอยูแรนแคน มากขนึ้
สาํ หรับการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทยน้ันไดมีการพัฒนาอยางตอเน่ืองและใหความสําคัญ
มาก โดยเฉพาะอยางย่งิ การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ โดยจะเหน็ ไดจากการกําหนดให มีหนวยงานรับผิดชอบ
ในการจัดทําแผน คือ สาํ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซ่ึงในปจจุบันประเทศไทย
มีแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติทัง้ หมด 11 ฉบับ
2. ปจ จยั ทีเ่ กีย่ วของกบั การพัฒนาเศรษฐกิจ
ปจ จยั ทีเ่ ก่ียวของกับการพัฒนาเศรษฐกิจมี 4 ประการ คือ ปจจัยทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางการเมือง
ปจ จัยทางสังคม และปจจยั ทางเทคโนโลยี ซ่ึงปจจยั ดงั กลา วมรี ายละเอยี ดดังน้ี
2.1 ปจ จยั ทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลใหเกิดการเพิ่มข้ึนของรายไดตอบุคคลมี 4
อยาง คอื
1) การสะสมทุน การสะสมทนุ จะเกิดข้ึนไดใ นกรณีทมี่ รี ายไดประชาชาติสูงข้ึน ซึ่งทําใหเกิด
เงินออมและเงินลงทนุ เพมิ่ ขนึ้ ซ่งึ เม่อื มกี ารสะสมทนุ ขน้ึ แลว กจ็ ะมผี ลตอการเพ่มิ การผลติ และรายไดตอบุคคล
ตามมา
2) การเพิม่ จํานวนประชากร ในปจจุบันนั้นการเพ่ิมจํานวนประชากรกอใหเกิดผลเสียทาง
เศรษฐกิจอยา งมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงการผลิตจะมีประสิทธิภาพต่ําลงเนื่องจากมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ
กันมากขนึ้ ซ่งึ มผี ลทําใหทรัพยากรเสื่อมคุณภาพและทรัพยากรบางอยาง ก็ไมสามารถงอกเงยมาทดแทนได
นอกจากน้เี มอื่ มีประชากรเพ่ิมข้นึ ทําใหรฐั บาลตอ งเสียคา ใชจา ย ดา นสวัสดิการเพิ่มขึ้น เชน คาใชจายดานการ
จัดการศกึ ษา การสาธารณสุขและการสาธารณูปโภค เปนตน นอกจากรัฐบาลจะตองเสียคาใชจายดังกลาว
แลว ยงั มีปญ หาอยา งอื่นตามมาอกี เชน ปญหาดา นการจราจร ปญ หาดานมลพษิ ฯลฯ
3) การคนพบทรพั ยากรใหม ๆ ทําใหเ กิดโอกาสใหม ๆ ในการผลิต รวมท้ังมีผลทําใหมีการ
ลงทุนเพม่ิ ขน้ึ และสงผลในการเพิม่ ขนึ้ ของผลผลิตเพือ่ ใหประชาชนไดบ รโิ ภคมากข้นึ
200
4) ความกาวหนา ทางเทคโนโลยีจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน จะเห็นไดวามี
การนาํ เคร่ืองจกั รมาใชใ นการผลิต ดังน้ันจึงทําใหมีความสามารถในการผลิตไดมาก ปริมาณผลผลิตก็เพ่ิมข้ึน
และเปน ไปอยางสมาํ่ เสมอ ประการที่สําคญั ชวยลดตนทนุ ในการผลิตไดเปน จาํ นวนมากอกี ดว ย
2.2 ปจจยั ทางการเมือง
ปจจัยทางการเมืองนับวามีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจมากดวยเชนกัน โดยเฉพาะในดาน
นโยบายและความมน่ั คงการปกครอง การเปล่ยี นแปลงรฐั บาลบอย ๆ หรือการยดึ อํานาจ โดยรัฐบาลเผด็จการ
จะมีสว นทําใหเกดิ ปญ หาดานการผลติ ตางชาติไมสามารถเขาไปลงทนุ ดา นการผลติ ได นอกจากนอี้ งคก รธุรกจิ
ภายในประเทศเองกอ็ าจตอ งหยุดซะงักตามไปดว ย
2.3 ปจ จยั ทางสงั คม
ปจ จยั ทางสังคมมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจไมแพปจจัยอื่น ๆ โดยเฉพาะประเทศ ท่ีกําลัง
พัฒนา ซึ่งพบวาสวนใหญประชาชนมักขาดความกระตือรือรนในการทํางานและมีนิสัยใช จายเงินฟุมเฟอย
การเกบ็ ออมจงึ มนี อ ย และเมอื่ มีรายไดเพ่มิ มักใชจา ยในการซอ้ื เครื่องอุปโภคบริโภคท่ีอาํ นวยความสะดวกสบาย
มากกวาท่จี ะไปลงทนุ ในการผลิตเพ่อื ใหรายไดง อกเงยข้นึ
2.4 ปจ จยั ดานเทคโนโลยี
ใ น ป ร ะ เ ท ศ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี ช้ั น สู ง ช ว ย ทํ า ใ ห เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต ไ ด ม า ก ข้ึ น
ในขณะเดียวกันก็สามารถประหยดั การใชแรงงานซ่ึงมอี ยูอ ยางจํากดั โดยการใชเครือ่ งจกั รทุนแรงตาง ๆ แตใน
ประเทศกําลังพัฒนาการใชเทคโนโลยีมีขอบเขตจํากัดเนื่องจากยังขาดผูมีความรู ความสามารถ ดานการใช
เทคโนโลยี ขาดเงนิ ทุนท่จี ะสนับสนุน การคนควา วิจยั ทางดา นเทคโนโลยีใหม ๆ และทสี่ าํ คญั การใชเครอ่ื งจักร
ทนุ แรงในประเทศทก่ี ําลังพัฒนาจะกอใหเกดิ ปญ หาดา น แรงงานสวนเกิน แทนทจี่ ะทําใหการวา งงานนอ ยลง
3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย
ประเทศไทยไดมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติต้ังแตมี พ.ศ. 2504 โดยเร่ิม
ตั้งแตฉบับที่ 1 จนถงึ ปจ จบุ นั คอื ฉบับท่ี 11 มีการกําหนดวาระของแผน ฯ ดงั น้ี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2504 – 2509
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2510 – 2514
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2515 – 2519
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2520 – 2524
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 5 พ.ศ. 2525 – 2529
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2530 – 2534
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 7 พ.ศ. 2535 – 2539
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 พ.ศ. 2540 – 2544
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545 – 2549
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559
201
3. สาระสาํ คญั และผลการใชพ ฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ
แผนฯ สาระสาํ คัญ ผลจากการใชแ ผนฯ
ฉบับที่ 1 จุดมงุ หมาย สงเสริมอุตสาหกรรมทดแทนการ G.D.P. เพม่ิ ขนึ้ 8 % ตอไป
พ.ศ. 2504 - 2509 นาํ เขา การกระจายรายไดไมเปน
สาระสําคญั เนนการลงทนุ เศรษฐกิจขั้นพื้นฐาน ธรรมเกิดปญ หาสาํ คญั
เชน เขอ่ื น ไฟฟา ประปา ถนน และ ในชวงนค้ี ือประชากร
สาธารณูปการอืน่ ๆ นอกจากนยี้ งั มีการพฒั นา เพิม่ ข้นึ อยางรวดเรว็
การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาไปสูภูมภิ าคเปน
ครงั้ แรก (ตั้งมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม, ขอนแกน)
อปุ สรรค ขาดบคุ ลากรทางวิชาการและการ
บรกิ าร
ฉบบั ท่ี 2 จดุ มงุ หมาย พัฒนาสงั คมควบคกู ับการ พัฒนา อตั ราการขยายตัวทาง
เศรษฐกจิ สงู แตตํ่ากวา
พ.ศ. 2510 - 2514 เศรษฐกจิ แผนฉบบั นจ้ี งึ เริ่มใชชือ่ วา เปา หมาย การกระจาย
“แผน พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต”ิ รายไดไ มเปน ธรรม
สงเสรมิ การผลิตเพอ่ื การสง ออก
ฉบับที่ 3 สาระสาํ คัญ เนน การพัฒนาสงั คม โดยลด G.D.P. เพม่ิ ขึน้ 6.2% ตอ
ปซ ึ่งตาํ่ กวา เปาหมายทั้งน้ี
พ.ศ. 2515 - 2519 ชองวางของการกระจายรายไดนอกจากนี้ยงั ได เพราะสภาพดินฟา อากาศ
เร่ิมโยบายประชากรและการวางแผนครอบครวั แปรปรวนประกอบกบั การ
ผันผวนของเศรษฐกจิ โลก
(โดยเฉพาะการข้ึนราคา
นา้ํ มัน) อตุ สาหกรรมทําให
ไทยตองนําเขาสนิ คาทนุ
มากข้ึนจนตอ งประสบ
ภาวะขาดดลุ การคา และ
ดลุ ชําระเงนิ อยางมาก
ฉบบั ที่ 4 จดุ มงุ หมาย เนนการกระจายรายไดแ ละสรา ง ผลการพฒั นาสงู กวา
เปาหมายเลก็ นอยยงั คงมี
พ.ศ. 2520 - 2524 ความเปนธรรมทางสงั คมมกี ารปรับปรงุ ปญ หาตองพงึ่ พาการ
อุตสาหกรรมเพ่อื ขยายการสงออกและพัฒนา
202
แผนฯ สาระสาํ คัญ ผลจากการใชแ ผนฯ
ทรัพยากรธรรมชาติ (โดยเฉพาะนาํ้ มนั และกาซ นาํ เขาขาดดลุ การคา ความ
ธรรมชาต)ิ มาใชประโยชนน อกจากน้มี ีการ ยากจนในชนบทการ
พัฒนาเมอื งหลกั ในแตล ะภาคอยางชดั เจน พัฒนาสงั คมความเสอื่ ม
โทรมของสง่ิ แวดลอม
ฉบับที่ 5 จดุ มุงหมาย แกป ญหาการกระจายรายได และ G. D.P. เพม่ิ ขน้ึ 4.4%
พ.ศ. 2525 - 2529 ความยากจนในชนบท โดยใหช าวชนบทมสี วน ตอ ปซ ึง่ ตํา่ กวาเปา หมาย
รวมในการแกป ญหาดว ยตัวเองมากทสี่ ุด ประสบความสําเร็จในการ
นอกจากนีย้ งั เนนการพฒั นาเมอื งในพนื้ ทช่ี ายฝง พัฒนาชนบททยี่ ากจนและ
ตะวันออก การลดอัตราการเพม่ิ
ประชากร
ฉบบั ที่ 6 จุดมงุ หมาย เนน การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และ เศรษฐกจิ ขยายตัวสูงและ
พ.ศ. 2530 - 2534 พัฒนาคุณภาพประชากร เปดกวางเขา สรู ะดบั
สาระสําคัญ นานาชาตมิ ากข้นึ
พัฒนาคณุ ภาพประชากร วทิ ยาศาสตร โครงสรางเศรษฐกจิ เริ่มเขา
เทคโนโลยี และทรพั ยากรธรรมชาติ ปรับปรงุ สูภ าคอตุ สาหกรรมฐานะ
คณุ ภาพสนิ คาไทยเพอื่ แขงขนั ในตลาดโลก การเงินการคลังของ
กระจายรายไดส ภู ูมภิ าคและชนบท แผนฉบบั นี้ ประเทศมเี สถียรภาพ
หันมาเพมิ่ บทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนา (ดลุ การคลังเกินดลุ ครั้ง
ประเทศมากขึ้นอุปสรรค ขาดแคลนบริการขน้ั แรกในป 2531) ยงั คงมี
พนื้ ฐาน (เชน ถนน ไฟฟา ทาเรอื สนามบนิ ) ปญ หาการกระจายรายได
และแรงงานฝม ือ ขาดบริการขนั้ พน้ื ฐานและ
เงนิ ออมปญ หาสังคมและ
ความเสือ่ มโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาตริ ะบบ
ราชการไมด พี อ
ฉบบั ท่ี 7 จดุ มุงหมาย เนน “ปรมิ าณทางเศรษฐกจิ ” การเปด เสรที างการเงนิ ทํา
พ.ศ. 2535 - 2539 “คุณภาพประชากร” และ “ความเปน ธรรมทาง ใหฟ องสบแู ตก เปน
สังคม” ใหส มดลุ กนั สาระสําคญั เนนการ ตนเหตุของวิกฤตเิ ศรษฐกจิ
พัฒนาคุณภาพชวี ติ โดย มุงการขยายตวั และ ไทย (ตมยาํ กุง)
203
แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแ ผนฯ
เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ พฒั นากรงุ เทพฯ และ
ปรมิ ณฑลใหเ ช่อื มโยงกับพน้ื ทชี่ ายฝง ทะเล
ตะวันออก
ฉบบั ที่ 8 จดุ มงุ หมาย เนน “การพฒั นาทรัพยากร เกิดวกิ ฤตเศรษฐกจิ ไทย
ในเดือนกรกฎาคม 2540
พ.ศ. 2540 - 2544 มนษุ ย และคณุ ภาพชีวิตของคนไทยเปนสาํ คัญ ทําใหเ กิดภาวะชะงกั งนั
ทางเศรษฐกจิ และรฐั ตองกู
การพัฒนาคุณภาพชีวิต สงิ่ แวดลอ มและ เงินจาก IMF มาพยุงฐานะ
ทางเศรษฐกจิ
ทรพั ยากรธรรมชาติ สาํ หรบั การพฒั นาอยาง
ยัง่ ยนื และยาวนาน การกระจายความเจริญสู
สว นภมู ิภาคโดยใหค วามสําคัญแกการพฒั นา
กลมุ คนในชนบท และกระจายอํานาจบรหิ ารสู
ทอ งถ่นิ กําหนดเขตเศรษฐกจิ อยางจรงิ จงั และ
ชัดเจนโดยรัฐ เขา ไปดแู ลใหก ารสนบั สนนุ การ
ปลูกพืชตามท่กี ําหนดให
ฉบบั ที่ 9 จดุ มุง หมาย เนน พฒั นาคนเปน ศนู ยกลางปรบั
พ.ศ. 2545 - 2549 โครงสรา งการพฒั นาประเทศ ใชค วามคิดเห็น
ประชาชนท้งั ประเทศ มากําหนดกรอบและ
ทศิ ทางของแผนพฒั นาฯ ใชแ นวพระราชดําริ
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน วิสยั ทศั นของแผน
การพฒั นาทีย่ ่ังยืน และความอยดู ีมีสขุ ของคน
ไทยรากฐานการพัฒนาประเทศทเี่ ขม แข็ง
กระจายผลประโยชนแ กปญ หาความยากจน
ฉบบั ที่ 10 จุดมงุ หมาย เนน “สังคมอยเู ย็นเปน สุข
พ.ศ. 2550 - 2554 รวมกนั ” ภายใตแ นวปฏบิ ัติของ “ปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง”การพฒั นาแบบบรู ณาการ
เปน องคร วมทม่ี ี “คนเปนศูนยกลางการพฒั นา”
การพฒั นาทีย่ งั่ ยืนการพฒั นาคนและ เทคโนโลยี
204
4. วเิ คราะหสาระสาํ คญั จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ไดสรุปสาระสําคัญเก่ียวกับสถานะดาน
เศรษฐกิจของประเทศไว คือ ประเทศไทยมกี ารเจริญเติบโตอยางตอเน่ืองอัตราเฉล่ีย 5.7 ตอป ชวงป 2545 -
2548 และจดั อยใู นกลมุ ประเทศทม่ี รี ายไดปานกลาง โดยมีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับท่ี 20 จากจํานวน
192 ประเทศของโลก มบี ทบาททางการคาระหวางประเทศ และรักษาสวนแบงการตลาดไวไดในขณะท่ีการ
แขงขันสูงข้ึน ตลอดถึงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรูของประเทศไทยปรับตัวสูงข้ึน โครงสรางการผลิตมี
จุดแข็ง คือมีฐานการผลิตท่ีหลากหลาย ชวยลดความเส่ียงจากภาวะผันผวนของวัฎจักรเศรษฐกิจ สามารถ
เช่ือมโยงการผลิตเพื่อสรางมูลคาเพ่ิมไดมากขึ้น แตเศรษฐกิจไทยมีจุดออนในเชิงโครงสรางท่ีตองพ่ึงพิงการ
นําเขาวัตถุดิบ ชิน้ สวน พลังงาน เงินทุนและเทคโนโลยีในสัดสวนที่สูง การผลิตอาศัยฐานทรัพยากรมากกวา
องคค วามรู มีการใชทรัพยากรเพ่ือการผลิตและบริโภคอยางส้ินเปลือง ทําใหเกิดปญหาสภาพแวดลอมและ
ผลกระทบในดานสังคมตามมา โดยไมไดมีการสรางภูมิคุมกันอยางเหมาะสม ภาคขนสงมีสัดสวนการใช
พลงั งานเชิงพานิชยส ูงถึงรอ ยละ 38 โครงสรา งพน้ื ฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื สาร รวมถึงนํา้ เพ่อื การ
บรโิ ภคยงั ไมก ระจายไปสพู ้ืนท่ีชนบทอยา งเพียงพอและท่ัวถึง โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และนวัตกรรมยงั อยใู นระดับตา่ํ และเปนรองของประเทศที่เปนคแู ขง ทางการคา
ประเทศไทยยังมีจุดแข็งอยูท่ีมีเสถียรภาพเศรษฐกิจในระดับที่ดี จากการดําเนินนโยบายเพื่อฟนฟู
เสถียรภาพเศรษฐกจิ ของประเทศและวิกฤตเศรษฐกิจ อยางไรก็ตามราคาน้ํามันที่เพิ่มสูงข้ึนและตอเน่ืองถึง
ปจ จุบัน สงผลใหด ุลการคา ดลุ บญั ชเี ดนิ สะพัดขาดดุลเพิ่มขึ้น สะทอนถึงปญ หาความออ นแอในเชิง โครงสรา งที่
พ่ึงพิงภายนอกมากเกนิ ไป ประเทศไทยยงั มีการออมตํ่ากวาการลงทนุ จึงตอ งพึง่ เงินทุนจากตา งประเทศทําใหมี
ความเสยี่ งจากการขาดดุลบญั ชีเดินสะพดั และจากการเคลอื่ นยายเงนิ ทนุ ระหวางประเทศ จึงจาํ เปน ตองพัฒนา
ระบบภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจภายใตเง่ือนไขบริบทโลกที่มีการเคล่ือนยายอยางเสรีของคนองคความรู
เทคโนโลยี เงินทนุ สินคา และบรกิ าร
การพฒั นาเพ่ือเสริมสรา งความเปน ธรรมทางเศรษฐกิจและการแกไ ขปญหาความยากจนมีสวนชวยให
ความยากจนลดลงตามลําดับและการกระจายรายไดป รับตวั ดขี นึ้ อยา งชา ๆ
