-ก-
คานา
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ได้ดาเนินงานโครงการศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมในระดับพ้ืนที่
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ..2564.กิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ดาเนินการในพื้นที่
รับผิดชอบ จานวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร ร่วมกับ สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
ทีม.พม.จังหวัด.(One.Home) คณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ในการกาหนดรูปแบบการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแขง็ และสนับสนุนการดาเนินงานการวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ปัญหาในระดับพ้ืนท่ี นาไปสู่
การแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหาทางสังคมรายครัวเรือนและพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็ง
พัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการในทุกมิติไปพร้อมกัน ท้ังมิติสังคม
เศรษฐกิจ สุขภาพ และสภาพแวดล้อม โดยร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม
มีเป้าหมายหลักในการตอบสนองความต้องการร่วมกันของประชาชน โดยสอดคล้องกับวิถีการดาเนินชีวิต
ค่านิยม ประเพณี และทัศนคติของบุคคลในชุมชน เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมมือ ร่วมดาเนินการ ติดตาม
ประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ หรอื ร่วมใชป้ ระโยชนจ์ ากการดาเนินงาน เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองได้
มีระบบการบริหารจัดการตนเองท้ังด้านข้อมูล แผนงาน กลไกการขับเคลื่อนทุนทางสังคมได้อย่างมีคุณภาพ
ส่งผลให้ชุมชนมีเศรษฐกิจดี สภาพความเป็นอยู่ที่ดี ชุมชนเข้มแข็ง ม่ันคง ยั่งยืน มีภูมิต้านทานต่อปัจจัย
และผลกระทบตา่ งๆ ภายใต้การบรู ณาการความร่วมมือและสนับสนุนของภาคีเครือข่าย และภาคส่วนต่างๆ
ทางสงั คม
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าในการขับเคลื่อนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ในระดับพื้นท่ีจะเกิดประโยชน์ สารถแก้ปัญหาและพัฒนาชุนให้เกิดความเข้มแข็ง ตอบสนองความต้องการ
ร่วมกนั ของประชาชนในชุมชนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ สรา้ งความมน่ั คง ยั่งยนื ให้เกดิ กบั ประชาชนในระยะต่อไป
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4
สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์
ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
-ข-
สารบัญ
ตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
เร่อื ง หนา้
สว่ นท่ี 1
สภาพทั่วไปและข้อมูลพืน้ ฐานในพ้ืนทีเ่ ทศบาลตาบลโนนแดง 2
สภาพท่วั ไปและข้อมูลพ้นื ฐานในพื้นท่ีองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโนนแดง 9
สว่ นที่ 2
การวเิ คราะห์ข้อมูลจาก TPMAP 17
สว่ นที่ 3
การวเิ คราะห์ปัญหาโดยคนในชมุ ชน 26
สว่ นท่ี 4
แผนปฏิบตั กิ ารสร้างเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง ระยะ 3 ปี (2564 – 2566) 29
สว่ นที่ 5
การขับเคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แขง็ 33
สว่ นที่ 6
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัติการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ 36
สว่ นท่ี 7
สรุปผลการถอดบทเรียนโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ 43
ภาคผนวก
คาส่งั จังหวดั นครราชสมี า ท่ี 4534/2564 47
คาส่ังจงั หวดั นครราชสมี า ที่ 3274/2564 51
-ค-
สารบัญ
ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชยั ภมู ิ จงั หวัดชยั ภูมิ
เรือ่ ง หน้า
สว่ นที่ 1 55
สภาพทวั่ ไปและข้อมลู พื้นฐานในพน้ื ที่เทศบาลตาบลโนนสาราญ
อาเภอเมืองชยั ภมู ิ จงั หวัดชัยภูมิ 65
ส่วนที่ 2 77
การวิเคราะห์ข้อมลู จาก TPMAP 79
ส่วนท่ี 3 83
การวเิ คราะหป์ ัญหาโดยคนในชมุ ชน 86
ส่วนที่ 4 96
แผนปฏิบตั กิ ารสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง ระยะ 3 ปี (2564 – 2566) 107
สว่ นที่ 5 110
การขับเคล่ือนโครงการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง 114
ส่วนที่ 6
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็
สว่ นท่ี 7
สรุปขอ้ มูลการพัฒนาคุณภาพชวี ิต
ส่วนที่ 8
สรปุ ผลการถอดบทเรยี นโครงการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็
ภาคผนวก
คาสัง่ จังหวดั ชยั ภมู ิ ท่ี 6287/2564
คาสงั่ จังหวัดชัยภูมิ ท่ี 2013/2564
-ง-
สารบญั
ตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวดั บรุ รี ัมย์
เรอ่ื ง หนา้
สว่ นที่ 1 117
สภาพทัว่ ไปและข้อมูลพื้นฐานในพนื้ ทีเ่ ทศบาลตาบลตาจง
อาเภอละหานทราย จงั หวดั บุรรี ัมย์ 125
สว่ นที่ 2 138
การวเิ คราะห์ข้อมูลจาก TPMAP 141
ส่วนท่ี 3 146
การวเิ คราะหป์ ัญหาโดยคนในชุมชน 149
ส่วนท่ี 4 152
แผนปฏิบัติการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง ระยะ 3 ปี (2564 – 2566) 155
ส่วนที่ 5 158
การขับเคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
สว่ นท่ี 6
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็
สว่ นท่ี 7
สรปุ ผลการถอดบทเรียนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
ภาคผนวก
คาส่ังจังหวัดบุรรี ัมย์ ท่ี 1185/2563
คาสงั่ จงั หวัดบรุ ีรมั ย์ ท่ี 1713/2564
-จ-
สารบัญ
ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชงิ จงั หวดั สุรินทร์
เร่อื ง หนา้
สว่ นที่ 1 161
สภาพทัว่ ไปและข้อมลู พนื้ ฐานในพ้นื ท่ีองค์การบริหารสว่ นตาบลตะเคียน
อาเภอกาบเชงิ จังหวดั สรุ นิ ทร์ 168
ส่วนท่ี 2 179
การวิเคราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP 180
สว่ นที่ 3 188
การวิเคราะหป์ ัญหาโดยคนในชมุ ชน 191
สว่ นท่ี 4 193
แผนปฏิบัตกิ ารสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง ระยะ 3 ปี (2564 – 2566) 196
สว่ นท่ี 5 199
การขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็
ส่วนที่ 6
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัติการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง
ส่วนท่ี 7
สรปุ ผลการถอดบทเรียนโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเขม้ แขง็
ภาคผนวก
คาสั่งจังหวดั สุรินทร์ ที่ 424/2562
คาส่ังขงั หวัดสุรินทร์ ที่ 973/2564
-ฉ-
สารบญั
ตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทบั ทนั จังหวัดศรสี ะเกษ
เร่ือง หน้า
ส่วนท่ี 1 203
สภาพทั่วไปและข้อมูลพน้ื ฐานในพื้นทเี่ ทศบาลตาบลจานแสนไชย
อาเภอห้วยทับทนั จังหวัดศรสี ะเกษ 208
สว่ นที่ 2 221
การวิเคราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP 223
สว่ นท่ี 3 227
การวิเคราะหป์ ัญหาโดยคนในชมุ ชน 230
สว่ นท่ี 4 236
แผนปฏิบตั กิ ารสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง ระยะ 3 ปี (2564 – 2566) 239
สว่ นท่ี 5 ..241
การขบั เคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ส่วนท่ี 6
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง
ส่วนท่ี 7
สรุปผลการถอดบทเรยี นโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง
ภาคผนวก
คาสั่งจังหวดั ศรีสะเกษ ที่ 548/2562
คาส่ังจงั หวัดศรสี ะเกษ ที่ 994/2564
-ช-
สารบญั
ตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชยั จงั หวัดยโสธร
เรอ่ื ง หน้า
ส่วนที่ 1 245
สภาพท่วั ไปและข้อมลู พ้ืนฐานในพน้ื ท่ีองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบากเรอื
อาเภอมหาชนะชยั จังหวัดยโสธร 251
สว่ นที่ 2 259
การวเิ คราะห์ข้อมูลจาก TPMAP 260
ส่วนท่ี 3 266
การวิเคราะห์ปัญหาโดยคนในชมุ ชน 269
สว่ นท่ี 4 277
แผนปฏบิ ัตกิ ารสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง ระยะ 3 ปี (2564 – 2566) 281
สว่ นท่ี 5 284
การขบั เคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง 286
ส่วนท่ี 6 287
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
สว่ นที่ 7
สรปุ ผลการถอดบทเรยี นโครงการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
ภาคผนวก
คาสงั่ จังหวดั ยโสธร ที่ 3137/2560
คาสงั่ จังหวัดยโสธร ที่ 1251/2564
การนาไปใชป้ ระโยชน์
ที่ปรึกษาและคณะผู้จดั ทา
รายงานผลการดาเนินงานโครงการ
การบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็
ตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง
จังหวดั นครราชสีมา
~2~
สว่ นท่ี 1
สภาพทวั่ ไปและข้อมูลพ้นื ฐาน
เทศบาลตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จงั หวดั นครราชสีมา
ประวตั เิ ทศบาลตาบลโนนแดง
เทศบาลตําบลโนนแดง เดิมเป็นหมู่บ้านเล็กๆ เรียกชื่อตามช่ือของไม้แดง ซ่ึงมีมากในขณะน้ัน
อยู่ในเขตการปกครองของตําบลโนนตาเถร อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2504
อําเภอประทาย ได้แยกการปกครองออกจากอําเภอบัวใหญ่ ตําบลโนนตาเถรขึ้นตรงต่ออําเภอประทาย
เมือ่ หมบู่ ้านโนนแดงและตลาดโนนแดงมีการพฒั นาจนชุมชนขยายใหญข่ ้ึน
จัดตั้งเป็นตําบลโนนแดงเมื่อปี พ.ศ.2508 และในปีเดียวกันนี้เอง กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศ
จดั ตั้งสุขาภิบาลโนนแดงข้ึน โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 82 ตอนท่ี 103 ลงวนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2508
เม่ือวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 สุขาภิบาลโนนแดงได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตําบลโนนแดง
ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
ได้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ที่ 116 ตอนที่ 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542
วิสัยทศั น์
“สงั คมมคี ุณภาพ ส่ิงแวดล้อมไม่เป็นพิษ เศรษฐกจิ ดี มพี ฒั นาการเมืองการบรหิ ารโครงสร้างพน้ื ฐานครบถ้วน”
1. ขอ้ มูลทว่ั ไป
1.1 ขนาดท่ตี ั้งและอาณาเขต
เทศบาลตําบลโนนแดง ตั้งอยู่ในเขตพ้ืนที่ของตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง มีพ้ืนท่ีทั้งหมด
6 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,750 ไร่ ครอบคลุมพ้ืนที่บางส่วนของตําบลโนนแดง จํานวน 8 หมู่บ้าน มีพ้ืนท่ี
ตดิ ตอ่ กบั องค์การบริหารสว่ นตาํ บลโนนแดงโดยรอบ (สํารวจเมอื่ พ.ศ.2543) โดยมีอาณาเขต ดงั น้ี
~3~
ทศิ เหนือ ติดต่อกับลาํ ห้วยเจยี บ ตาํ บลโนนแดง อําเภอโนนแดง
ทิศใต้ ติดต่อกับลาํ สะแทด ตาํ บลกระชอน อาํ เภอพมิ าย
ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับคลองชลประทาน ตําบลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กบั บ้านไทยสามัคคี หมทู่ ี่ 17 ตาํ บลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง
1.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของอําเภอโนนแดง โดยทั่วไปพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีลักษณะลาด
จากทิศเหนือลงทิศใต้ และจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออก มีระดับความสูงของพื้นท่ีแตกต่างกัน มีลําน้ํา
ทสี่ าํ คัญไหลผ่าน เช่น บึงระหอก ลําสะแทด เป็นต้น ลักษณะดินเป็นดินเหนียวปนทราย และเป็นดินเค็มทําให้
การเพาะปลูกไม่ได้ผลเท่าท่ีควร เทศบาลตําบลโนนแดง ตั้งอยู่ในเขตพ้ืนท่ีของตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง
จังหวัดนครราชสีมา ห่างจากกรุงเทพมหานคร 331 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดนครราชสีมา 75 กิโลเมตร
อยทู่ างทศิ ตะวันออกเฉียงเหนอื ของจงั หวดั นครราชสมี า ระหวา่ งเส้นรงุ้ ที่ 16 องศา 25 ลิปดาเหนือ เส้นแวงที่
102 องศา 33 ลิปดาตะวันออก มพี ืน้ ที่ทัง้ หมด 6 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 3,750 ไร่
1.3 ลักษณะภมู อิ ากาศ
สภาพอากาศตลอดทงั้ ปี ประกอบด้วย 3 ฤดู โดยท่ัวไปมีลักษณะอากาศร้อนและแห้งแล้งเป็นส่วนใหญ่
เน่ืองจากไม่มีปุาไม้ และภูเขากําบังลม ในฤดูร้อนอากาศจะร้อนอบอ้าว ส่วนฤดูฝน จะประสบปัญหาฝนไม่ตก
ต้องตามฤดูกาลและในฤดหู นาวอากาศจะหนาวจัด
1.4 ลกั ษณะของดิน
ทรัพยากรดิน มีลักษณะเน้ือดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ส่วนเน้ือดินลึกเป็นดินเหนียวปนทราย
