~ 243 ~
~ 244 ~
รายงานผลการดาเนินงานโครงการ
การบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็
ตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชัย
จังหวัดยโสธร
~ 245 ~
ส่วนท่ี 1
สภาพทัว่ ไปและขอ้ มูลพ้ืนฐาน
องค์การบริหารส่วนตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
วสิ ัยทศั น์
“ตาํ บลบากเรอื น่าอยู่ ชุมชนเขม้ แข็ง แหล่งผลติ เกษตรอินทรยี ์”
1. ขอ้ มลู ทัว่ ไป
1.1 ขนาดท่ตี ้ังและอาณาเขต
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ ต้ังอยู่ หมู่ท่ี 9 บ้านบากเรือ ในเขตของตําบลบากเรือ
อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร อยู่ทางทิศเหนือของอําเภอมหาชนะชัยและห่างจากอําเภอมหาชนะชัย
ประมาณ 9 กโิ ลเมตร และอยู่ทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ของจังหวัดยโสธรและห่างจากอําเภอเมืองจังหวัดยโสธร
ประมาณ 30 กโิ ลเมตร ขนาดพ้ืนที่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลบากเรือ มีขนาดพื้นที่ท้ังหมดประมาณ 45.20
ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 17,367 ไร่
มอี าณาเขตติดตอ่ กับพน้ื ท่ีใกลเ้ คยี ง ดงั นี้
ทิศเหนือ ติดตอ่ กับ องค์การบริหารส่วนตาํ บลลมุ พกุ และองคก์ ารบริหารส่วนตาํ บลกุดกุง
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ องคก์ ารบริหารส่วนตําบลฟูาหยาด
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั องค์การบรหิ ารส่วนตําบลโนนทรายและองค์การบริหารสว่ นตําบลแคนนอ้ ย
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลหัวเมอื ง
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศขององค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ มีสภาพพ้ืนที่เป็นท่ีราบลุ่ม มีแหล่งน้ํา
หนองบึง อย่รู อบตําบล มีลํานํา้ กดุ กงเปน็ แหลง่ นํา้ สายหลักของตําบล ใชส้ ําหรบั ทําการเกษตร
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
สําหรับลักษณะภูมิอากาศขององค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และ
ฤดูหนาว อณุ หภูมสิ ูงสดุ 39.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิตาํ่ สุด 15.0 องศาเซลเซยี ส
1.4 ลกั ษณะของดิน
ลักษณะดินในพืน้ ทส่ี ว่ นใหญ่เปน็ ดินรว่ นปนทราย และบางส่วนจะเป็นดินเหนียวในพื้นที่ลุ่มแม่นา้ํ
1.5 ลักษณะของแหล่งนา้
มีแหลง่ น้ําธรรมชาตแิ ม่นา้ํ สายหลกั คือ ลํานํ้ากดุ กง และมลี าํ นา้ํ สาขา คือ กุดบ้าน กดุ เบน็ กุดเกล้ียง
กุดจอก นอกจากนน้ั จะเป็นหนองน้าํ สาธารณประโยชน์ คือ หนองเขมร หนองหวาย หนองเลิงเปือย หนองใหญ่
หนองหมาหมี หนองมะแล หนองหญ้าไซ หนองดง่ั หนองแวง รอ่ งแห่ และฝายเครอื ชา้ ง
1.6 ลักษณะของไมแ้ ละปา่ ไม้
ลักษณะไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้เบญจพรรณด้ังเดิมของพ้ืนท่ี เช่น ยางนา สะแกนา สะแบง กุง และปุาไม้
เป็นลักษณะปาุ ชมุ ชน
~ 246 ~
2. ประชากร
หมทู่ ่ี หมู่บ้าน จานวนประชากร รวม จานวนครัวเรือน จานวนพืน้ ที่ (ไร่)
ชาย หญงิ
1 บา้ นบากเรือ 312 271 583 147 2,444
2 บ้านปอแดง 281 299 580 177 3,690
3 บา้ นดอนเรือ 177 180 357 76 1,254
4 บ้านดอนผึ้ง 264 258 522 131 3,508
5 บา้ นดงยาง 227 226 453 104 1,610
