The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการดำเนินงานโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

~ 43 ~

สว่ นที่ 7
สรปุ ผลการถอดบทเรียนโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง

7.1 การวิเคราะหส์ ภาพปญั หาในพื้นท่ี
7.1.1 การยา้ ยถ่ินฐานคนในวยั ทาํ งาน คนหนมุ่ สาวไปทาํ งานในเมอื งและตา่ งประเทศ
7.1.2 ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว ทําให้ขาดรายได้ช่วงหลัง

เก็บเก่ยี วผลผลิตทางการเกษตร
7.1.3 การย้ายถิ่นฐานไปทํางานต่างจังหวัดของวัยทํางาน ส่งผลให้ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามลําพัง/

ผูส้ งู อายุตอ้ งเลี้ยงดูหลานตามลาํ พงั /ผู้สูงอายถุ ูกทอดทิง้
7.1.4 ประชาชนส่วนใหญ่ไม่สามารถรวมกลุ่มเพ่ือดําเนินการด้านเศรษฐกิจในรูปแบบของกลุ่มอาชีพ

ท่ีเข้มแข็งได้ เน่ืองจาก อาทิเช่น ต้องออกไปทํางานนอกบ้าน ไม่มีความรู้ด้านอาชีพนั้นๆ ไม่มีทุนทรัพย์
ในการลงทนุ เปน็ ต้น

7.1.5 เยาวชนท่ีจบการศึกษาแล้วต้องไปทาํ งานในเมืองหรอื ต่างจังหวัด เน่ืองจากในพื้นที่ไม่มีสถานประกอบ
กจิ การขนาดใหญ่ ไม่มโี รงงานในพ้ืนที่

7.1.6 ไมม่ ตี ลาดรองรบั สนิ คา้ ทางการเกษตรในพ้นื ที่ จงึ ต้องไปขายสนิ คา้ ในพื้นที่ขา้ งเคยี ง

7.2 การไดม้ าซ่ึงครัวเรอื นเปราะบาง
7.2.1 ฐานข้อมูลทน่ี ํามาวเิ คราะห์
1) ข้อมูลในระบบของตําบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคมปี 2562-2563 (Social map/Family Data/

เงินอดุ หนนุ ของ ศคพ.นม./จปฐ./บตั รสวัสดิการแห่งรัฐ) รวมจํานวน 445 ราย
2) ข้อมูลใน TPMAP จาํ นวน 41 ราย
3) ผูน้ าํ ชมุ ชนค้นหาและเสนอเพม่ิ เตมิ จาํ นวน 65 ราย

7.2.2 คณะทาํ งานสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็ จังหวัดนครราชสีมา กรองฐานข้อมูลเพ่ือให้ได้ครัวเรือน
เปราะบางทางสังคมท่ีเดือดร้อนต้องช่วยเร่งด่วนช่วยตามภารกิจกระทรวง พม. จํานวน 2 ครั้ง (วันท่ี 11
กุมภาพันธ์ 2564 และ วันท่ี 5 มนี าคม 2564)

1) ฐานขอ้ มูลตาํ บลสรา้ งเสริมสวสั ดกิ ารสังคม จํานวน 108 ราย
2) ขอ้ มูลใน TPMAP จํานวน 9 ราย
3) ผู้นาํ ชุมชนคน้ หาและเสนอเพ่มิ เตมิ จาํ นวน 65 ราย
7.2.3 สรุปการคดั กรองครัวเรอื นเปราะบางทีน่ าํ มาแก้ไขปญั หารายครวั เรอื นในพื้นที่ จาํ นวน 35 ครัวเรอื น
1) อยใู่ นฐานข้อมลู ตาํ บลสรา้ งเสริมสวัสดิการสงั คม จํานวน 24 ครวั เรอื น
2) อยู่ในฐานข้อมูลที่ผูน้ ําชุมชนเพม่ิ เติม จาํ นวน 10 ครวั เรอื น
3) อยู่ในฐานข้อมูลทั้งตําบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคมและ TPMAP จํานวน 1 ครัวเรือน
(สาํ หรับครวั เรือนจํานวน 8 ราย ศคพ.นม. ช่วยเหลือตามภารกิจกระทรวง พม. คือ เงินสงเคราะห์ครอบครัว
ผูม้ รี ายไดน้ ้อยและผู้ไร้ท่พี ง่ึ )

~ 44 ~

7.3 สภาพปัญหากลุม่ เป้าหมายรายครัวเรอื น
7.3.1 ดา้ นรายได้และการมงี านทํา จาํ นวน 35 ครัวเรอื น
7.3.2 ดา้ นสุขภาพ จํานวน 9 ครวั เรอื น
7.3.3 ด้านความเป็นอยู่ (ทอ่ี ยอู่ าศัย) จาํ นวน 10 ครวั เรือน
7.3.4 ดา้ นการศกึ ษา จาํ นวน 11 ครัวเรอื น

7.4 ผลการช่วยเหลอื รายครัวเรือน
7.4.1 ดา้ นการมีงานทาและรายได้
- เงินสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งและผู้มีรายได้น้อย จํานวน 35 ครัวเรือน โดย ศูนย์คุ้มครอง

คนไร้ที่พง่ึ จงั หวัดนครราชสีมา
- เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จํานวน 3 ครัวเรือน โดย สํานักงานพัฒนาสังคม

และความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัดนครราชสมี า
- เงินทุนประกอบอาชีพผู้พิการ จํานวน 3 ครัวเรือน โดย สํานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดนครราชสีมา
- เมล็ดพันธ์ุผัก/ต้นพันธุ์มะพร้าว/พันธ์ุไก่/พันธ์ุปลา จํานวน 35 ครัวเรือน โดย สํานักงาน

พฒั นาชุมชนอําเภอโนนแดง/เกษตรอาํ เภอโนนแดง/ปศุสตั ว์อําเภอโนนแดง
7.4.2 ด้านสขุ ภาพ
- ดแู ลสขุ ภาพผู้มีโรคประจาํ ตวั /ผ้พู ิการตดิ เตียง/ผ้ปู วุ ยเรื้อรงั ในครอบครัว จํานวน 9 ครัวเรือน

โดย อสม./รพ.สต./รพ.โนนแดง
- การติดตามเย่ียมเยียนและให้บริการด้านสุขภาพ ผู้พิการ/ผู้สูงอายุ/ผู้ปุวย ตามภารกิจ

จาํ นวน 14 ครัวเรือน โดย อสม.
7.4.3. ดา้ นการศกึ ษา
- เงินทุนการศึกษาสําหรับเด็กในครอบครัวยากจน จํานวน 15 ครัวเรือน ของ กองทุน

ส่งเสรมิ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)
- รถจักรยานสําหรับนักเรียนยากจนและพ้ืนที่ห่างไกล จํานวน 15 ครัวเรือน โดย บริษัท

เดจไี อ เงนิ ทุนหลักทรัพย์
7.4.4 ดา้ นความเป็นอยู่ (ทอ่ี ย่อู าศัย)
- ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัยและปรับปรุงท่ีอยู่อาศัยให้เอ้ือต่อการดํารงชีวิตของผู้สูงอายุ

จาํ นวน 1 ครัวเรอื น โดย สํานกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั นครราชสมี า
- ซ่อมแซม/ตอ่ เตมิ บ้านผู้พกิ าร จาํ นวน 2 หลงั โดย กองทุนสลากกินแบ่งรฐั บาล
- ซอ่ มแซมบา้ นผพู้ ิการ จํานวน 1 หลัง โดย มนุษย์ล้อเอเชีย
- ให้คําแนะนําในการปรับสภาพแวดล้อมและท่ีอยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ จํานวน 4 ครัวเรือน

โดย รพ.สต./พม./อบต.

~ 45 ~

7.5 โครงการ/กิจกรรมทด่ี าเนนิ การในพน้ื ที่
7.5.1 โครงการตาํ บลสร้างเสริมสวัสดิการสังคม ปี 2564 โดย ศูนยค์ มุ้ ครองคนไรท้ ่พี ึง่ จงั หวัดนครราชสมี า
7.5.2 โครงการอบรมนวัตกรทางสังคมในชมุ ชน โดย ศนู ย์ค้มุ ครองคนไรท้ ีพ่ ึง่ จงั หวดั นครราชสีมา
7.5.3 กิจกรรมจดั ระเบยี บคนขอทานและคนไร้ที่พ่ึง โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดนครราชสีมา
.7.5.4 กิจกรรมรถพุ่มพวงห่วงใย ให้กําลังใจช่วงโควิด โดย อพม.โนนแดง(เย่ียมยามถามไถ่)

โดย ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ที่พงึ่ จงั หวดั นครราชสมี า และ อพม.ตาํ บลโนนแดง
7.5.5 กจิ กรรมบรกิ ารตดั ผมเคลือ่ นท่ชี ว่ งโควิด โดย อพม.ตาํ บลโนนแดง

7.6 ปัญหา อุปสรรค
7.6.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(โควิด-19) ทําให้ไม่สามารถ

จัดกจิ กรรมและขบั เคลอ่ื นงานตามแผนท่ีกําหนดได้
7.6.2 บุคลากรภาครัฐมีภารกิจหลายด้าน โดยเฉพาะภารกิจประจําภายใต้บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน

ทําให้มีขอ้ จาํ กัดเรื่องเวลา แก้ไขโดยให้เครือข่ายผ้นู ําในพน้ื ที่เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนงาน
7.6.3 การลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบาง จํานวน 35 ครัวเรือน เฉพาะ สสว.4 ศูนย์คุ้มครอง

คนไร้ที่พึ่งจังหวัดนครราชสีมา และสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครราชสีมา
ซึ่งมีคณะทํางานบางส่วนไม่ได้ลงเยี่ยมกลุ่มเปูาหมายทําให้มีข้อจํากัดในความเข้าใจพ้ืนท่ี มองไม่เห็นสภาพ
ของปัญหา ไมไ่ ดเ้ หน็ สภาพจริง มีขอ้ จาํ กัดในการจดั ทําแผนช่วยเหลือโดยเฉพาะการกําหนดแผนระยะกลาง
ระยะยาว ในขณะเดียวกันเมื่อกลุ่มเปูาหมายกลุ่มเปราะบางต้องการพัฒนาอาชีพซึ่งต้องการความรู้เฉพาะทาง
แต่ทีมทล่ี งพน้ื ทเ่ี ปน็ นักสังคมไม่สามารถสนับสนนุ ได้

7.7 ปัจจัยความสาเร็จ
7.7.1 มีผู้นําชุมชน เครือข่าย ที่เข้มแข็ง ผู้นําท้องถิ่น (อบต. และเทศบาลตําบลโนนแดง) ท้องท่ี

(ผใู้ หญ่บา้ น) สามารถทาํ งานรว่ มกนั อยา่ งมเี อกภาพ
7.7.2 ทมี One.Home.จงั หวดั นครราชสมี า ทํางานร่วมกันได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และมีสํานักงาน

ส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 ใหค้ ําแนะนําและขบั เคล่อื นรว่ มกนั
7.7.3 มนี ายอําเภอเป็นประธานคณะทาํ งานขับเคลอื่ นการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ตําบลโนนแดง

ทาํ ใหก้ ารบูรณาการหนว่ ยงานในพื้นทที่ ําได้อย่างราบร่ืน
7.7.4 ผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถ่ิน มองข้ามตัวตน ไม่ยึดติด กรณีบางความช่วยเหลือไม่ได้

ประสานผา่ นองคก์ ารบริหารส่วนท้องถิ่น แต่ยินดีให้ผู้นําชุมชนประสานตรงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยยึด
ประโยชน์สูงสุดของชาวบ้านเป็นสําคัญ และพร้อมที่จะสนับสนุนหากผู้นําชุมชนต้องการ เช่น ด้านการ
ประสานงาน ดา้ นเอกสาร

7.7.5 มปี ระธานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ตําบลโนนแดง เป็นประธานระดับอําเภอ
และทํางานด้านนี้มาต่อเน่ืองทําให้มีความเข้าใจ รู้ช่องทาง มีข้อมูล มีประสบการณ์ รวมถึงมีจิตสาธารณะ
มุง่ มน่ั ต้งั ใจ ยดึ ประโยชน์ของชาวบา้ นเป็นหลกั

7.7.6 การให้ความสําคัญกับการคัดกรองกลุ่มเปูาหมาย และลงพื้นที่เพ่ือให้เห็นสภาพจริง
ก่อนกาํ หนดแผนการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ให้กบั กลุ่มเปาู หมาย สง่ ผลใหเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื

7.7.7 แนวทางการพัฒนากลุ่มเปูาหมายในพื้นที่เน้นแนวคิด บวร (บ้าน วัด โรงเรียน) ทําให้เกิด
การบูรณาการอย่างย่งั ยืน และใชเ้ คร่อื งมอื สมุดพกครอบครวั

~ 46 ~

7.8 ขอ้ คน้ พบ
7.8.1 กล่มุ เปูาหมายท่ีร่วมกันพิจารณาได้รับการช่วยเหลือทั้งหมด และสามารถต่อยอด ไม่ได้หยุด

อยแู่ คก่ ารสงเคราะหส์ ามารถพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตอย่างย่ังยนื ได้
7.8.2.กลุ่มเปราะบาง กลุ่มเปูาหมายได้รับการช่วยเหลือ พัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเป็นรูปธรรม

ท่ีสําคัญไม่เพียงเป็นการช่วยเหลือแค่เฉพาะหน้า แต่มีแผนระยะกลาง ระยะยาว ท่ีจะเกิดการพัฒนา
อย่างยัง่ ยืนตอ่ ไป

7.8.3 เกิดศรัทธาผูน้ าํ เน่อื งจากกระบวนการเออ้ื ใหช้ ่วยคนได้จริง ประชาชนจงึ เกิดความเชอ่ื มนั่
7.8.4.ความม่ันใจในการขับเคล่ือนงานในรูปแบบของการบูรณาการ เกิดประสิทธิภาพเอ้ือให้เกิด
การทํางานรว่ มกันตอ่ ไปในอนาคต
7.8.5 เกดิ คนตน้ แบบในการแก้ไขปัญหา พฒั นาคณุ ภาพชีวิตอย่างเปน็ รูปธรรม ใชข้ ยายผลได้
7.8.6.พื้นท่ีจัดการตนเอง หลายๆ ครั้ง หลายๆ ปัญหา พื้นที่จะบริหารจัดการด้วยตนเองก่อน
นอกจากเกินความสามารถจะประสานความรว่ มมือหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
7.8.7.ผู้นําชุมชนให้ความร่วมมือ ทํางานร่วมกันเป็นเอกภาพท้ังผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน/
อพม./อสม..มคี วามกระตอื รือรน้

7.9 ขอ้ เสนอแนะ
7.9.1 ควรมีการขยายวธิ คี ดิ (Mind set) จิตอาสา มีการสรา้ งผู้นํารุ่นใหม่ คนรุ่นใหม่ เพ่ือเป็นกลไก

ขับเคลื่อนงานด้านสงั คมต่อไป
7.9.2 การกาํ หนดพ้ืนทเี่ ปูาหมายดาํ เนนิ การ หากเปน็ พื้นทีเ่ ดยี วกันกบั พนื้ ท่ีสร้างเสริมสวัสดิการสังคม

ทข่ี บั เคลอ่ื นโดยศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ง่ึ ได้ จะทาํ ให้การขับเคลื่อนงานมีประสิทธิภาพเนื่องจากมีความพร้อม
ด้านผูน้ ําและขอ้ มลู

