143
รัชสมัยสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจา อยูหวั รชั กาลที่ 3 แหงกรุงรัตนโกสินทรท รงมีพระปรชี าสามารถ ในดาน
เศรษฐกจิ การคลงั มาต้งั แตย งั มิไดเสด็จขึน้ ครองราชย ทรงกํากับดูแลพระคลังมหาสมบัติและกรมทา ในสมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา นภาลยั รัชกาลท่ี 2 พระราชบดิ าของพระองค ทัง้ ยงั ทรงแตงสําเภาไปคา ขาย
ในเมอื งจนี จนไดร บั พระนามท่ีพระราชบิดาทรงเรยี กยกยอ งวา “ เจา สัว”
ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจาอยหู ัว ทรงตง้ั ระบบเจาภาษีนายอากร รบั ประมลู ไปจัดเก็บภาษี
สง แกร าชการ ทาํ ใหร ายไดแ ผน ดนิ สงู มากขึน้ นอกจากน้ียงั ทรงโปรดเกลา ฯใหรวบรวมพระราชทรัพย ไวใชใ น
ราชการแผนดินเมอื่ ยามจําเปน เรียกวา “ เงนิ ถงุ แดง” ซงึ่ ในเวลาตอ มาพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา
เจาอยหู วั ทรงใชเงินถงุ แดงจายคา ปรบั ใหก บั ฝร่ังเศส ดังท่ีพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอยหู วั ทรงมีพระราช
ดาํ รสั คาดการณไวก อนสวรรคต ความวา “การศึกสงครามขา งญวน ขา งพมา กเ็ ห็นจะไมมีแลว จะมีแตขาง
พวกฝรง่ั ใหร ะวงั ใหดีอยาเสยี ทแี กเขาได การงานสงิ่ ใดของเขาทีม่ ีควรจะเรียนรํา่ เอาไวก็เอาอยา งเขา แตอ ยา ให
นับถือเล่ือมใสไปทเี ดียว”
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ทรงมีพระปรีชาสามารถในการรับมือกับชาติ
ตะวันตก ดวยการปรบั ปรุงประเทศ ทรงวางรากฐานโดยการยอมรบั ความเจรญิ กา วหนาแบบอารยประเทศ
มาใชใ นสยาม พระองคท รงทําสนธสิ ัญญาเบาวร่ิงกบั องั กฤษ ในป พ.ศ. 2398 สงผลใหการคากับตางประเทศ
เจริญรงุ เรอื ง ทรงอนุญาตใหป ระชาชนบกุ เบกิ ทีด่ ินสําหรบั การประกอบอาชพี และสรา งผลผลิตทางการเกษตร
เพื่อการคากับตางประเทศมากข้ึน โดยเฉพาะ ขาว กลายเปนสินคาออกท่ีสําคัญของสยาม พระองคทรง
ลดหยอ นการเกณฑไพร ทํางานหลวง และงดเวนการเกณฑแรงงานในฤดูทํานา เพื่อใหราษฎรมีเวลาในการ
ประกอบอาชีพอยา งเตม็ ท่ี
สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 5 ทรงดาํ เนนิ นโยบายปฏิรปู ระบบเศรษฐกจิ
ของไทยไปในทศิ ทางทเ่ี ออ้ื ประโยชนสูงสุดแกประชาชน และสอดคลองกับระบบสากล พระองคทรงรวมศูนย
การจัดเก็บเงินรายไดของหนวยงานราชการตาง ๆ โดยการจัดต้ัง “หอรัษฎากรพิพัฒน” ข้ึนใน พ.ศ. 2416
และไดยกเลิกระบบเจา ภาษีนายอากร พรอมทั้งจดั ทาํ งบประมาณแผนดนิ ขึ้นเปน ครัง้ แรก
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงปรับปรุงผลผลิตดานการเกษตร
โดยจัดตั้งหนวยงานดูแล เชน กรมขาว กรมปาไม กรมท่ีดิน กรมชางไหม และพระองคทรงสงเสริมกิจการ
อุตสาหกรรมแบบใหม เชน ตั้งโรงเล่ือยจักรในภาคกลาง ตั้งเหมืองแรในภาคใต และทําปาไมในภาคเหนือ
ดา นการคมนาคมพระองคทรงโปรดใหต ัดถนนในเขตราชธานี ขุดขยายคลองเช่ือมหัวเมืองตาง ๆ และท่ีสําคัญ
คือ พระองคทรงโปรดใหสรางทางรถไฟไปสูภูมิภาคที่หางไกล เชนทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปยังเมือง
นครราชสมี า ในดา นการคากบั ตางประเทศ พระองคท รงใหการสนับสนุนอยางเต็มท่ี โดยการเปดประเทศให
ชาวตางชาตเิ ขามาคาขาย
สําหรบั ในปจจบุ นั น้ี พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) ทรงพระราชทาน
โครงการหลวงและโครงการตามแนวพระราชดาํ รใิ หกบั ราษฎรเพอ่ื นําทรพั ยากรธรรมชาติมาใชใ หเ กดิ ประโยชน
สูงสุดและยั่งยืน นอกจากนี้ยังมีแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปน
แนวทางทจ่ี ะสง เสริมใหมกี ารผลติ ที่พอเล้ยี งตัวได โดยเนนที่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ
144
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมสงผลใหประชาชนไทยมีความเปนอยูที่ดีข้ึนและยัง
ชวยกระตุน ภาวะเศรษฐกจิ ของชาติใหดีข้ึนดวย
ในรัชกาลปจจุบัน สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงไดสานตอ
พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชในโครงการตา ง ๆ เพือ่ ใหประชาราษฎร
ดาํ เนนิ ชวี ติ ทด่ี ีใหอยรู ม เย็น
นอกจากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชแลว ยังมีพระราช
เสาวนยี ของสมเดจ็ พระนางเจา สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ท่ที รงพระราชทานใหกบั ปวงชนชาวไทย โดยเฉพาะ
ดา นการสง เสรมิ ใหป ระชาชนในทอ งถ่นิ ท่วั ทุกภูมภิ าคมอี าชีพ เชน ทรงกอต้ังมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพฯ เพื่อให
ประชาชนทม่ี ฝี มอื ดานงานหัตถกรรมไดสรางผลงาน และจําหนายหารายไดใหกับครอบครัว ดวยน้ําพระราช
หฤทัย ของทั้งสองพระองคที่ทรงมีตอปวงชนชาวไทย สงผลใหพสกนิกรจงรักภักดี และซาบซึ้งในพระมหา
กรุณาธิคุณนับตง้ั แตทรงขนึ้ ครองสิรริ าชสมบัติ จวบจนปจจุบันนี้
3. ดา นการเสรมิ สรา งสงั คมการศกึ ษาและศาสนา
ในอดีตสถาบันพระมหากษัตริยมีบทบาทในการเสริมสรางสังคมไทยใหมีรูปแบบสอดคลองกับ
การเมอื งการปกครอง ในบรบิ ทของปจ จยั ตาง ๆ ทง้ั จากภายในและภายนอกประเทศ วิถชี วี ติ ในสังคมไทยเปน
สังคมที่มีระดับชนชั้นแมจะไมเขมงวดเครงครัดเหมือนอินเดียแตก็ทําใหคนไทยมีบทบาทหนาท่ีตางกันและ
ไดรบั การปฏิบัตทิ ี่ไมเ ทาเทียมกนั พระมหากษัตรยิ ในสงั คมไทยนน้ั ทรง ไวซงึ่ อํานาจอธิปไตย มีพระราชอํานาจ
เปนสทิ ธิ์ขาดในการปกครองประเทศ สังคมจะดีมีสุขมีความเปนธรรมหรือเดือดรอนอยางไรจึงขึ้นอยูกับองค
พระมหากษัตรยิ ซ่ึงเปนผูก าํ หนดระบบแหงสังคมขึ้นและใชพระราชอํานาจบังคับการใหเปนไปตามระบบนั้น
เมื่อพระมหากษตั รยิ ทรงมพี ระราชปณิธานในอนั ทีจ่ ะให มีความเปน ธรรมและความผาสุกในสังคมแลว สังคมก็
มี ความเปนธรรมและความสขุ จากหลักศลิ าจารกึ ของพอ ขุนรามคําแหง แหง กรงุ สโุ ขทัย สงั คมไทยในสมัยของ
พระองคแบงชนช้ัน ออกเปนสอง คือชนช้ันสูงอันอยูในตระกูลสูงซ่ึงเรียกวา “ลูกเจาลูกขุน” หน่ึงและชน
ธรรมดาสามญั ซ่งึ เรยี กวา “ไพร” หรอื “ไพรฟ า ” หน่งึ มิไดกลาวถึงชนช้นั อ่นื ใดอีกเลย ในศลิ าจารกึ หลักนนั้
จะกลา วถงึ ชนสวนอ่ืนก็มแี ตพ ระสงฆ ซ่งึ อยใู นฐานะเปนทเ่ี คารพของคนท้งั ปวงตัง้ แตอ งคพ ระมหากษัตรยิ ล งมา
แ ล ะ พ ร ะ ส ง ฆ ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า น้ั น เ ป น ผู ที่ อ อ ก ไ ป แ ล ว จ า ก สั ง ค ม ใ น ช ว ง ส มั ย แ ร ก ข อ ง ก รุ ง สุ โ ข ทั ย
พระมหากษัตรยิ ป กครองบานเมืองดว ยหลักคดิ ระหวา ง บดิ ากบั บตุ ร แตใ นชวงหลังมีความเปนธรรมราชาเพิ่ม
ยงิ่ ข้ึนเพราะไดร บั พระพุทธศาสนาจากลังกาและใชศาสนาเปนเคร่ืองมือในการสรางความสงบสุขในสังคมให
ประชาชนฟงธรรมรักษาศีล บริจาคทาน และเปน แนวทางในการตรากฎหมายและตัดสินคดีโดยเฉพาะใน
รชั สมยั ของพอขนุ รามคําแหงมหาราชและพระมหาธรรมราชาลไิ ท
ในสมัยอยุธยาสังคมในสมัยน้ันแมจะมีชนช้ันสูงและชนช้ันตํ่าซึ่งมีฐานะตลอดจนสิทธิและหนาที่
แตกตา งกันก็ดี แตชนชั้นเหลา นนั้ ก็ไมม ีเสถยี รภาพแตอยางใดอาจเลอื่ นไหลลงมาจนถึงชนชั้นไพรและทาสหรือ
ถูกยกข้ึนสงู เปนขนุ นางดว ยการกระทาํ ของตนเอง หรอื มาขน้ึ เปนเจาในระดับสูงขนึ้ ท่ีเรียกวา “การเฉลิมพระยศ”
ก็ได ชนช้ันแตล ะกลุมกม็ บี ทบาทตา งกันและเออ้ื เฟอเกอ้ื กลู กันดวยระบบมูลนาย ในสมัยของสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถทรงจัดตง้ั ระบบศกั ดนิ าขึ้นเพอ่ื จัดระเบยี บสังคมใหบุคคลมหี นาทแี่ ละความรับผิดรับชอบตามศักดิ์
145
กลาวคือ ผูมีศักดินาสูงก็จะตองรับโทษสูงหากทําผิดกฎหมายและศีลธรรมจรรยา เพราะถือวาเปนผูรับ
ประโยชนส ูงกวาผูมีศักดนิ าต่าํ กวา ในยคุ นั้นศักดินาเปน ส่ิงทท่ี ุกคนมีประจําตัวอยู เพ่ือใชเ ปน เคร่ืองกาํ หนดสิทธิ์
และหนา ทใ่ี นสังคมอยางแนน อน ท่สี ําคัญคอื การจดั การดา นกาํ ลงั คนท่ีมีความจําเปนในการรักษาบา นเมืองและ
ขยายดินแดน รวมท้ังการใชแรงงานเชนการกอสราง การผลิตและงานชางศิลปตาง ๆ ดังนั้นในรัชสมัยของ
สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 2 ทรงโปรดใหมีการจัดทําบัญชีไพรพลเพื่อควบคุมการเกณฑคนทํางานในระบบไพร
และการพระราชสงคราม แตมาถงึ สมยั อยุธยาตอนปลายปญหาการหลบหนีสงั กดั ของกําลังพลจากไพรหลวง
ไปเปนไพรส มทีเ่ ปน งานที่เบากวา และมอี ิสระมากกวา ทําใหทางราชการไมส ามารถควบคุมกําลังพลในหัวเมือง
ตา ง ๆ ไดแ ละพระมหากษัตริยยงั ตอ งแบงคนใหเ จา นายในการต้ังกรม จึงกลายเปนปญหาหน่ึงที่สงผลในตอน
เสียกรงุ เมื่อสมเดจ็ พระเจา ตากสินทรงกอบกเู อกราชไดแ ลวทรงใชวิธีสง คนสนทิ ไปควบคุมหัวเมืองเหลา นัน้ และ
เขมงวดกวดขันในการสักเลกเพอื่ ปอ งกนั ไพรห ลวงหลบหนีดวยเปนเวลาท่บี า นเมืองอยใู นระหวางอันตรายเพิ่ง
กอบกู เอกราชคืนมาได ทั้งประสบความเสยี หายอยางใหญหลวง ผูคนหลบหนีเขาปามากมาย ที่ถูกกวาดตอนไป
พมากม็ ีมาก นอกน้ันตางก็พยายามเอาตัวรอด โดยการแตกเปนกกเปนเหลาแยงชิงอํานาจกันครั้นกูกรุงศรี-
อยธุ ยากลบั คืนมาไดก็ยังตองระมดั ระวงั ภัยจากพมา ทจี่ ะมาโจมตีอกี การควบคมุ กําลังคนจึงมีความสําคัญมาก
เพราะหากมีผูคนนอย ก็จะทําใหพายแพแกขาศึกศัตรูได จนถึงสมัยตนรัตนโกสินทรรัชสมัยของสมเด็จ-
พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกการควบคุมไพรพล ทําไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพข้ึนและมีจํานวนพลเมืองมากขึ้นจึงทํา
ใหส ามารถลดเวลาในการเขา รบั ราชการ (อยูเวร ) จากปล ะ 6 เดือนทเ่ี รียกวา เขา เดือนออกเดือนเหลือเพียง 4
เดอื นหรอื เขา รบั ราชการ 1 เดอื นพกั 2 เดอื น และลดลงไดอ กี เปนเขาเวร 1 เดือนและออกเวร 3 เดือนคือรับ
ราชการเพียงปล ะ 3 เดอื น ตอ มาจายเปนเงนิ แทนการเขา เวรได ในอัตราเดือนละ6 บาท ปละ 18 บาท สําหรบั
ไพรส มน้ัน ใหเ ขา มารบั ราชการดว ยเชนกนั ปล ะ 1 เดอื น หรือจายเปน เงนิ ปละ 6 บาท สงผลดีตอประชาชนทม่ี ี
เวลาไปประกอบอาชพี ของตนเองไดสะดวกขนึ้ ทาํ ใหเ กิดการจางงานแทนการใชแ รงงานไพร
กลุมชนชน้ั ทาส ในสมัยรัตนโกสินทรม ี 7 ประเภทคอื
1. ทาสสนิ ไถ คอื ทาสทไี่ ถห รอื ซื้อมาดว ยทรพั ย
2. ทาสในเรอื นเบี้ย คอื เด็กทเี่ กิดมาในขณะท่ีพอ แมเ ปน ทาส
3. ทาสที่ไดม าจากฝา ยบดิ ามารดา คอื ทาสท่ไี ดรบั เปน มรดกสบื ทอด
4. ทาสทา นให คือ ทาสทมี่ ผี ยู กให
5. ทาสทไ่ี ดเนื่องมาจากนายเงนิ ไปชว ยใหผ ูน ้ันพนโทษปรบั
6. ทาสทีม่ ลู นายเลีย้ งไวใ นยามขา วยากหมากแพง
7. ทาสเชลยคือทาสทไ่ี ดมาจากสงคราม
แมทาสจะเปนกลุมคนท่ีมีมูลนายคือนายทาสเล้ียงดูและคุมครองแตไมมีอิสระ นายทาสบางคน
ปราศจากเมตตาทาสก็ถูกใชแรงงานและลงโทษเฆีย่ นตีทารุณ ท่ีเปน หญิงก็อาจถูกนายทาสลวงละเมิดหากเปน
ลูกทาสทีเ่ กิดจากบิดามารดาทเี่ ปน ทาสก็ตกเปนทาสในเรือนเบี้ยต้ังแตแรกเกิดเปนท่ีนาเวทนา ดังนั้น ในสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว พระองคทรงมีพระราชดําริท่ีจะปลดปลอยให ไพรฟา ขาแผนดิน
ของพระองคม ีอิสระและมเี กียรติภูมขิ องความเปนพลเมอื งท่มี ีอสิ รเสรี การยกเลิกระบบไพร และทาสน้ี ถือวา
146
เปน พระราชกรณกี ิจยท่ีสาํ คัญและไดย กยอง ในพระปรีชาสามารถและนํ้าพระทัยเมตตา และยังเปนบทบาท
ตอสังคมไทยอันย่ิงใหญข องสถาบันพระมหากษัตรยิ เพราะการยกเลิกระบบไพรเปน การแปลงสภาพของคน
ไทยทงั้ มวลใหพ น จากสถานะของไพรม าเปน พลเมอื งที่สมบูรณ เนื่องจากระบบ ไพรม มี านาน พระองคจงึ ทรงมี
พระบรมราโชบายทจ่ี ะยกเลิกระบบไพรในลักษณะคอ ยเปนคอ ยไป ทงั้ นี้ เพ่อื มิใหเ ปนการกระทบกระเทือนตอ
ผลประโยชนท บี่ รรดาพระราชวงศและขนุ นางไดรับจากระบบไพร โดยเริ่มจากการจัดต้ังกรมทหารมหาดเล็ก
รักษาพระองค และ ต้ังกรมทหารหนารับสมัครทหารจากกลุม ไพรที่นายตาย จากนั้นทรงโปรดเกลาให
ประกาศใช “พระราชบัญญตั ิทหาร’’ ลดเวลาใหพลทหารสมัครรับราชการเพยี ง 10 ป จนถงึ พ.ศ. 2431
จงึ ทรงตั้งกรมยทุ ธนาธิการเพอื่ จัดการทหารแผนใหม และใน พ.ศ. 2439 กใ็ หมกี ารจายเงินแทนการอยเู วรของ
ไพรหลวง ปตอมากําหนดใหจายเงินแทนการสงส่ิงของของไพรสวยที่สุดคือ พ.ศ. 2448 โปรดเกลาใหตรา
“พระราชบัญญัติเกณฑทหาร ร.ศ. 124’’ กําหนดใหชายฉกรรจทีมีอายุ 18 ปบริบูรณรับราชการในกอง
ประจาํ การมีกาํ หนด 2 ป แลว ปลดไปอยใู นกองหนนุ (ผไู ดรับราชการทหารในกองประจาํ การแลว ) ถือเปนการ
ยกเลิกระบบไพรที่มีมานานหลายศตวรรษไดสําเร็จ สวนในเร่ืองเลิกทาสก็ทรงใชวิธีการลดคาตัวทาสไป
โดยลําดบั เวลาไมใหกระทบตอ กจิ การและผลประโยชนของผเู ปนนายทาสโดยประกาศใหมีการสํารวจทาสใน
พ.ศ. 2417 แลวประกาศพระราชบัญญตั เิ กษียณอายุ ลูกทาส ลูกไทย ทาสท่ีเกิด พ.ศ. 2411 อันเปนปท่ีเสด็จ
ข้ึนครองราชยเปนตนมาจนถึงอายุ 21 ป ใหพนจาก การเปนทาสทันที มีการตราพระราชบัญญัติทาส
รัตนโกสินทร ศก 124 (พ.ศ. 2448) โปรดเกลาฯ ใหตรา“พระราชบัญญัติเลิกทาส” รัตนโกสินทร ศก 124
(พ.ศ. 2448)
ในดา นการศึกษา หลกั ฐานศิลาจารึกหลักท่ี 1 ที่แสดงถึงบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยที่มีตอ
การศึกษาในสมัยสุโขทัยคือการท่ีพอขุนรามคําแหงทรงคิดคนอักษรไทยไดสําเร็จใน พ.ศ. 1826 โดยมี
พัฒนาการของลักษณะตัวอักษรและปรับอักขรวิธีมาโดยลําดับจนเปนตัวอักษรในปจจุบันอํานวยประโยชน
ในการจดบันทกึ การสรา งสรรคตําราและสรรพวิทยาการโดยเฉพาะผลงานวรรณคดีอันไพเราะ ทําใหชาติไทย
มีตัวอักษรใชเ องทรงเปน ตนแบบของพระมหากษตั ริยทีท่ รงมีพระบรมราโชวาทสง่ั สอนประชาชนแมผานมากวา
700 ปแลว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (รชั กาลที่ 9) ก็ยังทรงถือเปนพระราชภาระทจ่ี ะ
พระราชทานพระบรมราโชวาทเพื่อใหทง้ั ความรู ใหข อคิดเตือนใจเปนแนวทางดําเนินชีวิตแกประชาชนหลาย
กลุมหลายวารในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช พระมหาราชครู ไดแตงตําราเรียนภาษาไทยช่ือจินดามณี
และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงพระนิพนธแบบเรียนเร็วเพ่ือใชสอนอานแก
นกั เรยี นโรงเรยี นประชาบาลในสมยั นนั้ ซึ่งกอ นหนา นั้นศนู ยก ลางของการศกึ ษาเลา เรยี นมีเพียง วดั สาํ หรับชาย
และวังสาํ หรบั หญิงเทา นั้น การศกึ ษาเลาเรียนจงึ เปนเรื่องเฉพาะตนทีต่ องขวนขวายแสวงหาครูอาจารยสอน
เองตามสํานักอาจารยหรือกับพระที่วัด แลวยังมีการถายทอดความรูแกกันภายในครอบครัว สวนสตรีจาก
ตระกลู ขนุ นางหรอื เจานายจึงถูกสงเขาไปถวายตัวเปนขาหลวงเพ่ือฝกฝนเรียนรูเร่ืองกิริยามารยาท และวิชา
สําหรับผูหญิงเชนงานดอกไมใบตองกรองมาลัย ฝกฝนทําอาหารหวานคาว การเย็บปกถักรอยในตําหนัก
เจา นายฝายในผูหญงิ นอ ยท่ีอานเขียนได พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหต้ังโรงเรียน
สําหรับสามัญชนแหงแรกท่ีวัดมหรรณพาราม สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถก็ทรงโปรดใหสราง
147
โรงเรียนสําหรับสตรี เชนโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตน ในสมัยรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชชินีนาถและ
พระบรมวงศานุวงศสนพระทัย ทรงสงเสริมการศึกษาของชาติมาโดยสม่ําเสมอ โดยการจัดต้ังมูลนิธิการสอน
ทางไกลผานดาวเทียมโรงเรียนไกลกังวลท่ีมีประโยชนมากเพราะชวยนักเรียนในโรงเรียนท่ีอยูหางไกลและ
โรงเรียนทข่ี าดแคลนครใู หมีโอกาสเรยี นจากครูที่มีความสามารถอยางเทาเทียมกัน จัดตั้งโรงเรียนพระดาบส
