~ 143 ~
ท่ี โครงการ/กจิ กรรม กลุ่มเปา้ หมาย วงเงินงบประมาณ (บาท) หนว่ ยงาน
2564 2565 2566 ทรี่ ับผดิ ชอบ
4 สนบั สนุนเงินสงเคราะห์และ คนพิการทกุ 10,000 20,000 20,000 -สนง.พมจ.
ฟื้นฟสู มรรถภาพคนพิการ ประเภท บรุ ีรมั ย์
-ศนู ย์บรกิ าร
คนพิการจงั หวดั
บุรีรัมย์
5 สนับสนนุ คา่ กายอุปกรณ์ คนพิการทางการ 7,000 7,000 7,000 -สนง.พมจ.
สาํ หรบั ชว่ ยคนพิการ เคลื่อนไหวหรอื บุรีรมั ย์
ร่างกาย -ศูนย์บริการ
คนพกิ ารจงั หวดั
บุรรี ัมย์
6 โครงการปรบั สภาพแวดล้อม ผสู้ งู อายุทม่ี สี ภาพ 22,500 45,000 45,000 -สนง.พมจ.
และสงิ่ อํานวยความสะดวก ท่อี ยู่อาศัยไม่ บรุ ีรมั ย์
ของผูส้ งู อายุใหเ้ หมาะสมและ เหมาะสม -ทต.ตาจง
ปลอดภัย
7 โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบาง - 100,000 100,000 -สนง.พมจ.
กลุม่ เปราะบางรายครัวเรือน 53 ครวั เรือน บรุ ีรมั ย์/ทมี One
Home/สสว.4
-คณะทํางานสรา้ ง
เสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง
8 เงนิ อุดหนุนเงนิ สงเคราะห์ ครอบครวั ผู้มี 150,000 150,000 150,000 -ศูนย์คมุ้ ครองฯ
ครอบครัวผมู้ รี ายไดน้ ้อยและ รายได้นอ้ ยและ จ.บรุ รี มั ย์
ไรท้ พ่ี ่ึง ไร้ท่พี ึ่ง
9 เงนิ อดุ หนนุ เงนิ สงเคราะห์ผตู้ ิด ผูต้ ิดเช้ือเอดสแ์ ละ 20,000 20,000 20,000 -ศูนยค์ มุ้ ครองฯ
เชอ้ื เอดสแ์ ละครอบครัว ครอบครวั จ.บรุ รี มั ย์
10 เงินอดุ หนนุ เงนิ ทนุ ประกอบ ผู้ติดเช้ือเอดส์ 10,000 10,000 10,000 -ศนู ยค์ ้มุ ครองฯ
อาชพี ผูต้ ดิ เช้ือเอดส์ จ.บุรรี มั ย์
11 โครงการส่งเสรมิ พฒั นา กลุ่มสตรแี ละ 100,000 - - - ศูนยเ์ รยี นรู้
ศกั ยภาพและคุณภาพชีวิต ครอบครวั จงั หวัดศรสี ะเกษ
ให้แกส่ ตรี และสรา้ งความ
เข้มแข็งให้แกส่ ถาบนั ครอบครัว
12 โครงการกาํ จดั ลูกนํ้ายุงลาย ประชานในตําบล 30,000 30,000 30,000 ทต.ตาจง
13 โครงการสาํ รวจคดั กรองโรค ประชานในตําบล 30,000 30,000 30,000 ทต.ตาจง
เบาหวาน ความดนั โรคหวั ใจ
14 โครงการบา้ นพอเพยี งชนบท ผปู้ ระสบปญั หา 120,000 120,000 120,000 พอช.
ดา้ นท่อี ยู่อาศัย
15 โครงการซอ่ มแซมที่อยอู่ าศัย คนพิการ 250,000 250,000 250,000 ทต.ตาจง
~ 144 ~
ที่ โครงการ/กจิ กรรม กลุ่มเป้าหมาย วงเงินงบประมาณ (บาท) หนว่ ยงาน
2564 2565 2566 ทรี่ บั ผิดชอบ
ใหก้ บั ประชาชนผู้ยากไรแ้ ละ ผู้ด้อยโอกาส และ
ผ้ดู ้อยโอกาส คนไร้ท่ีพงึ่ ในเขต
เทศบาล
ประเด็นการพฒั นาท่ี 2 สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละมีส่วนร่วมในกจิ กรรมของชมุ ชน
ท่ี โครงการ/กิจกรรม กลมุ่ เป้าหมาย วงเงินงบประมาณ (บาท) หน่วยงาน
2564 2565 2566 ทร่ี บั ผิดชอบ
1 กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุใน ประชาชนในพ้ืนท่ี - - - -ศูนย์ผูส้ งู อายบุ า้ น
ศนู ย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและ บุรรี มย์/ศพอส.
ส่งเสริมอาชีพผสู้ ูงอายุ -โรงเรียนผูส้ ูงอายุ
2 สนับสนนุ การผลิดและ ประชาชนในพน้ื ที่ 100,000 100,000 100,000 ทต.ตาจง
จําหน่ายสินคา้ .1 ตาํ บล 1
ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP)
3 กจิ กรรมวนั ผสู้ งู อายุเทศบาล ประชาชนในพืน้ ที่ 30,000 30,000 30,000 ทต.ตาจง
ตาํ บลตาจง
4 กจิ กรรมทางศาสนา ประชาชนในพนื้ ที่ 50,000 50,000 50,000 ทต.ตาจง
ประเพณีและวฒั นธรรม
5 กิจกรรมจิตอาสา/อาสาสมัคร ประชาชนในพ้ืนที่ 20,000 20,000 20,000 ทต.ตาจง
เพื่อชมุ ชนดา้ นต่างๆ
6 โครงการส่งเสรมิ การพัฒนา ประชาชนในพื้นท่ี 100,000 100,000 100,000 ทต.ตาจง
ผสู้ งู อายุ
7 โครงการสร้างเสริมทักษะ ประชาชนในพ้นื ท่ี - - - กศน.ตาจง
ดจิ ติ อลชุมชน
8 โครงการจัดการเรียนรู้หลัก ประชาชนในพืน้ ที่ - - - กศน.ตาจง
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
9 โครงการปอู งกันและแก้ไข ประชาชนในพนื้ ท่ี 50,000 50,000 50,000 ทต.ตาจง/สภอ.
ปัญหายาเสพติด ละหานทราย
10 โครงการผสู้ ูงวัยใส่ใจ ประชาชนในพืน้ ท่ี 50,000 50,000 50,000 ทต.ตาจง
ลูกหลาน
11 โครงการส่งเสรมิ การพฒั นา ประชาชนในพื้นท่ี 50,000 50,000 50,000 ทต.ตาจง
สตรแี ละครอบครัว
12 โครงการส่งเสรมิ การพัฒนา ประชาชนในพืน้ ที่ 50,000 50,000 50,000 ทต.ตาจง
คนพกิ าร ผู้ดอ้ ยโอกาสและ
คนไร้ท่ีพ่ึง
13 โครงการจัดศึกษานอกระบบฯ ประชาชนในพน้ื ท่ี - - - กศน.ตาจง
~ 145 ~
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 3 การส่งเสริมความเขม้ แข็งของกลุม่ องค์กรดา้ นการจดั สวสั ดกิ ารสงั คม
ที่ โครงการ/กจิ กรรม กลมุ่ เป้าหมาย วงเงนิ งบประมาณ (บาท) หนว่ ยงาน
2564 2565 2566 ทีร่ บั ผดิ ชอบ
1 เสริมสร้างความเข้มแข็งของ สมาชิกกองทนุ ฯ - 50,000 50,000 -สนง.พมจ.บุรีรัมย์
กองทุนสวสั ดิการชมุ ชนเทศบาล (ผ่านกองทุน กสจ.)
ตาํ บลตาจง -พอช.
2 ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร จั ด ส วั ส ดิ ก า ร สมาชกิ กองทุนฯ/ - 100,000 200,000 -สนง.พมจ.บุรีรัมย์
ในชุมชน ผู้ดอ้ ยโอกาส -พอช..
-กองทุนสวสั ดิการ
ชุมชน
3 สนบั สนุนการดําเนินงานบริหาร คนพิการทกุ - 20,000 20,000 -สนง.พมจ.บุรีรมั ย์
จัดการศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ประเภท -ศนู ย์บรกิ ารคน
พิการจังหวัด
บุรรี มั ย์
4 สภาองคก์ รชมุ ชนเทศบาลตําบล ประชาชนใน 20,000 20,000 20,000 -พอช.
ตาจง พ้ืนที่ -สภาองคก์ รชุมชน
ฯ ตาํ บลตาจง
5 โครงการพฒั นาศักยภาพ ศพอส. ศพอส.ทกุ แหง่ 11,680 - - สนง.พมจ.บุรรี มั ย์
6 โครงการธนาคารเวลา ประชาชน -- - -สนง.พมจ.บรุ รี มั ย์
ในพ้ืนท่ี -ทต.ตาจง
-ศพอส.ทต.ตาจง
ประเด็นการพฒั นาที่ 4 การพฒั นาระบบ/กลไกเครือข่ายการดูแลกนั เองในชุมชน
ฃที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย วงเงินงบประมาณ (บาท) หน่วยงาน
2564 2565 2566 ทรี่ บั ผิดชอบ
1 ศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ประชานในพื้นท่ี/ 20,000 20,000 20,000 -สนง.พมจ.บรุ รี มั ย์
ชมุ ชนเทศบาลตําบลตาจง คณะทํางาน ศพค. -ศพค.ตาจง
2 โครงการสร้างเครือข่าย คณะกรรมการ - - - -บ้านพกั เด็กและ
คุ้มครองเดก็ ระดบั ตําบล คุ้มครองเด็ก ครอบครัวจังหวดั บรุ ีรัมย์
ระดับตาํ บล
3 ขับเคล่ือนศูนย์ปฏิบัติการ ประชาชนใน 20,000 20,000 20,000 -สนง.พมจ.บุรรี มั ย์
ปูองกันและแก้ไขปัญหา พ้ืนท่/ี คณะทํางาน -ศปกต.ตาจง
ความรุนแรงในครอบครัว ศปกต.
ตาํ บลตาจง
4 โครงการส่งเสริมความ คณะทาํ งานสภา 15,000 15,000 15,000 -บ้านพักเด็กและ
เ ข้ ม แ ข็ ง ส ภ า เ ด็ ก แ ล ะ เด็กและเยาวน ครอบครวั จงั หวดั บุรีรัมย์
เยาวชนตําบลตาจง -สภาเดก็ และเยาวน
~ 146 ~
ส่วนที่ 5
การขบั เคลือ่ นโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง
1. ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคลื่อนภารกิจตามตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรอง
การปฏิบัติราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
เพ่ือชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับ สํานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1 – 11 และ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ท้ัง 76 จังหวัด.เม่ือวันที่
26 มกราคม 2564 ณ หอ้ งประชุมสํานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
2. ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง.ร่วมกําหนดพ้ืนที่
ที่เครือข่ายมีความเข้มแข็ง พร้อมทั้งกําหนดขอบเขตในการศึกษาตําบลสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง.ร่วมกับ
ทมี พม. จงั หวดั บุรรี ัมย์ (ทมี .One.Home) เมอื่ วนั ที่ 4 มนี าคม 2564 ณ ห้องประชุมสํานักงานพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดบุรรี มั ย์
3..ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพ้ืนท่ี ร่วมกับ
ทมี พม.จังหวัดบรุ ีรมั ย์ ผู้นําทอ้ งท่ี ผนู้ าํ ท้องถนิ่ ผู้นําชมุ ชน อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
หน่วยงานและภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้องในพื้นท่ี เม่ือวันที่ 12 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมเทศบาลตําบลตาจง
อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรรี มั ย์ ดงั น้ี
3.1 เพ่ือศึกษาขอ้ มลู พ้ืนฐานทางสงั คม วิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางสงั คมในระดับชุมชนและปัญหา
ทน่ี ่าสนใจ
3.2 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล.TPMAP.และข้อมูลการช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย พร้อมท้ังร่วมกําหนด
ครัวเรอื นเปาู หมายที่จะใหค้ วามช่วยเหลอื และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ในพนื้ ที่ จาํ นวน 43 ครวั เรือน
3.3 ร่วมพิจารณาแต่งต้งั คณะทํางานสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งตําบลตาจง
4..จัดทาํ คําส่ังแต่งต้ังคณะทาํ งานสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็ ตําบลตาจง อําเภอละหานทราย จงั หวัดบุรรี ัมย์
5..จัดทีมลงพ้ืนที่เยี่ยมบ้าน เพื่อสํารวจสภาพปัญหาและจัดเก็บข้อมูลผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน
โดยใช้สมุดพกครอบครัวเป็นเคร่ืองมือในการจัดเก็บข้อมูล จํานวน 43 ครัวเรือน ร่วมกับหน่วยงาน พม.