6 บา้ นทา่ ชา้ ง 229 225 454 114 4,043
7 บา้ นโคกสะอาด 111 94 205 46 912
8 บา้ นดอนผงึ้ 172 179 351 103 2,876
9 บ้านบากเรือ 156 161 317 80 1,184
10 บ้านปอแดง 249 253 502 117 3,429
11 บ้านดงยาง 192 201 393 107 1,476
รวม 2,370 2,347 4,717 1,202 26,426
3. ระบบบรกิ ารพ้ืนฐาน
3.1 การคมนาคมขนสง่
การคมนาคมขนส่ง มีถนนสายหลักสายรองของแต่ละหมู่บ้าน เนื่องจากเป็นทางผ่านและเชื่อมต่อ
ไปสู่ตําบลอ่ืนๆ และเป็นเส้นทางติดต่อระหว่างหมู่บ้าน มีบางส่วนเป็นถนนลาดยาง และบางส่วนเป็นถนน
คอนกรตี เสริมเหล็ก ถนนหินคลกุ ถนนลูกรัง และถนนดนิ
3.2 การไฟฟ้า
การไฟฟูาส่วนภูมิภาค สาขามหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ได้ให้บริการไฟฟูาแก่ประชาชนในเขต
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบลบากเรอื ครบทุกหมูบ่ ้านและครบทกุ ครวั เรือน
3.3 การประปา
การประปาสว่ นภมู ภิ าค สาขามหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ได้ให้บริการระบบนํ้าประปาแก่ประชาชน
ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ จํานวน 2.หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านดงยาง หมู่ที่ 5.และหมู่ท่ี 11
เน่ืองจากว่าอยู่ติดกับเส้นทางหลักของระบบนํ้าประปาการไฟฟูาส่วนภูมิภาค สาขามหาชนะชัยและส่วนใหญ่
ในหมบู่ า้ นจะมรี ะบบประปาของหม่บู า้ น จาํ นวน 4 แหง่ ดงั น้ี
1) ประปาหม่บู ้าน บ้านทา่ ชา้ ง หมู่ท่ี 6 ใชส้ าํ หรบั หมทู่ ี่ 6
2) ประปาหมบู่ ้าน บา้ นบากเรอื หมู่ท่ี 1,9 ใช้สาํ หรบั หมูท่ ่ี 1,9,3,7
3) ประปาหมู่บ้าน บ้านปอแดง หมทู่ ่ี 2,10 ใช้สาํ หรบั หมูท่ ่ี 2,10
4) ประปาหมูบ่ า้ น บา้ นดอนผ้ึง หมทู่ ่ี 4,8 ใช้สาํ หรับหมทู่ ่ี 4,8
3.4 โทรศพั ท์
ระบบโทรศัพท์สาธารณะ ปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ และปัจจุบันน้ีประชาชนส่วนใหญ่ใช้ ระบบ
โทรศัพทแ์ บบมือถอื
~ 247 ~
3.5 ไปรษณยี ห์ รือการสือ่ สารหรอื การขนสง่ และวัสดุ ครภุ ัณฑ์
การไปรษณีย์หรือการส่ือสาร แต่เดิมมีการเปิดให้บริการอยู่ที่บ้านปอแดง ปัจจุบันได้มีการยกเลิก
การให้บรกิ าร
4. ด้านเศรษฐกิจ
4.1 การเกษตร
ประชาชนในเขตองค์การบริหารสว่ นตําบลบากเรือ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ปลูกข้าว)
มกี ารทํานา 2 ครัง้ ทั้งนาปี และนาปรงั รองลงมาคอื อาชพี รับจา้ งท่วั ไป คา้ ขาย และเล้ียงสัตว์
4.2 การประมง
ในเขตพ้ืนท่ีตําบลบากเรือ มีสํานักงานศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําจืด เขต 5 (ยโสธร)
ต้ังอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ และพ้ืนที่ส่วนใหญ่มีแม่นํ้าไหลผ่าน เหมาะสมแก่การทํา
การประมง รองจากการทําการเกษตร (ทํานา)
4.3 การปศุสัตว์
ชุมชนในเขตตําบลบากเรือ ปริมาณการเล้ียงโค กระบือ ในอัตราส่วนต่อครอบครัวในระดับปานกลาง
ซงึ่ เป็นหลักประกนั มูลคา่ ในการผลิตเพ่ือเป็นรายได้เสริม และยังมีการเล้ียงสัตว์ปีกจําพวก เป็ด ไก่ เพ่ือเป็น
อาหาร ในอตั ราครอบครัวละ 5 ตัว นบั เปน็ ภาวะที่ดใี นการเลีย้ งสัตว์
4.4 การบริการ
1) ด้านการชาระภาษี ประเภทภาษีบํารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีปูาย ค่าธรรมเนียม