5. แนวคดิ หลกั และทิศทางการปรบั ตัวของประเทศไทย จากสถานการณดงั กลาวจําเปน ตองปรับตัว
หนั มาปรับกระบวนทรรศนก ารพัฒนาในทิศทางท่ีพ่ึงตนเองและภูมิคุมกันมากขึ้น โดยยึดหลัก “ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวทางปฏิบัติควบคูไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมท่ียึด “คนเปน
ศูนยก ลางการพฒั นา” เพ่ือเกิดความเชือ่ มโยงท้งั ดานตวั คน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและการเมือง โดยมี
การวิเคราะหอยางมี “เหตุผล” และใชหลัก “ความพอประมาณ” ใหเกิดความสมดุลระหวางความสามารถ
ในการพึ่งตนเองกับความสามารถในการแขง ขันในเวทีโลก ความสมดุลระหวางสังคมชนบทกับสงั คมเมือง
โดยมีการเตรียม “ภมู คิ มุ กนั ” ดวยการบริหารจัดการความเสย่ี งใหเ พยี งพอพรอ มรบั ผลกระทบจากการเปล่ียน
ทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ
การขับเคลื่อนการพัฒนาทุกขั้นตอนตองใช “ความรอบรู” ในการพัฒนาดานตาง ๆ ดวยความ
รอบคอบ เปนไปตามลําดับข้ันตอน รวมท้ังเสริมสรางศีลธรรมและสํานึกใน “คุณธรรม”จริยธรรมในการ
205
ปฏิบัตหิ นาท่ีและการดาํ เนินชวี ิตดวยความเพยี ร อนั เปน ภูมิคุม กนั ในตวั ทดี่ ี พรอมรับการเปล่ียนแปลงที่เกิดขนึ้
ท้ังในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และสอดคลองกับวิถีชีวิตสังคมและสอดคลองกับ
เจตนารมณข องรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550
เปาหมายดานเศรษฐกิจ ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหมีความสมดุลและยั่งยืน โดยใหสัดสวนภาค
เศรษฐกิจในประเทศตอภาคการคาระหวางประเทศเพ่ิมข้ึน สัดสวนภาคการผลิตเกษตรและอุตสาหกรรม
เพมิ่ ขน้ึ กาํ หนดอัตราเงนิ เฟอ ลดการใชพ ลงั งานโดยเฉพาะภาคขนสง สดั สว นผลผลิตของวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอมตอ ผลติ ภณั ฑรวมในประเทศตาํ่ กวา รอ ยละ 40
แบบฝกหัดทายบท เรอื่ งที่ 4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ
คําส่งั เม่อื ผเู รียนศกึ ษา เรือ่ ง แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติจบแลวใหทาํ แบบฝกหัดตอไปน้ี
โดยเขียนในสมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู
แบบฝกหัดท่ี 1 ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี โดยกาเคร่ืองหมาย X คําตอบทีถ่ กู ท่สี ุด
1. การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึงอะไร
ก. การเพ่มิ ขนึ้ ของรายได
ข. การขายตวั ทางดานเศรษฐกจิ และการคา
ค. อัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจและรายไดเพิ่มสูงข้ึน
ง. การเปล่ยี นโครงสรางทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง นําไปสูก ารกระจายรายไดท สี่ งู ขน้ึ
2. ประเทศตาง ๆ เร่มิ มคี วามตนื่ ตวั ในการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อใด
ก. กอนสงครามโลกคร้ังที่ 1
ข. หลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 1
ค. กอ นสงครามโลกคร้งั ที่ 2
ง. หลังสงครามโลกครงั้ ที่ 3
3. เหตุผลใดไมไ ดส ง ผลกระตนุ ใหป ระเทศตาง ๆ หันมาพฒั นาเศรษฐกิจ
ก. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2
ข. ภาวะสงครามเย็นหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2
ค. ความเจริญทางการสือ่ สารกอใหเกดิ การเลยี นแบบกนั
ง. ประเทศเอกราชหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ต่ืนตัวในการพฒั นาเศรษฐกจิ มากขนึ้
4. ส่ิงทใี่ ชว ัดระดบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศตา ง ๆ คืออะไร
ก. รายไดต อบุคคล
ข. รายไดประชาชาติ
ค. รายไดร วมจากสนิ คา และบรกิ าร
ง. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี
206
5. ประเทศ A มีรายไดแทจ รงิ ตอบคุ คล 500,000 บาท / คน / ป ประเทศ B มีรายไดแ ทจรงิ ตอ
บุคคล เทากบั ประเทศ A แสดงวา อยางไร
ก. ประเทศ A และประเทศ B เปนประเทศพฒั นาแลวเหมอื นกัน
ข. ประเทศ A มีระดบั การพฒั นาเทา กบั ประเทศ B ถาดชั นีช้ีวดั ความอยดู กี นิ ดขี อง 2 ประเทศ
ใกลเคยี งกัน
ค. ประเทศ B มีระดับการพฒั นาสงู กวา ประเทศ A ถาประเทศ B มดี ลุ การชําระเงินเกนิ ดลุ
ง. ท้ังประเทศ A และประเทศ B เปน ประเทศกําลงั พัฒนาเหมือนกัน
6. นอกเหนอื จากรายไดตอ หวั ตอคน ตอ ปแลว ส่ิงสาํ คญั ทบี่ ง บอกถงึ ระดบั การพฒั นาของประเทศ
ตาง ๆ คอื อะไร
ก. จํานวนประชากร
ข. อาชีพของประชากร
ค. คุณภาพประชากร
ง. อตั ราการเพม่ิ ของประชากร
7. ขอ ใดไมใ ชส ิ่งบงบอกวา เปนประเทศดอยพฒั นาหรอื กําลังพฒั นา
ก. รายไดตาํ่
ข. ประชากรสวนใหญเ ปนเกษตรกร
ค. มคี วามแตกตา งกนั มากเร่ืองรายได
ง. เศรษฐกจิ ของประเทศพงึ่ ตวั เองได
8. จดุ เรม่ิ ตน ของวฏั จกั รแหงความอยากจนอยูท่ีใด
ก. การลงทนุ ตํ่า
ข. รายไดแทจริงตาํ่
ค. ปจจัยทนุ มปี ระสทิ ธภิ าพตา่ํ
ง. ประสิทธภิ าพการผลิตต่าํ
9. ในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจจะมกี ระบวนการพัฒนาโดยเริม่ ตนและส้ินสุดอยา งไร
ก. สํารวจภาวะเศรษฐกจิ - กาํ หนดเปาหมาย
ข. สาํ รวจภาวะเศรษฐกจิ – ประเมนิ ผลการพัฒนา
ค. กําหนดเปา หมาย – ปฏบิ ตั ิงานตามแผนพฒั นา
ง. กาํ หนดเปา หมาย – ประเมนิ ผลการพัฒนาเศรษฐกจิ
10. ขอใดไมถ กู ตอ ง
ก. ประเทศไทยไดป ระกาศใชแผนพฒั นาเศรษฐกจิ หลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ข. ประเทศไทยเรม่ิ ใชแผนพัฒนาเศรษฐกจิ คร้งั แรกใน พ.ศ. 2504
ค. ประเทศไทยเร่มิ ใชแผนพัฒนาเศรษฐกจิ คร้งั แรกในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต
ง. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แผนแรกของประเทศไทยเปน แผนทีม่ รี ะยะเวลายาวนานทสี่ ดุ
207
11. ระยะแรกของการใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบบั ที่ 1 เนนในเรื่องใด
ก. การพฒั นาสังคม
ข. การผลติ สนิ คาสาํ เร็จรูป
ค. การลงทุนปจ จัยพืน้ ฐาน
ง. การควบคุมอตั ราเพ่มิ ประชากร
12. ขอบกพรองของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหง ชาติ ฉบับท่ี 1 คืออะไร
ก. ขาดการลงทนุ ปจจยั พ้นื ฐาน
ข. ละเลยการพัฒนาชนบท
ค. พัฒนาอตุ สาหกรรมมากกวา การเกษตร
ง. ละเลยการพฒั นาทางดานสงั คม
13. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบบั ใดทีเ่ ร่ิมพัฒนาเศรษฐกจิ ควบคูกบั สังคม
ก. ฉบบั ท่ี 1
ข. ฉบับท่ี 2
ค. ฉบับที่ 3
ง. ฉบับที่ 4
14. ขอ ใดไมใ ชอุปสรรคของการดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 3
ก. สภาพดนิ ฟา อากาศแปรปรวน
ข. ภาวะการคา และเศรษฐกจิ โลกซบเซา
ค. ดุลการคาและดลุ การชาํ ระเงนิ ของประเทศเกนิ ดลุ
ง. การขึน้ ราคานํ้ามนั ของกลมุ โอเปคทําใหเ กิดภาวะเงนิ เฟอ
15. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาตฉิ บบั ใดทีม่ งุ แกป ญ หาความยากจนในชนบทอยางจรงิ จงั
ก. ฉบบั ท่ี 4
ข. ฉบบั ที่ 5
ค. ฉบบั ท่ี 6
ง. ฉบบั ที่ 7
16. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติฉบบั ใดทีก่ ําหนดเปา หมายการลดอัตราเพม่ิ ประชากรเปน
คร้ังแรก
ก. ฉบบั ท่ี 3
ข. ฉบับท่ี 4
ค. ฉบับที่ 5
ง. ฉบบั ที่ 7
208
17. ขอใดไมไ ดอยใู นเปา หมายการพฒั นาตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 6
ก. พฒั นาคุณภาพของทรัพยากร
ข. กําหนดอตั ราเพ่มิ ประชากรไมเกนิ รอยละ 1.2
ค. การผลิตสนิ คาเพอื่ การสงออกไปแขงขนั ในตลาดโลก
ง. การขยายตัวทางดานการลงทุนและดานอตุ สาหกรรม
18. ขอใดไมใ ชจ ดุ เนน ของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 7
ก. การกระจายรายไดไปสภู มู ภิ าคมากขึ้น
ข. การพัฒนาคุณภาพชวี ติ รกั ษาสง่ิ แวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติ
ค. การขยายตวั ทางเศรษฐกิจอยา งตอเนื่องเหมาะสมและมเี สถียรภาพ
ง. การพฒั นาอุตสาหกรรมโดยใชว ตั ถุดิบทางการเกษตรเพอื่ พง่ึ ตนเอง
19. การมงุ พฒั นาประเทศใหเ ปนประเทศอตุ สาหกรรมตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ
ฉบบั ที่ 1-7 ไดกอใหเกิดผลตอ สงั คมไทยอยางไร
ก. รายไดต อหัวของประชากรสงู ขนึ้ และกระจายไปสูคนสวนใหญอ ยางท่ัวถงึ
ข. ประชาชนไดร บั การบรกิ ารพ้ืนฐานอยา งเพยี งพอและมีความเปนธรรมในสงั คม
ค. สังคมไดรบั การพัฒนาทางวัตถุ ละเลยการพฒั นาทางจติ ใจเกิดชองวา งระหวางเมอื งและ
ชนบท
ง. เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง มาตรฐานการครองชพี ของประชาชนสงู ขน้ึ
20. เปา หมายหลักของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 คืออะไร
ก. การกระจายรายไดทเี่ ปนธรรม
ข. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ สงู ข้นึ
ค. คุณภาพประชากร
ง. การเปน ประเทศอุตสาหกรรมช้นั นํา
209
เรอื่ งที่ 5 สถาบนั การเงนิ และการธนาคาร การคลงั
ความหมายและความสาํ คัญของเงนิ
เงิน (Money) หมายถึง อะไรก็ไดท่ีมนุษยนํามาใชเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แตตองเปนส่ิงท่ี
สังคมนัน้ ยอมรบั ในการชําระหน้ี เชน คนไทยสมยั สโุ ขทยั ใชเบี้ยหรือเปลือกหอย เปนตน เงินอาจจะอยูในรูป
ของโลหะกระดาษ หนังสตั ว ใบไมกไ็ ด เงินท่ดี ีจะตองมลี กั ษณะดงั นี้
1. เปน ของมีคาและหายาก เงินจะตอ งเปน ส่ิงท่ีมีประโยชน และมีคา ในตัวของมนั เอง เชน ทองคาํ และ
โลหะเงิน เปนตน
2. เปน ของทด่ี อู อกงาย สามารถรูไดวาเปนเงินปลอมหรือเงินจริง โดยไมตองอาศัยวิธีการท่ีซับซอน
ในการตรวจสอบ
3. เปน ของทีม่ ีมลู คาคงตัว ไมเปลี่ยนแปลงมากนักแมเ วลาจะผานไป
4. เปน ของทแ่ี บง ออกเปน สวนยอ ยได และมลู คาของสวนที่แบงยอ ย ๆ น้นั ไมเ ปลีย่ นแปลงและใชเปน
สือ่ กลางในการแลกเปลยี่ นได
5. เปน ของท่ขี นยา ยสะดวก สามารถพกพาตดิ ตัวไปไดง า ย
6. เปนของท่คี งทนถาวร เงินสามารถจะเกบ็ ไวไ ดนาน ไมแ ตกหักงาย
คาํ วา “เงนิ ” ในสมัยกอ นใชโลหะทองคําและเงนิ ตอ มามกี ารปลอมแปลงกันมากจึงมีการประทับตรา
เพ่ือรบั รองน้ําหนักและความบรสิ ุทธ์ิของเงิน เงินท่ีไดรบั การประทบั ตรานีจ้ ึงเรียกวา “เงนิ ตรา”
ความสาํ คัญของเงิน
เงนิ เปนส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนที่มีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของมนุษยมาก เงินชวยอํานวย
ความสะดวกใหแกมนุษย 3 ประการ คอื
1. ความสะดวกในการซ้ือขาย ในสมยั โบราณมนษุ ยน าํ ส่งิ ของมาแลกเปลีย่ นกันทาํ ใหเกิดความยุงยาก
ในการแลกเปลย่ี นเพราะความตอ งการไมตรงกนั หรอื ไมย ุติธรรมเพราะมูลคา ของสง่ิ ของไมเ ทาเทยี มกนั การนํา
เงินเปนสือ่ กลางทาํ ใหเกิดความสะดวกในการซ้ือขายมากขึ้น
2. ความสะดวกในการวัดมูลคา เงินจะชวยกําหนดมูลคาของสิ่งของตาง ๆ ซ่ึงสามารถนํามา
เปรยี บเทียบกนั ได
3. ความสะดวกในการสะสมทรัพยสิน สนิ คา ทมี่ นุษยผลติ ไดบางอยา งไมสามารถเกบ็ ไวไ ดนาน ๆ
แตเมอ่ื แลกเปลี่ยนเปนเงิน สามารถทีจ่ ะเก็บไวแ ละสะสมใหเ พิ่มข้ึนได
สรปุ
เงิน หมายถงึ อะไรก็ไดที่มนุษยนํามาใชเปน สือ่ กลางในการแลกเปลี่ยนและเปนสิ่งท่ีสังคมน้ันยอมรับ
เงินนอกจะมีความสําคัญในแงข องสอ่ื กลางในการแลกเปลี่ยนแลว ยงั ชวยอํานวยความสะดวกในการซอ้ื ขายการ
วัดมลู คา และการสะสมทรัพยส ิน
210
ประเภท และหนา ท่ขี องเงนิ
ประเภทของเงนิ
เงินในปจจบุ ันแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแ ก
1. เหรยี ญกษาปณ (Coinage) เปน เงินโลหะทสี่ ามารถชําระหนี้ไดตามกฎหมาย ในประเทศไทยผลิต
โดยกรมธนารักษ กระทรวงการคลัง
2. เงนิ กระดาษหรอื ธนบัตร (Paper Currency) เปนเงนิ ท่ีสามารถชาํ ระหนไ้ี ดต ามกฎหมายในประเทศ
ไทยผลิตโดยธนาคารแหงประเทศไทย
3. เงินเครดิต (Credit Money) ไดแก เงินฝากกระแสรายวัน หรือเงินฝากที่ส่ังจายโอนโดยใชเช็ค
รวมทั้งบตั รเครดติ ทใ่ี ชแ ทนเงนิ ได
การท่ีสังคมยอมรับวาทั้ง 3 ประเภทเปนเงิน (Money) เพราะวามีสภาพคลอง (Liquidity) สูงกวา
สินทรัพยอ ่นื ๆ กลาวคอื สามารถเปลีย่ นเปนสนิ คาและบรกิ ารไดท นั ที สว นสนิ ทรัพยอื่น ๆ เชน เงินฝากประจาํ
เงนิ ฝากออมทรพั ย ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล เปนตน มีสภาพคลองนอยกวาจึงเรียกวา เปนสินทรัพยท่ีมี
ลักษณะใกลเ คียงกับเงิน (Near Money)
หนา ท่ขี องเงนิ
เงนิ มีหนา ที่สาํ คญั 4 ประการ คือ
1. เปนมาตรฐานในการเทียบเทา (Standard of Value) มนุษยใชเงินในการเทียบคาสินคาและ
บริการตาง ๆ ทาํ ใหก ารซ้ือขายแลกเปล่ยี นสะดวกน้นั
2. เปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียน (Medium of Exchange) เงินทําหนาท่ีสื่อกลางในการซื้อขาย
สินคาตาง ๆ เพราะวา เงนิ มอี าํ นาจซือ้ (Purchasing Power) ทจี่ ะทาํ ใหการซื้อขายเกิดขนึ้ ไดทกุ เวลา
3. เปนมาตรฐานในการชําระหน้ีภายหนาการซ้ือแลกเปล่ียนสินคาภายในประเทศและระหวาง
ประเทศยอมเกดิ หน้สี ินทจ่ี ะตอ งชาํ ระเงนิ เขา มามบี ทบาทในการเปนสญั ญาที่จะตอ งชําระหนี้นน้ั
4. เปนเครื่องรักษามูลคา (Store of Value) เงินที่เก็บไวจะยังคงมูลคาของสินคาและบริการไว
ไดอ ยา งครบถวนมากกวาการเก็บเปนตัวของสนิ คา ซึง่ อาจจะอยไู ดไ มน าน
สรุป
เงนิ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ เหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินเครดิต เงินมีหนาที่สําคัญในดาน