จังหวัดบุรีรัมย์ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ทต.ตาจง) ผู้นําชุมชน อพม. เม่ือวันที่ 18 มีนาคม 2564
ณ พ้นื ทต่ี าํ บลตาจง อาํ เภอละหานทราย จังหวัดบรุ ีรัมย์
6..วเิ คราะห์ข้อมลู สภาพปัญหาของผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คมรายครวั เรือน จํานวน 43 ครัวเรือน จํานวน
5 มิติ ได้แก่ ด้านการมีงานทําและรายได้/ด้านสุขภาพ/ด้านการศึกษา/ด้านความเป็นอยู่/ด้านการเข้าถึง
บรกิ ารของรฐั ดังน้ี
ตารางที่ 1 สภาพปัญหาของกลมุ่ เปา้ หมายรายครวั เรือน 5 มติ ิ
ที่ ช่ือ-สกุล อายุ ท่ีอยู่ สภาพปญั หา 5 มติ ิ
(ปี) เลขที่ หมู่ท่ี ด้านการ ดา้ น ดา้ น ดา้ นความ ด้านการ
มงี านทํา สขุ ภาพ การศกึ เป็นอยู่ เขา้ ถงึ
และ ษา (ทอ่ี ยู่ บริการ
รายได้ อาศยั ) ของรัฐ
1 นางลกั ษมี ผกู ดวง 61 171 1
2 นางแอ๋ว รดนํ้า 47 22 1
3 นางเฮม หลอดแกว้ 76 95/2 2
~ 147 ~
ท่ี ชอ่ื -สกุล อายุ ทอ่ี ยู่ ดา้ นการ สภาพปญั หา 5 มิติ ด้านการ
(ปี) เลขท่ี หม่ทู ี่ มงี านทาํ เข้าถงึ
4 นายโง๊ะ สงั ข์กูล ดา้ น ดา้ น ด้านความ บริการ
5 นางตม สวายพล และ สุขภาพ การศกึ เปน็ อยู่ ของรฐั
6 นายเดือน กริ มั ย์ รายได้
7 นายเต็ง มูระคา ษา (ที่อยู่
8 นางสุง แกว้ กลม อาศยั )
9 นายโฉม บญุ เรือง
10 นางดม สขุ กุล 65 166 2
11 นางแถม พลชาํ นาญ 84 81 3
12 นายเตือน เพชรไทย 62 23/2 3
13 นางรัตนา บญุ ชว่ ย 66 111 4
14 นางสาวสตุ าภัทร สุภพล 80 124 4
15 นายประยรู ออ่ นวาที 73 34 5
16 นายบุญชอ้ ย แย้มรมั ย์ 75 76 5
17 นายทววี ฒั น์ ขนุ แก้ว 93 25 6
18 นายดุลย์ เจริญยง่ิ 90 59 9
19 นายหวล นิม้ ประโคน 46 93 7
20 นางระตี ทรงประโคน 17 62 7
21 นางสาวแจ่ม อ่อนศรี 75 13 8
22 นายทอย พลชาํ นาญ 51 22 8
23 นายสวุ ทิ ธิ์ โมทาน 72 87 9
24 นายสาย ชมุ ดี 74 40 9
25 นายประศักด์ิ จาํ ปารอ้ ย 89 140 10
26 นางเจยี ม จนั ทร์บบุ ผา 57 114 10
27 นางแผง พมิ พ์พันธ์ 75 47/2 12
28 นางวรรณภิ า อ่อนวาที 87 125 12
29 นายแจ่ม นําประโคน 46 124 12
30 นางจดั ไขรมั ย์ 62 6 14
31 นางเทง แสนดี 58 28 13
32 นางปอุ ง คะลิรัมย์ 76 75 14
33 นายสังวาลย์ แสนเลิศ 84 5 14
34 นางสาวสกุ ญั ญา ปรีชา 42 43 14
35 นางสาวกฤษณา กริ ัมย์ 63 66 15
77 263 16
58 197 16
71 78/3 17
79 9 17
31 91 18
43 163/1 18
~ 148 ~
ท่ี ช่อื -สกลุ อายุ ท่อี ยู่ สภาพปัญหา 5 มิติ
(ป)ี เลขท่ี หมู่ที่ ด้านการ ดา้ น ด้าน ด้านความ ด้านการ
มีงานทํา สขุ ภาพ การศึก เปน็ อยู่ เขา้ ถงึ
และ ษา (ท่อี ยู่ บรกิ าร
รายได้ อาศยั ) ของรฐั
36 นางสาวหมู เสนา 87 70 19
37 นายเมอะ ทองคําสุก 74 29 19
38 นางสาวนาริน โสประโคน 42 7/2 20
39 นางทองดี เตน็ ภษู า 75 42 20
40 นายดี คุณวงค์ 90 66 21
41 นายสงคราม บตั รประโคน 52 34 21
42 นายทองจันทร์ สกั การี 69 7 22
43 นางบุญร่วม หวงั ภกู ลาง 70 129 22
7. ประชุมคณะทํางานขบั เคลอ่ื นการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง ตาํ บลตาจง อาํ เภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์
เพื่อสรุปผลการจดั เกบ็ ข้อมูล วิเคราะห์ประเด็นปัญหารายครัวเรือน จํานวน 43 ครัวเรือน และร่วมกําหนด
แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพตามประเด็นปัญหารายครัวเรือน เม่ือวันท่ี 18 มีนาคม 2564
ณ หอ้ งประชมุ เทศบาลตําบลตาจง อําเภอละหานทราย จังหวดั บุรีรมั ย์
8..จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนร่วมกับคณะทํางานขับเคล่ือนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ในพื้นที่เป็นการจัดประเภทของการพัฒนาครัวเรือน ตามความเร่งด่วนของผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน
ท่ีต้องให้การช่วยเหลือ จํานวน 43 ครัวเรือน โดยการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือน
เป็น 3 ระยะ ดังน้ี
8.1 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะเร่งด่วน (ระยะสั้น) เช่น การช่วยเหลือ
ทางดา้ นเครื่องอปุ โภคบริโภค เงินสงเคราะห์ (เงินอุดหนุน) และการเขา้ ถงึ สิทธ์ิ เปน็ ตน้
8.2 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะกลาง เช่น การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ
การเข้าถึงโอกาส การเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่มของชมุ ชน การเขา้ ถึงระบบ IT และการปรับสภาพแวดล้อม เป็นตน้
8.3 แผนพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผปู้ ระสบปัญหารายครัวเรือนระยะยาว เช่น การปรับปรุงซ่อมแซม
ทอ่ี ยู่อาศัย การมีทีด่ นิ ทาํ กนิ การเป็นชุมชนสีเขยี ว (ปลอดภยั ไมม่ ขี โมย) และการบรรจแุ ผนการพฒั นาคุณภาพชีวิต
รายครอบครวั ในแผนระดับท้องถน่ิ
9. ดําเนินการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้ประสบปัญหาทางสังคมตามแผนร่วมกันกับภาคีเครือข่ายและ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ใหช้ ุมชนเกดิ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ สามารถพึ่งพาตนเองและสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยนื
10..สรุปผลการดําเนินงาน การติดตาม และประเมินผลตามแผนปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม
เปราะบางรายครวั เรอื น จาํ นวน 43 ครัวเรอื น
11. ประชุมถอดบทเรียนและสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมผลการแก้ไขปัญหาและผลการพัฒนา
ศักยภาพครัวเรือนเปูาหมายในพ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็งตําบลตาจง อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์
โดย สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (สสว.4), หน่วยงาน พม. จังหวัดบุรีรัมย์, คณะทํางานสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งฯ เมื่อวันท่ี 14 กันยายน 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
ณ หอ้ งประชมุ สํานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4
~ 149 ~
สว่ นที่ 6
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
6.1 รายงานผลการชว่ ยเหลือครวั เรอื นเปา้ หมายในพ้ืนที่บูรณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
ดา้ นการช่วยเหลือ ประเภทการชว่ ยเหลือ จานวน หนว่ ยงานทีช่ ่วยเหลือ
ด้านการมงี าน (ครัวเรือน) -สนง.พมจ.บุรีรมั ย์
และรายได้
-เงนิ สงเคราะห์ฯ กรณฉี ุกเฉิน -42 ครัวเรือน -ศนู ย์คุ้มครองคนไรท้ พ่ี งึ่ ฯ
ด้านสุขภาพ -สนง.พมจ.บรุ รี ัมย์
(เสียชีวิต 1 ราย) -บ้านพกั เด็กและ
ดา้ นการศึกษา ครอบครวั
-เงนิ สงเคราะห์คนไรท้ พ่ี งึ่ และผมู้ รี ายได้นอ้ ย -3 ครวั เรือน -อพม./อสม/
-เงินสงเคราะหผ์ ู้สงู อายุ -1 ครวั เรอื น -รพ.สต./อสม./สสอ.
-เงนิ กองทนุ คมุ้ ครองเดก็ -1 ครัวเรอื น -รพ.สต./อสม./สสอ.
-ดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุตดิ เตียงใน -5 ครวั เรือน -สนง.พมจ.บรุ รี ัมย์/
บ้านพกั เด็กฯ
ครอบครัว
-เยีย่ มเยยี นให้คําปรึกษาด้านการดแู ล -34 ครวั เรือน
สขุ ภาพ การกนิ อาหาร การออกกําลังกาย
เบอ้ื งตน้
-ให้คําปรึกษาการดูแลผ้มู ปี ัญหา -1 ครัวเรือน
สุขภาพจิต
-การชว่ ยเหลือเงินจากกองทนุ คุ้มครองเด็ก - 1 ครัวเรอื น
ด้านความเปน็ อยู่ -ซอ่ มแซมท่ีอยอู่ าศัย -28 ครวั เรือน -สนง.พมจ.บุรรี มั ย์/พอช.
(ทอี่ ยู่อาศัย) -ใหค้ าํ แนะนําในการปรับ -28 ครวั เรือน -รพ.สต./พม./อบต.
สภาพแวดล้อมและที่อยอู่ าศัยให้
ดา้ นการเขา้ ถึง ถกู สขุ ลกั ษณะ -28 ครัวเรอื น -รพ.สต./พม./อบต.
บริการของรัฐ -การปรับปรุงท่ีอยูอ่ าศยั ให้เอ้ือตอ่ การ -2 ครัวเรือน
ดาํ รงชวี ติ ของผสู้ ูงอายุ -สนง.พมจ.บรุ ีรมั ย์/
อบต.ตาจง
-ใหค้ ําปรึกษาด้านสทิ ธิสาํ หรับผู้พกิ าร/
ผ้สู ูงอายุ
~ 150 ~
6.2 รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การในพนื้ ท่ีชุมชนเข้มแขง็
1. โครงการบรู ณาการเพอื่ พัฒนาคุณภาพชีวติ กลมุ่ เปราะบางรายครัวเรอื น
(พื้นทส่ี ร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ )
1.1 วัตถุประสงค์
1) เพ่ือบูรณาการความร่วมมือในการชว่ ยเหลือกล่มุ เปราะบางให้ครอบคลุมทกุ มติ ิแบบองคร์ วม
2) เพ่ือให้กลุ่มเปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการรวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม
เปราะบางและใหค้ รอบครัวมันคงมีความสุขสามารถพ่ึงพาตนเองได้อยา่ งยัง่ ยนื
3) เพ่ือให้มีฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนระดับประเทศท่ีเกิดจากการบูรณาการ
ขอ้ มูลจากทกุ หนว่ ยงาน
1.2 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
1) ประชมุ คัดเลือกพ้ืนที่เปาู หมายท่ีมคี วามเขม้ แข็งเพ่ือขบั เคลอื่ นโครงการ จังหวดั ละ 1 แหง่
2) แต่งต้ังคณะทาํ งานสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็งตําบลตาจง อาํ เภอละหานทราย จงั หวัดบุรีรัมย์
ซ่งึ ประกอบด้วยทุกภาคสว่ น รวมทัง้ บวร
3) ตรวจสอบข้อมูลกลุม่ เปราะบางในพนื้ ที่
4) ลงพ้นื ทจี่ ดั เกบ็ ขอ้ มลู กลมุ่ เปราะบางในพื้นท่ี
5) จดั ทําแผนพฒั นาคุณภาพชวี ติ กลุม่ เปราะบาง
6) ชว่ ยเหลอื กลุ่มเปราะบางตามแผน
7) รายงานผลการดําเนนิ งาน
1.3 ผลการดาเนินงาน
1) ชว่ ยเหลอื ในระยะส้ันด้านเงนิ สงเคราะหผ์ ู้ประสบปัญหาทางสงั คมกรณฉี ุกเฉิน จํานวน 42 ครัวเรือน
2) จดั เกบ็ สมุดพกครอบครัว 42 ครัวเรอื น
1.4 หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั บุรีรมั ย์
2. โครงการโรงเรยี นครอบครวั ตาบลตาจง
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมส่งเสริมบทบาทพ่อแม่ ผู้ปกครองในการดแู ลเดก็ ปฐมวัย (0 – 6 ป)ี
กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมส่งเสริมสมั พนั ธภาพครอบครัว
2.1 วตั ถปุ ระสงค์
1) เพ่ือสง่ เสรมิ ให้สมาชกิ ในครอบครัวมคี วามรู้และทักษะในการดําเนินชวี ิตท่ีเหมาะสม
ในแต่ละชว่ งวยั
2) เพือ่ สง่ เสริมใหส้ มาชิกในครอบครวั สามารถเตรยี มความพร้อมในการมชี วี ติ ครอบครัว
สามารถทําบทบาทหนา้ ที่ของสมาชิกในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
3) เพื่อส่งเสรมิ ให้เด็กและเยาวชนมพี ฤติกรรมท่เี หมาะสม
2.2 กลุ่มเป้าหมาย คณะทํางานศูนย์พัฒนาครอบครัว ที่มีเด็กปฐมวัย จํานวน 100 คน และ
สมาชิกในครอบครัวและคณะทํางานศูนย์คุ้มครองคนไรท้ ่ีพงึ่ จงั หวดั บุรีรัมย์ จํานวน 100 คน
2.3 งบประมาณ จํานวน 40,000 บาท
~ 151 ~
2.4 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
2.4.1 กจิ กรรมส่งเสริมบทบาทพ่อแมผ่ ้ปู กครองในการดูแลเดก็ ประถมวัย (อายุ 0-6 ปี)
1) การสาํ รวจขอ้ มลู สถานการณ์ของครอบครวั และเด็กเล็ก
2) บทบาทและหน้าท่ีของครอบครัว
3) การเล้ียงดลู กู ตามวัย(วงจรชีวิตครอบครัว/พฒั นาการในแตล่ ะชว่ งวยั
4) การวางแผนและการบรหิ ารจดั การการเงนิ ของครอบครัว
5) การจดั การหนี้สินของครอบครวั
6) การออมและการดาํ เนินชวี ติ ตามเศรษฐกิจพอเพียง
7) กิจกรรมสง่ เสริมสัมพันธภาพครอบครัว
8) บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ ครอบครัว
9) การส่อื สารทดี่ ีภายในครอบครัว
10) การใช้เวลารว่ มกนั ของครอบครวั
11) กิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างความสัมพันธ์ท่ีดใี นครอบครวั
2.5 ผลการดาเนนิ งาน
2.5.1 เชิงคุณภาพ
1) สมาชิกในครอบครัวมสี มั พันธภาพอันดี
2) สมาชกิ ในครอบครวั รู้และเขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่ของตัวเอง
3) ผ้สู ูงอายเุ ข้าใจบทบาทของตนเองที่มตี อ่ ครอบครัวและสังคม
4) เดก็ เยาวชนสามารถเข้าใจการวางแผนชีวิตและการสรา้ งครอบครัว
5) มกี ารทํางานรว่ มกับทมี สหวิชาชีพ
2.5.2 เชิงปรมิ าณ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อประชาชนจํานวน 100 คน
2.6 หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบ สํานักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั บุรีรมั ย์
3. โครงการสร้างชีวติ ใหม่ให้สตรแี ละครอบครัว (104 วัน)
3.1 วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้สตรีและครอบครวั มีทักษะอาชพี และสามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้
อยา่ งมนั่ คง
3.2 กล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนในพนื้ ทตี่ ําบลตาจง 30 คน
3.3 งบประมาณ 307,640 บาท
3.4 ขั้นตอนการดาเนินงาน
1) ประชาสมั พนั ธ์ ลงพื้นท่ปี ระสานงาน
2) จดั ฝกึ อาชีพตามโครงการการสรา้ งชีวติ ใหมฯ่
3) สนบั สนนุ การรวมกลุ่มประกอบอาชีพ
4) จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิต
5) การดาํ เนินงานในการบริหารจัดการเพื่อขับเคล่ือนงานตามภารกจิ
6) ติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งาน
3.5 ผลการดาเนินงาน จาํ นวนกลมุ่ เปูาหมายทีไ่ ดร้ บั การส่งเสริมความรใู้ นการประกอบชีพ 30 คน
3.6 หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ สาํ นักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั บุรีรมั ย์
~ 152 ~
สว่ นที่ 7
สรุปผลการถอดบทเรยี นโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง
7.1 การวิเคราะหส์ ภาพปญั หาในพนื้ ที่
7.1.1 การพ่ึงพารายไดจ้ ากเศรษฐกจิ ภาคการเกษตรซง่ึ ต้องพึ่งพาธรรมชาติ
7.1.2 การขาดทักษะ/ทนุ ในการประกอบอาชีพ/ขาดการส่งเสริมอาชพี ทตี่ ่อเนื่อง
7.1.3 การย้ายถิ่นฐานไปทํางานต่างจังหวัด เน่ืองจากความยากจน ทําให้เกิดภาวะครอบครัวแหว่งกลาง/
ครอบครวั ขา้ มรนุ่ /ผ้สู งู อายุถกู ทอดทิง้ ให้อย่ตู ามลําพัง
7.1.4 การอยู่ในสภาพแวดล้อมทอ่ี ยอู่ าศยั มาเหมาะสม/ไม่ถูกสุขลักษณะ
7.1.5 การไม่มกี รรมสิทธใ์ิ นทด่ี ินทํากนิ และท่ดี นิ อย่อู าศัย
7.2 สภาพปัญหากลุม่ เปา้ หมายรายครวั เรอื น
7.2.1 ดา้ นรายได้และการมงี านทาํ จาํ นวน 42 ครวั เรอื น
7.2.2 ดา้ นสขุ ภาพ จํานวน 34 ครวั เรือน
7.2.3 ดา้ นความเป็นอยู่ (ท่ีอยู่อาศัย) จาํ นวน 28 ครวั เรือน
7.2.4 ด้านการศกึ ษา จาํ นวน 2 ครวั เรือน
7.2.5 ด้านการเขา้ ถงึ บริการของภาครัฐ จํานวน 6 ครัวเรือน
1) ไมม่ ีบตั รสวสั ดกิ ารแหง่ รัฐ จาํ นวน 5 ครวั เรือน
2) ไม่มสี ถานะทางทะเบยี นราษฎร์ จาํ นวน 1 ครัวเรือน
7.3 ผลการชว่ ยเหลอื รายครัวเรอื น
7.3.1 ดา้ นรายไดแ้ ละการมงี านทา
1) เงนิ สงเคราะหฯ์ กรณฉี ุกเฉิน จํานวน 42 ครัวเรือน โดย สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษยจ์ งั หวัดบุรรี มั ย์ (สนง.พมจ.บรุ รี ัมย)์
2) เงินสงเคราะห์คนไรท้ ่ีพ่งึ และผู้มรี ายได้น้อย จํานวน 3 ครัวเรือน โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง
จงั หวัดบุรรี ัมย์ (ศคพ.บรุ ีรัมย์)
3) เงนิ สงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลําบาก จํานวน 1 ครัวเรือน โดย สํานักงานพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวดั บุรีรมั ย์ (สนง.พมจ.บรุ ีรัมย)์
4) เงินกองทุนคุ้มครองเด็ก จํานวน 1 ครัวเรือน โดย บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดบุรีรัมย์
(บพด.บรุ รี ัมย)์
7.3.2 ด้านสขุ ภาพ
1) ดแู ลสุขภาพผู้สงู อายตุ ิดเตียงในครอบครวั จํานวน 5 ครวั เรอื น โดย อพม./อสม.
2) เย่ียมเยียนให้คําปรึกษาด้านการดูแลสุขภาพ การกินอาหาร การออกกําลังกายเบื้องต้น
จํานวน 34 ครัวเรือน โดย รพ.สต./อสม./สสอ.