7.9.3 การบูรณาการขับเคล่ือนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เน้นให้เกิดการทํางานร่วมกันจึงมีหลาย
หน่วยงานเข้ามาร่วมคิด วิเคราะห์ คัดกรองข้อมูลกลุ่มเปราะบาง ควรมีการมอบหมายบทบาทให้ชัดเจน
โดยเฉพาะหน่วยงานหลกั ท่ีจะรบั ผิดชอบในแตล่ ะประเดน็

7.9.4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางท่ีเป็นกรณีเฉพาะ หรือประเด็นท่ีมีหน่วยงาน
รับผิดชอบโดยเฉพาะ ควรประสานหน่วยงานรับผิดชอบหลักในประเด็นนั้นร่วมลงพื้นที่ไปพร้อมกัน
เช่น กรณเี ด็ก เปน็ ต้น

~ 47 ~

ภาคผนวก

คาสัง่ จังหวัดนครราชสมี า ท่ี 4534/2564 ลงวนั ท่ี 30 เมษายน 2564

~ 48 ~

~ 49 ~

~ 50 ~

คาสั่งจังหวัดนครราชสมี า ท่ี 3274/2564 ลงวนั ที่ 25 มีนาคม 2564
คาสง่ั จังหวดั นครราชสีมา ที่ 3274/2564 ลงวนั ที่ 25 มนี าคม 2564

~ 51 ~

คาสั่งจงั หวัดนครราชสมี า ท่ี 3274/2564 ลงวนั ท่ี 25 มนี าคม 2564

~ 52 ~

~ 53 ~

~ 54 ~

รายงานผลการดาเนินงานโครงการ
การบูรณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็
ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชยั ภูมิ

จังหวัดชัยภูมิ

~ 55 ~

สว่ นที่ 1

สภาพทัว่ ไปและข้อมลู พนื้ ฐาน

1. ขอ้ มูลพน้ื ฐานของตาบลโนนสาราญ
1.1 ประวตั ิองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลโนนสาราญ

องค์การบริหารส่วนตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ สําหรับตําบลโนนสําราญ
ไดร้ บั การจดั ต้งั เมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยแยกออกมาจากตําบลบ้านค่าย และยกฐานะจากสภาตําบลโนนสําราญ
อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ เป็นองค์การบริหารส่วนตําบลโนนสําราญ เมื่อวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2540
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ืองจัดต้ังองค์การบริหารส่วนตําบล มาตรา 40 และมาตรา 41
แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมือ่ วนั ท่ี 16 ธันวาคม 2539 และได้ปรบั ขนาดจากขนาดเลก็ เปน็ ขนาดกลาง เมอื่ วนั ที่ 24 กรกฎาคม 2551

1.2 วิสัยทัศน์
“ตําบลเกษตรกรรมยั่งยืน อุตสาหกรรมครัวเรือนมีคุณภาพ สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง
สุขภาพดถี ้วนหนา้ พัฒนาความพร้อมท้องถิ่นก้าวสปู่ ระชาคมอาเซยี น”

1.3 พนั ธกจิ
1) พฒั นาการผลติ ทางการเกษตรและเกษตรอินทรีย์แบบยั่งยนื
2) พัฒนาอุตสาหกรรมครัวเรือนให้มคี ณุ ภาพ เพ่อื เขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น
3) การพัฒนาศกั ยภาพของคน และชมุ ชนให้เข้มแขง็ และสามารถพง่ึ พาตนเองได้
4) พฒั นาทอ้ งถิ่นให้น่าอยู่ มีความสงบ สะดวก สะอาด ปลอดภัย และมรี ะเบยี บวินัย
5) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแหลง่ น้ํา และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม

อยา่ งยั่งยนื
6) การเสริมสรา้ งครอบครัวชุมชนให้มีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ี มคี วามสุข มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม

อยู่ในสังคมที่เขม้ แขง็ ปลอดภัยจากยาเสพตดิ และผ้มู อี ทิ ธิพล ถอื ประโยชนส์ ่วนรวมเปน็ สําคัญ

~ 56 ~

7) การส่งเสริมการศกึ ษา ศาสนา และอนรุ ักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมอันดงี าม และภมู ปิ ญั ญา
ของท้องถนิ่

8) การพฒั นาและยกระดับคณุ ภาพชีวติ ให้มคี วามเขม้ แขง็ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

9) บริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมให้มคี วามสมบูรณ์ และยง่ั ยืน
10) การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อการบริหารและการบริการให้มปี ระสิทธิภาพย่ิงขึ้น
เพอื่ สนบั สนุนการบริหารจดั การทดี่ ี
11) สร้างระบบบริหารจัดการทีด่ ี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผน
พัฒนาการตรวจสอบเพ่ือใหเ้ กิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง

1.4 ขนาดท่ตี งั้ และอาณาเขต
องค์การบริหารส่วนตําบลโนนสําราญ ต้ังอยู่เลขท่ี 3 หมู่ 8 ตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ
จังหวัดชัยภูมิ สําหรับตําบลโนนสําราญ ได้รับการจัดต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยแยกออกมาจากตําบล
บ้านค่าย และยกฐานะจากสภาตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ เป็นองค์การบริหาร
สว่ นตาํ บลโนนสําราญ เมอ่ื วนั ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ืองจัดตั้งองค์การ
บรหิ ารส่วนตาํ บล มาตรา 40 และมาตรา 41 แหง่ พระราชบญั ญัตสิ ภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล
พ.ศ. 2537 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2539 และได้ปรับขนาดจากขนาดเล็ก
เป็นขนาดกลาง เม่ือวันท่ี 24 กรกฎาคม 2551 ครอบคลุมพื้นท่ีท้ังหมด 10 หมู่บ้าน มีพื้นท่ีทั้งหมด 32.56
ตารางกิโลเมตร ประมาณ 20,345 ไร่ เป็นตําบลหนึ่งใน 18 ตําบลของอําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
ห่างจากท่ีวา่ การอาํ เภอเมอื งระยะทางประมาณ 21 กิโลเมตร

ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั ตาํ บลหนองไผ่ อําเภอเมอื ง จงั หวัดชัยภมู ิ
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั ตําบลบา้ นเหลื่อม อําเภอบา้ นเหลอ่ื ม จงั หวดั นครราชสีมา
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับตาํ บลสีสกุ อําเภอแกง้ สนามนาง จงั หวดั นครราชสมี า
ทิศตะวันตก ติดต่อกับตําบลบ้านค่าย อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ชยั ภูมิ

1.5 ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพโดยทัว่ ไปเปน็ ที่ราบสลบั ท่ดี อนและลาดเอยี งลงทางทศิ ใต้จนถึงแม่นํ้าชี ซึ่งเป็นเส้นก้ันเขตแดน
ระหว่างจังหวัดชัยภูมิกบั จังหวัดนครราชสมี า ภูมปิ ระเทศโลง่ แจ้งสลับกับแหล่งนํ้ามีลําห้วยมากมายกระจาย
ในตาํ บล เชน่ แมน่ าํ้ ชี ลําปกึ ห้วยคลองจอก กุดช้าง และกุดระเริง เป็นตน้

~ 57 ~

จุดเด่นของพน้ื ท่ี (ทเ่ี ออื้ ตอ่ การพฒั นา).ตําบลโนนสําราญ เป็นตําบลท่ีมีพื้นท่ีไม่ใหญ่มากนัก
ลักษณะหมู่บ้านมีลักษณะตั้งเป็นวงกลมรอบตําบล แต่ละหมู่บ้านอยู่ไม่ห่างไกลกันนัก จึงง่ายต่อการพัฒนา
นอกจากน้ีตําบลโนนสําราญ ยังมีแหล่งนํ้าธรรมชาติอีกเป็นจํานวนมากหากมีการขุดลอกแหล่งน้ําท่ีตื้นเขิน
ให้อยู่ในสภาพที่สามารถเก็บกักน้ําไว้ใช้ตลอดท้ังปีได้ก็จะเป็นผลดียิ่ง สําหรับประชาชนในตําบลท่ีส่วนมาก
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จะสามารถปลูกพืชหมุนเวียนได้ตลอดทั้งปี โดยพื้นท่ีตําบลมีความสูง
จากระดบั น้าํ ทะเลปานกลางเฉลย่ี 180 เมตร และพน้ื ท่ีตาํ บลมีลํานํ้าไหลผ่านหลายสาย ด้านตะวันตกไปด้านใต้
มีแม่น้ําชีไหลจากเขตติดต่อตําบลบ้านค่าย เป็นเส้นก้ันอาณาเขตระหว่างจังหวัดชัยภูมิกับจังหวัดนครราชสีมา
ด้านเหนือไปด้านใต้มีลําห้วยคลองจอกหรือลําปึกไหลผ่านบ้านง้ิว หมู่ท่ี 7 บ้านโนน หมู่ท่ี 1 บ้านโนนสําราญ
หมู่ที่ 2 บ้านกะพ้ี หมู่ที่ 3 บา้ นดอนขวาง และหมู่ท่ี 4 ไหลลงสู่แมน่ ํา้ ชี

1.6 ลกั ษณะภมู ิอากาศ
สภาพภูมิอากาศของตําบลโดยท่ัวไปมีลักษณะร้อนชื้น.อยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนมี 3 ฤดู
โดยระยะเวลาในแต่ละฤดูอาจคลาดเคล่ือนไปตามสภาพดินฟูาอากาศในแต่ละปี มีอากาศหนาวจัดในฤดูหนาว
ร้อนจัดในฤดรู อ้ น และชว่ งฝนสลบั กบั ช่วงแหง้ แลง้ แตกต่างกันอย่างชัดเจนตามหว้ งเวลาตามฤดูกาล

ฤดรู ้อน ประมาณช่วงเดือนมนี าคมถึงเดอื นพฤษภาคม
ฤดฝู น ประมาณชว่ งกลางเดือนพฤษภาคมถงึ เดือนตลุ าคม
ฤดูหนาว ประมาณช่วงเดอื นพฤศจิกายนถึงเดอื นกมุ ภาพันธ์
ระยะเวลาในการปลูกพชื ทเ่ี หมาะสมในช่วงกลางเดือนเมษายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน

1.7 ลกั ษณะของดนิ
ตําบลโนนสําราญ เป็นพื้นที่เหมาะสมกับการทําการเกษตรปลูกข้าว อ้อย ถ่ัวลิสง ซ่ึงดินส่วนใหญ่
จะเป็นดนิ ร่วนปนทราย

1.8 ลักษณะของแหล่งนา้
น้าอุปโภคบริโภค ประชาชนส่วนใหญ่จะใช้น้ําจากระบบประปาภูมิภาค ยกเว้น บ้านโนนสําราญ
หมู่ที่.2,9.ใช้ระบบประปาหมู่บ้าน มีนํ้าใช้เพียงพอ.2,206.ครัวเรือน.นํ้าด่ืมเพียงพอ.2,206.ครัวเรือน
(ท่มี า : ข้อมูลแผนพฒั นาเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการเกษตรและแหล่งนํา้ ปี 2559)
แหลง่ น้าธรรมชาติ
• ลํานํ้าชีต้นนํ้าอยู่บริเวณเทือกเขาพญาฝุอในเขตอําเภอหนองบัวแดงไหลผ่านหนองบัวระเหว
บ้านเขว้า จัตุรัส เนินสง่า เมืองชัยภูมิ คอนสวรรค์ และแก้งคร้อ ซึ่งตําบลโนนสําราญจะไหลผ่านบริเวณ
บ้านโสกหว้า หมู่ท่ี 6 และบ้านแกง้ นอ้ ย หมู่ที่ 5
• ลําห้วยคลองจอก ไหลผ่านบ้านง้ิว หมู่ที่ 7 บ้านโนนสูงสะอาด หมู่ท่ี 1 บ้านโนนสําราญ หมู่ที่ 2
บา้ นกะพี้ หม่ทู ่ี 3 บ้านดอนขวาง หมู่ท่ี 4
แหล่งนา้ ท่สี รา้ งขึ้น
• ตาํ บลโนนสาํ ราญไดร้ ับการถ่ายโอนจากสถานีสูบน้ําด้วยพลังงานไฟฟูาจากฝุายปฏิบัติการ สูบน้ํา
ด้วยพลงั งานไฟฟาู เม่ือปี พ.ศ. 2547 จาํ นวน 4 สถานี ได้แก่ สถานีสูบนํ้าด้วยไฟฟูาบ้านโสกหว้า หมู่ที่ 6 , สถานีสูบนํ้า
บ้านแก้งน้อย 1 , แก้งน้อย 2 และสถานีสูบน้ําบ้านดอนขวาง หมู่ท่ี 4 มีพื้นที่รับประโยชน์ทั้งหมดประมาณ 6,803 ไร่
หรือรอ้ ยละ 30.19 ของเนอื้ ทต่ี าํ บล
- สระนาํ้ รพช. สระวดั สระใหมก่ ุดกลาง - ประปาหมู่บ้าน บ่อบาดาล และบอ่ นา้ํ ต้ืน
- ฝายทดน้ําวงั กะพี้ ฝายทดนาํ้ บา้ นดอนขวาง และฝายทดน้าํ ทา่ โปรง่ (ลําปึก)

~ 58 ~

2. ดา้ นการเมือง/การปกครอง
2.1 เขตการปกครอง/ขอ้ มูลเกยี่ วกับจานวนประชากร
ตําบลโนนสําราญมีจํานวนหมู่บ้านท้ังหมด 10 หมู่บ้าน อยู่ในพ้ืนที่องค์การบริหารส่วนตําบล

โนนสําราญ 10 หมบู่ ้าน ได้แก่

ตารางที่ 1 ข้อมูลหม่บู ้าน จานวนครัวเรือน และจานวนประชากร

หมู่ที่ ชือ่ หมู่บา้ น จานวน จานวนประชากร (คน) รวม ช่อื ผนู้ าหมู่บ้าน
ครัวเรอื น ชาย หญงิ (คน)

หมู่ที่ 1 บ้านโนน 289 382 417 799 นายปรารภ รักษ์มณี

หมทู่ ่ี 2 บา้ นโนนสาํ ราญ 241 368 402 770 นายไสว เรงิ รัง

หมู่ท่ี 3 บ้านกะพี้ 178 276 278 554 นายสุชาติ โพธิ์หนองคณู

หมู่ท่ี 4 บา้ นดอนขวาง 126 207 195 402 นายบญุ ศรี ชอ่ งศรี

หม่ทู ่ี 5 บา้ นแจง้ น้อย 275 467 449 916 นายทวี นยิ มพนั ธ์

หมู่ที่ 6 บ้านโสกหว้า 132 206 198 404 นายวชิ ัย นิยมพงษ์

หมทู่ ี่ 7 บา้ นงิ้ว 269 338 363 701 นางอภญิ ญา จงกล

หมทู่ ่ี 8 บา้ นโนนสูงสะอาด 311 531 535 1,066 นางมณีรตั น์ กลุ นอก

หมู่ท่ี 9 บ้านโนนสาํ ราญ 206 329 368 697 นายอนชุ า กลุ เมืองน้อย

หมทู่ ี่ 10 บ้านง้ิวพัฒนา 190 299 308 607 นายณรัช เฮา้ ชัยภมู ิ

รวม 2,217 3,403 3,513 6,916

จากตารางท่ี 5 ข้อมูลหมู่บ้าน จํานวนครัวเรือน และจํานวนประชากร พบว่าหมู่บ้านท่ีมี
จํานวนครัวเรือนมากท่ีสุด 5 ลําดับแรก คือ หมู่ท่ี 8 บ้านโนนสูงสะอาด 311 ครัวเรือน รองลงมา คือ หมู่ท่ี 1
บ้านโนน 289 ครัวเรือน หมู่ท่ี 5 บ้านแจ้งน้อย 275 ครัวเรือน หมู่ท่ี 7 บ้านง้ิว 269 ครัวเรือน และหมู่ท่ี 2
บ้านโนนสําราญ 241 ครัวเรือนตามลําดับ และหมู่บ้านที่มีประชากรสูงสุด 5 ลําดับแรก คือ หมู่ที่ 8
บ้านโนนสูงสะอาด 1,066 คน รองลงมา คือ หมู่ที่ 5 บ้านแจ้งน้อย 916 คน หมู่ที่ 1 บ้านโนน 799 คน หมู่ท่ี 2
บา้ นโนนสําราญ 770 คน และหมู่ท่ี 7 บา้ นงิ้ว 701 คน ตามลําดบั