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร และการบริการจดทะเบียนพาณิชย์ องค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือในฐานะ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซ่ึงมีอํานาจหน้าที่ในการให้บริการในด้านการรับชําระภาษีต่างๆ มีการอํานวย
ความสะดวก การปรับกระบวนการลดขั้นตอนในการปฏิบัติ ทําให้การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
ประชาชนสามารถเขา้ ถึงบรกิ าร
2) ด้านการบริการหน่วยแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) สังกัดองค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ เป็นการ
บริการให้ความช่วยเหลือเบ้ืองต้นจากการเกิดอุบัติเหตุในพื้นท่ีตําบลบากเรือ ลดความสูญเสียให้น้อยลง
และสรา้ งความปลอดภัยแก่ประชาชนในพื้นท่ี ซง่ึ มีเจา้ หนา้ ท่ใี นการใหบ้ ริการมที งั้ หมดจํานวน 14 คน
4.5 การอุตสาหกรรม ในเขตพ้ืนที่ตําบลบากเรือ โดยมีกลุ่มเกษตรกรทํานาบากเรือ ซ่ึงเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
อุตสาหกรรมขนาดเล็ก มีการผลิตขา้ วสารหอมมะลิอินทรีย์ ข้าวกล้องอินทรีย์และน้ํามันรําข้าวส่งออกทั้งใน
ประเทศและส่งออกไปจําหน่ายยังตา่ งประเทศ
4.6 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพในเขตตําบลบากเรือมีกลุ่มอาชีพท่ีมีการ
จดทะเบียนเป็นวสิ าหกจิ ชุมชน รวมท้งั สิ้น 15 กลมุ่ ดงั น้ี
1) กล่มุ ผลิตปุ๋ยอนิ ทรีย์บ้านดงยาง (ผลิตปยุ๋ อินทรยี ์อัดเม็ด)
2) กล่มุ สตรีบ้านดอนเรือ (เย็บผา้ สาํ เร็จรูป)
3) กลมุ่ ออมทรัพย์บ้านปอแดง (ส่งเสริมทุนหมนุ เวยี น)
4) กลมุ่ แม่บา้ นโคกสะอาด (เย็บเสอ้ื ผ้าสาํ เร็จรปู )
5) กลมุ่ เจยี ระไนพลอย (เจียระไนพลอย)
6) กลมุ่ แมบ่ ้านทา่ ชา้ ง (ทาํ ขนมทองมว้ น กะหรี่ป๊ับ กรอบแก้ว)
7) กลมุ่ อนรุ ักษ์ไผง่ าม (ทําเฟอรน์ ิเจอร์จากไมไ้ ผ)่
~ 248 ~
8) กลมุ่ เกษตรอินทรีย์ (ทําข้าวกลอ้ งแดง ขา้ วกลอ้ งอินทรีย์)
9) กลุม่ แมบ่ า้ นดงยาง (ทอผ้าลายขดิ ผา้ ขาวม้า ขา้ วเกรยี บผลไม)้
10) กลมุ่ ทอเส่ือบา้ นทา่ ช้าง (ทอเส่อื ดว้ ยกก)
11) กลุม่ สตรที อผา้ มดั หมี่ (ทอผ้ามดั หมี่ ผา้ พันคอ ผา้ พื้นเรียบ ผา้ ขาวมา้ )
12) กลุ่มสตรบี า้ นปอแดง (ทอผ้ามัดหม่ี ผ้าหม่ เยบ็ ผา้ สําเรจ็ รปู )
13) กลุ่มขา้ วกลอ้ งงอกบ้านปอแดง (ทาํ ขา้ วกลอ้ งงอกสูญญากาศ)
14) กลมุ่ ขา้ วกล้องงอกดงยาง (ทาํ ขา้ วกลอ้ งงอกสญู ญากาศ)
15) กลมุ่ เกษตรกรทํานาบากเรือ (ผลิตข้าวสารหอมมะลิอินทรีย์เพ่ือส่งออกข้าวกล้องอินทรีย์ และ
นํา้ มันรําข้าว)
4.7 แรงงาน
ประชาชนในพื้นท่ีตําบลบากเรือส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ และใช้แรงงานในพ้ืนท่ี ไม่นิยมไปใช้
แรงงานในพ้นื ทต่ี ่างจังหวดั
5. ดา้ นสภาพทางสังคม
5.1 การศึกษา
จาํ นวนสถานศึกษา (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) ที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน 4 แห่ง และ
สถานศึกษาทีส่ ังกดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษายโสธร เขต 1 จาํ นวน 5 แหง่ แยกเป็นดังนี้
1) ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็
• ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กบ้านบากเรือ
• ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นดอนผง้ึ
• ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านดงยาง
• ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบา้ นปอ
2) สถานศึกษาสงั กัด สพฐ.ยโสธร เขต 1 (ในเขตพ้นื ทต่ี าบลบากเรอื )
• โรงเรียนบ้านบากเรอื ดอนเรือ
• โรงเรยี นบา้ นดงยาง
• โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นดอนผึ้ง
• โรงเรยี นบ้านทา่ ชา้ ง
• โรงเรยี นบ้านปอแดงโคกสะอาด
5.2 สาธารณสขุ
ในพื้นทตี่ ําบลบากเรือ มีโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตําบล จาํ นวน 2 แห่ง ประกอบดว้ ย
1) โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาํ บลบ้านบากเรอื
2) โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาํ บลบ้านดอนผึ้ง
5.3 อาชญากรรม
ตําบลบากเรือ มีการปูองกันการเกิดอาชญากรรมอย่างเข้มงวด แต่ก็มีเกิดขึ้นตามภาวะทางสังคม
ขึ้นอยู่กับอัตราที่ควบคุมได้โดยการจับกุมผู้กระทําผิดคดีอาญาสําคัญ ตําบลบากเรือในเขตรับผิดชอบ
ของตํารวจภธู รมหาชนะชัย จังหวดั ยโสธร
~ 249 ~
5.4 ยาเสพติด
ตําบลบากเรือ มีการจัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือเอาชนะยาเสพติดในระดับตําบล ซึ่งมีเจ้าหน้าที่
ตํารวจ และเจา้ หนา้ ทหี่ ลายฝุายรว่ มเปน็ คณะกรรมการด้วย โดยมีการจัดทําโครงการบําบัด/ฟื้นฟู ผู้ท่ีติดยา
เสพติด เพือ่ แกไ้ ขปญั หายาเสพติดในชุมชนให้มีความเส่ียงลดน้อยลง มีสถิติการจับกุมของสถานีตํารวจภูธร
มหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร
6. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
6.1 ศาสนา
ประชาชนในเขตตาํ บลบากเรอื ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธ มวี ัดท้ังหมด 7 วดั และสํานักสงฆ์ 3 แห่ง
ส่งิ ทป่ี ระชาชนในตาํ บลบากเรือยึดเหนยี่ วเปน็ ศนู ยร์ วมแห่งจติ ใจ คือ วัด ข้อห้ามต่างๆ ในชุมชน โดยศาสนา
พุทธ ถือปฏิบัติตามคําส่ังสอนของพระพุทธศาสนา ละเว้นการผิดศีลธรรมอันดีปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ
ขอ้ บังคบั ตา่ งๆ ของชมุ ชน
6.2 ประเพณีและงานประจาปี
ตําบลบากเรือเดิมเป็นชุมชนท่ีมีวัฒนธรรมดีงามมาต้ังแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจนถึงปัจจุบัน เห็นได้
จากราษฎรในหมู่บ้าน ยังมีวิถีชีวิตบนพื้นฐานของความเช่ือด้านพุทธศาสนาและธรรมชาติอย่างกลมกลืน
วัฒนธรรมท่ีปรากฏท้ังด้านจิตใจ วัตถุ พิธีกรรม ยังเป็นไปตามประเพณีดั้งเดิมที่ชาวอีสานเรียกว่า
“ฮีตสิบสอง” ซ่ึงราษฎรให้ความเคารพ เช่ือถือ และศรัทธาผู้นําที่เป็นหัวหน้าชุมชนหรือผู้นําชาวบ้าน
พระสงฆ์ ครู อาจารย์ ในการจัดงานประเพณีต่างๆ จะเป็นประเพณีที่ต้องถือปฏิบัติแต่ละรอบเดือนในแต่ละปี
ซ่ึงส่วนมากจะเป็นการทําบุญตามพุทธศาสนาเป็นหลัก แต่ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีได้เข้ามา
มีบทบาทในชุมชนอย่างรวดเร็ว ทําให้ประเพณีบางอย่างถูกละเลย แต่ส่วนใหญ่ยังคงมีการปฏิบัติ
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง งานประเพณที สี่ าํ คัญมดี งั นี้
1) ประเพณบี ุญเขา้ กรรม 6) ประเพณีบุญเข้าพรรษา
2) ประเพณบี ุญขา้ วจี่ 7) ประเพณบี ญุ ขา้ วประดบั ดนิ
3) ประเพณบี ญุ ผะเหวด 8) ประเพณีบญุ ข้าวสาก
4) ประเพณีวนั สงกรานต์ 9) ประเพณีบญุ ออกพรรษา
5) ประเพณบี ญุ บง้ั ไฟ 10) ประเพณีบุญกฐนิ