ทสี่ อนวิชาชพี งานชางแกผ ูดอ ยโอกาส และวทิ ยาลยั ในวังชาย วิทยาลยั ในวังหญิง ท่ีสอนวิชาชีพและศิลปะไทย
เพอ่ื การนําไปประกอบอาชพี
นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชยังทรงเปนขวัญกําลังใจแกนิสิตนักศึกษา
ของมหาวิทยาลัยตา ง ๆ โดยการเสดจ็ ไปพระราชทานปริญญาบัตรดว ยพระองคเ องในทุกมหาวิทยาลยั บางคร้ัง
ไดทรงดนตรีในกิจกรรมของมหาวิทยาลัยและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับนิสิตนักศึกษาโดยไมถือพระองค
ท้ังยังทรง พระราชนิพนธเพลงประจํามหาวิทยาลัยพระราชทานใหอีกดวย เชน เพลงมหาจุฬาลงกรณของ
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ เพลงยูงทอง ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และเพลงเกษตรศาสตรของ
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร เปนตน และยังทรงโปรดเกลาฯ ใหพระบรมวงศานุวงศฯ เสด็จไปพระราชทาน
ปรญิ ญาบัตรแทนพระองคมาโดยตอ เน่อื ง และยงั ทรงปฏิบตั พิ ระองคเ ปนแบบอยางในการ ศกึ ษาเลาเรียนและ
แสวงหาความรูอยางลุมลึกและกวางขวางและยังทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานความรูนั้น ๆ มาให
ประชาชนของพระองคไดนําไปประพฤติปฏิบัติผานพระบรมราโชวาทและโครงการ ในพระราชดําริตาง ๆ
ดังเชน โครงการเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีทรงคุณคา ตอชาวไทยและตอ ชาวโลกอยางย่ิง ทรงพระราชนิพนธหนังสือ
เชน นายอินทรผูปดทองหลังพระ และพระมหาชนก โดยเฉพาะหนังสือมหาชนก ไดรวมศาสตรตาง ๆ ไว
มากมายท่แี สดงถึงพระปรชี าสามารถในการที่ทรงนําสิ่งท่ีทรงศึกษาแลวน้ันมาบูรณาการกันไดอยางงดงามมี
คณุ คา ยง่ิ ในการนําไปใชเ ปนแนวทางดําเนินชวี ิต
ในดานศาสนาสถาบนั พระมหากษตั ริยนับแตอดีตถึงในปจจุบันไดใหความสําคัญมากท่ีสุดโดยเฉพาะ
ชาติไทยดาํ รงอยไู ดโดยไมมปี ญ หาวา พระมหากษัตริยท รงทาํ ลายลางราษฎรหรือคนท่ีมีความคดิ ตางทางศาสนา
ดังทเี่ กิดขึน้ ในประเทศอื่น ๆ ก็เพราะพระมหากษัตรยิ ไ ทยทกุ พระองคทรงนับถอื พระพุทธศาสนาหลังพระราช
พิธีบรมราชาภเิ ษกทเ่ี ปนพิธพี ราหมณแลวพระมหากษัตริยจะทรงประกาศพระองคทรงเปนพุทธมามกะและ
ทรงเปนเอกอัครศาสนปู ภัมภก คอื ทรงรบั ทุกศาสนาไวในพระอุปถัมภท้ังสิ้น และเปนปจจัยท่ีสงเสริมใหชาว
ไทยสว นใหญทม่ี คี วามแตกตางกนั ทางศาสนาตา งความเชอ่ื และศรทั ธาสามารถอยรู ว มกนั ไดอ ยางสงบสุข และมี
ไมตรจี ิตตอกนั เปนเชนนี้มาแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน พระมหากษัตริยจึงทรงโปรดท่ีจะเสด็จไปในศาสน
สถานและรวมอยูในพิธีกรรมของศาสนาตาง ๆ รวมท้ังการพระราชทานพระราชทรัพยเพื่อการทํานุบํารุง
ศาสนาตา ง ๆ นั้นดวย
148
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชทรงรับการถวายพระพร
และถวายดูอาของผู้นําศาสนาต่าง ๆ
ในดา นพระพุทธศาสนาพระมหากษตั ริยและพระบรมวงศานวุ งศแ ตโ บราณมาทรงถือเปนสําคัญในการ
อุปถัมภคํ้าชูพระศาสนาท้ังการทํานุบํารุงพระอารามและศาสนสถาน การทํานุบํารุงพระธรรม คําสั่งสอน
โดยการทรงนําพระธรรมน้ันมาปฏิบัติและนํามาเปนแนวทางในการปกครองบานเมืองและดูแลทุกขสุขของ
อาณาประชาราษฎร ทรงรกั ษาพระธรรมคาํ สอนของพระพุทธองคดว ยการสรางพระอารามและศาสนสถาน
ในสมัยสโุ ขทัยท่พี ทุ ธศาสนาลงั กาวงศรุงเรืองมีการสรางวดั เปนจาํ นวนมาก รูปแบบของสถาปต ยกรรม
ก็ยดึ แบบลงั กาคือเจดยี ทรงระฆงั และในวดั หลายแหงมีชา งลอ มหรือเรยี กวาชา งรอบอยางคติของลงั กา แลว ยัง
สง ผา นมาถงึ สมยั อยุธยาทีว่ ัดมเหยงคณใ นรชั กาลสมเดจ็ พระเจาสามพระยาซึ่งทรงมีความเก่ียวของกับสุโขทัย
ทงั้ ในทางสายเลือดและการเก่ยี วดองเปน ญาติ
เจดยี ป ระธานวัดมเหยงคณอ ยุธยา เจดยี ว ัดชางรอบ เมอื งกําแพงเพชร
149
เม่ือกรงุ ศรอี ยธุ ยามอี ํานาจเหนอื สโุ ขทัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดท รงใชส งิ่ กอ สรา งทางศาสนาแสดง
สญั ลกั ษณข องความเปนผปู กครองโดยใชพ ระมหาธาตุหรอื เจดยี ท รงปรางคเปนเจดยี ประธานของวดั แทน
พระปรางค์วัดจุฬามณีพิษณุโลก พระปรางค์วัดจฬุ ามณีพิษณุโลก
สถาบนั กษัตรยิ ของกรุงศรอี ยุธยาไดร ับอิทธพิ ลของพระพทุ ธศาสนาลงั กาวงศจากสุโขทัยและจากศรีลังกา
โดยตรงซึง่ จะเหน็ จากพระเจดียทรงระฆังท่ีเปนเอกลักษณทางสถาปตยกรรมของสมัยอยุธยาตอนกลางและ
ชา งหลวงไดปรับรปู แบบมาเปน เจดยี เหลี่ยมยอมมุ ในสมัยอยธุ ยาตอนปลายงานสถาปตยกรรมเหลานี้ปรากฏ
อยูในพระอารามอันใหญโตและงดงามท่ีราชทูต และพอคาชาวตะวันตกบันทึกไวในเอกสารรายงานหรือ
จดหมายเหตุของตนเลาถึงความทุมเทใสพระทัยของพระมหากษัตริยท่ีทรงมีตอพระพุทธศาสนาโดยผาน
ออกมาในรูปแบบความวจิ ิตรงดงาม มคี ณุ คา มีราคา ดวยพระราชศรัทธาอันมุงม่ันแรงกลาอยางแทจริง เชน
ความงดงามใหญโตของวัดพระศรสี รรเพชญ วดั มหาธาตุ วดั ราชบูรณะ วัดพระราม และวดั ไชยวฒั นาราม
ก เปนตน
วัดพระศรีสรรเพชญ์ วดั พระราม
150
ในสมยั กรุงธนบรุ ีเปน ชว งกอบกฟู นฟเู ศรษฐกิจบา นเมอื งแมจะไมม กี ารสรางพระอารามปรากฏข้ึนนัก
แตสมเด็จพระเจาตากสินก็ทรงเอาพระทัยใสในพระไตรปฎกที่สูญไปในคราวเสียกรุงเม่ือเสด็จไปตี
นครศรีธรรมราชแลวก็ทรงขอยืมพระไตรปฎกจากเมืองนครศรีธรรมราชกลับมาคัดลอกแลวสงคืนตนฉบับ
กลับไปดงั เดมิ เม่ือบา นเมอื งกลบั สงบเรียบรอยกวา เดมิ ในรัชสมัยของสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช
ไดทรงรเิ ร่มิ สรางและปฏสิ งั ขรณวดั เกาท้ังในกรุงเทพมหานครและยังทรงโปรดใหพระบรมวงศานุวงศกลับไป
บรู ณปฏิสงั ขรณวดั สาํ คญั ในกรุงเกาอีกมากมายหลายวัด เชน วัดทองหรือวัดสุวรรณดาราราม วัดธรรมาราม
วัดกษัตราธิราช เปนตน สวนกรุงเทพมหานครท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงตั้ง
พระทัยท่จี ะฟน คืนกรงุ ศรีอยุธยาใหแกชาวไทยในดานพระพทุ ธศาสนาจงึ ทรงสรางวัด สําคญั ตา ง ๆ ใหเ หมอื นท่ี
เคยมีในสมัยอยธุ ยาเชน วัดพระศรีรตั นศาสดารามแทนวัดพระศรสี รรเพชญ ในพระราชวงั หลวง วดั สทุ ศั นเ ทพ-
วรารามแทนวัดพนัญเชงิ เปนตนในดานพระธรรมทรงโปรดใหมีการสังคายนาพระไตรปฎกท่ีวัดมหาธาตุยุว-
ราชรังสฤษด์ิ (ขณะน้ันช่ือวาวัดพระศรีสรรเพชญ) เร่ิมแตวันพุธ ข้ึน 15 ค่ําเดือน 12 ปวอก พ.ศ. 2331
เปน เวลา 5 เดอื น จึงเสร็จแลวใหจารเก็บรักษาเปนพระไตรปฎก ฉบับหลวง (ทองใหญ) สวนแบบทองชุบให
จารแลว พระราชทานไปตามพระอารามหลวงท้ังส้ิน
พระไตรปฎกในแบบทจี่ ารในสมุดไทยแบบทองใหญ
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นอกจากการโปรดใหจัดพิมพ
พระไตรปฎกพระราชทานแกใหวัดตาง ๆ และพระราชทานไปยังวัดไทยในตางประเทศแลวยังทรงใหมีการ
จัดทําในรูปแบบส่อื อิเล็กทรอนกิ สเพอ่ื สะดวกในการคน ควาโดยท่ัวไปอีกดวย
บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยในดานการพัฒนาคณะสงฆนั้นก็มีอยูไมนอยที่ทรงมีพระราช
ศรัทธาเสด็จทรงพระผนวชก็มีหลายพระองคแมในยามมีภยันตรายก็ทรงใชวิธีประนีประนอมโดยใชธงชัย
พระอรหันตคือผากาสาวพัสตรเปนท่ีพ่ึง หลังเสียกรุงน้ันมีพระสงฆจํานวนมากยอหยอนในพระวินัยลง
จนสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชทรงปรารภถึงพฤติกรรมของพระสงฆบางรปู ขณะนน้ั วา“เปน คนอา
บัดสอพลอ ทาํ ใหเ สียแผนดิน” พระองคท รงแกไ ขปญ หาน้ีโดยใหสอบสวนและใหสึกออกเสียไมนอย และทรง
ตรากฎพระสงฆในระหวาง พ.ศ. 2325 - 2341 มีถึง 10 ฉบับ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา
เจา อยหู วั ทรงมพี ระราชศรทั ธาสรา งวัดจนมคี ํากลา วในทํานองวาผูท จ่ี ะเปนคนโปรดในรัชกาลที่ 2 ตองเปนกวี
ในรัชกาลที่ 3 นั้นตองสรางวัดถวาย จึงจะเปนผูที่ทรงโปรดปราน แมพระองคจะไมทรงโปรดการตั้ง
151
ธรรมยุติกนิกายของพระอนุชา คือ วชิรญาณภิกขุ แตก็ทรงมีขันติธรรมอนุโลมใหทรงดําเนินการเผยแผ
พระพุทธศาสนานิกายนี้ไดตอมาจนวชิรญาณภิกขุไดข้ึนครองราชสมบัติเปนพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา-
เจาอยูหัวก็ทรงสงเสริมนิกายน้ีมากขึ้นและสรางพระอารามหลวงหลายแหง ใหพระสงฆในธรรมยุติกนิกาย
ไดพํานักปฏิบัติธรรม เชน วดั บวรนิเวศวิหาร วัดราชาธวิ าส วดั กวศิ ราราม วัดเสนาสนาราม และวดั นเิ วศธรรม-
ประวัติ เปนตน
นอกจากน้สี ถาบันพระมหากษตั รยิ ย งั ทรงสง เสริมการสรางวรรณกรรมทางศาสนานับแตสมัยสุโขทัย
มีไตรภูมิพระรวงของสมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไทที่จูงใจใหคนประพฤติดีเพ่ือไดไปสูสรวงสวรรคและละ
ความชวั่ เพ่อื ไมใ หไ ปสูอ บายภูมิ ในสมัยอยธุ ยามสี มาชกิ ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ พระบรมวงศานุวงศที่ทรง
พระราชนิพนธส รรคส รา งวรรณกรรมทางศาสนาไวม ากมาย เชน ในสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงพระราช-
นิพนธมหาชาติคําหลวงในคราวสรางวัดจุฬามณี ในรัชกาลสมเด็จพระเจาบรมโกศกรมหลวงเสนาพิทักษ
(เจา ฟา ธรรมาธิเบศหรอื เจาฟากุง) ทรงแตนันโทปนันทสูตรคําฉันทและพระมาลัยคําหลวงในขณะทรงผนวช
เปนตน นอกจากน้ีในสมัยสมเด็จพระนารายณพระองค ทรงมีพระราชปุจฉาวิสัชนากับพระพรหมมุนี
วดั ปากนํา้ ประสบซ่งึ เปนพระอาจารยมีบันทึกถึงคําถามคําตอบดังกลาวที่นาศึกษาและเปนแนวทางในการมี
พระราชปุจฉาของพระมหากษัตริยกับพระสงฆผูรูธรรมเชนที่ปรากฏในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภูมิพลอดุลยเดช ทที่ รงมพี ระราชปจุ ฉาพระอริยสงฆหลายทา น เชน พระราชพรหมญาณ (หลวงพอฤาษีลิงดํา)
หลวงปูแหวนสุจิณโณ หลวงปูฝนอาจาโร ฯลฯ เปนตน มีการบันทึกขอธรรมเหลานั้นไวเปนแนวทางให
ประชาชนท่ัวไปไดศกึ ษาไดอีกดวย
ในการชวยรักษาพระพุทธศาสนาในปลายกรุงศรีอยุธยาพระเจากิตติศิริราชสิงหไดสงราชทูตมาขอ
พระสงฆจากกรุงศรีอยุธยาเพ่ือไปฟนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกาท่ีขาดพระสงฆสืบตอในรัชกาลสมเด็จ-
พระเจาบรมโกศทรงสงพระอุบาลี พระอริยะมุนีกับพระอันดับและสามเณรไปศรีลังกา สามารถอุปสมบท
พระสงฆก วา 700 รปู และบรรพชาสามเณรไดเปนจํานวนมากในเวลาเพียง 3 ปทําใหพระพุทธศาสนานิกาย
สยามวงศเกดิ ข้นึ ในศรีลังกา ต้ังแตน นั้
รปู หลอ ของพระอบุ าลีที่วดั บุพารามทป่ี ระเทศศรีลงั กา
152
4. ดา นการเสรมิ สรา งศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณี
ศิลปะมีรากศัพทต รงกับภาษาบาลีวาสปิ ป หมายถงึ ฝม ืออยางยอดเยีย่ มที่เปน การแสดงออกทาง
ความคดิ ความชาํ นาญของมนษุ ย และบคุ ลกิ ภาพของผสู รา งสรรคค วามงดงามของงานทีถ่ ายทอดจติ วิญญาณ
และความเชือ่ ของตนลงสอู ันงานอันเปนความพากเพียรของมนษุ ยซ งึ่ เรยี กวาวิจิตรศิลป
วัด วงั เวียงเปน ศูนยร วมความเปน เลศิ ของศิลปะชาติไทย ศลิ ปะไทยมรี ากฐานความสัมพันธเชื่อมโยง
ใกลช ิดกับคติความเช่ือและหลักธรรมในพระพุทธศาสนาทจี่ ะมหี ลกั คดิ ความเชอื่ ของศาสนาอ่ืนแทรกเขา มาจะมี
บางก็เปนเพียงสวนปลีกยอยซึ่งบางคร้ังก็เกิดจากแนวพระราชนิยมในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งเทาน้ัน สถาบัน
พระมหากษตั รยิ มีหนาทห่ี ลกั ในการทํานุบาํ รุงพระศาสนาจงึ ไดน าํ เอาศลิ ปะมาใช เพ่ือวัตถุประสงคอันสําคัญนี้
ในพระอารามตา ง ๆ สวนพระราชวงั หลวงหรือพระบรมมหาราชวังท่ีเปนศูนยกลางของพระนครเพราะเปนท่ี
ประทบั ขององคพระประมขุ ของแผน ดินก็ตองใหม คี วามโอโถงงดงามดว ยศิลปะอันประณตี เปน สดุ ยอดแหง งาน
ชางทุกแขนง เพื่อสมกับพระราชฐานะและพระเกียรติยศ สวนเวียงน้ันก็มีความงามทางศิลปะท่ีประชาชน
สามัญ ขนุ นางขาราชการ ท่ีเปนไพรฟ า ขา แผนดินสรรคส รา งขึ้นดวยความศรัทธา และเพื่อการใชสอยในวิถชี ีวิต
ประจําวนั ซง่ึ มักจะคลอยตามพระราชนิยม ในภาวะที่กฎเกณฑของสังคมอนุญาตไวใหทําได ซึ่งตอมาในสมัย
หลังก็มกี ารยกเวน กฎเกณฑตาง ๆ นั้นซึ่งบางประการก็เปนกฎมนเฑยี รบาลโดยเฉพาะในการสรา งวัด ก็ยกเวน
ใหม อี าคารหลังคาซอ นช้นั ในวัดทส่ี ามญั ชนสรางได
สถาบันพระมหากษัตริยมีบทบาทในการสงเสริมศิลปะในหลายแขนงปรากฏอยูท้ังในศาสนสถาน
วัดวาอารามเปนที่เชิดหนาชูตาวาบานเมืองไทยเปนเมืองที่รํ่ารวยศิลปะ ท้ังดานสถาปตยกรรม จิตรกรรม
งานประติมากรรมและประณีตศิลป ซงึ่ ตอ งใชงานชางในสาขาตาง ๆ ท่ีเรียกวา “ชางสิบหมู” ไดแกชางเขียน
ชางแกะ ชางสลัก ชางปน ชางปูน ชางรัก ชางหนุ ชางบุ ชางกลึง และชา งหลอ นอกจากนี้ยังมีงานชางกระจก
ชางทอง ชางครํ่า ชางไม ฯลฯ ซ่ึงแยกปลีกยอยเฉพาะทางไปอีกมากมายงานเหลาน้ีตองอาศัยสถาบัน
พระมหากษตั ริยทรงเปนผอู ุปถัมภใหก ารสนับสนุนทั้งพระราชทรัพย พระราชทานยศศักดิ์ใหแกชางท่ี ทุมเท
อทุ ิศตนใหง านนัน้ ๆ และการใหโอกาสไดแสดงผลงานในสถานทอี่ ันสาํ คัญ ซ่ึงในบางคร้ังพระมหากษัตริยและ
พระบรมวงศานวุ งศก ท็ รงลงฝพระหตั ถใ นงานชา งงานศลิ ปะดว ยพระองคเ อง มีหลักฐานผลงานปรากฏเดนชัด
อยูเปนจํานวนมากเชนงานบานประตูจําหลักไมที่วัดสุทัศนเทพวราราม งานหัวโขนช่ือพระยารักนอยและ
พระยารกั ใหญเ ปนฝพ ระหตั ถของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา นภาลยั เปน ตน
ในสมัยอยุธยางานศลิ ปะทเ่ี ปน สถาปต ยกรรมถกู ทําลายลงดวยสงคราม และกาลเวลาที่บานเมืองถูก
ท้ิงรา งอยเู ปน เวลานานแมจ ะดรี บั การบูรณะปฏิสงั ขรณกไ็ มอาจคืนสภาพดังเดมิ ไดดวยขอ จาํ กัดวาวัดรา งนน้ั
มีจาํ นวนมาก ขาดชางฝมือ ขาดกําลังทรัพยและวัสดุ ดังทที่ ราบกนั วาแมอิฐท่ีจะใชส รา งกาํ แพงกรงุ ธนบุรี
ศรมี หาสมุทร และสรางวัดวาอารามก็ยังตองไปร้ือเอาอิฐเกามาจากคายโพธ์ิสามตนคายสีกุก และวัดตาง ๆ
ในกรงุ ศรอี ยธุ ยา แตย งั พอมีบางสวนหลงเหลอื อยเู ปน ขอ ยืนยนั ถงึ บทบาทของพระมหากษัตริยในดานงานชาง
ศิลปกรงุ ศรอี ยธุ ยาไดอยูพอสมควร สวนงานดานประณีตศิลปนั้นพอเห็นไดชัดจากงานเคร่ืองทองกรุ วัดราช
บูรณะท่รี วมงานชา งสาขาตา ง ๆ ไวมากมาย งานประดบั มุกบานประตพู ระวิหารยอดที่งานฝมือชางประดับมุก
153
ช้ินเอกในรัชสมัยสมเด็จพระเจาบรมโกศทรงโปรดใหสรางข้ึนในการปฏิสังขรณวัดบรมพุทธาราม และบาน
ประตพู ระมณฑปพระพทุ ธบาทและประตพู ระอโุ บสถวดั พระพุทธชนิ ราช ซึ่งสรางขนึ้ ในรัชกาลเดียวกนั
พระพทุ ธรูปบุทองคาํ
พระแสงขันธ์ พระมาลาทองถกั
บานประตูวัดพระพุทธชินราช
154
บานประตวู ดั วหิ ารยอด (วดั พระศรีรัตนศาสดาราม) บานประตูวดั พระพทุ ธบาท จังหวดั สระบุรี
บานประตูประดับมกุ หอพระมณเฑียรธรรมวดั พระศรีรัตนศาสดาราม
หลงั เสียกรงุ ชา งฝม ือของกรุงศรอี ยธุ ยาเสยี ชีวิตลงในการรบบา ง ถูกขา ศกึ กวาดตอ นไปบางเหลือตัวอยู
นอยเต็มที ในสมยั กรงุ ธนบรุ กี ใ็ ชง านชางตา ง ๆ เพียงสังเขปดว ยอยูในภาวะท่ีตองระวังขาศึกศัตรู ขาดคนและ
กําลังพระราชทรัพย ในสมัยรัตนโกสินทร สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดใหรวบรวม
ชางฝมือดา นตา ง ๆ สรา งพระบรมมหาราชวงั และพระอารามหลวงตาง ๆ ในสภาพท่ีเพิ่งผานภาวะวิกฤตเสีย
กรุงมาเพียง 15 ป และทําสงครามเกา ทัพมาเพยี งไดไมนาน แตพระองคก ็สามารถจําลองกรุงศรีอยุธยามาไวที่
กรงุ เทพมหานครไดเ ปน ผลสาํ เร็จ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง
155
ในการนสี้ มเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสรุ สงิ หนาททรงมสี ว นสงเสริมในการฟนฟงู านชางศิลปอยุธยา
เปน อยางมากโดยทรงเสาะหาชางหลวงอยธุ ยาท่ยี งั เหลอื อยใู หเขา มาอยูในสังกัดชางวังหนา ซ่ึงได ฝากผลงาน
พระอโุ บสถวดั สุวรรณดาราราม (วัดทอง) ไวท ก่ี รงุ เกา
พระอโุ บสถวดั สุวรรณดาราราม