~ 59 ~
แผนภูมิแสดง 1 จานวนประชากรระดบั หมู่บา้ นจาแนกตามเพศ

ชาย หญงิ ครัวเรอื น

600 535

500 449
417 402 363 368

400

300 278 308

200 195 198

100
382 368 276 207 467 206 338 531 329 299

0

2.2 ชว่ งอายุและจานวนประชากร ชาย หญงิ รวม
30 30 60
ชว่ งอายุ 777 686 1,463
อายุ น้อยกวา่ 1 ปี 1,013 912 1,925
อายุ 1-20 ปี 1,024 1,206 2,230
อายุ 21-40 ปี 507 592 1,099
อายุ 41-60 ปี 60 92 152
อายุ 61-80 ปี -- -
อายุ 81-100 ปี 3,411 3,518 6,929
อายมุ ากกว่า 100 ปี

รวม

~ 60 ~

3. ขอ้ มูลด้านสงั คม

3.1 การศกึ ษา
• โรงเรยี นในเขตพนื้ ที่ตําบลโนนสาํ ราญ มีจาํ นวน 3 โรงเรียน ซ่ึงสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชัยภูมิ

เขต.1.ประกอบดว้ ย
1) โรงเรียนฉมิ พลวี ิทยา
2) โรงเรียนโนนสําราญวทิ ยา
3) โรงเรยี นบา้ นแจ้งน้อย

• ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั บ้านโนน ประจําตําบลโนนสาํ ราญ จํานวน 1 แหง่
มีจํานวนนักเรียนแยกตามระดับการศึกษา ดังนี้ ประถมศึกษา จํานวน 53 คน มัธยมศึกษาตอนต้น 221 คน
มธั ยมศึกษาตอนปลาย 206 คน

3.2 สาธารณสุข
ตําบลโนนสําราญ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตําบลบ้านโนน 1 แห่ง ซ่ึงพอจะบําบัดความ

เจบ็ ปุวยของประชาชนในระยะเรม่ิ ต้น การให้บริการด้านสาธารณสุขยังมปี ญั หาเกีย่ วกับการขาดแคลนปัจจัย
ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การให้บริการเป็นต้นวา่ งบประมาณ บคุ ลากร และวัสดุครุภณั ฑก์ ารแพทยท์ ่จี ําเปน็

4. ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ

4.1 ดา้ นการเกษตร
จากการสาํ รวจข้อมูลเพอ่ื จดั ทาํ แผนพฒั นาเศรษฐกิจพอเพยี งท้องถ่นิ (ดา้ นการเกษตรและแหล่งนํ้า)
ประจาํ ปี 2559 พบว่า มีครัวเรอื นทีท่ ําการเกษตรทง้ั หมด 2,252 ครัวเรือน แบ่งเป็น

1) มอี าชีพทาํ นา 1,953 ครวั เรอื น จาํ นวน 11,627 ไร่
2) ทําสวนมะมว่ ง 19 ครวั เรือน จํานวน 18 ไร่
3) ทาํ สวนกล้วย 31 ครวั เรือน จาํ นวน 10 ไร่
4) สวนยางพารา 1 ครวั เรอื น จาํ นวน 3 ไร่
5) สวนขนนุ 2 ครัวเรือน จํานวน 1 ไร่
6) ทาํ ไร่อ้อย 163 ครัวเรอื น จํานวน 1,130 ไร่
7) ทําไรม่ นั สาํ ปะหลัง 21 ครัวเรือน จํานวน 84 ไร่
8) สวนมะพร้าว 12 ครัวเรอื น จาํ นวน 3 ไร่
9) ปลูกผัก 10 ครวั เรือน จํานวน 22 ไร่
10) ปลูกถั่วลิสง 40 ครวั เรอื น จํานวน 27 ไร่

4.2 ด้านอุตสาหกรรม
ครัวเรอื นท่ีประกอบอตุ สาหกรรมในครัวเรือน ส่วนใหญ่เปน็ การประกอบ อตุ สาหกรรม

ประเภทสังกะสี ไดแ้ ก่ บัวรดนํา้ รางนา้ํ ฝาโอ่ง กรวยรดนํ้า แครง เปน็ ต้น

4.3 ดา้ นการพาณชิ ย์
สถานประกอบการด้านการพาณิชยภ์ ายในท้องถ่นิ ครัวเรอื นทง้ั หมด.2,273.ครวั เรือน

มีอตุ สาหกรรมในท้องถ่ิน จาํ นวนโรงงาน 18 แหง่ จํานวนคนงาน 280 คน รายละเอียดดังนี้

~ 61 ~

- โรงสีข้าว จาํ นวน 27 แหง่
- รา้ นวัสดกุ ่อสรา้ ง จาํ นวน 2 แห่ง
- รา้ นค้า จาํ นวน 60 แหง่
- รา้ นสวัสดกิ าร จาํ นวน 2 แห่ง
- ร้านซอ่ ม จํานวน 10 แห่ง
- รา้ นอินเทอรเ์ นต็ จาํ นวน 2 แหง่
- ร้านเกมส์ จํานวน 2 แหง่
- รา้ นเสรมิ สวย จํานวน 8 แหง่
- โรงฆา่ สัตว์ (เอกชน) จาํ นวน 1 แหง่
- โรงงานผลติ ผลติ ภณั ฑส์ ังกะสี จาํ นวน 16 แหง่
- กล่มุ ทอผ้า จํานวน 1 แห่ง (บา้ นโนนสําราญ)
- กระจกอลูมเิ นียม จาํ นวน 1 แห่ง
- เชอื่ ม ดดั เหล็ก จาํ นวน 3 แห่ง
- เหลก็ ดัดแปรรูป จํานวน 1 แหง่
- ร้านรบั ซ้ือทองเก่า จาํ นวน 1 แหง่
- ตลาดนัด จาํ นวน 4 แหง่

4.4 แรงงาน
ประชากรส่วนใหญ่ในตําบลโนนสําราญ จะประกอบอาชีพทําการเกษตร นอกเหนือจากฤดูทํานา ทําไร่
แลว้ จะทํางานรับจา้ งทั่วไป เช่น รบั จ้างทํารางน้าํ ฝาโอ่ง ซึ่งเป็นการประกอบอาชีพภายในตําบล ร้อยละ 30
นอกจากนี้ยังประกอบอาชีพรับจ้างในเขตอุตสาหกรรมต่างจังหวัดในเมืองใหญ่ๆ ร้อยละ.50.และมีอาชีพ
รับจา้ งทั่วไป เชน่ รบั เหมากอ่ สรา้ ง คดิ เปน็ ร้อยละ 20

5. ระบบบรกิ ารพ้นื ฐาน

5.1 การคมนาคมขนสง่
การคมนาคมติดต่อกับอาเภอใกล้เคียง การคมนาคมติดต่อกับอําเภอใกล้เคียงใช้เส้นทาง
ทางหลวงชนบทซ่ึงเป็นเส้นทางสายหลักของตําบลในด้านการคมนาคมติดต่อและขนส่งผลผลิตทางการเกษตร
เข้าสู่แหลง่ รับ - ซอื้ หรือตลาด
การคมนาคมติดต่อภายในตาบลและตาบลใกล้เคียง การคมนาคมติดต่อภายในตําบลและตําบล
ใกล้เคียงใช้เส้นทางทางหลวงชนบท นอกจากน้ันก็ใช้เส้นทางคมนาคมอื่นๆ ที่เชื่อมระหว่างตําบล หมู่บ้าน
ซ่ึงสามารถเชอื่ มกบั ตําบลบา้ นค่าย และตําบลหนองไผ่ สภาพถนนเปน็ ถนนลกู รงั และถนนลาดยาง
การบริการ การใช้บริการด้านรถยนต์โดยสารขนาดเล็ก และรถจักรยานยนต์ ส่วนการขนส่ง
ผลผลิตทางด้านการเกษตร ส่วนใหญ่ใช้รถยนต์บรรทุกขนาดเล็ก หรือรถปิคอัพที่มีในตําบล หมู่บ้าน ขนส่ง
เขา้ ตลาดหรอื แหล่งรับซือ้ ตา่ งๆ
ถนนเสน้ ทางหลักและสะพานเฉพาะในเขตหมบู่ า้ น มีดงั น้ี
ถนนเส้นทางหลัก ลาดยางหรือคอนกรีต มี 26 กิโลเมตร 900 เมตร, ลูกรังหรือหินคลุก มี 13 กิโลเมตร
100 เมตร, ทางเดนิ 6 กิโลเมตร 50 เมตร และสะพานคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 3 แหง่ , สะพานไม้ 4 แหง่

~ 62 ~

5.2 การไฟฟา้
การรบั บรกิ ารไฟฟูาจากการไฟฟูาส่วนภูมิภาคจงั หวดั ชัยภูมิ โดยมีไฟฟูาเข้าถึงบริการ ภายในตําบล
โนนสําราญ หมู่บ้านมีไฟฟูาของรัฐใช้ท้ังหมด 10 หมู่บ้าน มีไฟฟูาใช้ครบทุกครัวเรือน 10 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 100
ของจาํ นวนหลังคาเรือนท้ังหมดท่ีมีบ้านเลขที่ ส่วนหลังคาเรือนท่ียังไม่มี บ้านเลขท่ี เช่น บ้านเรือนท่ีปลูกไว้
ตามหัวไร่ปลายนา สว่ นใหญ่จะยังไม่มไี ฟฟูาใช้เพราะการขยายเขตไฟฟาู ยังเขา้ ไปไม่ถึง โดยจะใช้ระบบไฟฟูา
พลังงานแสงอาทิตย์ ซ่ึงองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับการถ่ายโอนภารกิจมาจากการไฟฟูาส่วนภูมิภาค
จังหวัดชัยภูมิ จาํ นวน 113 ราย

5.3 การประปา
หมู่บ้านที่มีระบบนํ้าประปาท้ังหมด 10 หมู่บ้าน โดยขอรับบริการจากการประปาส่วนภูมิภาค
จังหวัดชัยภูมิ 8.หมู่บ้าน และใช้นํ้าประปาหมู่บ้าน อยู่ 2.หมู่บ้าน คือ หมู่ที่.2.และ.9.บ้านโนนสําราญ
ครัวเรอื นทใี่ ชน้ ้ําตลอดทงั้ ปี 2,273 ครัวเรือน

5.4 โทรศพั ท์
ประชาชนสว่ นใหญจ่ ะมีโทรศัพท์เคลื่อนทใี่ นการติดตอ่ สอ่ื สาร จะไม่นิยมใช้โทรศพั ท์สาธารณะ

5.5 ไปรษณยี ์/การส่อื สาร/การขนสง่ วัสด/ุ ครภุ ณั ฑ์
ตําบลโนนสําราญ รับบริการของที่ทําการไปรษณีย์หมื่นแผ่ว อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
รหัสไปรษณยี ์ 36240 และใช้บริการขนส่งวสั ดุของบรษิ ทั เอกชนเป็นส่วนใหญ่

6. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

6.1 นา้
นํ้าอุปโภคบริโภค ประชาชนส่วนใหญ่จะใช้น้ําจากระบบประปาภูมิภาค ยกเว้น บ้านโนนสําราญ

หมทู่ ่ี 2 , 9 ใชร้ ะบบประปาหม่บู ้าน มีน้ําใช้เพียงพอ 2,273 ครวั เรือน นาํ้ ด่ืมเพยี งพอ 2,273 ครัวเรือน
แหลง่ นา้ ธรรมชาติ
• ลํานํ้าชี ต้นนํ้าอยู่บริเวณเทือกเขาพญาฝุอในเขตอําเภอหนองบัวแดงไหลผ่านหนองบัวระเหว

บ้านเขว้า จัตุรัส เนินสง่า เมืองชัยภูมิ คอนสวรรค์ และแก้งคร้อ ซึ่งตําบลโนนสําราญจะไหลผ่านบริเวณ
บ้านโสกหวา้ หมทู่ ี่ 6 และบา้ นแก้งนอ้ ย หมูท่ ่ี 5

• ลําห้วยคลองจอก ไหลผ่านบ้านง้ิว หมู่ที่ 7 บ้านโนนสูงสะอาด หมู่ท่ี 1 บ้านโนนสําราญ หมู่ที่ 2
บา้ นกะพี้ หมทู่ ่ี 3 บ้านดอนทวาง หมู่ที่ 4

แหล่งนา้ ทส่ี รา้ งข้นึ
• ตําบลโนนสําราญได้รับการถ่ายโอนจากสถานีสูบน้ําด้วยพลังงานไฟฟูาจากฝุายปฏิบัติการสูบนํ้า
ดว้ ยพลังงานไฟฟูา เม่ือปี พ.ศ. 2547 จาํ นวน 4 สถานี ได้แก่ สถานีสูบนาํ้ ดว้ ยไฟฟาู บา้ น โสกหวา้ หมทู่ ่ี 6 ,
สถานีสบู นํ้าบา้ นแจง้ น้อย 1,แจ้งน้อย 2 และสถานีสูบน้ําบ้านดอนทวาง หมู่ที่.4.มีพื้นท่ีรับประโยชน์ท้ังหมด
ประมาณ 6,803 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 30.19 ของเน้ือทตี่ ําบล
• สระนา้ํ รพช. สระวดั สระใหมก่ ดุ กลาง
• ฝายทดนาํ้ วงั กะพ้ี ฝายทดนา้ํ บ้านดอนทวาง และฝายทดนาํ้ ท่าโปร่ง (ลาํ ปกึ )

~ 63 ~

7. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม

7.1 ศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จะเห็นได้จากมีวัดจํานวน 8.แห่ง ความเชื่อถือประเพณี
ในสมัยกอ่ นยงั คงมีอทิ ธิพลทางจิตใจของประชาชน

7.2 ประเพณีและงานประจาปี ฮตี สิบสองคองสิบส่ี
ฮีตสิบสอง หมายถึง ประเพณีท่ีจะต้องปฏิบัติทั้ง.12.เดือน ในแต่ละปี "ฮีต" มาจากคําว่า จารีต
ถอื เปน็ จรรยาของสงั คม ถา้ ฝาุ ฝนื มคี วามผิด เรยี กวา่ ผดิ ฮตี หมายถงึ ผดิ จารีต ฮตี สิบสอง สรปุ ไดด้ ังน้ี

1) เดือนอ้าย (เดือนเจียง) บุญเข้ากรรม เป็นเดือนท่ีพระสงฆ์เข้ากรรม (ปริวาสกรรม)
เพ่ือให้พระสงฆ์ผู้กระทําผิดได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ เป็นการฝึกจิตสํานึกถึงความบกพร่องของตน
และม่งุ ประพฤตติ นให้ถกู ต้องตามพระธรรมวนิ ัยตอ่ ไป