การระบายน้ําไม่ค่อยดี สภาพท่ัวไปเป็นดินเค็ม มีความอุดมสมบูรณ์ต่ําและดินเค็มทําให้การเพาะปลูก
ไมไ่ ดผ้ ลเทา่ ที่ควร
1.5 ลกั ษณะของแหล่งน้า
ในเขตอําเภอโนนแดง.โดยท่ัวไปพ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นที่ราบ.มีลักษณะลาดจากทิศเหนือลงทิศใต้
และจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออกมีระดับความสูงของพื้นท่ีแตกต่างกัน .มีลํานํ้าท่ีสําคัญตามธรรมชาติ
ไหลผา่ นในเขตพืน้ ท่เี ทศบาลตาํ บลโนนแดง จํานวน 2 สาย ได้แก่ 1) ลําสะแทด และ 2) ลําห้วยเจียบ เป็นลําห้วย
ที่มีขนาดใหญ่มีความลึกโดยเฉล่ีย.1.5.เมตร.เป็นที่รวมของน้ําจากลําห้วยยางและลําห้วยปลาหมันไหลผ่าน
บา้ นหนองจาน หม่ทู ่ี 4 บา้ นศรีวฒั นา หม่ทู ่ี 6 บา้ นระหนั คา่ ย หมู่ท่ี 7 บ้านโนนแดง หมู่ท่ี 1 บ้านโนนเขว้า หมู่ที่ 12
บา้ นใหมศ่ รปี ระทาน หม่ทู ่ี 11 และบา้ นหัวโคก หม่ทู ่ี 4 ไหลลงสูล่ ําสะแทด ระยะทางประมาณ 13,557 เมตร
1.6 ลักษณะของไมแ้ ละป่าไม้
ลกั ษณะทรัพยากรปาุ ไม้ ในพื้นทอ่ี ําเภอโนนแดง ส่วนใหญเ่ ป็นพืน้ ท่ีปาุ ขนาดเล็กท่ีดแู ลและรกั ษา
โดยประชาชนในพื้นท่ี เพอื่ ใช้ประโยชน์ในการหาของปาุ และอาหารตามธรรมชาติ
~4~
2. เขตการปกครองและประชากร
2.1 เขตการปกครอง
เทศบาลตําบลโนนแดง ต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่ของตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
มพี ้นื ที่ท้ังหมด 6 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,750 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตําบลโนนแดง ประกอบด้วย
หมบู่ ้าน/ชุมชน จาํ นวน 8 หมู่บ้าน/ชมุ ชน ดังน้ี
1) ชมุ ชนโนนแดง หม่ทู ่ี 1 ตาํ บลโนนแดง อําเภอโนนแดง จงั หวดั นครราชสมี า
2) ชุมชนเต็งสงู หมู่ที่ 3 ตําบลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จงั หวดั นครราชสีมา
3) ชุมชนหัวโคก หมู่ที่ 4 ตาํ บลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวดั นครราชสีมา
4) ชุมชนบตุ าคง หมทู่ ี่ 10 ตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง จงั หวัดนครราชสมี า
5) ชมุ ชนใหมศ่ รปี ระทาน หมู่ท่ี 11 ตาํ บลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จังหวดั นครราชสีมา
6) ชุมชนโนนเขวา้ หมทู่ ่ี 12 ตาํ บลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จงั หวัดนครราชสีมา
7) ชุมชนหนองโจด หมทู่ ี่ 13 ตําบลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จังหวดั นครราชสมี า
8) ชุมชนตลาดโนนแดง หมู่ท่ี 15 ตําบลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จงั หวัดนครราชสมี า
2.2 ประชากร
ในเขตเทศบาลตําบลโนนแดง มีจาํ นวนประชากรทัง้ ส้นิ 4,531 คน แยกเป็นชาย 2,225 คน หญิง 2,306 คน
มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมด 1,442 ครอบครัว ความหนาแน่นของประชากร 755.17 คนต่อตารางกิโลเมตร
ลักษณะโครงสร้างของประชากรโดยท่ัวไปเป็นคนท้องถิ่นด้ังเดิมดํารงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยกันจะมีมาจาก
ถ่ินอนื่ บ้างเลก็ นอ้ ย ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการและประชากรที่เข้ามาประกอบอาชพี ค้าขายเป็นคร้ังคราว
3. ข้อมูลดา้ นสงั คม
3.1 การศึกษา
ในเขตเทศบาลตาํ บลโนนแดงมสี ถานศกึ ษาทั้งหมด 4 แหง่ ไดแ้ ก่
1) โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตําบลโนนแดง สังกัดเทศบาลตําบลโนนแดง เปิดสอนระดับอนุบาล
อายุตัง้ แต่ 3 - 5 ปี
2) โรงเรียนเทศบาลตาํ บลโนนแดง สงั กดั เทศบาลตําบลโนนแดง เปิดสอนระดับประถมศึกษาปีท่ี 1
ถึงประถมศึกษาปีที่ 6
3) โรงเรียนภู่วิทยา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 31 กระทรวงศึกษาธิการ
เปิดสอนระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึงมธั ยมศึกษาปที ี่ 6
4) โรงเรียนชุมชนโนนแดง สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7
เปิดสอนระดับชั้นอนบุ าล ถงึ มัธยมศึกษาปที ี่ 3
กฬี า นนั ทนาการ/พักผ่อน ในเขตพืน้ ท่เี ทศบาลตาบลโนนแดง ประกอบดว้ ย
1) สนามกีฬาอเนกประสงค์ จํานวน 6 แห่ง 5) สนามตะกร้อ จํานวน 6 แห่ง
2) สนามฟตุ บอล จํานวน 2 แห่ง 6) สวนสาธารณ จํานวน 3 แหง่
3) สนามฟุตซอลขนาดมาตรฐาน จํานวน 1 แห่ง 7) สาธารณสขุ อําเภอ จํานวน 1 แห่ง
4) สนามบาสเกตบอล จาํ นวน 2 แห่ง
~5~
3.2 สาธารณสุข
1) มอี าสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหม่บู า้ น จํานวน 95 คน
2) มสี ถานพยาบาลเอกชน (คลนิ กิ ) จํานวน 3 แหง่
3) ส่วนโรงพยาบาลของรัฐจะอยู่หา่ งจากเขตเทศบาลตําบลโนนแดงประมาณ 4 กิโลเมตร
3.3 อาชญากรรม
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อําเภอโนนแดงมีการปูองกันในพ้ืนท่ี โดยมีการจัดระบบการรักษา
ความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในด้านต่างๆ และมีสถานีตํารวจภูธรอําเภอโนนแดง 1 แห่ง และมี
การปราบปรามผกู้ ระทาํ ความผิดอยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนื่อง
3.4 ยาเสพตดิ
ในเขตพ้ืนทเ่ี ทศบาลตาํ บลโนนแดง มีสถานีตํารวจภูธรอําเภอโนนแดงช่วยดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย
แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต แ ล ะ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น เ ข ต พ้ื น ที่ ร ว ม ถึ ง ก า ร ค ว บ คุ ม ปู อ ง กั น
และปราบปรามเร่อื งปัญหายาเสพติดอยา่ งจริงจังและต่อเน่ืองเป็นประจาํ
4. ขอ้ มูลด้านเศรษฐกิจ
4.1 ด้านการเกษตร
การเกษตรกรรม อาชพี หลกั ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพทํานาเป็นหลัก รองลงมาคือเล้ียงสัตว์
และปลูกผักสวนครัว อาชีพรอง เกษตรกรจะทําการปลูกพืชอายุส้ันและข้าวนาปรังจะทําการเพาะปลูก
หลังจากเสรจ็ ส้ินการเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้ว พื้นที่การเกษตรประมาณ 14,389 ไร่ ผลิตผลทางการเกษตรที่สําคัญ
ได้แก่ ข้าว พื้นท่ีปลูกข้าว ประมาณ 9,203 ไร่ ครัวเรือนเกษตรกรประมาณ 719 ครัวเรือน มูลค่าผลผลิต
ทางการเกษตรประมาณ 25,000 บาท ต่อครอบครัวตอ่ ปี
4.2 การปศสุ ตั ว์
ประชากรในเขตเทศบาล มีการเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปกับการเพาะปลูก เช่น โค กระบือ และสุกร
สาํ หรับเป็ดและไกน่ นั้ เกษตรกรส่วนใหญ่เลยี้ งไว้บริโภคในครวั เรอื น มลู คา่ ผลผลิตในทางปศสุ ตั วไ์ ม่มากนกั
4.3 อตุ สาหกรรม
การอุตสาหกรรม ในเขตเทศบาลตาํ บลโนนแดงไมม่ ีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็น
อุตสาหกรรมขนาดเล็ก โดยมีโรงสีข้าว 6 แห่ง ร้านซ่อมเครื่องยนต์ 9 แห่ง โรงงานผลิตขนมจีน 3 แห่ง
มแี รงงานในภาคอุตสาหกรรมประมาณ 30 คน
4.4 การพาณชิ ย์และกลุ่มอาชีพ
การพาณิชยกรรม การค้าและพาณิชยกรรมในเขตเทศบาลมีกิจกรรมด้านนี้เกิดขึ้นค่อนข้างหนาแน่น
โดยเฉพาะบริเวณสองฟากถนนเจนจบทิศใกล้กับตลาดเทศบาล เป็นการค้าเครื่องอุปโภค บริโภค
ในชีวิตประจําวัน และอุปกรณ์การเกษตร สําหรับให้บริการในเขตชุมชนเขตเทศบาลและหมู่บ้านใกล้เคียง
และมีการรับซ้ือข้าวเปลือกจากเกษตรกรบ้างพอสมควร ในวันศุกร์มีการจัดตลาดนัดภายในบริเวณวัดโนนแดง
ซึ่งจะมีการซื้อขายสินค้าคึกคักกว่าวันอื่น นอกจากน้ีก็มีธนาคาร 1 แห่ง คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร สถานีบริการนํ้ามัน 1 แห่ง ร้านจําหน่ายสินค้าเบ็ดเตล็ดประมาณ 30 แห่ง ร้านอาหาร
10 แหง่ รา้ นขายวัสดุกอ่ สร้าง 3 แห่ง หา้ งหุ้นส่วนจาํ กัดจดทะเบียน 2 แหง่ ตลาดสดเทศบาล 1 แหง่
~6~
4.5 แรงงาน
แรงงานรายได้ประชากร ประชากรในเขตเทศบาลประมาณรอ้ ยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
นอกนัน้ ประกอบอาชีพด้านการพาณิชยกรรม บริการ รับราชการ และอุตสาหกรรม
4.6 การบริการ
การบรกิ ารด้านสถานท่ีพกั ประเภทรีสอรท์ ในเขตเทศบาลตําบลโนนแดง มีจาํ นวน 2 แห่ง
5. ระบบบรกิ ารพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
การเดินทางเข้าสู่อําเภอโนนแดงได้ โดยใช้เส้นทางจากถนนมิตรภาพ ตรงแยกบ้านวัด ตําบลเทพาลัย
อาํ เภอคง ไปตามถนนเจนจบทิศ ระยะทางจากตัวจังหวัดนครราชสีมา ตําบลโนนแดง มีระยะทางประมาณ
75 กิโลเมตร เทศบาลตําบลโนนแดง สามารถใช้เส้นทางคมนาคมติดต่อกับอําเภอและจังหวัดต่างๆ ได้โดย
ใชถ้ นนสายหลกั 4 สาย คือ
1) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 207 (ถนนเจนจบทิศ) ซง่ึ เป็นถนนท่ีเชือ่ มระหว่างทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข 2 กิโลเมตรที่ 208+285 บ้านวัด อําเภอคง จังหวัดนครราชสีมา ผ่านเทศบาลตําบลโนนแดง
ไปยังจังหวัดต่างๆ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เชน่ ร้อยเอด็ มกุ ดาหาร ยโสธร นครพนม อาํ นาจเจรญิ เป็นตน้
2) ทางเลยี บคลองชลประทาน คลอง 1 ซา้ ย จากอําเภอพิมายสามารถเดินทางมายังอําเภอโนนแดงได้
โดยผ่านตําบลชวี าน อาํ เภอพมิ าย และบ้านตะเภาหนนุ อาํ เภอโนนแดง ระยะทาง 22 กโิ ลเมตร
3) ทางหลวงชนบท จากบา้ นหัวหนอง อําเภอบัวใหญ่ สามารถเดินทางมายังเทศบาลตําบลโนนแดง
ได้โดยผ่านบา้ นโนนตาเถร อาํ เภอโนนแดง ระยะทาง 23 กโิ ลเมตร
4) จากอําเภอสีดา ตามทางหลวงหมายเลข 2 สามารถเดินทางมายังเทศบาลตําบลโนนแดงได้
โดยทางหลวงชนบทผ่านบ้านสําโรงเหนือ ตําบลวังหิน บ้านสําพะเนียง ตําบลสําพะเนียง อําเภอโนนแดง
ระยะทาง 17 กิโลเมตร
นอกจากนยี้ ังมถี นนภายในเขตเทศบาลตําบลโนนแดง ซึ่งเช่ือมระหว่างหมู่บ้านต่างๆ หลายเส้นทาง
สภาพถนนเป็นลูกรังและหินคลุกจํานวน 21.สาย.ระยะทาง.21.90 กิโลเมตร ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
จาํ นวน 75 สาย ระยะทาง 31.10 กโิ ลเมตร และถนนลาดยาง จํานวน 2 สาย ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร
5.2 การไฟฟา้
กิจการไฟฟูาในเขตเทศบาลโนนแดง อยู่ในเขตควบคุมของการไฟฟูาส่วนภูมิภาคอําเภอประทาย
หน่วยอาํ เภอโนนแดง การใหบ้ ริการไฟฟาู ภายในเขตเทศบาลยงั ไมท่ ่วั ถงึ เนื่องจากชุมชนขยายตัวมีการสร้าง
บ้านเรือนเพิ่มมากข้ึน จํานวนครัวเรือนท่ีมีไฟฟูาใช้ 1,400 ครอบครัว ถนนในเขตเทศบาลที่มีไฟฟูา
สาธารณะจาํ นวน 88 สาย ถนนท่ียังไมม่ ไี ฟฟูาสาธารณะจํานวน 9 สาย
5.3 การประปา
ปัจจุบันการบริการด้านการประปาในเขตเทศบาลตําบลโนนแดงดําเนินการโดยเทศบาลตําบลโนนแดง
ใช้นํา้ ดบิ จากลาํ สะแทด จ่ายนํ้าใหแ้ ก่ผูใ้ ชท้ ง้ั ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลรวมท้งั สว่ นราชการตา่ งๆ
5.4 โทรศพั ท์
เทศบาลตําบลโนนแดงมีชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สื่อสารกับท้องถ่ินอ่ืนๆ ได้หลายทางมีชุมสายโทรศัพท์ 1 แห่ง
จํานวนครัวเรือนที่มีโทรศัพท์ใช้ประมาณ 1,400 ครอบครัว โทรศัพท์สาธารณะ 7 หมายเลข โทรศัพท์
~7~
สาํ นกั งานเทศบาล 2 หมายเลข นอกจากนม้ี กี ารตดิ ตอ่ ทางเครือข่ายวิทยุส่ือสาร ท่ีทําการปกครองอําเภอโนนแดง
สาํ นกั งานเกษตรอําเภอโนนแดง สาํ นักงานเทศบาลตําบลโนนแดง มีวทิ ยุสอื่ สารมือถือ 16 เครื่อง สํานักงาน
สาธารณสขุ อาํ เภอโนนแดง สถานตี ํารวจภูธรอําเภอโนนแดง โรงเรยี นชมุ ชนโนนแดง และโรงเรยี นภู่วทิ ยา
5.5 ไปรษณยี ห์ รอื การสื่อสารหรอื การขนสง่ และวัสดุ ครภุ ัณฑ์
เทศบาลตําบลโนนแดงมีช่องทางการติดต่อสื่อสารกับท้องถิ่นอื่นๆ ได้หลายทางทั้งทางจดหมาย
โทรศพั ท์และโทรเลข โดยมีท่ีทาํ การไปรษณยี อ์ ําเภอโนนแดง 1 แหง่ ตงั้ อยทู่ ่ี หมู่ท่ี 1 ถนนเจนจบทิศ ตําบลโนนแดง
อําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
6. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
6.1 ศาสนา
ประชากรส่วนใหญใ่ นเขตเทศบาลตําบลโนนแดงนับถือศาสนาพุทธ มีวัดในเขตเทศบาลตําบลโนนแดง
จํานวน 1 แห่ง คอื วัดโนนแดง ตัง้ อย่ทู ่หี มู่ 15 ตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
6.2 ประเพณีและงานประจาปี
วฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถนิ่ ท่สี าคัญ ไดแ้ ก่
1) ประเพณขี น้ึ ปีใหม่ เดือนมกราคม กิจกรรมทีส่ ําคญั ไดแ้ ก่ การทาํ บุญตกั บาตร
2) ประเพณีตรุษจีน ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ กิจกรรมท่ีสําคัญ ได้แก่ การไหว้เจ้า การเฉลิมฉลอง
และการแสดงมหรสพตา่ งๆ
3) ประเพณีสงกรานต์ เดือนเมษายน กิจกรรมท่ีสําคัญ ได้แก่ การจัดขบวนแห่ การประกวดเทพี
สงกรานต์ การสรงนํ้าพระ การรดนาํ้ ดาํ หัวผ้สู ูงอายุ และการแสดงมหรสพต่างๆ
