~ 93 ~
5. โครงการสนบั สนนุ การจัดบรกิ ารระยะยาวสาหรบั ผู้สูงอายทุ ี่มภี าวะพ่ึงพิงของศนู ย์พัฒนาคุณภาพชีวิต
และสง่ เสริมอาชพี ผู้สูงอายตุ าบลโนนสาราญ
5.1 วัตถปุ ระสงค์
เพอ่ื ให้ผสู้ งู อายทุ ่ีมีภาวะพึ่งพิงไดร้ ับการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสขุ สําหรับผูส้ ูงอายุ
โดยหน่วยบรกิ าร สถานบรกิ ารโดยผูช้ ว่ ยเหลือดูแลผสู้ ูงอายทุ มี่ ภี าวะพึ่งพงิ (Care giver)
5.2 กลุ่มเปา้ หมาย (จานวน 121 คน)
1) กลุ่มทเี่ คลื่อนไหวได้บ้าง มีปัญหาการกนิ การขับถา่ ย แต่ไมม่ ภี าวะสับสนทางสมอง
2) กลุ่มที่เคลื่อนไหวไดบ้ า้ ง มีภาวะสับสนทางสมองและอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่าย
3) กลุ่มทเ่ี คลื่อนไหวเองไม่ได้ ไมม่ ีปัญหาการกิน การขับถา่ ยหรือเจบ็ ปวุ ยรนุ แรง
4) กลุม่ ทีเ่ คลื่อนไหวเองไม่ได้ เจบ็ ปวุ ยรนุ แรงหรืออยู่ระยะสุดท้ายของชวี ติ
5.3 งบประมาณ 726,000 บาท
5.4 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
เป็นไปตามเอกสารแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เรื่องการกาํ หนด
หลกั เกณฑเ์ พ่ือสนบั สนนุ ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ดําเนนิ งานและบริหารจดั การกองทุนหลกั ประกัน
สุขภาพในระดบั ท้องถิน่ หรือท้องที่(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 ลงวันท่ี 8 กมุ ภาพันธ์ 2559 ชดุ สทิ ธปิ ระโยชนแ์ ละ
อัตราการชดเชยค่าบรกิ ารด้านสาธารณสขุ สําหรบั ผสู้ ูงอายุ
5.5 ผลการดาเนินงาน
ผ้สู ูงอายทุ ีม่ ีภาวะพ่งึ พงิ ได้รบั การดูแลระยะยาวด้านสาธารณสขุ อย่างทว่ั ถึงตามกล่มุ เปูาหมาย
5.6 หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
ศูนย์พฒั นาคุณภาพชีวติ และส่งเสริมอาชพี ผู้สงู อายตุ าํ บลโนนสาํ ราญ
5.7 ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี -
5.8 ภาพกจิ กรรม
6. โครงการกองทนุ วิสาหกิจชุมชนตาบลโนนสาราญ
6.1 วัตถุประสงค์
1) เพื่อส่งเสริมการทาํ งานของกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนในพ้นื ท่ี
2) เพ่ือส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการทํางาน กลุ่มอาชีพในพ้ืนท่ี
3) เพ่ือให้เกิดลดรายจ่าย เพม่ิ รายได้
4) เพ่ือใหเ้ กิดการประสานงานระหวา่ งหน่วยงานตา่ งๆ ท้ังในและนอกพน้ื ที่ในตาํ บล
~ 94 ~
6.2 กลุ่มเป้าหมาย
กลุม่ วสิ าหกจิ ชุมชนในพ้ืนท่ี 7 กลมุ่
6.3 งบประมาณ 490,000 บาท
6.4 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
1) แต่งตง้ั คณะกรรมการขบั เคลื่อนกองทุน
2) ประชาสัมพนั ธใ์ ห้กล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชนในพื้นท่ีไดร้ บั ทราบ
3) จัดประชุมเพอ่ื รบั ทราบเง่ือนไขและอนุมตั โิ ครงการ
4) กลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชนดําเนนิ งานตามแผนงานโครงการ
5) สรปุ รายงานผลผู้บริหารทราบ
6.5 ผลการดาเนินงาน
เกิดการทาํ งานเป็นกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน เพม่ิ รายได้ ลดรายจา่ ย ตามแนวทางปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง กล่มุ สมาชิกเกดิ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ การประสานการทํางานท้ังหน่วยงานราชการและ
องค์กรตา่ งๆ ในพื้นที่
6.6 หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ
องค์การบริหารส่วนตาํ บลโนนสาํ ราญ
6.7 ปัญหาอุปสรรค (ถ้ามี) ยังขาดเครือขา่ ยท่ีเขา้ มาทํางานร่วมกันในพ้นื ท่ี
6.8 ภาพกจิ กรรม
7. โครงการกองทุนสวสั ดกิ ารชุมชนตาบลโนนสาราญ
7.1 วัตถปุ ระสงค์
1) เพื่อใหป้ ระชาชนมีความเข้าใจและเหน็ ความสําคญั ของกองทุนสวัสดิการชุมชน
2) เพื่อให้เกิดการออมและความชว่ ยเหลอื ในเบือ้ งต้นสาํ หรบั กล่มุ สมาชกิ กองทุน
3) เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหนว่ ยงานและองค์กรต่างๆ ในพน้ื ท่ี
~ 95 ~
7.2 กลุ่มเป้าหมาย 2,828 คน
ประชาชนในพ้นื ท่ีตําบลโนนสําราญทเ่ี ปน็ สมาชิกกองทุนสวสั ดกิ ารชมุ ชน
7.3 งบประมาณ 8,259,054 บาท
7.4 ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
1) แตง่ ต้งั คณะกรรมการขบั เคลือ่ นกองทนุ สวัสดิการชุมชนตําบลโนนสาํ ราญ
2) ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ประชาชนในพืน้ ที่ได้รับทราบและสมัครสมาชิก
3) จัดประชุมคณะกรรมการบริหารขับเคลื่อนกองทุน
4) ดาํ เนินงานตามแผนงานโครงการ
5) สรปุ รายงานผล
7.5 ผลการดาเนินงาน
1) ประชาชนเข้าใจและเล็งเห็นความสาํ คัญของกองทุนสวสั ดิการชมุ ชน
2) เกดิ ระบบการออมและช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั
3) เกดิ การประสานความรว่ มมือระหว่างหนว่ ยงานต่างๆ ในพื้นที่
7.6 หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ
คณะกรรมการขบั เคลอื่ นกองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนตําบลโนนสาํ ราญ
7.7 ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี –
7.8 ภาพกจิ กรรม
~ 96 ~
สว่ นที่ 7
สรปุ ขอ้ มูลการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ
สรปุ ขอ้ มูลคุณภาพชวี ติ ครวั เรอื นเปา้ หมาย 40 ครวั เรอื น
1. ข้อมลู พ้นื ฐาน
ครัวเรือนเป้าหมาย จานวน 40 ครัวเรอื น
หวั หนา้ ครัวเรอื น ชาย 14 คน หญิง 26 คน
2. ช่วงอายุ จานวน (ราย)
21
ลาดับที่ อายุ (ป)ี 12
1 เด็ก (0 - 14 ปี) 38
2 เยาวชน (15 – 17 ปี) 41
3 วยั แรงงาน (18 – 59 ปี) 112
4 ผสู้ งู อายุ (60 ปขี นึ้ ไป)
รวม
แผนภมู ิที่ 1 เปรียบเทยี บช่วงอายุ
จากแผนภูมิท่ี 1 ช่วงอายุในครัวเรือนเปูาหมาย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นวัยผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
มีจํานวน 41 ราย คน คิดเป็นร้อยละ 36 รองลงมา คือ วัยแรงงาน (18 – 59 ปี) มีจํานวน 38 คน คิดเป็น
ร้อยละ 34 อนั ดบั ทีส่ าม คือ วัยเด็ก (0 – 14 ปี) มีจาํ นวน 21 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 19
~ 97 ~
3. สถานะภาพ สถานะ จานวน (คน)
โสด 47
ลาดับท่ี สมรส 38
1 หมา้ ย 26
2 แยกกนั อยู่ 4
3 รวม 115
4
แผนภูมิท่ี 2 เปรียบเทยี บสถานภาพ
จากแผนภูมิที่ 2 สถานภาพในครัวเรือนเปูาหมาย พบว่า ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด มีจํานวน 47 คน
คิดเป็นร้อยละ 40.87 รองลงมาคือ สถานภาพสมรส มีจํานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 38 และอันดับ
ทส่ี ามคอื สถานภาพเป็นหมา้ ย จํานวน 26 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 22.61
4. จานวนครวั เรอื นในแต่ละหมบู่ ้าน
หมู่ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม
ครวั เรอื น 289 241 178 126 275 132 269 311 206 190 2,217
~ 98 ~
แผนภมู ทิ ่ี 3 เปรียบเทยี บครัวเรอื นในแต่ละหมู่บ้าน
จากแผนภูมิที่ 3 จํานวนครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้าน พบว่า หมู่บ้านท่ีมีจํานวนมากที่สุด คือ หมู่ท่ี 8
มีจํานวน 311 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 14.03 รองลงมาคือ หมู่ท่ี 1 มีจํานวน 289 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
13.04 และอันดับที่สามคอื หมู่ที่ 5 มีจํานวน 275 ครวั เรอื น คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.40
5. สมาชิกครวั เรือนในแตล่ ะช่วงวัย
ชว่ งวยั ทารก วยั วยั ผสู้ ูงอายุ คนพิการ ผู้ปว่ ยติดเตียง รวม
เรยี น (คน)
ทางาน
สมาชกิ ครัวเรอื น - 33 132
38 41 19 1
แผนภูมทิ ี่ 4 เปรยี บเทียบครวั เรือนในแตล่ ะช่วงวัย
28.79% 31.06%
25.00%
14.39%
0.00% 0.76%
ทารก วัยเรยี น วยั ทางาน ผสู้ ูงอายุ คนพิการ ผปู้ ว่ ยติดเตยี ง
จากแผนภูมิท่ี 4 จํานวนครัวเรือนในแต่ละช่วงวัย พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยผู้สูงอายุ มีจํานวน
41 คน คิดเป็นร้อยละ 31.06 รองลงมาคือ ช่วงวัยทํางาน มีจํานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 28.79 และ
อนั ดบั ท่สี ามคอื วัยเรียน มจี ํานวน 33 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.00
~ 99 ~
6. อาชีพ รบั จ้างทัว่ ไป รบั จา้ ง คา้ ขาย เกษตรกร ไม่ไดป้ ระกอบ รวม
อาชีพ ประจา
4 อาชีพ (คน)
สมาชกิ ครวั เรอื น 24 43 41 76
แผนภมู ทิ ี่ 5 เปรยี บเทยี บการประกอบอาชพี
จากแผนภูมิที่ 5 การประกอบอาชพี พบว่า ส่วนใหญไ่ มไ่ ด้ประกอบอาชีพ มีจํานวน 41 คน คิดเป็น
ร้อยละ 53.95 รองลงมาคือ ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป มีจํานวน 24 ครัวเรือน และอันดับท่ีสามคือ
คา้ ขายและรบั จ้างประจาํ มจี ํานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 5.26 ในสดั ส่วนทีเ่ ท่ากัน
7. รายได้ต่อครัวเรอื น
ลาดับท่ี รายได้ตอ่ ครัวเรือน (บาท) จานวน (ครัวเรอื น)
1 ไม่มีรายได้ -
2 2
3 ไมเ่ กนิ 1,500 บาท 13
4 1,501 – 3,000 บาท 6
5 3,001 – 4,500 บาท 6
6 4,501 – 6,000 บาท 3
7 6,001 – 7,500 บาท 7
8 7,501 – 9,000 บาท 2
9 9,001 – 10,500 บาท -
10,501 บาท ขนึ้ ไป 39
รวม
~ 100 ~
แผนภูมิที่ 6 เปรียบเทยี บรายได้ตอ่ ครัวเรอื น
จากแผนภูมิท่ี 6 จํานวนรายได้ต่อครัวเรือน พบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้ 1,501–3,000 บาท
มีจํานวน 13 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมาคือ 7,501–9,000 บาท มีจํานวน 7 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 17.95 และอันดับที่สามคือ 3,001–4,500 และ 4,501–6,000 บาท มีจํานวน 6 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.38 ในสัดสว่ นที่เท่ากนั
8. หน้สี ินต่อครัวเรอื น
ลาดับท่ี หนส้ี ิน จานวน (ครวั เรือน)
1 ไมม่ หี น้ีสนิ 28
2 ไม่เกิน 25,000 บาท 3
3 25,001 – 50,000 บาท -
4 50,001 – 75,000 บาท -
5 75,001 บาทขึ้นไป 6
37
รวม
แผนภูมทิ ่ี 7 เปรยี บเทยี บหน้ีสนิ ต่อครัวเรือน
~ 101 ~
จากแผนภูมิท่ี 7 จํานวนหน้ีสินต่อครัวเรือน พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีหน้ีสิน มีจํานวน 28 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 75.68 รองลงมาคือ มีหน้ีสิน 75,001.บาทขึ้นไป มีจํานวน 6 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
16.22 และอันดบั ที่สามคอื มีหนส้ี นิ ไม่เกนิ 25,000 บาท มจี ํานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8.11
9. ขอ้ มูลครัวเรอื นทต่ี กเกณฑ์ในแต่ละมติ ิ 5 ด้าน (ครวั เรอื นมมี ากกว่า 1 มิติ)
ลาดับท่ี แยกมิติ 5 ด้าน จานวน (ครวั เรือน)
40
1 รายได้ 28
17
2 สุขภาพ 10
95
3 ดา้ นความเปน็ อยู่ (ท่ีอย่อู าศยั )