2) เดือนย่ี บุญคูณลาน นิมนต์พระสวดมนต์เย็นเพ่ือเป็นมงคลแก่ข้าวเปลือก แล้วทําพิธี
สู่ขวญั ข้าว นอกจากนี้ ชาวบ้านเตรียมเกบ็ สะสมฟนื ไวห้ ุงตม้ ที่บ้าน

3) เดอื นสาม ทาบุญขา้ วจ่ีและบุญมาฆบชู า การทําบญุ ขา้ วจเ่ี รมิ่ ในตอนเช้า ใช้ข้าวเหนียวป้ัน
ใสน่ ้าํ อ้อย นาํ ไปจแ่ี ลว้ ชบุ ด้วยไข่ เมือ่ สุกแล้วนาํ ไปถวายพระ

4) เดอื นสี่ ทาบุญพระเวส ฟงั เทศน์มหาชาติ ให้ฟังเทศนา เรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก
ให้จบส้ินภายในวันเดียว ก็จะพบพระศรีอริยะเมตไตย งานบุญน้ีมักจะมีผู้นําทองมาถวายพระ เรียกว่า
"กณั ฑ์หลอน" หรือถา้ เจาะจงจะถวายเฉพาะพระนักเทศน์ที่ตนนิมนต์มาก็เรียกว่า "กัณฑ์จอบ" เพราะต้องแอบซุ่ม
ดูให้แนเ่ สยี ก่อน

5) เดือนห้า ตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้า การสรงน้ํามีการรดนํ้าพระพุทธรูป พระสงฆ์
ผู้หลกั ผู้ใหญ่กาํ หนดเอาวนั ขน้ึ 15 คา่ํ เดอื น 5 บางที่เรียกวา่ บญุ เดือน 5 ถือเป็นเดือนเร่ิมตน้ ปีใหม่

6) เดือนหก ทาบุญบั้งไฟและวันวิสาขบูชา การทําบุญบ้ังไฟเพื่อขอฝน เป็นงานสําคัญ
กอ่ นลงมือทํานา สว่ นการทาํ บุญวันวิสาขบูชา กลางวนั มกี ารเทศน์ กลางคืนมีการเวยี นเทียน

7) เดอื นเจ็ด ทาบญุ ซาฮะ (ลา้ ง) หรอื บุญบูชาบรรพบุรุษ มีการเซ่นสรวงหลักเมือง ปูุตา
ผเี มอื ง ผีตาแฮก เปน็ การทําบุญเพอ่ื ระลึกถึงผู้มพี ระคณุ

8) เดือนแปด ทาบญุ เข้าพรรษา เป็นประเพณีทางพุทธศาสนาโดยตรง มีการทําบุญตักบาตร
ฟังธรรมเทศนาและถวายเทยี นพรรษา

9) เดือนเก้า ทาบุญข้าวประดับดิน เป็นการทําบุญเพ่ืออุทิศแก่ญาติผู้ล่วงลับ โดยการ
จัดหาอาหาร หมากพลูเหล้า บุหร่ีไปวางไว้ใต้ต้นไม้หรือที่ใดที่หนึ่ง แล้วเชิญวิญญาณของญาติมิตรท่ีล่วงลับ
ไปแล้วมารับเอาอาหารไป

10) เดือนสิบ ทาบุญข้าวสาก (สลากภัตต์) ผู้ถวายจะเทียนช่ือของตนลงในภาชนะที่ใส่
ทองทาน และเทยี นชื่อลงในบาตร ภิกษุสามเณรจับสลากได้ของใคร ผนู้ ้นั จะเขา้ ไปถวายทอง

11) เดือนสิบเอ็ด ทาบุญออกพรรษา พระสงฆ์จะแสดงอาบัติทําการปวารณา คือ
เปิดโอกาสให้ว่ากลา่ วตกั เตอื นกันได้ พอตกกลางคืนมีการจดุ ประทดั โคมไฟแขวนไวต้ ามตน้ ไม้หรือรว้ั

12) เดือนสิบสอง ทาบุญกฐิน เร่ิมต้ังแต่วันแรม 1 คํ่าเดือน 11 จนถึงวันเพ็ญ เดือน 12
สาํ หรับประชาชนทอ่ี ยู่ริมน้าํ จะมีการแข่งเรือ (ส่วงเฮือ) ดว้ ย เพ่อื ระลึกถงึ อุสพุ ญานาค

หมายเหตุ บุญผ้าปุา ทําได้ทุกๆ เดือน และการทําบุญแต่ละเดือนน้ัน ชาวบ้านจะหยุดการทํางาน
เพือ่ มาชว่ ยกันทาํ บญุ จนเสรจ็ พิธี

~ 64 ~

คองสิบส่ี หมายถึง ครองธรรม 14 อย่าง เป็นกรอบหรือแนวทางท่ีใช้ปฏิบัติระหว่างกันของผู้ปกครอง
กับผใู้ ตป้ กครอง พระสงฆ์ และระหว่างบุคคลท่ัวไป เพ่ือความสงบสุขร่มเย็นของ บ้านเมือง คลองสิบส่ี มีหลายแบบ
หลายประเภท พอจะยกตวั อยา่ งได้ดงั น้ี

คองสิบส่ีแบบท่ี 1 กล่าวถึงผู้เกี่ยวข้องกับครอบครัวในสังคมตลอดจนผู้ม่ีหน้าท่ีปกครองบ้านเมือง
คองสบิ สี่แบบที่ 2 กลา่ วถึงหลกั การที่พระมหากษัตรยิ ท์ รงปฏบิ ัติในการปกคลองบ้านเมืองและ
ข้อท่ปี ระชาชนควรปฏบิ ตั ิตอ่ พระมหากษัตรยิ ์ และจารีตประเพณที พ่ี ึงปฏิบัติให้บา้ นเมืองสงบสุข
คองสบิ ส่แี บบที่ 3 กลา่ วถงึ ธรรมที่พระราชาพึงยดึ ถอื ปฏิบัติและเน้นหนักให้ประชาชนปฏิบัติตามจารีต
ประเพณี และขอ้ ทค่ี นในครอบครัวพงึ ปฏบิ ัตติ ่อกนั
คองสิบส่ีแบบท่ี 4 กล่าวถึงไปแนวทางฮีตบ้านคลองเมือง คือการดําเนินการปกครองบ้านเมือง
เพือ่ ให้บา้ นเมืองอยูเ่ ปน็ สุขและปฏิบัติตามประเพณี

~ 65 ~

สว่ นท่ี 2
การวิเคราะห์ขอ้ มูลจาก TPMAP
การวิเคราะหข์ ้อมูลเพ่อื การจดั ลาดับกลุ่มเปาะบางรายครัวเรอื น
1. ข้อมูลระบบ Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP)
TPMAP คอื ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มูลการพัฒนาคนแบบช้ีเปูา (Thai People Map and
Analytics.Platform).ซ่ึงได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบช้ีเปูา
(Thai Poverty Map and Analytics Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาท่ีกว้างข้ึน เช่น เด็กแรกเกิด
การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพท่ีอยู่อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการชี้เปูา
ความยากจนไว้ด้วย.TPMAP.จึงสามารถใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน
ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจนรายประเด็น ซ่ึงทําให้การแก้ปัญหาตรงกับ
กลุ่มเปูาหมายมากข้ึนและสามารถออกแบบนโยบาย โครงการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับความต้องการ
หรือสภาพปญั หาได้
หลักการทํางานของ TPMAP.คืออาศัยข้อมูลจากหลายแหล่งมายืนยันซ่ึงกันและกัน
โดยในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าคนที่ได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).และยังมาลงทะเบียนว่าจนอีกด้วย
(register-based).น่าจะเป็นคนจนเปูาหมายที่ต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน ดังน้ัน TPMAP
จึงต้ังต้นโดยใช้ข้อมลู ความจาํ เปน็ พื้นฐาน (จปฐ.)จากกรมการพัฒนาชุมชน และข้อมูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการ
แห่งรัฐจากกระทรวงการคลัง มายืนยันซ่ึงกันและกัน หรืออีกนัยหนึ่ง "คนจนเปูาหมาย" ใน TPMAP ก็คือ
คนจนใน จปฐ. ที่ไปลงทะเบยี นสวสั ดกิ ารแหง่ รัฐ

TPMAP.ใช้วิธีการคํานวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional.Poverty
Index: MPI) ซ่ึงคิดค้นโดย Oxford Poverty & Human Development Initiative และ United Nation
Development Programmer ซ่ึง สศช. ได้นํามาปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ
MPI.อาศยั หลักการทีว่ า่ คนจนคือผู้ท่ีมคี ณุ ภาพชีวิตต่าํ กว่าเกณฑ์คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ใี นมิติต่างๆ ซ่ึง TPMAP พิจารณา
จาก 5.มติ ิ ได้แก่ ดา้ นสขุ ภาพ ดา้ นการศกึ ษา ด้านการเงนิ ด้านความเป็นอยู่ และดา้ นการเขา้ ถงึ บรกิ ารรัฐ

"คนจนเปาู หมาย" ในชัยภูมิ คือ คนจนที่ต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน เน่ืองจากเป็นคน
ท่ีได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).จากข้อมูลความจําเป็นพ้ืนฐาน.(จปฐ.).กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย และยงั เป็นผ้ลู งทะเบยี นบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จากข้อมูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ
กระทรวงการคลัง ดังนี้

~ 66 ~

ตารางท่ี 1 การสารวจขอ้ มลู ความจาเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.)

การสารวจ ครวั เรือน คน

ไดร้ บั การสาํ รวจ (จปฐ.) 261,732 807,217

ยากจน (จปฐ.) 18,018 69,213

"คนจนเปูาหมาย" คือคนยากจนจากการสํารวจ (จปฐ.) และยังเป็นคนท่ีลงทะเบียน

สวัสดิการแห่งรัฐ ซึ่งมีจํานวน 22,763 คน สัดส่วน "คนจนเปูาหมาย" คือ จํานวน "คนจนเปูาหมาย" หรือ

จํานวนคนจน (จปฐ.) ที่ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ เทียบร้อยละกับจํานวนคนที่ได้รับการสํารวจ จปฐ.

ทั้งหมด คดิ เปน็ ร้อยละ 2.82

ตารางที่ 2 จานวนคนจนและดัชนคี วามยากจน 5 มิติ

อาเภอ จานวนคนจน 5 มติ ิ

เปา้ หมาย สุขภาพ ความ การศึกษา รายได้ การเขา้ ถึง
TPMAP (คน) เป็นอยู่ บรกิ ารภาครัฐ

1. เกษตรสมบรู ณ์ 427 120 88 42 190 4

2. แกง้ คร้อ 1,016 310 25 536 164 2

3. คอนสวรรค์ 1,498 966 349 280 280 0

4. คอนสาร 2,055 25 27 1,559 519 2

5. จตั รุ ัส 2,168 241 256 1,025 879 2

6. ซบั ใหญ่ 708 20 319 385 27 0

7. เทพสถติ 1,614 21 47 1,523 41 0

8. เนินสงา่ 877 53 210 406 269 0

9. บ้านเขว้า 1,449 98 371 647 443 9

10. บ้านแทน่ 53 4 14 0 35 0

11. บําเหน็จณรงค์ 3,317 935 1,186 1,226 1,078 2

12. ภักดชี มุ พล 299 24 152 11 117 0

13. ภูเขยี ว 3,417 545 1,392 148 1,573 0

14. เมืองชัยภูมิ 1,033 705 105 61 190 3

15. หนองบวั แดง 2,467 130 265 1,429 887 13

16. หนองบวั ระเหว 365 5 7 265 106 0

รวม 22,763 4,202 4,813 9,543 6,798 37

~ 67 ~

จากตารางที่ 2 จํานวนคนจนและดัชนีความยากจน 5 มิติ.พบว่าจํานวนคนจนสูงสุด
5 ลําดับแรก คือ อําเภอภูเขียว ร้อยละ 15.01 รองลงมา คือ บําเหน็จณรงค์ ร้อยละ 14.57 หนองบัวแดง
ร้อยละ 10.83 จัตุรัส ร้อยละ 9.52 และคอนสาร ร้อยละ 9.03 ตามลําดับ และดัชนีความยากจน 5 มิติ
พบว่าปัญหาความยากจนที่ต้องการความช่วยเหลือมากท่ีสุด คือ การศึกษา รองลงมา คือ รายได้
ความเป็นอยู่ สุขภาพ และการเข้าถงึ บริการภาครัฐ ตามลําดบั

แผนภูมิท่ี 1 เปรยี บเทียบจานวนคนจนเป้าหมาย TPMAP รายอาเภอ

427
1,016
1,498
2,055
2,168

708
1,614

877
1,449

53
3,317

299
3,417

1,033
2,467

365

แผนภูมทิ ี่ 2 ดชั นีความยากจน 5 มติ ิ

สขุ ภาพ

การเขา้ ถึงบรกิ าร 4202 4813 ความเปน็ อยู่
ภาครฐั 37

6798 9543

รายได้ การศึกษา

ความยากจนสามารถวัดได้จากดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือดัชนี MPI (Multidimensional
Poverty Index) ที่พิจารณาจาก 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้
และดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารรฐั โดยท่ีคนจน 1 คน มีปัญหาไดม้ ากกวา่ 1 ดา้ น

~ 68 ~

2. การจาแนกครัวเรอื นเปา้ หมายระดับชุมชน 3 ระดบั
การวิเคราะห์ข้อมูลตามระบบ Thai People Map and Analytics Platform หรือ TPMAP

จํานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
เพอื่ จาํ แนกครัวเรอื นเปาู หมายระดับชุมชนเป็น 3 ระดบั ดงั น้ี

1. สเี ขยี ว หมายถึง ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น/หมวด
2. สีเหลือง หมายถึง ตกเกณฑ์ 2-3 ดา้ น/หมวด
3. สีแดง หมายถงึ ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน/หมวด

ตารางท่ี 3 จานวนหมวดยากจนที่ตกเกณฑ์รายอาเภอ

ลาดบั อาเภอ จานวนคนจน จานวนหมวดยากจนท่ตี กเกณฑ์ (ครัวเรือน) รวม
เป้าหมาย 1 2345 (ครัวเรือน)
1 เกษตรสมบรู ณ์
2 แก้งคร้อ TPMAP (คน) หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด 312
3 คอนสวรรค์ 302 10 - - - 824
4 คอนสาร 427 809 15 - - - 1,317
5 จัตรุ สั 1,016 1,005 310 2 - - 1,341
6 ซับใหญ่ 1,498 1,299 42 - - - 1,876
7 เทพสถิต 2,055 1,717 148 9 2 - 583
8 เนินสง่า 2,168 540 40 3 - - 996
9 บ้านเขว้า 708 988 8 - - - 695
10 บา้ นแท่น 1,614 651 42 2 - - 1,294
11 บําเหนจ็ ณรงค์ 877 1,220 64 9 1 - 41
12 ภักดีชมุ พล 1,449 41 - - - - 2,789
13 ภูเขยี ว 53 2,078 567 135 9 - 211
14 เมอื งชัยภมู ิ 3,317 202 8 1 - - 2,997
15 หนองบัวแดง 299 2,803 189 5 - - 1,075
16 หนองบวั ระเหว 3,417 1,046 27 2 - - 1,399
1,033 1,274 116 9 - - 268
รวม 2,467 259 9 - - - 18,018
365 16,234 1,595 177 12 0
22,763