4) ประเพณีเข้าพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม กิจกรรมท่ีสําคัญ ได้แก่ การแห่เทียนพรรษา
การจดั การประกวดขบวนแห่ของหมู่บา้ นตา่ งๆ ในอําเภอโนนแดง
5) ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือนพฤศจิกายน กิจกรรมท่ีสําคัญ ได้แก่ การประกวดกระทง
การประกวดนางนพมาศ และการแสดงมหรสพตา่ ง ๆ
6) วันสําคัญของชาติ ได้แก่ วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
วนั ท่ี 5 ธันวามหาราช วนั เฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ซ่ึงมีกิจกรรมท่ีสําคัญ
ได้แก่ การทําบุญเล้ียงพระ การลงนามถวายพระพร การจุดเทียนชัยถวายพระพร การแสดงมหรสพต่างๆ
นอกจากนี้ยังมีวันสาํ คญั อีกวนั หน่งึ คือ วนั ปยิ มหาราช วนั ที่ 23 ตลุ าคม กจิ กรรมท่สี าํ คญั ได้แก่ การถวายราชสดดุ ี
และการทําบุญเลยี้ งพระ เป็นตน้
6.3 ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ภาษาถิ่น
เขตพื้นทีเ่ ทศบาลตาํ บลโนนแดงใช้ภาษาถนิ่ สว่ นใหญเ่ ป็นภาษาไทยโคราช และในชุมชนแต่ละชุมชน
กม็ ผี ู้มีความรู้และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินแต่ละด้านที่ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลตําบลโนนแดงได้สืบต่อกันมา
อาทเิ ช่น ด้านแพทยแ์ ผนไทย/สมุนไพรพนื้ บ้าน/หมอพน้ื บ้าน/นวดแผนไทย/การทําบายศรีสู่ขวัญ/ด้านดนตรี
พื้นบ้านกลองยาว/ช่างไม้/ชา่ งป้ัน/ชา่ งแกะ/หัตถกรรม/จักสาน/ทอผ้าทอเสื่อ/ทอผา้ ไหม และทอพรมไหม
~8~
6.4 สินคา้ พืน้ เมืองและของท่ีระลกึ
ในเขตเทศบาลตาํ บลโนนแดง มีสนิ ค้าพนื้ เมอื งท่ไี ด้รับการส่งเสริมเปน็ สินค้าโอท็อป ประเภทอาหาร
คือ ขนมนางเล็ด จากกลุ่มส่งเสริมอาชีพชุมชนใหม่ศรีประทาน หมู่ท่ี 11 ตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง
จงั หวัดนครราชสมี า
7. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
7.1 ป่าไม้
ลักษณะของทรัพยากรปุาไม้ ในเขตพ้ืนที่อําเภอโนนแดง ส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีปุาขนาดเล็กที่ดูแลและ
รกั ษาโดยประชาชนในพน้ื ที่ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการหาของปุาและอาหารตามธรรมชาติ
7.2 ภูเขา
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศในเขตพน้ื ทขี่ องเทศบาลตาํ บลโนนแดงเป็นพืน้ ทีร่ าบไม่มีภเู ขา
7.3 คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
เน่ืองจากสภาพแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตเทศบาลตําบลโนนแดงส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีปุาขนาดเล็กยังขา ด
ความอดุ มสมบูรณแ์ ละมีความแหง้ แล้งในชว่ งฤดูร้อนประกอบกับสภาพดินในบางพื้นที่มีความเค็มปุาไม้และ
การเพาะปลูกพืชต่างๆจงึ ยงั ไมส่ มบูรณ์เท่าทคี่ วร
~9~
สภาพทวั่ ไปและข้อมูลพ้นื ฐาน
ในพ้ืนที่องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จงั หวดั นครราชสมี า
ประวตั อิ งค์การบริหารส่วนตาบลโนนแดง
องค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง ได้รับการยกฐานะจากสภาตําบลเป็นองค์การบริหารส่วนตําบล
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ที่ทําการองค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง เดิม ตั้งอยู่ที่
บ้านใหม่ศรีประทาน หมู่ที่ 11 อยู่ในเขตเทศบาลตําบลโนนแดง.บนเนื้อท่ี.1.ไร่.จนกระทั่งเม่ือ
เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2540 ไดย้ ้ายที่ทาํ การใหม่มาต้ังอยู่เลขที่ 118 หมู่ท่ี 9 บ้านจาบ ตําบลโนนแดง บนเน้ือท่ี
19 ไร่ 1 งาน (ปัจจบุ ันเปน็ องคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลขนาดกลาง)
วิสยั ทัศน์
“สขุ ภาพดถี ว้ นหน้า การศึกษาก้าวไกล บรหิ ารจัดการโปร่งใส ใส่ใจคุณธรรม นําพาคุณภาพชวี ิตรอบด้าน”
1. ขอ้ มลู ท่ัวไป
1.1 ขนาดที่ต้ังและอาณาเขต
องคก์ ารบริหารสว่ นตําบลโนนแดง ตั้งอยู่เลขที่ 118 หมู่ท่ี 9 ตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง เป็น 1 ใน 5 ตําบล
ในเขตอาํ เภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา มีอาณาเขตพื้นท่ีติดอยู่กับท้องถิ่นใกล้เคียง 5 ส่วน คือ เทศบาล
ตาํ บลโนนแดง , ตาํ บลสาํ พะเนยี ง , ตําบลวังหนิ , ตาํ บลโนนตาเถร,ตาํ บลดอนยาวใหญ่ ดังนี้
ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับตําบลดอนยาวใหญ่ อาํ เภอโนนแดง
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับอําเภอคง และอาํ เภอพมิ าย
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ตาํ บลสําพะเนียง อําเภอโนนแดง
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั ตาํ บลเทพาลยั อาํ เภอคง
1.2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ภูมิประเทศขององค์การบริหารส่วนตําบลมีลักษณะเป็นท่ีราบลุ่ม ต้ังอยู่ทางภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง เป็นพ้ืนทีส่ าํ หรับทีอ่ ยูอ่ าศยั ประมาณ 60% เป็นพ้ืนท่ีสําหรับการเกษตร 35%
และมพี ้ืนทส่ี ว่ นอืน่ 5% มี 3 ฤดกู าล (ฤดรู อ้ น ฤดูฝน ฤดหู นาว)
~ 10 ~
1.3 ลักษณะภมู อิ ากาศ
ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนช้ืน อากาศเปลย่ี นแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี 3 ฤดู ดงั น้ี
ฤดูร้อน เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแล้ง
แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างคร้ังเกิดพายุฝนฟูาคะนองและลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตก
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง 35 – 39.9
องศาเซลเซียส รอ้ นจดั มอี ณุ หภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียส ขนึ้ ไป
ฤดูฝน เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด
“ช่วงฝนท้ิง” ซึ่งอาจนานประมาณ 1 – 2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน
ในเดือนกรกฎาคม.แต่ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลไม่เคยเกิดอุทกภัยรุนแรง มีฝนตกเฉล่ียประมาณ
900 มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคม นานราว
1 - 2 สปั ดาห์ เป็นชว่ งเปลีย่ นฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็น
หรอื อาจยังมีฝนฟาู คะนอง อากาศหนาวอุณภมู ิตา่ํ สุด ประมาณ 15 องศา
1.4 ลกั ษณะของดนิ
ลักษณะดินโดยท่ัวไปเป็นดินร่วนปนทราย ประมาณ 75% ดินลูกรังประมาณ 15% ลักษณะดิน
ในพ้ืนทีเ่ ปน็ ดนิ เหนียวประมาณ 10%
1.5 ลักษณะของแหล่งนา้
มีแหลง่ นา้ํ ท่ีใช้สําหรบั อุปโภค-บรโิ ภค จํานวน 5 แหง่ แหลง่ น้ําทงั้ 5 แหง่ เคยเปน็ แหล่งนํ้าที่เกิดข้ึน
ตามธรรมชาติและองค์การบริหารส่วนตําบลได้ดําเนินการปรับปรุงก่อสร้างข้ึนใหม่เพื่อเพียงพอกับการ
อุปโภคและบริโภคของประชาชน ดงั น้ี
แหลง่ นา้ ธรรมชาติ
• ลาํ สะแทด จํานวน 1 แห่ง
• ลําห้วยเจยี บ จาํ นวน 1 แห่ง
• บงึ ระหอก จาํ นวน 1 แห่ง
• หนองนํา้ จาํ นวน 7 แหง่
แหล่งนา้ ท่ีสร้างขึน้
• ฝาย จาํ นวน 3 แหง่
• บอ่ นํ้าตื้น จํานวน 5 แห่ง
• ประปา จาํ นวน 2 แห่ง
• บอ่ โยก จํานวน 2 แห่ง
• คลอง จาํ นวน 2 แห่ง (คลองหนองม่วง , คลองหัวลงิ )
1.6 ลกั ษณะของไม้และปา่ ไม้
ทส่ี าธารณะในตาํ บล ประกอบดว้ ย
• โนนชาด (หมู่ท่ี 7) • โนนวัด (หมู่ท่ี 7)
• โนนขาม (หมู่ท่ี 7) • ปุาสาธารณะหนองแฝก (หมทู่ ี่ 17)
ในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตาํ บลยังมีปุาไม้ และมีต้นไมท้ ่ีชาวบ้านปลกู ลกั ษณะของไมเ้ ปน็ ไมย้ นื ต้น ผลดั ใบ
~ 11 ~
2. เขตการปกครองและประชากร
2.1 เขตการปกครอง
องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ เขตอําเภอโนนแดง
• เทศบาลตาบล จาํ นวน 2 แห่ง คอื
1) เทศบาลตาํ บลโนนแดง
2) เทศบาลตาํ บลวงั หนิ
• องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล จํานวน 4 แห่ง คอื
1) องค์การบริหารส่วนตาํ บลโนนแดง
2) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบลดอนยาวใหญ่
3) องค์การบริหารสว่ นตําบลโนนตาเถร
4) องค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลสาํ พะเนยี ง
2.2 ประชากร
ประชากรขององค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง - ประชากรทั้งสิ้น 4,293 คน แยกเป็นชาย 2,042 คน
หญงิ 2,251 คน - ความหนาแน่นเฉล่ยี 87.61 คน/ตารางกโิ ลเมตร และมขี นาดครัวเรือนทั้งสิ้น 1,042 ครัวเรือน
3. ข้อมูลดา้ นสงั คม
3.1 การศึกษา
จากการสาํ รวจขอ้ มูลพืน้ ฐานพบว่า ประชากรอายุ 15 – 60 ปีเต็ม ร้อยละ 99 อ่าน เขียนภาษไทย
และคิดเลขอย่างง่ายได้ เด็กอายุ 6 – 14 ปี ร้อยละ 100 ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียนต่อ
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 หรือเทียบเท่า และที่ไม่ได้เรียนต่อมีงานทํา ร้อยละ 99 ด้านการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
ปัญหา คือ ยังไม่สามารถท่ีจะแข่งขันกับเมืองใหญ่ๆ ได้ การแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตําบล ได้จัดกิจกรรม
ใหก้ ับเดก็ ของศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก การสนับสนุนอาหารเสริมนม อาหารกลางวัน ให้กับทางโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ี
และรว่ มกันจัดกจิ กรรมตา่ งๆ กบั ทางโรงเรยี นในเขตพนื้ ท่ี
3.2 สาธารณสขุ
จากการสาํ รวจข้อมลู พน้ื ฐานพบว่า ประชาชนกรสว่ นมากมสี ขุ ภาพท่ีดี มีการคัดกรองสุขภาพให้กับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคท่ีมักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน โรคเอดส์
โรคไขเ้ ลือดออก มอื -ปาก-เทา้ ในเดก็ และโรคอนื่ ๆ อีกมาก
สถติ เิ ขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล ปัญหา คือ ประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจําปี
การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตําบลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกัน
รณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสําคัญในเรื่องน้ีซึ่งก็ได้ผลในระดับหน่ึง ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีแต่ต้อง
เป็นการดาํ เนินการอย่างต่อเนอื่ งเปน็ ประจําทุกปี
สาํ หรบั เด็กแรกเกิด – อายุ 6 ปี ผู้ปกครองสามารถเล้ียงดูตรงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีเพียง 1 ราย เท่าน้ัน
ที่ไม่ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานจากการสํารวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
การใช้ยาเพอื่ บําบัดอาการเจ็บปุวยที่ไม่เหมาะสม การออกกําลังกายยังไม่สมํ่าเสมอ และประชากรส่วนมาก
ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ ปัญหาเหล่าน้ีองค์การบริหารส่วนตําบล พยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข โดยร่วมมือ
กบั โรงพยาบาล สาธารณสขุ จดั กจิ กรรมเพ่ือแกไ้ ขปญั หา
~ 12 ~
3.3 อาชญากรรม
องค์การบริหารส่วนตําบลไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน
และทําลายทรัพย์สินของราชการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตําบลก็ได้ดําเนินการปูองกันการเกิดเหตุดังกล่าว
จากการสํารวจขอ้ มลู พ้นื ฐานพบวา่ ส่วนมากครัวเรือนมีการปอู งกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สิน ปัญหาคือจากข้อมูลท่ีสํารวจพบว่ามี 3 ครัวเรือน ที่ไม่มีการปูองกันอุบัติเหตุ อาชญากรรม
วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตําบล ที่สามารถดําเนินการได้ตามอํานาจหน้าท่ี.และงบประมาณ
ที่มอี ยอู่ ยา่ งจาํ กัด ติดตงั้ สัญญาณไฟ กระพรบิ ทางร่วมทางแยก รวมท้งั ไดต้ ั้งจุดตรวจจุดสกัด จดุ บริการ
ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออํานวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาท่ีพบเป็นประจํา
คือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี.งานมหรสพ.เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับ
ผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน
ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษท่ีได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือ
ไปยังผู้นํา การขอกําลังจากตํารวจ ผู้นํา อปพร. เพ่ือระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุนแรงแต่จะไม่ให้เกิดขึ้น