3) ใหค้ ําปรกึ ษาการดแู ลผูม้ ปี ญั หาสุขภาพจิต จาํ นวน 1 ครวั เรือน โดย รพ.สต./อสม.สสอ.
~ 153 ~
7.3.3 ดา้ นการศึกษา
การช่วยเหลือเงินจากกองทุนคุ้มครองเด็ก จํานวน 1 ครัวเรือน โดย สนง.พมจ.บุรีรัมย์/บพด.
บุรีรมั ย์
7.3.4 ดา้ นความเป็นอยู่ (ท่ีอยอู่ าศัย) =>อยู่ระหวา่ งดาเนินการ
1) ซ่อมแซมทอี่ ยอู่ าศยั และปรบั ปรงุ ทอ่ี ยู่อาศยั ให้เอ้ือต่อการดํารงชวี ิตของผูส้ งู อายุ
จํานวน 28 ครวั เรือน โดย สนง.บุรีรมั ย์/พอช./รพสต./พม.จงั หวดั บรุ รี ัมย์/เทศบาล
2) ให้คาํ แนะนาํ ในการปรับสภาพแวดล้อมและท่ีอยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ จํานวน 28 ครัวเรือน
โดย รพ.สต./พม./ทต.
7.3.5 ด้านการเขา้ ถงึ บริการของรัฐ จานวน 2 ครัวเรอื น
ข้ึนทะเบียนผู้มีบัตรคนพิการและย่ืนเอกสารเพ่ือรับเบี้ยผู้สูงอายุ จํานวน 2 ครัวเรือน โดย
เทศบาล/สนง.พมจ.บรุ ีรมั ย์
7.4 โครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนินการในพื้นท่ี
7.4.1 โครงการบรู ณาการเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวติ กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน (ตําบลสร้างเสริมชุมชน
เข้มแข็ง)
7.4.2 โครงการโรงเรยี นครอบครัวตําบลตาจง โดย ทต.ตาจง/สนง.พมจ.บรุ ีรมั ย์
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมส่งเสรมิ บทบาทพอ่ แม่ ผู้ปกครองในการดูแลเด็กปฐมวยั (0 – 6 ปี)
กจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรมสง่ เสริมสมั พนั ธภาพครอบครวั
7.4.3 โครงการสรา้ งชวี ิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว (104 วัน) โดย ทต.ตาจง/ศูนย์เรียนรู้ฝึกอาชีพสตรี
ศรีสะเกษ
7.5 ปญั หา อุปสรรค
7.5.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ทําให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมและ
ขบั เคล่ือนงานตามแผนทีก่ าํ หนดได้
7.5.2 อปท. และหน่วยงานในพื้นท่ี มีภารกิจเร่งด่วนที่ต้องร่วมกันปูองกันและแก้ไขปัญหาการระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ทําให้การขับเคล่ือนโครงการต้องหยุดชะงักชั่วคราว หรือดําเนินการได้
ไมเ่ ป็นไปตามแผน
7.5.3 การเชอื่ มต่อแผนการพฒั นาคุณภาพชวี ิตกับ ศจพ.จ.บุรีรมั ย์ พมจ.ไม่ได้เป็นเลขาโดยตรง ทําให้มี
ข้อจํากดั ในการผลกั ดันตอ่
7.6 ปจั จยั ความสาเรจ็
7.6.1 ความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในพื้นท่ีและการมีส่วนร่วมการบูรณาการ และการพึ่งพาตนเอง
ของคนในชมุ ชน
7.6.2 นโยบายของผูบ้ ริหาร อปท. ซึ่งให้ความสาํ คญั กบั การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
7.6.3 กลไกคณะทํางานมีความชัดเจนในบทบาทหนา้ ที่ และการมอบหมายภารกจิ ส่งผลให้เกดิ การ
ขับเคล่อื นงานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
~ 154 ~
7.6.4 ทกุ คนมีความตงั้ ใจ ชดั เจนในส่ิงทีด่ ําเนินการ และสามารถทําได้ตามกรอบเวลาทกี่ าํ หนด
7.6.5 การสนบั สนนุ เชงิ นโยบายจากกระทรวงและระดบั จงั หวัด ส่งผลใหก้ ารดําเนนิ งานเปน็ ไป
อยา่ งราบร่ืน
7.6.6 การให้ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ผู้นําชุมชนในพ้ืนที่ โดยเฉพาะ
กลุม่ อาสาสมคั ร (อพม.) ให้ความรว่ มมือเปน็ อย่างดี
7.7 ข้อคน้ พบ
7.7.1 การมีส่วนร่วมของภาคสว่ นต่างๆ ท้งั ภาครฐั ภาคประชาสงั คม ภาคประชาชน และ อพม. ในพื้นที่
ซ่ึงมจี ติ อาสาใหค้ วามรว่ มมือและช่วยเหลือกล่มุ เปูาหมายด้วยความเต็มใจและเตม็ ที่
7.7.2 ความร่วมมือจาก อปท. ในการสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น บุคลากร สถานที่
ยานพาหนะ หรือการประสานงานต่างๆ
7.7.3 แผนพฒั นาคณุ ภาพชีวิตกลมุ่ เปราะบางรายครวั เรือน ท่ีเกิดจากความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย
จะเป็นกลไกสาํ คัญทจี่ ะทําใหก้ ลมุ่ เปาู หมายหลุดพน้ จากความยากจนและมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ีขึน้ อย่างยัง่ ยืน
7.8 ขอ้ เสนอแนะ
7.8.1 อยากให้มกี ารบูรณาการ 12 กระทรวง 1 หน่วยงาน เกดิ ข้นึ ในระดับปฏบิ ตั ิการได้อย่างจรงิ จัง
เพื่อเกิดการพัฒนาได้ทุกมติ ิ
7.8.2 การเลอื กพน้ื ทเ่ี ปาู หมายท่ีมีศักยภาพจะเกิดการพฒั นาทม่ี ีประสทิ ธิภาพ นาํ ไปส่คู วามยั่งยนื
7.8.3 ควรมีการเช่อื มร้อยภาคเอกชน ภาคธรุ กิจระดบั พ้ืนท่ี ร่วมทาํ CSR
7.8.4 การพัฒนาเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชุมชน ควรใช้กลไกการขับเคล่ือนโดยชมุ ชนบรหิ าร
จัดการตนเอง และภาครฐั ให้การสนับสนุนหรือหนุนเสรมิ
7.8.5 การน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการสรา้ งเสริมความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน
จะทําใหก้ ารสร้างชุมชนเข้มแขง็ มีความยง่ั ยืนอย่างแทจ้ ริง
~ 155 ~
ภาคผนวก
คาสัง่ จงั หวัดบุรรี ัมย์ ท่ี 1185/2563 ลงวนั ท่ี 13 มีนาคม 2563
~ 156 ~
~ 157 ~
~ 158 ~
คาสัง่ จงั หวัดบุรรี มั ย์ ท่ี 1713/2564 ลงวนั ท่ี 18 มนี าคม 2564
~ 159 ~
~ 160 ~
รายงานผลการดาเนินงานโครงการ
การบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็
ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชิง
จงั หวัดสุรนิ ทร์
~ 161 ~
ส่วนท่ี 1
สภาพทั่วไปและข้อมลู พืน้ ฐาน
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จังหวัดสรุ นิ ทร์
วิสยั ทศั น์
“เป็นองค์กรหลักที่ยึดม่ันหลักธรรมาภิบาลในการดูแลและจัดทําบริการสาธารณะและกิจกรรม
สาธารณะในพื้นที่ตําบลตะเคียนอย่างมีคุณภาพ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนและเป็นฐานในการ
พัฒนาเศรษฐกิจสังคมใหเ้ กดิ ความยง่ั ยืน”
1. ขอ้ มูลทว่ั ไป
1.1 ขนาดท่ีตั้งและอาณาเขต
องค์การบริหารส่วนตําบลตะเคียน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ต้ังอยู่หมู่ท่ี 9 ตําบลตะเคียน
อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีเน้ือท่ีรวม 54 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตําบลตะเคียนทั้งหมด
ของอําเภอกาบเชิง โดยมีอาณาเขตตามท่ีระบุในประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การกําหนดเขตตําบล
ในทอ้ งทอ่ี ําเภอกาบเชงิ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ ตาํ บลคูตัน อําเภอกาบเชงิ จงั หวดั สุรินทร์
ทิศตะวนั ออก ติดต่อตาํ บลดา่ น อําเภอกาบเชิง จังหวดั สรุ นิ ทร์
ทิศใต้ ติดต่อราชอาณาจกั รกัมพูชา
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อตาํ บลกาบเชิง อาํ เภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์
1.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ
ตําบลตะเคียน ตั้งอยู่บริเวณท่ีราบสูง มีความสูงจากระดับน้ําทะเล ประมาณ 190 เมตร
ลักษณะพ้ืนที่ทางตอนใต้ของตําบล เป็นพื้นท่ีราบสูงของแนวเทือกเขาพนมดงรัก มีปุาทึบสลับปุาเบญจพรรณ
ตามบริเวณแนวชายแดนทตี่ ิดต่อกบั ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ต่อจากบริเวณลงมาเป็นท่ีราบสูง ลุ่มๆ ดอนๆ
ลาดเทมาทางทศิ เหนอื เหมาะกับการทํานา ทาํ ไร่ และทาํ สวน
1.3 ลกั ษณะภูมิอากาศ
ตาํ บลตะเคยี น อยใู่ นแถบของลมมรสมุ เขตรอ้ น ลกั ษณะของลมฟาู อากาศ และปริมาณน้ําฝน จะข้ึนอยู่
กับอิทธิพลของลมมรสุม ซึ่งเป็นลมพัดประจําฤดู 2 ฤดู โดยพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาว
เรียกวา่ ลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ จึงทําให้อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง ลมมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือ ลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งลมชนิดน้ีจะพัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ เป็นส่วนใหญ่ในฤดูฝน มีผลทําให้
อากาศชุ่มช้ืนและมีฝนตกชุกท่ัวไป ฤดูกาลในตําบลตะเคียน มี 3 ฤดู ในแต่ละฤดูจะมีช่วงเวลาไม่คงท่ีแน่นอน
ขนึ้ อยกู่ ับปรากฏการณท์ างธรรมชาติและอิทธพิ ลของลมมรสุมเปน็ หลัก แตโ่ ดยท่ัวๆ ไป ดังนี้
ฤดรู ้อน อยู่ระหว่างช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนอบอ้าว
และรอ้ นจดั มาก ในบางช่วงสง่ ผลให้เกิดความแหง้ แล้ง
ฤดฝู น อยรู่ ะหว่างเดอื นพฤษภาคมหรือมถิ ุนายน ถึงเดอื นตุลาคม ปริมาณนา้ํ ฝนไมแ่ น่นอน
บางปีมาก บางปีน้อย ขึน้ อยูก่ บั อทิ ธิพลของลมมรสุมและลมพายดุ เี ปรสชั่นในทะเลจีนใต้
ฤดูหนาว อยู่ระหว่างช่วงเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ความหนาวเย็น
ในแต่ละปี ขนึ้ อยกู่ ับอิทธิพลของลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื และรอ่ งความกดอากาศตาํ่ จากประเทศจีน
~ 162 ~
1.4 ลกั ษณะของดิน
ตําบลตะเคียน ต้ังอยู่ที่อยู่ในเขตชายแดน ซ่ึงพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นเขตปุาอนุรักษ์ เขตพ้ืนที่ประกอบ
อาชพี เกษตรกรรมและเขตท่อี ย่อู าศยั
3. ประชากร
ข้อมลู เกย่ี วกบั จาํ นวนประชากรองคก์ ารบริหารส่วนตําบลตะเคียน มีประชากรรวมท้ังส้ิน 5,176 คน
เป็นชาย 2,661 คน เป็นหญิง 2,515 คน โดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิงแยกตามช่วงอายุตามตาราง ข้างล่าง
ความหนาแน่นของประชากรเฉลยี่ ต่อพน้ื ทขี่ ององค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บล เท่ากบั 122 คนต่อตาราง กิโลเมตร
ตาราง : จาํ นวนประชากรในเขตองคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลตะเคียนแยกเพศชาย หญิง ตามช่วงอายุ
ช่วงอายุ (ปี) ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน)
เด็ก (แรกเกิด - 6 ปี) 221 183 404
เด็กโต (7 - 12 ปี) 212 177 389
วยั รุน่ (13 - 17 ปี) 187 175 355
ผ้ใู หญ่ (18 - 59 ปี) 1,689 1,531 3,220
ผสู้ งู อายุ (60 ปขี นึ้ ไป) 401 394 792
รวม 2,661 2,515 5,176
ท่มี า : สาํ นกั งานทะเบียนอาํ เภอกาบเชงิ ขอ้ มูล ณ เดือนมถิ นุ ายน 2562
หมู่ท่ี หมู่บา้ น ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)
1 บ้านตะเคียน 348 330 678
2 บา้ นสกล 157 171 328
3 บา้ นรุน 236 237 473
4 บ้านใหมด่ งเย็น 277 260 537
5 บ้านรม่ ราษฎร์ 307 263 570
6 บา้ นโคกวัด 172 142 314
7 บา้ นโพธ์ิทอง 254 243 497
8 บ้านสกลพฒั นา 418 414 832
9 บ้านตะเคียน 492 455 947
รวม 2,661 2,515 5,126
4. สภาพทางสังคม
4.1 ด้านการศึกษา
• ตําบลตะเคียน มีโรงเรียนระดับประถมศึกษาตั้งให้บริการแก่ประชาชนในตําบล จํานวน 3 แห่ง
เป็นโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษาจนจบถงึ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จาํ นวน 1 แห่ง ดงั น้ี คือ
1) โรงเรยี นบ้านตะเคยี น
2) โรงเรียนบา้ นสกล
3) โรงเรยี นตาํ รวจตระเวนชายแดนท่านผู้หญงิ สปุ ระภาดา เกษมสันต์
~ 163 ~
• มีศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กในความรบั ผดิ ชอบ จํานวน 2 แห่ง คือ
1) ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นตะเคยี น ตง้ั อยู่หมทู่ ี่ 9
2) ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านสกล ตง้ั อยู่หมทู่ ่ี 2
• ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารประจําหมู่บ้าน จาํ นวน 9 แห่ง
4.2 ด้านการสาธารณสุข
ในเขตตาํ บลตะเคียน มสี ถานบริการดา้ นสาธารณสขุ ดงั นี้ คือ
1) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาํ บลตะเคียน ตง้ั อยู่ในหมู่ท่ี 5 บ้านร่มราษฎร์ มีเจ้าหน้าที่ 4 คน
คอยใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชนในเขตพน้ื ท่ี หมู่ที่ 1, 3, 5, 6, 7, 9 ตําบลตะเคียน และมีอาสาสมัครสาธารณสุข
จํานวน 66 คน
2) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านสกล ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 8 บ้านสกลพัฒนา
มีเจ้าหน้าที่ 3 คน คอยให้บริการแก่ประชาชนในเขตพ้ืนที่ หมู่ที่ 2, 4, 8, ตําบลตะเคียน และมีอาสาสมัคร
สาธารณสุข จํานวน 31 คน
3) หน่วยบริการแพทยฉ์ ุกเฉนิ องคก์ ารบริหารส่วนตําบล มีเจา้ หน้าที่ 10 คน
4) กองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพองค์การบรหิ ารส่วนตาํ บลตะเคยี น
5) ศูนยส์ าธารณสุขมลู ฐานประจาํ หมูบ่ ้าน จํานวน 9 แหง่
การบริการดา้ นสาธารณสุข นับว่ามีความสะดวกแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ซึ่งนอกจะรับการบริการ
จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในพื้นที่แล้ว ยังสามารถรับบริการที่โรงพยาบาลกาบเชิงได้อย่างสะดวก
เนือ่ งจากมเี ส้นทางคมนาคมทสี่ ะดวก นอกจากนี้ยังมอี าสาสมัครหน่วยบริการแพทย์ฉุกเฉิน และอาสาสมัคร
สาธารณสุข ทาํ หนา้ ที่ในการดูแล ปูองกนั และแกไ้ ขปญั หาโรคตดิ ต่อในชุมชน และส่งเสริมการพัฒนาระบบ
สาธารณสขุ มูลฐานรว่ มกับองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบล
4.3 อาชญากรรม ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ /การปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
1) หนว่ ยบรกิ ารประชาชน (ตํารวจ) จาํ นวน 1 แหง่
2) ศูนย์ อปพร.อบต.ตะเคียน จํานวน 1 แห่ง
3) ศนู ย์ อปพร.ประจาํ หม่บู า้ น จาํ นวน 9 แหง่
4) รถบรรทุกน้ําอเนกประสงค์ จํานวน 7 คัน
5) รถหน่วยบริการการแพทย์ฉกุ เฉนิ (EMS) จาํ นวน 1 คนั