~ 69 ~
แผนภมู ทิ ่ี 3 เปรียบเทยี บจานวนหมวดยากจนทีต่ กเกณฑ์

จากแผนภูมิท่ี 3 เปรียบเทียบจํานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์ พบว่าคนจนส่วนใหญ่
ตกเกณฑ์ 1 หมวด/ด้าน คิดเป็นร้อยละ 90 รองลงมาคือ ตกเกณฑ์ 2 หมวด/ด้าน ร้อยละ 9 ตกเกณฑ์
3 หมวด/ด้าน ร้อยละ 1 ตกเกณฑ์ 4 หมวด/ด้าน ร้อยละ 0.07 และตกเกณฑ์ 5 หมวด/ด้าน ร้อยละ 0
และสามารถจัดกลุ่มอําเภอ โดยแบ่งออกเป็น.3.ระดับ.ได้ดังนี้.1) ระดับสีเขียว ได้แก่ อําเภอบ้านแท่น
2) ระดับสีเหลือง ได้แก่ อําเภอเกษตรสมบูรณ์ อําเภอภักดีชุมพล อําเภอหนองบัวระเหว อําเภอซับใหญ่
อาํ เภอเนินสง่า อําเภอคอนสวรรค์ อําเภอแก้งคร้อ อําเภอเทพสถิต อําเภอเมืองชัยภูมิ และอําเภอคอนสาร
3) ระดับสแี ดง ได้แก่ อาํ เภอบาํ เหนจ็ ณรงค์ อําเภอบ้านเขวา้ อาํ เภอจัตุรัส

แผนภาพที่ 1 แสดงการจดั กล่มุ อาเภอตามการจาแนกครวั เรอื นเป้าหมายระดบั ชุมชน 3 ระดบั

สีเหลือง 12 อาเภอ อ.คอนสาร

อ.บ้านแทน่ สเี ขียว 1 อาเภอ

อ.เกษตรสมบูรณ์ อ.ภเู ขียว สีเขยี ว = ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น
สีเหลอื ง = ตกเกณฑ์ 2-3 ดา้ น
อ.หนองบัวแดง อ.แก้งครอ้ สีแดง = ตกเกณฑ์ 4-5 ดา้ น
อ.ภักดีชุมพล

อ.หนองบวั ระเหว อ.บ้านเขว้า อ.คอนสวรรค์
อ.เมอื งชยั ภูมิ

อ.เทพสถิต อ.เนินสงา่

อ.ซบั ใหญ่
อ.จัตุรสั

อ.บาเหนจ็ ณรงค์

สแี ดง 3 อาเภอ

~ 70 ~

3. การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จงั หวัดชยั ภมู ิ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 5 กุมภาพันธ์ 2564 สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัดชัยภูมิ ให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย เป็นเงินสงเคราะห์และเงินกู้ยืม
ประเภทต่างๆ จํานวน 4,125 ราย ประกอบด้วย เงินสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน
จํานวน 660 ราย เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่พ่ึง จํานวน 993 ราย เงินสงเคราะห์
ผู้สูงอายุในภาวะยากลําบาก จํานวน 219 ราย เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จํานวน 1,378 ราย
เงนิ สงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ จํานวน 254 ราย เงินก้ยู ืมเพื่อประกอบอาชีพผู้สูงอายุ จํานวน
163 ราย เงินกู้ยืมเพ่ือประกอบอาชีพคนพิการ จํานวน 374 ราย และโครงการซ่อมแซมปรับปรุง
สภาพแวดล้อมทอี่ ยู่อาศยั ใหแ้ กผ่ ู้พกิ าร จํานวน 84 ราย

ตารางที่ 4 จานวนการใหก้ ารสงเคราะหแ์ ต่ละประเภทจาแนกรายอาเภอ

อาเภอ ประเภทเงินสงเคราะห์ เงินกยู้ มื ปรบั ปรุง รวม
1.เกษตรสมบรู ณ์ เพือ่ การ สภาพ 232
กรณี ผูม้ รี ายได้ ผู้สงู อายุ เดก็ ใน ฟน้ื ฟู ประกอบ แวดลอ้ ม
อาชีพ ที่อย่อู าศยั
ฉุกเฉนิ นอ้ ยและ ในภาวะ ครอบครวั สมรรถภาพ ผสู้ ูง คน ใหแ้ ก่
อายุ พกิ าร ผพู้ กิ าร
ผ้ไู รท้ พ่ี ึ่ง ยากลาบาก ยากจน คนพกิ าร
15 42 6
12 60 64 7 26

2.แก้งครอ้ 13 8 2 28 - 5 29 14 99

3.คอนสวรรค์ 13 28 - 231 9 7 19 7 344

4.คอนสาร 77 34 - 191 2 1 15 7 327

5.จตั ุรัส 114 127 40 273 4 9 34 9 610

6.ซบั ใหญ่ 9 26 - 3 - - 2 - 40

7.เทพสถิต 31 23 3 63 1 1 22 5 149

8.เนินสง่า 38 55 5 64 9 3 7 2 183

9.บ้านเขวา้ 9 13 19 85 7 18 23 10 184

10.บ้านแท่น 26 35 30 58 24 - 6 3 182

11.บําเหนจ็ ณรงค์ 75 94 38 98 32 4 10 2 353

12.ภกั ดีชมุ พล 26 26 - 45 1 2 26 - 126

13.ภเู ขียว 32 31 1 5 8 4 13 5 99

14.เมอื งชยั ภูมิ 140 276 7 189 118 81 74 13 898

15.หนองบวั แดง 15 84 10 12 7 10 44 1 183

~ 71 ~

อาเภอ ประเภทเงนิ สงเคราะห์ เงนิ กู้ยมื ปรับปรุง รวม
เพ่อื การ สภาพ
กรณี ผูม้ ีรายได้ ผสู้ ูงอายุ เด็กใน ฟน้ื ฟู ประกอบ แวดล้อม 116
ฉกุ เฉนิ น้อยและ ในภาวะ ครอบครัว สมรรถภาพ อาชีพ ทอี่ ยูอ่ าศัย 4,125
16.หนองบวั ระเหว 30 ผูไ้ รท้ พี่ ึ่ง ยากลาบาก ยากจน คนพิการ ผ้สู งู คน ให้แก่
อายุ พกิ าร ผ้พู กิ าร
43 - 26 6
38 -

รวม 660 993 219 1,378 254 163 374 84

แผนภมู ทิ ่ี 4 เปรียบเทยี บจานวนการให้การสงเคราะหแ์ ตล่ ะประเภท

แผนภูมิท่ี 5 เปรยี บเทยี บการใหก้ ารสงเคราะห์และช่วยเหลอื กลุ่มเปา้ หมายรายอาเภอ

232

898 116 99
183 344

327

99 610

126 40
353 149

182 183
184

~ 72 ~

จากแผนภมู ิท่ี 5 เปรียบเทยี บการใหก้ ารสงเคราะห์และชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปาู หมายรายอาํ เภอ
พบว่า การสงเคราะหแ์ ละชว่ ยเหลอื กลุ่มเปาู หมายสูงสุด 5 ลําดับแรก คือ อําเภอเมืองชัยภูมิ คิดเป็นร้อยละ 21.77
รองลงมา คือ อําเภอจัตุรสั รอ้ ยละ 14.79 อาํ เภอบาํ เหน็จณรงค์ ร้อยละ 8.56 อําเภอคอนสวรรค์ ร้อยละ 8.34
และอําเภอคอนสาร ร้อยละ 7.93 ตามลําดบั

4. ขอ้ มลู TPMAP ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จงั หวดั ชยั ภูมิ
ข้อมูลจากระบบ TPMAP ตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีคนจนเปูาหมาย

จํานวน 70 คน แบ่ง 3 ระดับ ได้ดังนี้ ระดับสีเขียว จํานวน 9 หมู่ ได้แก่ หมู่ที่ 2 บ้านโนนสําราญ หมู่ที่ 3
บ้านกะพ้ี หมู่ท่ี 4 บา้ นดอนขวาง หมทู่ ่ี 5 บ้านแจง้ นอ้ ย หมทู่ ี่ 6 บ้านโสกหว้า หมู่ที่ 7 บ้านงิ้ว หมู่ท่ี 8 บ้านโนน
สูงสะอาด หมู่ท่ี 9 บ้านโนนสําราญ หมู่ท่ี 10 บ้านงิ้วพัฒนา ระดับสีเหลือง จํานวน 1 หมู่ คือ หมู่ที่ 1 บ้านโนน
และระดบั สีแดงไม่มี รายละเอยี ดดังต่อไปนี้

ตารางท่ี 6 จานวนคนจนเป้าหมายตามจานวนหมวดที่ตกเกณฑ์

หมบู่ ้าน ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ รวม
1 ดา้ น 2 ดา้ น 3 ดา้ น 4 ด้าน 5 ด้าน (คน)
หมู่ท่ี 1 บ้านโนน
หม่ทู ่ี 2 บา้ นโนนสําราญ 33 2 2 - - 37
หมู่ท่ี 3 บ้านกะพี้ 4 - - - - 4
หมู่ที่ 4 บา้ นดอนขวาง 2 - - - - 2
หมู่ท่ี 5 บ้านแจง้ น้อย - - - - - 0
หมู่ท่ี 6 บา้ นโสกหวา้ 1 - - - - 1
หมู่ท่ี 7 บา้ นงว้ิ - - - - - 0
หมูท่ ี่ 8 บ้านโนนสงู สะอาด 2 - - - - 2
หมู่ที่ 9 บ้านโนนสาํ ราญ 6 - - - - 6
หมทู่ ่ี 10 บ้านงวิ้ พฒั นา 17 - - - - 17
1 - - - - 1
รวม 66 70
2 2 0 0

จากตารางที่ 6 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์ พบว่าหมู่บ้านท่ีมี
คนจนสูงสุด 5 ลําดับแรก คือ หมู่ที่ 1 บ้านโนน คิดเป็นร้อย 0.53 รองลงมา คือ หมู่ที่ 9 บ้านโนนสําราญ
ร้อยละ 0.25 หมู่ที่ 8 บ้านโนนสูงสะอาด ร้อยละ 0.08 หมู่ที่ 2 บ้านโนนสําราญ ร้อยละ 0.06 และหมู่ที่ 3
บ้านกะพี้ และหมทู่ ่ี 7 บ้านงิ้ว ร้อยละ 0.03 เมื่อเทยี บกับจาํ นวนประชากรทั้งตําบล

~ 73 ~

ตารางท่ี 7 จานวนคนจนเปา้ หมายตามดัชนคี วามยากจน 5 มิติ

หมบู่ า้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ จานวน
ดา้ น ดา้ น ดา้ น ดา้ น ด้านการ คนตก
หมู่ท่ี 1 บา้ นโนน สุขภาพ ความ รายได้ เข้าถึงบริการ เกณฑ์
หมู่ที่ 2 บา้ นโนนสําราญ เป็นอยู่ การศึกษา ภาครัฐ
หมู่ท่ี 3 บ้านกะพี้ 10 3 30 37
หมทู่ ่ี 4 บ้านดอนขวาง 2 - - - 4
หมทู่ ี่ 5 บา้ นแจง้ น้อย - 2 - - 2
หมู่ที่ 6 บา้ นโสกหว้า - - - - 0
หมทู่ ่ี 7 บา้ นงว้ิ - 2 - - 1
หมทู่ ่ี 8 บ้านโนนสงู สะอาด - - - - 0
หมู่ที่ 9 บ้านโนนสําราญ - - - 1 2
หมู่ที่ 10 บา้ นงิ้วพฒั นา 6 - - - 6
- 1 - 15 17
รวม - 1 - - 1
18 - - 46 70
1 -
1
-
-
-
1
-
1
-
11
0

แผนภมู ิ 7 ดัชนีความยากจน 5 มิติ

สุขภาพ

การเข้าถงึ บรกิ าร 18 ความเป็นอยู่
ภาครฐั
11
0

1

46 การศกึ ษา

รายได้

จากแผนภูมิที่ 7 ดัชนีความยากจน 5 มิติ พบว่าคนจนเปูาหมายส่วนใหญ่ตกเกณฑ์
ด้านรายได้ คิดเป็นร้อยละ 60.53 รองลงมา คือ ด้านสุขภาพ ร้อยละ 23.68 ด้านความเป็นอยู่ ร้อยละ
14.47 และด้านการศกึ ษา ร้อยละ 1.31

~ 74 ~

สามารถจาํ แนกคนจนเปาู หมายท่ตี กเกณฑ์ตามตวั ชีว้ ัดได้ดังน้ี
1. ด้านสขุ ภาพ จํานวน 18 คน

- ครวั เรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน จํานวน 1 คน
- ครัวเรือนมีการใชย้ าเพือ่ บําบดั บรรเทาอาการเจบ็ ปวุ ยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม จาํ นวน 14 คน
- คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ออกกาํ ลงั กายอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 วนั วนั ละ 30 นาที จาํ นวน 3 คน
2. ดา้ นความเปน็ อยู่ จํานวน 11 คน
- ครัวเรอื นมีความมน่ั คงในท่อี ยูอ่ าศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร จาํ นวน 8 คน
- ครวั เรอื นจัดการบ้านเรือนเป็นระเบยี บเรยี บร้อย สะอาด และถูกสขุ ลกั ษณะ จํานวน 3 คน
3. ดา้ นการศกึ ษา จาํ นวน 1 คน
- คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคดิ เลขอยา่ งงา่ ยได้ จาํ นวน 1 คน
4. ดา้ นรายไดแ้ ละการมีงานทาํ จํานวน 46 คน
- คนอายุ 15-59 ปี มอี าชพี และรายได้ จํานวน 4 คน
- คนอายุ 60 ปขี ้ึนไป มอี าชีพและรายได้ จาํ นวน 42 คน

5. การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปา้ หมาย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 5 กุมภาพันธ์ 2564 สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง

ของมนุษย์จังหวัดชัยภูมิ ให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือกลุ่มเปูาหมาย ในพื้นที่ตําบลโนนสําราญ
อาํ เภอเมอื งชัยภูมิ จงั หวดั ชัยภูมิ เปน็ เงนิ สงเคราะห์และเงนิ กู้ยมื ประเภทต่างๆ จํานวน 59 ราย

ตารางที่ 8 จานวนการให้การสงเคราะห์ระดบั หมู่บา้ น

หมบู่ ้าน ผู้ประสบปญั หาทาง ครอบครัวผู้มรี ายได้ ฟื้นฟูสมรรถภาพ รวม
สังคมกรณีฉุกเฉิน นอ้ ยและผูไ้ ร้ทีพ่ ึ่ง คนพกิ าร
หมทู่ ี่ 1 บ้านโนน 1 4
หมู่ที่ 2 บา้ นโนนสาราญ - 3 2 11
หมู่ท่ี 3 บ้านกะพี้ 3 6 - 11
หมู่ท่ี 4 บ้านดอนขวาง 1 10 - 7
หม่ทู ่ี 5 บา้ นแจง้ น้อย 2 5 1 6
หมู่ที่ 6 บา้ นโสกหวา้ 1 4 - 4
หมู่ที่ 7 บา้ นงิ้ว - 4 1 5
หมูท่ ี่ 8 บา้ นโนนสูงสะอาด - 4 - 2
หมู่ที่ 9 บ้านโนนสาราญ 2 - 1 4
หมทู่ ี่ 10 บา้ นง้วิ พฒั นา 3 - - 5
1 4 6 59
รวม 13 40

~ 75 ~
แผนภูมทิ ี่ 8 เปรยี บเทยี บการให้การสงเคราะหร์ ะดับหมู่บา้ น

กรณฉี กุ เฉนิ รายไดน้ อ้ ย ฟ้ืนฟคู นพิการ

10

6 5 444 4
031 3 2 1
0 2 0 1 1 0 0 0 1 200 301 1 0

จากแผนภูมิที่ 8 เปรียบเทียบการให้การสงเคราะห์ระดับหมู่บ้าน พบว่าการช่วยเหลือเงินสงเคราะห์
ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ท่ีพ่ึงสูงท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 67.8 รองลงมา คือ เงินสงเคราะห์ผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน คิดเป็นร้อยละ 22.03 และ เงินสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
คดิ เป็นร้อยละ 10.17