ทําให้ยังเป็นปญั หาทีป่ ัจจุบนั ไมส่ ามารถทจ่ี ะแก้ไขได้ ทงั้ ท่ีมีการร่วมมือกันหลายฝุาย เป็นเร่ืองท่ีทางองค์การ
บริหารส่วนตําบลจะต้องหาวธิ ที ีจ่ ะแก้ไขปญั หาให้กบั ประชาชนต่อไปตามอํานาจหน้าทท่ี ีส่ ามารถดําเนินการได้
3.4 ยาเสพตดิ
ปัญหายาเสพติดในชุมชนขององค์การบริหารส่วนตําบล จากการที่ทางสถานีตํารวจภูธรโนนแดง
ได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตําบลทราบน้ัน พบว่าในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลมีผู้ท่ีติดยาเสพติด
แต่เม่ือเทียบกับพื้นที่อ่ืนถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นํา
ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตําบลท่ีช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจํา การแก้ไขปัญหา
ขององค์การบริหารส่วนตําบลสามารถทําได้เฉพาะตามอํานาจหน้าท่ีเท่าน้ัน เช่น การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์
การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอํานาจหน้าท่ีก็เป็นเรื่องของอําเภอหรือตํารวจ
แลว้ แตก่ รณี ท้งั นี้ องค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลก็ไดใ้ หค้ วามร่วมมอื มาโดยตลอด
4. ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ
4.1 ด้านการเกษตร
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตําบล ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทาง
การเกษตรทีส่ าํ คญั ได้แก่ ขา้ ว มนั สําปะหลัง ดงั นี้
• อาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 70 ของจาํ นวนประชากรท้ังหมด
• อาชีพเลีย้ งสัตว์ ร้อยละ 13 ของจาํ นวนประชากรทง้ั หมด
• อาชพี รบั จา้ ง รอ้ ยละ 8 ของจํานวนประชากรท้งั หมด
• อาชพี คา้ ขาย รอ้ ยละ 9 ของจํานวนประชากรทั้งหมด
4.2 การปศสุ ัตว์
การประกอบการในลกั ษณะเลย้ี งในครัวเรือนเป็นอาชพี หลักและอาชพี เสรมิ เชน่ การเลี้ยงไก่ เป็ด
โค สกุ ร กระบือ
4.3 อตุ สาหกรรม
จาํ นวนกจิ การอตุ สาหกรรมขนาดเลก็ (โรงสขี นาดเล็ก) จาํ นวน 2 แหง่ (หมู่ท่ี 6 , 17)
~ 13 ~
4.4 การพาณชิ ย์และกลุ่มอาชีพ จํานวน 4 แห่ง (หมทู่ ่ี 9 , 14 , 17)
การพาณิชย์ จํานวน 2 แห่ง (หมทู่ ่ี 6 , 7)
• สถานบี รกิ ารนํ้ามนั จํานวน 28 แห่ง
• รา้ นค้าชมุ ชน
• รา้ นคา้
กลุม่ อาชพี
• กลุ่มผลติ ปุย๋
• กลมุ่ ผ้าไหม
4.5 แรงงาน
จากการสาํ รวจข้อมูลพ้ืนฐานพบวา่
• ประชากรท่ีมีอายุ 15 – 60 ปี อยู่ในกําลังแรงงาน ร้อยละ 95 เม่ือเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด
ร้อยละ 73.99 ซึ่งสงู กว่ามาก แตค่ ่าแรงในพน้ื ที่ตา่ํ กวา่ ระดบั จงั หวัด โดยเฉพาะแรงงานดา้ นการเกษตร
• ประชากรอายุระหว่าง 25 – 50 ปี บางส่วน ไปรับจ้างทํางานนอกพื้นท่ี รวมทั้งแรงงานท่ีไปทํางาน
ตา่ งประเทศ ปญั หาท่พี บ คอื ประชากรต้องไปทํางานนอกพืน้ ทใี่ นเมอื งท่ีมโี รงงานอตุ สาหกรรม บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ
เพราะในพ้นื ที่ไมม่ โี รงงานอุตสาหกรรมท่ีมีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพ้ืนที่ส่วนมากเป็นท่ีอยู่อาศัย ปัญหานี้
ยังไมส่ ามารถแกไ้ ขได้
4.7 การท่องเท่ียว
ในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลไม่มแี หล่งทอ่ งเทย่ี ว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเทยี่ วใหเ้ กิดข้ึนในชุมชน
เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจดั สรา้ งสวนสาธารณะสาํ หรับใช้พักผอ่ นหย่อนใจ
5. ระบบบรกิ ารพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลมีเส้นทางคมนาคมในพ้ืนที่องค์การบริหารส่วนตําบลท่ีเป็นถนน
คอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 70 เปูาหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ 100 โดยผู้บริหารมีนโยบาย
ที่จะดําเนินการ ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กทุกสาย ปัญหาคือ องค์การบริหารส่วนตําบลไม่สามารถ
ดําเนินการได้เนื่องจากพ้ืนท่ียัง ไม่เป็นท่ีสาธารณะ จะดําเนินการได้ก็ต่อเม่ือต้องเป็นท่ีสาธารณะ ปัจจุบัน
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลมเี สน้ ทางคมนาคม ดงั น้ี
การคมนาคม การจราจร เส้นทางคมนาคมท่ีใช้ติดต่อในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลและพ้ืนที่ใกล้เคียง
มีดังน้ี
5.1.1 การคมนาคมของตําบลโนนแดง มถี นนสายหลัก คอื ถนนเจนจบทิศทางหลวงหมายเลข 207
ถนนในหมู่บา้ นในตาบล
1) ถนนคอนกรีต จํานวน 60 สาย คดิ เป็นระยะทาง 7,000 กโิ ลเมตร สภาพใชง้ านได้ดี
2) ถนนลกู รงั จาํ นวน 10 สาย คิดเป็นระยะทาง 2,700 กโิ ลเมตร สภาพใช้งานไดด้ ี
3) ถนนดิน จํานวน 39 สาย คิดเป็นระยะทางพ้นื ที่ 137,680 ตารางเมตร สภาพใชง้ านได้ดี
4) ถนนหินคลกุ จาํ นวน 15 สาย คดิ เปน็ พื้นที่ 26,844.5 ตารางเมตร สภาพใชง้ านได้ดี
5) ถนนลาดยาง จํานวน 2 เส้น คดิ เปน็ ระยะทาง 5.700 กโิ ลเมตร สภาพชาํ รุดเป็นหลมุ เปน็ บอ่
5.1.2 สะพาน จาํ นวน 1 สะพาน
~ 14 ~
5.1.3 การจดั การขนสง่ มวลชน ประกอบดว้ ย
• รถโดยสารประจําทาง สายอาํ เภอประทาย - จงั หวัดนครราชสมี า
• รถโดยสารประจําทาง สายอาํ เภอพยัคฆ์ภูมิพิสยั - จงั หวัดนคราชสมี า
• รถโดยสารประจําทาง สายพนมไพร - กรุงเทพมหานคร
• รถโดยสารประจําทาง สายมุกดาหาร – กรงุ เทพมหานคร
5.2 การไฟฟ้า
การขยายเขตไฟฟาู ปจั จบุ นั มีไฟฟูาใชท้ ุกครัวเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟูาส่องสว่างทาง
หรอื ท่สี าธารณะยงั ไม่สามารถดาํ เนนิ การครอบคลมุ พ้นื ทีไ่ ดท้ ั้งหมด เนอื่ งจากพื้นท่ีที่มีความต้องการให้ติดตั้ง
ไฟฟาู ส่องสวา่ งน้ันยงั ไมเ่ ป็นท่ีสาธารณะ องค์การบริหารส่วนตําบลจึงไม่สามารถดําเนินการได้เช่นเดียวกับถนน
การแก้ปัญหา คือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝุาย เพื่อที่จะทําความเข้าใจกับประชาชนในพ้ืนที่
และวิธีการท่จี ะดาํ เนนิ การแกไ้ ข อยา่ งไร ท้ังน้ี องค์การบริหารส่วนตําบลก็ได้ต้ังงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว
และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อท่ีจะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน
ปัจจบุ ันในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตําบลมไี ฟฟูาใช้ ดงั น้ี
1) จํานวนครวั เรอื นทใ่ี ชไ้ ฟฟูา 1,014 หลังคาเรือน
2) ไฟฟูาสาธารณะ จํานวน 50 จดุ ครอบคลมุ ถนนทุกสายในเขตองค์การบริหารส่วนตาํ บล
5.3 การประปา
การประปา องค์การบริหารส่วนตําบลมีกิจการประปาเป็นขององค์การบริหารส่วนตําบลเอง
สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ และมีนํ้าใช้ตลอดทั้งปี ปัญหาคือ
มีข้อร้องเรียนเร่ืองนํ้าประปาขุ่นบ่อยคร้ัง สาเหตุเนื่องจากน้ําท่ีใช้ผลิตประปามีวัชพืชเยอะทําให้เกิดการ
ตกตะกอนของนํ้าประปาขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลยงั ไมส่ ามารถท่ีจะผลิตเป็นนํ้าประปาสําหรับบริโภคได้
ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดาํ เนนิ การ
ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตําบลยังไม่ประสบปัญหาการขาดแคลนนํ้าสามารถที่จะจัดหานํ้าดิบ
สําหรับผลิตประปาให้หมู่บ้านได้ การแก้ปัญหาคือ การลงพ้ืนที่ดําเนินการแก้ไขตามจุดที่เกิดปัญหาในทันที
การพิจารณาโครงการต่างๆ ที่ไม่สามารถดําเนินการได้นั้น เช่น โครงการก่อสร้างโรงสูบจ่ายสารเคมี
และเก็บสารเคมีการประปา ฯลฯ
องค์การบริหารส่วนตําบลก็ได้นําบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี เพื่อที่จะพิจารณาดําเนินการในปีต่อไป
เมื่อมีงบประมาณและความจําเป็นก็สามารถดําเนินโครงการได้ต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ
ของประชาชนตอ่ ไป ปจั จบุ ันประชาชนมีนาํ้ ประปาใช้ ดังน้ี
1) จาํ นวนครวั เรือนทีใ่ ช้น้ําประปา 1,014 หลงั คาเรือน
2) หนว่ ยงานเจา้ ของกจิ การประปาขององค์การบริหารสว่ นตาํ บลโนนแดง 2 แหง่
3) ปรมิ าณการใชน้ ้ําประปาเฉลีย่ 1,000 – 1,500 ลบ.ม. ต่อวัน
4) แหลง่ นํา้ ดบิ ที่ใชผ้ ลติ นํา้ ประปา ไดจ้ าก
• ลาํ หว้ ยเจยี บ : บา้ นระหนั คา่ ย หมู่ท่ี 7
• หนองกรด : บา้ นจาบ หมู่ที่ 9
• แหล่งน้ําใต้ดนิ : ไมม่ ี
~ 15 ~
5.4 โทรศัพท์
1) จาํ นวนโทรศพั ท์สาธารณะในเขตพนื้ ที่ จํานวน 5 ตู้ (หมู่ที่ 7, 8, 16, 17)
2) หอกระจายข่าวในพ้นื ทใี่ ห้บรกิ ารไดค้ รอบคลมุ ร้อยละ 100 ของพน้ื ทอ่ี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บล
5.5 ไปรษณยี ห์ รอื การสอื่ สารหรือการขนสง่ และวัสดุ ครภุ ัณฑ์
ที่การไปรษณีย์โทรเลข ใช้ร่วมในเขตเทศบาล จํานวน 1 แห่ง ให้บริการ เวลา 08.00 – 16.00 น.
ในวันจนั ทร์ – เสาร์ (วันเสาร์ครงึ่ วนั ) หยุดวันอาทติ ย์
6. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม
6.1 ศาสนา
ท่นี ับถอื ศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 100
• วดั จํานวน 7 แห่ง
• สํานักสงฆ์ จาํ นวน 1 แห่ง
6.2 ประเพณีและงานประจาปี
• ประเพณีวันขึน้ ปใี หม่ ประมาณเดอื นมกราคม
• ประเพณีทําบุญกลางบา้ น ประมาณเดือนพฤษภาคม
• ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือนเมษายน
• ประเพณลี อยกระทง ประมาณเดอื นตุลาคม - พฤศจกิ ายน
• ประเพณวี ันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน
6.3 ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภาษาถนิ่
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ได้แก่
วิธีการทําเคร่ืองจักสารใช้สําหรับในครัวเรือน การทอผ้าไหม วิธีการทอเส่ือจากต้นกก และวิธีการจับปลา
ธรรมชาติ ภาษาถ่ิน สว่ นมากรอ้ ยละ 60 % พดู ไทยโคราช ร้อยละ 40 % พดู ภาษาอีสาน
6.4 สินค้าพื้นเมอื งและของทร่ี ะลกึ
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตําบล ได้ผลิตของใช้พ้ืนเมืองข้ึนใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้
จาํ หนา่ ยบา้ ง ได้แก่ เส่ือท่ที อจากตน้ กก ผ้าท่ที อจากผ้าฝาู ยและผ้าไหม เครอ่ื งจกั รสานทีท่ าํ จากไม้ไผ่
7. ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
7.1 น้า
ที่ใช้ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ําท่ีได้จากนํ้าฝน และนํ้าดิบจากแม่นํ้าชี (อยู่นอกเขต) ซ่ึงจะต้อง
นํามาผ่านกระบวนการของระบบประปา สําหรับน้ําใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนําขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้
และบางแหง่ เคม็ ไมส่ ามารถใชด้ ื่มและอปุ โภคได้
7.2 ป่าไม้
ในเขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบล มีปาุ ไมธ้ รรมชาตเิ หลอื อยบู่ า้ งเป็นบางสว่ น
~ 16 ~
7.3 คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นท่ีขององค์การบริหารส่วนตําบลส่วนมากเป็นพ้ืนที่สําหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า
สถานประกอบการ ตามลําดับ และมีพ้ืนท่ีเพียงเล็กน้อยที่เป็นพ้ืนที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ี
ไดแ้ ก่ ดนิ นํ้า ต้นไม้ อากาศที่ไมม่ มี ลพิษ ปญั หา คอื
1) เน่ืองจากว่าพื้นท่ีบางส่วนเป็นดินเค็ม น้ําใต้ดินก็เค็ม หรือไม่ก็เป็นนํ้ากร่อย ไม่สามารถที่จะนํานํ้า
จากใต้ดินมาใช้ในการอุปโภค-บรโิ ภคได้ ต้องอาศัยนํ้าดบิ จากแหลง่ อน่ื และนาํ้ ฝน
2) นํ้าในการเกษตร ก็ต้องรอฤดูฝน มีแหล่งน้ําใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคือยังไม่สามารถ
หาแหล่งนา้ํ สําหรบั การเกษตรไดเ้ พ่ิมขนึ้ เพราะพื้นที่สว่ นมากเป็นของประชาชน และเอกชน
3) ปัญหาด้านขยะ เมื่อชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น การแก้ไขปัญหาองค์การบริหารส่วนตําบลได้จัดทํา
โครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน เช่น โครงการจัดหาถังขยะ
รองรับขยะให้ครอบคลุมทั้งพ้ืนท่ี โครงการปลูกต้นไม้ในวันสําคัญต่างๆ ในพ้ืนที่ของตนเองและท่ีสาธารณะ
รวมท้ังปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มร่ืนสวยงามให้เป็นเมืองน่าอยู่เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ
ของประชาชน ฯลฯ
~ 17 ~
ส่วนที่ 2
การวเิ คราะห์ข้อมูลจาก TPMAP
1. ขอ้ มูลระบบ Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP)
TPMAP คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เปูา (Thai People Map and Analytics Platform).