6) สมาชกิ อปพร.อบต.ตะเคยี น จํานวน 241 คน
7) อุปกรณด์ า้ นการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั อ่นื ๆ
4.4 ด้านสวัสดกิ ารและสังคมสงเคราะห์
การสงเคราะห์ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 รวม
ผู้สงู อายุ 96 56 77 81 77 59 69 95 151 761
คนพกิ าร 57 36 61 33 45 42 37 65 88 464
ผปู้ ุวยเอดส์ 4 1 1 2 - - 2 - 4 14
รวมท้ังส้ิน 157 93 139 116 122 101 108 160 243 1,239
~ 164 ~
ชว่ งอายผุ ู้สูงอายุ ตาํ บลตะเคยี น ช่วงอายุ 60-69 ปี จาํ นวนท้งั สิน้ 428 ราย
ช่วงอายุ 70-79 ปี จาํ นวนทัง้ สนิ้ 226 ราย
ชว่ งอายุ 80-89 ปี จํานวนทง้ั สิ้น 11 ราย
90 ปขี ึ้น จาํ นวนท้ังสนิ้ 761 ราย
>>>ขอ้ มลู จากสํานกั งานปลดั อบต.ตะเคียน ณ เดอื นพฤษภาคม 2564
5. ระบบบริหารพืน้ ฐาน
5.1 การคมนาคมขนสง่
การคมนาคมท่ีสาํ คัญ คอื ทางบก
1) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 214 ถนนสุรินทร์ – ช่องจอม หรอื ถนนปทั มานนท์ โดยเร่ิม
จากเขตเทศบาลเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ อําเภอเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ โดยผ่านอําเภอกมลาไสย ผา่ นอําเภอจังหาร
จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด แลว้ ไปสน้ิ สุดท่บี า้ นปวงตึก อาํ เภอสังขะ จังหวัดสรุ ินทร์ และชายแดนราชอาณาจักรกมั พูชา
2) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2122 (สายบ้านบักจรัง – บ้านเกษตรถาวร) โดยเร่ิมจาก
ทางหลวง แผน่ ดินหมายเลข 214 ที่สี่แยกบ้านบักจรัง หรือส่ีแยกระเบิด โดยผ่านบ้านปราสาทเบง ตําบลกาบเชิง
อําเภอกาบเชิง แลว้ ไปสนิ้ สุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2283 แยกบ้านเกษตรถาวร ตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง
จังหวัดสุรนิ ทร์ รวมระยะทาง 18.125 กโิ ลเมตร
3) ทางหลวงหมายเลข สร 5143 (ถนนบา้ นสกล – บา้ นกระเทยี ม) โดยเร่ิมจากทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข 214 ที่สี่แยกบ้านสกล ตําบลตะเคียน อําเภอกาบเชิง ผ่านตําบลคูตัน แล้วไปสิ้นสุดที่ถนนทางหลวง
แผ่นดนิ หมายเลข 24 แยกบา้ นหนองยาว ตําบลกระเทยี ม อาํ เภอสังขะ จงั หวัดสุรนิ ทร์
4) เส้นทางเช่ือมระหว่างหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนลูกหินคลุก ถนนลูกรัง และถนนคอนกรีต
เสริมเหล็ก ตามลาํ ดับ
5) การคมนาคมไม่สะดวกเท่าท่ีควร โดยเฉพาะในช่วงฤดฝู น
5.2 การจราจร
เป็นการคมนาคมทางบก โดยทางรถยนต์ และถนนภายในหมู่บ้านหรือเชื่อมระหว่างหมู่บ้านเป็น
หินคลุก ลูกรัง คอนกรีต และลาดยาง สามารถใช้ได้ตลอดปีทุกฤดูกาล โดยมีทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข
214 ถนนสรุ ินทร์ - ช่องจอม ทางหลวงหมายเลข 2122 สายบ้านบักจรัง - บ้านเกษตรถาวร และทางหลวง
หมายเลข 5134 สายบา้ นกระเทียม - บ้านสกล
5.3 การไฟฟา้
1) ทกุ ครัวเรือนมไี ฟฟาู ใช้ ทัง้ 9 หมบู่ า้ น
2) มีประชากรใช้ ไฟฟูา จํานวน 1,425 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นต์ของจํานวน
ครวั เรือนทง้ั หมด
5.4 การประปา
ตาํ บลตะเคียน มนี า้ํ ประปาใชท้ ุกหมู่บา้ น บางครวั เรอื นยงั ใช้น้ําบาดาล ใช้เครอ่ื งป๊ัมนํ้า
~ 165 ~
6. ด้านเศรษฐกิจและพาณิชย์
การพาณชิ ย์ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 รวม
ปัม๊ น้ํามัน ขนาดเล็ก
ปมั๊ แก็ส LPG 1 1 24
โรงสขี ้าวขนาดเล็ก
โรงสขี า้ วชุมชน 11
รา้ นขายของชํา
อู่ซ่อมรถ 3 3 5 3 4 3 1 3 25
ลานรับซือ้ ผลผลิตทางการเกษตร
รสี อรท์ /หอ้ งเชา่ 1 12
โรงผลติ นํา้ จําหนา่ ยนํ้าดม่ื
5 2 5 9 4 2 8 7 1 43
1 21 138
11 2
12 2 16
1 113
6.1 การเกษตร
การประกอบอาชีพเกษตรกรรมในตําบลตะเคียน ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพทํานาข้าว ส่วนใหญ่
จะปลูกข้าวหอมมะลิ พันธ์ ๑๐๕, กข ๑๕ ซึ่งมีลักษณะหอมเหมือนใบเตย เป็นข้าวเจ้าชนิดไวต่อช่วงแสง
ต้นข้าวสูงประมาณ ๑๔๐ – ๑๕๐ เซนติเมตร ข้าวจะออกดอกประมาณวันท่ี ๒๐ ตุลาคม และสุกแก่เก็บเก่ียวได้
ประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี นอกจากนี้ เกษตรกรตําบลตะเคียนยังประกอบอาชีพการทําสวน
ยางพารา ปลูกมนั สาํ ปะหลงั ปลูกผักปลอดสารพษิ และการปลูกพืชสมนุ ไพร
6.2 การปศุสัตว์ ซึ่งการประกอบอาชีพด้านปศุสัตว์กับการทํานาควบคู่กันไป สัตว์เลี้ยงท่ีสําคัญ
ประกอบด้วย
ลาดับท่ี ประเภทสตั ว์ จานวน (ตวั ) ครัวเรือนทเ่ี ล้ียงสตั ว์
1 โค 932 280
2 398 236
3 กระบือ 146 29
4 สกุ ร 26,107 674
5 ไก่ 10 2
6 แพะ 950 53
เป็ด
ข้อมูลจากปศุสัตว์อําเภอกาบเชิง ณ วันที่ 31 เดือน พฤษภาคม 2564 โค,กระบือ พ้ืนที่เลี้ยงสัตว์
ส่วนใหญ่จะเป็นพ้ืนท่ีปุาทําเล ส่วนหน้าแล้งจะปล่อยตามทุ่งนาหน้าทํานาจะให้กินฟางที่เก็บไว้และเก่ียว
หญ้าตามเรือกสวนไร่นาให้กิน ไก่พ้ืนบ้าน โดยเล้ียงปล่อยตามธรรมชาติ ไม่ได้เลี้ยงเป็นอาชีพปลา จะมีการ
ขดุ บอ่ ในนาเพอ่ื การเล้ยี งปลา แตส่ ่วนใหญจ่ ะเปน็ บ่อล่อปลา หรือเลี้ยงปลาธรรมชาติ หน้าแล้งก็จะมีการสูบ
สระจับปลาเพือ่ บริโภคเหลือจําหน่ายบรเิ วณตลาดในหม่บู ้าน
~ 166 ~
6.3 การทอ่ งเท่ยี ว
ตะเคียน เป็นตําบลท่ีมีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีเทือกเขาพนมดงรักเป็นแนวกั้น
จึงมีความสาํ คัญทางภูมิศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมเป็นจํานวนมาก นอกจากน้ียังมีสภาพที่เป็นปุาไม้ แหล่งนํ้าท่ีเป็น
ธรรมชาติมากมาย สําหรบั สถานท่ที อ่ งเทย่ี วที่สําคัญ ดังน้ี
1) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ห้วยทับทัน – ห้วยสําราญ เป็นหน่วยงานอยู่ในการควบคุมพื้นท่ียัง
เป็นเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตวป์ าุ ทส่ี มบูรณ์ มีจุดเด่น คือ แหล่งความงามทางธรรมชาติอยู่หลายแห่ง ประกอบด้วย
นาํ้ ตก ลานหิน ท่งุ หญ้า หนา้ ผา บรเิ วณรอบอ่างเกบ็ นํา้ ตา่ งๆ แต่ก็แฝงไปด้วยอันตราย เน่ืองจากมีกับระเบิด
ที่มีมาตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนามอยู่ในพ้ืนท่ี ในอนาคตถ้าสามารถเก็บกู้ระเบิดได้ท้ังหมด จะเป็นสถานท่ี
นา่ สนใจเป็นอย่างย่งิ
2) อ่างเก็บนํ้าห้วยตาเกาว์ เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุปลา มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และมี
ร้านอาหารริมเขื่อนอยู่มากมาย ซ่ึงเปรียบเสมือนเป็นสวรรค์ชายหาดของคนชาวสุรินทร์ และในฤดูร้อน
นํ้าจะลดและมีหาดทรายเหมอื นทะเล ลงเลน่ น้ําได้ โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย
3) จุดชมวิวช่องปลดต่าง ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ห้วยทับทัน – ห้วยสําราญ เป็นจุดชมวิว
ที่ตัง้ อยบู่ นเทือกเขาพนมดงรักและมีความสวยงามมากที่สุดในจังหวัดสุรินทร์ สามารถเห็นลักษณะภูมิประเทศ
ของประเทศเพือ่ นบา้ น โดยเฉพาะการดูพระอาทิตย์ขนึ้ ในช่วงเช้า
6.4 การอุตสาหกรรม
การประกอบการอุตสาหกรรม ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากยางพารา และงานปั้น
ประติมากรรมหลอ่ พระด้วยเรซ่นิ บา้ นใหมด่ งเยน็ หมทู่ ่ี 4
6.5 การพาณิชย์และกลุ่มอาชพี
1) กลุ่มนาแปลงใหญ่ บา้ นตะเคียน หมู่ 1
2) กลุม่ เล้ยี งโคขนุ บ้านใหมด่ งเยน็ หมู่ 4
3) กลุม่ อนรุ กั ษ์และพฒั นาการผลิตกระบือ บ้านตะเคียน หมู่ 1,บ้านรุน หมู่ 3 ,บ้านโคกวัด
หมู่ 6 บา้ นโพธทิ์ อง หมู่ 7
4) กลุ่มผู้ปลกู มนั สําปะหลงั บ้านใหม่ดงเย็น หมู่ 4
5) กล่มุ เกษตรอนิ ทรีย์ บา้ นโคกวดั หมู่ 6
6) กลุ่มทอผ้าไหมบา้ นตะเคยี น หมทู่ ่ี 1 บา้ นตะเคียน บ้านโคกวัด หมู่ 6 บา้ นตะเคียน หมู่ 9
7) กลมุ่ กรอหญ้าคา บ้านสกล หมทู่ ี่ 2 บ้านสกลพฒั นา หมู่ 8
8) กลุ่มโรงสีชมุ ชน บ้านตะเคียน หมทู่ ่ี 1, บ้านโคกวดั หมู่ 6,
9) กลุ่มปลูกพืชสมุนไพร บา้ นเคียน หมู่ 1, บา้ นรุน หมู่ 3 หมู่ท่ี 9
10) กลุ่มภมู ิใจสมุนไพรไทย บา้ นโคกวดั หมู่ 6
6.6 แรงงาน
แรงงานทีใ่ ชใ้ นภาคเกษตรในตําบล ส่วนใหญ่ใช้แรงงานจากสมาชิกในครัวเรือนเป็นสําคัญ
และในบาง ครวั เรอื นทม่ี สี มาชิกไม่เพยี งพอ จะทาํ การจ้างแรงงานท่มี ีอยใู่ นตาํ บลเข้ามาชว่ ยในฤดูกาลผลิต
7. ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม
7.1 ศาสนา
ประชาชนทั้งตําบลเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธ มีศาสนาสถานทางพุทธศาสนาให้บริการ
ประชาชน จาํ นวน 7 แห่ง ดงั นี้
~ 167 ~
1) วดั สันติวเิ วก ต้งั อยู่หมู่ที่ 9 ศาสนิกชนมาจากหมู่ที่ 1,9
2) วดั ศรสี กล ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ศาสนิกชนมาจากหมู่ที่ 2,8
3) วดั สวา่ งอรณุ ต้ังอย่หู มทู่ ่ี 3 ศาสนกิ ชนมาจากหมทู่ ี่ 3,6
4) วัดใหม่ดงเย็นธรรมาราม ตงั้ อยู่หมูท่ ี่ 4 ศาสนกิ ชนมาจากหมทู่ ่ี 5
5) วดั ราษฎร์บาํ รงุ ต้งั อยหู่ มู่ที่ 5 ศาสนกิ ชนมาจากหมู่ท่ี 5
6) วัดโพธทิ์ องวนาราม ตัง้ อยู่หมทู่ ี่ 7 ศาสนกิ ชนมาจากหมทู่ ี่ 7
7.2 ประเพณแี ละงานประจาปี
ตาํ บลตะเคยี น ไดม้ ปี ระเพณปี ระจาํ ตําบลหลายประเพณดี ว้ ยกัน เช่น ประเพณสี ่ขู วญั ขา้ ว,เรือมตรด
7.2.1 ประเพณสี ู่ขวญั ข้าว ในบางทอ้ งถิ่นจะเรียกว่า บุญคณู ลาน (แถบภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ),
บุญกองข้าว (แถบภาคตะวันออก) การทําบายศรีสู่ขวัญข้าว ก่อนนําข้าวเข้ายุ้งฉางเพื่อเก็บไว้บริโภคและ
ค้าขายต่อไป เป็นพิธีที่เชื่อกันว่าจะทําให้ชาวนาได้ผลผลิตข้าวอุดมสมบูรณ์ตลอดไป ชาวตําบลเขาสามสิบ
ซ่งึ ถอื ว่าเปน็ ประเพณีของเกษตรกรผปู้ ระกอบอาชีพทํานา
7.2.2 ประเพณีเรือมตรด คือ รําตรุษสงกรานต์ เป็นการละเล่นพ้ืนบ้านของชาวอีสานใต้
มาต้ังแต่โบราณ มีความเช่ือ เป็นการละเล่นเพื่อความสนุกสนานในวันขึ้นปีใหม่ของชาวไทยสมัยก่อนท่ีใช้
เดือนเมษายนของทกุ ปีเปน็ วนั ข้นึ ปีใหม่
7.3 ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ภาษาถนิ่ มปี ระเพณีวัฒนธรรม มีวถิ ชี ีวติ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ เขมร ลาว กูย
ทีป่ ระสานกลมกลืนและโดดเดน่
7.4 สินค้าพ้ืนเมืองและของท่ีระลึก ตําบลตะเคียน มีกลุ่มประกอบอาชีพ ได้แก่ กลุ่มทอผ้าไหม
บา้ นตะเคียน หมูท่ ี่ 1,6,9 กลมุ่ กรอหญา้ คา หม่ทู ่ี 2,8 กลมุ่ โรงสีชมุ ชน หมู่ที่ 6,1 และกลมุ่ ปลูกพชื สมนุ ไพร หมู่ 1,3
8. ทรัพยากรธรรมชาติ
8.1 แหลง่ นา้ เพอ่ื การอุปโภค บรโิ ภค และแหล่งนา้ ธรรมชาติ
1) ลาํ น้าํ หว้ ย ได้แก่ หว้ ยจองกอ หว้ ยรนุ หว้ ยพอก หว้ ยยาง ห้วยชมพู ห้วยสะพาน ห้วยผปี อบ
และห้วยยายเตียง
2) บงึ หนอง อา่ งเก็บนา้ํ ได้แก่ หนองตะเคียน อ่างเก็บนํ้าบ้านร่มราษฎร์ อ่างเก็บน้ําบ้านสกล
อา่ งเกบ็ นา้ํ บ้านโพธิ์ทอง และหนองผือ
8.2 ปา่ ไม้
สภาพพ้ืนที่ปุาส่วนใหญ่เป็นปุาดิบแล้ง มีไม้มีค่าทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่ในพื้นท่ีเป็นจํานวนมาก
เช่น ไม้มะค่าโมง, ไม้มะค่าแต , ไม้ประดู่, ตะเคียนหิน, ยางนา, ชิงชัน, ตะเคียนทอง, พยุง, เค่ียมคะนอง ฯลฯ
นอกจากนยี้ งั มไี ม้พืน้ ล่าง และกล้วยไม้ชนิดตา่ งๆ อีกมากมาย เชน่ เฟิร์นชนดิ ต่างๆ
~ 168 ~
ส่วนท่ี 2
การวเิ คราะห์ข้อมูลจาก TPMAP
การวิเคราะหข์ ้อมูลเพ่ือการจัดลาดับกลมุ่ เปาะบางรายครัวเรอื น
1. ขอ้ มลู ระบบ Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP)
TPMAP คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เปูา (Thai People Map and Analytics Platform)
ซงึ่ ไดร้ ับการพัฒนาตอ่ ยอดจากระบบบริหารจดั การขอ้ มลู คนจนแบบชเี้ ปูา.(Thai.Poverty.Map.and Analytics
Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างข้ึน เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพท่ีอยู่
อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการชี้เปูาความยากจนไว้ด้วย.TPMAP.จึงสามารถใช้ระบุ
ปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถ่ินท้องที่ จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจน
รายประเด็น ซ่ึงทําให้การแก้ปัญหาตรงกับกลุ่มเปูาหมายมากขึ้นและสามารถออกแบบนโยบาย โครงการใน
การแกป้ ัญหาใหต้ รงกบั ความต้องการหรอื สภาพปญั หาได้
หลั กการทํ างานของ TPMAP.คื ออาศั ยข้ อมู ลจากหลายแหล่ งมายื นยั นซ่ึ งกั นและกั น
โดยในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าคนที่ได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).และยังมาลงทะเบียนว่าจนอีกด้วย
(register-based).น่ าจะเป็ นคนจนเปู าหมายที่ ต้ องก ารคว ามช่ วยเหลื อเร่ งด่ ว น . ดั งนั้ น . TPMAP
จึงตง้ั ต้นโดยใช้ข้อมูลความจําเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.).จากกรมการพฒั นาชมุ ชน และขอ้ มลู ผู้ลงทะเบยี นสวัสดกิ ารแหง่ รฐั
จากกระทรวงการคลัง มายืนยันซึ่งกันและกัน หรืออีกนัยหนึ่ง "คนจนเปูาหมาย " ใน TPMAP.ก็คือ
คนจนใน จปฐ. ทไ่ี ปลงทะเบยี นสวัสดิการแหง่ รฐั
TPMAP.ใช้วิธีการคํานวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional Poverty
Index: MPI) ซ่งึ คิดค้นโดย Oxford Poverty & Human Development Initiative และ United Nation
Development Programmer ซึ่ง สศช. ได้นํามาปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ MPI.