เปน มาตรฐานในการเทยี บคา เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเปนมาตรฐานในการชําระหน้ีภายหนา และเปน
เครอ่ื งรกั ษามลู คา
211
ววิ ัฒนาการของเงิน
ววิ ฒั นาการในดา นการแลกเปลี่ยนของมนุษยม ดี ังนี้
1. ระบบเศรษฐกิจที่ไมใชเงินตรา เปนการแลกเปล่ียนโดยใชส่ิงของกับสิ่งของซึ่งมีขอยุงยากและ
ไมสะดวกหลายประการ ไดแ ก
1.1 ความตอ งการไมตรงกันทัง้ ชนิดและจํานวนของสินคา
1.2 ขาดมาตรฐานในการเทียบคา เพราะสง่ิ ของนําทีน่ าํ มาแลกเปลยี่ นมีมลู คาไมเ ทากัน
1.3 ยงุ ยากในการเกบ็ รกั ษา การเกบ็ เปน สนิ คาเปลอื งเน้อื ท่ีมาก
2. ระบบเศรษฐกิจที่ใชเ งินตรา มวี วิ ฒั นาการดังนี้
2.1 เงินที่เปนส่งิ ของหรอื สนิ คา คอื การนําสง่ิ ของหรอื สนิ คาบางอยา งมาเปนสื่อกลาง เชน ลูกปด
ผา ขนสตั ว เปลือกหอย เปน ตน ซงึ่ เงินชนิดนอ้ี าจจะไมเ หมาะสมในดานความไมคงทน มมี าตรฐานและคุณภาพ
ไมเ หมือนกัน ทาํ ใหคา ไมม น่ั คง ยงุ ยากในการพกพาและแบงยอยไดยาก
2.2 เงินกษาปณ (Coinage) การนําโลหะมาเปนส่ือกลางในการแลกเปลี่ยน แตเดิมใชไปตาม
สภาพเดิมของแรน้ันๆ ยังไมรูจักการหลอม ตอมาไดมีวิวัฒนาการดีขึ้นเรื่อย ๆ มีการหลอม การตรวจสอบ
น้ําหนักและความบริสุทธ์ิหรือผสมโลหะหลายชนดิ เขา ดวยกนั
2.3 เงินกระดาษ (Paper Money) นิยมใชเปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียนเพราะมีน้ําหนักเบา
พกพาสะดวก ประเทศแรกที่รูจกั การใชเงินกระดาษ คอื ประเทศจีน
2.4 เงินเครดติ (Credit Money) เปนเงินท่เี กิดขน้ึ ในสังคมเศรษฐกิจสมัยใหมที่มีระบบธนาคาร
แพรห ลายเร็ว การใชเงินชนดิ นก้ี อ ใหเกดิ ความรวดเรว็ และปลอดภัยในการแลกเปลยี่ น
สําหรบั ประเทศไทยมวี ิวัฒนาการของเงินประเภทตา งๆ ดงั น้ี
1. เหรยี ญกษาปณ ประเทศไทยใชเ งินเบี้ยเปน ส่อื กลางในการแลกเปลี่ยนมาตั้งแตสมัยสุโขทัยและใช
มาถงึ สมยั กรุงศรีอยุธยา ในรชั สมยั พระเจา อยหู ัวบรมโกศเกดิ การขาดแคลนเบ้ีย จึงนําดินเผามาปนและตีตรา
ประทับ เรียกกวา “ประกับ” ตอมาไดมีการทําเงินพดดวงข้ึนซ่ึงไดใชตอมาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แหงกรุง-
รัตนโกสนิ ทร เมอื งไทยเราทาํ การคากบั ตา งประเทศมากขึ้นทาํ ใหเ กิดความขาดแคลนเงินพดดวง จึงไดจัดทํา
เงินเหรียญขน้ึ แทน ในสมยั รชั กาลที่ 5 ไดจ ัดทําเหรยี ญสตางคข้นึ เพ่ือสะดวกในการทําบญั ชี
2. ธนบัตร รชั กาลที่ 4 ไดมพี ระราชดํารใิ หผลิตธนบตั รข้ึนเรียกวา “หมาย” แตไมแ พรห ลายมากนักใน
สมัยรัชกาลท่ี 5 ไดประกาศใชพระราชบัญญัติธนบัตร เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน 2445 ดําเนินการออกธนบัตร
โดยรฐั บาล ธนบัตรจงึ แพรห ลายตั้งแตน้ันมา
สรุป
การแลกเปลี่ยนของมนษุ ยมีวิวฒั นาการจากระบบเศรษฐกิจที่ไมใชเ งินตรามาเปน ระบบเศรษฐกิจท่ีใช
เงินตรา สําหรับประเทศไทยใชเงินเบี้ยเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนมาต้ังแตสมัยสุโขทัย มาจนถึงการใช
212
เหรยี ญสตางคในสมยั รัชกาลที่ 5 สว นธนบัตรมีการผลติ และประกาศใชพระราชบัญญตั ิธนบัตรเปนคร้ังแรกใน
สมัยรชั กาลท่ี 5
ปริมาณและการหมุนเวยี นของเงนิ
1. ปรมิ าณเงนิ
ปริมาณเงินในความหมายอยางแคบ หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝาก
กระแสรายวนั รวมกันท้งั หมดนาํ ออกใชหมุนเวยี นอยใู นมอื ประชาชนขณะใดขณะหน่งึ
ปริมาณเงิน ในความหมายอยางกวาง หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝาก
กระแสรายวนั รวมท้งั เงินฝากประจาํ และเงินฝากออมทรพั ยใ นสถาบันการเงินทุกประเภท
2. การวัดปริมาณเงิน ปริมาณเงินจะเปนเคร่ืองช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะใด
ถา ปรมิ าณเงินสงู ขน้ึ อํานาจซ้ือของประชาชนก็จะสงู ขน้ึ ถา ปรมิ าณสินคาและบริการไมเพียงพอประชาชนจะ
แยงกันซื้อและกักตุนสินคา ถาปริมาณเงินนอยลง อํานาจซื้อของประชาชนก็จะลดลง สินคาจะลนตลาด
ผผู ลติ อาจจะลดการผลิตสนิ คา ลง หรืออาจจะเกดิ การวา งงานได
3. การหมนุ เวียนของเงนิ กบั กฎของเกรแชม การหมนุ วยี นของเงนิ หมายถึง เงินท่ีเราจับจายใชสอย
เปลี่ยนมือไปเรื่อยๆ เซอรโทมัส เกรแชม ไดตั้งกฎที่เรียกวา กฎของเกรแชม (Greshan’s Law) กลาววา
ถาประชาชนใหความสําคัญแกเงินทุกชนิดเทาเทียมกันการหมุนเวียนของเงินก็จะไมติดขัด ถาขณะใด
ประชาชนเหน็ วา เงินชนดิ หนง่ึ สงู กวา เงินอกี ชนดิ หนง่ึ ประชาชนจะเกบ็ เงนิ ท่ีมคี า สงู ไวไ มน าํ ออกมาใชจา ย
แตจะรบี นาํ เงินทม่ี คี าตํ่ามาใช
4. คา ของเงนิ หมายถึง ความสามารถหรืออํานาจซ้ือของเงินแตละชนิดท่ีจะซื้อสินคาหรือบริการได
การวัดคาของเงินจะวัดดวยระดับราคาทั่วไปซึ่งเปนราคาถัวเฉลี่ยของสินคาและบริการคาของเงินจะ
เปลีย่ นแปลงในทางเพิม่ ขึ้นหรือลดลง ยอ มมผี ลกระทบตอ บคุ คลกลมุ ตา ง ๆ
สรปุ
ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกจิ มที ้งั ปรมิ าณเงินในความหมายอยา งแคบและปรมิ าณเงินในความหมาย
อยางกวาง ปริมาณเงินจะเปนเคร่ืองช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศ การวัดวาเงินจะมีคาหรือไมวัดดวย
ระดับราคาท่ัวไปหรือดัชนีราคา
สถาบันการเงิน
1. ความหมายของสถาบนั การเงนิ
สถาบันการเงินเปนตลาดเงิน (Financial Market) หรือแหลงเงินทุนใหผูที่ตองการลงทุนกูยืม
เพื่อนําไปดําเนนิ ธรุ กิจ ตลาดการเงนิ มีทงั้ ตลาดการเงินในระบบ ไดแ ก แหลงการเงนิ ของสถาบันการเงินตาง ๆ
กับตลาดการเงนิ นอกระบบ ซึ่งเปนแหลงการกยู มื เงินระหวา งบคุ คล เชน การจาํ นํา จาํ นอง เปน ตน
213
2. ประเภทของสถาบนั การเงิน สถาบันการเงินทีส่ าํ คญั ในประเทศไทย ไดแก
2.1 ธนาคารแหงประเทศไทย เปน สถาบันการเงินที่จัดตั้งขนึ้ เพ่อื รกั ษาเสถียรภาพทางการเงินและ
เศรษฐกิจของประเทศ
2.2 ธนาคารพาณิชย เปนสถาบันการเงนิ ที่ใหญท สี่ ุดของประเทศ เพราะมปี ริมาณเงินฝากและเงนิ กู
มากทสี่ ดุ เมื่อเทยี บกบั สถาบันอนื่ ๆ
2.3 ธนาคารออมสิน เปน สถาบนั การเงนิ ของรฐั ทําหนา ทเ่ี ปนสอ่ื กลางในการระดมเงินออม
จากประชาชนสูรัฐบาล เพือ่ ใหหนวยงานของรัฐและวสิ าหกิจกไู ปใชในการพฒั นาประเทศ
2.4 บรษิ ทั เงนิ ทนุ และบริษทั หลักทรพั ย
บริษทั เงนิ ทุน หมายถงึ บรษิ ัทจาํ กดั ทไ่ี ดรับอนุญาตจากรฐั มนตรีวาการกระทรวงการคลังใหประกอบ
กจิ การกยู ืมหรือรบั เงนิ จากประชาชน การใหก ูมีทัง้ ระยะสน้ั และระยะยาว
บรษิ ัทหลกั ทรัพย หมายถงึ บรษิ ัทจํากดั ทีไ่ ดรับอนุญาตจากรัฐมนตรกี ระทรวงการคลังใหประกอบธุรกิจ
หลักทรัพยประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภทก็ไดในดานการเปนนายหนา การคา การใหคําปรึกษา
ดา นการลงทุน เปนตน
2.5 สถาบนั การเงนิ เฉพาะอยาง
1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) เปนธนาคารของรัฐบาลจัดต้ังข้ึน
โดยมีวัตถุประสงคท่ีจะใหความชวยเหลือทางการเงิน เพื่อสงเสริมอาชีพ หรือการดําเนินงานของเกษตรกร
กลุมเกษตรกร หรือสหกรณการเกษตร โดยใหเ งนิ กทู ้งั ระยะสน้ั และระยะยาว
2. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคที่จะจัดหาทุน
เพือ่ ใหกูระยะยาวแกกิจการอุตสาหกรรม เพ่ือสรางสนิ ทรพั ยถ าวร เชน โรงงาน เครื่องจักร เคร่ืองมือ เปนตน
และรับประกนั เงนิ กูลกู คาที่กูจ ากสถาบนั การเงนิ ภายในและภายนอกประเทศดวย
3. ธนาคารอาคารสงเคราะห เปนธนาคารของรัฐบาล จัดตั้งข้ึนเพื่อดําเนินการสงเสริมให
ประชาชนมอี าคารและทีด่ นิ เปน ที่อยูอาศัย ท้ังการซอื้ ขาย ไถถอน จํานอง รับจาํ นํา
4. บริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันภัย เปนสถาบันการเงินท่ีดําเนินการรับประกันภัย
ใหกบั ผอู นื่ โดยไดรบั เบี้ยประกันตอบแทน ถา เปนการประกนั ภยั อนั เกดิ กับทรัพยสินเรยี กวา การประกันวินาศภยั
5. สหกรณการเกษตร เปน สถาบนั การเงินที่ต้ังขึน้ เพอ่ื ใหเกษตรกรรวมมอื กันชว ยเหลอื ในการ
ประกอบอาชีพของเกษตรกร
6. สหกรณอ อมทรัพย เปนสถาบนั ท่รี ับฝากเงินและใหสมาชิกกูยืมโดยคิดดอกเบ้ียมีผูถือหุน
เปนสมาชิก
7. บรษิ ัทเครดิตฟองซิเอร เปนสถาบนั ทร่ี ะดมเงนิ ทุนดว ยการออกตั๋วสัญญาใชเงินและนํามา
ใหป ระชาชนกูยมื เพือ่ ซอ้ื ท่ดี นิ และสรางท่ีอยอู าศยั
8. โรงรบั จํานาํ เปน สถาบนั การเงนิ ที่เลก็ ทีส่ ดุ มจี ดุ มุง หมายท่จี ะใหป ระชาชนกูยมื โดยการรับ
จํานาํ สิง่ ของ
214
3. การวดั ความสาํ คัญของสถาบันการเงิน
สถาบนั การเงนิ แตล ะประเภททําหนาท่ีระดมเงินออมจากประชาชนใหผูตองการเงินทุนกูยืมมาก
นอ ยแตกตางกันไป สถาบันการเงนิ มคี วามสาํ คัญ วดั ไดจาก
1. ความสามารถในการระดมเงินออม การระดมเงินออมโดยวิธีรับฝากเงินของสถาบันการเงิน
แตล ะแหงจะแตกตางกันไป ในประเทศไทยธนาคารพาณชิ ยสามารถระดมเงนิ ออมไดม ากท่ีสุด
2. ความสามารถในการใหก ยู มื เงิน ธนาคารพาณิชยเ ปน สถาบนั การเงนิ ท่ใี หก ูเงินแกป ระชาชนมาก
ท่ีสดุ รองลงมาคือบรษิ ัทเงินทนุ และท้งั สองสถาบนั ยังมีอัตราการขยายตัวของการใหกูใ นแตละปสูงดวย
3. ยอดรวมของสินทรัพย ธนาคารพาณิชย เปนสถาบันท่ีมียอดรวมของสินทรัพยมากท่ีสุด
รองลงมาคือธนาคารออมสนิ และบริษัทเงินทนุ
4. ความสาํ คัญดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สถาบันการเงินประเภทธนาคารและบริษัทเงินทุนเปน
สถาบนั ท่เี ปน กาํ ลังสาํ คญั ในการพัฒนาเศรษฐกิจไทย เพราะทําหนาที่ระดมเงินออม ใหกูแกผูลงทุนและเปน
แหลงเงนิ กขู องรฐั บาล
การคลงั
ความหมายและความสําคัญของเศรษฐกจิ ภาครฐั บาลหรอื คลงั รัฐบาล (Public Economy)
ความหมายของเศรษฐกจิ ภาครัฐบาล
เศรษฐกิจภาครัฐบาล (Public Economy) หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาครัฐบาลในดาน
รายได รายจาย นโยบายท่ีรัฐกําหนดโครงสรางของรายไดรายจายและการกอหน้ีสาธารณะ ตลอดจน
ผลกระทบจากการจัดเก็บรายไดและการใชจายเงินของรัฐ เพื่อดําเนินกิจกรรมทางดานเศรษฐกิจท่ีมีผลตอ
เศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง เพื่อใหบ รรลุวัตถุประสงคดานเศรษฐกจิ ของประเทศ ไดแ ก การมงี านทาํ การ
มรี ายได การรกั ษาเสถียรภาพของราคาและดุลการชําระเงิน การผลักดนั ใหระบบเศรษฐกจิ มคี วามมั่นคง
เปนตน
ริชารด อาร มัสเกรฟ กลาววา การศึกษาเศรษฐกิจภาครัฐบาลเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงคทาง
เศรษฐกิจ 4 ประการ คือ
1. เพอ่ื จัดสรรทรัพยากรใหเ ปนไปอยางมปี ระสิทธิภาพและตอบสนองความตอ งการของสังคม
2. เพอ่ื การกระจายรายไดในสงั คมทมี่ คี วามแตกตางกัน ลดชอ งวางระหวางคนรวยและคนจน
3. เพอื่ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ ประชาชนมีงานทําและมีรายได
4. เพื่อรกั ษาเสถยี รภาพดา นเศรษฐกจิ แกปญ หาการวางงาน รกั ษาระดับดลุ การชาํ ระเงนิ ไมใ หข าด
ดลุ และรักษาระดับราคาสินคาไมใหส ูงข้ึน
เศรษฐกิจภาครัฐบาล กค็ ือ คลังรัฐบาล ซ่ึงหมายถงึ การแสวงหารายไดแ ละการใชจายเงินของรัฐบาล
ตามงบประมาณแผน ดนิ ประจําป
215
ความสาํ คัญของเศรษฐกิจภาครัฐบาล
นับต้ังแตศตวรรษท่ี 18 เปนตนมา นักเศรษฐศาสตรมีความเช่ืออยางแพรหลายวารัฐบาลไมควร
แทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แตควรมีหนาท่ี 3 ประการ คือ หนาท่ีในการปองกันประเทศ หนาที่รักษา
ความสงบและความยตุ ธิ รรมในประเทศ และใหบ ริการสาธารณะบางอยา ง เชน การศกึ ษา สาธารณสขุ เสนทาง
คมนาคม เปนตน ท่ีเปนเชนนี้เพราะนักเศรษฐศาสตรเหลาน้ันมีความเชื่อวาถาบุคคลแตละคนสามารถจะ
ตัดสินใจทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ซ่ึงจะเปน ประโยชนสงู สุดแกตนเอง ยอมจะกอ ใหเกดิ ประโยชนสูงสุดตอสังคมดวย
แตนับตงั้ แตศ ตวรรษที่ 19 เปนตนมา นักเศรษฐศาสตรบางกลุมเริ่มมองเห็นวาการปลอยใหระบบเศรษฐกิจ
ดําเนินไปอยางเสรีโดยรัฐบาลไมแทรกแซงนั้นกอใหเกิดปญหาบางประการ เชน ปญหาการวางงาน ปญหา
เศรษฐกิจตกต่ํา เปนตน จึงเกิดความคิดวารัฐบาลนาจะเขามามีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อแกไข
ปญหาตา ง ๆ ขจัดการเอารดั เอาเปรยี บระหวางกลุมเศรษฐกิจตา ง ๆ สงเสริมการผลิตสินคาและบริการที่เปน
ประโยชนตอ สวนรวม ควบคมุ การผลิตสนิ คา และบริการท่กี อใหเกดิ โทษตอสังคม การแทรกแซงของรัฐบาลจะ
ชวยรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ ไมใหเกิดภาวะเงนิ เฟอหรอื เงนิ ฝด และการวางงาน เครื่องมือสําคัญในการ
ดําเนินงานของรัฐบาล คอื นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
เศรษฐกิจภาครัฐบาลไมวาจะเปนเร่ืองการจัดเก็บรายได การกอหน้ีสาธารณะ การใชจายเงินจาก
ภาครัฐสูภาคเอกชนลวนมีผลกระทบตอการผลิต การบริโภค และการจางงาน โดยเฉพาะในประเทศดอย
พัฒนาเศรษฐกิจ ภาครัฐบาลมคี วามสําคญั มากเพราะวา
1. รัฐบาลประเทศตาง ๆ มีภาระหนาท่ีไมเพียงแตการบริหารประเทศเทานั้น รัฐยังตองพัฒนา
เศรษฐกิจในทกุ ๆ ดา น ซ่งึ ตองใชจา ยเงนิ จํานวนมาก
2. การหารายไดจากภาษีอากร การใชจายเงินและการกูเงินของรัฐบาลผลกระทบตอกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ ในดา นการผลิต การบรโิ ภค การแลกเปล่ียน และการกระจายรายได
ดงั น้ัน การคลังจึงมคี วามสําคญั ในการดาํ เนนิ งานของรฐั บาล เพราะรฐั บาลจะใชการคลงั ควบคมุ ภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศดวยวิธกี าร ดงั ตอไปนี้