4 การศึกษา
รวม
แผนภูมิท่ี 8 เปรยี บเทียบครวั เรือนทีต่ กเกณฑ์ในแต่ละมิติ (แยกเปน็ 5 ดา้ น)
จากแผนภมู ทิ ี่ 8 จาํ นวนครัวเรอื นท่ีตกเกณฑใ์ นแต่ละมิติ พบว่า สว่ นใหญ่ตกเกณฑด์ า้ น
รายได้ มีจํานวน 40 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 42.11 รองลงมาคือ ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพ มีจํานวน 28
ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 29.47 และอันดับที่สามคือ ตกเกณฑ์ด้านความเป็นอยู่ (ท่ีอยู่อาศัย) มีจํานวน 17
ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 17.89
10. สภาพปัญหาในครัวเรอื นเป้าหมาย
ลาดบั ท่ี ประเดน็ ปญั หา จานวน (ราย)
1 รายได้ไมเ่ พียงพอ 40
2 ไม่ไดป้ ระกอบอาชพี 22
3 ดแู ลเด็กในวยั เรยี น 23
4 ปรับสภาพบา้ น/ซอ่ มบ้าน 21
5 ผู้สงู อายอุ าศยั อยเู่ พียงลาํ พัง 6
~ 102 ~
ลาดบั ท่ี ประเด็นปัญหา จานวน (ราย)
6 มีภาระเลยี้ งดบู คุ คลในครอบครัว 26
7 19
8 มโี รคประจําตวั 3
9 ดแู ลผปู้ วุ ยติดเตียง 12
10 2
หนสี้ นิ 106
ติดสุรา
รวม
แผนภูมิที่ 9 เปรียบเทียบสภาพปญั หาในครัวเรอื นเปา้ หมาย
จากแผนภูมิที่ 9 สภาพปัญหาในครัวเรือนเปูาหมาย พบว่าส่วนใหญ่มีปัญหารายได้ไม่เพียงพอ
มีจํานวน 40 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.74 รองลงมาคือ มีปัญหารับภาระเล้ียงดูคนในครอบครัว มีจํานวน 26 ราย
และอนั ดับที่สามคอื ดแู ลเดก็ ในครอบครวั ซ่งึ อยู่ในวัยเรยี น มจี าํ นวน 23 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 21.70
11. ความต้องการขอรับการสนับสนุน
ลาดับที่ ความต้องการ จานวน (ราย)
1 เงินทุนประกอบอาชีพ 33
2 ปรับปรุงซ่อมแซมทอ่ี ยู่อาศยั 21
3 1
4 กรรมสทิ ธิ์ทด่ี นิ 33
5 อาชพี เสริม 29
6 ดูแลสุขภาพ 1
7 ทุนการศึกษา 12
การมบี ตั รสวสั ดกิ ารแหง่ รัฐ 130
รวม
~ 103 ~
แผนภูมทิ ี่ 10 เปรียบเทียบความต้องการขอรบั การสนับสนุน
จากแผนภูมิท่ี 10 ความต้องการขอรับการสนับสนุน พบว่าส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพเสริม
และเงินทุนประกอบอาชีพ มีจํานวน 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.38 ในสัดส่วนท่ีเท่ากัน รองลงมาคือ
ต้องการดแู ลรกั ษาสุขภาพ มีจํานวน 29 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.31 และอันดับท่ีสามคือ ปรับปรุงซ่อมแซม
ที่อยู่อาศยั มีจาํ นวน 21 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.51
12. ระดับความเปราะบาง
ลาดับท่ี ระดับ จานวน (ราย)
1 ระดับ 1 (ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น/หมวด) 3
2 ระดับ 2 (ตกเกณฑ์ 2-3 ด้าน/หมวด) 36
3 ระดบั 3 (ตกเกณฑ์ 4-5 ดา้ น/หมวด) 1
รวม 40
แผนภมู ทิ ่ี 11 เปรียบเทียบระดบั ความเปราะบาง
~ 104 ~
จากแผนภูมทิ ่ี 11 ระดบั ความเปราะบาง พบวา่ ส่วนใหญม่ คี วามเปราะบางอยู่ในระดับท่ี 2 คือ ตกเกณฑ์
2 – 3 ดา้ น มีจาํ นวน 36.00 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 90 รองลงมาคอื ระดบั ที่ 1 คือตกเกณฑ์ 1 ด้าน มีจํานวน 3 ราย
คิดเป็นร้อยละ 7.00 และอนั ดบั ท่สี าม คอื ระดับที่ 2 มีจํานวน 1 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 3.00
13. การวางแผนให้ความช่วยเหลอื ในแต่ละมติ ิ (ภาพรวมครัวเรือน : 1 ครัวเรือน อาจต้องวางแผน
มากกวา่ 1 มิติ)
ลาดบั ที่ มติ ิ จานวน (ราย)
1 ดา้ นรายได้ 33
2 ดา้ นสุขภาพ 28
3 ดา้ นการศึกษา 11
4 ด้านความเป็นอยู่ (ที่อยอู่ าศัย) 21
5 ด้านการเข้าถึงบริการรฐั 9
93
รวม
แผนภมู ทิ ่ี 12 เปรียบเทียบการวางแผนใหค้ วามช่วยเหลือในแต่ละมติ ิ
จากแผนภูมทิ ี่ 12 การวางแผนการให้ความช่วยเหลอื ในแตล่ ะมิติ พบว่าส่วนใหญ่คือ มิติด้านรายได้
มีจํานวน 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.48 รองลงมาคือ มิติด้านสุขภาพ มีจํานวน 28 ราย คิดเป็นร้อยละ
30.11 และอนั ดบั ทสี่ ามคอื มิตดิ ้านความเป็นอยู่ (ท่อี ยู่อาศยั ) มจี าํ นวน 21 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 22.58
~ 105 ~
สรุปประเด็นสาคญั
จานวนครวั เรือนเป้าหมาย 40 ครัวเรือน ในพื้นท่ีตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชยั ภูมิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ
สรุปประเด็นสาคญั ไดด้ งั นี้
1. หัวหน้าครัวเรือน เป็นเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย
2. ช่วงอายุ สว่ นใหญเ่ ปน็ วยั สงู อายุมากทีส่ ดุ รองลงมา วยั แรงงาน อายุ 18 – 59 ปี และวัยเด็ก
อายุ 0 – 14 ปี
3. ส่วนใหญม่ ีสถานภาพโสดมากทีส่ ุด รองลงมามีสถานภาพสมรส และมสี ถานภาพเปน็ หม้าย
4. ครวั เรือนเปาู หมายสว่ นใหญ่อยู่ทีห่ มู่ 8 มากท่สี ุด รองลงมาอยู่ทห่ี มู่ 1 และหมู่ 5
5. ส่วนใหญส่ มาชกิ ที่อย่ใู นครัวเรือนเปน็ วัยทํางานมากที่สดุ รองลงมาเปน็ วยั สูงอายุ และเป็นวยั เรียน
6. ครวั เรอื นส่วนใหญ่ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพมากทสี่ ุด รองลงมามีอาชีพรบั จ้างทว่ั ไป และมีอาชีพค้าขาย
7. รายได้ต่อครวั เรอื นสว่ นใหญ่อยูร่ ะหว่าง 1,501 – 3,000 บาท
8. ครัวเรือนสว่ นใหญไ่ มม่ ีหนี้สนิ
9. ครัวเรอื นเปูาหมายส่วนใหญ่ตกเกณฑม์ ิติดา้ นรายไดม้ ากที่สดุ รองลงมา คือ ตกเกณฑ์ดา้ นสขุ ภาพ
และตกเกณฑ์ดา้ นความเป็นอยู่ (ทอ่ี ยู่อาศัย)
10. สภาพปญั หาท่ีพบในครัวเรอื น พบวา่ รายได้ไม่เพียงพอต่อการครองชีพ รองลงมา คือ มีภารเลี้ยงดู
บุคคลในครอบครวั และมภี าระในการดแู ลเดก็ ในวัยเรียน
11. ความต้องการมากท่สี ดุ คือ อาชพี เสรมิ และเงนิ ทุนประกอบอาชีพ รองลงมาคือ การดแู ลรักษา
สุขภาพ และปรบั ปรุงซอ่ มแซมท่อี ยู่อาศยั
12. ระดับความเปราะบางอยูใ่ นระดับที่ 2 มากที่สดุ
13. การวางแผนชว่ ยเหลือสว่ นใหญ่จะเปน็ การช่วยเหลือในมิตดิ ้านรายได้ รองมาคือ มติ ดิ ้านสุขภาพ
และมิติด้านความเปน็ อยู่ (ท่ีอยอู่ าศัย)
การวิเคราะหป์ ญั หาใน 5 มิติ ของ TP MAP ตาบลโนนสาราญ
ประเดน็ มิติ ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข/พฒั นา
ท่ี
1 1. มิตดิ า้ น - ปญั หาสุขภาพ - ทมี LTC อสม. อบต. เครือข่าย ร่วม
สขุ ภาพ ผ้ปู วุ ยเรือ้ รงั ตดิ ตาม ดูแลสุขภาพคนปุวย และผสู้ งู อายุ
- วยั ชรา - รณรงค์ประชาสมั พนั ธ์การดูแลสขุ ภาพ
กาย สขุ ภาพใจของคนในชมุ ชน
- รพ.สต. โนนสาํ ราญ ดแู ลเบ้ืองตน้
- รพ.ชยั ภูมิ รว่ มประเมินสุขภาพจติ และ
ใหก้ ารรักษาโรคเฉพาะทาง
~ 106 ~
ประเดน็ มติ ิ ปญั หาที่พบ แนวทางแกไ้ ข/พฒั นา
ที่
2 มติ ิด้าน - เดก็ อยใู่ นครอบครวั - บุรณาการความรว่ มมอื กบั โรงเรียนพ้ืนที่
การศึกษา
แหว่งกลาง สว่ นใหญ่ ติดตามให้การชว่ ยเหลือเดก็ ที่อยใู่ น
อาศยั อยู่กับปูุ ยา่ ตา ครอบครัวเปราะบาง
ยาย หรอื ญาติ - วางแผนชว่ ยเหลอื เด็กในครอบครัวท่ี
- เด็กยากจนแต่อยาก เลี้ยงดไู มเ่ หมาะสม เขา้ รับการศกึ ษาท่ี
เรียนต่อในระดบั สถาบันเพาะกล้าคณุ ธรรม
ปรญิ ญา - ระดมทุนการศกึ ษาจากแหลง่ ทนุ ตา่ งๆ
3 มติ ดิ า้ นรายได้ - รายได้ไม่เพียงพอ - ส่งเสรมิ ให้ประกอบอาชีพเสริม
4 มิตดิ า้ นความ - ไม่มีงานทํา - จดั หางาน หรอื ฝกึ อาชพี
เป็นอยู่
(ท่ีอยู่อาศยั ) - แนะนาํ แหลง่ ทนุ กู้ยืมเพือ่ การประกอบ
อาชพี
- ทีอ่ ย่อู าศัยชาํ รดุ - โครงการซ่อมแซมบ้านคนพิการ
ทรุดโทรม ไม่สามารถ - โครงการซ่อมแซมบ้านผสู้ ูงอายุ
บังแดด ลม ฝน - โครงการบ้านพอเพยี ง
- ระบบไฟฟูา เก่า ไม่ - โครงการบา้ นกาชาด
ปลอดภัย - ขอรับการบริจาคงบประมาณจากภาค
- ไม่มีนํ้าประปา ประชาสังคม และเอกชน
สาํ หรบั อปุ โภค-
บรโิ ภค
5 มิตดิ ้านการ - การเข้าไมถ่ งึ สิทธ์ิ - แนะนาํ ให้เข้ารับการประเมินความ
เข้าถึง บรกิ าร
ภาครฐั คนพกิ าร พิการในโรงพยาบาลของรฐั เพื่อให้หมอ
- การเขา้ ไมม่ สี ถานะ รบั รองคนพิการ แลว้ นาํ เอกสารมาขอขึ้น
ทางทะเบียนราษฎร ทะเบยี นคนพิการที่ สนง.พมจ.ชัยภูมิ
- การเข้าไม่ถงึ บตั ร - แนะนําให้บคุ คลต่างดา้ ว ซึ่งอาศัยและมี
สวสั ดกิ ารแหง่ รัฐ ครอบครวั ในประเทศไทยเป็นเวลานาน
ดําเนนิ การขอทําบัตรประชาชนไทย
- แนะนําใหเ้ ตรยี มเอกสาร สาํ หรบั ย่ืนขอ
ทาํ บตั รสวสั ดกิ ารแห่งรัฐรอบต่อไป เมื่อมี
การประกาศจากรฐั บาล
~ 107 ~
สว่ นที่ 8
สรุปผลการถอดบทเรียนโครงการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
1. การวเิ คราะห์สภาพปัญหาในพืน้ ท่ี
1.1 การพ่ึงพารายไดจ้ ากเศรษฐกจิ ภาคการเกษตรซึ่งตอ้ งพ่ึงพาธรรมชาติ
1.2 ปญั หาวา่ งงานหลงั ฤดูเกบ็ เก่ียว คนในชุมชนยังขาดความรู้ในการทําอาชีพเสริมเพิ่มรายได้
1.3 สินคา้ แปรรูปทางการเกษตรไม่มตี ลาดรองรบั เพยี งพอและไม่มคี ุณภาพทสี่ ามารถแขง่ ขันได้
1.4 ขาดการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีการตลาดการบริหารจัดการของผู้ประกอบหัตถกรรม
พืน้ บา้ นและสนิ คา้ พื้นเมือง
1.5 การย้ายถ่ินฐานไปทํางานต่างจังหวัด เนื่องจากความยากจน ทําให้เกิดภาวะครอบครัวแหว่งกลาง/
ครอบครวั ขา้ มรุ่น /ผู้สงู อายถุ กู ทอดท้งิ ใหอ้ ยู่ตามลําพัง
1.6 ปญั หาว่างงานหลังฤดเู กบ็ เกีย่ ว คนในชมุ ชนยังขาดความรู้ในการทําอาชีพเสรมิ เพิ่มรายได้
1.7 วัยแรงงาน หรือหัวหนา้ ครอบครวั สว่ นใหญ่ไปใชแ้ รงงานในต่างประเทศ ซ่ึงเปน็ อาชีพท่สี ามารถ
สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครัวได้ในระยะเวลาไม่นาน
2. สภาพปัญหากลุ่มเปา้ หมายรายครวั เรอื น
2.1 ดา้ นรายได้และการมีงานทํา จาํ นวน 40 ครวั เรอื น
2.2 ด้านสุขภาพ จาํ นวน 29 ครวั เรือน
2.3 ดา้ นความเป็นอยู่ (ทอ่ี ยอู่ าศยั ) จํานวน 17 ครวั เรอื น
2.4 ดา้ นการศกึ ษา จาํ นวน 10 ครวั เรอื น
2.5 ดา้ นการเขา้ ถึงบริการของภาครฐั จาํ นวน 9 ครวั เรอื น
3. ผลการชว่ ยเหลือรายครวั เรอื น
3.1 ดา้ นการมงี านทาและรายได้
1) เงนิ สงเคราะหค์ รอบครัวผู้มรี ายได้น้อย จาํ นวน 29 ครวั เรือน โดย ศูนย์คุม้ ครองคนไร้ทีพ่ ่ึง
จังหวดั ชัยภูมิ
2) เงินสงเคราะหผ์ ูส้ ูงอายุในภาวะยากลําบาก จาํ นวน 11 ครัวเรอื น โดย สาํ นกั งานพฒั นาสงั คม
และความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดชัยภูมิ
3) เงนิ สงเคราะห์เดก็ ในครอบครวั ยากจน จํานวน 11 ราย โดย สาํ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คง
ของมนุษย์จงั หวดั ชยั ภมู ิ
4) วางแผนสง่ เสริมและพฒั นาอาชพี จาํ นวน 33 ครวั เรอื น โดย พม.จงั หวดั ชยั ภมู ิ และ อบต.โนนสําราญ
5) แนะนําทนุ ประกอบอาชพี คนพกิ ารและผสู้ งู อายุ จาํ นวน 33 ครวั เรอื น โดย พม.จังหวัดชยั ภมู ิ
3.2 ดา้ นสขุ ภาพ
1) การตดิ ตามดแู ลดา้ นสขุ ภาพ จํานวน 29 ครวั เรือน โดย ทีม LTC/อบต.
2) ดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายตุ ดิ เตยี งในชุมชน จาํ นวน 122 ราย โดย รพสต./อสม./ทีม LCT
3) ค่าพาหนะผู้ปุวยท่ียากไร้ จํานวน 1 ราย โดย อบต./อบจ.
4) เขา้ รบั การประเมินสุขภาพจติ จํานวน 3 ราย โดย รพ.สต./รพ.ชย.
5) มอบรถวลิ แชร์ จํานวน 5 ราย โดย กองทุนฟื้นฟูคนพิการจงั หวดั ชยั ภูมิ
~ 108 ~
3.3 ดา้ นการศึกษา
1) วางแผนเร่อื งทุนการศกึ ษาสาํ หรับเด็กในครอบครัวยากจน จํานวน 11 ราย โดย พม.จังหวัด
ชัยภูม/ิ อบต./โรงเรียนในพ้ืนท่ี
2) วางแผนสถาบนั เพาะกลา้ คุณธรรม เพอื่ ใหไ้ ด้รับการศกึ ษาและสามารถพัฒนาตนเองได้ โดย พม.
จังหวัดชยั ภูมิ
3.4 ดา้ นความเป็นอยู่ (ท่อี ย่อู าศัย)
1) โครงการบ้านพอเพยี ง จํานวน 1 ราย โดย พอช.
2) วางแผนซอ่ มแซมบา้ นผู้สงู อายแุ ละคนพิการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 17 หลัง
โดย สนง.พมจ.จงั หวดั ชยั ภมู /ิ อบจ./พอช./กาชาด
3.5 ดา้ นการเขา้ ถึงบริการของรฐั
1) ใหค้ ําแนะนาํ ปรึกษาการลงทะเบียนเพื่อขอรบั เงินอดุ หนนุ เพือ่ การเลีย้ งดูเด็กแรกเกดิ จาํ นวน 70 ราย
โดย พม.จงั หวดั ชยั ภูมิ/อบต.
2) ให้คําแนะนาํ เงินกู้ประกอบอาชพี ผูส้ ูงอายุ/คนพิการ จํานวน 40 ครวั เรือน โดย พม.จงั หวัด
ชัยภูม.ิ /อบต.
3) ใหค้ าํ แนะนาํ การทําบตั รประจาํ ตัวคนพิการ จาํ นวน 65 ราย โดย พม.จงั หวดั ชัยภูม.ิ /อบต.
4) ให้คาํ แนะนาํ บตั รสวัสดิการแห่งรัฐ จํานวน 9 ครัวเรือน โดย พม.จังหวดั ชัยภูมิ/อบต.
5) ใหค้ าํ แนะนาํ เงินสงเคราะห์ประเภทต่างๆ จํานวน 40 ครวั เรอื น โดย พม.จงั หวัดชัยภูม/ิ อบต.
4. โครงการ/กิจกรรมทด่ี าเนนิ งานในพ้นื ที่
4.1 โครงการขับเคล่ือนการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแข็งตําบลโนนสําราญ อาํ เภอเมืองชยั ภูมิ จังหวัดชัยภมู ิ
4.2 โครงการขบั เคลื่อนการดําเนินงานสง่ เสรมิ ให้ผ้มู รี ายได้น้อยในเมือง และชนบทมีความม่ันคงในด้าน
ท่ีอย่อู าศัย (พอช.) (โครงการบา้ นพอเพยี ง)
4.3 โครงการเรามีเราบรรเทาทุกขค์ นพกิ ารจังหวดั ชยั ภูมิทไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
4.4 โครงการยกระดับแปลงใหญด่ ว้ ยเกษตรสมยั ใหมแ่ ละเชอ่ื มโยงตลาด
4.5 โครงการสนับสนนุ การจัดบริการระยะยาวสาํ หรบั ผสู้ ูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงของศนู ย์พัฒนาคุณภาพชีวิต
และส่งเสรมิ อาชพี ผู้สูงอายุตาํ บลโนนสาํ ราญ
4.6 โครงการกองทุนวิสาหกิจชมุ ชนตําบลโนนสําราญ
4.7 โครงการกองทนุ สวสั ดิการชมุ ชนตําบลโนนสาํ ราญ
5. ปญั หา อปุ สรรค
5.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ทําให้ไม่สามารถจัดกิจกรรม
และขบั เคลือ่ นงานตามแผนทก่ี ําหนดได้
5.2 การกาํ หนดเง่ือนไขการคัดเลือกพ้ืนท่ีไม่ให้ซํ้าพ้ืนท่ีเดิม ซึ่งตําบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคมของ ศคพ.
ใช้พ้ืนท่ีเดิม ในการดําเนินงาน ส่งผลให้การบูรณาการความร่วมมือของ ทีม One Home ไม่เกิด Impact
ตอ่ พนื้ ทเี่ ทา่ ท่ีควร
5.3 ยังไม่มีการขับเคลื่อน.ศจพ.จ..ท่ีเด่นชัด ส่งผลให้การบูรณาการร่วมกับ 12 กระทรวง ยังไม่เห็น
เป็นรปู ธรรม
~ 109 ~
6. ปจั จยั ความสาเรจ็
6.1 ทมี บรหิ ารมคี วามร้คู วามสามารถ ให้ความสําคัญกับงานด้านพฒั นาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาสังคม
มเี จา้ หน้าท่ีท้องถิ่นทม่ี ีความตง้ั ใจ มุ่งมนั่ ในการปฏบิ ตั ิงาน ยอมรบั นโยบาย และให้ความรว่ มมอื ในการดําเนนิ งาน
6.2 หน่วยงานภาครัฐ/ภาคีเครือข่าย/ผู้นําชุมชน/อาสาสมัคร ในพื้นที่ทํางานร่วมกันเป็นทีมเดียวกัน
และมีเปูาหมายเดยี วกัน มคี วามเข้มแข็ง และมสี ว่ นร่วมสนับสนุนในการดาํ เนินงาน
6.3 มีการวางแผน/มีความรับผิดชอบ/มีความยืดหยุ่น/มีการปรับแผนงานเพื่อให้ได้เปูาหมาย
ที่กําหนดไวร้ ว่ มกัน
6.4 ผู้ปฏิบัตงิ าน/ผ้นู ําชมุ ชนมีกระบวนการสรา้ งพลังไดเ้ อง/มแี รงบนั ดาลใจ/มีทศั นคตทิ ่ีดี
6.5 มีทุนทางสังคมในพื้นที่ เช่น ศพค./ศพอส./ศูนย์ประสานงานคนพิการ/กองทุนสวัสดิการชุมชน
ทเ่ี ปน็ ต้นแบบของจังหวัด /กลุ่มอาชีพ/โรงเรียนผู้สูงอายุ
7. ขอ้ ค้นพบ
7.1 มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปูาหมายเปราะบางรายครัวเรือนให้ความสําคัญกับปัญหา
ขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ีสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเปาู หมาย
7.2 อปท./อาสาสมัคร/เครือข่าย มีส่วนร่วมในการคิด วางแผน ร่วมดําเนินการ มีความสามัคคี
มีความรับผิดชอบ มคี วามเสยี สละ มที ัศนคตทิ ่ดี ี มีจิตอาสา และรูจ้ ักบทบาทหนา้ ท่ขี องตน
7.3 การขับเคล่ือนงานบูรณาการเอ้ือให้เกิดการเรียนรู้การทํางานร่วมกัน เข้าใจวัฒนธรรมองค์กรแต่ละ
หน่วย ส่งผลใหเ้ กิดความเขา้ ใจในข้อจํากดั ของแต่ละฝุาย นาํ ไปสู่การหาแนวทางแก้ไขหรือขบั เคล่ือนให้บรรลุ
เปูาหมายร่วมกันไดเ้ ป็นอยา่ งดี
7.4 สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ทําหน้าท่ีเป็นพ่ีเลี้ยงคอยให้คําแนะนํา/ปรึกษา/
สนับสนุนการขบั เคลือ่ นงานเปน็ อยา่ งดี
8. ขอ้ เสนอแนะ
8.1 การบูรณาการความร่วมมอื ของ 12 กระทรวง ในการขับเคล่ือนโครงการฯ จะทําให้เกิด Impact
ต่อสังคมให้เห็นได้อย่างชัดเจน รวมถึงสามารถเป็น Model.ในการแก้ไขปัญหาความยากจน ปัญหาสังคม
ปรับเปลย่ี นสกู่ ารช่วยเหลือ และพัฒนาในระดบั บคุ คล/ระดับครัวเรอื น กา้ วส่สู วสั ดกิ ารสงั คมไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
8.2 ควรมกี ารทบทวนและสร้างความรคู้ วามเข้าใจร่วมกันในการขับเคล่ือนโครงการฯ ของหน่วยงาน
12 กระทรวง ในพนื้ ที่ (คณะกรรมการ ศจพ.จ)
8.3 ทําอย่างไรถึงจะเปลี่ยนภาพลักษณ์ของกระทรวง พม. จากหน่วยงานช่วยเหลือ สงเคราะห์
เป็นหนว่ ยงานแห่งการพัฒนาคุณภาพชวี ิต เน้นการชว่ ยเหลอื ท่คี าํ นึงถึงความย่งั ยืนเปน็ หลกั
8.4 สร้างพ้ืนท่ีให้เหมือนการมีกล้วยไม้บนต้นไม้ที่จะเก้ือหนุนกันไม่เหมือนกาฝากท่ีคอยดูดนํ้าเล้ียง
เบียดเบียนต้นไม้
~ 110 ~
ภาคผนวก
คาสง่ั จงั หวัดชัยภูมิ ท่ี 6287/2564 ลงวนั ที่ 31 สงิ หาคม 2564
คาสั่งจังหวัดชัยภูมิ ที่ 2013/2564 ลงวันท่ี 24 กมุ ภาพันธ์ 2564
~ 111 ~
~ 112 ~
~ 113 ~
~ 114 ~
คาสัง่ จงั หวัดชัยภมู ิ ที่ 2013/2564 ลงวนั ท่ี 24 กมุ ภาพันธ์ 2564
~ 115 ~
~ 116 ~
รายงานผลการดาเนินงานโครงการ
การบูรณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็
ตาบลตาจง อาเภอละหานทราย
จงั หวัดบุรรี มั ย์
~ 117 ~
ส่วนที่ 1
สภาพทว่ั ไปและข้อมูลพื้นฐาน
เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรมั ย์
วสิ ยั ทัศน์
“บริหารจดั การท่ีดี มีการส่งเสริมการศึกษา มุง่ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ยึดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง”
1. ดา้ นกายภาพ
1.1 ท่ตี ้ัง
ตาํ บลตาจงเปน็ ตาํ บลหน่งึ ใน 6 ตาํ บล ของอําเภอละหานทราย จงั หวดั บรุ ีรมั ย์ ห่างจากทวี่ า่ การ
อาํ เภอละหานทรายไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 10 กโิ ลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตําบลตา่ ง ๆ ดงั น้ี
ทิศเหนอื ติดต่อกับตําบลถาวรและตําบลยายแยม้ วัฒนา อําเภอเฉลิมพระเกยี รติ
จังหวดั บรุ รี มั ย์ ตําบลเขาคอกและตําบลจระเขม้ าก อําเภอประโคนชยั
ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับตําบลหนองไม้งาม อาํ เภอบา้ นกรวด จังหวดั บรุ ีรัมย์
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับตําบลหนองแวง อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับตําบลละหานทราย อาํ เภอละหานทรายและตําบลถาวร
อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวดั บุรีรมั ย์
1.2 เนื้อท่ี
เทศบาลตําบลตาจงมีเนื้อทีร่ วมทั้งส้ินประมาณ 118,125 ไร่ หรือประมาณ 189 ตารางกโิ ลเมตร
1.3 ลักษณะภมู ิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของเทศบาลตําบลตาจงมีลักษณะเป็นท่ีราบสลับเนิน มีความสูงเฉลี่ยประมาณ
200 – 236 เมตร จากระดับนํ้าทะเลพื้นทีส่ งู ลาดลงจากทิศใต้ ตํ่าลงมาด้านทิศเหนือ มีลําน้ําลําปะเทียไหลผ่าน
ตอนกลาง จากด้านทศิ ใต้ไปดา้ นทศิ เหนอื ของตําบล สภาพดินส่วนใหญ่เป็นดินรว่ นปนทราย และดินเหนียว
ปนทราย เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชไร่ ข้าว และไม้ยืนต้น พื้นท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตปุาดงดิบมาก่อน และ
ถูกบุกเบิก ประมาณ 40 ปีท่ีผ่านมา ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับเชิงเขาปลายบลัดและเชิงเขาลอย
ในด้านทิศตะวันออกเฉยี งใต้
1.4 ลักษณะภูมิอากาศ
ลกั ษณะภมู ิอากาศเปน็ แบบมรสุมมี 3 ฤดู คือ
- ฤดูร้อน เรม่ิ ตั้งแตเ่ ดือน กุมภาพนั ธ์ -พฤษภาคม อุณหภมู ิ 22 - 39 องศาเซลเซยี ส
- ฤดูฝน เร่มิ ตั้งแตเ่ ดือน มิถนุ ายน - ตลุ าคม อุณหภมู ิ 22 - 34 องศาเซลเซียส
- ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน พฤศจกิ ายน – กมุ ภาพนั ธ์ อุณหภูมิ 14 – 32 องศาเซลเซียส
1.5 ลักษณะของดิน
สภาพดนิ สว่ นใหญเ่ ป็นดนิ ร่วนปนทราย และดนิ เหนียวปนทราย เหมาะแก่การเพาะปลกู พืชไร่ ขา้ ว
และไม้ยืนตน้ พน้ื ที่สว่ นใหญ่อยู่ในเขตปุาดงดบิ มาก่อน และถูกบกุ เบิก ประมาณ 40 ปีท่ผี า่ นมาทางดา้ น
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือตดิ กับเชิงเขาปลายบลัด และเชิงเขาลอยในดา้ นทศิ ตะวันออกเฉียงใต้
~ 118 ~
2. ดา้ นการเมอื ง/การปกครอง
2.1 เขตการปกครอง
รปู แบบการปกครองสว่ นท้องถิ่นและมีจํานวนหมบู่ ้านในเขตเทศบาลตําบลตาจง
จํานวน 22 หมู่บ้าน ดังน้ี
1. บ้านยางโปงุ สะเดา หมู่ที่ 1 2. บ้านโคกตาพรม หมทู่ ่ี 2
3. บา้ นบา้ นบุ หมูท่ ่ี 3 4. บ้านละลม หมูท่ ่ี 4
5. บา้ นตาจง หม่ทู ่ี 5 6. บ้านหนองปรอื หมู่ท่ี 6
7. บ้านปรอื ใหม่พวงสาํ ราญ หม่ทู ่ี 7 8. บ้านหัวสะพาน หมูท่ ่ี 8
9. บา้ นหวั สนาม หม่ทู ี่ 9 10.บา้ นตางอน หมู่ท่ี 10
11.บา้ นโคกวา่ น หม่ทู ี่ 11 12.บ้านดอนมัน หมู่ที่ 12
13.บา้ นหวั ทํานบ หมทู่ ่ี 13 14.บ้านสวา่ งพฒั นา หมทู่ ่ี 14
15.บา้ นหนองคัน หมู่ 15 16.บา้ นหนองมดแดง หมู่ท่ี 16
16.บา้ นหนองโบสถ์ หมู่ที่ 17 18.บ้านเทพพยคั ฆ์ หมูท่ ี่ 18
17.บา้ นไทยพัฒนา หมู่ท่ี 19 20.บ้านหนองยาง หมู่ท่ี 20
18.บา้ นศลิ าทอง หม่ทู ี่ 21 22.บ้านเทพพยคั ฆ์ใต้ หมูท่ ่ี 22
2.2 การเลือกตงั้
เทศบาลตําบลตาจงมีการเลือกต้ังนายกเทศมนตรีและสมาชิกสภาเทศบาลตําบลตาจงครั้งล่าสุด
เมื่อวันท่ี 20 ตุลาคม 2556 มีนายกเทศมนตรี จํานวน 1 คน มีสมาชิกสภาเทศบาลตําบลตาจง จํานวน 12 คน
ซ่ึงมาจากการเลือกต้ังโดยแบ่งเขตการเลือกตงั้ ออกเปน็ 2 เขตการเลือกตง้ั
3. ประชากร
3.1 ข้อมูลเก่ียวกับจานวนประชากร
หมู่บ้าน บ้าน จานวนประชากร คาดการณ์ใน
2560 2561 2562 อนาคต
หมู่ 1 บ้านยางโปุงสะเดา 1,265 1,281 1,285
หมู่ 2 บ้านโคกตาพรม 969 976 972 1,290
หมู่ 3 575 588 580 975
หมู่ 4 บ้านบุ 621 646 644 585
หมู่ 5 บ้านละลม 765 759 762 648
หมู่ 6 บ้านตาจง 577 583 582 765
หมู่ 7 บ้านหนองปรือ 571 569 566 586
หมู่ 8 บ้านหนองปรือใหม่ 687 690 690 570
หมู่ 9 บ้านหัวสะพาน 586 593 596 695
หมู่ 10 บ้านหัวสนาม 1,205 1,229 1,223 599
หมู่ 11 บ้านตางอน 183 187 187 1,227
หมู่ 12 บ้านโคกว่าน 989 979 966 190
หมู่ 13 บ้านดอนมัน 306 302 296 970
บ้านหัวทํานบ 299
~ 119 ~
หมู่บ้าน บ้าน จานวนประชากร คาดการณ์ใน
2560 2561 2562 อนาคต
หมู่ 14 บ้านสว่างพัฒนา 754 773 768
หมู่ 15 บ้านหนองคัน 313 323 322 771
หมู่ 16 บ้านหนองมดแดง 1,487 1,520 1,509 325
หมู่ 17 บ้านหนองโบสถ์ 740 758 751 1,513
หมู่ 18 บ้านเทพยัคฆ์ 616 621 620 754
หมู่ 19 บ้านไทยพัฒนา 932 951 957 623
หมู่ 20 บ้านหนองยาง 869 886 870 960
หมู่ 21 บ้านศิลาทอง 655 659 667 873
หมู่ 22 บ้านเทพยัคฆ์ใต้ 637 653 649 670
รวมทั้งส้ิน 16,322 16,526 16,462 652
16,540
ทีม่ า:สาํ นกั ทะเบยี นท้องถิ่นเทศบาลตาํ บลตาจง
3.2 ช่วงอายแุ ละจานวนประชากร
หมู่บ้าน บ้าน ชว่ งอายุ 0-14 ปี ช่วงอายุ 15-59 ปี ชว่ งอายุ 60 ปี รวม
ขนึ้ ไป
หมู่ 1 บ้านยางโปุงสะเดา ชาย หญิง ชาย หญิง 1,285
หมู่ 2 บ้านโคกตาพรม 144 118 432 437 ชาย หญิง 972
หมู่ 3 บ้านบุ 96 79 345 308 71 83 580
หมู่ 4 บ้านละลม 56 45 192 187 69 75 644
หมู่ 5 บ้านตาจง 80 68 193 214 44 56 762
หมู่ 6 บ้านหนองปรือ 64 65 244 266 44 45 582
หมู่ 7 บ้านหนองปรือใหม่ 42 52 189 200 59 64 566
หมู่ 8 บ้านหัวสะพาน 65 45 201 188 43 56 690
หมู่ 9 บ้านหัวสนาม 61 66 229 229 39 28 596
หมู่ 1 บ้านตางอน 59 60 222 189 56 49 1,223
หมู่ 11 บ้านโคกว่าน 131 143 407 393 32 34 187
หมู่ 12 บ้านดอนมัน 20 16 66 60 71 78 892
หมู่ 13 บ้านหัวทาํ นบ 100 97 316 311 15 10 296
หมู่ 14 บ้านสว่างพัฒนา 23 22 109 97 68 74 768
หมู่ 15 บ้านหนองคัน 72 68 260 259 19 26 322
หมู่ 16 บ้านหนองมดแดง 37 29 101 103 40 69 1,509
หมู่ 17 บ้านหนองโบสถ์ 183 164 492 480 24 28 751
หมู่ 18 บ้านเทพยัคฆ์ 86 96 249 239 93 97 620
หมู่ 19 บ้านไทยพัฒนา 71 54 205 209 36 45 957
94 98 308 304 41 40
68 85
~ 120 ~
หมู่บ้าน บ้าน ช่วงอายุ 0-14 ปี ช่วงอายุ 15-59 ปี ช่วงอายุ 60 ปี รวม
ข้นึ ไป
หมู่ 20 บ้านหนองยาง
หมู่ 21 บ้านศิลาทอง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง
หมู่ 22 บ้านเทพยัคฆ์ใต้ 91 70 283 308 49 69 870
80 75 219 213 38 42 667
รวมทั้งสิ้น 67 69 218 200 43 52 649
1,722 1,599 5,480 5,394 1,062 1,205 16,462
4. สภาพทางสังคม
4.1. การศึกษา
ถือเป็นปัจจัยท่ีสําคัญท่ีสุดในการพัฒนาประเทศ เพราะการพัฒนาประเทศต้องอาศัยกําลังคน
ท่มี คี วามรู้เปน็ สําคัญและกําลังคนจะมีประสิทธิภาพเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา
โดยเฉพาะการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐาน ซ่ึงเป็นฐานของการศึกษาในระดับสูงต่อไป รัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอน
การกระจายอาํ นาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีบทบาทในการจัดการ
การศึกษาสาํ หรับสถานศกึ ษาในเขตตําบลตาจง มีดงั น้ี
1) โรงเรียนระดับประถมศึกษา จาํ นวน 7 แหง่
2) โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จาํ นวน 3 แหง่
3) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จํานวน 1 แหง่
4) ศนู ย์การการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัยประจําตําบล จํานวน 1 ศนู ย์
5) ศูนยอ์ บรมเดก็ กอ่ นเกณฑ์ในวดั จํานวน 2 ศนู ย์
6) ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล จาํ นวน 6 ศนู ย์
ข้อมลู โรงเรียนในตําบลตาจง
1) โรงเรยี นชุมชนวัดชมุ พร 7) โรงเรยี นบา้ นโคกขาม
2) โรงเรียนบา้ นบุ 8) โรงเรียนบ้านหนองโบสถ์
3) โรงเรียนบ้านโคกตาพรม 9) โรงเรียนบ้านหนองมดแดง
4) โรงเรียนบ้านหนองยาง 10) โรงเรยี นบ้านเทพพยัคฆ์
5) โรงเรียนบา้ นสวา่ งพัฒนา 11) โรงเรียนตาจงพิทยาสรรค์
6) โรงเรียนบา้ นปรอื พวงสาํ ราญ
4.2 การสาธารณสุข มีโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาํ บล 2 แหง่
1) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาํ บลยางโปุงสะเดา หมทู่ ่ี 1
2) โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตําบลตาจง หมทู่ ่ี 5
~ 121 ~
4.3 การสงั คมสงเคราะห์
4.31 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตําบลตาจง มีดังนี้
ช่างอายุ(ปี) จานวน(คน)
60-69 1,326
70-79 617
80-89 294
33
90 ปีข้ึนไป 2,270
รวมทั้งส้ิน
4.3.2 ผพู้ กิ ารท่ขี ้ึนทะเบียนกับเทศบาลตาํ บลตาจง จํานวน 624 คน
4.3.3 ผู้ปุวยเอดสท์ ี่ข้นึ ทะเบยี นไวก้ ับเทศบาลตาํ บลตาจงจํานวน 33 คน
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง เทศบาลตาํ บลตาจง มีทางหลวงแผ่นดิน ตลอดจนทางหลวงท้องถ่ิน (ทางหลวงชนบท)
ทีส่ ามารถใช้เดินทางติดต่อภายในตําบลและจังหวัด และระหวา่ งจังหวดั ไดส้ ะดวกทุกฤดูกาล
- เสน้ ทางในการติดต่อระหว่างอําเภอกบั เทศบาลเปน็ ถนนลาดยาง
- เส้นทางในการสัญจรภายในหมู่บ้านเปน็ ถนนคอนกรตี เสริมเหลก็ และถนนลูกรงั
- เส้นทางสัญจรไปมาภายในหม่บู ้านเปน็ ถนนลาดยางเป็นบางหมู่
5.2 การไฟฟา้
ในเขตเทศบาลตําบลตาจง มีอัตราการมแี ละใช้ไฟฟูาครบทุกหมู่บา้ นโดยเฉลีย่ แลว้ มอี ัตราการมีและ
ใชไ้ ฟฟูาประมาณร้อยละ 95 ของจาํ นวนครัวเรือน
5.3 การประปา
เทศบาลตาํ บลตาจง มีประปาใช้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
5.4 โทรศพั ท์
เทศบาลตาํ บลตาจง ในปี พ.ศ. 2559 มีโทรศัพท์ให้บริการครบทุกหมู่บ้าน
5.5 ไปรษณยี ์ การส่ือสารหรือการขนสง่ และวัสดุ ครภุ ัณฑ์ เทศบาลตําบลตาจง มไี ปรษณีย์
ใหบ้ รกิ ารในเขตเทศบาลจํานวน 1 แหง่
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
ราษฎรในเขตเทศบาลตําบลตาจง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว
มันสาํ ปะหลงั ออ้ ย สวนยาง สวนแตง ปลกู หมอ่ นเลยี้ งไหม ยคู าลิปตสั พชื ท่ปี ลกู มาก ไดแ้ ก่
1) ข้าว พันธ์ุข้าวท่ีใช้ปลูกข้าวหอมมะลิ 105, กข.6, ข้าวตาแห้ง,ข้าวเสด็จหลวงประทาน,
ขา้ วพนั ธพุ์ ้ืนเมือง (เมลด็ เล็ก) มีพน้ื ทปี่ ลกู 27,840 ไร่ ผลผลิตเฉลีย่ ตอ่ ไร่ 365 กิโลกรมั
2) อ้อยโรงงาน พนั ธทุ์ ีใ่ ชป้ ลูก ได้แก่ พันธุ์มาร์กอส,อู่ทองและK88 มีพื้นท่ีปลูก 5,231 ไร่
ผลผลติ เฉลีย่ ต่อไร่ 10,000 กโิ ลกรัม
~ 122 ~
3) มันสําปะหลัง พันธุ์ท่ีใช้ปลูกเกษตรศาสตร์ 50 ,ระยอง 5, และระยอง 60 มีพ้ืนท่ีปลูก
3,379 ไร่ ผลผลติ เฉลยี่ ตอ่ ไร่ 3,600 กโิ ลกรัม
4) ยางพารา พนั ธท์ุ ี่ใช้ปลกู อาร์อาร์ไอเอม็ 600 มพี ้ืนทีป่ ลูก 3,114 ไร่
พนื้ ท่ีดนิ ท่ีใชใ้ นการเกษตรทง้ั หมด 41,188 ไร่ แยกไดด้ งั น้ี
ท่ี ชนิดพืชท่ีปลูก พื้นที่ปลูก (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กก.)