อาศั ยหลั กการท่ี ว่ า.คนจนคื อผู้ ท่ี มี คุ ณภาพชี วิ ตตํ่ ากว่ าเกณฑ์ คุ ณภาพชี วิ ตที่ ดี ในมิ ติ ต่ างๆ
ซ่ึง TPMAP.พิจารณาจาก.5.มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านการเงิน ด้านความเป็นอยู่ และ
ด้านการเขา้ ถึงบรกิ ารของรัฐ
~ 169 ~
"คนจนเปาู หมาย" ในสุรินทร์ คือ คนจนทีต่ อ้ งการความชว่ ยเหลือเร่งดว่ น เนอ่ื งจากเป็นคน
ที่ได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).จากข้อมูลความจําเป็นพ้ืนฐาน.(จปฐ.).กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย และยงั เป็นผลู้ งทะเบยี นบตั รสวัสดิการแห่งรัฐ จากข้อมูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ
กระทรวงการคลงั ดงั น้ี
ตารางที่ 1 ข้อมูลกลุ่มเปาู หมายครัวเรือนยากจนจงั หวัดสรุ นิ ทร์
ขอ้ มูลครัวเรือนยากจนตามขอ้ มูล TPMAP
ลาดบั อาเภอ จานวน ครั วเรื อน ครัวเรือ น ค น ที่ ไ ด้ คนยากจน คนยากจน ครัวเรือน
ประชากร ท่ีไดร้ ับ การ ยากจน ตก รั บ ก า ร ตกเกณฑ์ เ ป้ า ห ม า ย ยากจน
(คน) สารวจ เ ก ณ ฑ์ สารวจ จปฐ. (ตกเกณฑ์ ( Family
จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ + Folder)
มี บั ต ร
ส วั ส ดิ ก า ร
แห่งรัฐ)
1 พนมดงรัก 38,149 8,089 1,827 23,150 6,717 2,416 217
2 เมอื งสุรินทร์ 263,375 51,134 1,591 162,027 5,899 1,986 877
3 สังขะ 131,460 25,806 1,188 84,888 4,289 1,972 228
4 ชุมพลบุรี 71,448 14,707 1,095 54,794 5,347 1,795 226
5 ทา่ ตูม 96,681 19,000 1,206 63,740 4,379 1,633 138
6 เขวาสนิ รนิ ทร์ 34,960 7,284 526 24,871 2,245 898 185
7 บวั เชด 41,409 8,344 407 27,008 1,406 623 182
8 ปราสาท 157,859 30,700 392 98,304 1,665 566 90
9 ศรขี รภมู ิ 135,633 27,458 344 83,706 1,448 535 168
10 ศรณี รงค์ 46,844 8,059 274 31,649 1,357 491 122
11 โนนนารายณ์ 35,303 6,215 277 20,230 978 397 55
12 ลําดวน 31,371 5,832 231 20,351 858 380 60
13 กาบเชิง 61,383 11,260 282 37,571 968 357 556
14 จอมพระ 60,146 11,507 177 38,327 553 257 100
15 สําโรงทาบ 52,942 9,537 124 31,786 476 220 94
16 สนม 44,196 8,210 117 30,179 430 193 175
17 รัตนบุรี 93,672 17,730 134 53,797 400 175 389
รวม 1,396,831 270,872 10,192 886,381 39,415 14,894 3,862
“คนจนเปูาหมาย” คือคนยากจนจากการสํารวจ (จปฐ.) และยังเป็นคนที่ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ
ซ่ึงจํานวน 14,894 คน สัดส่วน “คนจนเปูาหมาย” คือ จํานวน “คนจนเปูาหมาย” หรือ จํานวนคนจน (จปฐ.)
ท่ลี งทะเบยี นสวัสดกิ ารแหง่ รัฐ เทยี บรอ้ ยละกบั จํานวนคนทไ่ี ดร้ ับการสํารวจ จปฐ. ท้งั หมด คิดเป็นรอ้ ยละ 5.50
~ 170 ~
2. ข้อมลู TPMAP ของจังหวดั สรุ ินทร์
2.1 ขอ้ มูลจานวนคนจนและดัชนคี วามยากจน
จํานวนคนจนและดัชนีความยากจน 5 มิติของจังหวัดสุรินทร์ มีจํานวนท้ังสิ้น 10,192.คน พบว่า
จํานวนคนจนสูงสุด 5 ลําดับแรก คือ อําเภอพนมดงรัก มีจํานวนท้ังสิ้น 1,827.คน คิดเป็นร้อยละ 17.93
รองลงมา คือ อําเภอเมืองสุรินทร์ มีจํานวน 1,591 คน คิดเป็นร้อยละ 15.61 อันดับสาม คือ อําเภอท่าตูม
มีจํานวน 1,206 คน คิดเป็นร้อยละ 11.83 อันดับส่ี คือ อําเภอสังขะ มีจํานวน 1,188 คน คิดเป็นร้อยละ
11.66 และอบั ดบั ห้า คือ อําเภอชุมพลบรุ ี มจี ํานวน 1,095 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.74 ตามลาํ ดบั
ตารางที่ 2 จานวนคนจนและดัชนีความยากจน 5 มิติ
จานวนคนจน ดัชนีความยากจน 5 มติ ิ
อาเภอ เป้าหมาย สขุ ภาพ ความ การศึกษา รายได้ การเขา้ ถึง
TPMAP (คน) เป็นอยู่ บริการภาครัฐ
1.กาบเชงิ
2.เขวาสนิ รินทร์ 282 88 102 34 82 1
1
3.จอมพระ 526 61 22 227 268 1
4.ชมุ พลบุรี 1
5.ท่าตมู 177 6 7 17 155 9
6.โนนนารายณ์ 0
7.บัวเชด 1,095 51 212 651 232 2
8.ปราสาท 2
9.พนมดงรัก 1,206 491 485 300 300 0
10.เมืองสุรินทร์ 2
11.รตั นบรุ ี 277 4 162 41 82 0
12.ลาํ ดวน 0
13.ศรณี รงค์ 407 89 61 44 252 2
14.ศรขี รภูมิ 16
15.สนม 392 10 63 200 132 3
16.สงั ขะ 0
17.สําโรงทาบ 1,827 585 453 647 509 6
46
รวม 1,591 297 445 356 645
134 0 15 11 121
231 2 14 19 202
274 10 22 219 24
344 11 129 117 78
117 3 6 23 87
1,188 147 153 109 863
124 2 14 0 109
10,192 1,845 2,365 3,015 4,141
~ 171 ~
แผนภมู ทิ ี่ 1 เปรยี บเทยี บจานวนคนจนเปา้ หมาย TPMAP รายอาเภอ
แผนภูมิท่ี 2 ดัชนคี วามยากจน 5 มติ ิ
ตามแผนภูมทิ ่ี 2 ดชั นีความยากจน 5 มิติของจงั หวดั สุรนิ ทร์ พบว่าปญั หาความท่ีต้องการ
ความช่วยเหลือมากที่สุด คือมิติด้านรายได้ มีจํานวนท้ังสิ้น 4,141 คน คิดเป็นร้อยละ 36.29 รองลงมาคือ
มิติด้านการศึกษา มีจํานวน 3,015 คน คิดเป็นร้อยละ 26.42 มิติด้านความเป็นอยู่ มีจํานวน 2,365 คน
คิดเป็นร้อยละ 20.72 มิติด้านสุขภาพ มีจํานวน 1,845 คน คิดเป็นร้อยละ 16.17 และมิติด้านการเข้าถึง
บรกิ ารภาครัฐ จํานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 0.40 ตามลําดบั
~ 172 ~
2.2 การจาแนกครวั เรอื นเปา้ หมายระดบั ชมุ ชน 3 ระดบั
การวิเคราะห์ข้อมูลตามระบบ Thai People Map and Analytics Platform หรือ TPMAP
จํานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
เพื่อจําแนกครวั เรือนเปูาหมายระดับชมุ ชนเป็น 3 ระดบั ดังนี้
1. สเี ขียว หมายถงึ ตกเกณฑ์ 1 ด้าน/หมวด
2. สเี หลอื ง หมายถึง ตกเกณฑ์ 2-3 ดา้ น/หมวด
3. สีแดง หมายถงึ ตกเกณฑ์ 4-5 ดา้ น/หมวด
ตารางท่ี 3 จานวนหมวดยากจนทีต่ กเกณฑร์ ายอาเภอ
จานวน จานวนคน จานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์ (ครัวเรอื น)
ราษฎร จน
ลาดบั อาเภอ ตก เปา้ หมาย 1 2 3 45 รวม
เกณฑ์ TPMAP หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด (ครวั เรอื น)
จปฐ. (คน)
1 กาบเชิง 45 282 261 20 1 - - 282
2 เขวาสินรนิ ทร์ 259 526 487 36 3 -- 526
3 จอมพระ 56 177 174 1 2 - - 177
4 ชุมพลบุรี 43 1,095 1,045 48 2 - - 1,095
5 ท่าตมู 95 1,206 868 302 34 2 - 1,206
6 โนนนารายณ์ 46 277 266 10 1 -- 277
7 บัวเชด 73 407 374 30 3 - - 407
8 ปราสาท 50 392 379 12 1 - - 392
9 พนมดงรัก 176 1,827 1,514 271 42 - - 1,827
10 เมืองสรุ นิ ทร์ 350 1,591 1,456 122 12 1 - 1,591
11 รัตนบุรี 147 134 121 13 - -- 134
12 ลําดวน 79 231 226 4 1 -- 231
13 ศรีณรงค์ 7 274 271 3 - - - 274
14 ศีขรภูมิ 47 344 337 6 1 -- 344
15 สนม 88 117 112 5 - - - 117
16 สังขะ 105 1,188 1,114 70 4 - - 1,188
17 สําโรงทาบ 82 124 119 5 - - - 124
รวม 1,748 10,192 9,124 958 107 3 - 10,192
~ 173 ~
แผนภูมิที่ 3 เปรยี บเทยี บจานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์
จากแผนภูมิท่ี 3 เปรียบเทียบจํานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์ พบว่าคนจนส่วนใหญ่
ตกเกณฑ์ 1 ด้าน มจี าํ นวน 9,124 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 89.52 รองลงมาคอื ตกเกณฑ์ 2 ด้าน มีจํานวน 958 คน
คิดเป็นร้อยละ 9.40 ตกเกณฑ์ 3 ด้าน มีจํานวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 1.05 ตกเกณฑ์ 4 ด้าน มีจํานวน 3 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.03 และไม่พบการตกเกณฑ์ 5 ด้าน
แผนภาพที่ 1 แสดงการจดั กลมุ่ อาเภอตามการจาแนกครวั เรอื นเป้าหมายระดบั ชุมชน 3 ระดับ
สามารถจัดกลุ่มอําเภอ โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้ดังน้ี 1) ระดับสีเหลือง ได้แก่ ได้แก่ อําเภอกาบเชิง
อําเภอเขวาสินรินทร์ อําเภอจอมพระ อําเภอชุมพลบุรี อําเภอโนนนารายณ์ อําเภอบัวเชด อําเภอปราสาท
อําเภอพนมดงรัก อําเภอรัตนบุรี อําเภอลําดวน อําเภอศรีณรงค์ อําเภอศรีขรภูมิ อําเภอสนม อําเภอสังขะ
อําเภอสาํ โรงทาบ และ 2) ระดบั สีแดง ไดแ้ ก่ อําเภอท่าตูม อาํ เภอเมืองสรุ ินทร์
~ 174 ~
3. การสงเคราะหแ์ ละช่วยเหลือกลุ่มเปา้ หมายของหนว่ ยงาน One Home พม.สรุ ินทร์
ปีงบประมาณ.พ.ศ..2563.สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์
ให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย เป็นเงินสงเคราะห์และเงินกู้ยืมประเภทต่างๆ จํานวน 6,082 ราย
ประกอบด้วย เงินสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน จํานวน 67 ราย เงินสงเคราะห์ครอบครัว
ผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่พ่ึง จํานวน 2,469 ราย เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลําบาก จํานวน 227 ราย
เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จํานวน 2,352 ราย เงินสงเคราะห์และฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ
จาํ นวน 88 ราย เงินกู้ยืมเพื่อประกอบอาชีพผู้สูงอายุ จํานวน 40 ราย เงินกู้ยืมเพ่ือประกอบอาชีพคนพิการ
จํานวน.744.ราย.โครงการซ่อมแซมปรับปรุงสภาพแวดล้อมท่ีอาศัยให้แก่ผู้พิการ.จํานวน.52.ราย และ
โครงการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมท่ีอยอู่ าศยั ให้แก่ผู้สูงอายุ จํานวน 43 ราย
ตารางที่ 4 จานวนการให้การสงเคราะหแ์ ต่ละประเภทจาแนกรายอาเภอ
เงินก้ยู มื
ประเภทเงินสงเคราะห์ เพอ่ื การ ปรับปรงุ ปรับปรงุ
ประกอบ สภาพ สภาพ
อาเภอ ผมู้ ี อาชีพ แวดลอ้ ม แวดลอ้ ม รวม
ท่อี ยู่ ท่ีอยู่
กาบเชิง กรณี รายได้ ผู้สูงอายุ เดก็ ใน ฟ้นื ฟู ผสู้ ูง คน อาศยั อาศยั
เขวาสินรนิ ทร์ ฉุกเฉนิ นอ้ ย ในภาวะ ครอบครวั สมรรถภาพ อายุ พิการ ใหแ้ ก่ ให้แก่
จอมพระ และ ยากลาบาก ยากจน คนพกิ าร ผ้พู กิ าร ผสู้ งู อายุ
ชุมพลบุรี ผไู้ รท้ ี่
ท่าตูม
โนนนารายณ์ พง่ึ
บัวเชด
ปราสาท 3 110 10 100 4 - 31 6 2 266
พนมดงรกั
เมอื งสุรินทร์ 3 105 10 100 3 2 13 - - 236
รตั นบุรี
ลําดวน 3 140 12 130 5 1 37 - 4 332
ศรณี รงค์
ศีขรภูมิ 3 140 12 130 5 1 30 10 1 332
3 150 12 140 5 2 58 4 3 377
3 105 12 100 3 - 18 - 1 242
3 110 12 100 4 -9 - - 238
8 250 10 230 9 2 54 7 10 580
3 100 10 100 3 1 51 - 1 269
9 270 21 270 10 20 136 1 5 742
4 160 15 150 6 1 32 2 6 376
3 105 16 100 6 7 41 3 5 286
3 104 10 100 3 -9 4 - 233
6 190 16 192 7 - 88 - 2 501
~ 175 ~
เงินกยู้ ืม
ประเภทเงนิ สงเคราะห์ เพอื่ การ ปรับปรงุ ปรับปรงุ
ประกอบ สภาพ สภาพ
อาเภอ ผมู้ ี อาชพี แวดลอ้ ม แวดลอ้ ม รวม
สนม กรณี รายได้ ผู้สงู อายุ เดก็ ใน ฟื้นฟู ผู้สงู คน ที่อยู่ ทอี่ ยู่
สงั ขะ ฉุกเฉิน น้อย ในภาวะ ครอบครัว สมรรถภาพ อายุ พิการ อาศยั อาศัย
สําโรงทาบ และ ยากลาบาก ยากจน คนพกิ าร ให้แก่ ใหแ้ ก่
ผู้ไรท้ ่ี ผู้พกิ าร ผู้สงู อายุ
รวม
พง่ึ
3 120 12 120 4 2 24 5 3 289
4 160 15 150 6 1 69 10 - 415
3 150 14 140 5 - 44 - - 356
67 2,469 227 2,352 88 40 744 52 43 6,082
แผนภูมทิ ่ี 4 จานวนการให้การสงเคราะห์แต่ละประเภท
แผนภูมทิ ่ี 5 การให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปา้ หมายรายอาเภอ
~ 176 ~
จากแผนภูมทิ ี่ 5 พบว่าการสงเคราะหแ์ ละช่วยเหลอื กลุ่มเปาู หมายสงู สดุ 5 ลําดบั แรก
ได้แก่ อาํ เภอเมืองสุรินทร์ มจี ํานวน 742 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.22 รองลงมา คือ อําเภอปราสาท มีจํานวน
580 คน คิดเป็นร้อยละ 9.55 ลําดับท่ีสาม คือ อําเภอศรีขรภูมิ มีจํานวน 401 คน คิดเป็นร้อยละ 8.25
ลําดับที่สี่ คือ อําเภอสังขะ มีจํานวน 415 คน คิดเป็นร้อยละ 6.83 และลําดับท่ีห้า คือ อําเภอท่าตูม
มีจาํ นวน 377 คน คิดเป็นร้อยละ 6.21
4. ขอ้ มูล TPMAP ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชิง จังหวดั สุรนิ ทร์
4.1 คนจนเปา้ หมายตามจานวนดา้ นทต่ี กเกณฑ์
ข้อมูลจากระบบ TPMAP ตําบลตะเคียน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีคนจนเปูาหมายจํานวน
20 คน แบ่ง 3 ระดบั ได้ดังน้ี ระดับสเี ขียว จํานวน 5 หมู่ ได้แก่ หมูท่ ่ี 1 บ้านตะเคียน หมู่ที่ 2 บ้านสกล หมู่ที่ 3
บ้านรุน หมู่ที่ 5 บา้ นรม่ ราฎษ์ หม่ทู ่ี 8 บ้านสกลพัฒนา ระดับสเี หลือง จาํ นวน 1 หมูบ่ า้ น คอื หม่ทู ี่ 6 บ้านโคกวัด
และหมูท่ ี่ 9 บ้านตะเคียน ตามรายละเอยี ดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 6 จานวนคนจนเปา้ หมายตามจานวนดา้ นที่ตกเกณฑ์
หมู่บา้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ร ว ม
1 ด้าน 2 ด้าน 3 ด้าน 4 ด้าน 5 ดา้ น (คน)
หมู่ 1 บ้านตะเคยี น 5 - - - - 5
หมู่ 2 บา้ นสกล 3- - - - 3
หมู่ 3 บา้ นรนุ 1- - - - 1
หมู่ 5 บ้านร่มราฎษ์ 3 - - - - 3
หมู่ 6 บ้านโคกวดั - 2 - - - 2
หมู่ 8 บ้านสกลพฒั นา 1 - - - - 1
หมู่ 9 บ้านตะเคยี น - - 5- - 5
รวม 13 2 5 0 0 20
แผนภูมิท่ี 6 จานวนคนจนเป้าหมายตามจานวนหมวดทต่ี กเกณฑร์ ายหมูบ่ า้ น
~ 177 ~
จากแผนภูมิท่ี 6 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์ พบว่าคนจนเปูาหมาย
มากที่สุด คือ หม่ทู ่ี 1 และหม่ทู ี่ 9 บา้ นตะเคียน มีจํานวน 5 คนเท่ากัน คิดเป็นร้อย 25.00 รองลงมา คือ หมู่ที่ 2
บ้านสกล และหมทู่ ่ี 5 บ้านร่วมราฎษ์ มีจํานวน 3 คนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 15.00 อับดับสาม คือ หมู่ที่ 6 บ้าน
โคกวัด มีจํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 และอันดับที่สี่ คือ หมู่ท่ี 3 บ้านรุน และหมู่ที่ 8 บ้านสกลพัฒนา
มีจํานวน 1 คนเท่ากัน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.00
แผนภมู ิท่ี 7 คนจนเปา้ หมายตามจานวนหมวดที่ตกเกณฑ์
จากแผนภูมิท่ี 7 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์ พบว่าตกเกณฑ์ 1 ด้าน
มีจาํ นวนทั้งสิน้ 13 ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 65.00 ตกเกณฑ์ 2 ดา้ น มจี ํานวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.00
และตกเกณฑ์ 3 ดา้ น มจี าํ นวน 5 ครวั เรอื น ตกเกณฑ์ 4 ดา้ น และไมพ่ บการตกเกณฑ์ 5 ดา้ น
4.2 จานวนคนจนเป้าหมายตามดัชนคี วามยากจน 5 มิติ
จํานวนคนจนเปูาหมายตามดชั นีความยากจน 5 มติ ิ พบว่า คนจนเปูาหมายส่วนใหญ่ตกเกณฑ์ด้าน
การศึกษา รองลงมาคือ ตกเกณฑ์ด้านรายได้ อับดับสามคือ ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพ อันดับที่ส่ีคือ ตกเกณฑ์
ดา้ นความเป็นอยู่ (ทอี่ ยูอ่ าศยั ) และไม่พบตกเกณฑด์ ้านการเข้าถงึ บริการภาครฐั
ตารางที่ 7 จานวนคนจนเป้าหมายตามดัชนคี วามยากจน 5 มิติ
หมู่บ้าน ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ จานวน
ดา้ น ด้าน ดา้ น ดา้ น ด้านการ คนตก
หมู่ 1 บา้ นตะเคยี น สุขภาพ ความ รายได้ เขา้ ถึง เกณฑ์
หมู่ 2 บ้านสกล เปน็ อยู่ การศึกษา บรกิ าร
หมู่ 3 บา้ นรนุ ภาครฐั 5
หมู่ 5 บา้ นร่มราฎษ์ 3
หมู่ 6 บา้ นโคกวัด - -5- - 1
3
- - -3- 3
- - -1-
3- - - -
21- - -
~ 178 ~
หมบู่ า้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ จานวน
ด้าน ด้าน ด้าน ดา้ น ดา้ นการ คนตก
หมู่ 8 บา้ นสกลพัฒนา สขุ ภาพ ความ รายได้ เข้าถึง เกณฑ์
หมู่ 9 บ้านตะเคยี น เป็นอยู่ การศึกษา บริการ
- ภาครฐั 1
รวม - - -1 4
5 - 31 - 20
186
-
-
แผนภูมิท่ี 8 คนจนเปา้ หมายตามดชั นคี วามยากจน 5 มติ ิ
แผนภมู ิท่ี 8 จํานวนคนจนเปูาหมายตามดัชนีความยากจน 5 มิติ พบว่า คนจนเปูาหมายส่วนใหญ่
ตกเกณฑ์ด้านการศึกษา มีจํานวนท้ังส้ิน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมา คือ ตกเกณฑ์ด้านรายได้
จํานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 อับดับสาม คือ ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพ มีจํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ
25.00 อันดับท่ีส่ี คือ ตกเกณฑ์ด้านความเป็นอยู่ (ท่ีอยู่อาศัย) จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.00 และไม่
พบตกเกณฑ์ด้านการเขา้ ถึงบรกิ ารของรัฐ
~ 179 ~
ส่วนท่ี 3
การวิเคราะห์ปัญหาโดยคนในชมุ ชน
การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพเพื่อประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันโอกาส
การพัฒนาในอนาคตของท้องถ่ินของตําบลตะเคียน โดยใช้หลักการวิเคราะห์.SWOT.(SWOT.Analysis)
โดยการพิจารณาปัจจัยต่างๆ สภาพปัจจุบันของหมู่บ้าน ปัญหา ศักยภาพ อุปสรรค โอกาส ในข้อเสนอ
ในเวทปี ระชาคม ทีส่ ามารถบ่งชีส้ ภาพปัญหาและความต้องการของคนในชมุ ชนได้ ดงั นี้
จุดแข็ง (S : Strength)
- ประชาชนมคี วามพร้อม จะมสี ่วนรว่ มในกระบวนการพฒั นาท้องถนิ่
- การจดั โครงสร้างภายในมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั ภารกิจ
-.มีองค์การบริหารส่วนตําบลท่ีพร้อมจะให้บริการสาธารณะและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
ของประชาชน
- มีการประสานรว่ มมอื กันระหวา่ งองค์การบริหารสว่ นตาํ บลกบั สว่ นราชการต่างๆ
- ผ้นู ําชุมชนมีความเขม้ แขง็ และมีศักยภาพในการพัฒนา
- สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของประชาชนในรูปแบบประชาคม การประชมุ วางแผนเตรียมงาน
จดุ อ่อน (W : Weakness)
- กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติงาน มีการแก้ไขเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ทําใหเ้ จ้าหน้าที่ผปู้ ฏิบัตสิ ับสน ขาดความชดั เจน
- องค์การบริหารส่วนตําบลมีงบประมาณจาํ กดั ทาํ ใหก้ ารพฒั นาไม่เป็นไปตามแผนพฒั นาท่ีวางไว้
- การใชท้ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการทาํ ลายส่ิงแวดล้อมเพม่ิ ขึ้น ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาภยั ธรรมชาติ
โอกาส (O : Opportunity)
- จังหวัดสุรินทร์ หรือหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องสนบั สนนุ งบประมาณให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการ
ตามแผนงานโครงการตามแนวทางยุทธศาสตร์การพฒั นาจังหวดั และแผนพฒั นาองค์การบริหารส่วนตําบล
- มีเสน้ ทางคมนาคมเชือ่ มระหวา่ งจงั หวดั สามารถรองรบั การขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ
-.นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการกระจายอํานาจการปกครองท้องถ่ิน โดยการสร้างดุลยภาพ
ระหว่างการกาํ กบั ดแู ล และความเปน็ อิสระของทอ้ งถิ่นในการบริหารจัดการงบประมาณและบคุ ลากรของท้องถ่ิน
อุปสรรค (T : Threat)
- ประชาชนขาดความรคู้ วามเข้าใจ บทบาทหน้าที่ของตนเองกบั งานของทอ้ งถิ่น
-.นโยบายรัฐบาลไมส่ ามารถถ่ายโอนงบประมาณมายังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติ
กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ.2542 ทําให้การพัฒนา
ท้องถน่ิ บางเรื่องต้องชะงัก
-.กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับขาดความยืดหยุ่น หรือไม่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจ
หว้ งระยะเวลา ในการจัดสรรและการเบกิ จา่ ยงบประมาณของรฐั บาลมคี วามไมแ่ นน่ อน
-.การดําเนินงานตามนโยบายต่างๆ ของรัฐบาลมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน ความรับผิดชอบเพ่ิมมากข้ึน
ประกอบกับปัญหาในพื้นที่และความต้องการประชาชนมีมาก แต่ไม่สามารถปฏิบัติได้ครบถ้วน เนื่องจาก
จาํ กัดดว้ ยอํานาจหนา้ ที่และจํานวนงบประมาณที่จํากัด
~ 180 ~
สว่ นที่ 4
แผนปฏบิ ตั ิการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็
4.1 แผนปฏบิ ัตกิ ารสร้างเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2564 – 2566)
4.1.1 ยุทธศาสตร์การพฒั นา : คนและสังคมเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ แบง่ ออกเปน็
1) แผนงานสาธารณสขุ (งานบรหิ ารทัว่ ไป เกีย่ วกับสาธารณสุข)
2) แผนงานการศึกษา (งานระดบั กอ่ นวยั เรยี นและประถมศึกษา)
3) แผนงานสังคมสงเคราะห์ (งานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห)์
4) แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (งานส่งเสริมและสนบั สนุนความเขม้ แขง็ ชมุ ชน)
4.1.2 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา : เศรษฐกจิ และการทอ่ งเท่ียว
- แผนงานสรา้ งความเข้มแข็งของชมุ ชน (งานสง่ เสริมและสนับสนนุ ความเข้มแขง็ ชมุ ชน)
4.1.3 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา : การบรหิ ารจัดการทอ้ งถิน่ แบบมสี ่วนร่วม
- แผนงานงบกลาง
4.1.1 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา : คนและสงั คมเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพชีวิต แบง่ ออกเปน็
1) แผนงานสาธารณสุข (งานบรหิ ารท่วั ไป เก่ียวกับสาธารณสขุ )
ที่ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย งบประมาณ ผลท่ีคาดวา่ จะ หน่วยงาน
(ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ไดร้ บั ท่ีรับผิดชอบ
โครงการ)
1 ควบคุมและปูองกัน จัดกิจกรรมรณรงค์ 100,000 100,000 300,000 ลดความสูญ เสีย อบต.ตะเคยี น
โ ร ค ติ ด ต่ อ แ ล ะ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ หรือลดความเส่ียง
โต้ตอบภาวะฉุกเฉนิ ควบคุมและปูองกัน ต่อการเป็ นโรค
โรคตลอดจน ตดิ ต่อในชุมชน
ค่าใช้จ่ายอ่นื ๆ
2 อบรมการปูองกันโรค จดั กิจกรรมรณรงค์ 30,000 30,000 30,000 ป ร ะ ช า ช น ใ น อบต.ตะเคยี น
ไม่ติดต่อและการ และเผยแพร่ พ้ืน ที่ มี สุ ข ภ า พ
ดูแลสุขภาพเบื้องต้น ประชาสัมพนั ธ์จดั อนามยั ทีด่ ี
ส่งเสริมสุขภาพ อบรมให้ความรแู้ ก่
ประชาชน
3 จัดระบบการบริการ ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ 500,000 500,000 500,000 ผู้ท่ีได้รับบาดเจ็บ อบต.ตะเคียน
การแพทยฉ์ ุกเฉนิ จากอุบัติเหตุ หรือ จากอุบัติเหตุหรือ
เ จ็ บ ปุ ว ย ฉุ กเฉิ น เจ็ บ ปุ ว ย ฉุ ก เ ฉิ น
ได้รับการช่วยเหลือ ไ ด้ รั บ บ ริ ก า ร
ณ จุดเกิดเหตุและส่ง การแพทย์ฉุกเฉิน
ต่ อ ไ ป รั ก ษ า ที่ ท่ีได้มาตรฐานจาก
โรงพยาบาล หน่วยก้ชู ีพ
~ 181 ~
ที่ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย งบประมาณ ผลทคี่ าดวา่ จะ หน่วยงาน
(ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รบั ท่ีรบั ผดิ ชอบ
โครงการ)
4 เงินสมทบกองทุน ดําเนินการให้บริการ 250,000 250,000 250,000 ประชาชนในพ้ืนท่ี อบต.ตะเคยี น
หลักประกนั สขุ ภาพ ด้ าน สุ ขภาพแก่ มีสุขภาพอนามัยที่
องคก์ ารบรหิ ารส่วน ประชาชนในตําบล ดี ได้ รั บบริ การ
ตาํ บลตะเคยี น ตะเคียน สาธารณสุขอย่าง
ทัว่ ถงึ
5 ปอู งกันและควบคุม รณรงค์ 60,000 60,000 60,000 ป ร ะ ช า ช น ใ ห้ อบต.ตะเคยี น
โรคพิษสุนัขบ้าตาม ประชาสัมพนั ธ์ ความสํ าคั ญใ น
โครงการสัตว์ปลอด ฝึกอบรม และ ก า ร เ ลี้ ย ง แ ล ะ
โรค คนปลอดภัย จดั ซ้อื วัคซนี ดู แ ล สั ต ว์ เลี้ ย ง
จากโรคพิษสุนขั บ้า ปอู งกนั โรคพิษสนุ ขั อ ย่ า ง ถู ก วิ ธี แ ล ะ
บ้า เวชภัณฑต์ ่างๆ ไ ด้ รั บ ก า ร ฉี ด
เป็นต้น วัคซีนปูองกันโรค
พิษสุนัขบา้
6 โ ค ร ง ก า ร ณ ร ง ค์ จัดอบรมให้ความรู้ 100,000 100,000 - ชุ ม ช น มี ค ว า ม อบต.ตะเคียน
สร้างจิตสํานึก ใน แ ก่ ชุ ม ช น เ ส ริ ม เข้มแข็ง เกิดการ
จั ด ก า ร ข ย ะ รั ก ษ์ สร้างความเข้มแข็ง พ่ึง ต น เอง แ ล ะ
ส่งิ แวดล้อม ของหมู่บ้าน เช่น รู้สึกถึงการเป็น
พัฒนาหน้าบ้านน่า เจ้ า ข อง ชุ ม ช น
มอง จัดเก็บขยะ อยา่ งแท้จริง
จัดทําปูายชื่อ การ
ติ ด ต้ั ง ธ ง แ ล ะ ธ ง
สั ญ ลั ก ษ ณ์ ท า สี
จราจร ฯลฯ
7 อุ ด ห นุ น ต า ม อุดหนุนหมู่บ้าน/ 180,000 180,000 180,000 ป ร ะ ช า ช น ใ น อบต.ตะเคียน
แนวทางโครงการ คณะกรรมการ พ้ืน ที่ มี สุ ข ภ า พ
พระราชดําริด้าน หมู่บ้าน หมู่ 1-9 อ น า มั ย ที่ ดี เ กิ ด
สาธารณสุข หมู่ละ 20,000 บาท ก ร ะ บ ว น ก า ร มี
ส่วนร่วมจากทุก
ภาคสว่ น
~ 182 ~
2) แผนงานการศกึ ษา (งานระดับกอ่ นวัยเรยี นและประถมศกึ ษา)