1. สงเสริมการจัดสรรทรัพยากรของสังคม (Allocation Function) ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
เนอื่ งจากทุกประเทศประสบปญหาทรัพยากรมีจํากัด จึงเกิดปญหาวาจะจัดสรรทรัพยากรของสังคมอยางไร
จึงจะสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดดี นโยบายการคลังจึงมีบทบาทสําคัญในการ
กาํ หนดการจดั สรรทรพั ยากรระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนใหเปนไปในสัดสวนที่ทําใหสังคมไดรับประโยชน
สงู สุด
2. สงเสริมการกระจายรายไดท่ีเปนธรรม (Distribution Function) นโยบายการคลังของรัฐบาล
จึงมีวตั ถปุ ระสงคทจ่ี ะใหเกิดความเปน ธรรมในการไดร ับประโยชนแ ละรบั ภาระรายจายของรฐั บาล
3. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคม (Stabilization Function) รัฐบาลจะตองควบคุม
และดูแลใหเศรษฐกิจของสังคมเปนไปดวยความราบรื่นดวยการรกั ษาระดับการจา งงานใหอ ยูในอัตราสูงระดับ
ราคาสินคาและบรกิ ารมีเสถียรภาพ รวมทง้ั อัตราการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) อยูใน
ระดับทน่ี าพอใจ
216
รัฐบาลจงึ ใชนโยบายการคลงั ในการควบคุมดูแลตลอดจนแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
เพอื่ ใหร ะบบเศรษฐกิจของประเทศคงไวซ ึง่ เสถยี รภาพ
ตารางแสดงความแตกตา งระหวางการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชนและภาครัฐบาล
การดาํ เนนิ กิจกรรม ภาคเอกชน ภาครฐั บาล
วตั ถปุ ระสงคแ ละจดุ มงุ หมาย เพือ่ แสวงหาผลกาํ ไรและ มีวัตถปุ ระสงคเพอ่ื ประโยชนข อง
ประโยชนส ว นตวั สาธารณชน
ดา นการวางแผนดาํ เนิน วางแผนดําเนนิ กจิ กรรมทาง วางแผนโครงการและตัง้ ประมาณ
กิจกรรม เศรษฐกจิ โดยพจิ ารณารายได การรายจา ย แลว จงึ ประมาณการ
กอ นหรอื มรี ายไดก ําหนดรายจาย รายไดทคี่ าดวาจะไดรับหรอื มี
รายจายกําหนดรายได
ดา นระยะเวลาดําเนิน มักดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ มักดําเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ
โครงการ ทีใ่ หผลตอบแทนในระยะสนั้ ที่ใหผลตอบแทนระยะยาว ในบาง
โครงการไมสามารถประเมินออกมา
เปน ตวั เลขได
สรปุ
เศรษฐกจิ ภาครัฐบาล หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของภาครัฐบาลในดานรายได รายจายนโยบาย
ทรี่ ฐั กําหนดโครงสรางของรายได รายจา ย และการกอ หนส้ี าธารณะ ตลอดจนผลกระทบจากการจดั เก็บรายได
และการใชจ า ยเงนิ ของรัฐ เศรษฐกจิ ภาครฐั บาลมคี วามสําคญั ในการดาํ เนนิ งานของรฐั บาล เพราะการคลังชวย
ควบคมุ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
งบประมาณแผน ดิน (Budget)
งบประมาณแผน ดิน เปน แผนการเกยี่ วกับการหารายได และการใชจายเงินของรัฐบาลตามโครงการ
ตาง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ เปนผูจัดทําและเสนอไปยังสํานักงบประมาณเพ่ือเสนอตอไปยัง
คณะรัฐมนตรี จัดทําเปนรางพระราชบัญญัติงบประมาณประจําป เสนอของอนุมัติจากรัฐสภาเพราะเงิน
งบประมาณแผนดินคือเงินของประชาชน ในระบอบประชาธิปไตยการใชเงินงบประมาณแผนดินตองไดรับ
อนมุ ัติจากรัฐสภากอ น
217
งบประมาณแผนดนิ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คอื
1. งบประมาณสมดลุ (Balanced Budget) คือ รายไดและรายจา ยของรฐั บาลมีจํานวนเทากนั
2. งบประมาณขาดดุล (Dificit Budget) คอื รายไดของรฐั บาลต่าํ กวา รายจาย
3. งบประมาณเกนิ ดุล (Surplus Budget) คือ รายไดของรัฐบาลสงู กวา รายจาย
งบประมาณแผน ดินจงึ เปน การเปรียบเทียบรายไดแ ละรายจายจรงิ ของรฐั บาลในชว งเวลา 1 ป
ดลุ แหง งบประมาณในระบบเศรษฐกิจจะเปนอยางไรนน้ั ขนึ้ อยูกบั ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะ
น้ัน โดยทั่วไปในขณะที่ระบบเศรษฐกิจรุงเรือง ดุลแหงงบประมาณมักจะเกินดุลและจะขาดดุลในขณะท่ี
เศรษฐกจิ ซบเซา ในกรณที ่ีงบประมาณขาดดุลรฐั บาลอาจชดเชยการขาดดุลโดยการกอหนี้สาธารณะ (Public
Debit) หน้ีที่มีกําหนดระยะเวลาชําระคืนไมเกิน 1 ป ถือเปนหน้ีระยะสั้น สวนหนี้ระยะยาวมีกําหนดเวลา
ชําระคืน 5 ป ขึน้ ไป ซึง่ อาจจะมาจากแหลงเงนิ กูภ ายในประเทศหรอื ภายนอกประเทศก็ได
สรุป
งบประมาณแผนดินเปน แผนการเกี่ยวกับการหารายไดแ ละการใชจา ยเงินของรฐั บาลตามโครงการ
ตาง ๆ ในระยะเวลา 1 ป งบประมาณแผนดินมี ลักษณะ คือ งบประมาณสมดุล งบประมาณขาดดุล
งบประมาณเกินดลุ
รายไดข องรัฐบาล (Public Revenue)
รายไดข องรัฐบาล หมายถงึ เงินภาษีอากร (Tax Revenue) ท่รี ฐั จัดเก็บจากราษฎรและรายไดอ ื่น
ทม่ี ิใชภาษอี ากร (Non – tax Revenue) เชน กําไรจากรัฐวสิ าหกิจ คาธรรมเนียมและรายไดเ บด็ เตลด็ อ่นื ๆ
เปน ตน
รายไดข องรฐั บาล จาํ แนกออกไดเปน 4 ประเภท คือ
1. รายไดจ ากภาษอี ากร เปนรายไดสว นใหญประมาณรอยละ 88 ของรายไดท้งั หมด
2. รายไดจากการขายสงิ่ ของและบรกิ าร หมายถงึ คา บริการและคาธรรมเนียม เชน คาเชาทรัพยสิน
ของรัฐ คาขายอสังหาริมทรัพย คาขายผลิตภัณฑธรรมชาติ คาขายหนังสือราชการ คาขายของกลางจาก
คดีอาญา รายไดส วนน้คี ิดเปน รอยละ 2 ของรายไดท ั้งหมด
3. รายไดจ ากรฐั พาณชิ ย หมายถึง รายไดข องรัฐบาล ท่ีมาจากผลกําไร และเงนิ ปน ผลจากองคการ
ตาง ๆ ของรฐั เงนิ สว นแบง จากธนาคารแหง ประเทศไทย รายไดส ว นนคี้ ดิ เปน รอ ยละ 6 ของรายไดท ง้ั หมด
4. รายไดอ่ืน ๆ เปนรายไดนอกเหนือจากรายได 3 ประเภทขางตน ไดแก คาปรับ คาธรรมเนียม
ใบอนุญาตตา ง ๆ คาสมั ปทานแรแ ละปโตรเลียม คา อาชญาบตั รสําหรับฆาสตั ว คาภาคกลางแรและปโตรเลียม
คา ภาคหลวงไม การผลติ เหรยี ญกษาปณ รายไดส วนนี้คิดเปน รอยละ 4 ของรายไดทง้ั หมด
218
สรุปไดว า รายไดสว นใหญข องรัฐบาลคือรายไดจากภาษอี ากรเปน เงินที่รฐั บาลเก็บจากประชาชนผูมเี งนิ
ไดเพื่อใชจายในกิจการของรัฐบาลโดยไมตองใหการตอบแทนอยางใดอยางหน่ึงแกผูเสียภาษีอากร
ซงึ่ มีวัตถปุ ระสงคใ นการจัดเก็บ ดังนี้
1. เพือ่ เปนรายไดข องรฐั สําหรับใชจ ายในโครงการตา งๆ ทีจ่ าํ เปน
2. เพื่อการควบคุม เชน เพื่อจํากัดการบริโภคของประชาชนในสินคาฟุมเฟอย หรือสินคาที่เปน
อนั ตรายตอ สขุ ภาพ
3. เพอ่ื การจัดสรรและการกระจายรายได โดยการเก็บภาษีจากผูมีรายไดมาก ในอัตราสูง เพื่อใหรัฐ
นาํ ไปใชจายใหเ ปน ประโยชนแ กสวนรวมและผูมรี ายไดนอ ย
4. เพื่อการชําระหนี้สินของรัฐโดยการเก็บภาษีอากรจากผูท่ีไดรับประโยชนจากการพัฒนาของรัฐ
เพ่ือนําไปชําระหนเี้ งินกูทร่ี ฐั กูยมื มา
5. เพ่ือเปนเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ โดยใชภาษีอากรเปนเครื่องมือสนับสนุนหรือจํากัดการ
ลงทนุ การธุรกจิ เพอื่ ประโยชนในการพฒั นาเศรษฐกจิ
6. เพือ่ เปน เครอ่ื งมอื ในนโยบายการคลัง เชน เพิ่มอัตราภาษีใหสูงขึ้นในภาวะเงินเฟอ และลดอัตรา
ภาษีลงในภาวะเงนิ ฝด เปน ตน
สรปุ
รายไดของรฐั บาลประกอบดว ยรายไดทเี่ ปน ภาษีอากรและรายไดท ่ีไมใชภ าษีอากร เพอ่ื นํามาใชจาย
ในกจิ การของรฐั บาลโดยไมต อ งใหการตอบแทนแกผ หู น่ึงผูใ ดโดยเฉพาะ
ภาษีอากร
ประเภทของภาษอี ากร
การแบงประเภทของภาษีอากรขนึ้ อยูกับเกณฑท ี่ใชในการแบงซงึ่ มี 4 เกณฑ ดังนี้
1. แยกตามหลักการผลักภาระภาษี แบงไดเ ปน 2 ชนิด คือ
1.1 ภาษที างตรง คอื ภาษที เี่ ก็บแลวผเู สยี ภาษไี มสามารถผลักภาระไปใหผูใดไดอีก ไดแก ภาษี
เงินไดบ คุ คลธรรมดา ภาษเี งนิ ไดนติ ิบคุ คล ภาษที รัพยสนิ เปนตน
1.2 ภาษีทางออม คอื ภาษที ผี่ ูเ สยี ภาษีไมจ าํ เปนตอ งรับภาษไี วเอง สามารถผลกั ภาระใหผ ูอน่ื ได
เชน ภาษีสรรพสามิต ภาษศี ุลกากร เปน ตน
2. แยกตามการใชภาษี แบงไดเปน 2 ชนิด
2.1 ภาษีท่ัวไป (General Tax) หมายถึง ภาษีที่จัดเก็บเพื่อนํารายไดไปเขางบประมาณ
แผนดิน สําหรับใชในกจิ การท่ัวไป ไมมีการระบุวา จะตอ งนําเงินภาษไี ปใชเพ่อื การใดโดยเฉพาะ
2.2 ภาษเี พ่ือการเฉพาะอยาง (Ear – Marked Tax) หมายถึง ภาษีท่จี ดั เกบ็ เพ่ือนําเงนิ ไปใชใน
กจิ การใดกิจการหน่งึ โดยเฉพาะ จะนําไปใชผดิ กจิ กรรมมิได เชน ภาษกี ารปองกนั ประเทศ เปนตน
219
3. แยกตามฐานภาษี แยกเปน ชนิดตาง ๆ ตามฐานภาษี ดังน้ี
3.1 ภาษที ี่เก็บจากเงนิ ได เชน ภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา หรอื ภาษีเงนิ ไดน ิติบุคคล เปนตน
3.2 ภาษีทเ่ี กบ็ จากฐานการใชจ าย เชน ภาษกี ารใชจ าย เปนตน
3.3 ภาษีที่เกบ็ จากทนุ เชน ภาษมี รดก ภาษีรถยนต เปนตน
3.4 ภาษที ีเ่ ก็บจากการเปลี่ยนมือ เชน ภาษขี าย ภาษีสรรพสามติ เปน ตน
4. แยกตามเกณฑก ารประเมนิ ไดแ ก
4.1 ภาษีตามมูลคา (Ad Valorem Tax) คือ ภาษีท่ีถือมูลคาของสินคาหรือบริการที่ซื้อขาย
กันเปน ฐาน โดยมากกาํ หนดรอยละของมูลคาโดยไมค าํ นงึ ถงึ จํานวนทซ่ี ้อื ขายกนั วา เปนอยางไร
4.2 ภาษตี ามสภาพ (Specific Tax) คือ ภาษีทเ่ี กบ็ ตามสภาพของสนิ คา เชน กาํ หนดเก็บภาษี
น้ํามันวา เกบ็ ลิตรละ 2 บาท ไมว าราคาน้าํ มนั จะเปนเทา ใด เปน ตน
โครงสรางอัตราภาษอี ากร (Tax Rate Structure) แบง เปน 3 ประเภท คือ
1. โครงสรางอัตราภาษีแบบกาวหนา คือ ภาษีที่อัตราภาษีเพ่ิมข้ึนเม่ือฐานภาษีสูงขึ้น ถาภาษีเงินได
เปน ภาษแี บบกาวหนา เม่อื เงินไดเ พ่มิ ข้นึ อัตราภาษีจะสูงข้นึ ดวย
2. โครงสรา งภาษีแบบคงที่ คอื ภาษที ีม่ อี ัตราคงท่ไี มว าฐานภาษจี ะเพ่มิ ขึน้ หรือลดลง
3. โครงสรา งอัตราภาษแี บบถดถอย คือ ภาษีที่อัตราภาษจี ะลดลงเมอื่ ฐานภาษีมคี า สงู ขึ้น
การจดั เกบ็ ภาษอี ากรในประเทศไทย
ภาษอี ากรซึ่งเปน รายไดสว นใหญข องประเทศไทย มหี นว ยงานทจ่ี ดั เก็บ ไดแ ก
1. ประเภทภาษีอากรทีก่ รมสรรพากรทีห่ นา ที่จดั เกบ็ ไดแก
1.1 ภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดา
1.2 ภาษีเงนิ ไดน ติ บิ ุคคล
1.3 ภาษีเงนิ ไดปโตรเลียม
1.4 ภาษกี ารคา
1.5 ภาษีมลู คาเพิ่ม (Value Added Tax) รัฐบาลนาํ เขา มาใชแทนภาษกี ารคา
เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 2535
1.6 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ
1.7 อากรแสตมป
1.8 อากรมหรสพ (คา งเกา) ไดยกเลิกการจดั เกบ็ แลว
1.9 อากรรังนกนางแอน
การธนาคาร
ความหมายของการตลาดเงินและตลาดทนุ
ตลาดเงิน คือ ตลาดท่ีมีการระดมเงินทุนและการใหสินเช่ือในระยะส้ันไมเกิน 1 ป การโอนเงิน
การซื้อขายหลกั ทรัพยทางการเงินที่มอี ายุการไถถอนระยะสั้น เชน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน และต๋ัวเงินคลัง
220
เปน ตน ปน ท่ีรวมกลไกทั้งหลายท่ที ําใหการหมุนเวยี นของเงินทุนระยะสั้นเปนไปดวยดี ไดแก การใหสินเช่ือ
เพื่อการประกอบธุรกิจ และการจัดหาทุนระยะส้ันแกภาครัฐบาล แบงออกเปน ตลาดเงินในระบบ ไดแก
ธนาคารพาณชิ ย บริษทั เงินทนุ บริษัทหลักทรัพย ธนาคารกลาง เปน ตน และตลาดเงินนอกระบบเปนการกูยืม
ระหวา งบคุ คล
ตลาดทนุ คือ ตลาดที่มกี ารระดมเงินออมระยะยาวและใหส นิ เชื่อระยะยาว ต้งั แต 1 ปข นึ้ ไป ไดแ ก
เงินฝากประจาํ ตงั้ แต 1 ปข ึน้ ไป หนุ กู หุนสามัญ และพันธบตั รรฐั บาลหรอื เอกชน
ในปจจุบันการแบงปน ตลาดเงินและตลาดทนุ คอนขา งยุงยากเพราะสถาบนั การเงนิ จะทําหนาทท่ี งั้ สอง
อยางจงึ รวมเรียกวา ตลาดการเงนิ
สรุป
ตลาดเงินคือตลาดท่ีระดมเงินทุนและการใหสินเช่ือในระยะส้ันไมเกิน 1 ป สวนการระดมเงินออม
มากกวา 1 ปข้ึนไป เรียกวาตลาดทุน ตลาดเงินและตลาดทุนมีท้ังในระบบและนอกระบบ และมีสวนสําคัญ
ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ
ธนาคารกลาง
1. ความหมายของธนาคารกลาง
ธนาคารกลางเปนสถาบันการเงินซึ่งสวนมากเปนของรัฐ ทําหนาที่เปนศูนยกลางควบคุมการเครดิต
และระบบการเงนิ ของประเทศ ในประเทศไทยคอื ธนาคารแหง ประเทศไทย
ธนาคารกลางมลี ักษณะแตกตา งจากธนาคารพาณิชย คอื
1.1 ธนาคารกลางดําเนินงานเพื่อเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ ไมใช เพ่ือรายไดหรือผล
กาํ ไรอยา งธนาคารพาณชิ ย
1.2 ธนาคารกลาง เปนสถาบันการเงนิ ทีร่ ฐั บาลเขามามีสวนรวมในการบรหิ าร
1.3 ลูกคาสวนใหญของธนาคาร ไดแก หนวยงานของรัฐบาล ธนาคารพาณิชย และสถาบัน
การเงนิ บางประเภท ธนาคารกลางจะไมทําธรุ กิจติดตอ พอคา หรอื ประชาชนโดยตรง
2. หนา ทข่ี องธนาคารกลาง
2.1 เปนผูออกธนบัตร เพื่อควบคุมปริมาณธนบัตรท่ีใชหมุนเวียนใหพอดีกับความตองการของ
ธรุ กจิ และประชาชนท่ัวไป
2.2 เปนผูควบคุมเงินสดของธนาคารพาณิชย โดยมีอํานาจกําหนดเพ่ิมหรือลดจํานวนเงินสด
สาํ รองเงินฝากของธนาคารพาณชิ ย เพ่อื ใหธ นาคารกลางสามารถกาํ หนดปริมาณเงนิ ฝากและการสรางเงินฝาก
ของธนาคารพาณิชยไ ด
2.3 เปน ธนาคารของธนาคารพาณิชย ธนาคารกลางจะรับฝากเงินจากธนาคารพาณิชยเปนผูให
ธนาคารพาณิชยก ูย ืมแหลงสุดทา ย และรบั หกั บัญชรี ะหวา งธนาคาร
221
2.4 เปน นายธนาคารของรัฐบาล ธนาคารกลางจะถือบัญชีเงินฝากของรัฐบาลใหรัฐบาลกูยืมเละ
เปน ตวั แทนทางการเงินของรฐั บาล
3. ธนาคารแหง ประเทศไทย
3.1 ประวัตคิ วามเปน มา
ธนาคารแหง ประเทศไทยเปนธนาคารกลางของประเทศไทย เริ่มตนจากรัฐบาลไทยไดริเริ่มจัดตั้ง
สํานักงานธนาคารชาติไทยขน้ึ เมือ่ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 สํานักงานนปี้ ระกอบธรุ กิจของธนาคารกลาง
เฉพาะบางประเภทเทานัน้ เพราะยังไมมฐี านะเปนธนาคารกลางโดยสมบรู ณ ตอมาเมอื่ วนั ท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ.