ซ่ึงได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เปูา (Thai Poverty Map and Analytics Platform)
ให้สามารถครอบคลุมปัญหาท่ีกว้างขึ้น เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่อยู่อาศัย
โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการช้ีเปูาความยากจนไว้ด้วย TPMAP.จึงสามารถใช้ระบุปัญหา
ความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถ่ิน/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจนราย
ประเดน็ ซ่งึ ทําใหก้ ารแก้ปัญหาตรงกับกลุ่มเปูาหมายมากขึ้นและสามารถออกแบบนโยบาย โครงการในการ
แก้ปัญหาใหต้ รงกับความตอ้ งการหรอื สภาพปัญหาได้
ห ลั ก ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง . TPMAP.คื อ อ า ศั ย ข้ อ มู ล จ า ก ห ล า ย แ ห ล่ ง ม า ยื น ยั น ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น
โดยในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าคนท่ีได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).และยังมาลงทะเบียนว่าจน
อีกด้วย.(register-based).น่าจะเป็นคนจนเปูาหมายที่ต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน ดังน้ัน TPMAP
จึงตัง้ ตน้ โดยใช้ขอ้ มูลความจาํ เป็นพืน้ ฐาน.(จปฐ.).จากกรมการพฒั นาชุมชน และขอ้ มูลผู้ลงทะเบียนสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
จากกระทรวงการคลัง มายืนยันซ่ึงกันและกัน หรืออีกนัยหน่ึง "คนจนเปูาหมาย " ใน.TPMAP.ก็คือ
คนจนใน.จปฐ..ทไ่ี ปลงทะเบียนสวสั ดิการแหง่ รฐั
TPMAP.ใช้วิธีการคํานวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional.Poverty
Index: MPI) ซ่ึงคิดค้นโดย Oxford Poverty & Human Development Initiative และ United Nation
Development Programmer ซ่ึง สศช. ได้นํามาปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจนหลายมิติ
หรือ MPI อาศยั หลกั การที่ว่า คนจนคือผู้ที่มีคุณภาพชีวิตตํ่ากว่าเกณฑ์คุณภาพชีวิตที่ดีในมิติต่างๆ ซ่ึง TPMAP
พิจารณาจาก 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ดา้ นการศกึ ษา ด้านการเงิน ด้านความเป็นอยู่ และดา้ นการเขา้ ถึงบริการรฐั
~ 18 ~
2. ขอ้ มูล TPMAP ของจงั หวัดนครราชสีมา
จํานวนคนจนและดัชนีความยากจน 5 มิติของจังหวัดนครราชสีมา มีจํานวนท้ังสิ้น 34,457.คน
พบวา่ จาํ นวนคนจนสูงสดุ 5 ลาํ ดับแรก คือ อําเภอเมืองนครราชสีมา มีจํานวนท้ังส้ิน 4,280 คน คิดเป็นร้อยละ
12.42 รองลงมา คือ อําเภอปากช่อง มีจํานวน 3,737 คน คิดเป็นร้อยละ 10.85 อันดับสาม คือ อําเภอจักราช
มีจํานวน 2,634 คน คิดเป็นร้อยละ 7.64 อันดับส่ี คือ อําเภอพิมาย มีจํานวน 1,980 คน คิดเป็นร้อยละ
5.75 และอันดับหา้ คอื อาํ เภอชุมพวง มจี ํานวน 1,973 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.73
ตารางที่ 1 จานวนคนจนและดัชนีความยากจน 5 มิติ
จานวนคนจน ดัชนคี วามยากจน 5 มติ ิ
เปา้ หมาย
อาเภอ ความ การศึกษา รายได้ การเข้าถึง
TPMAP (คน) สขุ ภาพ เปน็ อยู่ บรกิ ารภาครฐั
เมอื งนครราชสมี า
ครบุรี 4,280 1,564 540 1,859 895 3
เสิงสาง 2
คง 1,158 243 174 140 681 0
บา้ นเหลอ่ื ม 3
จกั ราช 255 91 0 0 192 0
โชคชยั 3
ดา่ นขนุ ทด 118 21 11 21 73 0
โนนไทย 0
โนนสูง 190 20 149 2 28 1
ขามสะแกแสง 0
บัวใหญ่ 2,634 263 863 1,175 514 0
ประทาย 0
ปกั ธงชยั 1,109 537 96 189 352 0
พมิ าย 7
หว้ ยแถลง 1,877 334 294 579 939 1
ชมุ พวง 0
สูงเนนิ 1,524 573 442 66 680 6
ขามทะเลสอ 2
สคี ว้ิ 1,091 25 54 94 989 3
ปากช่อง 5
154 16 0 56 88 8
46 0 2 4 40
539 333 30 59 178
1,482 405 56 98 1,044
1,980 153 31 925 958
1,547 477 215 45 973
1,973 138 1,342 107 453
773 334 61 115 357
1,208 83 10 59 1,120
1,501 116 20 54 1,348
3,737 2,224 568 303 1,281
~ 19 ~
จานวนคนจน ดชั นคี วามยากจน 5 มติ ิ
เปา้ หมาย
อาเภอ ความ การศกึ ษา รายได้ การเข้าถงึ
TPMAP (คน) สขุ ภาพ เปน็ อยู่ บรกิ ารภาครฐั
หนองบุญมาก
แก้งสนามนาง 669 88 16 18 622 7
โนนแดง 267 22 2
วังน้ําเขียว 66 13 122 71 70 0
เทพารักษ์ 418 51 0
เมืองยาง 79 8 3 32 20 0
พระทองคํา 1,018 19 0
ลาํ ทะเมนชัย 1,390 136 82 66 282 0
บัวลาย 3 0 0
สีดา 7 0 4 27 45 0
เฉลมิ พระเกยี รติ 74 0 0
1,290 89 22 61 956 8
รวม 34,457 8,376 61
170 700 533
0 30
0 07
0 0 74
58 376 864
5435 7,304 16,656
แผนภูมิท่ี 1 เปรยี บเทยี บจานวนคนจนเปา้ หมาย TPMAP รายอาเภอ
~ 20 ~
แผนภมู ิท่ี 2 ดัชนคี วามยากจน 5 มิติ ของจังหวัดนครราชสีมา
ตามแผนภูมิท่ี 2 ดัชนีความยากจน 5 มิติของจังหวัดนครราชสีมา พบว่าปัญหาความยากจน
ท่ีต้องการความช่วยเหลือมากที่สุด คือมิติด้านรายได้ มีจํานวนทั้งสิ้น.16,656.คน.คิดเป็นร้อยละ.44.02
รองลงมาคือ มิติด้านสุขภาพ มีจํานวน 8,376 คน คิดเป็นร้อยละ 22.14 มิติด้านการศึกษา มีจํานวน 7,304 คน
คิดเป็นร้อยละ 19.31 มิติด้านความเป็นอยู่ มีจํานวน 5,435.คน คิดเป็นร้อยละ 14.37 และมิติด้านการเข้าถึง
บริการภาครัฐ จาํ นวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 0.16 ตามลาํ ดับ
แผนภาพท่ี 1 แสดงการจดั กล่มุ อาเภอตามการจาแนกครวั เรือนเปา้ หมายระดับชุมชน 3 ระดับ
และสามารถจดั กล่มุ อาํ เภอ โดยแบง่ ออกเป็น 3 ระดับ ได้ดังนี้ 1) ระดับสีเขียว ได้แก่ อําเภอลําทะเมนชัย
อําเภอบัวลาย อําเภอสีดา 2) ระดับสีเหลือง ได้แก่ อําเภอเสิงสาง อําเภอขามสะแกแสง อําเภอบัวใหญ่
3) ระดับสีแดง ไดแ้ ก่ อาํ เภอเมืองนครราชสมี า อําเภอชุมพวง อําเภอครบุรี อําเภอสูงเนิน อําเภอคง อําเภอขามทะเลสอ
อาํ เภอบ้านเหล่อื ม อาํ เภอสคี ้ิว อาํ เภอจกั ราช อําเภอปากช่อง อําเภอโชคชัย อําเภอหนองบญุ มาก อําเภอดา่ นขนุ ทด
อําเภอแก้งสนามนาง อําเภอโนนไทย อําเภอโนนแดง อําเภอโนนสูง อําเภอวังนํ้าเขียว อําเภอประทาย
อําเภอเทพารักษ์ อําเภอปักธงชัย อําเภอเมืองยาง อําเภอพิมาย อําเภอพระทองคํา อําเภอห้วยแถลง
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ
~ 21 ~
2. ข้อมลู TPMAP ของตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จงั หวัดนครราชสีมา
2.1 การจาแนกครัวเรอื นเป้าหมายระดับชุมชน 3 ระดบั
การวิเคราะห์ข้อมูลตามระบบ Thai People Map and Analytics Platform หรือ TPMAP
จํานวน 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศกึ ษา ดา้ นรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ
เพอื่ จําแนกครวั เรอื นเปูาหมายระดบั ชมุ ชนเปน็ 3 ระดับ ดังนี้
1. สีเขยี ว หมายถึง ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น/หมวด
2. สเี หลือง หมายถงึ ตกเกณฑ์ 2-3 ดา้ น/หมวด
3. สีแดง หมายถึง ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน/หมวด
ข้อมูลจากระบบ TPMAP ตาํ บลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา มีคนจนเปูาหมาย
จาํ นวน 41 คน แบง่ 3 ระดับ ไดด้ ังนี้ ระดับสีเขียว จํานวน 30 ครัวเรือน ระดับสีเหลือง จํานวน 10 ครัวเรือน
และระดับสแี ดง จาํ นวน 1 ครวั เรือน ตามรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี
ตารางท่ี 2 จานวนคนจนเปา้ หมายตามจานวนดา้ นทต่ี กเกณฑ์ แยกรายหมูบ่ า้ น
หมบู่ า้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ รวม
1 ดา้ น 2 ด้าน 3 ด้าน 4 ดา้ น 5 ดา้ น (คน)
หมู่ที่ 1 บา้ นโนนแดง
หมู่ท่ี 2 บ้านตะเภาหนนุ 2 - - - - 2
หมทู่ ี่ 3 บา้ นเต็งสงู 1 1 - - - 2
หมูท่ ่ี 4 บา้ นหวั โคก 2 - - - - 2
หมู่ที่ 5 บ้านดอนตะหนิน 3 1 2 1 7
หมทู่ ี่ 6 บา้ นดอนตัดเรือ - - - - -
หมทู่ ี่ 7 บา้ นระหันค่าย 1 - - - - 1
หมู่ท่ี 8 บ้านหนองบง 2 - - - - 2
หมทู่ ่ี 9 บ้านจาบ 5 - - - - 5
หมทู่ ี่ 10 บ้านบตุ าคง 8 - - - - 8
หมทู่ ี่ 11 บา้ นใหม่ศรปี ระทาน 1 1 - - - 3
หมูท่ ่ี 12 บา้ นโนนเขวา้ 1 1 1 - - 2
หมู่ท่ี 13 บา้ นหนองโจด 1 - - - 1
หมู่ที่ 14 บ้านหนองตาโล - - - - - -
หมู่ที่ 15 บ้านตลาดโนนแดง 1 - 2
หมทู่ ่ี 16 บ้านหนองมน - 2 - - - 2
หมทู่ ี่ 17 บา้ นไทยสามัคคี 1 - 1 - 1
1 - - - 1
รวม 30 6 - 1 0 41
-
-
4
~ 22 ~
แผนภูมิท่ี 3 คนจนเป้าหมายแยกรายหมบู่ า้ น
จากแผนภูมิที่ 3 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนด้านที่ตกเกณฑ์.พบว่าหมู่บ้านท่ีมีคนจนสูงสุด
5 ลําดับแรก คอื หมทู่ ่ี 9 บา้ นจาบ มจี าํ นวน 8 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 19.51 รองลงมา คือ หมทู่ ี่ 4 บ้านหัวโคก
มีจํานวน 7 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 17.07 และลําดับสามคือ หมู่ที่ 8 บ้านหนองบง มีจํานวน 5 ครัวเรือน
คิดเป็นรอ้ ยละ 12.20
แผนภูมิที่ 4 คนจนเป้าหมายตามจานวนด้านทีต่ กเกณฑ์
จากแผนภูมิที่ 4 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดที่ตกเกณฑ์.พบว่าตกเกณฑ์ 1 ด้าน
มจี ํานวนทัง้ ส้ิน 30 ครวั เรอื น คิดเป็นร้อยละ 73.17 ตกเกณฑ์ 2 ด้าน มีจํานวน 6 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
14.63 ตกเกณฑ์ 3 ดา้ น มีจาํ นวน 4 ครัวเรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.76 ตกเกณฑ์ 4 ด้าน มีจํานวน 1 ครัวเรือน
คดิ เปน็ ร้อยละ 2.44 และไม่พบการตกเกณฑท์ ั้ง 5 ดา้ น
~ 23 ~
2.2 จานวนคนจนเปา้ หมายตามดัชนีความยากจน 5 มิติ
จาํ นวนคนจนเปูาหมายตามดัชนีความยากจน 5 มติ ิ พบว่า คนจนเปูาหมายส่วนใหญ่ตกเกณฑ์
ด้านรายได้ รองลงมาคือ ตกเกณฑ์ด้านการศึกษา ลําดับสามคือ ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพ ความเป็นอยู่ และไม่พบ
การตกเกณฑด์ า้ นความเปน็ อยู่ และดา้ นการเข้าถึงบรกิ ารภาครัฐ
ตารางท่ี 3 จานวนคนจนเป้าหมายตามดัชนีความยากจน 5 มติ ิ
หมู่บ้าน ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ จานวน
ด้าน ด้าน ด้าน ด้าน ดา้ นการ คนตก
สขุ ภาพ ความ รายได้ เข้าถึง เกณฑ์
เปน็ อยู่ การศึกษา บรกิ าร
ภาครัฐ 2
หมู่ที่ 1 บ้านโนนแดง - - 11 2
หมทู่ ี่ 2 บา้ นตะเภาหนุน 1 -1- - 2
หมทู่ ี่ 3 บา้ นเต็งสงู - - -2 - 7
หมู่ท่ี 4 บา้ นหวั โคก - - 34 - -
หมู่ท่ี 5 บ้านดอนตะหนนิ - --- 1
หมทู่ ี่ 6 บา้ นดอนตัดเรือ - -1- - 2
หมทู่ ี่ 7 บ้านระหนั คา่ ย 1 -1- - 5
หมทู่ ี่ 8 บา้ นหนองบง - - 41 8
หมทู่ ่ี 9 บา้ นจาบ 2 - 33 - 3
หมู่ที่ 10 บ้านบตุ าคง 2 - -1 - 2
หมทู่ ่ี 11 บ้านใหม่ศรปี ระทาน - - -2 - 1
หมู่ท่ี 12 บ้านโนนเขวา้ - - -1 -
หมทู่ ี่ 13 บา้ นหนองโจด - --- - 2
หมทู่ ี่ 14 บ้านหนองตาโล 2 --- - 2
หมู่ท่ี 15 บ้านตลาดโนนแดง - - -2 1
หมู่ท่ี 16 บ้านหนองมน - -1- - 1
หมทู่ ่ี 17 บ้านไทยสามัคคี - -1- 41
-
รวม 8 - 16 17 -
-
-
-
-
-
~ 24 ~
แผนภมู ิที่ 5 คนจนเป้าหมายตามดชั นีความยากจน 5 มติ ิ
จากแผนภมู ทิ ี่ 5 จํานวนคนจนเปาู หมายตามดชั นคี วามยากจน 5 มิติ พบว่า คนจนเปูาหมายส่วนใหญ่
ตกเกณฑ์ด้านรายได้ มีจํานวน 17 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 41.46.รองลงมา.คือ.ตกเกณฑ์ด้านการศึกษา
มจี าํ นวน 16 ครัวเรือน คดิ เป็นร้อยละ 39.03 และลาํ ดับสาม คือ ตกเกณฑ์ดา้ นสุขภาพ จาํ นวน 8 ครัวเรือน
คดิ เปน็ ร้อยละ 19.51
คาอธบิ าย
TPMAP สามารถระบุได้วา่ “คนจนเปูาหมาย” มีปัญหาอะไรบ้างในแต่ละมิติ จากข้อมูลจํานวนคน
ในครัวเรือนยากจนที่ตกตัวชี้วัดความจําเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ในแต่ละมิติ โดยคัดเลือกจากตัวช้ีวัด.จปฐ.