ที่ โครงการ/ เปา้ หมาย งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะ หนว่ ยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รบั ที่รับผิดชอบ
โครงการ)
1 สนับสนุนค่า อาหาร สนับสนุนอาหาร 800,000 800,000 766,480 เด็ กนั กเรี ยนมี อบต.ตะเคยี น
เสริมในโรงเรียน (นม)โรงเรี ยนใน โภชนาการที่ดี
(นม) พื้ น ท่ี ร ร . บ้ า น
ตะเคียน/รร.บ้านสกล
2 สนบั สนุนอาหาร สนับสนุนอาหาร 1,500,000 1,500,000 1,350,000 เด็ กนั กเรี ยนมี อบต.ตะเคียน
กลางวันเดก็ นกั เรยี น กลางวันเด็กนัก โภชนาการที่ดี
เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น ใ น
พน้ื ทรี่ ร.บา้ นตะคยี น
รร.บา้ นสกล
3 ค่าใช้จ่ายในการ ศพด.บา้ นตะเคียน 15,000 15,000 15,000 เ ด็ ก นั ก เ รี ย น อบต.ตะเคยี น
พัฒนาครู ผู้ ดู แ ล ศพด.บา้ นสกล ไดร้ บั ความรจู้ าก
เ ด็ ก /ผู้ ดู แ ล เ ด็ ก ครทู ม่ี ีคณุ ภาพ
ข อ ง ศู น ย์ พั ฒ น า
เด็กเลก็
4 จัดหาส่ือการเรียน จัดหาสอ่ื การเรียนการ 170,000 170,000 150,000 เ ด็ ก นั ก เ รี ย น อบต.ตะเคียน
การสอนสําหรับ สอนคอมพิวเตอร์ ได้รับการศึกษาที่
พัฒนาการเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เหมาะสมและ
การสอนนักเรียนใน ใ น พ้ื น ท่ี / ตํ า บ ล สามารถดํ ารง
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ตะเคียน ชี วิ ต อ ยู่ ร่ ว ม กั บ
ผู้ อ่ื น อ ย่ า ง มี
ความสุขและเพิ่ม
บุ ค ล า ก ร ท่ี ดี ใ น
ก า ร พั ฒ น า
ทอ้ งถ่ิน
5 ทัศนศึกษาแหล่ง ฝึกอบรมทัศนศึกษา 50,000 50,000 50,000 เด็กนักเรียนมี อบต.ตะเคยี น
เรียนรู้นอกสถาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ พั ฒ น า ก า ร
ศึ กษ า ข อ ง ศู น ย์ ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก ด้ า น ส ติ ปั ญ ญ า
พัฒนาเดก็ เลก็ และประสบ
การณ์ที่ดี เด็ก
ก ล้ า คิ ด ก ล้ า
แสดงออก และ
พฒั นาตนเองได้
6 วันแม่แห่งชาติ จัดกิจกรรมวันแม่ 20,000 20,000 20,000 เ ด็ ก นั ก เ รี ย น อบต.ตะเคียน
แ ห่ ง ช า ติ / ศู น ย์ ส า ม า ร ถ ดํ า ร ง
พฒั นาเดก็ เล็ก ชีวิตอยู่ร่วมกับ
~ 183 ~
ท่ี โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลทค่ี าดวา่ จะ หนว่ ยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ไดร้ บั ทีร่ ับผิดชอบ
โครงการ)
50,000 50,000 50,000 ผู้ อื่ น อ ย่ า ง มี
7 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ อบรม ให้ค วาม รู้ ความสุข ตลอด
ชุมชนตาํ บลตะเคยี น เ ก่ี ย ว กั บ ชุ ม ช น 20,000 20,000 18,000 จ น มี ค ว า ม รู้
ศึกษาเรียนแหล่ง 30,000 30,000 18,000 ความ สามารถ
เรยี นรู้ในพ้นื ที่ ใ น ก า ร ส ร้ า ง
20,000 20,000 18,000 ประโยชน์และ
8 จัดหาอุปกรณ์การ จัดหาอุปกรณ์การ 10,000 10,000 10,000 พฒั นาท้องถน่ิ
10,000 10,000 10,000 เด็กและเยาวชน อบต.ตะเคียน
เรียนสําหรับเด็ก เ รี ย น ใ ห้ กั บ เ ด็ ก มีจิตสํานึกที่ดีรัก
ถ่ินบ้านเกิดของ
ปฐมวยั ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตนเอง และทําให้
รู้ จั ก ชุ ม ช น ข อ ง
9 สนับสนุนเคร่ือง ส นั บ ส นุ น ง บ ตนเองมากขึ้น
เด็ก มีอุป กร ณ์ ศ พ ด . บ้ า น
แ บ บ นั ก เ รี ย น ประมาณในการ การเรียนครบ ตะเคยี น,ศพด.
ทุกคน บา้ นสกล
สําหรับเดก็ ปฐมวยั จัดหาเครื่องแบบ เด็ ก ป ฐ ม วั ย มี ศ พ ด . บ้ า น
เ ค รื่ อ ง แ บ บ ตะเคยี น,ศพด.
นกั เรียนให้กับ นั ก เ รี ย น ที บ้านสกล
เหมาะสมและ
-ศพด.บ้านตะเคียน, เพียงพอ
บา้ นสกล เ ด็ ก บ อ ก ชื่ อ ศ พ ด . บ้ า น
หนังสือเล่มโปรด ตะเคยี น,ศพด.
10 ค่าหนังสือเรยี น จั ด ห า ห นั ง สื อ ได้ เด็กมีพัฒนา บ้านสกล
การสมวัย
(โครงการหนรู ัก ส่งเสริมการเรียน เดก็ มคี วามรู้การ ศ พ ด . บ้ า น
ใช้คอมพิวเตอร์ ตะเคยี น,ศพด.
หนงั สือ) ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข้นั พน้ื ฐาน บา้ นสกล
สําหรบั เดก็ เด็กได้เรียนรู้นอก ศ พ ด . บ้ า น
สถานศึกษา มีโลก ตะเคยี น,ศพด.
11 โครงการหนูน้อย เด็กสามารถเรียนรู้ ทัศนท์ ่กี วา้ งขน้ึ บ้านสกล
ยคุ ไอที และมคี วามร้กู ารใช้
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ข้ั น
พน้ื ฐาน
12 โครงการหนนู ้อย จัดกิจกรรมทัศน
ท่องโลกกวา้ ง ศกึ ษาสําหรับเด็กใน
ศูนย์ฯ ปลี ะ 1 คร้ัง
13 โครงการหนูน้อย จดั ประสบการณ์การ 10,000 10,000 10,000 เด็กมีทักษะใน ศ พ ด . บ้ า น
นกั วิทยาศาสตร์ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ก า ร สั ง เ ก ต ตะเคยี น,ศพด.
ใหก้ ับเดก็ ปฐมวยั เ ป รี ย บ เ ที ย บ บ้านสกล
~ 184 ~
ท่ี โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลท่ีคาดวา่ จะ หนว่ ยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รบั ที่รบั ผดิ ชอบ
โครงการ)
รู้ จั ก ข น า ด สี
แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ
รูปร่าง สามารถ
คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์
แกไ้ ขปัญหาได้
14 สนับสนุนอาหาร สนับสนุนอาหาร 250,000 250,000 - กลุ่มเปูาหมายมี อบต.ตะเคียน
เสริม (นม) แก่เด็ก เสริม(นม) ศูนย์ฯ พั ฒ น า ก า ร ที่
นั ก เ รี ย น ศู น ย์ บ้านตะเคียน และ เจริ ญเติ บโตส ม
พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก ศูนย์ฯ บ้านสกล กั บ วั ย แ ล ะ
อยา่ งทวั่ ถงึ สุขภาพอนามัย
แข็งแรงเอ้ือต่อ
การเรยี นรู้
15 สนับสนุนอาหาร สนั บสนุนอาหาร 600,000 600,000 463,050 กลุ่มเปูาหมายมี อบต.ตะเคยี น
กลางวันแก่เด็ก กลางวนั ศนู ย์พัฒนา พั ฒ น า ก า ร
นั กเรี ยนในศู นย์ เ ด็ ก เ ล็ ก บ้ า น ท่ี เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต
พั ฒนาเ ด็ ก เ ล็ ก ตะเคียน และศูนย์ สมกับวัยสุขภาพ
อยา่ งทว่ั ถึง พัฒนาเด็กเล็กบ้าน อนามัยแข็งแรง
สกล เ อื้ อ ต่ อ ก า ร
เรียนรู้
3) แผนงานสังคมสงเคราะห์ (งานสวัสดิการสงั คมและสังคมสงเคราะห)์
ท่ี โครงการ/ เปา้ หมาย งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ หน่วยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ทรี่ บั ผดิ ชอบ
โครงการ)
1 ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ ด้ อ ย โ อ ก า ส 50,000 50,000 100,000 เสริมสร้างสวัสดิการ อบต.ตะเคยี น
ค ร อ บ ค รั ว ผู้ ประสบภัยต่างๆ ท า ง สั ง ค ม ใ ห้ แ ก่
ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ในตาํ บล ผดู้ ้อยโอกาส
ความเดือดรอ้ น
2 พัฒนาคุณภาพ ส นั บ ส นุ น ก า ร 100,000 100,000 100,000 ผู้ สู งอายุ ได้ รั บการ อบต.ตะเคียน
ชีวิตผสู้ ูงอายุ ดําเนินงานศูนย์ พั ฒ น า ด้ า น จิ ต ใ จ
พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ สุ ข ภ า พ สั ง ค ม
ชีวิตและส่งเสริม เศรษฐกิจ และภูมิ
อ า ชี พ ผู้ สู ง อ า ยุ ปญั ญา
ตาํ บลตะเคียน
3 ขอรับเงินอุดหนุน อุด ห นุ น น า ย ก 10,000 10,000 10,000 เหล่ากาชาดจังหวัด อบต.ตะเคียน
ใ น ก า ร ใ ห้ ก า ร เหล่าชาดจังหวัด ไ ด้ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น
ส ง เ ค ร า ะ ห์ แ ก่ สุรินทร์ งบประมาณในการจัด
~ 185 ~
ท่ี โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ หนว่ ยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ทรี่ ับผิดชอบ
โครงการ) กิ จกรรมช่ วยเหลื อ
3,000 3,000 3,000 ป ร ะ ช า ช น ท่ี ไ ด้ รั บ
ราษฎรท่ี ประสบ ความเดอื ดรอ้ น
ความทุ กข์ ยาก
เดื อดร้ อนและ
ผู้ด้อยโอกาส ตลอด
ทั้งช่ วย เหลื อผู้
ประสบสาธารณภัย
4 จัดหารายได้รายได้ อุดหนุนอําเภอ เหล่ากาชาดจังหวัด อบต.ตะเคยี น
ไ ด้ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น
เพื่อจัดกิจกรรม กาบเชิง งบประมาณในการจัด
กจิ กรรมชว่ ยเหลือ
สาธารณกุศลและ
ป ร ะ ช า ช น ท่ี ไ ด้ รั บ
ให้ความช่วยเหลือ ความเดือดรอ้ น
ประชาชนตาม
ภารกิจของเหล่า
กาชาดจั งหวั ด
สุรนิ ทร์
4) แผนงานสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน (งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ ความเข้มแข็งชมุ ชน)
ที่ โครงการ/ เปา้ หมาย งบประมาณ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ หนว่ ยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ทีร่ ับผิดชอบ
โครงการ)
1 ส ภ า เ ด็ ก แ ล ะ สภาเด็กและเยาวชน 60,000 60,000 50,000 เด็ กแ ละ เยา วช น มี อบต.ตะเคียน
เยาวชน อาสา ตําบลตะเคยี น กิ จกรรมร่ วมกั นทํ าท่ี
ทําดีเพื่อพัฒนา แสดงถึ งการรวมพลั ง
สงั คม ความสามัคคี ทํางานเป็น
ทมี เพ่ือชมุ ชนและสงั คม
2 โครงการจัดทํา จั ด ทํ า ปู า ย ป ร ะ ช า - - 100,000 ชุมชนมีความเข้มแข็ง อบต.ตะเคียน
ปู า ย ป ร ะ ช า สัมพันธ์บอกเส้นทาง เกิดความเป็นระเบียบ
สัมพันธ์ ภายใน ภายในตําบลตะเคยี น ในชมุ ชน
ตําบลตะเคียน
3 โครงการพัฒนา ฝึกอบรม ดูงาน และ - - 100,000 กลุ่มอาชีพประสิทธิภาพ อบต.ตะเคียน
ศักยภาพและ สนับสนุน การพฒั นา ในการบริหารจัดการ
ก า ร บ ริ ห า ร การบรหิ ารจัดการกลมุ่ มีรายได้เพ่ิมขึ้นจาก
จั ด ก า ร ก ลุ่ ม ร ะ บ บ พึ่ ง ต น เ อ ง
องคก์ รอาชพี ท้องถิ่นมีความเข้มแขง็
~ 186 ~
4.1.2 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา : เศรษฐกจิ และการทอ่ งเทย่ี ว
แผนงานสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชน (งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ความเข้มแข็งชุมชน)
ท่ี โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลทคี่ าดว่าจะ หนว่ ยงาน
กิจกรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รับ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
โครงการ)
1 ฝึกอบรมกลุ่ม ฝึ ก อ บ ร ม อ า ชี พ 100,000 100,000 100,000 กลุ่มอาชีพ ผู้ว่างงาน อบต.ตะเคยี น
อาชพี ราษฎร ราษฎร ฝึกอบรม ผู้ ด้ อย โอกาสใ น
พั ฒ น า ฝี มื อ ท้องถ่ิน มีคุณภาพ
แรงงานในตําบล ชีวิตท่ีดีข้ึนมีรายได้
ตะเคียน เพิ่มขึ้น ท้องถิ่นมี
ความเข้มแขง็
2 พัฒนาศักยภาพ ฝึกอบรม ดูงาน 100,000 100,000 - ก ลุ่ ม อ า ชี พ อบต.ตะเคยี น
และการบริหาร และสนบั สนนุ การ ประสิทธิภาพในการ
จั ด ก า ร ก ลุ่ ม พัฒนาการบริหาร บริ หารจั ดการ มี
องค์กรอาชีพ จดั การกลุ่ม รา ย ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้ น จ า ก
ร ะ บ บ พึ่ ง ต น เ อ ง
ท้ อ ง ถ่ิ น มี ค ว า ม
เขม้ แข็ง
4.1.3 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา : การบรหิ ารจัดการท้องถิน่ แบบมีส่วนร่วม
แผนงานงบกลาง
ท่ี โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลทค่ี าดว่าจะ หน่วยงาน
กิจกรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 ได้รับ ที่รับผิดชอบ
โครงการ)
1 สงเคราะห์เบ้ีย จํานวนผู้สูงอายุใน 5,080,000 5,080,000 - สร้างหลักประกัน อบต.ตะเคียน
ยงั ชพี ผู้สูงอายุ บัญชีที่ได้รับการ ด้ า น ร า ย ไ ด้ แ ก่
อนุมัติ 627 คน ผสู้ ูงอายุ
2 สงเคราะห์เบ้ีย จํานวนผู้พิการใน 3,500,000 3,500,000 - เ ส ริ ม ส ร้ า ง อบต.ตะเคยี น
ยังชพี ผู้พกิ าร บัญชีที่ได้รับการ สวสั ดิการทางสังคม
อนมุ ตั ิ ให้แก่คนพิการหรือ
364 คน ทุพพลภาพ
3 สงเคราะห์เบี้ย สนับสนุนเบ้ียชีพ 90,000 90,000 - เ ส ริ ม ส ร้ า ง อบต.ตะเคยี น
ยั ง ชี พ ผู้ ปุ ว ย ตามจํานวนผู้ปุวย ส วั ส ดิ ก า ร ท า ง
เอดส์ เอดส์ 15 คน สังคมให้แก่ผู้ปุวย
เอดส์
~ 187 ~
ที่ โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ 2566 ผลท่คี าดว่าจะ หน่วยงาน
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ 2564 2565 ได้รับ ท่ีรบั ผิดชอบ
โครงการ) 300,000 300,000
4 เงินสํารองจ่าย - ประชาชนได้รับ อบต.ตะเคยี น
จ่ายเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยใน 300,000 300,000 การช่วยเหลือและ
กรณีฉุกเฉินจําเป็น บรรเทาทุกข์จาก
เ ร่ ง ด่ ว น ซ่ึ ง ไ ม่ อบต. ได้อย่างมี