1 ข้าว 27,840 365
2 อ้อยโรงงาน 5,231 10,000
3 มันสําปะหลัง 3,379 3,600
4 ยางพารา 3,114 2.50
5 ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 1,807 -
6 หม่อน 230 -
7 พืชผัก 154 600
6.2 ปศสุ ัตว์
โคเน้ือ เล้ียงพันธพุ์ น้ื เมือง
กระบือ เลี้ยงพนั ธุ์พนื้ เมือง
สกุ ร พนั ธล์ุ กู ผสม
ไก่ พันธพ์ุ ้ืนเมือง
เปด็ เปด็ ไข่ เป็ดเทศ
บ่อเลีย้ งปลา ขนาดเลก็ ในไร่นา เลย้ี งปลากนิ พืช
6.3 อตุ สาหกรรม
เทศบาลตําบลตาจงมีโรงงานอตุ สาหกรรม จาํ นวน 2 แหง่ คือโรงงานสับไม้ยูคาลิปตสั
6.4 การพาณิชยแ์ ละกลุ่มอาชพี ตําบลตาจงมีกลุ่มอาชีพ จาํ นวน 10 กลุ่ม ดังนี้
1) กลมุ่ ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ หมทู่ ่ี 1 และหมทู่ ี่ 20 ตําบลตาจง
2) กลุม่ ข้าวฮาง หมทู่ ี่ 5 ตําบลตาจง
3) กลุ่มผลติ เมล็ดพนั ธุ์ขา้ วชุมชนหมู่ 5 ตาํ บลตาจง
4) กลมุ่ อาชีพทําขนมอบ ขนมไทย ตาํ บลตาจง
5) กลมุ่ ปลกู ผักปลอดสารพิษ หม่ทู ี่ 12 ตาํ บลตาจง
6) กลมุ่ จักรสานหญ้าคาบา้ นสว่างพฒั นา หม่ทู ี่ 14 ตาํ บลตาจง
7) กลุ่มนวดแผนไทย นวดกดจุดสะท้อนเท้าตาํ บลตาจง
8) กล่มุ สมนุ ไพรบ้านหนองมดแดง หมู่ท่ี 16 ตําบลตาจง
9) กลุ่มผลิตพนั ธข์ุ ้าวบ้านหนองมดแดง หมทู่ ่ี 16 ตําบลตาจง
10) กลมุ่ เล้ยี งสกุ ร คมุ้ ที่ 2 หมทู่ ่ี 19 ตาํ บลตาจง
6.5 แรงงาน
ตําบลตาจงประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและมีบางส่วนเข้าไปทํางาน
ในตา่ งจงั หวัด ผวู้ า่ งงานส่วนมากเป็นผ้วู า่ งงานนอกฤดกู าล
~ 123 ~
7. เศรษฐกจิ พอเพยี งท้องถิ่น(ดา้ นการเกษตรและแหล่งนา้
7.1 ข้อมูลพ้ืนฐานของหมบู่ ้าน ในเขตเทศบาลตําบลตาจงมีประชากรรวมท้ังสิ้น 16,322 คน
โดยแยกเปน็
- ชาย 8,264 คน
- หญงิ 8,198 คน
- ความหนาแน่นของประชากรต่อพ้ืนท่ี 86.36 คน/ตารางกโิ ลเมตร
- จาํ นวนครวั เรอื น 4,196 ครัวเรือน
7.2 ข้อมูลดา้ นการเกษตร
ประชาชนในเขตเทศบาลตาํ บลตาจง ส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม เชน่ ปลูกข้าว
มนั สาํ ปะหลงั อ้อย สวนยาง สวนแตง ปลกู หม่อนเลยี้ งไหม ยคู าลิปตัส พชื ทปี่ ลูกมาก ได้แก่
1) ข้าว พันธุ์ข้าวท่ีใช้ปลูก ข้าวหอมมะลิ 105, กข.6, ข้าวตาแห้ง, ข้าวเสดจ็ หลวงประทาน,
ข้าวพันธพ์ุ ื้นเมือง (เมลด็ เลก็ ) มพี ื้นทป่ี ลูก 27,840 ไร่ ผลผลิตเฉลยี่ ต่อไร่ 365 กโิ ลกรมั
2) อ้อยโรงงาน พันธ์ุท่ีใช้ปลูก ได้แก่ พนั ธ์ุมาร์กอส,อู่ทอง และK88 มีพน้ื ที่ปลูก 5,231 ไร่
ผลผลติ เฉลย่ี ต่อไร่ 10,000 กิโลกรมั
3) มันสําปะหลงั พนั ธุท์ ี่ใช้ปลูก เกษตรศาสตร์ 50, ระยอง 5, และระยอง 60 มพี ื้นทป่ี ลูก
3,379 ไร่ ผลผลิตเฉลยี่ ต่อไร่ 3,600 กโิ ลกรมั
4) ยางพารา พันธท์ุ ใี่ ชป้ ลกู อารอ์ าร์ไอเอ็ม 600 มพี ้ืนที่ปลูก 3,114 ไร่
7.3 ข้อมูลดา้ นแหล่งน้าทางการเกษตร
คลองลาํ ปะเทีย หนองถนน หนองคล้า หนองทุ่งหวา้ หนองพะยูง หนองกระสัง หนองเกษตร
หนองตาหลอด และมีอ่างเกบ็ น้ําบ้านบุ
7.4 ข้อมูลด้านแหลง่ นา้ กิน นา้ ใช้ (หรือเพื่อการอุปโภค บริโภค)
คลองลําปะเทีย หนองถนน หนองคล้า หนองทุ่งหวา้ หนองพะยูง หนองกระสัง หนองเกษตร
หนองตาหลอด และมีอ่างเก็บน้าํ บา้ นบุ
8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
8.1 นบั ถือศาสนา ประชากรส่วนใหญใ่ นตาํ บลตาจงนับถือศาสนาพทุ ธ
8.2 ประเพณีและงานประจาปี เทศบาลตาํ บลตาจงมงี านประจําปคี ืองานสืบสานประเพณี
พธิ บี วงสรวงศาลพอ่ หวั ช้างถือเปน็ งานประจาํ ปีทเี่ ทศบาลได้ปฏิบัตสิ บื กนั มา
8.3 ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ /ภาษาถ่ิน
ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ เครื่องจักรสานไม้ไผ่ ไม้กวาดดอกหญา้ ไม้กวาดทางมะพร้าว ยาสมนุ ไพร
ภาษาถ่ินประชากรสว่ นใหญ่พูดภาษาเขมร มบี างสว่ นพดู ภาษาอสี านและพูดภาษาไทย
9. ทรพั ยากรธรรมชาติ
9.1 น้า ตําบลตาจง มีแหล่งนํ้าธรรมชาติท่ีสําคัญคือ คลองลําปะเทีย ต้นนํ้าเกิดจากเทือกเขา
บรรทัดทางตอนใต้ของอําเภอละหานทรายแล้วไหลไปทางทิศเหนือผ่านตอนกลางของตําบลตาจง มีคลองสําโรง
แยกออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีสระน้ําและหนองน้ําต่างๆ เช่น หนองถนน หนองคล้า
หนองทุง่ หว้า หนองพะยงู หนองกระสงั หนองเกษตร หนองตาหลอด และมีอา่ งเกบ็ น้ําบ้านบุ
~ 124 ~
9.2 ป่าไม้ ตําบลตาจงมีพ้ืนที่อยู่ในเขตปุาไม้ถาวร ตามมติคณะรัฐมนตรี (ปุาละหานทราย)
คดิ เป็นพน้ื ทป่ี ระมาณรอ้ ยละ 30 ของพืน้ ทีท่ ้งั ตาํ บลโดยมพี นื้ ท่ปี าุ ไม้อยบู่ รเิ วณทิศตะวันตกของตําบล
9.3 คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ตําบลตาจงมีทรัพยากรธรรมชาติ ดินทําการเกษตรมีสภาพ
เส่ือมขาดการฟื้นฟูเน่ืองจากการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานานปุาไม้มีน้อย เน่ืองมีการตัดถาง
เพ่ือทําการเกษตรจะเหลือเพียงบางส่วนท่ีเป็นพื้นท่ีสาธารณะเท่านั้น น้ํา แหล่งน้ํามีน้อยถึงแม้จะมีการขุดลอก
เพม่ิ เติมแตก่ ็ยังขาดแคลนในช่วงฤดูร้อนโดยเฉพาะแหล่งน้ําบริโภค
~ 125 ~
สว่ นที่ 2
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพื่อการจดั ลาดบั กลุม่ เปาะบางรายครัวเรอื น
1. ขอ้ มูลระบบ Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP)
TPMAP คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเปูา (Thai People Map and Analytics Platform)
ซึ่งได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เปูา (Thai.Poverty.Map.and
Analytics.Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาท่ีกว้างขึ้น เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนา
สภาพที่อยู่อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการชี้เปูาความยากจนไว้ด้วย TPMAP จึงสามารถ
ใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ หรือปัญหา
ความยากจนรายประเดน็ ซง่ึ ทําให้การแก้ปญั หาตรงกับกลุ่มเปูาหมายมากข้นึ และสามารถออกแบบนโยบาย
โครงการในการแก้ปัญหาให้ตรงกบั ความตอ้ งการหรอื สภาพปัญหาได้
ห ลั ก ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง . TPMAP.คื อ อ า ศั ย ข้ อ มู ล จ า ก ห ล า ย แ ห ล่ ง ม า ยื น ยั น ซ่ึ ง กั น แ ล ะ กั น
โดยในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าคนท่ีได้รับการสํารวจว่าจน.(survey-based).และยังมาลงทะเบียนว่าจนอีกด้วย
(register-based).น่าจะเป็นคนจนเปูาหมายท่ีต้อ งการความช่วยเหลือเร่งด่วน ดังนั้น TPMAP
จึงตั้งตน้ โดยใช้ข้อมูลความจําเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.)จากกรมการพัฒนาชุมชน และข้อมลู ผูล้ งทะเบยี นสวสั ดิการแห่งรัฐ
จากกระทรวงการคลัง มายืนยันซึ่งกันและกัน หรืออีกนัยหนึ่ง "คนจนเปูาหมาย" ใน.TPMAP.ก็คือ
คนจนใน จปฐ. ท่ไี ปลงทะเบยี นสวสั ดกิ ารแหง่ รฐั
TPMAP.ใช้วิธีการคํานวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional.Poverty.Index:.MPI)
ซึ่งคิดค้นโดย Oxford Poverty & Human Development Initiative และ United Nation Development
Programmer ซ่ึง สศช. ได้นํามาปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ.MPI.อาศัย
หลักการท่ีว่า คนจนคือผู้ที่มีคุณภาพชีวิตต่ํากว่าเกณฑ์คุณภาพชีวิตท่ีดีในมิติต่างๆ ซ่ึง.TPMAP.พิจารณาจาก
5 มติ ิ ไดแ้ ก่ ด้านสขุ ภาพ ดา้ นการศึกษา ดา้ นการเงนิ ด้านความเป็นอยู่ และดา้ นการเขา้ ถึงบริการรฐั
~ 126 ~
2. ข้อมูล TPMAP ของจังหวัดบรุ ีรัมย์
2.1 ข้อมลู ความจาเปน็ ขนั้ พืน้ ฐาน (จปฐ.)