ในดานงานจิตรกรรมในสมัยกรุงศรีอยุธยาพอหลงเหลือหลักฐานก็เพียงเล็กนอยและเขาชมไดยาก
เพราะท่ีเหลอื ก็มักเขียนเพอ่ื เปนพทุ ธบูชาในกรุปรางคห รือเจดียหรืออยูในวัดหางไกล เชน ท่ีเพชรบุรี เปนตน
ที่หาชมไดงายก็มักเปนงานชางรัตนโกสินทรเปนสวนใหญแตก็เปนงานจิตรกรรมที่สงตอมาจากสมัยอยุธยา
นั่นเอง ในสมยั สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั ทรงอุปถัมภส ง เสรมิ ชางจติ รกรรมคนหนึง่ ชื่อ ขรัวอินโขงศิลปน
ทานน้มี ฝี ม ือเขยี นภาพแบบใหมต า งจากศิลปนยิ มแบบเดมิ คอื เปน ภาพท่ีมีแสงเงาแบบตะวันตกและงานของ
ทา นผูนีส้ งอทิ ธพิ ลทาํ ใหงานจิตรกรรมไทยในยุคตอมามีความเปนสากลมากข้ึนดังงานของพระยาอนศุ าสน
จิตรกร (จนั ทร จิตรกร) ซงึ่ เปนชา งเขยี นในรัชกาลของสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวงานช้ินสําคัญ
คือภาพพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในพระวิหารวัดสุวรรณดารามและภาพเทพชุมนุม
ในพระวหิ ารเดยี วกนั ซง่ึ มคี วามแตกตา งของระเบยี บวธิ ีการเขยี นภาพเทพชมุ นุม
ภาพวาดของพระยาอนุศาสน์จติ รกร ภาพวาดของขรัวอินโข่ง
156
ภาพวาดของพระยาอนุศาสน์จิตรกร
ผลงานพระยาอนุศาสน์จิตรกรพระประธานวดั กษัตริย์ตราธิราช
ศิลปนในพระบรมราชจักรีวงศ คือ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยานริศรานุวัติวงศ ที่ทรงมี
ผลงานดา นการชา งหลายสาขา งานช้ินเดนของพระองคคือทรงออกแบบ
พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร และทรงออกแบบรองในงานพระราชพิธี
ตาง ๆ หลายคร้ังลวนเปนท่ีพอพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จ-
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมากทรงพระราชทานพระสมัญญานามวา
“นายชางใหญแหงกรุงรัตนโกสินทร” เจานายที่ทรงงานชางและทรงมี
ผลงานเดนอีกพระองคหนงึ่ คอื พระองคเ จาประดิษฐวรการ งานปนู ปน ฐาน
ชุกชพี ระประธานในพระอโุ บสถวดั กษตั ราธิราชนับวาเปนผลงานท่ีงดงาม
จับใจยง่ิ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยานริศรานุวตั วิ งศ์
157
งานสถาปต ยกรรมในสมัยรตั นโกสินทรนน้ั เปนงานที่สืบเน่ืองตอมาจากสมัยอยุธยาตอนปลายท่ีนิยม
เจดยี แบบยอมุมไมส บิ สองหรือเจดียเ พม่ิ มุม เชนเจดียในกลุมพระเจดียศรสี รรเพชญด าญาณที่วัดพระเชตุพน-
วิมลมังคลาราม และพระปรางคทรงจอมแห เชน พระปรางคประธานวัดอรุณราชวรารามที่ไดแบบจาก
พระปรางควัดไชยวัฒนาราม จนในรัชกาลสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชนิยมพระเจดีย
แบบลงั กาที่วัดพระศรีสรรเพชญ พระนครศรอี ยธุ ยาจึงทรงนําแบบมาสรางพระศรีรัตนเจดีย (เจดียทอง) ที่วัด
พระศรีรัตนศาสดารามแลวทรงสรา งในรปู แบบเดียวกันเปนเอกลักษณประจํารัชกาล เชน ที่วัดเสนาสนาราม
วดั สุวรรณดาราราม วดั ราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม เปนตน
สําหรับงานประติมากรรมของชาติสวนใหญเปนงานปนหลอพระพุทธรูป ซ่ึงมีพระพุทธรูปสําคัญ
หลายองคที่สถาบันพระมหากษัตริยท รงสรางขนึ้ เพื่อยึดเหนยี่ วจิตใจประชาชนและเปนศรีแกพระนคร ถือเปน
แนวทางเดียวกันของทุกยุคทุกสมัยดวยถือวาพระพุทธรูป คือ สิ่งแทนพระองคของพระพุทธเจา ในสมัย-
รัตนโกสินทรไ ดอญั เชิญพระพุทธรูปสําคัญหลายองคมาจากหัวเมืองฝายเหนือโดยเฉพาะจากสุโขทัย ในการ
อัญเชิญหลวงพอเพชรเมืองพิจิตรชาวเมืองไมยินยอมนําองคพระไปซอน แตพระบาทสมเด็จพระปกเกลา-
เจา อยูห ัวก็มไิ ดทรงถอื เอาแตพระทัยทรงอนุโลมตามประสงคข องชาวเมือง เมื่อทรงอัญเชิญมาแลวก็ทรงนําไป
ประดิษฐานเปนพระประธานในพระอุโบสถบาง พระประจําพระวิหารหลวง พระวิหารทิศบาง บางองค
ก็ประดิษฐานอยูที่พระระเบียงบางในวัดตาง ๆ เพื่อใหประชาชนไดปฏิบัติบํารุงและเคารพบูชาสืบมาสวน
พระพทุ ธรูปท่สี รา งขึ้นในสมยั รตั นโกสินทร คอื พระพทุ ธรปู ปางตาง ๆ ที่พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจา อยูหวั
สรางขน้ึ เพอื่ อุทศิ ถวายพระราชกศุ ลแดบูรพมหากษตั ราธิราชเจา จนถึงรัชกาลพระองคนับวาเปนพระพุทธรูป
อีกกลุมหนึง่ ทใ่ี หความรูใ นเชงิ พระพทุ ธประวัตแิ ละเชงิ ชางประตมิ ากรรมอีกดวย
ในบรรดาพระพุทธรูปสําคัญที่คนพบวาสรางดวยโลหะอันมีคาในชวงฉลอง 25 พุทธศตวรรษไดพบ
พระพทุ ธรูปทองคาํ ศลิ ปะสโุ ขทัยขนาดใหญมากทีว่ ัดไตรมิตรวทิ ยาราม ซ่งึ พระรปู ที่มีความใหญโตขนาดน้ันและ
สรา งดว ยทองคาํ อนั เปน โลหะทีม่ ีคา มรี าคามากทส่ี ดุ เชน น้ีแสดงถงึ พระราชศรัทธาของพระมหากษตั รยิ ซง่ึ ทรง
เปนองคพ ระประมุขของสถาบันพระมหากษตั ริยในยคุ สมัยตอมาคือสมัยอยุธยา รชั สมัยสมเด็จพระรามาธิบดี-
ท่ี 2 ก็มีการสรางพระพุทธรูปยืนสูง 8 วา นํ้าหนักทองหุม 286 ชั่ง คือ พระศรีสรรเพชญ ประดิษฐานใน
พระวิหารหลวงของวัดประจําพระราชวัง ในสมัยรัตนโกสินทรการสรางพระพุทธรูปทองคําขนาดใหญไดลด
ความนิยมลงแตมีแนวคดิ ในการสรา งจากวัสดทุ สี่ ิน้ เปลืองทรัพยไ มมาก แตใหความงามไดคลายคลึงกันคือการ
ปด ทับดวยทองคําเปลว หรอื การใชเทคโลยสี มยั ใหม การตกแตงพืน้ ผิวเพือ่ เพิ่มคุณคาและความงามข้ึน
158
บทบาทของสถาบันพระมหากษตั ริยในดา นวัฒนธรรมและประเพณนี ัน้ ยอมสอดคลองกับสภาพ
สงั คมในแตละยคุ สมยั
พระอโุ บสถวัดเบญมบพติ ร ฐานชุกชีพระประธานวดั กษตั ราธริ าช
5. ดา นการเสรมิ สรางวัฒนธรรมและประเพณขี องไทย
วัฒนธรรม หมายถึง ส่งิ ท่ที ําใหเจริญงอกงามแกห มคู ณะวิถชี ีวิตของหมูค ณะ ประเพณี คอื สิ่งที่นิยม
ถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเปนแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณีวัฒนธรรมไทยและ
ประเพณีไทยนนั้ เกิดข้นึ จากการประพฤติปฏบิ ตั ิสบื กันมามกี ารสง่ั สมเลอื กสรรและยอมรบั วา เหมาะสมกับสังคม
โดยรวม จนเปนบุคลิกและนสิ ยั ของคนในสังคม ซงึ่ เกดิ ขึ้นจากการท่ีตองเอาอยางบุคคลอ่ืน ๆ ที่อยูรอบ ๆ ตน
หากจะกลา วถึงประเพณไี ทยก็หมายถงึ นิสยั สังคมของคนไทยซง่ึ ไดร บั มรดกตกทอดมาแตด้ังเดิมและมองเห็น
ไดในทุกภาคของไทย ประเพณี เปน เรอื่ งของความประพฤตขิ องกลุมชน ยึดถือเปนแบบแผนสืบตอกันมานาน
ถาใครประพฤตินอกแบบ ถอื เปน การผิดประเพณี ประเพณีกับวัฒนธรรมจึงเปนสิ่งที่กลุมชนในสังคมรวมกัน
สรางข้ึนแตประเพณีเปนวัฒนธรรมท่ีมีเงื่อนไขท่ีคอนขางชัดเจนกลาวคือเปนส่ิงท่ีสังคมสรางข้ึนเปนมรดก
คนรนุ หลังจะตอ งรับไว และปรบั ปรงุ แกไขใหดยี ิ่ง ๆ ขนึ้ ไป รวมทัง้ มีการเผยแพรแกค นในสังคมอื่น ๆ
วฒั นธรรมที่เปนปจจัยพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต อันไดแกปจจัยส่ี คือเคร่ืองนุงหมที่อยูอาศัย อาหาร
ยารักษาโรค เคร่อื งนุงหม และการแตงกายของคนไทยเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย มีการรับวัฒนธรรมการแตง
กายชาวตะวันตกมาใชมากข้ึน สวนผูหญิงจะเปนไปตามสมัยนิยม ในอดีตสถาบันพระมหากษัตริยจะมี
กฎมณเฑียรบาลกําหนดแบบแผนท่ีแนนอนในการแตงกายการเครื่องประดับกาย เคร่ืองประดับยศ การใช
ยานพาหนะแตค วามเครง ครัดน้ันก็คลคี่ ลายลงดว ยยคุ สมัยโดยพระราชดาํ รบิ าง โดยกฎเกณฑใ หม ๆ ของสังคม
และการปรับเปล่ยี นตามวฒั นธรรมตะวนั ตกบาง สถาบนั พระมหากษตั รยิ ม บี ทบาทในการสรา งเสริมวัฒนธรรม
การแตงกายโดยแบบอยางความนิยมจากเจานายฝา ยในโดยเฉพาะในสมัยรชั กาลของพระบาทสมเด็จ-
พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู ัวเปนตน มา
159
การแต่งกายของเจ้านายสมยั รัชกาลที นุ่งโจงเสือแบบแขนหมแู ฮมสะพายแพร
สมัยรัชกาลที 6 สมยั รัชกาลที
สมยั รัชกาลที
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) สมเด็จพระนางเจา-
สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถตอ งตามเสด็จ เยอื นประเทศตา ง ๆ ทั้งเอเชยี ยุโรปและสหรัฐอเมริกา พระองคทรง
จดั เตรยี มฉลองพระองคแ บบไทยโดยทรงออกแบบใหมใ หเหมาะสมทงั้ แบบลาํ ลองและเปน ทางการใหเ หมาะสม
กบั วาระโอกาสตาง ๆ เปนท่ีมาของชุดไทยพระราชนิยมอันไดแก ชุดไทยเรือนตน ไทยจิตรลดา ไทยอมรินทร
ไทยบรมพมิ าน ไทยจกั รี ไทยจกั รพรรดิ ไทยดสุ ิต ไทยศวิ าลัย ถือเปนแบบแผนการแตงกายของชาติ สวนเส้ือ
160
ของฝา ยชายไดม ีการออกแบบแปลงมาจากเส้ือราชปะแตน เรียกวา ชุดไทยพระราชทานซี่งมีทั้งแขนส้ันและ
แขนยาวโดยสวมกับโจงกระเบนหรือกางเกง ก็ไดเ ส้อื ชดุ พระราชนยิ ม 9 ชดุ และชุดไทยพระราชทาน
ชุดไทยพระราชทานนิยมสําหรับสตรี
ชุดไทยพระราชทานสําหรับชาย
วัฒนธรรมดานที่อยูอาศัยเรือนไทยเหมาะกับสภาพธรรมชาติของสังคม มีลักษณะใตถุนสูงไมมี
หองมากนักรบั ลมเยน็ ไดท กุ เวลาปองกนั แดดฝนไดดี แตการออกแบบอาคารเรือนหลวงที่เปนเอกลักษณของ
ชาตินอกจากการยึดเอาความเหมาะสมกับสภาพแวดลอ มแลว กต็ อ งคํานึงถึงประโยชนใชส อยและการเชดิ ชู
พระเกียรติยศเปนหลัก สวนการออกแบบอาคารในพระพุทธศาสนานั้นยอมสอดคลองกับสถาบัน
พระมหากษัตริยดวยหลักคิดในเรื่องพุทธะกับพระราชาเปนสําคัญและในบางสวนก็นําคติของไตรภูมิ
มาสอดแทรก เชน เรื่องของเขาพระสุเมรุ ครุฑ นาค และยักษ แมการต้ังชื่อประตูท้ังส่ีทิศของพระตําหนัก
จติ รลดารโหฐานก็นาํ ชอ่ื ของเทวดารักษาทิศท้ัง 4 พระอินทรอยูชม พระยมอยูคุน พระวิรุณอยูเจน พระกุเวร
อยเู ฝา แตเปน ทีน่ าสังเกตวา พระราชฐานของพระมหากษัตริยในปจ จุบันมิไดมุงเนนความโออา แตทรงเนนถึง
ประโยชนใชสอยโดยเฉพาะทรงใชประโยชนเพื่อการคนควาหาแนวทางในการชวยเหลือประชาชนในดาน
ความเปนอยูแ ละการทาํ กนิ มากกวา ความสุขสบายสว นพระองค
161
ในดานอาหารในอดตี ในวงั จะเปนผนู ําในเร่อื งของอาหารทีเ่ รยี กวา “เครอ่ื งคาวหวาน” มีบทพระราช-
นิพนธเหช มเคร่ืองคาวหวานกลาวถึงอาหารไทยและอาหารท่ีดัดแปลงจากอาหารของชาตติ า ง ๆ โดยท่ีกรุงศรี-
อยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงเทพ เปนเมืองท่ีอยูใกลทะเลจึงเปนเมืองทาที่มีคนหลายชาติ หลายภาษา เขามา
ติดตอดวยเสมอการรับวัฒนธรรมของชาวตางชาติในเรื่องอาหารการกินซ่ึงเปนเรื่องใกลตัวท่ีสุดจึงเปนสิ่งที่
เกดิ ข้นึ ไดโ ดยมี “ชาววงั ” เปนเสมอื นผคู ดั กรองผสมผสานและดัดแปลงแลว จึงสงตอไปยังชาวบานดังชาวบาน
เกาะเกรด็ ทท่ี ําอาหารหวานคาวแบบชาววังไดหลากหลายสันนิษฐานกันวา มาจากวิธีครูพักลักจําจากชาววัง
ท่มี าปรงุ ภตั ตาหารอาหารถวายพระในคราวสรา งวดั ปรมัยยกิ าวาสอยูนานป หรือขนมของ ทาวทองกีบมาหรือ
มารีเดอกีรม า ในสมยั สมเด็จพระนารายณม หาราชนนั้ กค็ งแพรห ลายดวยคนทเี่ ขา ไปรับจา งชว ยงานครัวในบาน
เจาพระยาวิชาเยนทรนัน้ เอง
ในดานยารักษาโรค สุขภาพและการรักษาพยาบาลปรากฏหลักฐานวาในสมัยสมเด็จพระนารายณ
มหาราชทรงเปนผูนําในการรักษาโรคมีการรักษาพยาบาลท้ังตําราแพทยแผนไทยและตะวันตกมีตํารายาช่ือ
โอสถพระนารายณท ี่มียาตํารับตาง ๆ และยงั มแี พทยประจําพระองคเปนชาวตะวันตกคูกับแพทยไทยในสมัย
รัตนโกสินทร สมเดจ็ เจา ฟากรมหลวงชุมพรเขตตอุดมศักด์ิทรงไดรับฉายาวา “หมอพร” เพราะทรงมีความรู
ทางแพทยแผนไทยและทรงรักษาชาวบานท่ัวไปจนเปนที่เคารพรกั ใครของประชาชนจนถึงทุกวันน้ี พระบรม-
วงศานวุ งศอกี พระองคห นึง่ ท่คี วรแกก ารระลกึ ถงึ คือ สมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก
ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทท่ี รงหันมาเรยี นวชิ าแพทยเพราะทรงเห็นในความทุกข
เพราะความเจ็บไขข องประชาชนทรงยอมเสยี สละเดนิ ทางไปปฏบิ ัตงิ านทีโ่ รงพยาบาลแมคคอมิคสถึงเชียงใหม
ดวยพระราชจริยวัตรดังน้ี จึงทรงเปนแบบอยางใหสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระเจาพ่ีนางเธอ เจาฟากัลปยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส-
ราชนครินทร สมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ และพระราชนัดดาทุกพระองคทรงเจริญ รอยตาม
ดังพระองคท รงมพี ระโอวาทพระราชทานแกนักเรยี นแพทยศริ ริ าชวา “ขอใหถือประโยชนข องตนเปนกิจท่ีสอง
ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หน่ึง” โครงการตาง ๆ เชน โครงการเรือเวชพาสน โครงการราชประชา
สมาสัย โครงการแพทยอาสาชนบท โครงการถนั ยรกั ษ โครงการมูลนธิ ขิ าเทียม การสรางโรงพยาบาลสมเด็จ-
พระยุพราช ฯลฯ ไดจึงเกิดข้ึนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ทรงเห็น
ประโยชนของประชาชนเปน ท่หี นึง่ เสมอท้งั ยงั ทรงปลูกฝงใหพ ระบรมวงศานุวงศในสถาบันพระมหากษัตริยได
ทรงงานเพอ่ื ประชาชนโดยเฉพาะในเร่ืองของสขุ ภาพความเปน อยู
ในดานประเพณีในอดีต เชน สมัยสุโขทัยและอยุธยาสถาบันพระมหากษัตริยไดกําหนดกิจกรรม
ประเพณีของหลวงในรอบปที่ตองปฏิบัติเรียกวาพระราชพิธีสิบสองเดือนในช้ันตนเปนพระราชประเพณี
ท่กี าํ หนดใหสอดคลอ งกบั พิธกี รรมในศาสนาพราหมณ เชน พระพระราชพิธตี รยี มั ปวาย พระราชพิธีจองเปรียง
พระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั ฯลฯ แตตอ มามีการแทรกพิธีกรรมทางพุทธศาสนาเขาไปโดยเฉพาะในรัชกาลของ
สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงปรับเพ่ิมเติมพระราชพิธีพืชมงคลกับพระราชพิธีจรดพระนังคัลหรือบาง
พระราชพธิ กี ก็ าํ หนดขน้ึ ใหม เชน พระราชพธิ เี ลยี้ งขนมเบื้องในฤดูกาลท่กี งุ ชมุ มีมันมากจึงทําขนมเบื้องหนากุง
162
ถวายพระสว นในเรอ่ื งการละเลนรื่นเรงิ กพ็ ระเจาแผนดินกท็ รงโปรดใหม กี ารเลนดอกสรอยสักวาท่ีทุงภูเขาทอง
คลองมหานาคในกรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้นั สรา งกรงุ เทพมหานครแลว พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาทรงโปรดให
ขุดคลองมหานาคและสรางภูเขาทองขน้ึ แตม าแลวเสรจ็ ในสมัยรัชกาลสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอยูหวั
การละเลนในประเพณีของหลวงนั้น ตอมาไดเ ผยแพรมาถึงชาวบานไมว าจะเปน โขน ละครในโมงครมุ
ญวนหก บางอยางสามารถหาดูไดเฉพาะในงานพระราชพิธีเทานั้นภายหลังก็มีการนํามาดัดแปลงเปนแบบ
ชาวบานจนในปจจุบันสามรถหาดูไดทั่วไปไมมีขอจํากัด ประเพณีศิลปวัฒนธรรมไทยเปนสิ่งท่ีแสดงถึง
เอกลกั ษณมมี ากมายหลายแขนงลว นแลวท่ีชาวไทยตองชวยกันเรียนรู เขาใจอยางถองแท ตองรูจักพิจารณา
วิเคราะหในการรักษาและพฒั นาใหเหมาะควรแกกาลสมยั โดยไมส ญู เสยี เอกลักษณค วามเปนไทย ในอดตี จนถงึ
ปจจุบันมีสถาบันพระมหากษัตริยทรงทํานุบํารุงรักษาศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทยตลอดมาจึงนับวา
บทบาทของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ท ่มี ีตอ ชาติบา นเมืองน้นั ทรงคุณประโยชนอยา งย่งิ ในทกุ ดาน
เจดีย์ภูเขาทองอยธุ ยา เจดีย์ภเู ขาทองวดั สระเกศ
163
บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร
สาระสําคัญ
การเรียนรูเ กี่ยวกับเศรษฐศาสตรพ ื้นฐานเก่ียวกับระบบเศรษฐกิจ สถาบันทางการเงินและการคลัง
ความสัมพันธและความเช่ือมโยงของระบบเศรษฐกิจระหวา งประเทศและการรวมกลุม ทางเศรษฐกิจของ
ประเทศตา ง ๆ เพ่อื เชอื่ มโยงสแู นวคิด เศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั ชุมชนและการดาํ รงชวี ติ
ตวั ชี้วดั
1. วเิ คราะหป ญ หาและแนวโนมทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยได
2. เสนอแนวทางการแกปญหาของเศรษฐกจิ ของประเทศไทยในปจ จบุ ันได
3. รูแ ละเขาใจตระหนักในความสําคญั ของการรวมกลมุ เศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ
และประเทศตา ง ๆ ในโลก
4. รแู ละเขา ใจในระบบเศรษฐกจิ แบบตาง ๆ ในโลก