คาอธบิ าย
TPMAP สามารถระบไุ ดว้ า่ “คนจนเปูาหมาย” มีปัญหาอะไรบ้างในแต่ละมิติ จากข้อมูลจํานวนคน

ในครัวเรือนยากจนที่ตกตัวชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในแต่ละมิติ โดยคัดเลือกจากตัวชี้วัด จปฐ.
(31 ตวั ชวี้ ดั ) ท่นี ํามาใช้ในการคาํ นวณดชั นคี วามยากจนหลายมิติ (MPI) จาํ นวน 17 ตัวช้วี ัด ดังน้ี

ด้านสขุ ภาพ (เลอื ก 4 ตวั ชีว้ ัด จาก 7 ตัวชีว้ ัด)
- เด็กแรกเกิดมนี า้ํ หนกั 2,500 กรมั ข้นึ ไป
- ครัวเรอื นกนิ อาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และไดม้ าตรฐาน
- ครวั เรือนมกี ารใชย้ าเพอื่ บาํ บัด บรรเทาอาการเจบ็ ปวุ ยเบื้องต้นอยา่ งเหมาะสม
- คนอายุ 6 ปีขึน้ ไป ออกกาํ ลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วนั ละ 30 นาที

ดา้ นความเปน็ อยู่ (เลือก 4 ตวั ช้ีวดั จาก 7 ตัวช้ีวดั )
- ครวั เรอื นมีความมัน่ คงในทีอ่ ยู่อาศยั และบ้านมีสภาพคงทนถาวร
- ครัวเรือนมีนํ้าสะอาดสาํ หรับดมื่ และบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลติ รต่อวัน
- ครวั เรือนมีนาํ้ ใช้เพยี งพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 45 ลติ รตอ่ วัน
- ครัวเรอื นมกี ารจัดการบ้านเรือนเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด และถูกสุขลกั ษณะ

~ 76 ~

ดา้ นการศกึ ษา (เลอื ก 4 ตัวชีว้ ดั จาก 5 ตวั ชวี้ ดั )
- เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รับบริการเลยี้ งดูเตรียมความพรอ้ มก่อนวัยเรียน
- เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รบั การศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี
- เดก็ จบช้ัน ม.3 ไดเ้ รยี นต่อช้ัน ม.4 หรอื เทียบเท่า
- คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งงา่ ยได้

ด้านรายได้ (เลอื ก 3 ตวั ช้วี ดั จาก 4 ตวั ช้วี ัด)
- คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และรายได้
- คนอายุ 60 ปขี ้ึนไป มอี าชพี และรายได้
- รายได้เฉล่ียของคนในครัวเรือนต่อปี

ด้านการเขา้ ถงึ บริการรัฐ (เลอื ก 2 ตัวชวี้ ดั จาก 8 ตัวชวี้ ัด)
- ผสู้ งู อายุ ได้รับการดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
- ผู้พิการ ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน

นอกจากน้ัน TPMAP ยังสามารถเปรียบเทียบข้อมูลปีต่อปี ทําให้เห็นสภาพปัญหาว่ามีทิศทาง
ปรับลดหรือรุนแรงมากข้ึนเพียงใด ซึ่งสามารถนํามาใช้ประเมินปัจจัยท่ีอาจส่งผลต่อปัญหาดังกล่าว หรือ
ประเมินประสิทธิภาพของนโยบายที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาน้ันได้ ซ่ึงจะช่วยให้การแก้ปัญหาตรงจุด และเลือก
นโยบายไดม้ ปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขึน้

~ 77 ~

สว่ นท่ี 3
การวเิ คราะห์ปัญหาโดยคนในชุมชน
การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพเพ่ือประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันโอกาส
การพฒั นาในอนาคตของทอ้ งถนิ่ ของตาํ บลโนนสําราญ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)
โดยการพิจารณาปัจจัยต่างๆ สภาพปัจจุบันของหมู่บ้าน ปัญหา ศักยภาพ อุปสรรค โอกาส ในข้อเสนอ
ในเวทปี ระชาคม ที่สามารถบ่งชสี้ ภาพปญั หาและความต้องการของคนในชุมชนได้ ดงั น้ี
1) ปัจจัยสภาวะแวดลอ้ มภายใน ได้แก่ จุดแข็ง (Strengths) และจุดออ่ น (Weakness)
2) ปัจจยั สภาวะแวดลอ้ มภายนอก ไดแ้ ก่ โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threats)
ปจั จัยภายใน : จดุ แข็ง (Strengths)
1) ผู้นาํ ชุมชนส่วนใหญม่ ีศกั ยภาพ ทํางานเปน็ ทมี มีความซอ่ื สัตย์ เสยี สละ
2) คนในชมุ ชนมคี วามรกั สามัคคี ให้ความร่วมมือ มคี วามเออื้ อารตี อ่ กัน
3) มีกลุ่ม/องค์กรชุมชนทห่ี ลากหลายและมีความเข้มแข็ง
4) ประชาชนมกี ารประกอบอาชพี ทีห่ ลากหลาย
5) มพี ้นื ที่ทาํ การเกษตรจํานวนมาก
6) มสี ถานทใ่ี นการจัดทําเวทีพูดคยุ การประชมุ ทดี่ ีและเหมาะสม
ปจั จัยภายใน : จุดออ่ น (Weakness)
1) ปญั หาสขุ ภาพคนในชุมชน
2) บางพ้ืนทแ่ี หล่งนํา้ ไม่เพียงพอต่อการเกษตร
3) มีบุคคลภายนอกเข้ามาทาํ นาในพืน้ ที่ ยากแก่การประสาน ควบคุม มีปญั หาขดั แย้ง
4) พ้นื ท่ีตําบลมขี นาดกว้างมที างเข้าออกหลายทางยากแกก่ ารตรวจตรา
5) ปัญหาทางดา้ นอาชีพ รายได้ไมเ่ พยี งพอ
6) ปญั หายาเสพตดิ
ปัจจยั ภายนอก : โอกาส (Opportunity)
1) นโยบายรฐั บาลบางดา้ น ทาํ ให้ความเป็นอยขู่ องชาวบ้านดขี ้ึน
2).มีหน่วยงานราชการทุกภาคส่วนเข้ามาให้การสนับสนุนด้านวิชาการ การพัฒนาอาชีพและ
แหลง่ เงนิ ทุน อย่างต่อเนือ่ ง
3) คนในชมุ ชนไดร้ ับข่าวสารอย่างท่ัวถงึ
4) ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหล่งทุนในระบบทั้งภาครัฐและเอกชนได้โดยง่าย
ปัจจยั ภายนอก : ขอ้ จากัด (Threats)
1) การถูกเอารัด เอาเปรยี บ กดราคาผลผลิต จากพ่อค้าคนกลาง
2) ภาวะเศรษฐกิจท่ีตกต่ํา ทําให้ประชาชนทํามาหากินยากลําบากข้ึน ค่าครองชีพสูง แต่รายได้ตํ่า
เช่น ราคาน้าํ มนั แพง ของกินของใชร้ าคาแพง แตร่ าคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่ํา

~ 78 ~

วสิ ัยทศั น์
“ตําบลเกษตรกรรมย่ังยืน อุตสาหกรรมครัวเรือนมีคุณภาพ สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง

สขุ ภาพดถี ว้ นหนา้ พฒั นาความพร้อมท้องถ่ินกา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น”

ยุทธศาสตร์การพฒั นาสังคมและคุณภาพชีวิต
1) ด้านการศึกษา
2) ด้านเคหะและชมุ ชน
3) ด้านสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชน
4) ด้านสาธารณสุข

การวิเคราะห์ปัญหาของตาบล
1) ปัญหาอาชพี รายไดไ้ ม่เพยี งพอ
2) ปญั หาเรื่องท่อี ยอู่ าศยั ของผดู้ ้อยโอกาส
3) ปญั หาภยั แล้ง แหล่งนาํ้ ไม่เพยี งพอตอ่ การเกษตร
4) ปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกตํา่ ทําใหร้ าคาผลผลิตการเกษตรตกต่ําในขณะท่ี ตน้ ทนุ การผลติ สูงข้ึน

~ 79 ~

สว่ นท่ี 4
แผนปฏิบตั ิการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แขง็

4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา

ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์
ยุทธศาสตรท์ ่ี การพฒั นาศกั ยภาพกล่มุ และองค์กร
เพื่อการจัดสวสั ดกิ ารและการส่งเสริม 1. พฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนและ
1 การออมในชุมชน องค์กรในชมุ ชนใหเ้ ข้มแขง็
การชว่ ยเหลอื และเพิม่ ขีด
ยุทธศาสตร์ที่ ความสามารถใหก้ ลุ่มเปราะบาง 2. สง่ เสรมิ ระบบการออมในชุมชน
2 ในชมุ ชน
1. เพ่ิมขีดความสามารถของกลุ่มเปราะบาง
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ การพัฒนาฐานขอ้ มลู และสร้างระบบ ใหส้ ามารถดแู ลตนเองและบคุ คลใน
3 ชมุ ชนเขม้ แข็ง ครอบครวั

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี การสรา้ งการมีสว่ นรว่ มการเรยี นรู้และ 2. สรา้ งการมีส่วนร่วมในชุมชนในการดูแล
4 การสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางสังคม และใหค้ วามช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง

1. จดั ทาํ ฐานขอ้ มูลครอบครัวของคนในชมุ ชน
2. สรา้ งเสริมระบบเครือขา่ ยการเชื่อมโยง

และประสานงานทง้ั ภายนอกและในชุมชน

1. เพิม่ ขีดความสามารถของประชาชนตําบล
ในด้านต่างๆ

2. สรา้ งความรว่ มมือร่วมใจในการมสี ่วนร่วม
ในกจิ กรรมทางสงั คมของตาํ บล

4.2 แผนปฏบิ ตั ิการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ ระยะ 3 ปี (2564-2566)

ประเด็นที่ 1 การพัฒนาศักยภาพกลมุ่ องค์กรเพ่อื การจัดสวสั ดิการและส่งเสริมการออมในชุมชน

ที่ โครงการ/กจิ กรรม กลุ่มเป้าหมาย/ แผนปฏบิ ัติการ หน่วยงานที่
2564 2565 2566 รบั ผิดชอบ
จานวน 1,000 1,000 1,000 กองทนุ สวัสดกิ าร

1 การประชาสัมพนั ธ์ ประชาชนในเขต  ชุมชน
ต.โนนสาํ ราญ
ขยายจาํ นวนสมาชิก ตําบลโนนสาํ ราญ 
กองทนุ สวสั ดิการ
กองทุนสวสั ดิการ เพมิ่ ขึน้ ปลี ะ 100 ชุมชน

ชุมชนตําบล คน ต.โนนสาํ ราญ
ศนู ยบ์ ริการคนพกิ าร
โนนสาํ ราญ
จงั หวัดชัยภูมิ
2 การสง่ เสริมการจัด ผดู้ อ้ ยโอกาสใน

สวสั ดกิ ารตามระเบียบ ตําบลโนนสาํ ราญ

ขอ้ บงั คบั ของกองทนุ ฯ

3 สนับสนนุ การจัดตั้ง ศูนย์บรกิ ารคน

ศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ าร พกิ ารทวั่ ไป

ทวั่ ไป

~ 80 ~

ประเดน็ ที่ 2 การช่วยเหลอื และเพิ่มขดี ความสามารถให้กลมุ่ เปราะบางในชุมชน

ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย/ แผนปฏิบัตกิ าร หน่วยงานท่ี
จานวน รบั ผิดชอบ
1 การสงเคราะห์ 2564 2565 2566 สนง.พมจ.ชัยภมู ิ
ครอบครัวผูป้ ระสบ กลุม่ เปราะบาง
ปัญหาทางสังคมทกุ จาํ นวน 21 42,000  ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ าร
กลมุ่ เปูาหมาย ครัวเรือน จงั หวดั ชยั ภมู ิ
20,000 
2 การปรับสภาพ คนพิการทุก ศนู ย์บริการคนพิการ
แวดล้อมที่อยอู่ าศยั ประเภท -  จงั หวัดชัยภมู ิ
สาํ หรบั คนพิการ - 
คนพิการทกุ ศูนย์บรกิ ารคนพิการ
3 การกยู้ ืมเงนิ ประกอบ ประเภท วิลแชร์ 5 คัน   จงั หวัดชยั ภูมิ
อาชพี สาํ หรบั คนพกิ าร คนพกิ ารทุก รถโยก 1 คนั 
ประเภท ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ าร
4 สนบั สนนุ เงนิ 80,000  จงั หวัดชัยภมู ิ
สงเคราะหแ์ ละฟนื้ ฟู คนพิการทางการ
สมรรถภาพคนพกิ าร เคลอื่ นไหวหรอื พมจ./อบจ. รว่ มกบั
ร่างกาย อบต.โนนสําราญ
5 สนับสนนุ กายอปุ กรณ์ จาํ นวน 3 หลงั
สําหรับชว่ ยคนพกิ าร อบต.โนนสําราญ
กลมุ่ สตรีและ 30,000 20,000 20,000
6 โครงการปรับ ครอบครวั 50 คน อบต.โนนสาํ ราญ
สภาพแวดลอ้ มและสิ่ง
อํานวยความสะดวก ประชาชนใน 50,000 50,000  อบต.(สนบั สนนุ ผา่ น
ของผสู้ ูงอายใุ ห้ ตาํ บล 62,000 50,000  สภาองค์กรชมุ ชนตํา
เหมาะสมและปลอดภัย บนโนนสําราญในการ
ประชาชนใน
7 โครงการส่งเสริมพัฒนา ตาํ บล บรหิ ารจดั การ)
ศกั ยภาพและคุณภาพ พอช.
ชีวิตให้แกส่ ตรี และ จาํ นวน 10 200,000 
สรา้ งความเข้มแขง็ ครัวเรอื น 490,000  อบต.
ใหแ้ กส่ ถาบนั ครอบครวั
จาํ นวน
8 โครงการกําจัดลูกนา้ํ 7 หมบู่ า้ น
ยงุ ลาย

9 โครงการสาํ รวจคดั
กรองโรคเบาหวาน
ความดนั โรคหัวใจ

10 โครงการบ้านพอเพยี ง
ชนบท

11 โครงการเศรษฐกจิ
ชมุ ชน

~ 81 ~

ประเด็นท่ี 3 การพัฒนาฐานขอ้ มูลและสร้างระบบชุมชนเขม้ แขง็

ท่ี โครงการ/กจิ กรรม กลมุ่ เปา้ หมาย/ แผนการปฏิบัติการ หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ

จานวน 2564 2565 2566 สนง.พมจ.
และคณะทาํ งาน
1 โครงพัฒนาคณุ ภาพ จํานวน 80,000  
พมจ.ร่วมกับ อบต.โนน
ชวี ิตกลมุ่ เปราะบาง 40 ครวั เรอื น สําราญ

รายครัวเรือน และ คณะกรรมการ
ศพอส.
2 โครงการเสรมิ สรา้ ง ผ้สู งู อายใุ นชุมชน  
บา้ นพักเดก็ และ
กลไกลการพฒั นา ครอบครัว