"คนจนเปาู หมาย" ในบรุ รี มั ย์ คือ คนจนที่ต้องการความชว่ ยเหลือเร่งดว่ น เนื่องจากเปน็
คนที่ได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).จากข้อมูลความจําเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.).กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย และยังเปน็ ผู้ลงทะเบยี นบตั รสวัสดิการแห่งรัฐ จากข้อมูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ
กระทรวงการคลัง ดังนี้
ตารางท่ี 1 การสารวจขอ้ มูลความจาเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.)
การสารวจ ครวั เรอื น คน
ได้รบั การสํารวจ (จปฐ.) 336,209 1,054,211
ยากจน (จปฐ.) 30,585 128,142
2.2 ข้อมูลจานวนคนจนและดัชนีความยากจน
จํานวนคนจนและดัชนคี วามยากจน 5 มติ ิของจงั หวัดบุรรี ัมย์ มจี าํ นวนทัง้ สิ้น 39,722 คน
พบว่าจาํ นวนคนจนสูงสุด 5 ลาํ ดบั แรก คือ อําเภอเมืองบุรีรัมย์ มีจํานวนท้ังสิ้น 7,596 คน คิดเป็นร้อยละ 19.12
รองลงมา คือ อาํ เภอนางรอง มจี าํ นวน 5,044 คน คดิ เป็นร้อยละ 12.70 อันดับสาม คือ อําเภอประโคนชัย
มีจํานวน 4,215 คน คิดเป็นร้อยละ 10.61 อันดับส่ี คือ อําเภอสตึก มีจํานวน 3,245 คน คิดเป็นร้อยละ 8.17
และอันดบั หา้ คือ อาํ เภอบ้านกรวด มจี าํ นวน 2,773 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.98
ตารางท่ี 2 จานวนคนจนและดชั นีความยากจน 5 มิติ
จานวนคน ดชั นีความยากจน 5 มิติ
ลาดับ อาเภอ จนเป้าหมาย ความ การเขา้ ถึง
เปน็ อยู่ บรกิ าร
TPMAP สขุ ภาพ การศึกษา รายได้ ภาครัฐ
(คน)
8
1 กระสงั 443 49 96 106 237
3
2 คเู มือง 1,509 134 62 1,173 220
15
3 ชาํ นิ 332 19 11 18 279
6
4 นางรอง 5,044 496 702 2,705 1,785
1
5 นาโพธ์ิ 80 6 - 7 66
-
6 บ้านใหมไ่ ชยพจน์ 184 - 26 11 166
8
7 ปะคาํ 2,211 383 609 1,303 276
2
8 พทุ ไธสง 191 - 2 1 187
-
9 ละหานทราย 70 - - - 70
-
10 ลําปลายมาศ 897 778 55 - 79
8
11 สตึก 3,245 766 738 1,624 544
~ 127 ~
จานวนคน ดชั นคี วามยากจน 5 มิติ
จนเป้าหมาย
ลาดับ อาเภอ ความ การศกึ ษา รายได้ การเข้าถงึ
TPMAP สุขภาพ เป็นอยู่ บริการ
12 หนองก่ี (คน) ภาครฐั
13 หว้ ยราช 2,412 155 527 1,569 513
14 เฉลิมพระเกยี รติ 93 1 1 29 62 7
15 เมอื งบรุ รี มั ย์ 1,173 - 1 1,046 129 -
16 แคนดง 7,596 1,480 1,920 4,114 1,699 -
17 โนนดนิ แดง 364 90 22 64 225 11
18 โนนสุวรรณ -
19 ประโคนชยั 1,471 236 97 1,122 111
20 บ้านกรวด 932 184 443 113 329 -
21 บ้านด่าน 4,215 487 1,020 1,975 1,238 1
22 พลบั พลาชัย 2,773 197 42 1,810 902 14
23 หนองหงส์ 1,178 33 57 944 189 -
1,602 252 340 1,062 140 29
รวม 1,707 115 52 1,426 176 -
39,722 5,861 6,823 22,222 9,622 2
115
แผนภมู ิที่ 1 เปรียบเทียบจานวนคนจนเป้าหมาย TPMAP รายอาเภอ
~ 128 ~
แผนภมู ิท่ี 2 ดชั นคี วามยากจน 5 มิติ
ตามแผนภมู ทิ ี่ 2 ดชั นีความยากจน 5 มติ ิของจังหวดั บรุ ีรมั ย์ พบวา่ ปัญหาความท่ีตอ้ งการ
ความช่วยเหลอื มากท่สี ุด คือมิตดิ า้ นการศกึ ษา มีจาํ นวนท้ังสิ้น 22,222 คน คิดเป็นร้อยละ 49.78 รองลงมา
คือ มิติด้านรายได้ มีจํานวน 9,622 คน คิดเป็นร้อยละ 21.55 มิติด้านความเป็นอยู่ มีจํานวน 6,823 คน
คดิ เป็นร้อยละ 15.28 มิติสุขภาพ มีจํานวน 5,861 คิดเป็นร้อยละ 13.13 และมิติด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ
จํานวน 115 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.26 ตามลาํ ดับ
2.3 การจาแนกครัวเรอื นเปา้ หมายระดับชุมชน 3 ระดบั
การวิเคราะห์ข้อมูลตามระบบ Thai People Map and Analytics Platform หรือ TPMAP
จํานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
เพื่อจําแนกครวั เรอื นเปูาหมายระดบั ชมุ ชนเปน็ 3 ระดับ ดังน้ี
1. สีเขียว หมายถงึ ตกเกณฑ์ 1 ด้าน/หมวด
2. สีเหลือง หมายถึง ตกเกณฑ์ 2-3 ด้าน/หมวด
3. สแี ดง หมายถึง ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน/หมวด
ตารางที่ 3 จานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑร์ ายอาเภอ
ลาดั อาเภอ จานวนคนจน จานวนหมวดยากจนท่ตี กเกณฑ์ (ครวั เรือน) รวม
บ เปา้ หมาย (ครวั เรือน)
TPMAP 1 2345
(คน) หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด 262
829
1 กระสัง 443 237 23 2 0 0 180
2 คเู มือง 2,802
3 ชาํ นิ 1,509 798 30 1 0 0
4 นางรอง
332 175 4 1 0 0
5,044 2,497 271 30 4 0
~ 129 ~
ลาดั จานวนคนจน จานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์ (ครวั เรอื น) รวม
บ เปา้ หมาย (ครวั เรอื น)
อาเภอ TPMAP 1 2345
(คน) หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด 51
80 114
5 นาโพธิ์ 184 51 0 0 0 0 1,249
6 บา้ นใหม่ไชยพจน์ 2,211 103 11 0 0 0 111
7 ปะคํา 191 1,065 164 20 0 0 42
8 พทุ ไธสง 70 110 1 0 0 0 632
9 ละหานทราย 897 42 0 0 0 0 1,748
10 ลาํ ปลายมาศ 3,245 621 11 0 0 0 1,424
11 สตกึ 2,412 1,520 215 13 0 0 54
12 หนองก่ี 93 1,229 174 18 3 0 669
13 ห้วยราช 1,173 54 0 0 0 0 4,217
14 เฉลมิ พระเกยี รติ 7,596 667 2 0 0 0 218
15 เมืองบรุ รี มั ย์ 364 3,483 607 114 12 1 739
16 แคนดง 196 22 0 0 0 563
17 โนนดนิ แดง 1,471 689 48 2 0 0 2,303
18 โนนสุวรรณ 932 464 83 16 0 0 1,524
19 ประโคนชยั 4,215 2,050 229 20 4 0 620
20 บา้ นกรวด 2,773 1,433 88 2 1 0 939
21 บ้านด่าน 1,178 592 24 3 1 0 958
22 พลับพลาชยั 1,602 843 85 11 0 0 22,249
23 หนองหงส์ 1,707 920 35 3 0 0
39,722 19,839 2,127 256 25 1
รวม
~ 130 ~
แผนภูมทิ ่ี 3 เปรียบเทียบจานวนหมวดยากจนที่ตกเกณฑ์
จากแผนภูมิท่ี 3 เปรียบเทียบจํานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์ พบว่าคนจนส่วนใหญ่
ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น มจี าํ นวน 19,989 คน คิดเป็นร้อยละ 89.17 รองลงมาคือ ตกเกณฑ์ 2 ด้าน มีจํานวน 2,127 คน
คิดเป็นร้อยละ 9.56 ตกเกณฑ์ 3 ด้าน มีจํานวน 256 คน คิดเป็นร้อยละ 1.15 ตกเกณฑ์ 4 ด้าน
มีจํานวน 25 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.11 และตกเกณฑ์ 5 ด้าน มีจํานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0 .01
แผนภาพท่ี 1 แสดงการจัดกลุ่มอาเภอตามการจาแนกครวั เรือนเป้าหมายระดับชุมชน 3 ระดบั
สามารถจัดกลุ่มอําเภอ โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้ดังนี้ 1) ระดับสีเขียว ได้แก่ อําเภอนาโพธิ์
อําเภอละหานทราย อําเภอห้วยราช 2) ระดับสีเหลือง ได้แก่ อําเภอกระสัง อําเภอคูเมือง อําเภอชํานิ อําเภอ
บ้านใหม่ไชยพจน์ อําเภอปะคํา อําเภอพุทไธสง อําเภอลําปลายมาศ อําเภอสตึก อําเภอเฉลิมพระเกียรติ
อําเภอแคนดง อําเภอโนนดินแดง อําเภอโนนสุวรรณ อําเภอพลับพลาชัย อําเภอหนองหงส์ 3) ระดับสีแดง
ไดแ้ ก่ อําเภอนางรอง อาํ เภอหนองก่ี อําเภอเมอื งบุรีรัมย์ อําเภอประโคนชัย อาํ เภอบา้ นกรวด อําเภอบ้านดา่ น
~ 131 ~
2.4 การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัดบรุ รี ัมย์
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 สํานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดบุรีรัมย์
ให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย เป็นเงินสงเคราะห์และเงินกู้ยืมประเภทต่างๆ จํานวน 9,055 ราย
ประกอบด้วย เงินสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน.จํานวน.1,577.ราย.เงินสงเคราะห์
ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ท่ีพ่ึง จํานวน.3,258.ราย.เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลําบาก
จํานวน 376 ราย เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จํานวน.2,689.ราย.เงินสงเคราะห์และฟ้ืนฟู
สมรรถภาพคนพิการ จํานวน 305 ราย เงินกู้ยืมเพื่อประกอบอาชีพผู้สูงอายุ จํานวน 243 ราย เงินกู้ยืม
เพ่ือประกอบอาชีพคนพิการ จํานวน 320 ราย โครงการซ่อมแซมปรับปรุงสภาพแวดล้อมท่ีอาศัยให้แก่
ผพู้ กิ าร จาํ นวน 208 ราย และโครงการปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มท่อี ยอู่ าศยั ให้แก่ผูส้ ูงอายุ จาํ นวน 71 ราย
ตารางท่ี 4 จานวนการใหก้ ารสงเคราะห์แต่ละประเภทจาแนกรายอาเภอ
ประเภทเงนิ สงเคราะห์ เงินกู้ยืม ปรับปรงุ
เพ่อื การ สภาพ
ประกอบ แวดล้อม
อาชพี ทอ่ี ยอู่ าศัย
อาเภอ ฟ้ืนฟู รวม