5. รแู ละเขาใจความสมั พนั ธและผลกระทบทางเศรษฐกจิ ระหวางประเทศของ
ประเทศไทยกบั กลมุ เศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในภมู ิภาคในโลก
6. วิเคราะหค วามสาํ คญั ของระบบเศรษฐกิจและการเลอื กจัดกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ
ของประเทศตา ง ๆ ในโลกและผลกระทบ
7. เขา ใจในเรอ่ื งกลไกราคากบั ระบบเศรษฐกจิ
8. รแู ละเขาใจในเร่อื งการเงนิ การคลงั และการธนาคาร
9 เขา ใจในระบบของการธนาคาร
10. ตระหนกั ในความสําคญั ของการเงนิ สถาบนั การเงิน
11. วเิ คราะหผ ลกระทบจากปญ หาทางเศรษฐกจิ ในเร่ืองการเงิน การคลังของประเทศ
และของโลกไว
12. รแู ละเขา ใจเรื่องแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรื่องที่ 1 ความรเู บอื้ งตนเก่ียวกับเศรษฐศาสตร
เร่ืองท่ี 2 ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย
เรอ่ื งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ
เรื่องท่ี 4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ
เรือ่ งที่ 5 สถาบนั การเงินและการเงนิ การคลัง
เรอ่ื งที่ 6 ความสัมพนั ธแ ละผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศกบั ภมู ิภาคตาง ๆ ของโลก
เรอ่ื งท่ี 7 การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ
164
เร่ืองท่ี 1 ความรูเบอื้ งตนเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร
1. ความรูเบื้องตนเกย่ี วกบั เศรษฐศาสตร
1.1 ความหมายและความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร
1) ความหมายของเศรษฐศาสตร
เศรษฐศาสตร หมายถึง สาขาวิชาหนง่ึ ในสงั คมศาสตรทีศ่ กึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ยในการใชท รัพยากร
ที่มอี ยูอ ยางจาํ กัด โดยการจดั สรรทรัพยากรไดอ ยา งเสมอภาคและเปน ธรรมและเปน ทีพ่ งึ พอใจ
2) ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร
เศรษฐศาสตรเปนเรื่องเก่ียวเนื่องสัมพันธกับพฤติกรรมของคนในสังคมกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ซ่ึงประกอบดวยการผลิต การกระจายผลิต และผูบริโภค เศรษฐศาสตรจึงมีบทบาทสําคัญตอการดําเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทกุ ชนดิ โดยเฉพาะเรอ่ื งการตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั การผลิต การบริโภค และการซื้อขายการ
แลกเปลี่ยนสินคาและบริการ
เศรษฐศาสตรจึงเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของเราทุกคน ทุกระดับ ตั้งแตประชาชนท่ัวไปถึง
ระดับประเทศ เศรษฐศาสตรเขาไปมีบทบาทในดานการใชทรัพยากรของประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุดให
ประชาชนกนิ ดอี ยูดี ไมถกู เอารัดเอาเปรยี บ
แตเ น่ืองจากทรพั ยากรตาง ๆ ในโลกมจี ํากดั เมื่อเปรยี บเทยี บกับความตอ งการมนษุ ยซง่ึ มไี มจํากัดจึงทํา
ใหเกิดการขาดแคลนขึ้น ในการอยูรวมกันของมนุษยจึงตองตัดสินใจเลือกอยางใดอยางหน่ึงในกระบวน
การตดั สนิ ใจเลอื กจงึ นาํ ความรูเ ชิงเศรษฐศาสตรเขามาชว ยใหการตัดสนิ ใจแตล ะคร้งั ใหเกดิ ประโยชนสงู สดุ
นอกจากนั้นเขาใจเศรษฐศาสตร จะทําใหเขาใจเหตุการณและระเบียบกฎเกณฑบางอยางท่ีตนเอง
ตอ งมีสวนในการใหแ ละรบั ผลประโยชนรวมกัน เชน การเสียภาษี การไดรับประโยชนตอบแทนจากการเสีย
ภาษไี ป เปนตน
1.2 หลกั การและวธิ กี ารจดั สรรทรพั ยากรทมี่ อี ยอู ยางจาํ กดั
เศรษฐศาสตรเ ปนวิชาทพ่ี ยายามแกไขปญหาเศรษฐกิจข้ันพ้นื ฐานของมนุษย ไดแก ปญหาวาทําไมจึงผลิต
จะผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพ่ือใคร รวมทั้งยังชวยแกไขปญหาที่ซับซอนมากขึ้น เพ่ือใหประเทศ
สามารถบริหารจัดการทรพั ยากรใหสมั ฤทธ์ิผลและมปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีวตั ถปุ ระสงคด า นเศรษฐกจิ ดงั นี้
1) ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ หมายถึง การใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ไดแก ที่ดิน
แรงงาน และอืน่ ๆ ทาํ การผลติ โดยไดร บั ผลผลิตสงู สุด
2) การจางงานเตม็ ท่ี หมายถงึ การทค่ี นงานทุกคนทสี่ มัครใจทํางาน มงี านทาํ และเปน การทํางานเต็ม
ความสามารถของแตละคน
3) ความมีเสถยี รภาพของระดับราคาสินคาและบริการ หมายถึง การท่ีระดับราคาสินคาและบริการ
มกี ารเปลย่ี นแปลงเพียงเลก็ นอยและไมเปลี่ยนแปลงบอย เพราะจะทําใหผูบริโภคเดือดรอนและผูผลิตจะไม
สามารถคาดการณภ าวะทางธรุ กิจไดอยางถูกตอง
165
4) ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ หมายถงึ การทผ่ี ลผลติ ของประเทศมแี นวโนมสงู ขนึ้ อยา งสมาํ่ เสมอ
แสดงถึงีความเปน อยดู ขี ึน้ อยา งตอเนอ่ื งของคนในชาติ
5) ความเทาเทยี มกนั ของการกระจายรายได หมายถึง คนสวนใหญข องประเทศมรี ายไดไ มแตกตา งกนั
มากนัก ทั้งน้เี พอ่ื ใหค นสวนใหญสามารถซอ้ื สินคาและบรกิ ารไดอยางเสมอภาค
สรปุ การใชจา ยของรัฐบาล เปนมหภาค
อปุ สงคต อ สนิ คาและบรกิ าร เปน จลุ ภาค
ความแตกตา งทางเศรษฐกิจ
ประเทศตาง ๆ มีความเจริญทางเศรษฐกิจแตกตางกัน เปนเพราะมนุษยดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ทัง้ ดา นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมไดเหมาะสมสอดคลอ งกบั สภาพแวดลอมของประเทศ
1. ปจจัยทที่ ําใหเ กดิ ความแตกตางทางเศรษฐกจิ
ปจ จัยทท่ี ําใหเกิดความแตกตางทางเศรษฐกิจ มีดงั นี้
1) ภมู ิประเทศ เปน ลกั ษณะท่ปี รากฏบนผิวโลกเปน รูปแบบตาง ๆ เชน แมนาํ้ ภเู ขา ท่ีราบ ที่ราบ
สูง เปนตน ประเทศสวนใหญที่มีเศรษฐกิจดี ประชากรมักต้ังถ่ินฐานบริเวณท่ีเปนท่ีราบลุมแมนํ้าอันมีดิน
ตะกอนทบั ถมซึ่งมธี าตอุ าหารอุดมสมบูรณเ หมาะกับกจิ กรรมเพาะปลูก
2) ภูมิอากาศ เปนสภาพดินฟาอากาศซ่ึงประกอบดวยแสงแดด อุณหภูมิ นํ้าฝน ความช้ืน
ความกดอากาศและลม ในเขตอากาศรอ นอณุ หภูมิจะสงู กวาในเขตอบอุนและเขตหนาว นอกจากน้ียังมีความ
เขมของแสงแดดอันเปนปจจัยในการเจริญเติบโตของพืชและสัตว บริเวณที่มีฝนตกมากหรือมีน้ําใตดินจะ
สามารถเพาะปลูกและเล้ียงสัตวได ลมที่พัดไมแรงมากจะชวยในการผสมเกสรและกระจายพันธุพืช ทําให
ประเทศที่อยูในลกั ษณะภูมอิ ากาศแตกตา งกนั มคี วามเจรญิ ทางเศรษฐกิจตางกนั
3) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติทส่ี ําคัญมี 4 ประเภท ไดแก
(1) ทรัพยากรดนิ ดนิ ทมี่ อี ินทรียวตั ถุ ไมแนนทบึ เกินไปจะชว ยใหพ ชื เจริญเตบิ โตไดด เี หมาะแก
การเพาะปลูก บริเวณที่ดินสลายตัวมากจากหินปูนกลายเปนดินขาว สามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบในการ
อุตสาหกรรมซีเมนตได
(2) ทรัพยากรนํา้ ประเทศที่มีแหลงน้ํากระจายอยูท่ัวไปจะชวยใหสามารถประกอบกิจกรรม
ทางเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมไดด ี
(3) ทรัพยากรปาไม ชว ยใหม แี หลง ตน น้ําลาํ ธาร มคี วามชุมชน้ื ปองกันอุทกภัยไดสวนเนื้อไมใช
เปน วัตถดุ บิ ในการผลติ เฟอรนเิ จอรและอน่ื ๆ ได
(4) ทรัพยากรแร ถา เปน แรกน็ ําไปใชในอุตสาหกรรมหนักประเภทตา ง ๆ ได เชน
แรโลหะ นาํ ไปใชเปน วัตถุดิบในอตุ สาหกรรมเคมี ใชท าํ ปุย ทาํ วัสดกุ อ สราง
แรรัตนชาติ นําไปใชเ ปน เคร่อื งประดับราคาคอนขางสงู
แรเ ชอ้ื เพลิง นําไปใชเ ปน แหลงพลงั งานทส่ี าํ คัญ มที ั้งทีอ่ ยูบ นบกและในทะเล
166
4) การเมอื งการปกครอง ประเทศทปี่ กครองโดยเสรี มักจะเปดโอกาสใหป ระชาชนตดั สนิ ใจดาํ เนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสามารถและโอกาส โดยอาศัยกลไกราคาเปนปจจัยในการเลือกตัดสินใจ
เกิดการแขงขันกันเต็มที่ในการผลิตรายไดของบุคคลยอมแตกตางกันไปตามความสามารถและโอกาสของ
แตละคน สวนประเทศทปี่ กครองระบอบคอมมิวนิสต รัฐเปนผูดําเนินการผลิตซ้ือขายแลกเปล่ียนสินคาและ
บริการ ประชาชนมีรายไดจากคาแรงเทานั้น สําหรับประเทศที่ปกครองแบบสังคมนิยม ประชาชนดําเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจท้ังเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมขนาดยอมโดยควบคุมการผลิตขนาดใหญทําให
ประชาชนมฐี านะไมแ ตกตา งกนั มากนกั
5) ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ประเทศที่ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไดโดยเสรีจะเกิดการ
แขงขันอยางเต็มท่ี ใชความสามารถ ความคิดริเร่ิม มีการลงทุนและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
มสี นิ คา ใหม ๆ และมีสินคา คณุ ภาพดี และสามารถลดการทําลายสภาพแวดลอมได
6) ประชากร ประเทศท่ีมีประชากรเพ่ิมอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
เพราะมคี วามตอ งการในการบริโภคในประเทศมากพชื ผลทผี่ ลติ ไดภ ายในประเทศมีปรมิ าณลดลงไมเพยี งพอกบั
การสงออกทําใหประเทศขาดรายได ขาดดุลการคาและดุลชําระเงิน สุขภาพอนามัยของประชากรไมดี
เพราะขาดอาหาร มกี ารวา งงาน มากข้นึ และการอพยพยา ยถ่นิ จากชนบทสูเมืองมีสูงข้ึน ประเทศท่ีมีลักษณะ
เชนนม้ี กั เปน ประเทศดอยพฒั นาคอ นขา งยากจน
แบบฝก หัดทา ยบท เรอื่ งท่ี 1 : ความรเู บอ้ื งตน เก่ยี วกับเศรษฐศาสตร
คําสั่ง เมือ่ ผูเ รียนศึกษาเรือ่ งความรเู บ้อื งตนเก่ียวกบั เศรษฐศาสตรจบแลว ใหทําแบบฝกหัดตอไปนี้ โดยเขียน
ในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู
แบบฝกหดั ที่ 1 ใหตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. เศรษฐศาสตร หมายถึง อะไรและมคี วามสาํ คญั และท่ีเกย่ี วขอ งกบั ชีวิตประจาํ วนั ของประชาชน
อยางไร
................................................................................................................................................................
2. ระบุปจจยั ทท่ี าํ ใหเ กิดความแตกตางทางเศรษฐกิจ มา 3 - 5 ปจจัย
...........................................................................................................................................................
167
แบบฝกหดั ท่ี 2 ใหศึกษาพฤติกรรมของมนุษยในทางเศรษฐศาสตรและตัดสินวาเก่ียวของกับเศรษฐศาสตร
สาขาใด โดยกาเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ งที่ถูกตอง
พฤติกรรม เศรษฐศาสตรจ ลุ ภาค เศรษฐศาสตรม หภาค
1. การปลอยนํา้ เสียของโรงงานอุตสาหกรรมใน กทม.
2. การวา งงานของประชากรไทย
3. การผลติ ขา วของชาวนาในภาคเหนือ
4. การซอื้ ขาย แลกเปล่ยี นสินคา ในตลาด
5. การเก็บภาษีอากร
6. พฤตกิ รรมของผบู ริโภค
7. ปญ หาเงินเฟอ
8. ปญหาทางการคลังของรฐั บาล
9. การกกั ตนุ สนิ คาของพอ คาคนกลาง
10. รายไดป ระชาชาติ
11. ปญ หาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
12. ปญหาการสงออกลดลง
13. ปญหาการจราจรติดขัดในกรุงเทพมหานคร
14. ความนิยมในการใชสนิ คา ฟุมเฟอ ยของเยาวชน
15. ปญหาการลงทนุ ในประเทศลดลง
168
แบบฝกหดั ท่ี 3 ใหผูเรียนอานเร่อื งตอ ไปน้ี แลวตอบคําถามในตอนตอไป
“ครอบครัวของขวญั ”
ขวัญเปน ผูห ญงิ ตวั เล็ก ๆ คนหน่ึงท่จี าํ เปนตอ งแบกรบั ภาระของครอบครัวเนื่องจากสามีเสียชีวิตดวย
อุบัตเิ หตุขณะทาํ งานกอ สรา ง แมวาขวญั จะดน้ิ รนเพื่อปากทองของครอบครวั อยา งไรกต็ าม แตคาใชจ า ยก็ยังไม
พอเพียงอยนู ่ันเอง เธอมปี ญหาเรอ่ื งคา เชาบา น คานาํ้ คาไฟ จนกระท่งั วันหนึ่งเธอตดั สินใจวาจะเลิกเชาและ
ออกหาทีอ่ ยูใหมแ ตดวยความสงสารเจาของบา นเชา มเี มตตาอนญุ าตใหเ ธอและลกู อยไู ดโดยไมตองเสีย คานํ้า
คาไฟ ชวยหางานใหข วัญทําโดยใหเ ธอไปซักผา จายคา จา งเดือนละ 2,000 บาท เม่อื หักคาเชาบานแลวขวัญ
กจ็ ะเหลือไวใชจายแค 1,200 บาท ซ่ึงมันก็ยังไมเพียงพอสําหรับเธออยูน่ันเอง แตขวัญก็ไมทอถอยหรือส้ิน
หวัง เพราะเธอยังมีลูก ๆ ทตี่ อ งคอยดูแล มภี าระทจ่ี ะตอ งหาเลี้ยงครอบครวั
สิง่ ทีเ่ ธอวาดหวงั อยใู นขณะนี้ คอื การท่ลี ูก ๆ ไดกินอ่มิ นอนหลับ และไดเ รียนหนังสือเหมอื นเดก็ คนอืน่ ๆ
ผูเ รยี นตอบคําถามตอ ไปนี้
1. เพราะเหตใุ ดคนเราจงึ ตองแสวงหารายได ........................................................
2. ในการดาํ รงชวี ิตของคนเรา ตอ งอาศัยปจจยั อะไรบา ง........................................
3. เศรษฐศาสตรไดเขามาเก่ยี วของกบั ชีวติ มนุษยใ นเรอื่ งใดบา ง............................
4. ส่ิงท่ที าํ ใหขวญั มชี วี ิตอยไู ดโดยไมย อทอตออปุ สรรค คอื อะไร.............................
5. ขวญั เปน ตวั อยางทดี่ ีในเรือ่ งอะไรบาง..............................................................
แบบฝก หัดท่ี 4 ใหผ ูเรยี นศึกษาปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจตอไปนี้ แลวตอบคําถาม
ปญ หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ เปนปญ หาทีเ่ กิดขึ้นในทุกสังคม ไมว า จะเปน ประเทศทีใ่ ชระบบเศรษฐกิจ
แบบใด เนือ่ งจากทุกประเทศจะประสบปญหาความไมสมดลุ ระหวา งประชากรและทรพั ยากร ไดแก
1. ปญหาการจดั ระบบการผลติ ไดแ ก
1.1 ปญหาวาจะผลิตอะไรดี (What) เน่อื งจากทรพั ยากรมจี ํากดั แตความตองการของเรามีไม
จํากดั จงึ ตอ งตดั สนิ ใจวา จะผลิตอะไรกอ นหรือหลงั
1.2 ปญหาวาจะผลิตอยางไร (How) คือจะใชวิธีผลิตอยางไรหรือจะใชเทคโนโลยีอะไรท่ีจะ
นาํ มาใชในการผลิต
1.3 ปญหาวา จะผลติ เพอื่ ใคร (For Whom) คอื สินคาทผ่ี ลติ ไดจ ะแบง สรรไปยงั บคุ คล
กลุมใดบาง
การตดั สินปญหาท้ัง 3 นี้ ในประเทศทใ่ี ชร ะบบเศรษฐกจิ ทุนนยิ ม จะปลอ ยใหกลไกราคาเปนเครื่อง
ตดั สิน ในประเทศสังคมนิยมรฐั บาลจะเปน ผตู ัดสนิ ปญ หา สว นในประเทศทีใ่ ชระบบเศรษฐกจิ แบบผสม รัฐบาล
จะกาํ หนดกลไกแหง ราคา มีสว นในการตัดสนิ ปญ หา
2. ปญ หาการเลอื ก เน่ืองจากทรพั ยากรมจี าํ กัด จงึ ตองตดั สนิ ใจวาจะเลือกผลิตสินคาอะไรมากนอย
เทา ใด เพราะตอ งแบง ปจ จยั การผลิตในการผลติ สนิ คา เหลาน้ันไปสูการผลิตสินคาชนิดอื่น ๆ ในการเปรียบเทียบ
169
การผลิตสินคา 2 ชนดิ ในทางเศรษฐศาสตรจะแสดงโดยใชเสน แสดงความสามารถในการผลิตตามหลกั การทีว่ า
เมอ่ื เราผลิตสนิ คาชนิดหนึง่ ไดมาก เรายอ มผลิตสนิ คาอกี ชนิดหน่ึงไดน อยลง
3. ปญหาประชากร ปญ หาประชากรโลกเกิดจากบางประเทศมีประชากรมากเกินไป บางประเทศมี
ประชากรนอ ยเกนิ ไป โทมสั โรเบิรต มลั ทสั ไดเสนอแนวทางควบคุมประชากรโลก โดยการ
3.1 มนุษยห าทางคมุ กําเนดิ
3.2 มีตวั ยับยั้งธรรมชาติ เชน ภยั ธรรมชาติ โรคระบาด สงคราม เปนตน
การมปี ระชากรมาก ไมไ ดเปนผลเสียเสมอไป ผลดีของการมีประชากรมากคือ ทําใหมีแรงงานมาก
ประชากรมีความตองการบริโภคสินคามาก ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว การผลิตสินคาในปริมาณมาก ๆ
ทาํ ใหต น ทุนในการผลติ ต่ํา แตผ ลเสยี ของการมีประชากรมากก็มมี ากกวา กลาวคอื ทาํ ใหประชากรในวยั เด็กมาก
เกินไป ฐานะครอบครัวยากจน และเปนภาระของรัฐในการเลี้ยงดูประชากร กอใหเกิดปญหาทางสังคม
เศรษฐกิจ การเมือง ตามมา
ทุกประเทศจึงตองการใหมปี ระชากรพอดี หมายถึง จํานวนประชากรท่ีมีรายไดเฉลี่ยแตละบุคคล
สูงสุดตามกําลังทรัพยากรท่ีมีอยู มีผลทําใหคนในประเทศนั้นมีมาตรฐานการครองชีพสูง มีการศึกษาดี
มปี ระสทิ ธิภาพในการผลิตและการบริโภค เชน ประเทศญีป่ ุน เปนตน
ผเู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี
1. ปญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ ของทกุ ๆ ประเทศ ไดแ ก ....................................
2. ปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจเกดิ ข้ึนเนือ่ งจาก .................................................
3. การแกป ญ หาการจัดระบบการผลติ ประเทศไทยใช ..........................................ชวยแกปญ หา
4. ปญหาการเลอื ก หมายถงึ .............................................................................
5. เสนแสดงความสามารถในการผลติ หมายถงึ ................................................
6. การทีเ่ สน แสดงความสามารถในการผลิตเคลื่อนมาทางขวามือ หมายความวา
........................................................................................................................
7. ประเทศที่มจี าํ นวนประชากรมากเกินไป ไดแก ..............................................
8. การมปี ระชากรมาก กอใหเกดิ ผลดคี ือ ............................................................
การมีประชากรมาก กอ ใหเกดิ ผลเสีย คือ..........................................................
9. การมีประชากรนอย กอใหเ กดิ ผลเสยี คือ............................................................
10. โทมัส โรเบริ ต มลั ทสั กลา ววา “มนุษยจ ะไมอดตาย ถา ..........................”
170
เรือ่ งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ
ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจ ที่ประกอบดวยหนวยเศรษฐกิจหลาย ๆ หนวยมา
รวมกัน มีกฎเกณฑ ระเบียบแบบแผน และแนวปฏิบัติอยางเดียวกันมีรูปแบบการจัดระบบสังคม เพื่อนํา
ทรัพยากรมาใชใ นการผลติ สนิ คา และบริการ รวมถึงการจาํ แนกแจกจา ยสนิ คา และบริการนัน้ ใหกบั คนในสงั คม
ระบบเศรษฐกจิ ยงั รวมถงึ การจดั ระบบการครอบครองปจจัยการผลิต การควบคุมราคาและคาจางหรือระบบ
ตลาด ซึ่งสิ่งเหลา น้ีจะเปนตวั กําหนดชนดิ ปริมาณ และวธิ ีการผลิต โดยใชเปนเกณฑในการแบงปนสวนสินคา
และบรกิ ารใหก ับคนในสงั คมดว ย
ความหมายระบบเศรษฐกจิ
ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง กลุมบุคคลของสังคมท่ีรวมตัวกันเปน กลุมของสถาบันทางเศรษฐกิจ
ซึ่งยดื ถือแนวปฏิบตั ิแนวทางเดียวกนั ในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพอื่ ใหสามารถบาํ บัดความตอ งการ
แกบคุ คลตาง ๆ ทอ่ี ยรู ว มกันในสังคมนน้ั ใหไ ดรับประโยชนมากทส่ี ุด เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ
ความสาํ คัญของระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ มคี วามสําคัญในฐานะเปนผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของสังคม ซึ่งจะพอสรุป
ได ดงั นี้
1. ความสาํ คญั ในการจดั หาสินคาและบริการ เพื่อสนองความตอ งการของสมาชิกในสังคมนับต้ังแต
ความตองการข้ันพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต จนถึงความตองการในสิ่งอํานวยความสะดวก ระบบเศรษฐกิจ
จงึ กําหนดการแกไขปญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ทาํ ใหท ราบวา จะผลติ อะไร ผลติ อยางไร ผลิตเพอื่ ใคร และจะ
แลกเปลย่ี นหรอื กระจายสนิ คา อยา งไร
2. ความสําคัญในการผลิตสินคาและบริการ โดยการจัดแบงงานใหสมาชิกในสังคมมีการทํางาน
ในอาชพี ทตี่ นถนัด เพอื่ ใหไ ดผลผลติ ทีด่ ีมีประสทิ ธิภาพ เปน การใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิดประโยชน
สงู สดุ
3. ความสําคัญในการกําหนดระเบียบแผนการผลิต ระบบเศรษฐกิจจะกําหนดระเบียบการเปน
เจาของทรัพยส นิ หรือปจจัยการผลิต และควบคุมสถาบันทางเศรษฐกิจใหมีระเบียบแบบแผน เชน ตลาดคน
กลาง ธนาคาร ฯลฯ
4. ความสําคัญในการแกปญหาทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจจะเปนแนวทางแกไขปญหาทาง
เศรษฐกจิ ของประเทศ และดาํ เนนิ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหเ จรญิ กาวหนา
5. ความสําคัญในการกระจายรายไดไปยังสวนตาง ๆ ของสังคม เพ่ือลดชองวางทางเศรษฐกิจ
ระหวางผูที่มีความเขมแข็งและออนแอทางเศรษฐกิจของสังคม เพื่อมาตรฐานการครองชีพที่ดีและการอยู
รวมกันอยางเปนสุขของสมาชกิ ในสงั คม
171
ระบบเศรษฐกิจจึงมีความสําคัญตอสมาชิกของสังคมและผูบริหารประเทศ ในการเลือกใชระบบ
เศรษฐกิจใหเหมาะสมกบั การเมืองการปกครอง จารีต ประเพณี วฒั นธรรม และชีวิตความเปนอยูของสมาชิก
ในสงั คม เพอ่ื ใหไดม าตรฐานการดํารงชีวิตทีด่ ี และมีประสทิ ธภิ าพ
ระบบเศรษฐกิจในปจ จบุ ัน
การแบง ระบบเศรษฐกิจในปจจุบัน โดยพิจารณาจากสภาพความเปนจริงและสถาบันทางเศรษฐกิจ
ประกอบกัน เราอาจแบง ระบบเศรษฐกิจออกเปนระบบใหญ ๆ ได 3 ระบบ คอื
1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม
1.1 ลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม
1) เอกชนเปน เจาของทรัพยสินและปจจัยการผลิต บุคคลมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสวนตัวมี
สิทธทิ ีจ่ ะใชแ สวงหา หรอื จําแนกแจกจายอยา งใดก็ได
2) เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจท้ังในดานการผลิตสินคา
การจําแนกแจกจายหรอื การกระจายสินคา การบริโภค ซึง่ จะทาํ ใหเกดิ การผลิตสินคาใหม ๆ มากขน้ึ และสงผล
ใหสังคมนนั้ เจรญิ กา วหนา
3) มีการแขง ขนั ระหวางเอกชนในการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยา งกวา งขวาง เนือ่ งจาก
ทุกคนมอี ิสระในการผลิต การบรโิ ภค การคา การแขงขัน จึงเปนส่ิงท่ีหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งการแขงขันจะทําใหมี
การเพม่ิ ประสิทธิภาพมากขน้ึ และเปนผลดีตอ ระบบเศรษฐกิจ
4) การผลิตข้นึ อยกู บั กลไกราคา ในระบบนี้ราคาและตลาด จะทําหนาที่ตัดสินปญหาพื้นฐาน
ทางเศรษฐกิจ กลาวคือ การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในเรื่องการผลิต กรรมวิธีในการผลิต การจัดสรร
ผลผลิต จะถูกจดั สรรโดยผา นตลาด ผูท่ีมีอาํ นาจตดั สินใจในเร่ืองน้ี ไดแก ผูผลิตและผูบริโภค โดยทั้งสองฝาย
จะมสี ว นรว มในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจผานกระบวนการปรับตัวของราคาผา นกลไกราคา
5) มีกําไรเปน แรงจูงใจในการผลติ จดุ มงุ หมายสงู สุดของการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
คือ การพยายามแสวงหาผลประโยชนในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆ ใหไดมากที่สุด โดยผูผลิตมี
จุดมุง หมายเพือ่ แสวงหากาํ ไรสงู สดุ ในขณะทผี่ บู รโิ ภคก็จะพยายามใหตนเองไดร ับความพอใจสงู สุดจากการซื้อ
สนิ คาและการบริการมาบรโิ ภคในแตละคร้ัง
6) มกี ารใชท ุนและเทคโนโลยีท่ีกาวหนา จากการท่ีเอกชนมีการแขงขันกันอยางกวางขวาง
ผผู ลติ แตละรายตา งเนนการผลิตสินคาท่ดี มี ีคณุ ภาพเหนอื คแู ขง ขนั จงึ นาํ ทนุ และเทคโนโลยีที่กาวหนามาใชใน
การผลิต สงผลใหประเทศชาติเจรญิ กา วหนามากขน้ึ
7) รัฐไมเขาแทรกแซงการผลิต รัฐบาลไมเขาควบคุมหรือแทรกแซงใด ๆ ปลอยใหกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจดําเนนิ ไปอยา งเสรี
172
1.2 ขอ ดีของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม
1) เกิดประโยชนตอผูบริโภค เพราะมีการแขงขัน ทําใหมีสินคาท่ีมีคุณภาพและราคา
ไมส งู มาก
2) เกิดประโยชนตอผูผลิต เพราะมีเสรีภาพในการผลิตทําใหเอกชนมีความคิดริเร่ิม
สรางสรรคทจ่ี ะผลิตสนิ คา ใหม ๆ และมคี ณุ ภาพท่ีดเี พ่ือสนองความตองการผบู รโิ ภค
3) ลดภาระของรัฐบาลในการเขา ไปดําเนินธุรกจิ ดวยตนเอง
4) การมีเสรภี าพในการประกอบธรุ กิจอยางเต็มที่ กอ ใหเ กดิ การแขง ขันอยางเสรี ทําใหเกิด
ประสทิ ธภิ าพสงู สุดในการผลติ
5) ทาํ ใหเกิดการสะสมความมั่งค่ังในรูปทุนตาง ๆ ซ่ึงเปนแรงจูงใจใหผูประกอบการขยาย
ความมง่ั ค่งั ออกไปและพฒั นาความสามารถในการสรา งสรรคเ ทคโนโลยตี า ง ๆ ตอไป
1.3 ขอเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม
1) กอใหเ กดิ ปญ หาความเหล่ือมลํ้า อันเนื่องจากความสามารถท่ีแตกตา งกันในแตล ะบุคคล
โดยพื้นฐาน ทําใหค วามสามารถในการหารายไดไ มเทากัน ผูที่มีความสามารถสูงกวาจะเปนผูไดเ ปรียบผูท ่ี
ออ นแอกวาในทางเศรษฐกจิ
2) สินคา และบริการท่ีมีลักษณะของการผูกขาด โดยธรรมชาติหรือสินคา และบริการ
สาธารณะ ซึ่งไดแ ก บริการดานสาธารณูปโภค (นํ้าประปา ไฟฟา โทรศัพท ) โครงสรางพื้นฐาน (ถนน เขื่อน
สะพาน ) จะเหน็ ไดว าสนิ คาและบรกิ ารดงั กลา วสว นใหญจะตอ งใชเ งินลงทนุ มาก เทคโนโลยที ที่ นั สมยั เสย่ี งกบั
ภาวะการขาดทุน เนือ่ งจากมรี ะยะการคืนทุนนาน ไมคุม คา ในเชงิ เศรษฐกิจ ทําใหเ อกชนไมค อ ยกลา ลงทุนท่ีจะ
ผลิต สงผลใหรฐั บาลตองเขา มาดาํ เนินการแทน
3) การใชร ะบบการแขง ขนั หรือกลไกลราคาอาจทาํ ใหเกดิ การใชทรพั ยากรทางเศรษฐกิจ
อยา งสิ้นเปลือง เชน การแขงขันกันสรางศูนยก ารคา เพราะคิดวา เปนกิจการที่ใหผลตอบแทนหรือกําไรดี
ซงึ่ ศนู ยการคาเหลา นเ้ี มอ่ื สรางข้นึ มามากเกินไปกอ็ าจไมม ผี ซู ือ้ มากพอ ทําใหป ระสบกับการขาดทนุ เปน ตน
2. ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม เปน ระบบเศรษฐกิจที่ใหเ สรภี าพเอกชนในการดาํ เนนิ ธุรกจิ ขนาด
เล็กและขนาดกลาง รฐั เขาควบคุมการผลติ และเปนเจาของปจ จัยการผลิตที่เปนทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อลด
ชองวา งทางเศรษฐกิจและจดั สวัสดิการใหส ังคม
2.1 ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม มลี ักษณะดงั น้ี
1) เอกชนมีสิทธใ์ิ นทรัพยส ินหรือธุรกิจขนาดยอ มได
2) รัฐเปน ผูดาํ เนินการในเรอ่ื งการใหบ ริการสาธารณปู โภคตาง ๆ เชน ประปา ไฟฟา
อตุ สาหกรรมทใี่ ชทรพั ยากรธรรมชาติเปน วัตถุดบิ กจิ การธนาคาร เปนตน
3) มีการใชร ะบบภาษีเพอ่ื กระจายทรัพยสินและรายได
4) รฐั ใหบ รกิ ารทางสงั คมอยางกวา งขวาง
5) เอกชนดําเนนิ การธรุ กิจในรูปของสหกรณ
6) กลไกราคามีบทบาทแตไ มใ ชสวนสาํ คญั ของระบบ
173
การทรี่ ฐั เขา ไปควบคมุ และดําเนนิ การใชทรพั ยากรธรรมชาติ ทําใหผ ลประโยชนเ กิดกบั ประชาชนเตม็ ท่ี
ท้ังยังเปนการลดชองวางทางเศรษฐกิจของบุคคลในสังคมลง ประชาชนมีเสรีภาพทางการเมืองและไดรับ
สวสั ดิการจากรัฐ ในทางธุรกิจเอกชนท่ีเปนผูผลติ ขาดแรงจูงใจในการประกอบธรุ กจิ
2.2 ขอ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม
จุดเดนของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมก็คือ เปนระบบเศรษฐกิจที่ชวยลดปญหาความ
เหลือ่ มลํ้าทางฐานะและรายไดของบุคคลในสังคม ภายใตระบบเศรษฐกิจนี้เอกชนจะทําการผลิตและบริโภค
ตามคําสง่ั ของรฐั ผลผลิตทผ่ี ลติ ข้นึ มาจะถูกนําสง เขาสว นกลาง และรฐั จะเปนผูจัดสรรหรือแบงปน สินคาและ
บริการดังกลา วใหป ระชาชนแตละคนอยา งเทาเทยี มกนั โดยไมมีการไดเปรียบเสยี เปรียบ
2.3 ขอ เสียของระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม
ภายใตระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม เนอื่ งจากปจ จยั การผลิตพนื้ ฐานอยูในการควบคมุ ของ
รฐั บาลทําใหขาดความคลอ งตวั การผลิตถูกจํากัดเพราะตอ งผลิตตามที่รัฐกําหนด โอกาสท่ีจะขยายการผลิต
หรือพฒั นาคณุ ภาพการผลติ เปนไปคอ นขา งลาํ บาก ทาํ ใหก ารใชท รัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเปน ไปอยา งไมมี
ประสิทธภิ าพ ขาดการแขง ขนั การผลิต ทาํ ใหสินคาไมม ีคณุ ภาพเพราะเปนการผลิตผูกขาด บริการจัดการผลิต
โดยรัฐบาล
3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เปนระบบเศรษฐกิจท่ีใหเ สรีภาพเอกชนในการดําเนนิ ธุรกจิ เปน สวนใหญ
รัฐบาลเขาแทรกแซงกิจกรรมบางอยาง เชน เขาแทรกแซงการผลิตและการตลาดเฉพาะที่จําเปน เพ่ือการ
กระจายรายไดท ี่เปน ธรรม เปน ตน
3.1 ลกั ษณะสาํ คญั ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม
1) เอกชนมสี ิทธ์ใิ นทรัพยสินและปจ จยั การผลิต
2) รฐั มีบทบาทเพ่ือดําเนินการผลิตบางอยางท่ีจําเปน เชน การรถไฟ ขนสงมวลชน ไฟฟา
โทรศพั ทใ นรปู ของรัฐวิสาหกิจ เปนตน
3) เอกชนเปน ผวู างแผนและดําเนินการผลิต
4) การผลติ มีการแขงขัน โดยผานกลไกราคาแตร ัฐแทรกแซงไดเมื่อเกิดปญหา ระบบเศรษฐกิจ
แบบผสมชว ยแกไขปญ หาการผูกขาด การแทรกแซงเศรษฐกิจของรัฐเฉพาะที่จําเปน ประชาชนมีเสรีภาพทาง
การเมอื ง แตก ิจกรรมบางอยา งที่รฐั ดําเนินการเองอาจขาดทนุ และขาดประสิทธิภาพได
ขอ ดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบผสม
เปน ระบบเศรษฐกิจท่ีคอนขางมีความคลองตัว กลา วคือ มีการใชกลไกรัฐรวมกับกลไกราคาในการ
จัดสรรทรพั ยากรของระบบ กจิ การใดท่กี ลไกราคาสามารถทาํ หนาที่ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ รัฐก็จะใหเอกชน
เปน ผดู ําเนินการโดยการแขง ขนั แตถ ากิจการใดที่กลไกลราคาไมสามารถทําหนา ที่ไดอ ยางมีประสิทธิภาพรัฐ
ก็จะเขา มาดําเนนิ การแทน จะเห็นไดวาเศรษฐกิจแบบผสมเปนระบบเศรษฐกจิ ทผี่ สมผสาน กลา วคือ รวมขอ ดี
ของทั้งระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยมเขาไวดวยกัน อยา งไรก็ตามระบบเศรษฐกิจดังกลา วก็มี
ขอเสยี ดว ย เชน กนั
174
ขอ เสียของระบบเศรษฐกจิ แบบผสม
1) การแกไขปญ หาชอ งวางทางสังคมและปญหาความเหลอื่ มลาํ้ ทางรายได มกั ไมม ปี ระสิทธิภาพ
2) นายทุนมอี ิทธิพลเขม แข็งทางดานเศรษฐกิจและการเมือง โดยเปนผูสนับสนุนพรรคการเมือง
ตลอดจนไดร บั ผลประโยชนจ ากพรรคการเมืองที่ตนสนบั สนนุ
3) การกาํ หนดนโยบายและการใชอํานาจตาง ๆ ข้นึ อยูกบั รฐั บาล จึงทําใหน กั ธรุ กิจขาดความมนั่ ใจ
ในการลงทนุ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในปจจบุ ัน
ระบบเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบัน เปนระบบผสมที่เนนทุนนิยม โดยมีรัฐบาลเปนผูวางแผน
พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม เปนเจาของปจ จัยการผลิต และเปนผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เฉพาะที่เปน
พนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ สําหรับเอกชนมเี สรภี าพในการผลติ และการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ เปนสวนใหญ
มีสิทธิเปนเจาของทรัพยสินและปจจัยการผลิต มีการแขงขัน และมีกลไกตลาดเปนเครื่องมือในการจัดสรร
ทรพั ยากร โดยรัฐบาลจะแทรกแซงการผลติ และการตลาดเมอื่ จาํ เปน เชน ควบคุมราคาสนิ คาเม่อื เกดิ ภาวะขาด
แคลน หรือประกันราคาขา วเปลือกเพื่อชว ยเหลือเกษตรกรในกรณรี าคาขา วตกตํา่ เปน ตน การดาํ เนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกจิ ของรัฐบาลจะเขามามีบทบาทเฉพาะเทาทจี่ าํ เปน เทาน้ัน เชน
1) ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันประเทศ ความสงบภายใน และการใหความยุติธรรม เชน
กิจการดานการทหาร ตํารวจ และศาล เปน ตน
2) ดําเนินการดานเศรษฐกิจพื้นฐาน เชน การสรางถนน สะพาน เข่ือน การสํารวจเพื่อหา
ทรพั ยากรธรรมชาติ เปนตน
3) ควบคุมและดําเนินการดานการศึกษาและสาธารณสุข โดยใหการศึกษาแกเยาวชน ควบคุม
การจัดการศกึ ษาของเอกชน จดั การเก่ียวกบั การรักษาพยาบาลแกป ระชาชน
4) ดาํ เนนิ กจิ การสาธารณปู โภคท่ีสําคัญ เชน การรถไฟ การไฟฟา การประปา การส่ือสารไปรษณีย
การจัดเก็บขยะมูลฝอย เปนตน เพราะเปนกิจการที่ประชาชนสวนใหญตองใชรวมกัน สวนกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจอื่น ๆ นอกเหนือจากรัฐดําเนินการ เอกชนมีสิทธิที่ดําเนินการอยางเสรี โดยมีกลไกแหงราคาเปน
เครื่องชีน้ าํ
นอกจากนร้ี ัฐบาลยังใชร ะบบภาษใี นอตั รากา วหนา เพื่อกระจายรายไดและลดความเหลื่อมล้ําในรายได
ตลอดจนจัดใหม ีการสวสั ดิการแกป ระชาชน ผูมรี ายไดนอย เชน การประกันสังคม กองทุนเล้ียงชีพ 30 บาท
รักษาทกุ โรค การกําหนดคาจา งแรงงานขนั้ ตาํ่ เพ่ือปอ งกันการเอาเปรยี บผูใชแรงงาน การสรางงานในชนบท
การสงเคราะหค นชรา คนพิการ เปน ตน
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ
นกั เศรษฐศาสตรจ ะใชร ายไดประชาชาตเิ ปน เครื่องมอื ในการวัดและวเิ คราะหกิจกรรมทางเศรษฐกจิ วา
มคี วามเจรญิ เตบิ โตหรอื ตกตา่ํ ปญ หาทเ่ี กิดข้นึ และแนวทางแกไ ขรายไดป ระชาชาติจึงเปนตัวเลขท่ีแสดงถงึ
175
ฐานะเศรษฐกจิ ของประเทศการศึกษาการเปลยี่ นแปลงของรายไดประชาชาตจิ ะทําใหท ราบถึงความเคลอื่ นไหว
ในทางเศรษฐกจิ องคก ารสหประชาชาติ สนับสนุนใหประเทศทั่วโลกจดั ทาํ รายไดป ระชาชาติเพ่อื เปน มาตรฐาน
ทางเศรษฐกิจใชวเิ คราะหแ ละเปรยี บเทียบกับประเทศตาง ๆ
1. ความหมายของรายไดป ระชาชาติ
รายไดประชาชาติ หมายถึง มูลคาที่เปนตัวเงินของสินคาและบริการข้ันสุดทายท่ีประชาชาติของ
ประเทศผลิตไดใ น 1 ป
รายไดประชาชาติของไทย หมายถึง ผลรวมของคาเชา คาจาง เงินเดือน ดอกเบ้ีย และกําไรที่
ประชาชนคนไทยผลิตสนิ คาและบรกิ ารในรอบ 1 ป
รายไดประชาชาติของไทย เร่ิมจัดทําในป พ.ศ. 2493 โดยกองบัญชีรายไดประชาชาติ สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี โดยนําเอารายไดท้ังหมดท่ีเกิด
จาก คา เชา คา จาง ดอกเบยี้ และกาํ ไร ของประชาชนท่ผี ลติ สนิ คา และบรกิ ารในรอบ 1 ป มารวมกัน
2. ความสาํ คญั ของรายไดป ระชาชาติ
รายไดประชาชาติเปนตัวเลขท่ีช้ีใหเห็นวาในปนี้นั้นระบบเศรษฐกิจสามารถผลิตสินคาและบริการ
รวมไดมากนอยเพียงใด อยางไร บญั ชรี ายไดประชาชาตจิ ึงมคี วามสําคัญและเปนประโยชน ดงั น้ี
1) รายไดป ระชาชาติ เปนเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เปนตัวบอกระดับความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ โดยมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน เชน ถารายไดประชาชาติสูงขึ้น แสดงวาเศรษฐกิจ
ในภาพรวมของประเทศเจริญรงุ เรืองข้นึ ในทางตรงขา มถา รายไดประชาชาติลดลง แสดงวาเศรษฐกิจถดถอย
เขาสภู าวะตกตาํ่
2) รายไดประชาชาติบอกใหทราบการผลิตในแตละสาขามีมูลคาเทาใด ผลผลิตสวนใหญมาจาก
สาขาใด ทําใหทราบถงึ โครงสรา งการผลิตของประเทศนนั้ วา เปน เกษตรกรรมหรืออตุ สาหกรรมนอกจากนี้ทาํ ให
ทราบรายไดสวนใหญว าอยูในประเภทใด ระหวาง คาเชา คาจาง ดอกเบ้ียและกําไร ตลอดจนรูขอมูลการใช
จายสวนใหญข องประชาชน เปนการใชจา ยในลกั ษณะใด เพ่ือการอปุ โภค บริโภค หรอื การลงทนุ
3) ตัวเลขรายไดป ระชาชาติ สามารถใชเปรยี บเทยี บฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันกับ
ระยะเวลาทผ่ี านมา ขณะเดียวกนั สามารถใชเปรยี บเทียบฐานะทางเศรษฐกิจระหวางประเทศไดอ ีกดว ย
4) ตัวเลขรายไดป ระชาชาติ สามารถใชเ ปนเครอื่ งมอื สาํ คัญในการกาํ หนดนโยบายและการวางแผน
เศรษฐกิจของประเทศในอนาคต
3. ประเภทของรายไดป ระชาชาติ
รายไดประชาชาติ แบงออกได ดังนี้
3.1 ผลิตภัณฑภายในประเทศเบ้ืองตน (GDP: Gross Domestic Product) คือ มูลคารวม
ของสินคาและบริการขั้นสุดทายที่ผลิตไดภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง โดย GDP จะคิดจากรายไดของ
ประชาชนทุกคนทที่ าํ รายไดในประเทศและรวมถึงรายไดของชาวตางชาติที่ทํารายไดในประเทศน้ันดวย เชน
GDP ของประเทศไทยคิดจากรายไดของคนไทยทั้งหมดท่ีทําไดในประเทศบวกกับรายไดที่ชาวตางประเทศ
176
ทําไดใ นประเทศไทยรวมทั้งการลงทนุ และผลผลิตตาง ๆ ของชาวตา งประเทศที่ทาํ การผลิตในประเทศไทยดวย
เปน ตน
3.2 ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GNP : Gross National Product ) คือ มูลคารวมของ
สนิ คาและบรกิ ารขัน้ สุดทา ยท่ีประชาชนผลิตได ท้ังในประเทศและตางประเทศ ในระยะเวลาหน่ึง เชน GNP
ของไทยเกดิ จากรายไดข องประชาชนไทยในประเทศท้ังหมดรวมทัง้ รายไดจากคนไทยท่ไี ปทํางานหรือลงทุนใน
ตา งประเทศ แลว สง รายไดก ลบั ประเทศไทย เปนตน
3.3 ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (NNP : Net National Product) คือ มูลคารวมของสินคา
และบริการข้ันสุดทายทั้งหมดหักดวยคาเส่ือมราคาของการใชทุน ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (NNP) จึงเปน
ผลิตภัณฑรวมตามราคาตลาด จงึ รวมถงึ คาเชา คา จาง ดอกเบี้ย และกาํ ไร รวมท้งั ภาษีทางออมในทางธุรกิจดว ย
3.4 รายไดประชาชาติ (NI : National Income) คือ ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ ท่ีคิดตาม
ราคาปจจัยการผลิต ไดแก คาใชจายโดยตรงในการผลิต คือ คาจาง คาเชา ดอกเบ้ีย และกําไร โดยหักภาษี
ทางออ มทางธุรกจิ ออก
3.5 รายไดตอหัว (PCI : Per Capita Income) คือ รายไดท่ีเกิดจากมูลคาของสินคาและ
บรกิ ารในราคาตลาด หารดว ยจาํ นวนประชากรของประเทศทั้งหมด
4. ประโยชนข องการศกึ ษาเกย่ี วกบั รายไดประชาชาติ
4.1 ใชในการวเิ คราะหภ าวะเศรษฐกิจของประเทศ ระดับรายไดประชาชาติเปนเครื่องชี้ภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศวาเจริญกาวหนาหรือตกต่ํา และสามารถเปรียบเทียบอัตราความเจริญกาวหนาทาง
เศรษฐกจิ วามอี ตั ราการเพม่ิ ของผลผลิตมากกวา อัตราการเพ่มิ ของประชากรหรือไม
4.2 ใชใ นการเปรยี บเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชน ถารายไดเฉล่ียตอบุคคลเพ่ิม
สูงขน้ึ ยอ มหมายถงึ ประชาชนมกี ารกนิ ดีอยดู ีมากขึน้ หรือมีมาตรฐานการครองชพี สูงขน้ึ
4.3 เปน เครอื่ งมือในการกาํ หนดนโยบายเศรษฐกจิ ของประเทศ ตัวเลขรายไดป ระชาชาติชวยให
ทราบภาวะเศรษฐกิจในปจ จุบนั และยงั เปน เคร่ืองมอื สาํ คัญในการกําหนดนโยบายหรือการวางแผนเศรษฐกิจ
ของประเทศไทยในอนาคต
การกาํ หนดคา จา งและราคาในระบบเศรษฐกิจ
1. การกําหนดคา จาง
คา จาง คือ คาท่จี า ยใหแ กผ ูใชแ รงงาน เนื่องจากการทํางานอยางใดอยางหนงึ่ คา จางที่ไดร ับ
จึงเปน ทมี่ าของรายไดและเม่ือนํามารวมกนั ทงั้ หมด กจ็ ะเปน สว นหนึง่ ของรายไดประชาชาติ คา จาง
แบง ออกเปน 2 ลักษณะ คือ
1. คา จา งทีเ่ ปน ตวั เงิน (Money Wage) คอื คาจางท่ีไดรับจากนายจางที่จายให อาจเปนรายวัน
รายสปั ดาหห รอื รายเดือน
2. คาจางที่แทจริง (Real Wage) คือ การนําคาจางท่ีเปนตัวจริงลบดวยอัตราเงินเฟอตอป
ซง่ึ อัตราเงินเฟอ สามารถคาํ นวณไดจ ากดัชนรี าคาผบู ริโภค
177
การกําหนดอัตราคาจางจะขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของแรงงาน คือ ถาอุปสงคของแรงงานมีมาก
ความตอ งการจางแรงงานมาก อัตราคา จา งจะสงู ขน้ึ แตถ า อุปทานของแรงงานมีมาก จะทําใหคาจา งลดลง
2. การกําหนดราคา
ปจจัยที่เก่ียวของกับการกําหนดราคาของสินคาและบริการ คือ กลไกของตลาด หรือปริมาณ
ความตอ งการในการซอื้ และปริมาณความตองการในการขายสินคาชนิดน้ัน นอกจากนย้ี งั ขึน้ อยูกบั ตน ทุน
การผลติ กลาวคอื ถาตนทนุ การผลิตสงู ขน้ึ จะทําใหร าคาสินคา สูงข้นึ ตามไปดวย
กลาวโดยสรปุ การกําหนดคาจา งและราคาจะแตกตางกนั ตามระบบเศรษฐกจิ ถา เปน ระบบเศรษฐกจิ
แบบทนุ นิยม การกําหนดคาจางและราคาเปนไปตามกลไกตลาด สวนระบบเศรษฐกิจแบบ สังคมนิยม และ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม รัฐบาลสามารถเขาแทรกแซงการกําหนดคา จางและราคา เพ่ือสรางความเปนธรรมใน
ระบบเศรษฐกิจ เชน รัฐบาลเขาไปแทรกแซงการการกาํ หนดคา จางและราคา เพ่อื สรา งความเปน ธรรมในระบบ
เศรษฐกิจ ไดแก การประกาศปรับคาแรงขั้นตาํ่ ตามดัชนีราคาผบู รโิ ภค เพอ่ื ดงึ คาจา งแรงงานใหสูงขึน้ การเขา ไป
แทรกแซงการกําหนดราคาสินคา โดยการกาํ หนดราคาข้ันต่าํ และการกําหนดราคาขัน้ สงู เปน ตน
ราคาข้นั ต่ํา
ราคาข้ันตา่ํ หมายถึง ราคาตํา่ สุดที่ถูกกําหนดขึ้นมาในระดับท่ีสูงกวาราคาดุลยภาพ อันเกิดจากการ
ทํางานของกลไกตลาดทีร่ ฐั บาลเขา ไปแทรกแซง ซง่ึ มักจะใชก บั สินคาในสาขาเกษตรกรรม เพ่ือเพ่มิ รายไดใ หแก
เกษตรกร ทาํ ใหเ กษตรกรนําผลผลิตออกขายในตลาดไดมากขึน้
ราคาขนั้ สูง
ราคาขัน้ สงู หมายถงึ ราคาสูงสดุ ที่ถูกกําหนดข้ึนมาในระดับที่ตํ่ากวาราคาดุลยภาพ อันเกิดจากการ
ทาํ งานของกลไกตลาดท่ีรัฐบาลเขาไปแทรกแซงโดยการควบคุมราคาสินคา บางชนิด เพ่ือเปนการปองกันไมให
ราคาสินคา ชนดิ นัน้ สงู เกนิ ไป
ปญหาของระบบเศรษฐกิจไทยและแนวทางแกไข
เนื่องจากระบบเศรษฐกิจไทยเปดโอกาสใหเอกชนสามารถเปนเจาของปจจัยการผลิตและสามารถ
ดาํ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ไดอยางเสรี การผลิตสนิ คา และบริการตาง ๆ จึงมขี ้นึ อยา งมากมาย กอ ใหเ กิดการ
แขงขัน สงผลใหผูผลิตมีแรงกระตุนในการที่จะปรับปรุงเทคนิคการผลิต เพ่ือใหไดสินคาที่มีคุณภาพสูงและ
ตน ทุนต่าํ ผผู ลติ รายใดที่ไมสามารถผลิตสนิ คา ทีม่ ีราคาตํา่ แตค ณุ ภาพสงู ไดก จ็ ะขาดทุนและออกจากระบบการ
ผลิตสินคานั้น ๆ ไป คงเหลือแตผูผลิตที่มีคุณภาพ ทําใหผูบริโภคไดรับผลประโยชนสูงสุดจากการแขงขัน
ดงั กลา ว แตสิ่งท่ีเปนผลเสยี ตามมากค็ อื เกดิ การผูกขาดและกอบโกยผลประโยชนใสต วั มากข้นึ กอใหเกดิ ความ
เหล่ือมล้ําและเกิดชองวางข้ึนในสังคม น่ันคือ คนที่มีฐานะรํ่ารวยก็จะรวยมากข้ึน สวนคนที่มีฐานะยากจน
กไ็ มไดมคี วามเปนอยูท่ีดขี ้นึ กวา เดิม ซ่งึ รัฐบาลก็ไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว จะเห็นไดจากรายละเอียดของ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเนนวัตถุประสงคในการกระจายรายไดใหมีความเทาเทียมกัน
มากข้ึน โดยการใชมาตรการและนโยบายดานการเงิน – การคลัง เพื่อแกปญหาดังกลาว เชน การกําหนด
คาแรงขั้นตํ่า การเพ่ิมอัตราภาษีสําหรับสินคาฟุมเฟอย การปรับอัตราภาษีเงินได ภาษีทรัพยสิน กฎหมาย
178
ปองกนั การผูกขาด เปน ตน โดยเฉพาะมาตรการทางดานภาษีน้ัน รัฐบาลสามารถนําเงินท่ีไดจากการเก็บจาก
ผูท ม่ี ฐี านะรา่ํ รวยมากระจายใหก บั ผทู ีม่ รี ายไดนอยในรูปของสวสั ดกิ ารตาง ๆ เชน การจัดต้งั โรงเรยี นของรฐั บาล
การสรางท่ีอยูอาศัยและการใหการรักษาพยาบาลฟรีแกผูท่ีมีรายไดนอย การจัดใหมีการประกันสังคมกับ
แรงงาน การลดดอกเบย้ี สินเชอ่ื เพ่ือการเกษตร เปน ตน
สรุป
ระบบเศรษฐกิจแบง ออกเปน 3 ระบบ ใหญ ๆ คอื ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมระบบเศรษฐกิจแบบ
สงั คมนยิ ม และระบบเศรษฐกิจแบบผสม ประเทศไทยใชระบบผสมท่ีเนนทุนนิยม โดยรัฐบาลผลิตสินคาและ
บริการเฉพาะโครงสรางพื้นฐานหรือสาธารณูปโภค สวนตัวเลขรายไดประชาชาติ แสดงใหเห็นถึงความ
เจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
แบบฝก หัดทา ยบทเรื่องที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ
คําส่งั : เม่ือผูเ รยี นศกึ ษาเรอื่ งระบบเศรษฐกิจจบแลว ใหท ําแบบฝกหัดตอ ไปน้ี โดยเขียนในสมุดบันทึก
กิจกรรมการเรยี นรู
แบบฝกหัดที่ 1 ใหผูเรียนสรางแผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางระบบการปกครอง และระบบเศรษฐกิจ
และระบุวาระบบการปกครองแตละแบบสามารถจัดระบบเศรษฐกิจแบบใดไดบ า ง
179
แบบฝกหดั ท่ี 2 บอกขอดแี ละขอ เสียของระบบเศรษฐกิจตอไปน้ี
ระบบเศรษฐกิจ ขอดี ขอเสยี
1. ทุนนิยม 1..................................... 1.....................................
2..................................... 2.....................................
3..................................... 3.....................................
2. สงั คมนิยม (ประชาธิปไตย) 1..................................... 1.....................................
2..................................... 2.
3..................................... 3.....................................
สังคมนิยม 1..................................... 1.....................................
2..................................... 2.....................................
3..................................... 3.....................................
3. แบบผสม 1..................................... 1.....................................
2..................................... 2.....................................
3..................................... 3.....................................