ผสู้ งู อายใุ นชุมชน บ้านพกั เด็กและ
ครอบครัว
(ศพอส.ต้นแบบ)
อบต.โนนสาํ ราญ
3 โครงการสรา้ ง คณะการค้มุ ครอง  
อบต.โนนสาํ ราญ
เครอื ข่ายคุ้มครอง เดก็

เด็กในระดับ ระดบั ตําบล

ตําบล

4 ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ คณะการคมุ้ ครอง  

คณะกรรมการ เด็ก

คมุ้ ครองเดก็ ใน ระดับตําบล

ระดับอําเภอ/ตาํ บล

5 โครงการแขง่ ขัน ประชาชนตําบล 150,000 100,000 
20,000 20,000 
กฬี า ดา้ นยาเสพตดิ โนนสําราญ

6 โครงการส่งเสรมิ ประชาชนตาํ บล

ครอบครัวอบอุน่ โนนสําราญ

ประเดน็ ท่ี 4 การสร้างการมีสว่ นรว่ ม การเรียนรู้ และการสง่ เสริมกิจกรรมทางสังคม

ท่ี โครงการ/กจิ กรรม กล่มุ เปา้ หมาย/ แผนปฏิบตั กิ าร หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ
จานวน 2564 2565 2566
70,000 70,000  พมจ. รว่ มกับ อบต.โนน
1 กจิ กรรมโรงเรยี น จาํ นวน 50 คน สําราญ และ
ผู้สูงอายุในการ 15,000   คณะกรรมการ ศพอส.
พฒั นาคณุ ภาพชีวิต (ใช้งบประมาณของ
และส่งเสริมอาชพี ผู้สูงอายุ)
ผูส้ ูงอายุ สภาเด็กและเยาวชน
รว่ มกับอบต.โนนสําราญ
2 โครงการสง่ เสริม เด็กและเยาวชน (งบอุดหนนุ ท่ีสภาเดก็ ฯ
ความเขม้ แขง็ สภา จาํ นวน 21 คน ขอรบั การสนับสนุนจาก
เดก็ และเยาวชน บา้ นพักเด็ก)
ตําบลโนนสาํ ราญ

~ 82 ~

ท่ี โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเปา้ หมาย/ แผนปฏิบัตกิ าร หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
จานวน 2564 2565 2566
3 โครงการแหเ่ ทียน 20,000 20,000  อบต.โนนสําราญ
เขา้ พรรษา ประชาชนในตาํ บล
ประชาชนในตําบล 30,000 30,000  อบต.โนนสาํ ราญ
4 โครงการส่งเสริม ประชาชนในตาํ บล
การปฏิบัตธิ รรม 30,000 30,000  อบต.โนนสําราญ
ประชาชนในตําบล
5 โครงการรดนํา้ ดาํ หวั ประชาชนในตาํ บล 10,000 30,000  อบต.โนนสาํ ราญ
ผสู้ ูงอายุวนั ประชาชนในตําบล
สงกรานต์ ประชาชนในตาํ บล 20,000 20,000  อบต.โนนสาํ ราญ
ประชาชนในตําบล
6 โครงการวันแม่ ประชาชนในตําบล 30,000 20,000  อบต.โนนสาํ ราญ
แห่งชาติ ประชาชนในตาํ บล 30,000 20,000  อบต.โนนสําราญ
ประชาชนในตาํ บล
7 โครงการสง่ เสรมิ ภมู ิ ประชาชนในตาํ บล 30,000 20,000  อบต.โนนสําราญ
ปญั ญาท้องถนิ่ จาํ นวน 38 คน
30,000 20,000  อบต.โนนสาํ ราญ
8 โครงการลอยกระทง จํานวน 30 คน
9 โครงการเฉลิมพระ 30,000 20,000  อบต.โนนสาํ ราญ

เกยี รติ 30,000 20,000  อบต.โนนสําราญ
10 โครงการพัฒนา 20,000 20,000 20,000 กศน.ตาํ บลโนนสาํ ราญ

ผู้สงู อายุ 5,700 5,700 5,700 สํานักงานพฒั นาชมุ ชน
11 โครงการพฒั นา อําเภอ
30,000 30,000 
ผู้พกิ าร สํานกั งานพฒั นาชมุ ชน
12 โครงการพฒั นาเด็ก อําเภอ

และเยาวชน
13 โครงการพฒั นาสตรี
14 โครงการศูนย์ฝกึ

อาชพี ชุมชน
15 โครงการอบรมอาสา

ผู้จัดเก็บขอ้ มลู ความ
จําเปน็ ขั้นพน้ื ฐาน
16 โครงการอบรมเพ่อื
พัฒนาศกั ยภาพสตรี

~ 83 ~

ส่วนท่ี 5
การขับเคล่ือนโครงการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

1. ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง.กําหนดพื้นท่ี
ที่เครือข่ายมีความเข้มแข็ง พร้อมท้ังกําหนดขอบเขตในการศึกษาตําบลสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง.ร่วมกับ
ทีม พม. จงั หวดั (One Home) เมอื่ วันท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2564 ผา่ นระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting

2. ศกึ ษาวเิ คราะหข์ อ้ มลู TPMAP และข้อมูลการช่วยเหลือกลมุ่ เปูาหมาย
3. ประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคลอื่ นงานโครงการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง ร่วมกับองค์การ
บรหิ ารส่วนตาํ บลโนนสําราญ อําเภอเมอื งชัยภมู ิ จังหวดั ชัยภมู ิ
4. จัดทําคําสั่งแต่งต้ังคณะทํางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ
จงั หวัดชัยภมู ิ
5. ประชุมคณะทํางานขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ
จังหวัดชัยภูมิ เพ่ือร่วมกําหนดแนวทางในการขับเคล่ือนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เสนอประเด็นปัญหา
ของชมุ ชน และชเี้ ปูาผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม เม่ือวันที่ 10 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตําบล
โนนสาํ ราญ อาํ เภอเมือง จงั หวดั ชยั ภมู ิ
6. ประชุมศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางสังคม รวบรวม จัดเก็บข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม โดยใช้สมุดพก
ครอบครัวเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล และบันทึกข้อมูลลงในระบบอิเล็กทรอนิกส์/Excel เพ่ือจะได้นําไปวิเคราะห์
ข้อมูลต่อไป เม่ือวันท่ี 7 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ
จังหวดั ชยั ภูมิ
7. วิเคราะห์ข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ สีแดง สีส้ม และสีเหลือง (ช่วยเหลือด่วน
ปานกลาง น้อย) เพอื่ คดั เลอื กกลุ่มเปูาหมายผู้ประสบปัญหารายครวั เรือน จํานวน 40 ครวั เรอื น

ตารางท่ี 1 กลุ่มเป้าหมายผู้ประสบปญั หารายครัวเรอื น

ท่ี ชื่อ-สกลุ อายุ ท่อี ยู่ ด้านการ ด้าน สภาพปญั หา ดา้ นการ
(ป)ี เลขที่ หมู่ มงี านทา สขุ ภาพ เข้าถึง
1 นายบวั ลี บญุ ปราการ ดา้ นการ ดา้ นความ บริการ
2 ด.ช. ดนุพร นิยมถน่ิ ที่ และ  ศึกษา เปน็ อยู่ ของรัฐ
3 นางสบุ นิ กิง่ มะนาว รายได้ 
4 นางทองดี บุญภมู ิ 65 34 1   (ทอี่ ยู่ -
5 น.ส.สาํ เนยี ง ผลช่วย 8 107 1   อาศัย) -
6 นางปสั สา นยิ มพงษ์ 70 144/3 1  - - -
7 นางจนั ทร์ จนั ทรด์ วง 77 357 1  -
8 น.ส.แดง กัสโก 62 41 3   - -
9 น.ส.ประยรู นักรบ 71 113 3   -
10 ด.ญ.ศริ พิ ร พรมนอก 52 114 3  --
40 165 3   - -
61 77 8  -
8 132 8  -- -
-
 - -
 -
--


~ 84 ~

ที่ ช่อื -สกุล อายุ ที่อยู่ สภาพปัญหา

(ปี) เลขท่ี หมู่ ด้านการ ด้าน ด้านการ ดา้ นความ ดา้ นการ

ท่ี มีงานทา สขุ ภาพ ศึกษา เปน็ อยู่ เขา้ ถึง

และ (ทอี่ ยู่ บรกิ าร

รายได้ อาศัย) ของรฐั

11 นางทองยนุ่ นึกชัยภมู ิ 73 193 8    - -

12 นายกระบวน ยอดสงา่ 68 345 8  - -  -

13 นายศริ ชิ ยั นกึ ชัยภมู ิ 60 224 2  - -  -

14 นางประไพร คงนมิ ติ ร 53 135 7  - -  -

15 นายคําสงิ ห์ นิยมบล 64 223 7   - - -

16 นางสมนกึ แขมคาํ 61 312 7   -  -

17 นายกลอ่ ม นิยมชาติ 84 78 10   - - -

18 นายสรุ า บุญราก 72 258 10   - - -

19 นายโชควีระ บุญรงั สี 46 10 10  - -  -

20 นายศรจี นั ทร์ บุญเพิม่ 59 207 8   -  -

21 น.ส.ดลภา กดุ นอก 47 61 4   - - -

22 นางเสมอ กุลเมอื งน้อย 59 2/1 4  - -  -

23 นายทองสุข นิยมชยั 51 90 9   - - -

24 น.ส.สงวน นิยมโชค 66 168 9   - - -

25 นางพกั ชยั เจริญ 83 260 9   -  -

26 น.ส.สมตรู กางการ 45 315 9  - - - -

27 นายสมหมาย หนจู ันทร์ 68 188 2   - - -

28 นายประยล นยิ มชัย 61 128 2  - -  -

29 นางทองยนุ่ พงษไ์ พบูลย์ 74 86 2   - - -

30 นายประสทิ ธ์ิ นพวรรณ 51 62 2    - -

31 นางหนูพศิ นยิ มเชื้อ 46   -  -

32 นางเขียว วพิ นั ธ์ 35/1 5   - - -

33 นางเปล่ียน ตน้ั ชยั ภมู ิ 95 5    - -

34 นายสาํ รอง ศรียา 24 5    - -

35 นางประนอม เกือ้ กูล 35 6  - -  -

36 นางทองหนกั พรมมนุ ินทร์ 55 4  - - - -

37 นางสมภาร ศรีนอก 36 6    - -

38 นางสงั วาล ทานอก 50 6    - -

39 นางเสถียร กลุ เมือง 121 4  -   -

40 นายทวี สีดา 251 5  - - - -

8. ประชุมคณะทํางานฯ เพ่ือสรุปผลการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล.และร่วมหาแนวทาง
ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพตามประเด็นปัญหาระดับครัวเรือน.และระดับชุมชน เม่ือวันที่
29 มิถนุ ายน 2564 ณ ห้องประชมุ องค์การบรหิ ารส่วนตาํ บลโนนสาํ ราญ อําเภอเมอื งชยั ภูมิ จังหวัดชยั ภมู ิ

~ 85 ~

9. จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนร่วมกับคณะทํางานขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ในพ้ืนท่ี เป็นการจัดประเภทของการพัฒนาครัวเรือน ตามความเร่งด่วนของผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน
ท่ีต้องให้การช่วยเหลือ จํานวน 40 ครัวเรือน โดยการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือน
เปน็ 3 ระยะ ดังน้ี

9.1 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะเร่งด่วน (ระยะสั้น) เช่น การช่วยเหลือ
ทางดา้ นเครื่องอุปโภคบริโภค เงนิ สงเคราะห์ (เงินอุดหนุน) และการเข้าถงึ สทิ ธิ์ เปน็ ต้น

9.2 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะกลาง เช่น การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ
การเข้าถงึ โอกาส การเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่มของชุมชน การเขา้ ถึงระบบ IT และการปรับสภาพแวดล้อม เปน็ ต้น

9.3 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนระยะยาว เช่น การปรับปรุง
ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย การมีท่ีดินทํากิน การเป็นชุมชนสีเขียว (ปลอดภัย ไม่มีขโมย) และการบรรจุแผนการ
พัฒนาคุณภาพชวี ติ รายครอบครัวในแผนระดับท้องถ่นิ

10. ดาํ เนินการแก้ไขปัญหาและพฒั นาผู้ประสบปญั หาทางสังคมตามแผนร่วมกันกับภาคีเครือข่าย และ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ใหช้ ุมชนเกดิ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถพงึ่ พาตนเองและสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน

11. ประชมุ สรุปผลการดําเนินงาน การติดตาม และประเมินผลตามแผนปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน จํานวน 40 ครัวเรือน เม่ือวันท่ี 9 กันยายน 2564 ณ องค์การบริหารส่วนตําบล
โนนสาํ ราญ อาํ เภอเมอื งชยั ภูมิ จงั หวดั ชัยภมู ิ

12. ประชุมถอดบทเรียนและสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมผลการแก้ไขปัญหาและผลการพัฒนา
ศักยภาพครัวเรือนเปูาหมายในพ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็งตําบลโนนสําราญ อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โดย สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (สสว.4),.หน่วยงาน พม..จังหวัดชัยภูมิ, คณะทํางานสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งฯ ณ ห้องประชุมสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ผ่านระบบประชุมทางไกล
ออนไลน์ Zoom Meeting

~ 86 ~

ส่วนที่ 6
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

6.1 รายงานผลการชว่ ยเหลือครัวเรอื นเปา้ หมายในพืน้ ท่ีบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง

ดา้ นการช่วยเหลือ ประเภทการช่วยเหลอื จานวน หน่วยงานที่ชว่ ยเหลือ
ดา้ นการมงี านและ (ครวั เรือน)
รายได้ - เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั พมจ.ชัยภมู ิ
ดา้ นสขุ ภาพ ผ้มู รี ายได้น้อย 29 ราย พมจ.ชยั ภูมิ
- เงนิ สงเคราะหเ์ ด็กในครอบครวั 11 ราย
ดา้ นการศึกษา ยากจน รพ.สต./อสม./ทีม LTC
- ดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายตุ ิดเตยี ง 122 ราย อบจ.ชยั ภมู ิ/อบต.
ในชุมชน 67 ราย กองทุนฟ้นื ฟูคนพกิ าร
- ชว่ ยเหลือคา่ เดนิ ทาง 5 ราย จ.ชยั ภมู ิ
มารกั ษาพยาบาล
- มอบรถวิลแชร์ 11 ราย พมจ.ชยั ภมู ิ
- เงนิ ทนุ การศึกษาสําหรับเด็ก
ในครอบครัวยากจน

ดา้ นความเปน็ อยู่ - ซ่อมแซมทีอ่ ยู่อาศยั ผู้สงู อายุ 12 ราย สภาองค์กรชมุ ชน/อบต.
(ทอ่ี ยูอ่ าศัย) - ซ่อมแซมทอ่ี ยู่อาศยั ผพู้ ิการ 1 ราย พมจ.ชยั ภมู ิ/อบต

ด้านการเข้าถงึ บรกิ าร - การใหค้ าํ ปรึกษา การลงทะเบียน 70 ราย พมจ.ชยั ภูมิ/อบต
ของรัฐ เดก็ แรกเกดิ 65 ราย พมจ.ชยั ภมู /ิ อบต

- ทําบตั รผ้พู ิการ

6.2 รายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมทดี่ าเนินการในพืน้ ทช่ี มุ ชนเข้มแข็ง

1. โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

1.1 วตั ถปุ ระสงค์

(1) เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนแก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเองได้
(2) เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มเปูาหมายและเครือข่ายในพื้นที่ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
(3) เพื่อบูรณาการความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปูาหมาย
จากทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่