นอกจากน้ีก็ยังมีพิธีกรรมความเชื่อที่ถือเป็นประเพณีหลักและยังปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
เช่น พธิ ีการงานศพ งานแต่งงาน การงนั เฮือนดี การสขู่ วัญ เปน็ ตน้
6.3 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ภาษาถ่นิ
ประชาชนในชุมชนตําบลบากเรือ พน้ื ฐานเดิมของอาชพี คือการทาํ นา ดงั นน้ั จงึ มีความรู้ความชํานาญ
ในกระบวนการการผลิตข้าว นอกจากน้ันก็ยังใช้ชีวิตแบบเรียบง่ายสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ตําบลบากเรือ มีปุาชุมชนที่อุดมสมบูรณ์มีแหล่งอาหารมากมาย เพื่อการดํารงชีวิตมีความรอบรู้ในด้านการ
หาอาหารปุามาปรงุ เปน็ อาหาร เช่น เหด็ หน่อไม้ ไข่มดแดง ผักชนิดต่างๆ ที่อยู่ในปุาชุมชน ด้านการประมง
ตําบลบากเรือมีพ้ืนท่ีอยู่ติดกับลําน้ําชี ห้วย หนอง คลอง บึง ต่างๆ ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่ของปลา และมีความ
ชาํ นาญในการหาปลา การจกั รสานอปุ กรณ์หาปลาชนิดต่างๆ
ด้านภาษาถิ่น ประชาชนในชุมชนตําบลบากเรือโดยพื้นฐาน เป็นคนอีสาน ซ่ึงก็มีภาษาท้องถ่ินเป็น
ภาษาอสี าน
~ 250 ~
6.4 สินค้าพนื้ เมืองและของทร่ี ะลึก
ตําบลบากเรือเป็นแหล่งผลิตข้าวอนิ ทรยี ์ ขา้ วกลอ้ งอินทรีย์ นํา้ มนั ราํ ข้าว โดยกลมุ่ เกษตรกรทํานาบากเรือ
ซ่งึ เป็นสนิ คา้ ทม่ี ีช่ือเสียงและส่งออกท้ังในประเทศและต่างประเทศ จึงเป็นสินค้า OTOP ของตําบลบากเรือ
อันดบั ตน้ ๆ ทจ่ี ะสามารถนาํ มาเป็นของท่ีระลกึ ใหก้ ับบคุ คลในโอกาสต่างๆ นอกจากการผลิตข้าวอินทรีย์แล้ว
สินค้าที่เป็น OTOP ของชุมชนต่างๆ ก็มีหลายอย่างท่ีมีชื่อเสียง เช่น ผ้ามัดหมี่ ผ้าขาวม้า เครื่องจักรสานต่างๆ
เช่น ตะกร้า/กระเป๋าพลาสตกิ เส่อื กก เฟอรน์ ิเจอร์จากไม้ไผ่ เป็นตน้
7. ทรัพยากรธรรมชาติ
7.1 นา้
ในพ้ืนท่ีตาํ บลบากเรอื บางพืน้ ท่ีมีแม่นา้ํ ชีไหลผ่าน และมีแหลง่ นํา้ ธรรมชาติ ดังนี้
1) ทุ่งทําเล บา้ นบากเรอื หมู่ที่ 1,9 11) กุดจอก บา้ นโคกสะอาด หมทู่ ่ี 7
2) หนองดั่ง บ้านบากเรอื หม่ทู ่ี 1,9 12) หนองเขมร บ้านทา่ ชา้ ง หมู่ที่ 6
3) หนองแวง บ้านบากเรือ หมทู่ ่ี 1,9 13) หนองเปลือย บ้านท่าชา้ ง หมทู่ ่ี 6
4) ร่องไผ่ บา้ นบากเรือ หมู่ที่ 1,9 14) หนองหวาย บ้านท่าช้าง หมูท่ ี่ 6
5) หนองใหญ่ บ้านบากเรอื หมูท่ ี่ 1,9 15) ฝายเครือช้าง บ้านดอนผึง้ หมทู่ ี่ 4,8
6) หนองใหญ่ บ้านดอนเรือ หมทู่ ี่ 3 16) ร่องแห่ บา้ นดอนผึ้ง หมทู่ ี่ 4,8
7) กุดบา้ น บา้ นปอแดง หมู่ที่ 2,10 17) หนองมะแล บ้านดงยาง หมทู่ ่ี 5,11
8) กดุ เบ็น บ้านปอแดง หมู่ท่ี 2,10 18) หนองหมาหมี บ้านดงยาง หม่ทู ี่ 5,11
9) หว้ ยเกลย้ี ง บา้ นปอแดง หมทู่ ่ี 2,10 19) หนองหญา้ ไซ บา้ นปอแดง หม่ทู ี่ 2,10
10) ลําน้ํากุดกง บา้ นปอแดง หม่ทู ่ี 2,10 , บา้ นดอนผ้งึ หมูท่ ่ี 4,8 , บ้านท่าช้าง หม่ทู ี่ 6
7.2 ปา่ ไม้
ตําบลบากเรือ พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นปุาชุมชน มีไม้ยืนต้นหลายชนิด เช่น ไม้ยางนา ไม้พยุง ไม้แดง
ไม้กระบาก ซ่ึงเปน็ ปุาทีม่ คี วามอดุ มสมบูรณ์ แต่กย็ งั มีปญั หาการบกุ รกุ ทาํ ลายปุา การใชป้ ระโยชน์ในพื้นท่ีปุา
เพื่อเป็นท่ีทําสวน ทําไร่ การตัดไม้หวงห้ามก็ยังคงมีและเป็นปัญหามาโดยตลอด ซึ่งผลเสียท่ีเกิดขึ้นทําให้