2548 รัฐบาลไดจัดต้ังธนาคารกลางขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารแหงประเทศ พ.ศ. 2548 โดยไดรับทุน
ดําเนินงานจากรัฐบาล 20 ลานบาท รวมทรัพยสินที่โอนมาจากสํานักงานธนาคารแหงประเทศไทย 13.5
ลา นบาท
3.2 หนาทข่ี องธนาคารแหงประเทศไทย
1) ออกและพิมพธนบัตร ธนาคารแหงประเทศไทยมีอํานาจตามกฎหมายท่ีจะออกธนบัตร
รฐั บาลภายใตเงือ่ นไข 2 ประการ คือ ออกธนบัตรใหมแ ทนธนบัตรเทาที่ชาํ รดุ เสียหาย และเมื่อไดร บั ทุนสาํ รอง
เงนิ ตราเพม่ิ ขน้ึ
2) เก็บรักษาทนุ สาํ รองเงนิ ตรา ในการออกธนบตั รใหมของธนาคารแหง ประเทศไทย กฎหมาย
กําหนดใหม ีทุนสํารองเงนิ ตรา ประกอบดว ย ทองคํา หลักทรัพยและเงินตราตางประเทศไมต่ํากวารอยละ 60
ของจํานวนธนบัตรท่พี มิ พออกใช
3) เปนธนาคารของธนาคารพาณชิ ย และคอยกํากับดูแลธนาคารแหงประเทศไทยใหบริการ
แกธ นาคารพาณชิ ยใ นลกั ษณะเดยี วกับที่ธนาคารพาณชิ ยดแู ลลูกคา คือ
3.1 รกั ษาบญั ชเี งินฝากของธนาคารพาณชิ ย
3.2 เปนสาํ นักงานกลางในการหกั บัญชรี ะหวา งธนาคาร
3.3 เปน ผูใหกแู หลงสุดทาย
3.4 เปน ศูนยก ลางการโอนเงิน
4) เปน ธนาคารของรฐั บาล ธนาคารแหง ประเทศไทยรกั ษาบญั ชีเงนิ ฝากของหนว ยงานรฐั บาล
และรฐั วิสาหกจิ ซอ้ื ขายเงนิ ตราตา งประเทศใหร ฐั บาล และใหร ฐั บาล รฐั วิสาหกิจ กยู ืมโดนมหี ลกั ทรพั ย
5) รกั ษาเสถียรภาพของเงนิ ตรา เปนบทบาทหนาท่ีทส่ี าํ คญั ทีส่ ุดของธนาคารแหงประเทศไทย
ในการรกั ษาเสถียรภาพของเงนิ ตราโดยการใชม าตรการตา ง ๆ ควบคุมปริมาณเงินของประเทศใหอ ยใู นปรมิ าณ
ทีเ่ หมาะสม
สรปุ
ธนาคารกลางเปน สถาบันการเงินที่สว นใหญเปนของรัฐทาํ หนาทเ่ี ปนศูนยก ลางควบคมุ การเครดิตและ
ระบบการเงินประเทศไทยคือ ธนาคารแหง ประเทศไทย
222
ธนาคารพาณิชย
1. ความหมายของธนาคารพาณิชย
ธนาคารพาณิชย หมายถึง ธนาคารท่ีไดรับอนุญาตใหประกอบการธนาคารพาณิชยและหมายรวม
ตลอดถงึ สาจาของธนาคารตา งประเทศทไ่ี ดรับอนญุ าตใหป ระกอบการธนาคารพาณิชย โดยการประกอบธุรกิจ
ประเภทรบั ฝากเงนิ ทีต่ อ งจา ยเมือ่ ทวงถามหรือเมื่อส้ินระยะเวลาอันกําหนดไวและใชประโยชนเงินน้ันในทาง
หนงั สือหลายทาง เชน
1. ใหก ยู มื
2. ซอื้ ขายหรอื เกบ็ เงนิ ตามตว๋ั แลกเงินหรอื ตราสารเปลีย่ นมืออืน่ ใด
3. ซอ้ื หรอื ขายเงนิ ปริวรรตตางประเทศ
2. หนาที่ของธนาคารพาณชิ ย มดี ังนี้
2.1 หนาที่ในดา นการใหบ ริการทางการเงิน ไดแก
1) การรับฝากเงิน เงินท่รี บั ฝากจะมีประเภทเงนิ ฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจํา และเงิน
ฝากออมทรพั ย
2) การโอน หมายถงึ การสงเงนิ ภายในทองถิน่ ระหวางเมืองหรือระหวางประเทศโดยการ
ใชด รา ฟ หรือผา นระบบออนไลน
3) การเรียกเกบ็ เงิน หมายถงึ การเรยี กเกบ็ เงินตามเช็ค ตั๋วแลกเงนิ ที่ครบกาํ หนดเวลา
4) การใหเชาหบี นริ ภยั คือ การใหเ ชาหองท่มี คี วามม่ันคงปลอดภัย เพอ่ื เกบ็ ทรพั ยสนิ
5) การเปนทรสั ต หมายถึง การทําหนา ทพ่ี ทิ กั ษท รพั ยส นิ และผลประโยชนของบุคคลอน่ื หรอื
รับจดั การผลประโยชนของผทู ่มี ที รัพยส นิ มากและไมมีเวลาดแู ลทรัพยส นิ ของตนเองได
6) การซ้ือขายเงนิ ตราตางประเทศ หมายถงึ การซื้อขายแลกเปลี่ยนเงนิ ตราตา งประเทศ
2.2 หนา ทเี่ กยี่ วกับการใหกยู มื และสรา งเงินฝาก
1) การใหกูยืมของธนาคารพาณิชย ธนาคารพาณิชยรับฝากเงินจากประชาชน แลวนํามาให
กยู มื 3 วธิ ดี ว ยกนั คอื
1.1) ใหกยู มื เปนตวั เงินโดยตรง
1.2) ใหเ บกิ เงินเกินบัญชี
1.3) รบั ซอื้ ตัว๋ แลกเงนิ
2) การสรางเงินฝากของธนาคารพาณิชย เมื่อมีลูกคานําเงินมาฝากเรียกวา เงินฝากข้ันที่ 1
ธนาคารจะเอาไปใหผูอื่นกูยืม โดยเปดบัญชีเงินฝากในนามของผูกู เรียกวา เงินฝากขั้นที่ 2 โดยมอบเช็คให
เพ่อื ไปเขียนสงั่ จา ยตามวงเงินทก่ี ู เงินฝากของธนาคารจึงเพ่มิ ข้ึนโดยธนาคารไมจาํ เปนตอ งมลี ูกคา นาํ เงินสดเขา
มาใหมเสมอ เปนเงินฝากทเ่ี กดิ จากการแปลงหน้ีของผกู ใู หอยูในรปู บัญชเี งินฝาก
223
สรปุ
ธนาคารพาณชิ ย คือ สถาบันการเงินที่ไดรับอนุญาตใหรับฝากเงิน ใหกูยืม ซื้อขายหรือเรียกเก็บเงิน
ตามตว๋ั แลกเงนิ ซือ้ หรอื ขายเงินปริวรรตตางประเทศ เปน สถาบันการเงนิ ทใ่ี หญท ่ีสดุ ในประเทศไทย
แบบฝก หดั ทายบทเร่อื งที่ 5 สถาบนั การเงินและการเงนิ การคลงั การธนาคาร
คาํ สงั่ เมื่อผเู รยี นศกึ ษาเร่อื งสถาบนั การเงนิ และการเงนิ การคลงั จบแลว ใหท าํ แบบฝก หดั ตอ ไปนี้ โดยเขยี นใน
สมดุ บันทึกกจิ กรรมเรียนรู
แบบฝก หัดที่ 1 ใหผ เู รยี นศึกษาวเิ คราะหแ ละจบั คขู อความที่กาํ หนดใหต อไปนี้ โดยใหมีความสัมพนั ธก ัน
..............1. เหรยี ญกษาปณ ก. เงินฝากท่สี ัง่ จา ยโดยใชเช็ค
..............2. ธนบตั ร ข. รัชกาลท่ี 4
..............3. เงนิ ฝากกระแสรายวัน ค. รชั กาลท่ี 5
..............4. เงนิ พดดว ง ง. เรม่ิ ใชสมัยสุโขทยั
..............5. เร่ิมใชธ นบตั รเปน ชาตแิ รก จ. ธนาคารแหง ประเทศไทย
..............6. เลกิ ใชเ งนิ พดดวง ฉ. กรมธนารักษ
..............7. เริม่ ใชเ งินโลหะ ช. เงินโลหะ
..............8. เรม่ิ ผลติ ธนบัตรในประเทศไทย ซ. อยี ปิ ต
..............9. หนว ยงานทีผ่ ลิตธนบัตร ฌ. จีน
............10. หนวยงานที่ผลติ เหรียญกษาปณ ญ. เงินกระดาษ
แบบฝก หดั ท่ี 2 ใหผูเรียนบอกหนา ทขี่ องสถาบนั การเงนิ ตอ ไปน้ี
1. ธนาคารออมสิน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. บริษัทเงนิ ทุน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. บริษัทหลกั ทรพั ย
.................................................................................................................……………………………….......
.............................................................................................................................................................
4. บรรษทั เงินทุนอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
224
5. บริษัทประกนั ภัย
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
6. โรงรบั จาํ นํา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
7. บริษทั เครดิตฟองซเิ อร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
8. สหกรณออมทรพั ย
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
9. ธนาคารอาคารสงเคราะห
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
10. ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก ารเกษตร
.............................................................................................................................................................
แบบฝกหดั ท่ี 3 ใหผูเรยี นสรุปเรอ่ื งตอ ไปน้ี
1. ความหมายของเศรษฐกิจภาครฐั บาล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
2. ความสําคัญของเศรษฐกิจภาครฐั บาล
.....................................................................................................................................................................
3. ความหมายของงบประมาณแผน ดิน
.....................................................................................................................................................................
4. ข้นั ตอนการจัดทาํ งบประมาณแผน ดนิ
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
225
5. หนวยงานรบั ผิดชอบในการจัดทาํ งบประมาณแผนดิน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
6. งบประมาณแผน ดินในปป จจุบัน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
เร่อื งที่ 6 ความสมั พนั ธแ ละผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวา งประเทศ
กบั ภมู ภิ าคตา ง ๆ ทวั่ โลก
เศรษฐกิจระหวางประเทศ คือ การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการระหวางประเทศ
ซ่ึงประกอบดวย การคาระหวางประเทศ การชําระเงินระหวางประเทศ การรวมมือทางเศรษฐกิจระหวาง
ประเทศ
1. การคา ระหวางประเทศ (International Trade)
การคาระหวางประเทศ (International Trade) หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศ
หนงึ่ แลกเปล่ียนกับอีกประเทศหน่ึง
1.1 ปจ จยั ทที่ ําใหเ กิดการขยายตวั ทางการคา ระหวา งประเทศ
1) ความแตกตา งของทรัพยากรและปจจัยการผลิต เชน ราคาของวัตถุดิบ คุณภาพแรงงาน
การใหบริการ เปน ตน
2) ความแตกตางของลักษณะทางกายภาพ เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทําใหผลผลิตที่ได
แตกตางกนั เปน ตน
3) ความแตกตางในความสามารถทางการผลิต เชน เทคโนโลยี ตนทุนการผลิต
4) การสนบั สนุนจากภาครฐั บาลและกฎหมายทเ่ี ออ้ื ตอการลงทุน
5) โครงสรา งทางเศรษฐกิจของประเทศ
1.2 ประโยชนของการคาระหวา งประเทศ
1) แตละประเทศมีสนิ คา ครบตามตอ งการ
2) การผลิตสนิ คาในประเทศตาง ๆ จะมกี ารแขง ขนั ทางดา นคุณภาพและประสิทธภิ าพ
3) การกระจายผลผลิตไปสูผบู รโิ ภคอยางกวา งขวาง เปน การจดั สรรทรพั ยากรของโลกที่มีอยู
อยา งจาํ กัด ใหส ามารถสนองความตองการของประชากรโลกอยางท่ัวถงึ
226
4) เกิดความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของการผลิต การจางงาน การถายทอด
เทคโนโลยี การผลิตระหวางประเทศ เกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง มีโอกาสพัฒนาประเทศตนให
ทัดเทยี มกันได
5) การผลติ สนิ คาเปน การผลติ เพือ่ การคาหรือมเี ศรษฐกิจแบบการคา
ประเทศท่ีทําการซ้ือขายสินคาระหวางกันเรียกวา ประเทศคูคา สินคาที่นํามาจากตางประเทศ
เพื่อเขามาจําหนาย เรียกวา สินคาเขา (Import) สวนสินคาที่ผลิตไดนําสงออกไปจําหนายในตางประเทศ
เรียกวา สินคาออก (Export)
1.3 นโยบายการคา ระหวางประเทศ (Trade Policy) เปน แนวทางปฏิบตั ิทางการคา กับประเทศ
ตาง ๆ ซ่ึงมักกาํ หนดขึ้นเพอ่ื รกั ษาผลประโยชนท างเศรษฐกจิ ของประชาชน แบงเปน 2 ลกั ษณะ คอื
1) นโยบายการคา แบบเสรมี ักใชวิธีการ ดงั น้ี
1.1 ไมม ีการเกบ็ ภาษีคุมกนั คอื ไมก ําหนดกาํ แพงภาษีขาเขา ไมเกบ็ คา พรเี มีย่ ม
1.2 ไมใหส ิทธิทางการคาแกประเทศหนึ่งประเทศใด
1.3 หลักการแบงงานทํากัน เลือกผลิตเฉพาะสินคาท่ีตนถนัด ทําใหตนทุนการผลิตต่ํา
สินคามคี ณุ ภาพ เกดิ ประโยชนท ัง้ ผผู ลติ และผบู ริโภค
1.4 ไมมขี อ จาํ กัดทางการคา คือ ไมม ีการกาํ หนดโควตาสินคา
ปจ จุบนั ประเทศตาง ๆ ยกเลกิ นโยบายการคาแบบเสรี เน่ืองจากประเทศเกษตรกรรมจะเสียเปรียบ
ประเทศอตุ สาหกรรม ทําใหเ กิดภาวะปญ หาขาดดลุ การคา เงินทองรัว่ ไหลไปประเทศอื่นมาก และสถานการณ
ทางการเมืองโลกท่ีเปล่ยี นไป จงึ มีการกีดกนั ทางการคา ซ่งึ กันและกัน
2) นโยบายการคา แบบคุม กนั (Protective Policy) เปนนโยบายการคา ท่ีจํากัดสินคาเขาที่จะ
มาแขง ขนั กบั สนิ คาท่ผี ลติ ไดใ นประเทศ นโยบายนีม้ ีวตั ถปุ ระสงคเพ่อื คุมครองการผลิตภายในประเทศประเทศ
ที่ใชนโยบายการคา แบบคุม กันมักใชวธิ ีการ ดังนี้
2.1 การต้ังกําแพงภาษี กําหนดอัตราภาษีสินคาเขาใหสูงกวาชาติอื่นหรือ เก็บภาษี
หลายอัตรา
2.2 กําหนดปริมาณการนาํ เขา หรือการสง ออกสินคา บางชนิด (โควตา)
2.3 หามนําเขาหรอื สง ออกสนิ คา บางชนิด เชน หามสงออกสัตวปา
2.4 การใหเงินอุดหนุน เชน ใหเงินอุดหนุนแกผูผลิตในประเทศหรือผูสงออกสินคา
บางชนิดลดภาษีสง ออกหรอื ใหความสะดวกดา นสนิ เชอื่
1.4 นโยบายการคา ตา งประเทศของไทย
พ้ืนที่ทางเศรษฐกิจของไทย คือ เกษตรกรรม เพื่อไมใหเกิดการเสียเปรียบดุลการคา จึงใช
นโยบายการคาตางประเทศแบบคุมกนั ดังนี้
1) ใชนโยบายการคาแบบคุมกัน โดยนําเอามาตรการตาง ๆ มาใช เชน ตั้งกําแพงภาษี
การกําหนดปริมาณการนําเขาสินคา การลดภาษีสงออก เพ่ือคุมครองอุตสาหกรรมและการผลิตสินคา
ภายในประเทศ
227
2) ใหเ อกชนมีบทบาททางการคามากทีส่ ดุ รัฐบาลสงเสรมิ ใหเอกชนดําเนนิ การสง ออกมสี ินคา
บางอยางที่รัฐเปน ผูดาํ เนนิ การสงออก เชน ขาว ขา วโพด นาํ้ ตาล เปนตน
3) ใชระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเด่ียว หรือพิกัดอัตราซอน สินคานําเขาจากประเทศใด
ก็ตาม รัฐเก็บภาษาศุลกากรในอัตราเดียวกัน ไมใหสิทธิหรือกีดกันประเทศใดเปนพิเศษ ที่เปนเชนน้ี
เพราะประเทศไทยเปนสมาชกิ องคการคา โลก (World Trade Organization หรอื WTO)
ปริมาณการคา ระหวางประเทศ คิดจากมูลคาของสินคาออกและมูลคาของสินคาเขารวมกันปริมาณ
การคา ระหวา งประเทศจะแตกตา งกันไป ตามสภาพเศรษฐกจิ และนโยบายการคาของประเทศนั้น ๆ ประเทศ
พัฒนาแลวมีปรมิ าณการคา ระหวา งประเทศสูงกวาประเทศกาํ ลังพฒั นา
1.5 ดุลการคาระหวางประเทศ
ดุลการคา (Balance of Trade) คอื การเปรียบเทียบมูลคา สินคา ออกกับมลู คา สินคาในเวลา 1
ป ดุลการคามี 3 ลกั ษณะ คือ
ดลุ การคาเกนิ ดลุ = มลู คา สนิ คา ออก มากกวา มูลคาสินคาเขา
ดลุ การคาสมดลุ = มูลคาสนิ คา ออก เทา กบั มูลคา สินคา เขา
ดลุ การคาขาดดลุ = มลู คาสินคา ออก นอ ยกวา มลู คาสินคา เขา
แตข ณะเดยี วกันประเทศไทยรว มจัดตั้ง เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ
AFTA) มีขอตกลงจัดเก็บภาษีสินคาเขาจากประเทศสมาชิก AFTA ตํ่ากวารอยละ 0-5 เทาน้ัน ประเทศ
สมาชกิ AFTA ทั้ง 10 ประเทศจะเก็บภาษใี นอตั ราเทา กันทงั้ หมดในอัตราท่ตี ่าํ กวา WTO
1.6 ดลุ การคา ของไทย
ดุลการคาประเทศไทยมีลักษณะขาดดุลมาตลอด นับต้ังแต พ.ศ. 2495 เปนตนมา เนื่องจาก
สินคาเขาสวนใหญเปนสินคาอุตสาหกรรม เชน เครื่องจักรไฟฟา เครื่องจักรใชในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ
แผงวงจรไฟฟา น้าํ มันดบิ เปนจํานวนมากมาพัฒนาประเทศ สว นสินคาออกเปนผลิตภัณฑดานเกษตรกรรม
ซ่ึงมีมูลคานอยกวาสินคาทุน จึงทําใหขาดดุลการคาตั้งแต ป 2541 เปนตนมาปริมาณการคาขยายตัวสูงขึ้น
เรือ่ ย ๆ ประเทศไทยเร่ิมดลุ การคาเกินดลุ ประเทศคูค าสาํ คญั ของไทย คอื ญปี่ นุ สหรัฐอเมริกา ประชาคมยโุ รป
(EC) และประเทศในกลุม อาเซียน
1.7 ปญหาการคา ระหวางประเทศของไทย
ปริมาณการคาระหวางประเทศของไทย มีอัตราขยายตัวสูงมาก ขณะเดียวกันก็ประสบปญหา
สาํ คญั 3 ประการ คือ
1) ลัทธกิ ีดกนั ทางการคาของประเทศคูคา ทส่ี าํ คัญ เชน การต้งั กาํ แพงภาษีขาเขา ยกเลิกการใหส ทิ ธิ