กระสงั กรณี ผมู้ รี ายได้ ผูส้ ูงอายุใน เดก็ ใน สมรรถ ผูส้ ูง คน ผสู้ ูง คน 775
คูเมอื ง ฉกุ เฉนิ น้อยและ ภาวะ ครอบครั ภาพ อายุ พกิ าร อายุ พิการ 455
ชาํ นิ ผู้ไร้ทพ่ี ่ึง วยากจน คน 137
นางรอง ยากลาบาก 526
นาโพธ์ิ 75
บา้ นกรวด พิการ 469
บ้านดา่ น 69
บา้ นใหมไ่ ชยพจน์ 124 293 63 232 19 21 13 6 4 177
ประโคนชัย 963
ปะคาํ 7 368 5 33 0 5 15 1 21 270
พลบั พลาชัย 225
พุทไธสง 35 43 3 47 0 1 3 2 3 138
ละหานทราย 328
138 171 38 98 20 20 22 8 11
1 46 0 11 2 8 6 0 1
38 353 0 29 5 9 20 1 14
1 44 1 8 3 5 4 1 2
56 67 2 38 2 1 5 3 3
273 310 50 226 38 12 26 6 22
55 137 9 33 9 3 11 2 15
50 60 2 94 7 4 3 0 5
24 59 11 26 2 4 6 5 1
24 132 3 60 14 2 10 2 8
~ 132 ~
ประเภทเงนิ สงเคราะห์ เงินกยู้ มื ปรบั ปรงุ
เพื่อการ สภาพ
ประกอบ แวดล้อม
อาชพี ท่อี ยู่อาศัย
อาเภอ ฟ้นื ฟู รวม
ลําปลายมาศ กรณี ผู้มรี ายได้ ผสู้ ูงอายุใน เด็กใน สมรรถ ผู้สูง คน ผู้สูง คน
สตกึ ฉกุ เฉิน นอ้ ยและ ภาวะ ครอบครั ภาพ อายุ พิการ อายุ พกิ าร
หนองกี่ ผูไ้ ร้ทพ่ี ่ึง วยากจน คน
หนองหงส์ ยากลาบาก
หว้ ยราช
เฉลมิ พระเกียรติ พิการ
เมืองบรุ รี ัมย์
แคนดง 73 224 35 282 24 8 33 12 13 704
โนนดนิ แดง
โนนสุวรรณ 86 182 78 200 25 23 14 3 3 614
รวม 40 68 22 133 9 4 21 8 21 326
13 176 12 94 23 23 9 0 26 376
95 77 28 179 19 11 8 3 1 421
26 57 3 37 8 3 10 0 3 147
217 311 12 619 58 67 63 4 21 1372
23 15 10 37 8 3 7 1 9 113
80 41 0 42 9 1 5 0 0 178
25 24 1 131 1 5 6 3 1 197
1,577 3,258 376 2,689 305 243 320 71 208 9,055
แผนภมู ิท่ี 4 เปรยี บเทยี บจานวนการให้การสงเคราะหแ์ ตล่ ะประเภท
~ 133 ~
แผนภูมทิ ่ี 5 เปรียบเทยี บการให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายรายอาเภอ
จากแผนภมู ทิ ี่ 5 พบวา่ การสงเคราะหแ์ ละชว่ ยเหลอื กลุม่ เปาู หมายสงู สดุ 5 ลาํ ดบั แรก ได้แก่ อําเภอ
เมืองบุรีรัมย์ มีจํานวน 1,372 คน คิดเป็นร้อยละ 15.15 รองลงมา คือ อําเภอประโคนชัย มีจํานวน 963 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.64 ลาํ ดับท่ีสาม คือ อําเภอกระสงั มจี ํานวน 775 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.56 ลําดับท่ีสี่ คือ
อาํ เภอลําปลายมาศ มีจํานวน 704 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.77 และลําดับท่ีห้า คือ อําเภอสตึก มีจํานวน 614 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 6.78
3. ขอ้ มูล TPMAP ตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวดั บุรีรมั ย์
3.1 คนจนเปา้ หมายตามจานวนหมวดทีต่ กเกณฑ์
ข้อมูลจากระบบ TPMAP ตําบลตาจง อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ มีคนจนเปูาหมาย
จํานวน 11 คน แบ่ง 3 ระดับ ได้ดังน้ี ระดับสีเขียว จํานวน 11 หมู่ ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านยางโปุงสะเดา หมู่ท่ี 2
บ้านโคกตาพรม หมู่ท่ี 3 บ้านบุ หมู่ท่ี 13 บ้านหัวทํานบ หมู่ที่ 14 บ้านสว่างพัฒนา หมู่ที่ 17 บ้านหนองโบสถ์
หม่ทู ่ี 22 บ้านเทพพยัคฆใ์ ต้ ระดับสเี หลือง และไมพ่ บคนจนเปาู หมายในระดบั สแี ดง รายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี
ตารางที่ 6 จานวนคนจนเปา้ หมายตามจานวนหมวดทีต่ กเกณฑ์
หมู่บ้าน ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ รวม
1 ดา้ น 2 ดา้ น 3 ดา้ น 4 ด้าน 5 ด้าน (คน)
หมู่ท่ี 1 บ้านยางโปุงสะเดา
หมทู่ ี่ 2 โคกตาพรม 1 - - - - 1
หมู่ท่ี 3 บ้านบุ 2 - - - - 2
หมทู่ ี่ 13 บา้ นหัวทํานบ 1 - - - - 1
หมู่ท่ี 14 บ้านสว่างพัฒนา 1 - - - - 1
2 - - - - 2
~ 134 ~
หมบู่ า้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ รวม
1 ด้าน 2 ด้าน 3 ด้าน 4 ด้าน 5 ด้าน (คน)
หมทู่ ี่ 17 บ้านหนองโบสถ์
หมู่ท่ี 22 บ้านเทพพยัคฆ์ใต้ 3 - - - - 3
1 - - - - 1
รวม 11 11
0 0 0 0
แผนภูมิท่ี 6 เปรยี บเทียบคนจนเป้าหมายตามจานวนหมวดทต่ี กเกณฑร์ ายหมบู่ า้ น
จากแผนภูมิที่ 6 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดที่ตกเกณฑ์ พบว่าคนจน
เปาู หมายมากท่สี ุด คอื หมู่ท่ี 17 บา้ นหนองโบสถ์ มีจํานวน 3 คน คิดเป็นร้อย 27.27 รองลงมา คือ หมู่ท่ี 2
บา้ นโคกตาพรม และหมูท่ ่ี 14 บ้านสวา่ งพฒั นา มีจํานวน 2 คนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 18.18 อันดับสาม คือ หมู่ท่ี 1
บ้านยางโปงุ สะเดา หมทู่ ี่ 3 บ้านบุ หมู่ที่ 13 บา้ นหัวทาํ นบ และหมทู่ ่ี 22 บ้านเทพพยคั ฆ์ใต้ มีจํานวน 1 คนในสัดส่วน
ท่เี ทา่ กนั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09
แผนภูมทิ ี่ 7 เปรยี บเทยี บคนจนเปา้ หมายตามจานวนดา้ นที่ตกเกณฑ์
~ 135 ~
จากแผนภูมิท่ี 7 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์.พบว่าตกเกณฑ์ 1 ด้าน
มีจาํ นวนท้ังส้ิน 11 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ตกเกณฑ์ 2 ด้าน ตกเกณฑ์ 3 ด้าน ตกเกณฑ์ 4 ด้าน
และตกเกณฑ์ 5 ด้าน ไม่มี
3.2 จานวนคนจนเป้าหมายตามดัชนีความยากจน 5 มติ ิ
จํานวนคนจนเปาู หมายตามดชั นีความยากจน 5 มิติ พบว่า คนจนเปูาหมายส่วนใหญ่ตกเกณฑ์
ดา้ นความเปน็ อยู่ (ท่ีอยู่อาศัย) และไมพ่ บการตกเกณฑด์ า้ นสขุ ภาพ ดา้ นการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการ
เข้าถึงบริการของรัฐ รายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้
ตารางท่ี 7 จานวนคนจนเป้าหมายตามดชั นีความยากจน 5 มติ ิ
หม่บู ้าน ตก ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ จานวน
เกณฑ์ ด้าน ดา้ น ด้าน ดา้ นการ คนตก
หมทู่ ี่ 1 บา้ นยางโปุงสะเดา ด้าน ความ รายได้ เขา้ ถึง เกณฑ์
หมูท่ ี่ 2 โคกตาพรม สุขภาพ เปน็ อยู่ การศกึ ษา บรกิ าร
หมทู่ ่ี 3 บา้ นบุ ภาครัฐ 1
บ้าน 13 บ้านหัวทํานบ - 1- - 2
บ้าน 14 บา้ นสวา่ งพัฒนา - 2- - - 1
บา้ น 17 บ้านหนองโบสถ์ - 1- - - 1
บ้าน 22 บ้านเทพพยัคฆใ์ ต้ - 1- - 2
- 2- - - 3
รวม - 3- - 1
- 1- - - 11
0 11 0 0 -
-
-
0
แผนภมู ทิ ่ี 8 คนจนเป้าหมายตามดัชนคี วามยากจน 5 มิติ
~ 136 ~
จากแผนภูมทิ ี่ 8 จาํ นวนคนจนเปูาหมายตามดชั นีความยากจน 5 มิติ พบว่า คนจนเปูาหมายส่วนใหญ่
ตกเกณฑ์ดา้ นความเปน็ อยู่ (ที่อยูอ่ าศัย) มจี าํ นวน 11 ครวั เรือน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพ
ตกเกณฑ์ดา้ นการศึกษา ตกเกณฑ์ด้านรายได้ และไม่พบครวั เรอื นทต่ี กเกณฑ์ด้านการเข้าถึงบริการของรฐั
4. การสงเคราะห์และชว่ ยเหลือกลุ่มเป้าหมาย
ปีงบประมาณพ.ศ.2563–2564 สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดบุรีรัมย์
ให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย ในพื้นที่ตําบลตาจง อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์
เปน็ เงินสงเคราะห์ผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คมกรณฉี ุกเฉนิ จํานวน 11 ราย
ตารางที่ 8 จานวนการใหก้ ารสงเคราะหร์ ะดบั หมูบ่ า้ น
หมบู่ ้าน เงินสงเคราะห์ผู้ เงนิ สงเคราะห์ เงินสงเคราะหแ์ ละ รวม
ประสบปัญหาทาง ครอบครวั ผมู้ ีรายได้ ฟ้นื ฟูสมรรถภาพ
หมู่ท่ี 1 บา้ นยางโปุงสะเดา สังคมกรณีฉุกเฉิน นอ้ ยและผู้ไรท้ ่พี ึ่ง 1
หมู่ที่ 2 โคกตาพรม คนพกิ าร 2
หมทู่ ่ี 3 บา้ นบุ 1 - - 1
บา้ น 13 บา้ นหวั ทาํ นบ - - 1
บ้าน 14 บา้ นสวา่ งพฒั นา 2 2
บา้ น 17 บา้ นหนองโบสถ์ - - 3
บา้ น 22 บ้านเทพพยัคฆใ์ ต้ 1 1
- - 11
รวม 1
- -
2
- -
3
- -
1
0 0
11
แผนภมู ทิ ี่ 9 เปรียบเทยี บการใหก้ ารสงเคราะหร์ ะดับหมู่บา้ น
~ 137 ~
จากแผนภูมิท่ี 9 พบว่าการให้การสงเคราะห์ส่วนใหญ่ คือ หมู่ท่ี 17 บ้านหนองโบสถ์ มีจํานวน 3 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 27.27 รองลงมาคอื หมทู่ ี่ 2 บา้ นโคกตาพรม หมู่ท่ี14 บ้านสว่างพัฒนา มีจํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ
18.18 เท่ากัน และอันดับท่ีสามคือ หมู่ที่ 1 บ้านยางโปุงสะเดา หมู่ที่ 3 บ้านบุ หมู่ที่ 13 บ้านหัวทํานบ หมู่ท่ี 22
บา้ นเทพพยัคฆ์ใต้ มีจํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 เท่ากัน
คาอธิบาย
TPMAP สามารถระบุได้วา่ “คนจนเปาู หมาย” มีปัญหาอะไรบ้างในแต่ละมิติ จากข้อมูลจํานวนคน
ในครัวเรือนยากจนที่ตกตัวช้ีวัดความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในแต่ละมิติ โดยคัดเลือกจากตัวชี้วัด จปฐ.