(31 ตัวชว้ี ดั ) ท่นี ํามาใชใ้ นการคาํ นวณดชั นคี วามยากจนหลายมิติ (MPI) จํานวน 17 ตวั ชว้ี ดั ดังนี้
ดา้ นสุขภาพ (เลือก 4 ตวั ชวี้ ัด จาก 7 ตัวชี้วัด)
เดก็ แรกเกดิ มีน้าํ หนกั 2,500 กรัมขนึ้ ไป
ครวั เรอื นกนิ อาหารถกู สขุ ลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน
ครัวเรอื นมีการใชย้ าเพื่อบําบดั บรรเทาอาการเจ็บปวุ ยเบ้อื งตน้ อยา่ งเหมาะสม
คนอายุ 6 ปีขนึ้ ไป ออกกําลังกายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วนั วันละ 30 นาที
ด้านความเปน็ อยู่ (เลอื ก 4 ตัวชี้วดั จาก 7 ตัวช้ีวัด)
ครวั เรือนมีความมั่นคงในท่ีอย่อู าศัย และบา้ นมีสภาพคงทนถาวร
ครวั เรือนมนี ้ําสะอาดสําหรับด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน
ครัวเรอื นมนี าํ้ ใช้เพยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลิตรตอ่ วนั
ครวั เรือนมีการจดั การบ้านเรือนเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย สะอาด และถูกสขุ ลักษณะ
ด้านการศกึ ษา (เลอื ก 4 ตัวชี้วดั จาก 5 ตวั ช้วี ัด)
เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับบริการเลยี้ งดเู ตรยี มความพรอ้ มกอ่ นวัยเรียน
เดก็ อายุ 6-14 ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบงั คับ 9 ปี
เด็กจบช้นั ม.3 ไดเ้ รียนตอ่ ช้นั ม.4 หรือเทียบเท่า
คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งง่ายได้
~ 25 ~
ดา้ นรายได้ (เลือก 3 ตัวช้วี ดั จาก 4 ตวั ช้ีวดั )
คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และรายได้
คนอายุ 60 ปขี ึ้นไป มีอาชพี และรายได้
รายไดเ้ ฉลี่ยของคนในครัวเรือนตอ่ ปี
ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารรัฐ (เลอื ก 2 ตัวชว้ี ัด จาก 8 ตวั ช้วี ัด)
ผสู้ ูงอายุ ได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
ผ้พู ิการ ไดร้ ับการดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
นอกจากน้ัน TPMAP ยังสามารถเปรียบเทียบข้อมูลปีต่อปี ทําให้เห็นสภาพปัญหาว่ามีทิศทางปรับลด
หรือรุนแรงมากข้ึนเพียงใด ซ่ึงสามารถนํามาใช้ประเมินปัจจัยที่อาจส่งผลต่อปัญหาดังกล่าว หรือประเมิน
ประสิทธิภาพของนโยบายท่ีเกิดข้ึนในช่วงเวลานั้นได้ ซึ่งจะช่วยให้การแก้ปัญหาตรงจุด และเลือกนโยบาย
ไดม้ ีประสิทธภิ าพมากย่งิ ขนึ้
~ 26 ~
ส่วนที่ 3
การวิเคราะห์ปญั หาโดยคนในชุมชน
การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพเพ่ือประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันโอกาส
การพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่นของตําบลโนนแดง โดยใช้หลักการวิเคราะห์.SWOT.(SWOT.Analysis)
โดยการพิจารณาปัจจัยต่างๆ สภาพปัจจุบันของหมู่บ้าน ปัญหา ศักยภาพ อุปสรรค โอกาส ในข้อเสนอ
ในเวทีประชาคม ท่ีสามารถบง่ ชสี้ ภาพปญั หาและความต้องการของคนในชุมชนได้ ดงั น้ี
3.1 การวิเคราะห์กรอบการจัดทายุทธศาสตร์ขององค์ปกครองสว่ นท้องถนิ่
ในการจดั ทาํ แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ส่ปี ีขององคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลได้ใชก้ ารวเิ คราะห์ SWOT
Analysis/Demand (Demand Analysis)/Global Demand และ Trend ปัจจัยและสถานการณ์การเปล่ียนแปลง
ท่ี มี ผ ล ต่ อกา ร พั ฒ น า อย่ า งน้ อย ต้ อ งป ร ะกอบ ด้ ว ย .กา ร วิ เ คร า ะห์ ศั กย ภ า พด้ า น เ ศร ษฐ กิ จ แ ล ะสั งค ม
ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ซ่งึ มรี ายละเอียดดงั นี้
1) จุดแขง็ (S : Strength)
-.ประชาชน ผู้นําหมู่บ้าน มีความพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับทางราชการ
ในการพัฒนาทอ้ งถิน่ ของตนเอง
- ชุมชนเขม้ แข็งได้รับการบรกิ ารสาธารณะด้านโครงสร้างพ้ืนฐานครบถว้ น
- มีเส้นทางสัญจรเป็นไปด้วยความสะดวก เนื่องจากมีถนนทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข 207 เขา้ เขตในเมอื งจงั หวัดนครราชสมี า
- มีรถโดยสารประจําทางสายจังหวัดนครราชสีมา – อําเภอประทาย ผ่านเขต
องค์การบรหิ ารสว่ นตําบลโนนแดง
- ประชาชนยงั ยดึ มัน่ ในขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรมท้องถ่นิ
- มีแหล่งน้ําธรรมชาติ ได้แก่ ลําสะแทด ลําห้วยเจียบ บึงระหอก มีหนองนํ้า
จํานวน 7 แหง่ ไดแ้ ก่ หนองบงใหญ่ หนองบงเล็ก หนองมน หนองตาโล หนองกรด หนองจิก หนองจอก
- มีแหล่งนํ้าที่สร้างข้ึน ได้แก่ ฝาย จํานวน 3 แห่ง บ่อน้ําต้ืน จํานวน 5 แห่ง
ประปา จาํ นวน 2 แหง่ บอ่ โยก จํานวน 2 แหง่ คลอง จํานวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ คลองม่วง คลองหัวลิง
- มีสถานท่ขี ายสินค้าตลาดนดั ของเอกชน 1 แหง่
- ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญ ได้แก่
ขา้ ว อ้อย และลยี้ งสตั ว์ ฯลฯ
- มีโรงเรียนสังกัด สพฐ. 4 โรงเรียน สอนต้ังแต่ระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับ
ประถมศึกษา จํานวน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านหนองบง โรงเรียนบ้านตะเภาหมุน โรงเรียนบ้านจาบ
และโรงเรียนขยายโอกาส จาํ นวน 1 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นบ้านดอนตัดเรอื
- ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก 1 แห่ง สงั กัดองค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง
- มีหน่วยงานราชการ อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง คือ ท่ีว่าการ
อาํ เภอโนนแดง และโรงพยาบาลโนนแดง
- มีการประสานความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง
กบั สว่ นราชการในพ้นื ท่ี
~ 27 ~
- มีความสงบไมค่ อ่ ยมปี ญั หา ด้านความปลอดภัยและดา้ นมลพษิ
- มีการจัดต้งั หมบู่ า้ น จํานวน 9 หมบู่ า้ น ในเขตองคก์ ารบริหารสว่ นตําบลโนนแดง
- ผ้นู ําหมบู่ า้ นใหค้ วามร่วมมือในการพฒั นาทอ้ งถิ่น
- มีระบบประปาเพิ่มขึ้นทําให้มนี ้าํ ใช้อุปโภคบรโิ ภคตลอดทง้ั ปี
- องค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดง มีศักยภาพเพียงพอท่ีรองรับการบริการ
สาธารณะและแกไ้ ขปัญหาความเดอื นรอ้ นของประชาชน
- มีวัด 8 แห่ง ได้แก่ วัดบ้านตะเภาหมุน วัดบ้านดอนตัดเรือ วัดบ้านหนองบง
วดั บา้ นจาบ วัดบา้ นไทยสามัคคี วัดปาุ พธุ ฐานโิ ย วดั ปุาธรรมานุสรณญ์ าณวิสุทธิ์
- องค์การบริหารส่วนตําบลโนนแดงมีระบบเสียงไร้สายประชาสัมพันธ์
ใหป้ ระชาชนได้รบั ทราบขอ้ มลู ขา่ วสาร
- มีการให้บริการส่ือสาร ของบริษัท ทีโอที และมีสัญญาณโทรศัพท์ไร้สาย
ของเอกชนหลายบรษิ ทั
- มกี องทนุ ในหมบู่ า้ น เช่น การออมสินสจั จะ ธนาคารข้าว ฯลฯ
- มกี ลมุ่ อาชพี แม่บ้าน กลุ่มป๋ยุ ชีวภาพ กองทนุ เงนิ สาธารณสุขมูลฐาน
2) จุดออ่ น (W : Weakness)
- คนในวยั ทํางาน คนหนุ่มสาวอพยพไปหางานทําในเมืองและตา่ งประเทศ
- ราษฎรยากจน ส่วนใหญ่ประชาชนประกอบอาชีพทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว
ทาํ ใหข้ าดรายได้
- ประชาชนไม่สามารถรวมกลุ่มกันเพื่อดําเนินการด้านเศรษฐกิจของหมู่บ้าน
ในรปู ของกลุ่มอาชีพอย่างเขม้ แข็งได้
- เป็นชุมชนท่ีอยู่ห่างไกลตัวเมือง ข้าวของราคาแพง เพราะต้องนําจากแหล่งอื่น
หรือในเมืองใหญ่ จึงมีการบวกราคาค่าขนสง่ เขา้ ไปอกี เช่น นา้ํ มนั เสื้อผา้ เคร่อื งนุ่งห่ม ฯลฯ
- ขาดสถานศกึ ษาระดับฝกึ อาชีพ ขาดแหลง่ งานรองรบั แรงงานวา่ งงานนอกฤดูกาล
- ไม่มสี ถานประกอบกจิ การขนาดใหญ่ ไม่มโี รงงานในพืน้ ท่ี
3) โอกาส (O : Opportunity)
- จังหวัดนครราชสีมา สามารถสนับสนุนงบประมาณท่ีมีแผนงาน/โครงการตามแนวทาง
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจังหวดั
- มีเสน้ ทางคมนาคมสะดวก สามารถรองรับการขยายตัวของการลงทุนทางเศรษฐกจิ
- ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐเป็นอย่างดี การปฏิรูประบบ
ราชการทาํ ใหพ้ นักงานเกดิ ความกระตอื รือร้นในการปฏบิ ตั ิงาน
- รัฐบาลมนี โยบายให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถ่ินของตนเอง
- ได้รับงบประมาณจากส่วนกลางเพม่ิ ขึน้ เพ่อื ให้เพยี งพอในการบริหารจดั การทอ้ งถ่ิน
4) ข้อจากัด (T : Threat)
-ใเป็นองค์กรขนาดกลาง มีงบประมาณจํากัดเม่ือเทียบกับภารกิจหน้าที่ต่างๆ
ตามกฎหมายทก่ี ําหนดให้เป็นอํานาจหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนตําบลตามกฎหมายอื่น ตามภารกิจถ่ายโอนฯ
ตามนโยบายทอ้ งถิ่น นโยบายจังหวดั และนโยบายรัฐบาล
- งบประมาณที่ไดร้ ับจากส่วนกลาง ไม่เพียงพอในการบรหิ ารงาน
~ 28 ~
- กฎหมายและระเบียบต่างๆ ในการปฏิบัติงานทําให้ขาดความคล่องตัวในการ
บริหารงาน
- การถ่ายโอนภารกิจต่างๆ ไม่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ทําให้การปฏิบัติงาน
เกิดความลา่ ช้าไม่เปน็ ไปตามวตั ถุประสงคท์ ว่ี างไว้
- การพัฒนาบางด้านต้องเป็นไปตามกฎหมาย จึงไม่สามารถดําเนินการแก้ไข
ปัญหาได้ ต้องอาศยั ความเสียสละของชมุ ชนเทา่ นน้ั ซึง่ บางคร้ังทําได้ยาก
3.2 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม
1) ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทของผู้นาํ ชมุ ชน คณะกรรมการหมูบ่ ้านและชมุ ชนใหเ้ ขม้ แข็ง
2) ส่งเสรมิ ความเขม้ แข็งของชุมชน
3) ส่งเสริม พัฒนาบทบาทและคุณภาพชีวิตของเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ
ผู้ด้อยโอกาส ประชาชน และค้มุ ครองสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน
4) สง่ เสรมิ พัฒนาคุณภาพและศักยภาพตามความสามารถของแรงงานในท้องถ่ิน
5) ปูองกันและแก้ไขปญั หาการเสพ การผลติ และการจาํ หน่ายยาเสพตดิ ในทกุ ระดับ
6) ดําเนินโครงการ เพื่อให้บริการประชาชน และรับทราบปัญหา อุปสรรค และความต้องการ
ของประชาชนในพ้นื ที่
7) ส่งเสริมและประกาศเกียรติคุณผู้ท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี และสร้างคุณประโยชน์ต่อสังคม สร้างเสียง
ให้กบั จงั หวดั นครราชสมี า
~ 29 ~
สว่ นที่ 4
แผนปฏบิ ตั ิการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง ระยะ 3 ปี (2564 -2566)
4.1 แผนงานการศกึ ษา
ที่ โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลทค่ี าดว่าจะ หน่วยงาน
กิจกรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รับ ท่ีรบั ผดิ ชอบ
โครงการ)
1 จดั งานวัน ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ 9,000 9,000 9,000 สง่ เสรมิ ให้เด็กๆ กอง
บัณฑติ น้อย
อบต.โนนแดง และ มีความทรงจํา การศึกษา
โรงเรียนอนุบาล ที่ดีๆ และรัก
อบต.โนนแดง การเรียน
2 สนบั สนนุ ศพด.อบต.โนนแดง 300,000 300,000 300,000 มคี วามพร้อม กอง
ค่าใช้จา่ ยการ
บรหิ าร และโรงเรยี นอนบุ าล ดา้ นการศึกษา การศึกษา
สถานศกึ ษา
อบต.โนนแดง และ และประสทิ ธิภาพ
3 อาหาร
กลางวนั โรงเรยี นในเขต การเรียนรู้ของ
บรกิ าร 4 โรงเรียน เด็กนักเรียน
ศพด.อบต.โนนแดง 830,000 830,000 830,000 มคี วามพร้อม กอง
และโรงเรียนอนบุ าล ดา้ นสุขภาพและ การศึกษา
อบต.โนนแดง และ ประสิทธิภาพ
โรงเรยี นในเขต การเรียนรขู้ อง
บริการ 4 โรงเรยี น เด็กนักเรียน
4 อาหารเสริม ศพด. อบต. โนนแดง 1,610,000 1,610,000 1,610,000 มคี วามพร้อม กอง
(นม)
และโรงเรยี นอนุบาล ดา้ นสุขภาพและ การศึกษา
อบต.โนนแดง และ ประสิทธภิ าพ
โรงเรียนในเขต การเรยี นรู้ของ
บริการ 4 โรงเรียน เด็กนักเรียน
5 ปรับปรงุ โรงเรียนอนุบาล 200,000 200,000 200,000 เพอ่ื จดั ทํา กอง
ห้องเรยี น อบต. โนนแดง ห้องเรยี น รร. การศึกษา
โรงเรยี น อนบุ าล อบต.โนน
อนบุ าล อบต. แดงให้มีสภาพ
โนนแดง ใชง้ านไดด้ แี ละ
เหมาะสมเป็น
สัดเป็นสว่ นขึ้น
~ 30 ~
ที่ โครงการ/ เปา้ หมาย งบประมาณ ผลท่คี าดว่าจะ หน่วยงาน
กจิ กรรม (ผลผลิตของ 2564 2565 2566 ได้รบั ท่รี บั ผิดชอบ
โครงการ)
9,000 9,000 9,000
6 จดั กจิ กรรมวัน อบต.ร่วมกบั ภาคใี น กจิ กรรมทางการ กอง
ศึกษาเพื่อ การศึกษา
เดก็ แหง่ ชาติ เขตพืน้ ทบ่ี ริการทํา เสริมสร้างการ
เรยี นร้ขู องเด็ก
กิจกรรม เชน่ วนั เด็ก นกั เรยี น
แห่งชาติ ฯลฯ
4.2 แผนงานการศาสนา วัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่ โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะ หน่วยงาน
กิจกรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รับ ที่
โครงการ)
รบั ผิดชอบ
1 อบรม เด็กและเยาว ช น 20,000 20,000 20,000 ผู้เขา้ รว่ ม กอง
คุณธรรมเด็ก ตาํ บลโนนแดง โครงการมี การศึกษา
และเยาวชน จติ สาํ นกึ และ
ตระหนกั ถึง
บทบาทหนา้ ท่ี
ของตนเองและ
การมสี ว่ นรว่ ม
2 เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ศพด.อบต.โนนแดง 3,000 3,000 3,000 สง่ เสริมและจดั กอง
หัวใจใฝุธรรม และโรงเรียนอนุบาล กจิ กรรมใหเ้ ด็กๆ การศึกษา
อบต.โนนแดง มีกิจกรรมร่วมกนั
3 ผสู้ ูงวัยหัวใจ ผูส้ ูงวัยในเขตตาํ บล 150,000 150,000 150,000 สืบสานงาน กอง
ธรรมะ โนนแดง ประเพณี การศึกษา
วัฒนธรรม
ทอ้ งถิน่
วฒั นธรรม
ท้องถิน่
~ 31 ~
4.3 แผนงานเกษตร
ท่ี โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย งบประมาณ ผลทค่ี าดว่า หน่วยงาน
(ผลผลิตของ 2564 2565 2566 จะได้รบั ที่รับผดิ ชอบ
โครงการ)
1 สนบั สนุนข้าวพนั ธดุ์ ี เกษตรกร จํานวน 30,000 30,000 30,000 ผลผลิต อบต.โนน
และมคี ุณภาพ 9 หมบู่ า้ น เพม่ิ ขน้ึ และมี แดง/
คณุ ภาพดี ศนู ย์บรกิ าร
และ
ถ่ายทอดฯ/
สาํ นักปลัด
2 ผลิตปุ๋ยอินทรีย์และ สาํ หรับเกษตรกร 20,000 20,000 20,000 เพื่อสง่ เสรมิ อบต./กษอ.