พเิ ศษทางการคา (GSP) แกสินคา ไทย กฎหมายลขิ สทิ ธ์ทิ างปญญา เปน ตน
2) ตลาดการคาในตา งประเทศยังไมก วางขวาง
3) การแขงขันแยงตลาดของประเทศคูแขง ไทยมีคูแขงสินคาการเกษตรในตลาดโลกหลายราย
โดยเฉพาะสินคาขาว
228
4) ขอผูกพันที่ตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับของแกตต (GATT) คือ ขอตกลงท่ัวไปวาดวยภาษี
ศลุ กากรและการคาของประเทศสมาชกิ
5) การขาดดุลการคา ซ่ึงแนวทางแกไข คอื ปรบั ปรงุ คุณภาพสนิ คาและราคา แลวขยายตลาดและ
ปริมาณสงออก ในขณะเดียวกันตองพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศพรอม ๆ กับจํากัดการนําเขาสินคา
ตางประเทศท่ีฟุม เฟอ ย
การเงินระหวา งประเทศ (International Finance)
การเงินระหวางประเทศเปน การแสดงความสมั พันธด านการเงินระหวางประเทศหนึง่ กับอีกประเทศ
หนึง่ อนั สืบเนอื่ งมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกูย มื เงินและการชาํ ระหน้ี การลงทุนระหวางประเทศ
และการชว ยเหลือกนั ระหวางประเทศ
2.1 การแลกเปลย่ี นเงินตราตางประเทศ (Foreign Exchange)
การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตางประเทศ คอื การเปรยี บเทยี บราคาของเงินตราประเทศหน่ึงกับเงินตรา
ของอกี ประเทศหน่งึ โดยท่วั ไปมักเทยี บคา เงนิ ตราของประเทศตนกับเงนิ ดอลลารสหรัฐ การทต่ี องแลกเปลย่ี น
เงินตราตางประเทศ เพราะมีการดาํ เนินธรุ กิจการคาระหวางประเทศ แตล ะประเทศมหี นวยเงินตรา ไมเหมือนกัน
จึงตองกําหนดอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราท่ีไดรับการยอมรับใหเปนส่ือในการแลกเลี่ยน คือ เงินดอลลารสหรัฐ
เงนิ เยน เงินยโู ร
ธนาคารกลางเปนผูกําหนดอัตราแลกเปลี่ยน โดยเทียบคาเงินของตนกับทองคําหรือเงินตรา
สกลุ อืน่ ภายใตเ ง่ือนไขท่ีกองทุนการเงนิ ระหวางประเทศ (IMF) กําหนด
2.2 ดลุ การชาํ ระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment)
ดุลการชาํ ระเงนิ ระหวา งประเทศ หมายถึง รายการแสดงยอดรายรับและรายจายของประเทศที่เกิด
จากการทาํ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจระหวา งประเทศในระยะเวลา 1 ป
ดุลการชาํ ระเงินระหวางประเทศ ประกอบดว ย 3 สว นใหญ ๆ คอื
1) บญั ชีเดนิ สะพดั เปน บัญชีแสดงดุลการคา ดลุ บรกิ าร
2) บญั ชที ุนเคลือ่ นยาย เปน บัญชแี สดงการนําเงินไปลงทุนระหวางประเทศทัง้ ภาครัฐและเอกชน
3) บญั ชที ุนสาํ รองระหวางประเทศ เปนบัญชีที่แสดงการเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินสํารองระหวาง
ประเทศในแตล ะป
ทนุ สาํ รองระหวา งประเทศ คอื ทรพั ยสินของประเทศที่เก็บไวในรูปของเงินสกุลตางประเทศและ
ทองคาํ แทง
4) บญั ชีเงนิ โอนและบริจาค เปน เงนิ ไดเ ปลาหรอื เงนิ บรจิ าคระหวางประเทศดลุ การชําระเงนิ มี 3
ลักษณะ คือ
ดุลการชําระเงนิ ขาดดลุ คือ รายรับต่าํ กวา รายจาย
ดุลการชาํ ระเงินเกินดุล คอื รายรับสูงกวา รายจา ย
ดุลการชาํ ระเงนิ สมดลุ คอื รายรบั เทา กบั รายจา ย
229
ดลุ การชาํ ระเงิน = รายรับท้งั หมดท่ไี ดจากตางประเทศ - รายจายทัง้ หมดที่จา ยไปตา งประเทศ
ขอแตกตางระหวางดลุ การคากบั ดุลการชําระเงิน
1) ดุลการคา เปรยี บเทยี บเฉพาะ มูลคาสินคา ออกกบั มลู คา สินคาเขา เทานัน้
ดลุ การชาํ ระเงิน เปรียบเทียบเฉพาะรายรบั กบั รายจายทเ่ี กดิ จากการตดิ ตอ กบั
ตา งประเทศทกุ ดาน
2) ดลุ การคา เปน สวนหนงึ่ ของบัญชีดลุ การชําระเงิน
2.3 ภาวะดุลการชาํ ระเงินของไทย
แมดุลการคาของประเทศจะขาดดุลมาตลอด แตประเทศไทยไมขาดดุลการชําระเงินปใด
ดลุ การชาํ ระเงินเกินดุลเกดิ ผลดี ทาํ ใหประเทศมี “ทนุ สํารองระหวางประเทศ” เพ่ิมสงู ขึ้น
ป 2540 ดุลการชําระเงินขาดดุล เพราะดึงทุนสาํ รองมาใช จนเกดิ วกิ ฤตกิ ารเงนิ
ป 2541 ดุลการคาเริม่ เกนิ ดลุ เนอ่ื งจากการลดอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ ลดการ
นาํ เขา สนิ คาทุนและวตั ถดุ บิ นบั จากป 2541 น้ีไป ไทยยงั คงมีดลุ การคา เกนิ ดลุ แตเ ร่ิมเกินดุลลดลง
3. การลงทุนระหวางประเทศ (International Investment)
การลงทนุ ระหวางประเทศ หมายถงึ การทีร่ ฐั บาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งนําเงินไปลงทุนดําเนิน
ธุรกจิ เพื่อแสวงหากาํ ไรในอกี ประเทศหน่ึง ปจ จุบันการลงทุนระหวางประเทศสวนใหญอ ยใู นรปู การดําเนินงาน
โดยวิสาหกิจ และมสี ถาบนั การเงนิ เอกชนเปนผูจ ัดหาเงินทุนสําหรบั โครงการตา ง ๆ
3.1สาเหตขุ องการลงทุนระหวางประเทศ
1) ลดตน ทุนการนาํ เขา วตั ถุดบิ
2) ลดตน ทนุ แรงงานตํ่า
3) ขยายตลาด โดยตั้งโรงงานผลิตเพ่ือตอบสนองความตอ งการตลาดมากข้นึ
4) ไดรับสทิ ธิพเิ ศษทางภาษี
ประเทศกําลังพฒั นามคี วามเหมาะสมมากตอ การลงทนุ
ผลดีของการลงทุนระหวางประเทศ คือ ทาํ ใหก ารคาระหวางประเทศขยายตัว เศรษฐกิจภายใน
ประเทศดีขน้ึ และมีความกา วหนาทางเทคโนโลยี
3.2 การลงทนุ ของตา งประเทศในประเทศไทย
รัฐบาลสนับสนนุ และสงเสรมิ การลงทนุ ของตางประเทศ และจัดต้ังสํานักงานคณะกรรมการ
สง เสริมการลงทนุ (Board of Investment หรือ BOI) เพือ่ ทาํ หนา ทส่ี นบั สนุนการลงทุนโดยใหส ิทธพิ เิ ศษ
ตา ง ๆ แกผ ลู งทนุ เชน ลดหยอนภาษีศุลกากรสินคาสงออกและนําเขาวัตถุดิบ หรือตั้งกําแพงภาษีสินคาจาก
ตางประเทศ เพือ่ คมุ ครองอตุ สาหกรรมท่ผี ลติ ไดในประเทศไทย ประเทศไทยไดร บั ความชว ยเหลือทางเศรษฐกจิ
จากประเทศญี่ปนุ และสหรัฐอเมริกาเปน สวนใหญ
230
แบบฝกหัดทายบทเร่ืองที่ 6 เร่ือง ความสัมพันธและผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวางประเทศกับภูมิภาค
ตาง ๆ ท่ัวโลก
คาํ สั่ง เมื่อผเู รยี นศึกษาเรือ่ ง ความสมั พนั ธและผลกระทบทางเศรษฐกจิ ระหวางประเทศกับภูมิภาค
ตา ง ๆ ท่ัวโลก จบแลว ใหทําแบบฝกหดั ตอไปนี้ โดยเขยี นในสมดุ บันทกึ กิจกรรมเรยี นรู
แบบฝกหดั ที่ 1 ใหผ เู รยี นอา นขอความตอ ไปนี้ แลวตอบคาํ ถามที่กําหนดให
เร่อื งที่ 1
การคาระหวางประเทศ หมายถึง การซ้อื ขายแลกเปล่ียนสินคา และบรกิ ารระหวางประเทศหนึ่งกับอีก
ประเทศหน่ึง อาจกระทําโดยรฐั บาลหรือเอกชนกไ็ ด ปจ จบุ นั ประเทศตา ง ๆ สว นมากมกั มีการติดตอซอื้ ขายกัน
เน่ืองจากแตละประเทศมีทรัพยากรธรรมชาติ สภาพของดินฟาอากาศ และความชํานาญในการผลิตสินคา
แตกตา งกนั สรุปไดวา ปจ จัยทีก่ อ ใหเ กดิ การคาระหวางประเทศ คือ
1. ความแตกตา งในเรอื่ งทพั ยากรธรรมชาติ ไดแ ก พลงั งาน แรธ าตุ ปาไม ความอดุ มสมบูรณของดินใน
แตล ะประเทศในโลกแตกตา งกัน ประเทศท่มี ที รัพยากรอุดมสมบรู ณ ยอมมโี อกาสสงู ที่จะนําทรพั ยากรมาผลิต
เปน สนิ คา และบริการ
2. ความแตกตางในดา นลักษณะภมู ปิ ระเทศและภูมอิ ากาศ จงึ ผลติ สนิ คา ไดแ ตกตา งกนั
3. ความแตกตางในเรื่องความชํานาญการในการผลิต เพราะแตละประเทศมีความกาวหนาทาง
เทคโนโลยแี ตกตา งกัน ประชากรของแตละประเทศมีความรู ความชํานาญแตกตางกัน เชน สวิตเซอรแลนด
มีความชาํ นาญในการผลิตนาฬิกา เปน ตน
ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ โดยเตมิ คาํ ตอบลงในชอ งวา ง
1. การคาระหวา งประเทศ หมายถงึ .....................................................................................................
2. การดําเนนิ กจิ กรรมในดา นการคาระหวางประเทศสามารถดาํ เนนิ การโดย ......................................
............................................................................................................................................................................
3. สาเหตุทีท่ ําใหเกิดการคาระหวางประเทศ ไดแก .............................................................................
............................................................................................................................................................................
4. ประเทศไทยเปน ประเทศทผี่ ลิตขา วไดมาก เนื่องจาก.....................................................................
............................................................................................................................................................................
เรื่องที่ 2
การทป่ี ระเทศใดจะผลิตสินคาอะไรมากนอยเทาใดนั้น ขึ้นอยูกับปจจัยและความเหมาะสมหลาย ๆ
ประการดังทีไ่ ดกลา วมาแลว ไมม ีประเทศใดสามารถผลิตสินคาท่ีประชาชนตองการไดหมดทุกอยาง ประเทศ
ตาง ๆ จึงนาํ สนิ คา ของตนมาแลกเปลีย่ นกนั ดงั นน้ั การคาระหวางประเทศจงึ กอใหเกดิ ประโยชน ดังน้ี
231
1. สนิ คาใดท่ีผลิตในประเทศเราไมได เราสามารถที่จะซื้อสินคาจากประเทศอืน่ ได ทาํ ใหมีสินคาสนอง
ความตองการของเราไดมากขึน้
2. สนิ คาทผี่ ลติ ไดในประเทศแตม ีตน ทนุ ในการผลติ สงู ประเทศเราควรเลือกผลิตสินคาที่มีตนทุนการ
ผลติ ตํ่า แลว สง ไปขายแลกเปล่ยี น เราจะไดสนิ คาคณุ ภาพดีและราคาถกู กวา ที่จะผลติ เอง
3. กอ ใหเ กดิ ความรูค วามชาํ นาญในการผลิตเฉพาะอยางตามความถนดั ทาํ ใหเ กดิ แรงจูงใจที่จะคิดคัน
เทคนิคการผลิตใหม ีคณุ ภาพมากข้ึน
4. ชว ยใหประเทศกําลังพฒั นาไดแบบอยา งการผลิตทท่ี นั สมยั สามารถนาํ ทรพั ยากรที่มอี ยูม าใชในการ
ผลติ เพอ่ื สงออกมากขน้ึ
5. ชวยใหประเทศกําลังพัฒนารูจักใชเทคโนโลยีจากประเทศที่พัฒนาแลวมาพัฒนาประเทศให
เจรญิ กาวหนา ข้นึ
ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ โดยเตมิ คาํ ตอบลงในชอ งวา งตอไปน้ี
1. ในการผลิตสินคา ถาตน ทนุ ในการผลิตในประเทศสงู ควรแกปญหาโดย
.............................................................................................................................................................
2. ประเทศกําลงั พฒั นาไดแ บบอยางในการผลิตสินคา จาก..................................................................
........................................................................................................................................................
3. การคา ระหวา งประเทศชว ยใหเ ศรษฐกจิ ขยายตัวเพราะ ............................................................
........................................................................................................................................................
เรอ่ื งท่ี 3
นโยบายการคาระหวางประเทศ เปนนโยบายที่ประเทศหน่ึงประเทศใดนําไปใชในการคาระหวาง
ประเทศแบง ออกเปน 2 แบบ คือ
1. นโยบายการคาเสรี เปนนโยบายที่สงเสริมใหประเทศอ่ืนนําสินคามาขายอยางเสรี ปราศจาก
ขอ จํากัดใดๆ ประเทศท่ใี ชนโยบายการคาเสรีจะตอ งปฏบิ ตั ิตามเง่อื นไขตอไปน้ี
1.1 ตองผลติ สนิ คาท่ีมีประสิทธิภาพสูง หรือมคี วามชาํ นาญในการผลิตสูง
1.2 ตอ งไมเ ก็บภาษี หรอื เกบ็ นอ ยทสี่ ดุ เพือ่ ไมใหเ กิดความแตกตา งในการผลติ สนิ คา
1.3 ไมมีการแบงแยก หรือใหอ ภิสิทธิ์แกป ระเทศใดประเทศหน่งึ
2. นโยบายการคาแบบคุมกัน เปนนโยบายที่รัฐบาลจะใชเครื่องมือตาง ๆ เพ่ือจํากัดการนําเขาและ
สงเสริมการสงออก
232
เรื่องท่ี 7 การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ
ความเปนมาและองคป ระกอบ
การคา ระหวางประเทศเกิดข้ึนเนือ่ งจากการท่ีโลกไดถูกแบง ออกเปนประเทศ แตละประเทศตางผลิต
สินคาหรือบริการแตกตางกนั เม่อื แตละประเทศตางเกิดความตองการท่ีจะแลกเปลี่ยนสินคาและบริการที่ตน
ผลิต ไดเปนจาํ นวนมากสินคา และบรกิ ารที่ตนผลิตไดนอยหรือผลิตไมไดเลยกับประเทศอื่น ประกอบกับการ
คมนาคมไปมาหาสูกันสะดวก การคา ระหวา งประเทศจึงเกดิ ขน้ึ
การที่แตล ะประเทศผลติ สนิ คา หรือบรกิ ารไดแตกตางกันเปนเพราะสาเหตตุ อ ไปน้ี
1. แตละประเทศตา งมลี กั ษณะท่ีต้งั ตางกัน ลักษณะท่ีตั้งของบางประเทศเอื้ออํานวยใหเกิดการผลิต
สินคาหรือบริการ เชน ประเทศท่ีมีชายฝง ทะเลกจ็ ะมีอตุ สาหกรรมตอเรือเพื่อขนสงหรือการใหบริการขนถาย
สินคาโดยใชทา เรอื นาํ้ ลกึ บางประเทศมีภูมิประเทศงดงาม จะมอี ตุ สาหกรรมการทองเที่ยวเกิดข้ึน
2. แตล ะประเทศมแี รธ าตุซงึ่ เปน ทรัพยากรธรรมชาติมากนอยตางกัน เชน สวีเดนมีเหล็ก เยอรมันมี
ถา นหนิ เวเนซูเอลาและตะวันออกกลางมีนํ้ามัน แอฟริกาใตมีทองคําและยูเรเนียม ประเทศเหลาน้ีก็จะนํา
แรธ าตขุ ึ้นมาใชและสง เปน สินคา ออก
3. แตละประเทศมีลักษณะดนิ ฟา อากาศทีแ่ ตกตางกนั เชน สหรัฐอเมริกาและแคนาดาประเทศที่อยูใ น
เขตอบอุนสามารถปลกู ขาวสาลไี ด ไทยอยูในเขตมรสมุ สามารถปลกู ขาวได บราซลิ เปน ประเทศในเขตศูนยสูตร
สามารถปลูกกาแฟได จากการทพ่ี ชื ผลสามารถข้นึ ไดดี ตามสภาพดนิ ฟา อากาศแตละชนิดดังกลาวทําใหแตละ
ประเทศสามารถผลิตพชื ผลชนิดน้นั ไดเปนจาํ นวนมาก เมอื่ มเี หลอื กส็ ามารถสง เปน สนิ คาออก
นอกจากนี้ยังมีทฤษฎียืนยันวา “ถาทุกประเทศแบงงานผลิตสินคาและบริการตามท่ีตนถนัดหรือ
เมื่อเปรียบเทียบแลวไดเ ปรียบ จะทําใหมีผลผลิตเกิดขน้ึ มากกวาตา งคนตางผลติ ”
ดลุ การคา และดุลการชาํ ระเงนิ
ในการทําการคา ระหวางประเทศนน้ั ประเทศหนึง่ ๆ ยอ มตองบนั ทกึ รายการที่เกดิ ขึ้น เพราะจะทําให
ไดทราบผลการติดตอ คาขายกับตา งประเทศ รายการคา กบั ตา งประเทศนี้อาจบันทึกอยูใน 2 รูปแบบ ดวยกัน
คอื ดุลการคา และดุลการชําระเงนิ
ดุลการคา (Balance of Trade) ไดแก การเปรียบเทียบมูลคาของสินคาท่ีประเทศหนึ่งสงออกขาย
(Export) ใหประเทศอ่ืน ๆ กับมูลคาของสินคาที่ประเทศนั้นสั่งซื้อเขามาจําหนายวามากนอยตางกันเทาไร
ในระยะ 1 ป เพ่อื เปรียบเทียบวา ตนไดเปรยี บหรือเสยี เปรยี บ
ตัวอยางเชน ประเทศไทยสงสนิ คา ออกหลายประเภทไปขายสงประเทศญี่ปุน สิงคโปร และอีกหลาย
ประเทศ มีมูลคารวมกัน 589,813 ลานบาท ในป พ.ศ. 2533 และในปเดียวกันก็ไดสั่งสินคาเขาจากประเทศ
ตาง ๆ มีมูลคา 844,448 ลานบาท เม่ือนํามาเปรียบเทียบกันจะทําใหทราบไดวาไดเปรียบหรือเสียเปรียบ
ดลุ การคา ในการเปรยี บเทยี บนอ้ี าจแบงออกไดเ ปน 3 ประเภท คือ
233
1. ดุลการคาไดเปรียบ หรือเกินดุล ไดแกการที่ประเทศหนึ่งสงสินคาไปขายยังตางประเทศมีมูลคา