(31 ตัวชีว้ ดั ) ทนี่ ํามาใชใ้ นการคํานวณดัชนคี วามยากจนหลายมติ ิ (MPI) จํานวน 17 ตัวชี้วดั ดังนี้
ดา้ นสขุ ภาพ (เลอื ก 4 ตวั ชว้ี ัด จาก 7 ตัวชว้ี ดั )
เดก็ แรกเกดิ มีนา้ํ หนัก 2,500 กรัมขึน้ ไป
ครวั เรอื นกนิ อาหารถูกสขุ ลกั ษณะ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน
ครัวเรือนมีการใช้ยาเพ่อื บําบัด บรรเทาอาการเจบ็ ปุวยเบ้ืองตน้ อย่างเหมาะสม
คนอายุ 6 ปีขน้ึ ไป ออกกําลังกายอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วัน วนั ละ 30 นาที
ด้านความเปน็ อยู่ (เลอื ก 4 ตวั ช้วี ัด จาก 7 ตวั ชี้วดั )
ครัวเรอื นมคี วามมัน่ คงในทอ่ี ย่อู าศัย และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร
ครัวเรือนมนี า้ํ สะอาดสาํ หรับด่มื และบริโภคเพียงพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 5 ลิตรต่อวัน
ครวั เรอื นมีน้ําใช้เพยี งพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 45 ลิตรตอ่ วัน
ครวั เรือนมีการจดั การบา้ นเรอื นเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลกั ษณะ
ดา้ นการศกึ ษา (เลอื ก 4 ตวั ชี้วดั จาก 5 ตวั ชี้วัด)
เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รบั บริการเลี้ยงดเู ตรียมความพร้อมกอ่ นวัยเรยี น
เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปี
เดก็ จบชั้น ม.3 ได้เรียนตอ่ ช้นั ม.4 หรอื เทียบเท่า
คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคดิ เลขอย่างง่ายได้
ด้านรายได้ (เลอื ก 3 ตัวชวี้ ดั จาก 4 ตัวช้ีวัด)
คนอายุ 15-59 ปี มอี าชีพและรายได้
คนอายุ 60 ปขี ้นึ ไป มีอาชีพและรายได้
รายไดเ้ ฉล่ียของคนในครวั เรือนตอ่ ปี
ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารรัฐ (เลอื ก 2 ตัวช้วี ัด จาก 8 ตัวชี้วดั )
ผูส้ งู อายุ ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
ผู้พกิ าร ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
นอกจากนั้น TPMAP ยังสามารถเปรียบเทียบข้อมูลปีต่อปี ทําให้เห็นสภาพปัญหาว่ามีทิศทางปรับ
ลดหรือรุนแรงมากขนึ้ เพียงใด ซ่ึงสามารถนาํ มาใช้ประเมินปัจจัยที่อาจส่งผลต่อปัญหาดังกล่าว หรือประเมิน
ประสิทธภิ าพของนโยบายทเ่ี กดิ ข้นึ ในช่วงเวลาน้ันได้ ซงึ่ จะชว่ ยให้การแก้ปัญหาตรงจุด และเลือกนโยบายได้
มปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน
~ 138 ~
ส่วนท่ี 3
การวิเคราะหป์ ญั หาโดยคนในชุมชน
3.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศกั ยภาพในพนื้ ท่ี
การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพเพื่อประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันโอกาส
การพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่นของตําบลตาจง โดยใช้หลักการวิเคราะห์.SWOT.(SWOT.Analysis)
โดยการพิจารณาปัจจัยต่างๆ สภาพปัจจุบันของหมู่บ้าน ปัญหา ศักยภาพ อุปสรรค โอกาส ในข้อเสนอ
ในเวทีประชาคม ทส่ี ามารถบ่งช้ีสภาพปญั หาและความตอ้ งการของคนในชมุ ชนได้ ดังนี้
1) ปจั จัยสภาวะแวดล้อมภายใน ไดแ้ ก่ จดุ แข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weakness)
2) ปัจจัยสภาวะแวดล้อมภายนอก ได้แก่ โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threats)
3.1.1 จุดแข็ง
1) เปน็ องค์กรท่ีใกลช้ ิดประชาชนสามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนได้อยา่ งแท้จรงิ
2) บคุ ลากรไดร้ ับการส่งเสริมสนบั สนนุ ใหม้ ศี ักยภาพในการพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง
3) ประชาชนมวี ิถีชีวติ คลา้ ยคลงึ กัน ขนบธรรมเนยี มประเพณีแบบอย่างเดยี วกันและเปน็
สงั คมชนบททัง้ ตําบล
4) ประชาชนมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาท้องถนิ่
3.1.2 จดุ ออ่ น
1) ประชาชนสว่ นใหญ่พึ่งพาเศรษฐกจิ ภาคเกษตร ซึ่งต้องพ่ึงพาธรรมชาติ
2) ประชาชนมรี ายไดไ้ ม่เพยี งพอกบั รายจ่าย
3) ประชาชนบางส่วนอพยพแรงงานไปทํางานต่างพน้ื ท่ี
4) ขาดการส่งเสริมอาชพี อย่างต่อเนื่อง
5) มพี ้นื ท่รี บั ผิดชอบขนาดใหญ่
3.1.3 โอกาส
1) นโยบายภาครฐั สนบั สนนุ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ มบี ทบาทในการจัดบริการ
สาธารณะของท้องถ่นิ
2) ไดร้ บั งบประมาณจากภาครัฐและหน่วยงานอื่นในการพัฒนาทอ้ งถนิ่
3.1.4 อุปสรรค
1) งบประมาณมคี ่อนข้างจาํ กดั ทาํ ใหก้ ารพัฒนาท้องถิ่นในด้านต่างๆไมเ่ พยี งพอต่อความ
ต้องการของประชาชนการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องปฏิบัติตามอํานาจหน้าท่ีกฎหมาย
ระเบยี บบงั คบั
~ 139 ~
3.2 การวเิ คราะห์สภาพปัญหาของพนื้ ทต่ี าบลตาจง
ลาดบั ชื่อปัญหา สาเหตุปัญหา ข้อบ่งชี้สภาพ แนวทางการแกไ้ ข
ความสา ขนาด และความ ปัญหา
คญั ของ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ/ 1.การพึ่งพารายได้จาก รุนแรงของปญั หา
ปญั หา โครงสร้างพืน้ ฐาน เศรษฐกิจภาคการเกษตร 1.ส่งเสริมให้เกษตรกร
รุนแรงมาก พฒั นาผลผลิตหรือแปร
1 ซ่ึงตอ้ งพงึ่ พาธรรมชาติ รู ป ใ ห้ ไ ด้ ต า ม ค ว า ม
2.ราคาผลผลิตการเกษตร ปานกลาง ตอ้ งการของตลาด
2 ตกตํ่า 2.พัฒนาสินค้า.OTOP
3 . ก า ร ไ ม่ มี อ า ชี พ ใ น ช่ ว ง และส่งเสริมช่องทาง
ว่างเว้นจากฤดูเก็บเกี่ยว กา ร ต ล า ด จํ า ห น่ า ย
ผลผลิตการเกษตร/ขาด สินค้าของท้องถิ่น
อาชพี เสรมิ 3 . ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ส ร้ า ง
4.ขาดการส่งเสริมอาชีพ อาชีพเสริมในท้องถ่ิน
ต่อเนอ่ื ง ช่วงว่างเว้นจากฤดูเก็บ
5.ครวั เรือนมหี นี้ส้นิ เพมิ่ ขึน้ เกยี่ วผลผลติ
6.สถานการณ์ระบาดของ 4.ส่งเสริมการออมและ
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น
5 . ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ใ ห้
ปัญหาด้านสังคมและ 1.การย้ายถิ่นฐานไปทํางาน ปฏิบัติตามมาตรการ
ควบคุมการระบาดของ
คุณภาพชีวิต ต่างจังหวัด เนื่องจากความ โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา
อยา่ งเคร่งครดั
ยากจน ทําให้เกิดภาวะ 1.ส่งเสริมและพัฒนา
ค ร อ บ ค รั ว ใ ห้ มี ค ว า ม
ค ร อ บ ค รั ว แ ห ว่ ง ก ล า ง อบอนุ่
2 . ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร
ครอบครัวข้ามรุ่น หรือ แ ก้ ปั ญ ห า ค รั ว เ รื อ น
ย า ก จ น ใ น ก ลุ่ ม ค น
ผู้สูงอายุถูกทอดท้ิงให้อยู่ เปราะบางในพ้นื ท่ี
3 . ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร มี ส่ ว น
ลําพงั ร่วมและพัฒนาทักษะ
ชวี ิตของคนในหมู่บ้าน/
2 . ก า ร อ ยู่ อ า ศั ย ใ น ชมุ ชน
4.รณรงค์และส่งเสริม
สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ก า ร ดู แ ล ต น เ อ ง ก า ร
ที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม / ไ ม่ ถู ก
สุข ลัก ษณ ะ 3. กา รไ ม่ มี
กรรมสทิ ธ์ใิ นทด่ี ินอยู่อาศยั
~ 140 ~
ลาดบั ช่ือปัญหา สาเหตปุ ญั หา ข้อบ่งชีส้ ภาพ แนวทางการแก้ไข
ความสา ขนาด และความ ปญั หา
คญั ของ 4.การขาดทักษะ/ทุนใน รนุ แรงของปัญหา
ปญั หา การประกอบอาชีพ รักษาสุขภาพตลอดจน
นอ้ ย ก า ร ดู แ ล ผู้ ปุ ว ย ใ น
3 ปัญหาด้านทรัพยากร 1.สภาพดินเสื่อมโทรม/ ค ร อ บ ค รั ว ต า ม ห ลั ก
น้อย อนามัย
4 ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ การกัดเซาะพื้นที่การเกษตร 1 . จั ด ห า แ ห ล่ ง นํ้ า
เ พี ย ง พ อ ต่ อ ก า ร ทํ า
ส่งิ แวดลอ้ ม 2.แหล่งนํ้าเพ่ือการเกษตร การเกษตร
2 . ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร รั ก ษ า
ไมเ่ พยี งพอ หนา้ ดนิ /การบํารงุ ดิน
3.เสริมสร้างการมีส่วน
3.การบุกรุกพ้ืนที่ปุาไม้/ท่ี รว่ มและความหวงแหน
ในการอนุรักษ์ทรัพยากร
สาธารณะเพื่อประกอบ ปาุ ไม้ใหเ้ กิดความย่ังยนื
1.ชุมชนและหน่วยงาน
อาชีพ ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ร่ ว ม กั น
วางแผนแก้ไขปัญหา
ปัญหาด้านความม่ันคง 1.การไม่มีกรรมสิทธิ์ใน การใช้ประโยชน์ท่ีดิน
อยา่ งย่ังยนื
และความสงบ ที่ ดิ น ทํ า กิ น แ ล ะ ท่ี ดิ น อ ยู่ 2 . ชุ ม ช น ร่ ว ม กั น เ ฝู า
ระวังและสอดส่อง เพ่ือ
อาศัย ปูองกันภัยจากบุคคล
ภายนอกท่ีแฝงเข้ามา
2.ความไม่ปลอดภัยในชีวิต ในพน้ื ที่
3.มีระบบการสื่อสาร
และทรัพย์สิน เน่ืองจาก แ จ้ ง ข่ า ว ที่ ร ว ด เ ร็ ว ใ น
พ้นื ที่
พื้ น ท่ี มี ช่ อ ง ท า ง เ ข้ า อ อ ก
หลายทาง และอยู่ติดกับ
เขตชายแดน
~ 141 ~
สว่ นที่ 4
แผนปฏบิ ัติการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง
4.1 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาสังคมและคุณภาพชวี ิต
4.1.1 พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
4.1.2 พฒั นาคุณภาพชวี ติ
4.1.3 ยุทธศาสตร์พฒั นาส่งเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและนนั ทนาการ
4.1.4 พัฒนาการบรหิ ารจดั การท่ดี ี
4.2 เป้าประสงค์
4.2.1 ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี
4.2.2 การจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพ
4.2.3 เด็กและเยาวชนไดร้ บั การพัฒนาและมีพัฒนาการทเ่ี หมาะสมกับวยั
4.2.4 ระบบบริหารจดั การมีประสทิ ธิภาพ
4.2.5 ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาท้องถิน่
4.2.6 สบื สานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี
4.2.7 ประชาชนยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการดํารงชีวิต
4.2.8 เสริมสรา้ งทรัพยากรธรรมชาตแิ ละรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม
4.3 ตัวช้ีวดั
4.3.1 ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี
4.3.2 มกี ารสืบสาน วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี
4.3.3 ประชาชนไดร้ ับการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ
4.3.4 เด็กและเยาวชนได้รับการพฒั นาอยา่ งเหมาะสม
4.3.5 มีทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งยง่ั ยนื
4.3.6 ประชาชนมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ
4.3.7 มีโครงสร้างพน้ื ฐานอย่างเพียงพอ
4.3.8 ประชาชนได้รบั การบริการอย่างมีประสิทธภิ าพ
4.4 ค่าเปา้ หมาย
4.4.1 รอ้ ยละของประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี
4.4.2 รอ้ ยละของประชาชนได้รบั การศึกษาที่มคี ุณภาพ
4.4.3 รอ้ ยละของเด็กและเยาวชนได้รบั การพฒั นาอยา่ งเหมาะสม
4.4.4 ร้อยละของประชาชนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาท้องถน่ิ
4.4.5 รอ้ ยละโครงสรา้ งพื้นฐาน
4.4.6 ร้อยละประชาชนได้รับการบริการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
4.4.7 ร้อยละของการสบื สาน วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี
~ 142 ~
4.5 กลยุทธ์
4.5.1 พฒั นาส่งเสรมิ สุขภาพอนามัยทดี่ ี
4.5.2 พฒั นาแก้ไขปญั หาสงั คมและความปลอดภัยในทรัพย์สนิ
4.5.3 พัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
4.5.4 การพัฒนาส่งเสรมิ และพัฒนารายได้
4.5.5 พฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
4.5.6 พัฒนาส่งเสรมิ การศกึ ษา
4.5.7 พัฒนาส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ
4.5.8 พฒั นาส่งเสรมิ และอนรุ ักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณี
4.5.9 พัฒนาส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ยี ว
4.5.10 พฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน
4.5.11 พฒั นามสี ่วนรวมของประชาชน
4.5.12 ระบบบรหิ ารจดั การมีประสิทธภิ าพ
4.6 จดุ ยืนทางยุทธศาสตร์
4.6.1 ยทุ ธศาสตร์พัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน
4.6.2 ยุทธศาสตร์พัฒนาสง่ เสรมิ การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและนันทนาการ
4.6.3 ยทุ ธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิต
4.6.4 ยทุ ธศาสตร์พัฒนาการบริหารจัดการที่ดี
4.7 แผนปฏบิ ัติการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ ระยะ 3 ปี (2564-2566)
ประเด็นการพฒั นาท่ี 1 การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตกล่มุ คนเปราะบางในชมุ ชน
ที่ โครงการ/กิจกรรม กลมุ่ เป้าหมาย วงเงนิ งบประมาณ (บาท) หนว่ ยงาน
2564 2565 2566 ท่ีรับผิดชอบ
1 การสงเคราะห์ครอบครัว กลมุ่ คน 106,000 100,000 100,000 -สนง.พมจ.
ผู้ประสบปัญหาทางสังคม เปราะบางใน บรุ ีรัมย์
ทกุ กลมุ่ เปาู หมาย ตําบลตาจง
2 การซอ่ มแซมและปรบั คนพกิ ารที่มี 60,000 100,000 100,000 -สนง.พมจ.
สภาพแวดลอ้ มท่ีอยู่อาศยั สภาพท่ีอยู่อาศยั บรุ รี ัมย์
สาํ หรบั คนพกิ าร ไมเ่ หมาะสม -ศนู ยบ์ ริการ
คนพิการจงั หวัด
บรุ ีรมั ย์
3 การก้ยู มื เงินประกอบอาชพี คนพิการและ 150,000 150,000 150,000 -สนง.พมจ.
สาํ หรบั คนพกิ ารและผูส้ ูงอายุ ผู้สูงอายทุ ีม่ ี บรุ ีรมั ย์
ศักยภาพในการ -ศูนย์บริการ
ประกอบอาชีพ คนพกิ ารจงั หวัด