แบบฝก หดั ที่ 3 ใหผเู รียนวิเคราะหล กั ษณะทีก่ าํ หนดใหวา เปนระบบเศรษฐกจิ ใด โดยกาเครอ่ื งหมาย
√ ลงใน เรอ่ื งระบบเศรษฐกิจท่ีคดิ วาถูกตอง
ระบบเศรษฐกิจ
ลักษณะ
แบบผสม
สงั คมนิยม
คอมมิวนสิ ต
สงั คมนยิ ม
ประชาธปิ ไตย
ทุนนยิ ม
เอกชนมเี สรภี าพในการผลติ และบริโภคอยางเต็มท่ี
รฐั เปนผูวางแผนกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทงั้ หมด
รัฐเขา ไปดําเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในสว นที่
เก่ียวขอ งกบั ประโยชนส ว นรวม
มเี ปาหมายเพอื่ ผลกําไร
180
ระบบเศรษฐกิจ
ลักษณะ แบบผสม
มีเปา หมายเพือ่ สรางความเปนธรรมในสงั คม สงั คมนิยม
มีเปา หมายเพอ่ื ความอยดู กี นิ ดีของสงั คม คอมมิวนสิ ต
เอกชนมกี รรมสิทธิใ์ นทรัพยส ินอยางเต็มท่ี สงั คมนยิ ม
ไมเปดโอกาสใหม ีการแขง ขัน ประชาธปิ ไตย
กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ข้นึ อยูก ับกลไกแหงราคา
การผลิตอะไรเทา ใดขนึ้ อยกู ับรฐั บาลเทา นน้ั ทุนนยิ ม
รัฐและกลไกแหง ราคา มีสวนในการกําหนดวา
จะผลิตอะไร เทาใด
เปน ระบบที่ประเทศสว นใหญใ ช
เปนระบบทพ่ี ฒั นามาจากลิทธิมารกซสิ ต
รั ฐ เ ก็ บ ภ า ษี ป ร ะ ช า ช น ใ น อั ต ร า สู ง เ พื่ อ จ า ย เ ป น
สวัสดิการสังคม แตใหเ สรภี าพในการบรโิ ภคเตม็ ท่ี
เปนระบบที่กอใหเกิดความแตกตางดานรายไดมาก
ท่ีสุด
เปน ระบบที่แกป ญ หาความแตกตา งดา นรายไดโดยไม
จํากดั เสรภี าพของบคุ คล
เปนระบบทมี่ ีความแตกตา งดานรายไดน อ ยที่สุด
มีการใชทรัพยากรส้ินเปลอื งมาก
มีการวางแผนจากสว นกลาง
จาํ กดั กรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส นิ และปจจยั การผลิตบา ง
181
เรอื่ งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ
1. การผลิต (Production)
1. ความหมายของการผลิต
การผลิต หมายถึง การสรางเศรษฐทรัพยเพ่ือบําบัดความตองการของมนุษยหรือการนําเอา
ปจจัยการผลิตตาง ๆ ไดแก ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูประกอบการไปผานกระบวนการผลิต หรือกรรมวิธีตาง ๆ
จนเกดิ เปนสินคา และการบริการเพ่ือบําบัดความตองการของมนุษยในลักษณะที่เนนการสรางประโยชนทาง
เศรษฐกิจขึ้นมาใหมไดแ ก
1) ประโยชนท่เี กิดจากการเปล่ียนรูป (Form Utility) เปนประโยชนที่เกิดจากการนําสินคา
มาแปรรูปเพ่อื เพมิ่ ประโยชนใชสอยมากขน้ึ เกิดความหลากหลายในการผลติ มากขน้ึ ราคาของสินคาสูงขนึ้ กวา
วัตถุดิบเดิมที่นํามาผลิต เชน การเปล่ียนเหล็กเปนมีด เปล่ียนไมเปนโตะ เกาอี้ เปล่ียนไมไผเปนเครื่อง
จกั สานตาง ๆ เปน ตน
2) ประโยชนท่ีเกิดจากการเปล่ียนสถานท่ี (Place Utility) เปนประโยชนที่เกิดจากการ
ขนยายสินคาจากแหงหนึ่งไปยังอีกแหงหน่ึงเพ่ือใหเกิดประโยชนใชสอยมากข้ึน เชน การขนถายสินคาจาก
โรงงานไปยังรานคาปลกี เปนตน
3) ประโยชนที่เกดิ จากการเปลยี่ นเวลา (Time Utility) หมายถงึ การเลอื่ นเวลาในการบรโิ ภค
สินคาออกไป เน่ืองจากสินคาบางอยางอาจมีขอจํากัดในเรื่องของฤดูกาล ไดแก ผลไม ผักตาง ๆ เปนตน
ซึ่งถานาํ มาผลิตเปนผลไมห รอื ผกั กระปอ ง จะสามารถนาํ มาถนอมไวบ ริโภคนอกฤดกู าลได หรือสินคาบางอยาง
ท่ีผูบริโภคตองการสะสมไวก ็เปน การสรา งประโยชนที่เกิดจากการเลื่อนเวลาเชนเดียวกัน เชน การเก็บสุราไว
นาน ๆ การสะสมเครือ่ งลายคราม พระเคร่ือง หรอื ของเกาตา ง ๆ เปนตน
4) ประโยชนท เ่ี กิดจากการเปลี่ยนโอนกรรมสิทธิ์ (Possession Utility) เปน ประโยชนที่เกิด
จากการเปล่ียนแปลงกรรมสทิ ธ์ิหรอื เจาของ ซึง่ สินคาแตละชนิดจะมกี ารเปลย่ี นกรรมสทิ ธ์ิหลายทอดกวาจะถึง
ผูบริโภค กลาวคือ กรรมสิทธิ์จะเปล่ียนจากผูบริโภคไปยังพอคาขายสง พอคาขายปลีก หรือไปยังนายหนา
จนถึงผบู ริโภค เชน การจัดสรรบา น ทด่ี นิ หรือการซอ้ื ขายอสังหาริมทรัพยตาง ๆ เปน ตน
5) ประโยชนท เ่ี กิดจากการใหบรกิ ารตาง ๆ (Service Utility) เปนประโยชนท ่เี กดิ จาก
ผูใหบ รกิ ารในสาขาวชิ าชพี ตา งๆ เชน ไปหาหมอ ไปดคู อนเสริ ต หรอื ใหบ รกิ ารในดานการคมนาคมขนสงตาง ๆ
เปน ตน
2. สินคา และบรกิ าร (Goods and Services)
สนิ คาและบรกิ าร คอื ส่งิ ทไ่ี ดจากการทาํ งานรวมกนั ของปจ จัยการผลิตตาง ๆ สามารถสนองความ
ตองการของผูบรโิ ภคได ไมวาความตองการน้ันจะขัดตอ สขุ ภาพอนามัยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีงามหรอื ไมก ็ตาม เชน
บหุ รี่ ยารกั ษาโรค อาหาร เครื่องนุงหม เปนตน
182
สนิ คา (Goods) ที่มนุษยบริโภคอยทู กุ งวนั นอี้ าจแบง ไดเ ปน 2 ลกั ษณะ คือ
1) เปนสิ่งผลิตที่มนุษยผลิตขึ้น อาจเปนสิ่งท่ีดี (Good) เชน อาหาร เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค
เปนตน หรือสง่ิ ท่ไี มดี (Bad) เชน ยาเสพตดิ ขยะ วตั ถรุ ะเบิด เปน ตน
2) เปนส่งิ ทไ่ี ดจากธรรมชาติซึ่งมนุษยจัดหามาสนองความตองการโดยไมเสียคาใชจายใด ๆ เชน
นาํ้ อากาศ บรรยากาศ ทวิ ทศั น แสงแดด เปน ตน
จากสนิ คา ทง้ั สองลกั ษณะสามารถจําแนกประเภทของสนิ คา ในทางเศรษฐศาสตรไดดังน้ี
ดงั นั้น สนิ คาในทางเศรษฐศาสตรส ามารถจําแนกได ดังน้ี
1. สินคา ไรราคา (Free Goods) เปน สินคาทไ่ี มมตี นทุนหรอื มกี ารบริโภคแตไมมีคาใชจายเปนสินคา
ทีม่ ีอยมู ากมายเกนิ ความตองการของมนษุ ย หรอื กลา วอกี นยั หน่ึงเปน สนิ คาทอ่ี ปุ ทานมากกวาอุปสงค ณ ราคา
ศนู ย เชน อากาศ นํา้ ทะเล เปน ตน ดังนน้ั ถา สินคา ในโลกทกุ ชนดิ เปน สินคาไรราคาวิชาเศรษฐศาสตรก็คงจะไร
ความหมาย
183
2. สินคาเศรษฐทรัพย (Economic Goods) คือ สินคาท่ีมีตนทุน โดยปกติผูบริโภคจะเปนผูจาย
คา สินคา โดยตรง แตในบางกรณีผูบริโภคกับผูจายคาสินคาอาจเปนคนละคน ซ่ึงไดแก เศรษฐทรัพยที่ไดจาก
การบริจาคหรือจากการให รัฐบาลจัดหามาใหเรียกวา “สินคาใหเปลา” สินคาเศรษฐทรัพยแบงออกเปน
2 ประเภท คือ
2.1 สินคา เอกชน (Private Goods) คอื สินคา ทแ่ี ยกการบรโิ ภคออกจากกนั ได (Rival Consumption)
เชน อาหาร เคร่ืองนุงหม รถยนต เปนตน ซึ่งแตละคนแยกกันบริโภคได นอกจากน้ียังเปนสินคาท่ีเจาของ
สามารถกีดกันผูบริโภครายอ่ืนได (Exclousion Principle) เชน การบริโภครถยนต คันหน่ึง ของนายแดง
สามารถกดี กนั ไมใ หนายดําบรโิ ภครถยนตคนั นน้ั ได เปนตน
2.2 สินคาสาธารณะ (Public goods) คือ เปนสินคาที่บริโภครวมกัน (Joint Consumption)
เชน ถนนที่เราใชอยูก็เปนถนนท่ีคนอื่น ๆ ใชสัญจรไปมา เชนเดียวกัน เปนตน นอกจากนี้ยังเปนสินคาที่ไม
สามารถกีดกันบุคคลหรือกลุมบุคคลใดใหพนจากการบริโภคได (Non Exclusion Principle) เพราะมี
ผบู รโิ ภคจาํ นวนมากจนทําใหก ารกดี กันเปนไปไดยาก เชน โรงพยาบาล นํ้าประปา การศึกษาของรัฐ เปนตน
หรอื อาจเปน เพราะการบริโภคของบคุ คลกลุมหนง่ึ จะไมเปนเหตุใหค นกลุม อ่ืนตอ งบรโิ ภคลดลงหรือขาดโอกาส
ในการบรโิ ภค เชน การปองกนั ประเทศ รายการโทรทัศน เปนตน
3. ปจจยั การผลิต
ในการผลิตสินคา และบรกิ ารจะตองอาศยั ปจ จยั การผลติ ตอ ไปนี้
1) ท่ดี ิน (Land) ไมไดหมายถงึ เนื้อที่ดนิ ทใี่ ชประโยชนใ นทางเศรษฐกจิ ทีใ่ ชทําการเพาะปลูกสราง
โรงงานอุตสาหกรรมหรืออยูอาศัยเทาน้ัน แตหมายรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติที่อยูใตดิน บนดินและเหนือ
พื้นดินทุกชนิด เชน ปาไม แรธาตุ สัตวนํ้า ความอุดมสมบูรณของดิน ปริมาณนํ้าฝนและสิ่งแวดลอมทาง
ธรรมชาตติ าง ๆ เปนตน ส่ิงเหลาน้ีมีอยูโดยธรรมชาติ มนุษยสรางขึ้นไมได แตสามารถปรับปรุงคุณภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติไดบาง เชน ปรับปรุงท่ีดินใหอุดมสมบูรณข้ึน เปนตน ผลตอบแทนของท่ีดิน เรียกวา
คาเชา (Rent)
2) แรงงาน (Labour) หรือทรัพยากรมนุษย (Human Resource) หมายถึง ความมานะ
พยายามของมนุษยท้ังทางกาย ทางใจ และทางสมอง คือ สติปญญาความรู ความคิดที่มนุษยทุมใหกับ
การผลิตสินคาและบริการเพื่อกอใหเกิดรายไดในการดํารงชีวิต ซ่ึงมีผลตอบแทนเปนคาจางและเงินเดือน
(Wages and Salary)
3) ทุน (Capital) คือ สงิ่ ทม่ี นุษยผลิตขนึ้ มา เพ่ือใชรวมกับปจจัยการผลิตอื่น ๆ ในการผลิตสินคา
และบรกิ าร เรียกอกี อยา งหน่ึงวา สินคาทุน (Capital Goods) ทุนเปนสง่ิ ท่ีผลิตขนึ้ มาเพื่อใชในการผลิตตอไป
ไมใชเพ่ือการบริโภค เชน ขาวเปลือก หากถูกนําไปเปนเมล็ดพันธุเพื่อเพาะปลูกขาวเปลือกก็เปนสินคาทุน
หากถูกใชเพ่ือการบริโภคจะไมนับเปนสินคาทุน เปนตน ทุนอาจแยกไดเปน 3 ประเภท ประเภทแรกท่ีเปน
สินคาสําหรับใชในการผลิต (Capital Goods) เชน เคร่ืองจักร โรงงาน เปนตน ประเภทที่สองทุนท่ีเปนเงิน
(Monetary Capital) หมายถึง เงินที่จัดไวเพ่ือจางคนงานหรือเชาที่ดินหรือเงินซ่ึงจายเพื่อจัดหาเคร่ืองจักร
184
เคร่ืองมือและที่ดินเพื่อขยายโรงงาน ประเภทที่สามคือ ความรูทางเทคนิค (Technical Knowledge)
หมายถึง ความรูตา ง ๆ สาํ หรับทใี่ ชใ นการผลิต
ดังนั้นทุนท่ีแทจริงจึงไมไดหมายถึงเงินอยางเดียว เงินเปนเพียงรูปหน่ึงของทุน เรียกวา เงินทุน
(Money Capital) ซึ่งเปน เพยี งสอ่ื กลางใหเ กิดสินทรัพยประเภททุน ทุนที่แทจริงจึงรวมถึงเครื่องมือที่ใชผลิต
สินคาและเจา ของทุนจะไดร บั ผลตอบแทนเปน ดอกเบ้ยี (Interest)
4) ผูประกอบการ (Enterpreneur) หมายถึง การจัดต้ังองคการเพื่อผลิตสินคา และบริการ
โดยอาศยั ทรัพยากร แรงงาน ทุน มาดําเนินการโดยผดู ําเนินการเรยี กวา ผปู ระกอบการ ซ่ึงเปน ผรู วบรวมปจ จัย
การผลิตตาง ๆ เขาสูกระบวนการผลิตสินคาและบริการตอบสนองความตองการของตลาด ผูประกอบการ
จึงเปนผูท่ีตองเผชิญกับความเสี่ยงของความไมแนนอนเกีย่ วกบั ภาวะตลาด ซึ่งตางจากในกรณีของแรงงานที่ไม
ตองเผชิญกับความเส่ียงแมวาจะเปนทรัพยากรมนุษยเหมือนกันก็ตาม ผลตอบแทนของผูประกอบการ คือ
กาํ ไร (Profit)
ปจ จยั การผลิตทัง้ หมดน้ีเปนส่ิงสําคัญและจําเปนมากในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีจะ
ขาดสวนใดสวนหนึ่งไปไมได ถาขาดสวนใดสวนหน่ึงไปจะมีผลทําใหการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจน้ัน
หยุดชะงัก หรอื ไมไ ดผ ลตามเปา หมายที่วางไว
4. ลาํ ดบั ขนั้ การผลิต
ในการดําเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ในแตล ะครวั เรือนแบง ออกเปน 3 ขน้ั คือ
1) การผลิตข้ันตนหรือการผลิตข้ันปฐมภูมิ (Primary Production) หมายถึง การผลิตท่ีอาศัย
ธรรมชาติ หรือไดจากธรรมชาติ เปนการผลิตแบบด้ังเดิมของมนุษย ไดแก การเก็บของปา ลาสัตว จับปลา
จนพัฒนาเปนอาชีพเกษตรกรกรรมในปจจุบัน เชน การเพาะปลูก เล้ียงสัตว ประมง ทําปาไมท่ีอาศัย
ทั้งธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยเี ขา มาชว ย เปน ตน
2) การผลิตข้ันทุติยภูมิ (Secondary Production) หมายถึง การแปรสภาพวัตถุดิบเปนวัตถุ
สําเรจ็ รูป หรือผลิตภณั ฑต า ง ๆ ไดแ ก อาชีพหัตถกรรมและอตุ สาหกรรมประเภทตา ง ๆ
3) การผลิตข้ันตติยภูมิ (Tertitary Production) หมายถึง การจําหนายจายแจกสินคาและ
การบรกิ ารตาง ๆ ไดแ ก อาชพี พาณชิ ยกรรมและการบริการ เชน การคาขาย การคมนาคมขนสง การสื่อสาร
การโฆษณา การธนาคาร ขา ราชการ เปน ตน
5. การกําหนดปริมาณการผลติ
ในการผลติ สินคาและบริการนั้น ผูผลิตควรตัดสินใจวาจะผลติ อะไรในปริมาณเทาใด จึงจะไดกําไร
สูงสุด ดงั น้ัน สงิ่ ทก่ี ําหนดปริมาณการผลติ ในตลาดที่มีการแขง ขนั สมบูรณ ไดแก
1) อุปสงค (Demand) คอื ปริมาณความตองการของผูบริโภคในการบริโภคสินคาอยางใดอยาง
หนึง่ ดว ยเงนิ ทเ่ี ขามีอยู ณ เวลาใดเวลาหน่งึ ซ่ึงพรอ มทีจ่ ะซอ้ื สินคา นนั้ อุปสงคแบง ออกเปน 2 ประเภทคอื
1.1) อุปสงคสวนบุคคล (Individual Demand) หมายถึง อุปสงคของบุคคลแตละคนหรือ
ผูซื้อแตล ะราย เชน อปุ สงคเสื้อกันหนาวของนายชัยยุทธ เปนตน
185
1.2) อุปสงคต ลาด (Market Demand) หมายถงึ ผลรวมของผูซื้อทุกคนท่ีซื้อสินคาชนิดหน่ึง
ในตลาดแหง หน่งึ เชน อปุ สงคตอเสอื้ กนั หนาวในฤดูหนาวของประชากรในจังหวดั แพร เปน ตน
คาํ วาอุปสงคในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง อุปสงคท่ีมีประสิทธิผล (Effecive Demand) กลาวคือ
อปุ สงคจะประกอบดวยความเต็มใจท่จี ะซือ้ (Willingness to buy) กบั อํานาจซ้ือ (Purchasing Power) ณ
แตละระดับราคาของสนิ คา ตาง ๆ (สุขุม อัตวาวฒุ ชิ ัย, 2539 : 20)
2) อุปทาน (Supply) คอื ปริมาณสนิ คาทผ่ี ขู ายสามารถนาํ มาสนองความตองการของผูซ้ือไดเปน
สภาพการตัดสินใจของผูขายวาจะขายสินคาจํานวนเทาใด และในราคาเทาใด ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง อุปทาน
แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ
2.1) อุปทานสวนบุคคล (Individual supply) หมายถงึ ปริมาณสินคาหรือบรกิ ารท่ีผผู ลิตหรือ
ผูขายแตละรายนําออกมาเสนอขาย
2.2) อุปทานตลาด (Market Supply) หมายถงึ ปริมาณสนิ คาหรอื บรกิ ารของผูผลิตหรอื ผูข าย
ทกุ คนรวมกันนาํ ออกมาเสนอขาย
6. ราคาดุลยภาพและปรมิ าณดุลยภาพ
เมือ่ ผซู ้ือและผขู ายพบกันในตลาดเพอ่ื ตกลงซื้อขายสนิ คา และบริการ ปรากฏวา มรี าคาอยรู าคาหนึ่ง
ท่ปี รมิ าณการเสนอซ้อื และปรมิ าณการเสนอขายเทา กนั พอดี ซึ่งเรียกวา ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price)
และปริมาณสินคาและบริการท่ีซื้อขายกัน ณ ราคาดุลยภาพนั้นเรียกวา ปริมาณดุลยภาพ (Eauilibrium
Quantity)
ในระบบเศรษฐกจิ ท่ีอาศยั ตลาดเปน เครอ่ื งมอื ในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ หรอื ใหกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจดําเนินไปโดยผานกลไกราคา เชน ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ปริมาณการผลิตจะขึ้นอยูกับ
อปุ สงคแ ละอปุ ทาน สว นในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ปริมาณการผลิตจะขึ้นอยูกับการวางแผนของรัฐ
เปนตน
186
ตารางท่ี 2 แสดงราคาดุลยภาพของสม ปรมิ าณขาย (กก.)
(Supply)
ราคา ปรมิ าณซ้ือ (กก.)