~ 87 ~

1.2 กลุ่มเปา้ หมาย

คณะทาํ งานขับเคลื่อนการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็งตาํ บลโนนสาํ ราญ อําเภอเมอื งชัยภมู ิ
จงั หวัดชยั ภมู ิ จํานวน 20 คน เจ้าหน้าทท่ี ีเ่ กีย่ วข้อง จํานวน 10 คน ครัวเรอื นเปราะบาง 40 ครวั เรือน

1.3 งบประมาณ จาํ นวน 86,000 บาท

1.4 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ดังนี้

ลาดับท่ี กจิ กรรม ช่วงระยะเวลาท่ี ผลการดาเนนิ งาน
ดาเนินการ
1 ประชุมจัดเก็บขอ้ มูลผปู้ ระสบปัญหาทาง รายงานผลการประชุม และ
สังคม 21-25 เมษายน สมุดพกครอบครัว 40
2564 ครวั เรือน
2 ประชุมคณะทํางานขับเคลอ่ื นการสร้าง รายงานผลการประชมุ
เสริมชุมชนเข้มแข็ง 29 มถิ ุนายน 2564 คณะทาํ งานฯ ครง้ั ท่ี 2/2564
รายงานผลการประชมุ และผล
3 ประชมุ ติดตาม และประเมินผลการ 23 สิงหาคม - 3 การประเมนิ
ดาํ เนินงานตามแผนปฏิบตั ิการ กันยายน 2564 รายงานผลการประชุมถอด
9 กนั ยายน 2564 บทเรียน
4 ประชมุ ถอดบทเรยี นและสรปุ ผลการ
ดําเนนิ งาน

1.5 หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ สํานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ชัยภมู ิ

1.6 ปญั หาอปุ สรรค (ถา้ ม)ี
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้การจัด

กจิ กรรมท่ี 1 ประชมุ จัดเก็บขอ้ มูลผู้ประสบปญั หาทางสังคม ต้องหยดุ การลงพื้นที่ช่ัวคราวจากเดิมกําหนดไว้
10 วนั แตล่ งพน้ื ทีจ่ รงิ ได้ 5 วัน เนอ่ื งจากเปน็ ช่วงทีม่ ีคนในพน้ื ทป่ี วุ ยจากโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

1.7 ภาพกิจกรรม

~ 88 ~

2. โครงการขับเคล่ือนการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้มีรายได้น้อยในเมือง และชนบทมีความมั่นคง
ในด้านท่ีอยอู่ าศัย (พอช.) (โครงการบ้านพอเพยี ง)

2.1 วัตถปุ ระสงค์
- เพ่ือช่วยเหลือผู้เดอื ดรอ้ นดา้ นท่ีอยู่อาศัย ใหไ้ ดร้ ับการซอ่ มแซม/ปรบั ปรุง/สรา้ งที่อยู่อาศยั
- เพ่ือขยายและสรา้ งโอกาสใหช้ มุ ชนและผ้มู ีรายไดน้ ้อยเข้าถึงสวสั ดิการพื้นฐานด้านท่ีอยู่อาศยั
- เพ่ือเชื่อมโยงภาคีการทํางาน ขับเคลอ่ื นแผนการพัฒนาที่อยู่อาศัยและการพฒั นาคุณภาพชีวิต

2.2 กลมุ่ เปา้ หมาย จงั หวดั ชยั ภมู ิจํานวน 205 ครัวเรือน/หลงั (ตําบลโนนสาํ ราญ จํานวน 10 หลงั )

2.3 งบประมาณ จาํ นวน 4,151,250 บาท (ครัวเรือนละ 20,000 บาท)

2.4 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน/ผลการดาเนินงาน

กระบวนงาน การปฏบิ ัติ รายละเอียด หมายเหตุ
อยรู่ ะหว่าง ยังไมไ่ ด้ ผลการดาเนนิ งาน
ดาเนินการ ดาเนนิ การ ดาเนนิ การ

แล้ว  มีข้อมลู ผูเ้ ดือดร้อนดา้ นท่ี
อยู่อาศยั และทีด่ ินท้ัง
1) ชมุ ชน/ หน่วยงาน   ตาํ บล ทง้ั เมือง
ท้ังจงั หวัด
ร่วมกันสํารวจผูเ้ ดอื ดรอ้ นท่ี
การจดั สรรงบสนบั สนนุ
มอี ยใู่ นชมุ ชน/ตําบล เพ่อื โครงการบ้านพอเพยี ง
พิจารณาตามความ
เปน็ ข้อมลู ในการวางแผน เดอื ดร้อนท่ีสามารถ
จัดสรรงบประมาณได้
พฒั นาชมุ ชน ควรคํานึงถงึ
กระบวนการพัฒนา
2) จดั ทําแผนการแก้ไข มากกว่าการสงเคราะห์
เพ่อื ให้เกิดการช่วยเหลือ
ปญั หาและพฒั นาท่ีอยูอ่ าศยั และเชื่อมโยงภาคีมา
ชว่ ยกันแก้ไขปญั หา
อยา่ งเปน็ ระบบทงั้ เมอื ง/ เกดิ การชว่ ยเหลอื และ
เชือ่ มโยงภาคมี าช่วยกนั
ตาํ บล แก้ไขปัญหา

3) เชือ่ มโยงหน่วยงาน
ท้องถิ่นและภาคีพฒั นา
ในการสนบั สนนุ ทรพั ยากร

~ 89 ~

กระบวนงาน การปฏบิ ตั ิ รายละเอยี ด หมายเหตุ
ยงั ไมไ่ ด้ ผลการดาเนนิ งาน
4) พัฒนาระบบ ดาเนนิ การ อยรู่ ะหวา่ ง ดาเนนิ การ
สาธารณปู โภคพืน้ ฐานท่ี แลว้ ดาเนินการ
จาํ เปน็ ในพนื้ ท่ีหรือปรับ  ดาํ เนนิ การหลังการเสนอ
สภาพแวดลอ้ ม/ สงิ่ อํานวย พิจารณาอนุมัตโิ ครงการ
ความสะดวกให้เอ้ือต่อการ
อยู่อาศยั ผมู้ รี ายได้นอ้ ย  การตดิ ตาม ตรวจรบั
5) ผูม้ ีรายไดน้ ้อยมีทอี่ ยู่ โครงการหลังการ
อาศัยท่ีมน่ั คงเป็นของ ดาํ เนนิ งาน
ตนเอง

2.5 หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ
สถาบนั พัฒนาองค์กรชุมชน(องคก์ ารมหาชน) สาํ นกั งานภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

2.6 ปญั หา / อุปสรรค
การดําเนินการตามโครงการบ้านพอเพียง ในปี 2564 ได้มีการส่งข้อมูลครัวเรือนที่มี

การสํารวจข้อมูลไว้แล้ว ให้กับกรรมาธิการงบประมาณ ปี 2564 จํานวน 336 ตําบล 4,000 ครัวเรือน
ซงึ่ กรอบงบท่ี พอช.ไดร้ ับการจดั สรรในปี 2564 จาํ นวน 2,900 ครัวเรือน น้อยกว่าที่มีการส่งข้อมูลการสํารวจ
และข้อมูลท่ีมีการสํารวจเป็นข้อมูลจากปี 2562 ซึ่งมีบางครัวเรือนที่ได้รับการ ซ่อมแซม/ปรับปรุง/สร้างท่ี
อยู่อาศัย.ไปแล้วทําให้ฐานข้อมูล ณ ปัจจุบันต้องเปล่ียนแปลงครัวเรือนท่ีจะดําเนินการจริง ซึ่งต้องตรวจสอบ
รายละเอียดรายครัวเรือน พร้อมเหตผุ ลในการเปลี่ยนแปลงครัวเรือน

2.7. ขอ้ เสนอแนะ
ควรมีการบูรณาการสํารวจข้อมูลผู้เดือดร้อนร่วมกันในระดับตําบลหรือจังหวัด กับภาคี

หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และใช้ข้อมูลเป็นรายปี เพื่อให้เป็นข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบันและเกิดการบูรณาการ
การทํางานชว่ ยเหลือผเู้ ดือดร้อนด้านที่อยอู่ าศยั ผู้สงู อายุ และผพู้ กิ าร ร่วมกันอย่างเป็นระบบ

2.8 ภาพกิจกรรม

~ 90 ~

3. โครงการเรามีเราบรรเทาทกุ ข์คนพิการจังหวัดชัยภมู ิท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)

3.1 วตั ถุประสงค์
เพ่ือช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ให้คนพิการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 หรือ โควิด 19

3.2 กลุ่มเป้าหมาย
คนพิการท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19

ในพน้ื ที่ 16 อาํ เภอของจังหวัดชยั ภมู ิ จํานวน 700 คน (ตําบลโนนสาํ ราญ 15 ราย)

3.3 งบประมาณ เป็นเงนิ 490,000.- บาท (สแี่ สนเก้าหม่ืนบาทถ้วน)

3.4 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
1. เสนอโครงการขอรับงบประมาณจากกองทนุ ส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพิการ
2. ดําเนินการจัดหาเคร่ืองอุปโภค-บริโภค ตามกระบวนการจัดหาพัสดุตามกฎหมายว่า

ด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐกรณีเร่งด่วน และประกาศคณะอนุกรรมการบริหาร
กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เร่ือง กําหนดอัตราวงเงิน รายการค่าใช้จ่ายและ
รายละเอียดการปฏิบัติในการสนับสนุนแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการเพื่อช่วยเหลือ
คนพิการท่ีได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์การแพร่ระบาทของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19
ลงวันท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

3. ประสานเครือข่ายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่นิ องคก์ รคนพิการ ทีม One home จงั หวดั ชยั ภมู ิ ในการนําเครื่องอุปโภค-บริโภคให้กับ
คนพิการในพน้ื ท่ี

4. รายงานผลการดาํ เนินงาน

3.5 ผลการดาเนนิ งาน
คนพิการท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19

ในพน้ื ท่ี 16 อําเภอของจังหวัดชยั ภมู ิ จํานวน 700 คน ได้รบั การชว่ ยเหลือเคร่ืองอปุ โภค-บรโิ ภคเพ่ือบรรเทา
ความทกุ ขใ์ นเบ้อื งตน้

3.6 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สาํ นกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวัดชยั ภูมิ โดยศนู ย์บรกิ ารคนพิการจงั หวดั ชัยภมู ิ

3.7 ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี
1. ระยะเวลาในการดําเนินโครงการฯ จํากัด ทุกหน่วยงานต้องเร่งนําเคร่ืองอุปโภค-

บรโิ ภคไปมอบให้กับคนพกิ าร
2. จังหวัดชัยภูมิเกิดเหตุอุทกภัยในหลายพ้ืนที่ และบางวันสภาพอากาศแปรปรวนทําให้

การเดนิ ทาง เขา้ พน้ื ท่ีเพื่อไปเย่ียมคนพกิ ารประสบความยากลาํ บาก
3. ยังมีคนพิการท่ีประสบปัญหาต้องการความช่วยเหลือด้านเครื่องอุปโภค-บริโภค

อีกเป็นจาํ นวนมาก แต่เน่ืองจากงบประมาณมจี ํากัดจึงสามารถดําเนนิ การชว่ ยเหลือเบื้องตน้ ได้เพียง 700 คน

~ 91 ~

3.8 ภาพกิจกรรม

4. โครงการยกระดบั แปลงใหญด่ ้วยเกษตรสมยั ใหม่และเช่อื มโยงตลาด

4.1 วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพ่ือสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทําการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้

เกดิ การรวมกนั ผลิตและรวมกันจําหน่ายโดยมตี ลาดรองรบั ทแี่ นน่ อน
1.2 เพ่ือให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิดต่อหน่วยเพิ่มขึ้น รวมท้ังผลผลิต

มีคณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน ภายใตก้ ารบรู ณาการของหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน

4.2 กลุ่มเป้าหมาย
สมาชิกโครงการยกระดับแปลงใหญ่ด้วยเกษตรสมัยใหม่และเช่ือมโยงตลาด จํานวน 102 ราย

พ้ืนที่ 510 ไร่

4.3 งบประมาณ จาํ นวน 2,919,800 บาท (สองล้านเกา้ แสนหนง่ึ หม่ืนเกา้ พันแปดร้อยบาทถว้ น)

4.4 ข้ันตอนการดาเนินงาน
1) จัดประชุมสมาชิกและคณะกรรมการแปลงใหญ่ เพอื่ ทบทวนรายละเอียดโครงการ/แผนการ

ดาํ เนนิ งานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
2) กลุ่มแปลงใหญ่ดําเนินการจดทะเบยี นเป็นนติ ิบคุ คล ณ สาํ นักงานพาณชิ ยจ์ งั หวัดชยั ภูมิ
3) มอบหมายให้คณะกรรมการท่ีถูกเสนอช่ือไปทําการเปิดบัญชีธนาคารท่ีธนาคาร ธ.ก.ส.

ในนามแปลงใหญ่
4) มอบหมายให้ผแู้ ทนลงนามในการบนั ทึกข้อตกลงกบั หนว่ ยงานเจา้ ของสินค้า
5) จัดซื้อครภุ ณั ฑ์/วสั ดุอุปกรณ์ตามท่ีกําหนด
6) ตรวจสอบวสั ดคุ รภุ ัณฑ์ ใหต้ รงตามแผนการจัดซื้อ
7) เบิกจา่ ยงบประมาณตามแผนงานโครงการ
8) มอบหมายผทู้ าํ บัญชโี ครงการ รับ - จ่าย
9) บรหิ ารเครื่องรถแทรกเตอร์ โรงสี โดรน วัสดุอปุ กรณท์ ้งั หมด

~ 92 ~

4.5 แผนการบริหารจดั การเคร่ืองจักรและวัสดุตา่ งๆ
ปฏิทนิ การผลติ นาแปลงใหญว่ ิสาหกิจชุมชนศนู ยส์ ง่ เสริมและผลิตพันธ์ขุ ้าวชมุ ชนตาํ บลโนนสําราญ

กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ไถกลบตอฟาง

ไถพรวน
หว่านข้าว
กาํ จัดวชั พืช
ใส่ป๋ยุ รองพนื้
ใชโ้ ดรนฉดี ยากาํ จัดหญ้า
ใสป่ ยุ๋
คดั แยกพนั ธุ์
เก็บเกีย่ ว
โรงสขี า้ ว
จาํ หนา่ ยผลผลิต

หมายเหตุ
1. โรงสขี า้ วสีวนั ละไม่เกนิ 5 ตัน
2. ซอื้ ข้าวจากสมาชิกในราคาสูงกวา่ ทอ้ งตลาด เพอื่ เพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั สมาชกิ
3. โรงสขี ้าว ส่งใหแ้ ก่ตลาดและหนว่ ยงานท่ีทางคณะกรรมการได้ไปทําสญั ญาไวแ้ ละท้องตลาดท่วั ไป
4. ท่ีกล่มุ มขี ้าวสารจําหน่ายในท้องตลาด/หน่วยงานท่ที าํ สัญญา

4.6 ผลการดาเนินงาน
ดําเนินการจัดซื้อเครื่องจักรเสร็จสิ้น สํารวจพ้ืนท่ี เตรียมแปลง เริ่มดําเนินงานตามกําหนดการ

ปฏทิ นิ การผลติ

4.7 หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
ศนู ยส์ ่งเสรมิ และผลิตพนั ธ์ข้าวชุมชนตาํ บลโนนสําราญ

4.8 ปัญหาอุปสรรค (ถา้ มี)
การจัดซื้อ และส่งมอบเครื่องจักร ล้าช้าเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ

ไวรัสโคโรนา 2019

4.9 ภาพกิจกรรม


Click to View FlipBook Version