ปุาชุมชนลดน้อยลง เป็นความเสี่ยงที่อาจเกิดภัยธรรมชาติ (อัคคีภัย อุทกภัยและภัยแล้ง) ซึ่งจะนําไปสู่
การสญู เสียแก่ชีวิตหรือทรัพยส์ นิ ของประชาชนได้
7.3 คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ตําบลบากเรือ มีพื้นท่ีติดกับแม่นํ้าและลําน้ําหลายแห่ง มีแหล่งน้ําแทบจะทุกหมู่บ้าน บางคร้ังก็มี
ปัญหาในเรื่องของวัชพืชที่มีมากเกินไป ก่อให้เกิดปัญหานํ้าตื้นเขิน วัชพืชเต็มลําน้ําจนไม่สามารถ
ใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้าน้ีได้เลย เกิดปัญหาขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรเป็นบางห้วงเวลา จึงต้องมีการ
เร่งดําเนินการกาํ จัดวัชพืชออกจากแหล่งนํ้า เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้าเพื่อทําการเกษตรและอื่นๆ
ประชาชนก็สามารถที่จะหาปลาในแหล่งน้ํานั้นได้ ส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นการรักษา
สง่ิ แวดล้อมให้กลบั คนื มามีความอดุ มสมบูรณ์อีกคร้ัง
~ 251 ~
ส่วนท่ี 2
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP
การวิเคราะห์ข้อมลู เพ่อื การจดั ลาดับกลุม่ เปาะบางรายครัวเรือน
1. ขอ้ มูลระบบ Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP)
TPMAP คือ ระบบบรหิ ารจดั การข้อมลู การพัฒนาคนแบบช้ีเปูา (Thai People Map and
Analytics.Platform).ซ่ึงได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เปูา
(Thai Poverty Map and Analytics Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาท่ีกว้างข้ึน เช่น เด็กแรกเกิด
การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่อยู่อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการชี้เปูา
ความยากจนไว้ด้วย TPMAP.จึงสามารถใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน
ท้องถิ่น/ท้องท่ี จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจนรายประเด็น ซ่ึงทําให้การแก้ปัญหาตรงกับ
กลุ่มเปูาหมายมากขึ้นและสามารถออกแบบนโยบาย โครงการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับความต้องการ
หรือสภาพปญั หาได้
หลักการทํางานของ TPMAP.คืออาศัยข้อมูลจากหลายแหล่งมายืนยันซ่ึงกันและกัน
โดยในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าคนท่ีได้รับการสํารวจว่าจน (survey-based).และยังมาลงทะเบียนว่าจน
อีกด้วย (register-based).น่าจะเป็นคนจนเปูาหมายท่ีต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน ดังน้ัน TPMAP
จึงตง้ั ตน้ โดยใช้ขอ้ มลู ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)จากกรมการพัฒนาชุมชน และข้อมูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการ
แห่งรัฐจากกระทรวงการคลัง มายืนยันซึ่งกันและกัน หรืออีกนัยหนึ่ง "คนจนเปูาหมาย" ใน TPMAP.ก็คือ
คนจนใน จปฐ. ทีไ่ ปลงทะเบยี นสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
TPMAP.ใช้วิธีการคํานวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional Poverty
Index: MPI) ซง่ึ คดิ ค้นโดย Oxford Poverty & Human Development Initiative และ United Nation
Development Programmer.ซ่ึง สศช. ได้นํามาปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจนหลายมิติ
หรือ MPI.อาศัยหลักการที่ว่า คนจนคือผู้ท่ีมีคุณภาพชีวิตตํ่ากว่าเกณฑ์คุณภาพชีวิตท่ีดีในมิติต่างๆ
ซึ่ง TPMAP.พิจารณาจาก 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านการเงิน ด้านความเป็นอยู่ และ
ด้านการเขา้ ถงึ บริการรัฐ
~ 252 ~
2. ขอ้ มลู TPMAP ของจงั หวัดยโสธร
2.1 ข้อมูลจานวนคนจนและดชั นีความยากจน
จํานวนคนจนและดชั นคี วามยากจน 5 มิติของจังหวัดยโสธร มีจํานวนทงั้ ส้นิ 3,773 คน
พบว่าจํานวนคนจนสูงสุด 5 ลําดับแรก คือ อําเภอเลิงนกทา มีจํานวนท้ังสิ้น 1,771 คน คิดเป็นร้อยละ 46.94
รองลงมา คือ อําเภอคําเขื่อนแก้ว มีจํานวน 538 คน คิดเป็นร้อยละ 14.26 อันดับสาม คือ อําเภอเมืองยโสธร
มจี าํ นวน 489 คน คิดเป็นร้อยละ 12.96 อนั ดบั ส่ี คือ อําเภอมหาชนะชัย มีจํานวน 370 คน คิดเป็นร้อยละ 9.81
และอนั ดับหา้ คือ อาํ เภอกดุ ชมุ มจี ํานวน 286 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.58
ตารางที่ 1 จานวนคนจนและดชั นคี วามยากจน 5 มิติ
จานวนคน ดชั นีความยากจน 5 มติ ิ
จนเปา้ หมาย
ลาดับ อาเภอ ความ การศกึ ษา รายได้ การเขา้ ถึง
TPMAP สขุ ภาพ เป็นอยู่ บรกิ าร
1 กดุ ชมุ (คน) ภาครฐั
2 เลงิ นกทา 286 22 6 116 153
3 ไทยเจริญ 1,771 116 637 696 448 0
4 เมืองยโสธร 33 2 0 11 21
5 ทรายมลู 489 28 48 375 44 6
6 ปุาตว้ิ 22 3 1 13 0
7 คําเขื่อนแก้ว 261 82 129 0 66 1
8 คอ้ วัง 538 144 9 328 58
9 มหาชนะชยั 30 0 03 4
370 182 13 42 168
รวม 5
3,773 579 843 1,581 961
1
0
0
10
21
แผนภมู ิที่ 1 เปรียบเทียบจานวนคนจนเปา้ หมาย TPMAP รายอาเภอ
~ 253 ~
แผนภมู ทิ ่ี 2 ดัชนีความยากจน 5 มติ ิ
ตามแผนภมู ิท่ี 2 ดัชนคี วามยากจน 5 มิติของจงั หวัดยโสธร พบวา่ ปญั หาความที่ตอ้ งการ
ความชว่ ยเหลือมากท่ีสุด คือมิติด้านการศึกษา มีจํานวนท้ังสิ้น 1,581 คน คิดเป็นร้อยละ 39.61 รองลงมา
คอื มติ ิดา้ นรายได้ มีจาํ นวน 961 คน คิดเป็นร้อยละ 24.08 มิติด้านความเป็นอยู่ (ท่ีอยู่อาศัย) มีจํานวน 843 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.12 มิติด้านสุขภาพ มีจํานวน 579 คิดเป็นร้อยละ 14.51 และมิติด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ
จํานวน 27 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.68 ตามลาํ ดับ
2.2 การจาแนกครัวเรือนเป้าหมายระดับชุมชน 3 ระดบั
การวิเคราะห์ข้อมูลตามระบบ Thai People Map and Analytics Platform หรือ TPMAP
จํานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
เพอ่ื จําแนกครวั เรอื นเปูาหมายระดับชมุ ชนเป็น 3 ระดับ ดงั นี้
1. สเี ขียว หมายถงึ ตกเกณฑ์ 1 ด้าน/หมวด
2. สเี หลอื ง หมายถึง ตกเกณฑ์ 2-3 ด้าน/หมวด
3. สแี ดง หมายถึง ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน/หมวด
ตารางที่ 2 จานวนด้านยากจนที่ตกเกณฑ์รายอาเภอ
ลาดบั อาเภอ จานวนคนจน จานวนด้านยากจนท่ตี กเกณฑ์ (ครวั เรอื น) รวม
เป้าหมาย (ครัวเรือน)
1 กดุ ชุม TPMAP 1 2 345
2 เลงิ นกทา (คน) ด้าน ด้าน ดา้ น ด้าน ดา้ น 201
3 ไทยเจริญ 201 1,418
4 เมอื ง 195 6 0 0 0 19
5 ทรายมูล 1,418 1,296 119 3 0 0 516
6 ปาุ ต้ิว 18 1 0 0 0 23
19 509 6 1 0 0 254
23 0 0 0 0
516 237 17 0 0 0
23
254
~ 254 ~
ลาดบั อาเภอ จานวนคนจน จานวนด้านยากจนท่ตี กเกณฑ์ (ครัวเรอื น) รวม