สามารถคาดการณ์ ประสทิ ธิภาพและ
ลว่ งหน้าได้ ทนั ท่วงที
5 เ งิ น ส ม ท บ พนักงานสว่ นตําบล - พนักงานสว่ นตาํ บล อบต.ตะเคียน
กองทุนประกัน พนกั งานจ้าง พนั ก งาน จ้ าง มี
สงั คมและ กบท. เงินเดือนประโยชน์
ตอบแทนอ่ืนและ
สวัสดกิ ารทีด่ ี
~ 188 ~
ส่วนที่ 5
การขับเคล่ือนโครงการบรู ณาการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
1. ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคลื่อนภารกิจตามตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรอง
การปฏิบัติราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
เพ่ือช้ีแจงแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับ สํานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1 – 11 และสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทั้ง 76 จังหวัด.เมื่อวันที่
26 มกราคม 2564
2. ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกําหนดพ้ืนที่
ที่เครือข่ายมีความเข้มแข็ง พร้อมท้ังกําหนดขอบเขตในการศึกษาตําบลสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง.ร่วมกับ
ทีม พม.จังหวัดสรุ ินทร์ (ทีม One Home) เม่อื วันท่ี 28 มกราคม 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์
Zoom Meeting ณ ห้องประชุมสํานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4
3..ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นท่ี ร่วมกับ
ทีม พม.จังหวัดสรุ ินทร์ ผ้นู ําท้องที่ ผู้นําทอ้ งถิน่ ผนู้ ําชุมชน อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)
หนว่ ยงานและภาคเี ครอื ขา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งในพ้ืนท่ี เมอื่ วันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมศูนย์คุ้มครอง
คนไรท้ พี่ ่ึงจังหวัดสรุ นิ ทร์ ดงั น้ี
3.1 เพ่ือศึกษาขอ้ มูลพ้ืนฐานทางสงั คม วเิ คราะห์ประเดน็ ปญั หาทางสงั คมในระดับชุมชนและปัญหา
ทีน่ า่ สนใจ
3.2 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล TPMAP และข้อมูลการช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย พร้อมทั้งร่วมกําหนด
ครวั เรือนเปาู หมายทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลือและพฒั นาคุณภาพชีวติ ในพนื้ ที่ จํานวน 40 ครัวเรอื น
3.3 รว่ มพจิ ารณาแต่งต้งั คณะทํางานสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งตาํ บลตะเคยี น
4. จดั ทาํ คาํ ส่งั แต่งตงั้ คณะทํางานสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ตาํ บลตะเคียน อาํ เภอกาบเชงิ จงั หวดั สุรนิ ทร์
5..ประชุมคณะทํางานฯ คร้ังที่ 1 เพ่ือวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและวางแผนเพ่ือหาแนวทางการแก้ไข
ปัญหาและพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเปูาหมาย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมองค์การบริหาร
ส่วนตาํ บลตะเคยี น อําเภอกาบเชิง จงั หวัดสุรนิ ทร์
6..จัดทีมลงพื้นท่ีเย่ียมบ้าน เพื่อสํารวจสภาพปัญหาและจัดเก็บข้อมูลผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน
โดยใช้สมุดพกครอบครัวเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล จํานวน 40 ครัวเรือน ร่วมกับ หน่วยงาน พม.
จงั หวัดสรุ ินทร์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.ตะเคียน) ผู้นําชุมชน อพม. เม่ือวันที่ 21 เมษายน 2564
ณ พ้นื ทตี่ าํ บลตะเคยี น อาํ เภอกาบเชิง จงั หวัดสุรินทร์
7. ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปญั หาของผู้ประสบปญั หาทางสังคมรายครัวเรือน จํานวน 40 ครัวเรือน
จํานวน 5 มิติ ได้แก่ ด้านการมีงานทําและรายได้/ด้านสุขภาพ/ด้านการศึกษา/ด้านความเป็นอยู่/ด้านการ
เข้าถึงบริการของรัฐ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์
รายละเอียด ดงั นี้
~ 189 ~
ตารางท่ี 1 กลุ่มเป้าหมายผู้ประสบปญั หารายครวั เรือน 5 มติ ิ
ท่ีอยู่ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตรายมติ ิ
ที่ ชอื่ – สกลุ เลขท่ี หมู่ ดา้ น ด้าน ด้าน ดา้ น ดา้ นการ
รายได้ สขุ ภาพ การศึกษา ท่ีอยู่ เขา้ ถงึ
1 นายพนิ ันท์ เฉลมิ รัมย์ อาศยั บริการ
2 นายสนอง อบอนุ่ ของรัฐ
3 นางสุขสวาท สดุ หาร
4 นายเปม สมศรี 112 1
5 นายพุม่ อนิ ทร์สอน 153 1
6 นางสาวทวย ย่งิ ทุนดี 42 1 -
7 นางเทย ดาวเรือง 48 1
8 นางเออื่ น บญุ มี 41 1 - -
9 นางสมพร เอิบตัญหะ 90 2
10 นางพานเมอื ง โกษาแสง 78 2 -
11 นางรําไพ ศรีสมบัติ 83 2
12 นางพร หอมหวน 15/1 3
13 นางสาวอิสรา แสวงสุข 102 3
14 นางสาวนฤมล นนั ทพันธ์ 124 4 -
15 นางสาวงามขํา ใจจรงิ ดี 13 4
16 นางสาวคาํ พง ธรรมนาม 32 4
17 นางนก สร้อยจิตร 33/1 4
18 นางสาวหนูน สร้อยจติ ร 80 4
19 นางพมมาลี ศรีสวุ รรณ 118 4
20 นายเลยี น เกณสาคู 16 5 -
21 นางสาวแกว้ เฉลิมรัมย์ 46 5
22 นายล้าํ นามสว่าง 67 5 -
23 นางสาวรตั นา แถวพันธ์ 33 7
24 นางสาวสายฝน โชคเกดิ 35/1 7
25 นายโกรช อนิ ทรเ์ สก 55 7
26 นายสมจติ เวิดดม 94 7 -
27 นายธีระศกั ดิ์ ชะเมียงชยั 84 8
28 นายบุญทนั ศรนี ้อย 119 8 - -
29 นายโกย โชคเกิด 123 8
30 นางต๋ิว กระแสโท 133 8 -
31 นางชาลิดา ศรีงาม 161 8
109 8 - -
18 9
24 9 -
-
-
-
-
- -
-
-
-
- -
-
-
- -
~ 190 ~
ทอ่ี ยู่ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ รายมติ ิ
ที่ ช่อื – สกลุ เลขที่ หมู่ ด้าน ดา้ น ด้าน ดา้ น ดา้ นการ
รายได้ สขุ ภาพ การศึกษา ทอ่ี ยู่ เขา้ ถึง
32 นางบผุ า วิเศษวงษา อาศยั บรกิ าร
33 นางสาววาสนา พรมเด่ือ ของรัฐ
34 นางสมหมาย ใจกล้า
35 นางสุภี สรอ้ ยจิตร 30 9 -
36 นายเถอื่ น พรมศรี 59 9
37 นางนุจรี รักงาม 78 9 -
38 นายสมเดช โฉมศรี 129 9
39 นางนอ้ ย จารัตน์ 133 9
40 นางสาวศรปี ระจนั ทร์ ศรเี คน 176 9 -
190 9
205 9
223 9 -
-
-
-
-
8. ประชุมคณะทํางานฯ ครั้งท่ี 2 เพ่ือสรุปผลการจัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ประเด็นปัญหารายครัวเรือน
จํานวน 40 ครัวเรือน และร่วมกําหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพตามประเด็นปัญหา
รายครวั เรอื น พร้อมทั้งจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือน เป็นการจัดประเภทของการพัฒนาครัวเรือน
ตามความเร่งด่วนของผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน ท่ีต้องให้การช่วยเหลือ จํานวน 40 ครัวเรือน เมื่อวันที่
6 กรกฎาคม 2564 ณ ห้องประชุมศูนยค์ ุ้มครองคนไรท้ ี่พ่ึงจังหวัดสุรนิ ทร์ ดงั นี้
8.1 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะเร่งด่วน (ระยะสั้น) เช่น การช่วยเหลือ
ทางด้านเคร่อื งอปุ โภคบริโภค เงนิ สงเคราะห์ (เงินอดุ หนุน) และการเขา้ ถึงสิทธ์ิ เป็นต้น
8.2 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะกลาง เช่น การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ
การเข้าถงึ โอกาส การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของชุมชน การเขา้ ถึงระบบ IT และการปรบั สภาพแวดล้อม เป็นตน้
8.3 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนระยะยาว เช่น การปรับปรุง
ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย การมีท่ีดินทํากิน การเป็นชุมชนสีเขียว (ปลอดภัย ไม่มีขโมย) และการบรรจุแผนการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ รายครอบครวั ในแผนระดับท้องถน่ิ
9. ดําเนินการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้ประสบปัญหาทางสังคมตามแผนร่วมกันกับภาคีเครือข่ายและ
หน่วยงานตา่ งๆ ให้ชุมชนเกิดการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ สามารถพึง่ พาตนเองและสามารถดูแลตนเองได้อยา่ งย่ังยืน
10..สรุปผลการดําเนินงาน การติดตาม และประเมินผลตามแผนปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุม่ เปราะบางรายครัวเรือน จาํ นวน 40 ครวั เรือน
11. ประชุมถอดบทเรียนและสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมผลการแก้ไขปัญหาและผลการพัฒนา
ศักยภาพครัวเรือนเปูาหมายในพ้ืนท่ีชุมชนเข้มแข็งตําบลตะเคียน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์
โดย สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (สสว.4), หน่วยงาน พม. จังหวัดสุรินทร์, คณะทํางานสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งฯ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom.Meeting
ณ หอ้ งประชุมสาํ นักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4
~ 191 ~
สว่ นท่ี 6
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
6.1 รายงานผลการช่วยเหลอื ครัวเรอื นเปา้ หมายในพ้ืนที่บูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
ด้านการช่วยเหลอื ประเภทการชว่ ยเหลือ จานวน หน่วยงานท่ชี ่วยเหลือ
(ครัวเรือน)
ด้านการมีงาน - เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มี -จาํ นวน 40 ครัวเรือน - ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ท่พี งึ่
และรายได้ รายได้น้อยและผู้ไรท้ ี่พึ่ง
- เ งิ น ส ง เ ค ร า ะ ห์ เ ด็ ก ใ น -จํานวน 30 ครัวเรอื น - บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั
ครอบครัวยากจน
- เงินสงเคราะหผ์ ตู้ ิดเชือ้ เอดส์ -จํานวน 1 ราย - ศูนย์คมุ้ ครองคนไรท้ ่พี ึ่ง
- เงินสงเคราะห์ด้านเงินทุน -จาํ นวน 3 ราย - ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง
ประกอบอาชพี
ด้านสุขภาพ -เ จ้ า ห น้ า ท่ี อ า ส มั ค ร -จํานวน 4 ครวั เรอื น - รพ.สต. / อสม.
สาธารณสุขให้คําปรึกษาด้าน
ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ สํ า ห รั บ
ผู้ สู ง อ า ยุ ค น พิ ก า ร บ า ง
ครอบครัวเจ้าหน้าที่ไปรับยา
มาส่งใหท้ บี่ ้าน
สนบั สนนุ กายอุปกรณ์
- เตยี ง -จํานวน 1 ราย - รพ.สต.บ้านสกล/รพ.กาบ
เชิง/อบต.ตะเคียน
- รถเขน็ -จาํ นวน 2 ราย - สนง.พมจ.สุรินทร์
- การดแู ลผู้สูงอายุตดิ เตียง -จาํ นวน 8 ราย - รพ.สต.ตะเคียน/รพ.สต
บ้ านสกล/อบต.ตะเคี ยน/
อาสาสมัครบรบิ าลท้องถิน่ /LTC
- การรับ-ส่ง ผู้ปุวยติดเตียง -จาํ นวน 1 ราย - อบต.ตะเคียน/รพ.กาบเชิง
ฟอกไต
ดา้ นการศึกษา - เงินทุนการศึกษาสําหรับ -จํานวน 5 ครวั เรือน - โรงเรยี นท่เี ดก็ เรียนอยู่
เด็กในครอบครัวยากจน
- เงินสงเคราะห์ครอบครัว -จาํ นวน 3 ครวั เรอื น - บพด.สรุ ินทร์
อปุ ถมั ภ์
ด้ า น ค ว า ม - ซอ่ มแซมบ้านผู้พิการ -จาํ นวน 3 หลงั - อ บ ต . ต ะ เ คี ย น แ ล ะ
เป็นอยู่ สนง.พมจ.สุรนิ ทร์
(ทอี่ ยอู่ าศยั ) - ซอ่ มบ้านผสู้ งู อายุ -จํานวน 1 หลัง - รพ.สต./สนง.พมจ.สุรินทร์
/อบต.ตะเคียน
- ให้คําแนะนําในการปรับ -จํานวน 2 หลัง - รพ.สต./สนง.พมจ.สุรินทร์
~ 192 ~
ดา้ นการช่วยเหลอื ประเภทการช่วยเหลอื จานวน หน่วยงานที่ชว่ ยเหลือ
(ครัวเรือน)
ส ภ า พ ท่ี อ ยู่ อ า ศั ย แ ล ะ /อบต.ตะเคยี น
สภาพแวดลอ้ มทอี่ ยู่อาศยั ก่ิงกาชาดอําเภอกาบเชิง/
- สรา้ งบา้ นธารนาํ้ ใจ -จํานวน 1 หลัง อบต.ตะเคียน/รพ.สต.บ้าน
ส ก ล / โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ส ก ล /
โรงเรยี น ตชด./วัดบา้ นสกล/
ตํารวจตรวจคนเข้าเมือง
ด้านการเข้าถึง - ให้คําแนะนําและคําปรึกษา -จํานวน 15 ราย - บพด./สนง.พมจ.สุรนิ ทร์
บรกิ ารของรฐั เร่อื งเงินอุดหนุนเดก็ แรกเกดิ - อบต.ตะเคียน
- ใหค้ าํ แนะนําเกี่ยวกับการทํา -จาํ นวน 5 ครัวเรือน - อบต.ตะเคียน/สนง.พมจ.
บตั รสวัสดกิ ารแห่งรัฐ สุรนิ ทร์
- ให้คําแนะนําเก่ียวกับเงินกู้ -จาํ นวน 20 ครัวเรือน - อบต.ตะเคยี น
คนพกิ าร/ เงนิ กู้ผ้สู ูงอายุ
- เบี้ยยังชีพผูพ้ กิ าร -จาํ นวน 5 ราย - อบต.ตะเคยี น
- บัตรประจําตัวผู้พิการ/ต่อ -จํานวน 10 ราย - อบต.ตะเคยี น
บตั รผู้พิการ