(บาท) (Demand)
12 0 18
10 3 15
8 6 12
699
4 12 6
2 15 3
ท่ีมา : โกเมน จิรญั กุล และเสรี ลลี าลัย, 2537, หนา 16
จากตารางท่ี 2 แสดงใหเ ห็นวา ปรมิ าณเสนอซ้ือสม ของตลาด จะเทากบั ปรมิ าณเสนอขายสมของตลาด
ณ ราคากิโลกรัมละ 6 บาท ซึ่งแสดงใหเห็นวาราคาดุลยภาพเทากับ 6 บาท และปริมาณดุลยภาพเทากับ 9
กโิ ลกรมั
ดงั นั้น เราสามารถสรปุ กฎของอุปสงค (Demand) ไดว า “ปริมาณสนิ คาทีม่ ีผูต อ งการซอื้ ในขณะใด
ขณะหน่ึง จะมีความสมั พนั ธในทางตรงกันขามกบั ราคาสินคา ชนิดนัน้ ” (รัตนา สายคณิต และชลลดา จามร
กุล, 2537 : 34) แสดงวา ถาราคาสินคาสูงข้ึนอุปสงคจะลดลงและถาราคาสินคาลดลงอุปสงคจะเพ่ิมข้ึน
ในขณะที่กฎของอุปทาน (Supply) กลาววา “ปริมาณสินคาท่ีผูผลิตเต็มใจจะนําออกขายในขณะใด
ขณะหนงึ่ จะมคี วามสมั พันธใ นทางเดียวกนั กับราคาสินคาชนิดนั้น” (รัตนา สายคณิต และชลลดา จามรกุง,
2537 : 81) หมายความวา ถาราคาสนิ คา สงู ผผู ลติ จะเต็มใจนาํ สินคาออกขายมาก แตถาสินคาราคาต่ําผูผลิต
จะเตม็ ใจนําสินคาออกขายนอ ย ทงั้ นี้อยภู ายใตขอ สมมตวิ า ปจ จยั อน่ื ๆ ทีม่ อี ิทธิพลตออปุ ทานคงท่ี
สุขุม อัตวาวุฒิชัย (2541 : 37 – 40) ไดอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางอุปสงค
อุปทานและราคาวา ราคาตลาดหรือราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) จะถูกกําหนดโดยจุดตัดของเสน
อุปสงคและอุปทานตาดน่ันเอง ณ ระดับราคาอ่ืน ๆ จะไมทําใหตลาดอยูในภาวะดุลยภาพ ถามีผูเสนอขาย
สนิ คา ในราคาท่สี งู กวาราคาดุลยภาพจะกอ ใหเกดิ อปุ ทานสว นเกิน (Excess Supply) สินคา จะลน ตลาดหรอื
เมื่อใดทมี่ ผี ูเ สนอขายสินคาตํ่ากวาราคาดุลยภาพ จะเกิดอุปสงคสวนเกิน (Excess Demand) สินคาจะขาด
ตลาดและกลไกตลาดจะมกี ารปรับตวั โดยอัตโนมตั ิเพ่อื กลับเขาสภู าวะดลุ ยภาพ
187
7. ประเภทของการผลติ
สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ไดแ บงกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย โดยอาศยั แนวทางการจําแนกขององคการสหประชาชาติ แบงการผลิตออกเปน 11 ประเภท
ดงั น้ี (โกเมน จิรัญกุล และเสรี ลลี าลัย, 2535 : 9)
7.1) การเกษตร ไดแ ก การเพาะปลกู การปศสุ ัตว การประมง การทาํ ปา ไม และอน่ื ๆ
7.2) การทําเหมืองแรและยอยหิน
7.3) หัตถอุตสาหกรรม
7.4) การกอสรา ง
7.5) การผลติ ไฟฟา และน้าํ ประปา
7.6) การขนสงและการสอ่ื สาร
7.7) การขายสง และการขายปลีก
7.8) การธนาคาร ประกนั ภยั และอสงั หาริมทรัพย
7.9) การเปนเจาของทีอ่ ยอู าศยั
7.10) การบรหิ ารงานสาธารณะและปองกันประเทศ
7.11) การบริการ
8. การสะสมทุน (Capital Aceumulation) หมายถึง การเพิ่มพูนสินคาประเภททุนหรือการเก็บ
สะสมเงนิ ทนุ ใหมากขนึ้ เพ่ือนําไปใชป ระโยชนในการขยายความสามารถในการผลิต การสะสมทุนสวนหน่ึงได
จากการลงทุนในสิ่งกอ สราง การซอื้ เคร่อื งจกั รเคร่ืองมอื และสว นเปลย่ี นสนิ คา คงเหลอื สวนหนง่ึ ไดจากการออม
ในประเทศ ซงึ่ เปน การนําเงินออมท่กี ันไวจากรายไดสวนหน่ึงไมนําไปใชจายเพื่อการบริโภคมาลงทุน เพื่อหา
ผลประโยชนต อบแทน การสะสมทุนอกี ทางหนงึ่ ไดจากเงินทุนจากตางประเทศ ซึ่งอาจเปนการระดมทุนจาก
ตา งประเทศดวยการกูเงินจากตางประเทศหรือสถาบนั การเงนิ ระหวางประเทศ หรอื การลงทุนในหลกั ทรพั ย
9. ประเภทของหนว ยธรุ กจิ
หนว ยธุรกจิ หมายถึง องคกรที่จัดต้ังขน้ึ มาเพอ่ื ดาํ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในดานการผลิตสินคา
และบริการ ไดแก
1) กิจการท่ีมีเจาของคนเดียว (Single Proprietorship) เปนกิจการท่ีการตัดสินใจขึ้นอยูกับ
คน ๆ เดยี ว เมือ่ ไดผ ลกําไรมาเปน ของเจาของเพยี งคนเดียว
2) หา งหนุ สว น (Partnership) เปนธุรกิจที่ประกอบกันข้ึนจากคน 2 คนข้ึนไป มีการตกลงกันวา
หุน สวนใดจะรับผดิ ชอบในสว นใด หา งหนุ สว นแบงออกเปน 2 ประเภท คอื
2.1 หางหุนสวนจํากัด จะมีหุนสวนพวกหน่ึงจํากัดความรับผิดชอบตามจํานวนเงินท่ีระบุไว
เม่อื กิจการขาดทนุ
2.2 หางหุน สว นสามญั ผูเ ปนหนุ สว นทุกคนตอ งรับผดิ ชอบตอการขาดทุนไมจ ํากดั จาํ นวน
188
กจิ การที่มเี จา ของคนเดียวและหางหุนสวนจะมีขอเสีย คือกิจการท้ังสองประเภทตองรับผิดชอบ
หน้ีสินอยางไมจํากัดจํานวนเม่ือกิจการขาดทุน การดําเนินงานไมเปนไปอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะกรณี
ทเี่ จา ของกิจการเสยี ชวี ิตกจิ การเจา ของคนเดียวมักมปี ญหาในดานการขยายเงนิ ลงทนุ
3) บริษัทจํากัด (Corparation) เปนหนวยธุรกิจที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคล โดยมีหลายคน
รวมกนั จัดตั้งจะมีขนาดใหญหรือเล็กขึ้นอยูกับจํานวนหุน (Stock) ผูถือหุนเปนเจาของบริษัทรวมกันมีความ
รับผิดชอบจํากัดตามจาํ นวนหุนท่ถี ือ
4) สหกรณ (Cooperative) เปนหนวยธรุ กิจท่จี ดั ตัง้ โดยคนตัง้ แต 10 คน ข้ึนไป จดทะเบียน
โดยถูกตอ งตามกฎหมาย โดยมจี ุดมุง หมายเพือ่ ชวยเหลอื สมาชกิ หรอื ผถู อื หุน ซ่ึงตอ งปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของ
สหกรณ
5) รัฐวสิ าหกจิ (Public Enterprise) คือ กิจการที่รัฐเปนเจาของหรือมีหุนสวนมากกวาครึ่งหน่ึง
ของหนุ สวนท้ังหมด สวนใหญเปนธุรกิจดานสาธารณูปโภคหรือกิจการท่ีตองลงทุนสูงใหผลตอบแทนชาและ
เอกชนไมต อ งการลงทุน การดําเนินงานตามระบบราชการจึงมักกอใหเกิดความลาชาและไมมีประสิทธิภาพ
เทาทคี่ วร
ธรุ กจิ ทง้ั 5 ประเภททก่ี ลา วมาขา งตนสามประเภทแรกเปนธรุ กิจท่ีมุงแสวงกาํ ไรและสองประเภทหลัง
เปนธรุ กจิ ทไ่ี มไดมงุ แสวงหาผลกาํ ไร
สรปุ
การผลิต หมายถึง การสรางเศรษฐทรัพยเพื่อบําบัดความตองการของมนุษยหรือการสรางอรรถ
ประโยชนดวยการเปล่ียนรูป เปล่ียนสถานท่ี เลื่อนเวลาใชสอย เปล่ียนโอนกรรมสิทธ์ิ และการใหบริการ
ตา ง ๆ ส่งิ ผลติ ของมนุษยเรยี กวาสินคา แบง ออกเปนสินคาเศรษฐทรัพยและสินคาไรราคา ในการผลิตจะตอง
อาศัยปจจัยการผลิต 4 อยาง ไดแก ท่ีดิน แรงงาน ทุน และผูประกอบการ มีลําดับข้ันการผลิต 3 ข้ันคือ
การผลิตข้ันปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ การจะผลิตอะไรมากนอยเทาใดเปนไปตามหลักของอุปสงคและ
อปุ ทานของตลาด และสาํ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดแบงประเภทของ
การผลติ ในประเทศไทยออกเปน 11 ประเภท
2. การบริโภค
1. ความหมายของการบริโภค
การบริโภคในเชิงเศรษฐศาสตรมหภาคหรือการบริโภคมวลรวม (Aggregate Consumption)
คอื การใชจายเพือ่ การบริโภคสินคา ท้งั ประเภทส้ินเปลอื งและคงทนถาวร รวมทัง้ บริการตาง ๆ ทุกชนิดรวมกัน
ของท้งั ระบบเศรษฐกิจ เชน การศึกษา การรักษาพยาบาล เปนตน
2. ประเภทของสินคาเพ่ือการบรโิ ภค
การบริโภคของมนุษยน้นั ตองอาศัยทรพั ยากรมาแปรสภาพเปน สนิ คาและบรกิ าร ซ่ึงอาจจําแนกได
ดังน้ี (อเนก เธียรถาวร, 2535 : 18)
189
1) สนิ คา เพ่ือการผลิตและสนิ คา เพอ่ื การบรโิ ภค สนิ คาบางอยา งเปนสินคาของผูผลิต ในขณะ
ท่สี ินคาบางอยางเปนสินคา ของผูบริโภค เชน จกั รเยบ็ ผา เปนสินคาของผูผลิต เส้ือผาเปนสินคาของผูบริโภค
เปนตน
2) สินคา คงทน และสนิ คาไมค งทน
สินคาคงทน คือ สินคาท่ีเก็บไวใชไดนานเปนป เชน ปากกา นาฬิกา กระเปา บาน
ยานพาหนะตาง ๆ เปน ตน
สนิ คาทไี่ มคงทน คอื สินคาท่ีใชแ ลวหมดสนิ้ ไปภายใน 1 ป เชน อาหาร นาํ้ ดม่ื เครอ่ื งสาํ อาง
เปน ตน
3. ปจ จยั ที่กาํ หนดการบริโภค
ในบางครั้งเราจะพบวา ความสามารถของคนเราในการบริโภค หรือปริมาณการเสนอซ้ือสินคา
และบริการในชีวติ ประจาํ วันจะแตกตา งกนั ไป ทัง้ นขี้ ึน้ อยูก บั ปจ จยั หลาย ๆ อยา ง ไดแ ก
1) รายได (Income) นบั เปนปจจัยสําคัญอันดับแรกของมนุษยในการตัดสินใจบริโภคส่ิงใด
สง่ิ หน่ึง โดยปกตผิ มู ีรายไดน อยจะมอี ัตราการบริโภคตาํ่ กวาผูม ีรายไดม าก แตท ้ังนอ้ี าจจะขึ้นอยูกับปจจัยอ่ืน ๆ
ดว ย การท่ีรายไดข องผูชื้อเปลยี่ นแปลงไปจะมีผลตอปริมาณการเสนอซื้อดวย กลาวคือ หากรายไดของ ผูซื้อ
เพม่ิ สงู ข้ึน ส่ิงอ่ืน ๆ คงที่ ปรมิ าณการเสนอซ้ือ ณ แตละระดับราคาจะมากขึ้น
2) ราคาสินคา อน่ื ๆ (Price of other Goods) เปนสงิ่ ที่จูงใจในการตดั สนิ ใจของผูบริโภคให
เลือกซอื้ สินคาไดต ามความเหมาะสมแกฐ านะของตนเองการที่ปรมิ าณการเสนอซือ้ สินคาชนดิ หนงึ่ เปล่ียนแปลง
ไป ไมเ พียงเพราะราคาสนิ คา น้ันเปลยี่ นแปลงเทา น้ัน แตอาจจะข้นึ อยกู บั ราคาสนิ คา อ่นื ๆ เปล่ยี นแปลงไปดวย
2.1) ราคาสินคา ที่ทดแทนได (Price of Substitute) เชน สมมติวาขนุนสามารถบริโภค
แทนทเุ รียนหมอนทองได หากราคาตอหนวยของขนุนลดลงในขณะท่ีราคาทุเรียนหมอนทองไมเปลี่ยนแปลง
ราคาเปรยี บเทยี บของขนนุ ตอทเุ รียนจะถกู ลง ผูบรโิ ภคจะลดการบริโภคเรยี นหมอนทองลง และหนั ไปบริโภค
ขนุนมากขึ้น เปนตน ดังนั้น ปริมาณการเสนอซื้อของทุเรียนหมอนทอง ณ ทุกระดับราคาจะลดลง ในทาง
ตรงกนั ขา มหากราคาขนุนเพิม่ สูงข้ึน ผบู ริโภคจะหันมาบรโิ ภคทเุ รียนหมอนทองมากข้ึน ณ ทุกระดับราคาและ
บรโิ ภคขนนุ นอ ยลง
2.2) ราคาสนิ คา ที่ใชควบคูกัน (Price of Complement) สนิ คาบางอยาง ตองใชควบคู
กัน เชน โตะและเกาอ้ี ปากกากับหมึก เปนตน ถาราคาหมึกตอขวดแพงข้ึน ขณะที่สินคาอ่ืน ๆ อยูคงท่ี
ปริมาณความตอ งการซ้อื ปากกาจะลดลง ณ ทุกระดับราคา ในทางตรงกันขามถาราคาหมึกลดลงปริมาณการ
เสนอซือ้ ปากกาจะสงู ข้นึ ณ ทกุ ระดับราคา
3) รสนยิ ม (Taste) คอื ความนิยมชมชอบของผบู ริโภคในการเลอื กซอื้ สนิ คา แตละชนิด
ซงึ่ แตกตางกนั ตามลกั ษณะของผูบริโภคแตละทอ งถิน่ หรือตามฤดูกาลท่เี ปลี่ยนแปลงไป
4) การใหเ ครดติ (Credit) หรือยทุ ธวธิ ีการขาย อาทิ การขายสนิ คา ดว ยระบบเงินผอนเปนสิ่ง
หน่งึ ทีจ่ ูงใจใหค นหนั มาซอ้ื สนิ คามากขึน้ เชน ยานพาหนะตา ง ๆ เปน ตน
190
5) สภาวะอากาศ มีผลกระทบตอ ปรมิ าณความตองการบริโภคสินคาบางอยาง เชน ปริมาณ
ความตองการซื้อเสอ้ื กันหนาวในฤดหู นาวของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเพ่ิมสูงข้ึน มีผลกําไร
ราคาเสือ้ กนั หนาวสงู ขึ้นในชว งฤดหู นาว เปน ตน
ในกรณีของอุปสงคตลาดหรอื การบรโิ ภคมวลรวมปจจยั ทก่ี าํ หนดจะมมี ากกวากาํ หนดขางตน อาทิ
1) ปริมาณซ้ือข้ึนอยูกับจํานวนประชากร ตามปกติเม่ือประชากรมีจํานวนเพิ่มมากข้ึนความ
ตอ งการสนิ คาและบริการจะเพิ่มตาม แตการเพิ่มประชากรยังไมเปนการเพียงพอประชากรเหลาน้ีจะตองมี
อาํ นาจซอื้ ดว ยจงึ จะสามารถซื้อสินคาไดม ากขน้ึ
2) ปริมาณซื้อข้นึ อยูก ับสภาพการกระจายรายไดในระบบเศรษฐกิจ เชน ประเทศทมี่ บี อ นาํ้ มนั บาง
ประเทศปรากฏวา รายไดส ว นใหญต กอยูในมือของคนกลมุ นอย สว นคนกลุมใหญจะมรี ายไดตํา่ มากในสงั คมของ
ประเทศลักษณะนี้การบริโภคจะแตกตางจากประเทศที่มีการกระจายรายไดคอนขางทัดเทียมกัน ถึงแมวา
รายไดเ ฉลีย่ ของทั้งสองประเทศจะอยใู นลักษณะใกลเคยี งกนั ก็ตาม
4. การบริโภคและการออม
ในการบริโภคของคนเรานั้นจะตองอาศัยเงินที่มาจากรายไดเปนสวนใหญ แตถาเรานํารายได
ท้ังหมดมาใชในการบริโภค เมื่อถึงเวลาจําเปนหรือในยามเดือดรอนจะกอใหเกิดปญหายุงยาก เชน
เกิดภาวการณเจ็บปว ยในครอบครัว การศึกษาของบุตรที่ตองใชเงินมาก สงเคราะหญาติที่เดือดรอน เปนตน
คนเราจึงจาํ เปนตองเหลือรายไดส วนหนึง่ ไวเ พ่ือรองรบั ความจาํ เปนดงั กลา ว เงนิ สวนนี้ คอื เงินออม ซง่ึ เปน เงิน
ทีเ่ หลือจากการใชจายดว ยการประหยัดหรือเก็บออมไวใ นสถาบันการเงนิ ซึ่งกอ ใหเ กิดประโยชนหลายประการ
คือ (อเนก เธียรถาวร, 2542 : 25)
1) เพ่ือเกบ็ ไวใ ชจ ายในยามจําเปน คอื เงินรายไดท เี่ กบ็ ไวส าํ หรับรบั รองความจําเปนในครอบครัว
เชน สมาชกิ ในครอบครวั เจบ็ ปวย เปน ตน
2) เพื่อใชจายในอนาคต เปนเงินรายไดที่เก็บไวสําหรับสิ่งท่ียังไมเกิดในปจจุบันแตจะเกิด
ในอนาคต เชน เมอื่ ยามแกจ ะตอ งมีเงนิ สว นหน่งึ ไวสาํ หรับใชจา ย หรือเพ่ือการศึกษาของบุตร เปนตน
3) เพื่อใหเกิดดอกผลงอกเงย คือ การนําเงินไปฝากกับสถาบันการเงิน การซ้ือหุน การซ้ือ
พันธบตั รรัฐบาล การนาํ เงนิ ไปลงทนุ ซงึ่ ไดผ ลตอบแทนเปนดอกเบ้ยี หรือกําไร
4) เพ่ือประโยชนทางเศรษฐกิจสวนรวม คือ เงินออมของประชาชนในสถาบันการเงิน รัฐบาล
สามารถกูเงินมาลงทนุ ขยายการผลติ มากขึน้ มีผลตอ การจา งงานในประเทศมากขนึ้ ทาํ ใหป ระชาชนมเี ศรษฐกิจ
ดขี น้ึ
สรปุ
การบริโภค หมายถงึ การใชจ า ยเพือ่ การบรโิ ภคสินคาและบรกิ ารตา ง ๆ ในระบบเศรษฐกิจการบรโิ ภค
จะมากหรอื นอยขึน้ อยกู บั ปจ จัยหลาย ๆ อยาง และสวนหนงึ่ ท่ีเหลือจากการบรโิ ภคกค็ อื เงนิ ออม
191
3. การแบง สรรหรือการกระจาย (Distribution)
1. ความหมายของการแบงสรรหรอื การกระจาย
การแบงสรร หมายถึง การแบงสรรผลผลิตจากผูผลิตไปยังผูบริโภคและแบงปนรายไดไปยัง
ผเู กย่ี วขอ งกับการผลติ การแบง สรรจําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ
1) การแบงสรรสินคาและบริการท่ีผลิตมาไดไปยังผูบริโภค เชน ชาวสวนขายผลไมใหกับ
ผบู รโิ ภคหรือชา งตดั ผมบรกิ ารตดั ผมแกล ูกคา เปน ตน
2) การแบงสรรใหเ จาของปจจัยการผลติ ดงั น้ี
ปจจัยการผลติ ผลตอบแทนท่ีไดรับ
ทีด่ นิ คา เชา (rent)
แรงงาน คา จาง (wages)
ทนุ ดอกเบย้ี (interests)
ผูป ระกอบการ กําไร (profit)
2. ความไมเทา เทียมกนั ของรายได
การแบงสรรรายไดไปยังกลุมคนตาง ๆ ในสังคม มักกอใหเกิดความไมเทาเทียมกันของรายได
มสี าเหตมุ าจาก
1) ความไมเทาเทียมกันในกําเนิดและทรัพยสินเกิดจากพ้ืนฐานและฐานทางเศรษฐกิจของ
ครอบครัวแตกตางกัน เชน คนท่ีเกิดมาในครอบครัวท่ีร่ํารวยยอมมีฐานะทางเศรษฐกิจสูงกวาคนที่เกิดใน
ครอบครัวทย่ี ากจน เปน ตน
2) ความไมเ ทา เทียมกนั ในการทาํ งาน เกิดจากการมหี นา ท่ีความรับผิดชอบในการทํางานแตกตาง
กัน เชน ผอู าํ นวยการโรงเรยี นมรี ายไดสูงกวานกั การภารโรง เปนตน
3) ความไมเทาเทียมกันในความรู คือ บุคคลที่มีความรูเฉพาะดาน ซึ่งไมอาจทดแทนกันได เชน
อาชพี แพทย วิศวกร ชา งเจยี ระไนเพชรพลอย จะมรี ายไดสงู เปน ตน
4) ลักษณะของอุปสงคอ ุปทาน คอื ความสัมพันธร ะหวางปรมิ าณความตองการและปริมาณเสนอ
ขายไมสมดุลกัน เชน อุปสงคของแรงงานในกลุมประเทศแถบตะวันออกกลางสูงมากในขณะท่ีอุปทานของ
แรงงานมนี อยกวา จึงทําใหค าจา งแรงงานในประเทศเหลา นี้สูง เปน ตน
5) การกระจายการบริการของรัฐในดานสาธารณูปโภคและความเจริญในดา นตา ง ๆ ไมท ั่วถึง เชน
ถนนหนทาง ระบบการส่อื สารโทรคมนาคมสาธารณูปโภคตาง ๆ ทําใหบริเวณนั้นมีความเจริญทางเศรษฐกิจ
ประชาชนมรี ายไดส งู เปน ตน
ดังนั้นรัฐบาลของประเทศตาง ๆ จึงหาวิธีการจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อใหมีการกระจายรายไดไปสู
ประชาชนอยา งเปน ธรรมและท่ัวถงึ กนั กลาวคือ ประเทศท่ีใชระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เอกชนมีเสรีภาพ
ในการผลติ และการบริโภคอยางเต็มทกี่ อ ใหเกดิ รายไดใ นทรัพยสนิ มาก รฐั จะเรยี กเก็บภาษใี นอัตราสูง ประเทศ
ที่ใชระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมรัฐจะควบคุมการใชปจจัยการผลิตและกระจายรายไดไปยังประชาชน
192
อยา งเปนธรรม สวนประเทศที่ใชระบบเศรษฐกิจแบบผสม เชน ประเทศไทยจะมีมาตรการในการกระจาย
รายไดอ ยางเปน ธรรมดว ยการใชม าตรการทางภาษี การจัดสวัสดิการแกผ มู ีรายไดนอย การควบคุมราคาสินคา
เปน ตน
สรปุ
การแบง สรรหรอื การกระจาย หมายถงึ การแบงสรรผลผลิตจากผูผลติ ไปยังผูบริโภคและการแบงปน
รายไดไ ปยงั เจา ของปจจยั การผลิตในรปู ของ คาเชา คา จาง ดอกเบีย้ กําไร ในการแบงสรรอาจจะเกิดความไม
เทา เทียมกันของรายได ซง่ึ เปนหนาทข่ี องรฐั ทจ่ี ะตองดูแลการกระจายรายไดไ ปสกู ลมุ คนตา ง ๆ อยา งทว่ั ถงึ และ
เปนธรรม
4. การแลกเปลี่ยน (Exchange)
1. ความหมายของการแลกเปลี่ยน
การแลกเปล่ยี น หมายถึง การเปล่ียนความเปนเจาของในสินคาและบริการ โดยการโอนหรือ
การยายกรรมสิทธ์ิ หรอื ความเปน เจา ของ (Ownership) ระหวา งบคุ คลหรอื ธรุ กจิ
2. วิวฒั นาการของการแลกเปล่ียน
การแลกเปลีย่ นมวี ิวฒั นาการ 3 ระยะ คอื
1) การแลกเปลีย่ นส่ิงของกบั สงิ่ ของ มักเกิดข้ึนในสังคมที่มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด เชน
ในสังคมสมัยโบราณหรือในสังคมชนบท โดยการนําเอาสินคาและบริการมาแลกเปลี่ยนกันโดยตรงไมตองมี
สื่อกลางในการแลกเปลย่ี น เชน ชาวนาเอาขา วมาแลกกับปลาของชาวประมง เปนตน
ระบบการแลกเปลี่ยนสินคาตอ สนิ คาจะมขี อ เสียในเร่อื งความตองการไมตรงกนั ทําใหเ กดิ ความไม
คลอ งตวั ในการแลกเปลี่ยน เชน ชาวนาอาจจะไมตองการปลา แตต องการนําขา วไปแลกผาจึงตองไปหาบุคคล
ทม่ี ีความตองการตรงกันการแลกเปลยี่ นจงึ จะเกดิ ขน้ึ ได อกี ประการหน่งึ คอื มลู คาสง่ิ ของที่นาํ มาแลกเปลี่ยนกัน
อาจจะมมี ลู คา หรอื สดั สว นไมเทากนั ทาํ ใหเ กิดความไมย ตุ ิธรรมในการแลกเปล่ียน
2) การใชเงินเปน ส่ือกลาง เนื่องจากความไมสะดวกและคลองตัวในการแลกเปล่ียนสินคากับ
สินคาและความตองการไมตรงกัน ทําใหมนุษยคิดสื่อกลางในการแลกเปล่ียน เปนการแลกเปลี่ยนระหวาง
ส่ิงของและเงิน ไดแก การแลกเปล่ียนซ้ือขายสินคาและบริการในสังคมปจจุบัน เงินในยุคแรก ๆ ท่ีมนุษย
นาํ มาใชในการแลกเปล่ียนอาจอยูในรูปของเปลือกหอย โลหะ แรธาตุ หรือส่ิงของตาง ๆ ท่ีสังคมน้ันยอมรับ
ทําใหก ารแลกเปลี่ยนนน้ั มีความคลอ งตัวมากยง่ิ ขน้ึ
3) การใชตราสารอยา งอืน่ แทนเงินหรือการใชเ ครดติ เน่ืองจากตลาดในระบบเศรษฐกิจมีความ
ซบั ซอนมากย่ิงขึน้ การซอ้ื ขายแลกเปล่ยี นจงึ ไดพ ฒั นาจากระบบการใชเ งนิ เปนส่อื กลางมาเปนระบบการใชตรา
สารอยางอื่นแทนเงิน หรือการซื้อขายแลกเปลี่ยนโดยผานระบบเครดิต โดยการใชเช็ค ใชตั๋วแลกเงินหรือ
บัตรเครดิตตาง ๆ ระบบเครดิตชวยในการแลกเปล่ียนสินคาและบริการระหวางผูผลิต (Producers) หรือ
หนวยธรุ กจิ (Business) กับผบู ริโภคหรือครวั เรอื น (Households) เปนไปอยา งรวดเร็ว