มากกวาส่งั สินคาเขามาอุปโภคบรโิ ภค
2. ดลุ การคาเสยี เปรยี บ หรอื ขาดดุล ไดแก การทีป่ ระเทศหน่ึงสง สนิ คา ไปขายยังตางประเทศ มีมูลคา
นอยกวา ทส่ี ่งั สนิ คา เขา มาอปุ โภคบริโภค
3. ดุลการคาสมดุล ไมไดเปรียบเสียเทียบกันหรือเทากันมีผลลบเปนศูนยกลาวคือมูลคาสินคาเขา
เทากบั มูลคา สนิ คาสง ออก
โดยทั่วไปการใชดุลการเพียงอยางเดียวอาจไมทําใหทราบฐานะท่ีแทจริงของประเทศไดกลาวคือ
ดุลการคา ท่เี สียเปรียบนนั้ อาจไมเ ปน ผลเสียใด ๆ ตอ ประเทศก็ได เนื่องจากบันทึกเก่ียวกับดุลการคานั้นจะไม
รวมถงึ การนาํ เขาสินคา บางชนิด ทไ่ี มต องชาํ ระเปน เงินตราตา งประเทศก็ไดเนือ่ งมาจากสินคา ชนิดนน้ั จะมาจาก
การบริจาคชว ยเหลอื ถา นาํ เอารายการน้ีมาหักออกอาจทําใหดุลการคาลดลงหรือการคิดราคาสินคาเขาและ
สินคาออกตางกนั กลา วคอื ขณะที่สนิ คา เขารวมมูลคาขนสงและการประกันภัยแตสินคาออกไมไดรวมไวหรือ
การส่งั สนิ คาประเภททนุ เชน เครือ่ งจักรกลเขา มาทําการผลติ สนิ คา ดูเหมือนวาจะทําใหเสียเปรียบดุลการคา
ก็จรงิ แตในระยะยาวแลวเมือ่ มีการผลติ สนิ คา เพ่อื การสงออก สนิ คานน้ั อาจทําใหไดเ ปรียบดุลการคา ในระยะ
ยาวก็เปนไปได เปนตน
ประเทศท่ีดุลการคาไดเปรียบถือวาภาวะเศรษฐกิจของประเทศน้ันเจริญ แตอาจจะไมเปนผลดีตอ
เศรษฐกิจเสมอไป เชน เมอ่ื ไดร ับเงินตราตางประเทศ ธนาคารกลางสามารถเพ่มิ ปรมิ าณเงินในทอ งตลาดไดมาก
พอคาสามารถแลกเงนิ ตราตา งประเทศมาเปน เงนิ ในประเทศไดมาก เม่ือปริมาณเงินในทองตลาดมากอาจเกิด
ภาวะเงินเฟอหรอื การท่ปี ระเทศใด ประเทศหน่ึงไดเปรียบดุลการคากับประเทศอ่ืนติดตอกันหลายปจะทําให
ประเทศคูคาไมสามารถมีเงินมาซื้อสินคาหรือชําระเงินได ยอมเปนผลเสียตออุตสาหกรรมภายในประเทศ
ดังนั้นนักคิดทางเศรษฐศาสตรจึงเห็นวาไมควรเปรียบเทียบเฉพาะรายการสินคาเทาน้ัน จึงจะทําใหทราบ
สภาวะเศรษฐกจิ ที่แทจริงของประเทศ แตค วรมรี ายการอื่นๆ เขามาแสดงเปรียบเทยี บดว ยและรายการอ่ืน ๆ
ที่แสดงเปรยี บเทียบน้ันแตละประเทศจะแสดงไวใ นรูปของดุลชาํ ระเงนิ ระหวา งประเทศ
ดุลการชาํ ระเงินระหวา งประเทศ คอื สถติ ใิ นรูปบญั ชีแสดงรายรับ (หรือ credit = +) ท่ีประเทศหน่ึง
ไดรับจากตางประเทศ และรายจาย (หรือ debit = - ) ท่ีประเทศนั้นจายแกตางประเทศในรอบ 1 ป นํามา
เปรียบเทยี บกนั เพอ่ื ทราบตนไดเ ปรยี บหรือเสียเปรยี บ โดยปกติดลุ การชําระเงินจะประกอบไปดวย
1. บญั ชีดลุ การคา
2. บญั ชีดลุ บริการ
3. บัญชีดลุ บริจาค
4. บญั ชที นุ หรอื บัญชเี งินทนุ
5. บญั ชกี ารเคลอ่ื นยายเงนิ ทุนของระบบการเงนิ
6. จาํ นวนไมประจักษหรอื คาคลาดเคลอื่ นสุทธิ
234
จากบัญชีดุลชําระเงนิ ทง้ั 6 ชนดิ น้ี บญั ชดี ุลการคา บญั ชีดลุ บริการ และบัญชีดลุ บริจาคเรียกรวมกันวา
บัญชีเดินสะพัด (Current Account) เปน บญั ชแี สดงถงึ การแลกเปลีย่ นเงินระหวางประเทศเฉพาะสวนท่ีเปน
ผลติ ภัณฑ (สนิ คา และบรกิ าร) เทานั้น แตไมม รี ายการแสดงการเคลอ่ื นยา ยทรัพยส นิ หรือทนุ
ซ่ึงดลุ การชําระเงนิ จะพิจารณาจาก
ดลุ การชาํ ระเงิน = ดลุ บัญชเี ดินสะพดั + ดุลบัญชที ุน + จํานวนไมป ระจักษ
ซงึ่ จะแสดงผลอยูใน 3 ลักษณะ คือ ถายอดรายรับมากวารายจาย เรียกวา ดุลการชําระเงินเกินดุล
ถายอดรายรับนอ ยกวายอดรายจา ย เรียกวา ดุลการชาํ ระเงินขาดดุล และถายอดรายรับหรือรายจายเทากัน
หรอื เปนศูนยเรียกวา ดุลการชาํ ระเงินสมดุล
อัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา งประเทศ
เงนิ ตราตางประเทศ หมายถึง เงินตราของประเทศอื่นซง่ึ อยูในความครอบครองของรฐั บาลหรือเอกชน
ของประเทศใดประเทศหน่ึง ตัวอยางเชน เงินตราตางประเทศในทัศนะของเอกชนและรัฐบาลไทยก็คือเงิน
ดอลลาร มารค เยน ปอนด เปนตน สวนเงินบาทเปนเงินท่ีออกโดยรัฐบาลไทย ถือเปนเงินตราตางประเทศ
ทัศนะของรฐั บาลและเอกชนของประเทศอ่ืนนอกจากประเทศไทย เงนิ ตราของประเทศตา ง ๆ แตล ะหนว ยจะมี
อาํ นาจซื้อแตกตา งกันไปตามคาของเงนิ ในแตล ะประเทศ ซึ่งคาของเงินแตละประเทศจะถูกกําหนดไวใ นรปู ของ
อตั ราแลกเปล่ยี นเงินตราระหวา งประเทศ
อัตราแลกเปล่ียนเงินตราระหวางประเทศมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการคาระหวางประเทศ
เพราะอัตราแลกเปล่ยี น หมายถึง ราคาของเงินตราสกลุ หนึง่ เม่ือเปรียบเทียบกับเงินตราของสกุลอื่น ๆ อัตรา
แลกเปล่ียนเปนราคาท่ีสําคัญเม่ือเทียบกับราคาสินคาโดยท่ัวไป เพราะอัตราแลกเปลี่ยนจะเปนตัวเช่ือมโยง
ราคาสินคา ของประเทศตา ง ๆ หากเราไมท ราบอัตราแลกเปลีย่ นจะทาํ ใหเราไมส ามารถเปรยี บเทยี บราคาสินคา
ระหวางประเทศได และอตั ราแลกเปล่ียน ราคาสินคาทกุ ชนดิ ในตา งประเทศ ซง่ึ คดิ เปนเงนิ ตราของประเทศใด
ประเทศหน่ึงจะเปลี่ยนไปดวย ตวั อยา งเชน อัตราแลกเปลยี่ นระหวางปอนดกับบาทเปน 1 ปอนดตอ 45 บาท
เส้ือขนสัตวตัวหน่ึงมีราคา 20 ปอนดในประเทศอังกฤษจะมี ราคา 900 บาทในประเทศไทย แตถาประเทศ
อังกฤษลดคา เงินปอนดเปน 1 ปอนดเทากับ 35 บาท เสื้อขนสัตวตัวเดิมจะมีราคาในประเทศไทยเพียง 700
บาท เทาน้นั โดยตัง้ ขอ สมมติในชั้นนวี้ า ราคาเสื้อขนสัตวในอังกฤษไมเปล่ียนแตในทางปฏิบัติจริง เม่ืออังกฤษ
ลดคาเงนิ ปอนด ราคาสินคาในอังกฤษจะเปล่ียนจากระดับเดิมและราคาเปรียบเทียบระหวางเงินบาทกับเงิน
ปอนดจะเปล่ียนไป ดังนั้นราคาสินคาที่ส่ังจากประเทศไทยไปประเทศอังกฤษจะเปลี่ยนไปเชนกัน กลาวคือ
ทอ่ี ตั ราแลกเปลยี่ นเดิมทเี งนิ 1 ปอนดมีคา เทากบั 45 บาทนั้น ถาประเทศองั กฤษตอ งการซ้ือรองเทาซึ่งมีราคา
450 บาทจากประเทศไทย องั กฤษจะตองจายเงนิ 10 ปอนด แตเ มือ่ อตั ราแลกเปลย่ี นเงินตราเปล่ียนไปเปน 1
ปอนดมีคาเทา กบั 35 บาท จะทําใหอังกฤษตองจายคารองเทาคูเดียวกันถึง 12.8 ปอนด ดังนั้นจึงกลาวไดวา
อัตราแลกเปล่ียนเปนปจจัยหน่ึงที่มีอิทธิพลตอสินคาเขาและสินคาออกของประเทศ ตลอดจนการดําเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศอีกดวย ฉะนั้นประเทศตาง ๆ จงึ พยายามหาวิธีรวมกันในการกําหนดอัตรา
แลกเปลย่ี นท่เี หมาะสม
235
ผลจากการรวมกลมุ ทางเศรษฐกิจ
การรวมกลุมเศรษฐกิจ (Regional Economic integration) หมายถึง การที่ประเทศมากกวา 1
ประเทศขึน้ ไปมารวมกนั อยางเปนทางการ (Official integration) เพื่อเช่อื มเศรษฐกิจของภูมิภาคเดียวกนั
การท่ีประเทศในภมู ภิ าคเดียวกันมารวมตัวกนั นัน้ เพราะประสบปญ หาทางการคา นานาประการโดยเฉพาะ
ปญ หาการขาดดุลการคา ซงึ่ มีสาเหตมุ าจากการไรประสิทธิภาพในการผลิตและความไมม่ันคงในสินคาที่เปน
วัตถุดิบที่ใชในการผลิต จึงเกิดมีการรวมกลุมกันเพ่ือการผลิตและขยายตลาดและมีการทําสัญญาตาง ๆ
เพอ่ื แกปญ หาเฉพาะเร่อื ง
การรวมกลุม เศรษฐกจิ มหี ลายประเภท แตม ลี กั ษณะเหมอื นกันอยปู ระการหนึง่ คอื “การใชก าํ แพงภาษี
กดี กันสนิ คา จากประเทศนอกกลุมสมาชิก และใหมีสิทธพิ ิเศษในการนาํ เขา สินคาจากประเทศสมาชิกในกลุม”
การรวมกลมุ จงึ มีลักษณะของการคาแบบเสรี และการคาคุมกันอยูในตัวซ่ึงสามารถแบงออกเปนประเภทได
ดงั น้ี
1. เขตปลอดภาษี (Free Trade) เปนการวมกลุมประเทศท่ีงายที่สุดคือประเทศสมาชิกจะยกเวน
การเกบ็ ภาษขี าเขา ระหวา งกนั เอง โดยท่แี ตจะประเทศสมาชิกมีอิสระเต็มท่ีในการตั้งอัตราภาษีเรียกเก็บจาก
ประเทศนอกกลุม เชน เขตการคาเสรีแปซิฟค (Pacific Free Trade Area : PAFTA) เขตการคาเสรีลาติน
อเมรกิ า (Latin Amereac Free Trade: LAFTA) การรวมกลมุ ประเทศในลกั ษณะน้มี กั จะมปี ญ หาเนอื่ งมาจาก
การทแ่ี ตละประเทศสมาชิกมรี ะดับการพัฒนาท่ีแตกตางกันและการต้ังอัตราภาษีสําหรับประเทศนอกกลุมมี
ความแตกตางกนั ทําใหป ระเทศคูค า สามารถเลือกคา กับประเทศสมาชิกทตี่ ั้งอตั ราภาษีไวตํา่
2. สหภาพศลุ กากร (Custom Union) เปนการรวมกลุมเหมือนเขตปลอดภาษี แตมีขอตกลงเรื่อง
การตั้งกําแพงภาษีรวมกันเพื่อเก็บจากประเทศนอกกลุม แตมักจะมีปญหาคืออัตราภาษีที่รวมกันต้ังใหม
ถาแตกตางจากเดิมมากจะมีผลกระทบตอ อัตราภาษเี ดมิ ท่เี ก็บภายในประเทศและสงผลกระทบถึงราคาสินคา
ในประเทศ
3. ตลาดรว ม (Common Market) มลี กั ษณะเหมือนสหภาพศุลกากรทกุ ประการ แตเพ่ิมเง่ือนไขวา
ไมเ พียงแตสนิ คา เทา นั้นที่สามารถเคลอ่ื นยายไดโ ดยเสรีระหวา งประเทศสมาชกิ แตไมวาจะเปนการเคลื่อนยาย
ทุน แรงงาน สามารถทําไดโดยเสรี การตั้งตลาดรวมจําเปนตองมีนโยบายหลาย ๆ ดานที่ประสานกัน เชน
การเก็บภาษรี ายได นโยบายการเงนิ ภายใน นโยบายการคา ตลอดจนกฎหมายตาง ๆ
4. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) เปนการรวมกลุมกันอยางสมบูรณแบบโดยสมาชิก
อยภู ายใตน โยบายเดียวกัน ใชเงินตราสกลุ เดยี วกันและอยูภ ายใตอ าณาจกั รเศรษฐกิจเดยี วกนั
กลมุ ทางเศรษฐกจิ ทีส่ าํ คัญมีดงั นี้
1. กลมุ ประชาคมยโุ รป (European Community : EC) เกิดจากการรวมตัวกนั ของประเทศสมาชิก
ในยุโรป 12 ประเทศ ไดแก อังกฤษ เดนมารก ไอรแลนด กรีซ สเปน โปรตุเกส ฝรั่งเศส เยอรมันนี อิตาลี
เบลเยียม เนเธอรแลนด และลักแซมเบิรก ปจจุบันประชาคมยุโรปมีสภาพเปนสหภาพศุลกากร กลาวคือ
มีขอกําหนดใหประเทศสมาชิกยกเลิกการเก็บภาษีขาเขา ควบคุมสินคาเขาและสินคาออกระหวางประเทศ
สมาชิกและไดดาํ เนินนโยบายและมาตรการทางการคา กับประเทศนอกประชาคมรว มกัน โดยใชระบบประกัน
236
ราคาผลิตผลเกษตรแบบเดียวกัน และใชงบประมาณสวนกลางของประชาคมยุโรปเขาสูการเปนตลาดรวม
ตัง้ แตป 2535 และในป 2539 ไดร วมตัวกันเปนสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (Economic and Monetary
Union) ซ่ึงจะมกี ารใชเงินตราในสกลุ เดยี วกัน
2. สมาคมการคาเสรีแหงยุโรป (European Free Trade Association) มีสมาชิกในปจจุบัน
7 ประเทศ คือ นอรเวย สวีเดน ออสเตรยี สวเี ดน ออสเตรยี สวซิ เซอรแลนด ไอแลนด ฟนแลนด และลิกเตน-
สไตน วัตถปุ ระสงคก ารกอตั้งเปน เขตการคา เสรมี ากกวา เปน สหภาพศลุ กากร ในป 2527 กลุม ประเทศ น้ไี ดเคย
แถลงการณ รว มมอื กนั จดั ต้งั เปนเขตเศรษฐกิจยโุ รป (European Economic Area : EEA) โดยมีวัตถปุ ระสงค
เพ่ือขยายความรวมมือระหวางกลุมประเทศท้ังสองสวน ขั้นตอนในการจัดตั้งยังไมไดกําหนดไวชัดเจน
จนกระทงั่ ป 2532 กลุมประเทศสแกนดิเนเวียวิตกวาการเปนตลาดเดียวของประเทศสมาชิกประชาคมยุโรป
อาจสงผลกระทบตอการคาระหวางประเทศของตน จึงไมมีความประสงคจะกอต้ังเขตเศรษฐกิจยุโรป
แตป ระชาชนยุโรปยังใหก ารสนบั สนุน เนอ่ื งจากสมาคมการคาเสรแี หง ยุโรปเปนตลาดสินคาท่ีสําคัญ และใหญ
ท่สี ุดของประชาคมยุโรปจงึ ไดมกี ารจดั ตั้งอยางเปนทางการและมีการใหสตั ยาบันรวมกัน โดยมีผลบังคับต้ังแต
วนั ท่ี มกราคม 2536 เปน ตน
3. ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement : NAFTA)
มปี ระเทศสมาชิกในปจจบุ นั 3 ประเทศ ไดแ ก สหรฐั อเมรกิ า แคนาดา และเมก็ ซิโก มีวัตถุประสงคเพ่ือยกเลิก
การกีดกนั ทางการคาและการลงทุนระหวางประเทศสมาชิกทั้งสามและเพื่อสรางเขตการคาเสรีที่ยอมรับการ
คมุ ครองสทิ ธิในทรพั ยส ินทางปญญา
4. กลุมประเทศอาเซียน ประกอบไปดวยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย สิงคโปร มาเลเซีย
อินโดนีเซยี ฟลปิ ปน ส บรูไน เวียดนาม ลาว กัมพชู า และเมียนมาร มวี ัตถปุ ระสงคใ นการรวมตัวกันในครั้งแรก
คือการแบง งานกันผลติ สินคา เพอ่ื ลดความซ้ําซอ นในการผลติ และสรา งอาํ นาจตอรองทางการคาภายหลังไดมี
ขอเสนอใหจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Agreement : AFTA) มีวัตถุประสงคเพื่อให
ประเทศสมาชกิ คอ ย ๆ ยกเลิกหรือลดภาษีศุลกากร สําหรับสินคาสวนใหญที่คาขายกันอยูใหเหลือรอยละ 5
ภายในระยะเวลา 15 ป เชือ่ วาจะทําใหการคาและการลงทุนของกลมุ อาเซยี นขยายตัวมากขึ้น
ประเทศไทยไดร ว มมอื ทางเศรษฐกิจกับประเทศอืน่ ๆ อยา งกวา งขวาง และไดเขารว มเปน สมาชิกของ
องคกรระหวางประเทศ หลายองคกรดังน้ี
กลุม อาเซียน หรือสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian
Nations : ASEAN) ประกอบดวย 10 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน ไทย
เวียดนาม ลาว กัมพชู า และเมียนมาร สํานักงานใหญตัง้ อยูทเ่ี มอื งจาการตา ประเทศอนิ โดนเี ซยี
องคกรน้มี ีวตั ถปุ ระสงค เพ่ือสง เสรมิ ความรว มมอื ทางเศรษฐกิจ วิทยศาสตรแ ละเทคโนโลยี สังคม และ
วฒั นธรรม ตลอดจนการเมอื งระหวา งประเทศสมาชกิ
จากการกอ ต้งั กลุมอาเซยี น มาตง้ั แต พ.ศ.2510 มาถงึ ปจจุบนั ประเทศสมาชิกอาเซยี น มกี ารขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ อยา งรวดเร็ว โครงสรางทางเศรษฐกิจก็เปล่ียนแปลงจากภาคเกษตร ไปสูภาคอุตสาหกรรมมากข้ึน
237
สง ผลใหป ระเทศสมาชิกประสบปญหาทั้งทางดานการขาดดุลการคา การเพม่ิ อัตราคา จา งแรงงาน และการขาด
แคลน การบรกิ ารพน้ื ฐาน
กลุมเอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC) กอต้ังขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2532 มี สมาชิก 12
ประเทศ ไดแ ก สหรัฐอเมรกิ า เกาหลใี ต สิงคโปร ฟลิปปนส นิวซีแลนด มาเลเซีย ญี่ปุน อินโดนีเซีย แคนาดา
บรูไน ออสเตรเลยี และไทย
องคกรน้ีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมความรวมมือในการแกปญหารวมกันสงเสริมการคาเสรีตลอดจนการ
ปรับปรุงแบบแผนการตดิ ตอ การคา ระหวา งกนั และเพอ่ื ต้งั รบั การรวมตวั เปนตลาดเดียวกนั ระหวา งประเทศ
สมาชิกคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ และสังคมสําหรับเอเชียและแปซิฟก (Economic and Social
Commission for Asia and Pacific : ESCAP)
องคก รนเ้ี ปน องคกรที่จัดตัง้ ขน้ึ โดยองคก ารสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมความรวมมือในการ
พัฒนาดา นเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิกทอี่ ยูในเอเชยี และแปซิฟก รวมทงั้ ประเทศไทยดว ย ESCAP
เปนองคกรที่ขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแหงเอเชีย และตะวันออกไกล (Economic Commission
for Asia and the Far East : ECAFE) ซึ่งจัดต้ังข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2490 และ ใน พ.ศ. 2517 ไดขยายมาเปน
ESCAP ท้ังนีเ้ พ่อื ใหครอบคลุมประเทศในพน้ื ท่ีเอเชีย และแปซฟิ กทั้งหมด ประเทศทเี่ ปนสมาชกิ จะไดรับความ
ชวยเหลือในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม สาํ นักงานตงั้ อยูท่ี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ขอตกลงทั่วไปดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement on Tariffs and Trade :
GATT) กอ ตง้ั เม่อื วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2409 มปี ระเทศสมาชกิ เกอื บทัว่ โลก ประเทศไทยเขาเปนสมาชิกเมื่อ
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2525 องคกรนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมระบบการคาเสรี และสงเสริมสัมพันธภาพ
ทางการคา และเศรษฐกิจระหวางประเทศ โดยทุกประเทศสมาชิกตอง ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ GATT
ประเทศไทยไดรบั การสงเสริมดา นการขยายตัวทางการคา ทาํ ใหค วามเสียเปรยี บดานการเจรจาการคาระหวา ง
ประเทศกบั มหาอาํ นาจทางเศรษฐกิจลดลงไปมาก
ความสัมพันธร ะหวางเศรษฐกิจของไทยกับกลมุ เศรษฐกิจโลก
ประเทศไทยเปน ประเทศสมาชิกในขอ ตกลงเขตการคาเสรอี าเซียน ซ่งึ มวี ัตถปุ ระสงคของการรวมกลุม
คลายกบั การรวมกลุม ของประเทศในภูมภิ าคอ่นื ๆ คอื การยกเลกิ กําแพงภาษที มี่ รี ะหวางประเทศสมาชิกและ
กําหนดมาตรการทางเศรษฐกิจอื่น ๆ รวมกัน เชน การผลิตสินคาบริการ การกําหนดอัตราภาษีศุลกากร
เปน ตน ในขณะเดยี วกนั ก็สรางกาํ แพงภาษีเพ่อื สกัดก้นั สนิ คาทีมาจากนอกเขต ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็
สังกัดอยูในกลุม “ขอตกลงท่ัวไปวาดวยภาษีศุลกากรและสินคา (General Agreement on Tariff and
Trade : GATT) ซึ่งเปน องคกรท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติทางการคาของโลก ซ่ึงประเทศไทยมีพันธะสัญญาที่
จะตอ งปฏิบัติตามขอตกลงเหลาน้ัน เชน การสงเสริมการคา แบบเสรีการลดอัตราภาษีนาํ เขา การถอื หลักการท่ี
ไมใหมกี ารกดี กนั ทางการคา แตกตา งกันตามประเทศคูคา การคมุ ครองสทิ ธใิ นทรัพยส นิ ทางปญ ญา เปนตน ซึง่ มี
ขอ ตกลงบางอยา งก็เปนส่ิงท่ีขัดกบั การคา ภายในประเทศ เชน การยอมรบั ในขอ ตกลงวาดวยการคุมครองสิทธิ
ทางปญ ญา แตก ารประกอบธุรกิจในประเทศไทยหลายประเภทมลี ักษณะละเมดิ สทิ ธิทางปญ ญา
238
เนอื่ งจากการทีแ่ ตละประเทศตา งรวมตัวกันเปน เขตเศรษฐกิจในลักษณะตาง ๆ กันประกอบกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจจะดําเนินการเฉพาะภายในกลุม ในขณะเดียวกันก็มีนโยบายกีดกันสินคาจากภายนอกกลุม
ทาํ ใหเ ปน การยากทปี่ ระเทศไทยจะหาตลาดทางการคา ประเทศไทยจงึ ตองดําเนนิ นโยบายทางการคาโดยการ
เจรจาทางการคากับประเทศคูคา โดยตรงเพ่ือรกั ษาตลาดทางการคา ในขณะเดียวกันก็พยายามหาทางขยาย
ตลาดไปสภู ูมภิ าคที่ยงั มกี ารรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ท่ไี มค อ ยเขมแข็งนกั เชน ตลาดยโุ รปตะวันออก
แบบฝก หัดทา ยบทเร่ืองท่ี 7
คาํ ช้ีแจง เมอ่ื ศกึ ษาบทนีแ้ ลว ใหนกั ศกึ ษาคนควาและตอบคําถามตอ ไปนี้
1. ในระดับชุมชน มคี วามเกยี่ วเนอื่ งอยางไรกบั ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ
2. จากสภาวการณเศรษฐกิจปจจบุ ัน ประชาชนไดร ับผลกระทบอยางไร
ใหยกตวั อยางประกอบ 2- 3 อยา ง
3. การกีดกนั ทางการคา ของประเทศคูแขง มอี ะไรบา ง
4. อะไรบา งทีค่ นไทยควรปรบั ตัวในการทําธรุ กิจกบั ตางชาติ
239
บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง
สาระสาํ คญั
การศึกษาเรื่องการเมอื งการปกครอง นอกจากผูเรียนจะไดเ รียนรถู งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
และการปกครองระบอบเผด็จการของประเทศตา ง ๆ ในโลกแลว ยังไดร ูแ ละเขาใจถึงพัฒนาการของประเทศ
ตาง ๆ นบั ตั้งแตย ุคโบราณ ยคุ กลาง ชวงครสิ ตว รรษ ท่ี 18, 19 และ 20 โดยจะทราบวาจุดเร่ิมตนของระบอบ
ประชาธิปไตยมคี วามเปน มาอยา งไร และประชาธปิ ไตยของประเทศตา ง ๆ รวมทั้งประเทศไทยเปน อยางไรบา ง
นอกจากน้ีผูเรียนยังไดเรียนรูถึงเหตุการณสําคัญทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยและของโลกวา
เหตุการณห รือสถานการณทางการเมืองนั้นสง ผลกระทบตอสังคมไทยและสังคมโลกอยางไร รวมทั้งผูเรียน
จะไดศ ึกษาเรยี นรถู ึง หลักธรรมมาภบิ าลและแนวปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมมาภิบาลเปน อยา งไร เพ่อื การนําไปสกู าร
ปฏิบัติตนของผูเรียนไดอ ยางถูกตอ ง และเหมาะสมตอไป
ตัวชวี้ ดั
1. รแู ละเขา ใจระบอบการเมืองการปกครองตา ง ๆ ทีใ่ ชอยูปจ จุบนั
2. ตระหนกั และเหน็ คุณคา การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
3. รูและเขาใจผลท่เี กิดจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทยจากอดตี
4. รูและเขา ใจผลทีเ่ กิดจากการเปล่ยี นแปลงทางการเมอื งการปกครองของโลก
5. ตระหนกั และเห็นคุณคาของหลักธรรมาภิบาลและนาํ ไปปฏิบตั ิในชีวติ จรงิ ได
ขอบขายเนื้อหา
เรอ่ื งที่ 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย
เรื่องท่ี 2 การปกครองระบอบเผด็จการ
เรือ่ งท่ี 3 พฒั นาการของระบบประชาธิปไตยของประเทศตาง ๆ ในโลก
เร่อื งท่ี 4 เหตุการณส าํ คัญทางการเมอื ง การปกครองของประเทศไทย
เร่อื งท่ี 5 เหตกุ ารณสําคัญทางการเมอื ง การปกครองของโลกที่สงผลกระทบ
ตอประเทศไทย
เรื่องที่ 6 หลกั ธรรมาภิบาล
240
เรอ่ื งท่ี 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย
1. ระบอบประชาธิปไตย
คาํ วา “ประชาธิปไตย” เปน คําไทยที่บัญญัตขิ น้ึ ใหมีความหมายตรงกับคําภาษาอังกฤษวา Democracy
หมายถงึ อํานาจของประชาชน
คาํ วา “ประชา” แปลวา ประชาชน
คําวา “อธิปไตย” แปลวา ความเปนใหญ
สรุปวา คําวา “ประชาธิปไตย” หมายถึง การปกครองที่ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครอง
ประเทศ
ดังนัน้ “การปกครองระบอบประชาธิปไตย” จึงหมายถึง ระบอบการปกครองซ่ึงประชาชนมีอํานาจ
สูงสุด โดยจะเห็นวา การปกครองระบอบประชาธิปไตยในปจจุบันน้ันจะแยกออกเปน 2 แบบ คือ ระบอบ
ประชาธปิ ไตยแบบมีพระมหากษัตรยิ เ ปนประมขุ กับระบอบประชาธปิ ไตยแบบมปี ระธานาธิบดเี ปนประมขุ
ระบอบประชาธิปไตยมีความเชื่อวา มนุษยเปนสัตวประเสริฐ มีความคิด ความเฉลี่ยวฉลาดและ
สติปญญาท่ีจะปกครองตนเองได สามารถใชเหตุผลในการแกไขปญหาของตนเอง และสังคมได ดังนั้น
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจึงเปนวิธีการท่ีประชาชนมีโอกาสไดเลือกสรรคนที่เหมาะสมเขาไปทํา
หนาท่ีในการบริหารประเทศแทนตน อันเปนหนทางท่ีดีท่ีสุด การปฏิวัติรัฐประหารการใชวิธีรุนแรง
การปราบปรามเขนฆา เพือ่ ใหไ ดมาซง่ึ อํานาจในการปกครองถอื เปนวิธีการท่ีดูหมิ่นเหยียดหยามและทําความ
ทําลายความเปนมนุษยข องประชาชนอยา งยงิ่
2. หลกั การของระบอบประชาธปิ ไตย
ระบอบประชาธิปไตยจะม่ันคงหรือไมนั้นข้ึนอยูกับรัฐบาลและประชาชนวาจะยึดม่ันในหลักการ
ของระบอบประชาธปิ ไตยมากนอ ยเพยี งใด ซง่ึ หลักการของระบอบประชาธิปไตยมีดงั นี้
2.1 หลักความเสมอภาค
หลักความเสมอภาค หมายถึง ทุกคนไมวา ฐานะจะเปน อยา งไร มสี ตปิ ญ ญาหรอื ความสามารถ
มากนอยแตกตางกัน หรือแมมีผิวพรรณแตกตางกัน แตทุกคนมีความเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน ซึ่งหลัก
ความเสมอภาคแบงเปน 4 ลักษณะ ดังนี้
1) ความเสมอภาคทางกฎหมาย หมายความวา ทุกคนมีความเทาเทียมกันทางกฎหมาย
รฐั บาลจะออกกฎหมายเพือ่ คมุ ครองใครคนใดคนหนง่ึ ไมไ ด เม่อื มใี ครกระทําผดิ ก็จะตองถูกกฎหมายลงโทษเทา
เทยี มกนั
2) ความเสมอภาคทางการเมอื ง หมายความวา ทกุ คนมีความเทาเทียมกันในทางการเมือง
การปกครอง เชน ทุกคนมีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเทากันคือคนละ 1 เสียง มีสิทธิตั้งพรรคทาง
การเมอื ง มีสิทธิลงสมัครรบั เลอื กต้ัง มีสิทธติ์ ้งั กลมุ ทางการเมือง มีสทิ ธแิ สดงความคิดเหน็ ทางการเมือง เปน ตน
241
3) ความเสมอภาคทางเศรษฐกจิ หมายความวา ประชาชนมสี ทิ ธิในการประกอบอาชีพทาง
เศรษฐกจิ และสามารถครอบครองหรอื ไดร บั ประโยชนจากกิจการทีต่ นทาํ ไปอยางเต็มท่ี รัฐบาลจะตองเปน ผนู ํา
ทรัพยากรภายในประเทศมาใชและจัดสรรผลประโยชนเหลานั้นสูประชาชนอยางทั่วถึง โดยการกระจาย
ความเจริญไปสูส ว นตาง ๆ ของประเทศ
4) ความเสมอภาคในดา นโอกาส หมายความวา ความเทาเทียมกันท่ีจะไดรับโอกาสในการ
พฒั นาตนเอง เชน โอกาสทางการศึกษา (ความเทา เทยี มกนั ในการสอบเขามหาวทิ ยาลัย) การประกอบอาชีพ
การสรา งฐานะทางเศรษฐกจิ
2.2 หลักสทิ ธเิ สรภี าพและหนาท่ี
สทิ ธิ หมายถงึ อํานาจหรอื ผลประโยชนข องบคุ คลทกี่ ฎหมายใหความคุมครอง บคุ คลท่ีละเมดิ ลวงเกิน
หรอื กระทําการใด ๆ ที่กระทบกระเทือนตอสทิ ธิของบคุ คลอื่นไมได
เสรีภาพ หมายถึง ความมีอิสระในการกระทําของบุคคล การกระทํานั้นตองไมขัดตอกฎหมายหรือ
ไมล ะเมดิ สทิ ธิของผูอน่ื เชน มีเสรีภาพในการเขียนแสดงความคิดเห็น แตถาไปละเมิดสิทธิของผูอ่ืน โดยการ
เขยี นโจมตซี ่งึ ขาดพยานหลกั ฐาน เชนน้ีผทู ไี่ ดร บั ความเสียหายกม็ สี ทิ ธิที่จะปกปอ งชือ่ เสียงของตนเอง ดวยการ
ฟอ งรองไดหรือเรามเี สรภี าพท่จี ะเปดวทิ ยุภายในบา นเรือน แตถา เปด เสียงดงั เกินไปจนรบกวนผูอนื่ เชน นี้ถอื วา
เปนการละเมิดสทิ ธิของผอู ่นื ปนตน
หนาที่ หมายถงึ ภาระหรือความรบั ผดิ ชอบท่ีบุคคลจะตอ งปฏิบตั ิตามกฎหมาย
สิทธิและเสรีภาพเปน รากฐานทส่ี ําคญั ในการปกครองประชาธปิ ไตย ประเทศใดใหสทิ ธแิ ละเสรีภาพกับ
ประชาชนมาก ประเทศนั้นก็มีประชาธิปไตยมาก ในทางกลับกันถาประเทศใดจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ
ประชาชน แสดงวาประเทศนน้ั ไมเ ปน ประชาธปิ ไตย
สิทธิและเสรีภาพขัน้ พ้ืนฐานของประชาชนท่ีรฐั บาลจะตองใหการรบั รอง ไดแ ก
1) สทิ ธิและเสรภี าพสวนบุคคล เปน สิทธเิ สรภี าพท่ีทกุ คนพงึ มีในฐานะที่เกิดมาเปน มนษุ ย ไดแ ก สทิ ธิ
และเสรีภาพในการไดรับการคุมครองท้ังทางรางกายและทรัพยสินจากรัฐ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบ
อาชพี สจุ รติ สทิ ธิและเสรีภาพในการเลอื กท่ีอยู หากรฐั บาลหรือบคุ คลใดกระทําการละเมดิ ตอ สทิ ธิและเสรีภาพ
ของบคุ คลอน่ื ถือวาเปนความผิด
2) สิทธิและเสรีภาพทางการเมือง เปนสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ท่ีจะเขามามีสวนรวม
ในกจิ กรรมทางการเมอื งการปกครอง และกจิ การตา ง ๆ ของรัฐ เชน สิทธิทางการเมืองระหวางเพศหญิงและ
ชายมีเทา เทยี มกัน ประชาชนมสี ทิ ธอิ อกเสียงเลอื กต้งั รับเลือกตัง้ ตัง้ พรรคการเมือง แตต องอยูภ ายใตกฎหมาย
และระเบียบอันดงี ามของประเทศ
3) สทิ ธิและเสรีภาพทางเศรษฐกจิ ประชาชนมีเสรภี าพในการเลอื กประกอบอาชีพมสี ิทธิเปน เจา ของ
ทรัพยส นิ ทีห่ ามาดว ยความสจุ ริต มสี ิทธิท่ีจะไดรับคา จางแรงงานท่ีเปน ธรรม เปนตน
รฐั บาลจะตองไมล ะเมดิ สทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน ยกเวนในกรณีสงครามหรือเพ่ือรักษาความ
ม่นั คงของชาติ การรักษาความสงบเรียบรอย การคุมครองผลประโยชนของสวนรวม การรักษาศีลธรรมอันดี
งามของประชาชนและการสรางสรรคความเปนธรรมใหก ับสงั คมเทา นัน้
242
2.3 หลักนิตธิ รรม
กฎหมายเปน กฎเกณฑก ติกาทท่ี ุกคนจะตอ งปฏบิ ัติตาม ดงั นน้ั สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคใด ๆ
จะเปนจริงไมไ ดหากขาดกฎหมายทเี่ ปน หลกั ประกนั คมุ ครองประชาชนเพราะเมือ่ ไมม กี ฎหมาย แตล ะคนกอ็ าจ
ทาํ ตามความพอใจของตน ทําใหเกดิ การละเมิดสิทธิและเสรีภาพข้นึ ได
2.4 หลักการยอมรับเสียงสว นมาก
การอยรู วมกนั ของคนหมมู าก ยอมมีความขัดแยงหรือความเห็นไมตรงกันติดตามมา ปญหา
ความขดั แยงบางอยา งท่ีเก่ียวของกับความถูกผิด สามารถใชกฎหมาย ระเบียบของสังคมหรือกฎศีลธรรมมา
ตดั สนิ ได แตค วามขดั แยงบางอยางไมเ กย่ี วของกับความถูกผิด เปนความขัดแยงของสวนรวมท่ีตองการทําส่ิง
ตาง ๆ ใหดีข้ึน ดังนั้นจึงตองอภิปรายถกเถียงกัน แตละฝายช้ีแจงเหตุผล จากนั้นจึงลงมติเลือกสิ่งท่ีดีท่ีสุด
ขอ เสนอใดทเ่ี ปนเสยี งขา งมาก ก็คือวา เปนมตขิ องคนสวนใหญ ซ่งึ ทกุ คนตองนํามตนิ ไ้ี ปปฏบิ ตั ิ
3. ประเภทของประชาธปิ ไตย
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ
3.1 ประชาธิปไตยโดยทางตรง เปนวิธีการท่ีประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการปกครองโดยตรง
เหมาะกบั รฐั ทีม่ ปี ระชากรไมม าก เชน นครรัฐกรกี โบราณ ใหป ระชาชนทกุ คนรว มกันพจิ ารณาตดั สินปญหา
แตว ิธกี ารนี้ไมเหมาะสมกับรัฐท่มี ีประชากรเปน จาํ นวนมาก ประชาธปิ ไตย โดยทางออมจึงถูกนํามาใชกับรัฐท่ีมี
ประชากรเปนจํานวนมาก
3.2 ประชาธิปไตยโดยทางออม เนื่องจากจํานวนประชากรของแตละประเทศมีจํานวนมหาศาล
ดังน้ันการใหประชาธิปไตยทางตรง จึงไมสามารถกระทําได ประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกไดใชวิธีประชาธิปไตย
ทางออม ซึง่ ก็คอื การเลือกตัวแทนเขาไปทําหนาที่แทนประชาชน การใชอํานาจอธิปไตยของประชาชนจะใช
ผานตวั แทน ซึง่ ไดแ ก อาํ นาจนิตกิ ับบญั ญตั คิ ือรฐั สภา อํานาจบริหารคอื รัฐบาล อํานาจตลุ าการคือศาล
4. ขอ ดแี ละขอเสยี ของระบอบประชาธิปไตย
4.1 ขอ ดีของระบอบประชาธปิ ไตย
1) ทาํ ใหประชาชนยดึ หลกั การทถ่ี ูกตอง ชอบธรรม มีระเบียบวินยั รจู กั ประสานผลประโยชน
รวมกันของคนภายในชาติ เสริมสรา งจริยธรรม คุณธรรม ความถูกตองดีงามกอใหเกิดความเรียบรอยสงบสุข
ความเจรญิ งอกงาม ขวญั กาํ ลังใจ ศักด์ศิ รี และความภาคภมู ิใจในการเปน เจา ของประเทศอยางแทจรงิ
2) การปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนในการ
ปกครองตนเอง เปนเจา ของอํานาจสงู สุดของประเทศคอื อาํ นาจอธปิ ไตย จึงทาํ ใหก ารปกครองมเี สถยี รภาพ
3) ประชาชนมีสทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคเทาเทยี มกัน
4) เปน การปกครองที่ปฏบิ ัติตามมตขิ องเสียงสวนมาก ขณะเดียวกันก็เคารพเสียงสวนนอย
โดยตั้งอยูบ นหลักการของประโยชนส วนรวม ความถกู ตอ ง และตอ งไมล ะเมิดสทิ ธิและเสรภี าพของผอู ่นื
5) ชวยแกไ ขปญหาความขัดแยง ภายในหมปู ระชาชน ระหวา งรัฐกับประชาชน หรือระหวาง
รฐั กบั รัฐ โดยอาศัยกฎหมายท่ีกําหนดขน้ึ เปนกตกิ า หรือใชก ารอภปิ รายลงมติเพอ่ื หาขอสรุป