ปยุ๋ ชีวภาพ จํานวน 9 การผลติ ปุ๋ย
หมบู่ า้ น อินทรีย์และ
ป๋ยุ ชวี ภาพ
3 ส่งเสริม/สนับสนุน สจัดต้ัง 20,000 20,000 20,000 ประสิทธภิ าพ สาํ นักปลัด/
การจัดต้งั ศนู ยบ์ รกิ าร ศนู ย์บริการและ การบรกิ าร กษอ.
แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ขอ้ มูล
เทคโนโลยกี ารเกษตร ประจําตําบล ข่าวสารของ
ประจําตาํ บล จาํ นวน 1 แห่ง ศนู ย์บรกิ าร
และถ่ายทอด
เทคโนโลยี
4 อนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช ประชาชนในพ้นื ท่ี 20,000 20,000 20,000 อนุรกั ษ์ อบต./กษอ.
อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก จํานวน 9 พนั ธุกรรมพืช
พระราชดําริสมเด็จ หมู่บา้ น ไมใ่ ห้พชื ใน
พระเ ทพรัต นรา ช ท้องถ่นิ สญู
สุดาสยามบรมราช พันธ์
กุมารี
~ 32 ~
4.4 แผนงานงบกลาง
ที่ โครงการ/ เปา้ หมาย งบประมาณ 2566 ผลทคี่ าดว่าจะ หนว่ ยงาน
กิจกรรม (ผลผลิตของ 2564 2565 ไดร้ บั ที่รับผดิ ชอบ
โครงการ)
1 สงเคราะห์เบยี้ จํานวนผู้สูงอายุใน 5,080,000 5,080,000 - สร้าง สาํ นักปลัด
ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ บัญชีที่ได้รับการ หลกั ประกัน
อนมุ ัติ 627 คน ด้านรายได้แก่
ผู้สูงอายุ
2 สงเคราะห์เบ้ีย จํานวนผู้พิการใน 3,500,000 3,500,000 - เสรมิ สรา้ ง สาํ นกั ปลัด
ยังชีพผพู้ ิการ บญั ชีทไ่ี ด้รบั การ สวัสดกิ ารทาง
อนมุ ัติ 364 คน สงั คมใหแ้ กค่ น
พกิ ารหรือ
ทุพพลภาพ
3 สงเคราะห์เบี้ย สนบั สนุนเบีย้ ชพี 90,000 90,000 - เสรมิ สร้าง สํานกั ปลดั
ยั ง ชี พ ผู้ ปุ ว ย ตามจํานวนผูป้ ุวย สวัสดิการทาง
เอดส์ เอดส์ 15 คน สงั คมให้แก่
ผปู้ ุวยเอดส์
4 เงนิ สาํ รองจา่ ย จา่ ยเป็นค่าใช้จา่ ยใน 300,000 300,000 - ประชาชนไดร้ ับ สาํ นักปลดั
กรณฉี กุ เฉินจําเป็น การชว่ ยเหลอื
เรง่ ดว่ น ซงึ่ ไม่ และบรรเทา
สามารถคาดการณ์ ทุกข์จาก อบต.
ลว่ งหนา้ ได้ ไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ
และทนั ท่วงที
5 เ งิ น ส ม ท บ พนักงานส่วน 300,000 300,000 - พนักงานสว่ น สํานกั ปลัด
ก อ ง ทุ น ตําบล พนักงาน ตาํ บล พนกั งาน กองคลงั
ประกันสังคม จา้ ง จา้ งมี เงนิ เดอื น
และ กบท. ประโยชนต์ อบ
แทนอื่นและ
สวสั ดิการทีด่ ี
~ 33 ~
ส่วนท่ี 5
การขบั เคล่อื นโครงการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง
1. ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนภารกิจตามตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรอง
การปฏิบัติราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
เพ่ือชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับ สํานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1 – 11 และสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ท้ัง 76 จังหวัด.เมื่อวันที่
26 มกราคม 2564 ณ หอ้ งประชุมสํานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4
2. ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกําหนดพื้นท่ี
ท่ีเครือข่ายมีความเข้มแข็ง พร้อมท้ังกําหนดขอบเขตในการศึกษาตําบลสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง.ร่วมกับ
ทีม.พม..จังหวัดนครราชสีมา (ทีม One.Home).เมื่อวันท่ี 3 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมสํานักงาน
พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดนครราชสีมา
3. ประชุมชแี้ จงแนวทางการขับเคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ ร่วมกับ ทีม พม.
จงั หวดั นครราชสีมา ผนู้ าํ ทอ้ งท่ี ผู้นําทอ้ งถน่ิ ผูน้ าํ ชมุ ชน อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)
หนว่ ยงานและภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมอําเภอโนนแดง
จังหวดั นครราชสีมา ดังนี้
3.1 เพื่อศึกษาข้อมูลพน้ื ฐานทางสังคม วเิ คราะหป์ ระเด็นปัญหาทางสงั คมในระดับชุมชนและปัญหา
ทีน่ ่าสนใจ
3.2 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล.TPMAP.และข้อมูลการช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย.พร้อมท้ังร่วมกําหนด
ครวั เรือนเปาู หมายท่ีจะใหค้ วามชว่ ยเหลอื และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตในพื้นท่ี จํานวน 35 ครัวเรอื น
3.3 ร่วมพิจารณาแต่งต้ังคณะทํางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง
จงั หวดั นครราชสมี า
4. จดั ทําคําสง่ั แต่งตั้งคณะทาํ งานสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็ ตําบลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จังหวดั นครราชสมี า
5. จัดทีมลงพ้ืนท่ีเยี่ยมบ้าน เพื่อสํารวจสภาพปัญหาและจัดเก็บข้อมูลผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน โดยใช้
สมดุ พกครอบครัวเป็นเครือ่ งมอื ในการจัดเก็บข้อมูล จํานวน 35 ครัวเรือน ร่วมกับ หน่วยงาน พม. จังหวัดนครราชสีมา
เจ้าหนา้ ที่ อปท., ผูน้ ําชุมชน, อพม., เมอ่ื วันท่ี 18 มีนาคม 2564
6. ประชมุ คณะทํางานขับเคลอ่ื นการสร้างเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง ตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
เมอ่ื วนั ที่ 26 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมอําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา ดงั นี้
6.1 วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหาของผู้ประสบปัญหาทางสังคมรายครัวเรือน จํานวน 35 ครัวเรือน
จํานวน 5 มิติ ได้แก่ ด้านการมีงานทําและรายได้/ด้านสุขภาพ/ด้านการศึกษา/ด้านความเป็นอยู่/ด้านการเข้าถึง
บริการของรัฐ ดงั นี้
~ 34 ~
ตารางท่ี 1 กลุ่มเป้าหมายผู้ประสบปญั หารายครวั เรอื น 5 มิติ
ที่อยู่ สภาพปัญหา 5 มติ ิ
ที่ ช่ือ-สกลุ อายุ เลขท่ี หมู่ ดา้ นการ ดา้ น ดา้ นความ ดา้ นการ
(ป)ี ท่ี มีงานทา สขุ ภาพ ด้าน เปน็ อยู่ เข้าถึง
การศกึ ษา (ทอี่ ยู่ บริการ
และ
รายได้ อาศยั ) ของรัฐ
1 นางเสนห่ ์ อยรู่ อด 54 46 1
2 นายลลิ า มัสสะ 64 71 2
3 นางแตงออ่ น ลายนอก 76 89/1 3
4 นางอารยี ์ เปร่ียมงเู หลือม 51 86 3
5 นายด้วง โม้มกลาง 64 138 3
6 นางต้อย เภาขุนทด 56 220 3
7 นางบุญเติม พิมสระเกษ 70 3 3
8 นางเชา้ อนุ่ จางวาง 44 15 4
9 นางนุช เสาวพันธ์ 44 15 5
10 นางจินดา พลจันทร์ 63 39 13
11 นางวิน คนั ทอง 61 41 6
12 นางภาวดี นาชวี า 64 111 6
13 นางลาํ ไพ เงินโพธิ์ 57 123 6
14 นางแถว เกยี รติโพธ์ิ 52 13 7
15 นางชาติ ศรวี ชิ า 61 114 7
16 นางสาววภิ าพร รอดวนิ ิจ 35 61 8
17 นางคณู ด่านลาํ มะจาก 54 139 8
18 นายสมทรง บุตรผอ่ ง 46 189 8
19 นางหน่ึงฤทยั ดาบอารา 44 188 8
20 นางเก้ือ สัมฤทธ์นิ อก 64 52 9
21 นางทวี หมายเทียมกลาง 60 64 9
22 นางพมิ พ์พา เกดิ สนั เทียะ 54 88 9
23 นายเพช็ รหมายเทยี มกลาง 62 93 9
24 นางกฤษนา เกษะ 43 38 10
25 นางนนุ่ ประจิตร 72 43 10
26 นางอยู่ แกว้ ระหัน 78 50 11
27 นางอนันต์ เทพนอก 53 78 11
28 นางยพุ า พลจันทร์ 69 13 13
29 นางพา วิทไทสง 70 112/2 13
30 นายสาม ดอนเกษม 68 36 14
31 นายถนัด ดอนเกษม 45 37 14
~ 35 ~
ท่อี ยู่ สภาพปญั หา 5 มิติ
ที่ ชือ่ -สกลุ อายุ เลขท่ี หมู่ ดา้ นการ ด้าน ด้านความ ด้านการ
(ป)ี ที่ มงี านทา สขุ ภาพ ดา้ น เปน็ อยู่ เขา้ ถึง
การศกึ ษา (ที่อยู่ บริการ
และ
รายได้ อาศยั ) ของรัฐ
32 นางรงุ่ นภา กลุ สุวรรณ 25 52 4
33 นายธนพล แสงศรี 33 54 14
34 นางสังวาล ตา่ งกลาง 53 69 14
35 นายมานะ ดา่ นลาํ มะจาก 49 51 17
6.2 รว่ มหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเปูาหมายตามประเด็นปัญหา
ระดับครัวเรอื น พร้อมท้ังรว่ มกาํ หนดแผนสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็งในระดบั ชมุ ชน
7. จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนร่วมกับคณะทํางานขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ในพื้นที่ เป็นการจดั ประเภทของการพฒั นาครัวเรือน ตามความเร่งดว่ นของผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนท่ีต้องให้
การชว่ ยเหลอื จาํ นวน 35 ครัวเรือน โดยการจัดทําแผนพฒั นาคุณภาพชวี ิตรายครัวเรือน เป็น 3 ระยะ ดังนี้
7.1 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะเร่งด่วน (ระยะส้ัน) เช่น การช่วยเหลือทางด้าน
เคร่ืองอุปโภคบรโิ ภค เงินสงเคราะห์ (เงนิ อดุ หนุน) และการเขา้ ถึงสทิ ธิ์ เปน็ ต้น
7.2 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะกลาง เช่น การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ การเข้าถึง
โอกาส การเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่มของชุมชน การเข้าถึงระบบ IT และการปรับสภาพแวดล้อม เป็นต้น
7.3 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนระยะยาว เช่น การปรับปรุงซ่อมแซม
ที่อยู่อาศัย การมีท่ีดินทํากิน การเป็นชุมชนสีเขียว (ปลอดภัย ไม่มีขโมย) และการบรรจุแผนการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ รายครอบครัวในแผนระดับทอ้ งถน่ิ
8. ดําเนินการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้ประสบปัญหาทางสังคมตามแผนร่วมกันกับภาคีเครือข่าย และ
หน่วยงานตา่ งๆ ให้ชุมชนเกดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ สามารถพึง่ พาตนเองและสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน
9. ประชุมถอดบทเรียนและสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมผลการแก้ไขปัญหาและผลการพัฒนา
ศักยภาพครัวเรือนเปูาหมายในพ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็งตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
โดย สาํ นักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 (สสว.4), หน่วยงาน พม. จังหวัดนครราชสีมา, คณะทํางาน
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งฯ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2564 ณ ห้องประชุมสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วชิ าการ 4 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
~ 36 ~
สว่ นท่ี 6
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
6.1 รายงานผลการช่วยเหลือครัวเรอื นเป้าหมายในพื้นที่บูรณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง
การช่วยเหลือ ประเภทการช่วยเหลือ จานวน หน่วยงานท่ชี ่วยเหลือ
(ครวั เรือน)
ด้านการมงี าน -เงินสงเคราะห์ครอบครัวผ้มู รี ายได้ - 109 ครัวเรอื น -ศนู ย์คมุ้ ครองคนไรท้ ่ีพ่ึง
และรายได้ น้อยและผู้ไรท้ ่ีพ่ึง /112 ราย จงั หวดั นครราชสมี า
-เงนิ ทนุ ประกอบอาชพี คนพิการ - 3 ราย -สนง.พมจ.นม.
-เมลด็ พันธผุ์ ัก/ตน้ พนั ธุ์มะพร้าว/ - 130 ครวั เรอื น -พช./เกษตร อ.โนนแดง/
พันธ์ุไก่/พนั ธุป์ ลา ปศุสตั ว์ อ.โนนแดง
- เคร่อื งอุปโภคบริโภค - 180 ราย -กลุม่ ซานตาครอสข้างถนน
ดา้ นสุขภาพ - ถุงยงั ชพี รถพุ่มพวง โดย อพม. - 30 ครอบครัว -การไฟฟาู ฯ นครราชสมี า
โนนแดง - 10 ครวั เรอื น -กล่มุ ซานตาครอสขา้ งถนน
-ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ 20 แพ็ค
-สนบั สนนุ กายอุปกรณ(์ เตยี ง/ - 4 ครัวเรอื น -สมาคมคนพิการจังหวดั
รถเข็น/ไม้เทา้ ค้ํายนั ) นครราชสีมา/มนษุ ยเ์ อเชยี
-ได้รบั การช่วยเหลือค่าเดนิ ทาง - 3 ราย -อพม./สสอ.โนนแดง/รพ.
โนนแดง
เขา้ เปน็ ผปู้ ุวยหน่วยแพทย์ พอสว. -อพม.โนนแดง
- บรกิ ารตดั ผมแก่ผู้พกิ ารและผูป้ ุวย - 10 ราย -กองทุนความเสมอภาค
ทางการศึกษา (กสศ.)
ตดิ เตยี ง -บริษทั เดจีไอ เงินทุน
หลกั ทรัพย์
ด้านการศึกษา -เงนิ ทนุ การศึกษาสาํ หรบั เด็กใน - 15 ครวั เรือน -กองสลากกนิ แบง่ รัฐบาล
4 หลังๆละ 30,000 บาท
ดา้ นความ ครอบครวั ยากจน -อบจ. 1 หลัง 50,000 บาท
เป็นอยู่ -กลมุ่ มนษุ ย์ล้อเอเชีย 1 หลงั
(ทอ่ี ยูอ่ าศยั ) -จกั รยานสําหรบั นักเรยี นยากจน - 20 ครัวเรือน 14,522 บาท
-สนง.พมจ.นม. 20,000
และพืน้ ทห่ี ่างไกล บาท และ 40,000 บาท
-ซอ่ มแซมบา้ นผู้พิการ - 6 หลัง
-ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมที่อยู่อาศยั - 2 หลัง
สําหรบั ผสู้ งู อายุ
~ 37 ~
การชว่ ยเหลือ ประเภทการช่วยเหลือ จานวน หน่วยงานทช่ี ว่ ยเหลือ
(ครวั เรอื น)
ดา้ นการเขา้ ถึง -เบ้ยี ยงั ชพี ผพู้ กิ ารรายใหม่ - 15 ราย -อพม./ทต.โนนแดง/อบต.
บรกิ ารของรัฐ -บัตรประจําตัวผ้พู ิการ - 15 ราย -อพม./สนง.พมจ.นม./รพ.
-ใหค้ ําปรกึ ษาด้านสทิ ธิสําหรับผู้ - 5 ราย -อพม.โนนแดง
พกิ าร/ผูส้ งู อายุ
-ให้คําปรึกษาเรอ่ื งเงินอดุ หนุนเด็ก - 10 ครวั เรอื น -อพม./อบต./ทต./
แรกเกดิ สนง.พมจ.นม.
6.2 รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนินการในพน้ื ท่ีชุมชนเข้มแข็ง
1. โครงการการพัฒนาระบบการจัดสวสั ดิการและการให้บริการสวัสดิการสาหรบั เด็ก
(เงินสงเคราะห์เดก็ ในครอบครวั ยากจน)
1.1 วัตถปุ ระสงค์ : เพ่ือให้เดก็ และเยาวชนได้รับการคมุ้ ครอง และเขา้ ถงึ สวสั ดกิ ารสงั คม
1.2 กลุ่มเป้าหมาย : เด็กในครอบครวั ยากจนในพน้ื ทีต่ ําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง
จังหวดั นครราชสีมา
1.3 งบประมาณ จานวน 83,000 บาท
1.4 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน
1) สนง.พมจ.นครราชสีมา รบั คําขอความช่วยเหลือจากหน่วยบรกิ ารในพน้ื ที่ คือ องคก์ าร
บริหารส่วนตาํ บลโนนแดง
2) นกั สังคมสงเคราะห์ตรวจสอบข้อเทจ็ จริง และเอกสารหลักฐานประกอบการขอรับ
ความช่วยเหลอื ตรวจสอบภาพถ่ายสภาพบ้าน
3) ตรวจสอบข้อมูล TPMAP/จปฐ./บตั รสวสั ดิการแห่งรฐั
4) ดําเนินการอนุมัติ ให้การช่วยเหลือ เบกิ จา่ ยและโอนเงินช่วยเหลอื เขา้ บญั ชีของพ่อ แม่
ผู้ปกครองเดก็ ผ่านระบบ KTB
1.5 ผลการดาเนนิ งาน
เด็กแรกเกิด -18 ปบี รบิ ูรณ์ ทอ่ี ยู่ในครอบครัวยากจน ในพ้ืนทีต่ าํ บลโนนแดง ได้รับ บรกิ ารสวสั ดิการ
สาํ หรับเดก็ จาํ นวน 60 คน (23 ครอบครัว)
1.6 หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ สาํ นักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
1.7 ภาพกจิ กรรม
~ 38 ~
2. โครงการตาบลสร้างสวัสดกิ ารสงั คมในพื้นที่ตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา
โดยดาเนินกิจกรรม ดังนี้
2.1 กิจกรรมท่ี 1 เวทจี ดุ ประกายขายความคดิ
2.1.1 วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ทบทวนและคัดกรองข้อมูลผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม
2.1.2 กลมุ่ เปา้ หมาย เด็ก/เยาวชน/อาสาสมคั ร/ผู้นําชมุ ชน/ทอ้ งถน่ิ /ภาคเี ครือข่าย
ภาครฐั /เอกชนประชาสังคม/เจ้าหนา้ ทห่ี น่วยงาน พม..จาํ นวน 45 คน
2.1.3 งบประมาณ 17,500 บาท
2.1.4 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
1) ประสานพ้ืนทเี่ พ่ือช้ีแจงโครงการและเตรียมการจดั ทําขอ้ มลู พ้ืนท่ีและข้อมูล
กลมุ่ เปูาหมาย
2) จดั เวทีจดุ ประกายขายความคิด โดยการระดมข้อมูลกลุ่ม เพ่ือคดั กรอง
กลุ่มเปาู หมาย
3) สรปุ ข้อมูลกลมุ่ เปาู หมายและปัญหาเชิงประเด็น
2.1.5 ผลการดาเนินงาน
เชิงปรมิ าณ : ข้อมลู กลุ่มเปราะบางในตําบลโนนแดง 173 ราย
เชงิ คุณภาพ : เกดิ แนวทางและแผนการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวติ
กลุ่มเปราะบางในพ้นื ท่ตี ําบลสรา้ งเสริมสวสั ดิการสังคม
2.1.6 หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ท่ีพ่งึ จังหวดั นครราชสีมา
2.1.7 ภาพกจิ กรรม
2.2 กิจกรรมท่ี 2 อบรมนวตั กรทางสงั คมในชมุ ชน
2.2.1 วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใหค้ วามรูแ้ ละถา่ ยทอดกระบวนการเชิงนวตั กรรมทางสงั คม
2.2.2 กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน อายรุ ะหว่าง 9 – 19 ปี อพม. และเครือขา่ ยจํานวน 45 คน
2.2.3 งบประมาณ 28,210 บาท
2.2.4 ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
1) ประสานหารือการจัดกจิ กรรมกบั เครือขา่ ยในพื้นท่ี
2) ประสานเตรียมการด้านสถานทีแ่ ละกล่มุ เปูาหมาย
3) จัดเตรยี มความพร้อมดา้ นอปุ กรณ์ เอกสาร และทีมดาํ เนินงาน
4) จดั กิจกรรมตามแผน ประกอบดว้ ยการบรรยายให้ความรู้ กจิ กรรมฝึกทักษะกลุ่ม
และลงฝึกปฏบิ ตั ิในชมุ ชน
~ 39 ~
2.2.5 ผลการดาเนนิ งาน
เชิงปริมาณ : เด็ก เยาวชน อพม. และเครือข่าย ได้รับการถ่ายทอดความรู้และ
กระบวนการเชงิ นวัตกรรมทางสังคม 45 ราย
เชงิ คุณภาพ : เกดิ แนวทางในการขับเคลื่อนกิจกรรมเชงิ นวตั กรรมทางสังคมในชุมชน
2.2.6 หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ ศนู ย์คมุ้ ครองคนไรท้ พี่ ง่ึ จังหวัดนครราชสีมา
2.2.7 ภาพกิจกรรม
2.3 กิจกรรมท่ี 3 การสารวจและช่วยเหลอื เงนิ สงเคราะห์
2.3.1 วตั ถุประสงค์ เพ่ือใหก้ ารชว่ ยเหลอื แก่ผู้ประสบปัญหาทางสังคม
2.3.2 กลมุ่ เป้าหมาย กลมุ่ เปราะบางในตําบลโนนแดง 112 ราย
2.3.3 งบประมาณ เงนิ สงเคราะห์ผู้มีรายได้นอ้ ยและผู้ไร้ท่ีพึง่ 125 รายๆละ 3,000 บาท
รวมเปน็ เงนิ 375,000 บาท
2.3.4 ขั้นตอนการดาเนินงาน
1) สํารวจ ทบทวน และคัดกรองข้อมูลกลุ่มเปราะบาง
2) ออกสาํ รวจเยีย่ มบา้ นและประเมนิ สภาพปัญหากลุม่ เปราะบาง
3) วางแผนการให้ความชว่ ยเหลือรว่ มกนั กบั หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง
4) ใหก้ ารช่วยเหลอื ตามแผนงาน
5) ตดิ ตามผลการใหค้ วามช่วยเหลือ
2.3.5 ผลการดาเนินงาน
เชงิ ปริมาณ : กลุ่มเปราะบางได้รบั การช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ 112 ราย
เชงิ คณุ ภาพ : กลุ่มเปราะบางมีคณุ ภาพชวี ติ ดีข้นึ เข้าถึงสวสั ดกิ ารและบริการของภาครัฐ
2.3.6 หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ ศนู ยค์ ้มุ ครองคนไรท้ พี่ ง่ึ จังหวดั นครราชสีมา
2.3.7 ภาพกิจกรรม
~ 40 ~
2.4 กิจกรรมที่ 4 การตดิ ตามผลการช่วยเหลือ
2.4.1 วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อตดิ ตามผลการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
2.4.2 กล่มุ เปา้ หมาย กลมุ่ เปราะบางในพน้ื ทีต่ ําบลโนนแดงท่ไี ดร้ ับการชว่ ยเหลือ 112 ราย
2.4.3 ข้ันตอนการดาเนินงาน
1) ประสานพนื้ ท่เี พื่อวางแผนตดิ ตามผลการช่วยเหลอื กล่มุ เปราะบาง
2) สุ่มเลอื กลงเยีย่ มและติดตามกลุ่มเปราะบาง
3) ประเมินและวิเคราะหผ์ ลการช่วยเหลือ
4) สรปุ ขอ้ มูลการติดตามผลการช่วยเหลอื
2.4.4 ผลการดาเนินงาน
เชิงปริมาณ : รบั ทราบขอ้ มูลผลการชว่ ยเหลือกลุม่ เปราะบาง 112 ราย
เชิงคณุ ภาพ : เกดิ แนวทางในการพฒั นาต่อยอดคุณภาพชีวติ กลุม่ เปราะบาง
2.4.4 หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบศนู ยค์ ุม้ ครองคนไร้ที่พ่ึงจังหวดั นครราชสีมา
2.4.5 ภาพกจิ กรรม
2.5 กจิ กรรมท่ี 5 จดั ระเบยี บคนขอทานและคนไร้ทพ่ี ึง่
2.5.1 วตั ถุประสงค์ เพ่อื ปูองกันและแกไ้ ขปญั หาการขอทาน
2.5.2 กลุม่ เปา้ หมาย คนขอทานและคนไร้ท่ีพ่ึงตามตลาดนดั ในพืน้ ทต่ี ําบลโนนแดง
2.5.3 ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
1) ประสานหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องในพืน้ ท่ีเพอ่ื วางแผนเตรียมการจดั ระเบยี บคนขอทาน
2) ลงจดั ระเบียบคนขอทานตามพ้นื ท่ีตลาดนดั
3) วางแผนการเฝูาระวังคนขอทานอย่างต่อเนื่อง
4) รายงานผลการจัดระเบยี บคนขอทาน
2.5.4 ผลการดาเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณ : ลงพนื้ ทีจ่ ัดระเบยี บคนขอทาน 1 ครง้ั
เชงิ คุณภาพ : เกิดความร่วมมือในการเฝูาระวงั ปูองกันและแก้ไขปัญหาคนขอทานในพ้ืนที่
2.5.5 ภาพกจิ กรรม
~ 41 ~
2.6 กจิ กรรมท่ี 6 เผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์เพอ่ื ป้องกันและแกไ้ ขปัญหาการขอทาน
2.6.1 วัตถปุ ระสงค์เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาการขอทาน
2.6.2 กลมุ่ เปา้ หมายหน่วยงาน เครือข่าย ในพ้ืนท่ีตําบลโนนแดง
2.6.3 ข้นั ตอนการดาเนินงาน
1) ประสานหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องในพ้ืนท่ีเพ่ือแจ้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ปอู งกนั
การขอทาน
2) มอบสอ่ื ประชาสัมพันธ์ปูองกันการขอทานให้กับหน่วยงานและเครือข่ายในพน้ื ท่ี
3) รายงานผลการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ปูองกันการขอทาน
2.6.4 ผลการดาเนินงาน
เชิงปริมาณ : มอบสอื่ ประชาสมั พันธแ์ ก่หนว่ ยงาน เครือข่าย ในพ้นื ท่ี 5 แหง่
เชิงคณุ ภาพ : เกดิ ความรว่ มมือในการเฝาู ระวงั ปูองกันและแก้ไขปญั หาคนขอทานในพ้นื ท่ี
2.6.5 ภาพกจิ กรรม
2.7 กจิ กรรมที่ 7 รถพุม่ พวงหว่ งใย ใหก้ าลังใจช่วงโควดิ โดย อพม.โนนแดง (เย่ียมยามถามไถ)่
2.7.1 วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื เยย่ี มยามถามไถ่และให้ความชว่ ยเหลอื เบ้ืองตน้ แกผ่ ปู้ ระสบปญั หา
ทางสงั คมในพ้ืนท่ตี ําบลโนนแดง
2.7.2 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประสบปญั หาทางสังคมและได้รบั ผลกระทบจากโควดิ ในพืน้ ท่ี
ตาํ บลโนนแดง
2.7.3 ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
1) ประสานขอรับการสนบั สนุนสิง่ ของจําเป็น ไปยังศูนย์คุ้มครองคนไรท้ ่ีพ่งึ นครราชสีมา
เครือข่าย และกลุ่มซานตาครอสขา้ งถนน
2) นาํ สง่ิ ของมาจัดแบง่ ใส่ถุงชดุ เล็กและห้อยในรถพุ่มพวง
3) ออกเยย่ี มและแจกของให้ผู้ประสบปัญหา
4) รายงานผลการดาํ เนินงาน
2.7.4 ผลการดาเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณ : ผูป้ ระสบปญั หาทางสังคมและได้รบั ผลกระทบจากโควิดในพืน้ ท่ี
ตาํ บลโนนแดง ได้รับความช่วยเหลอื 30 ครอบครวั
เชงิ คุณภาพ : กล่มุ เปูาหมายเข้าถงึ บริการของหนว่ ยงานและเครือขา่ ย
2.7.5 ภาพกจิ กรรม
~ 42 ~
2.8 กจิ กรรมท่ี 8 บรกิ ารตดั ผมเคล่ือนทีช่ ่วงโควิด โดย อพม.โนนแดง
2.8.1 วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ให้บริการตดั ผมเคล่ือนทแ่ี กผ่ ูพ้ ิการและผูป้ วุ ยตดิ เตียงชว่ งโควดิ
2.8.2 กลุม่ เป้าหมาย ผพู้ ิการและผปู้ วุ ยตดิ เตยี งในตําบลโนนแดง
2.8.3 ข้ันตอนการดาเนินงาน
1) สํารวจขอ้ มลู และเตรียมการตัดผมใหก้ ลมุ่ เปูาหมาย
2) ประสานช่างตัดผมเพ่ือขอความอนเุ คราะห์ในการตดั ผมฟรีแก่กลมุ่ เปูาหมาย
3) ออกตดั ผมให้กลมุ่ เปูาหมาย
4) รายงานผลการดําเนินงาน
2.8.4 ผลการดาเนนิ งาน
เชิงปรมิ าณ : ใหบ้ ริการตัด 10 ราย
เชงิ คณุ ภาพ : กลมุ่ เปูาหมายเข้าถงึ บริการของหนว่ ยงานและเครือข่าย
2.8.5 ภาพกิจกรรม
2.9 กิจกรรมที่ 9 ประสานหารือ ติดตามการดาเนนิ งานในพน้ื ท่ีและรายงานผลการดาเนนิ งาน
จานวน 5 ครงั้
2.9.1 วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานและวางแผนขบั เคลื่อนงานอย่างต่อเนอื่ ง
2.9.2 กลุม่ เปา้ หมาย เป็น เดก็ /เยาวชน/อาสาสมัคร/ผูน้ ําชมุ ชน/ท้องถน่ิ /ภาคคี รือข่าย
ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และเจ้าหนา้ ท่ีหนว่ ยงาน พม. 15 ราย
2.9.3 ข้ันตอนการดาเนินงาน
1) ประสานพื้นทีเ่ พอื่ วางแผนติดตามผลการดําเนนิ งาน
2) ลงพ้นื ที่ประชมุ หารือติดตามผลการดาํ เนินงาน ทบทวนข้อมลู กลุ่มเปูาหมาย
และวางแผนขับเคลือ่ นงานต่อ
3) รายงานผลการตดิ ตามการดาํ เนินงาน
4) สรปุ ข้อมลู การติดตามผลการดําเนนิ งาน
2.9.4 ผลการดาเนนิ งาน
เชิงปรมิ าณ : การประชมุ ติดตามผลการดาํ เนินงาน จาํ นวน 5 ครัง้
เชงิ คณุ ภาพ : รับทราบผลการดําเนนิ งานและสถานการณ์ทเ่ี ป็นปจั จุบัน และทํา
ใหง้ านสามารถขับเคล่ือนได้อยา่ งตอ่ เนื่อง
2.9.5 ปญั หาอปุ สรรค ดว้ ยสถานการณโ์ ควดิ ทําใหง้ านมคี วามคลาดเคลอ่ื นจากแผน และ
ต้องปรบั รูปแบบการทํางาน
2.9.6 ภาพกจิ กรรม