เปา้ หมาย (ครวั เรือน)
7 คําเขื่อนแกว้ TPMAP 1 2 345
8 ค้อวงั (คน) ดา้ น ด้าน ดา้ น ด้าน ด้าน 489
9 มหาชนะชยั 489 3
487 2 0 0 0 289
รวม 3 3 0 000 3,212
251 38 0 0 0
289 3,019 189 4 0 0
3,212
แผนภูมทิ ่ี 3 เปรียบเทยี บจานวนดา้ นทีต่ กเกณฑ์
จากแผนภูมิที่ 3 เปรียบเทียบจํานวนหมวดยากจนท่ีตกเกณฑ์ พบว่าคนจนส่วนใหญ่ตกเกณฑ์ 1 ด้าน
มีจํานวน 3,019 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 93.99 รองลงมาคอื ตกเกณฑ์ 2 ดา้ น มีจํานวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 5.88
ตกเกณฑ์ 3 ดา้ น มีจํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.12 และไม่พบการตกเกณฑ์ 4 ด้าน และ 5 ดา้ น
แผนภาพท่ี 1 แสดงการจดั กลุ่มอาเภอตามการจาแนกครวั เรือนเป้าหมายระดบั ชุมชน 3 ระดบั
ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น (เขยี ว) ไดแ้ ก่
1. อาเภอทรายมูล
~ 255 ~
และสามารถจัดกลุ่มอําเภอ โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้ดังน้ี 1) ระดับสีเขียว ได้แก่ อําเภอทรายมูล
2) ระดับสีเหลือง ได้แก่ อําเภอกุดชุม อําเภอเลิงนกทา อําเภอไทยเจริญ อําเภอเมืองยโสธร อําเภอปุาต้ิว
อําเภอคําเขอ่ื นแก้ว อาํ เภอวังค้อ อําเภอมหาชนะชยั
3. ข้อมูล TPMAP ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวดั ยโสธร
3.1 คนจนเปา้ หมายตามจานวนหมวดทีต่ กเกณฑ์
ข้อมูลจากระบบ TPMAP ตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีคนจนเปูาหมาย
จํานวน 10 คน.แบ่ง 3 ระดับ ได้ดังน้ี ระดับสีเขียว จํานวน 3 หมู่ ได้แก่ หมู่ที่ 4 บ้านดอนผึ้ง หมู่ท่ี 9
บา้ นบากเรอื หมู่ท่ี 11 บ้านดงยาง ระดับสีเหลือง จํานวน 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 5 บ้านดงยาง ส่วนระดับสีแดง
ไม่พบในพ้นื ท่ี รายละเอียดดังตอ่ ไปนี้
ตารางที่ 3 จานวนคนจนเป้าหมายตามจานวนหมวดทตี่ กเกณฑ์
หมบู่ า้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ รวม
1 ด้าน 2 ดา้ น 3 ดา้ น 4 ด้าน 5 ด้าน (คน)
หมู่ 4 บา้ นดอนผ้ึง
หมู่ 5 บา้ นดงยาง 2 - - - - 2
หมู่ 9 บ้านบากเรือ 4 1 - - - 5
หมู่ 11 บา้ นดงยาง 2 - - - - 2
1 - - - - 1
รวม 8 10
2 0 0 0
แผนภูมิที่ 4 เปรยี บเทยี บคนจนเปา้ หมายตามจานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์รายหมบู่ า้ น
จากแผนภูมิท่ี 4 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์ พบว่าหมู่บ้านท่ีมี
คนจนเปูาหมายสูงสุด คือ หมู่ที่ 5 บ้านดงยาง มีจํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาคือ หมู่ท่ี 4
บา้ นดอนผ้ึง และหมูท่ ่ี 9 บา้ นบากเรือ มีจาํ นวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 ในสดั สว่ นท่ีเท่ากัน และอันดับ
สาม คอื หมทู่ ่ี 11 บา้ นดงยาง มีจาํ นวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.00
~ 256 ~
แผนภูมทิ ่ี 5 เปรยี บเทยี บคนจนเป้าหมายตามจานวนด้านท่ตี กเกณฑ์
จากแผนภูมิท่ี 5 จํานวนคนจนเปูาหมายตามจํานวนหมวดท่ีตกเกณฑ์.พบว่าตกเกณฑ์ 1 ด้าน
มจี าํ นวนทั้งส้ิน 9 ครวั เรือน คิดเป็นร้อยละ 90.00 ตกเกณฑ์ 2 ด้าน มีจํานวนทั้งส้ิน 1 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 10.00
ตกเกณฑ์ 3 ด้าน และไมพ่ บการตกเกณฑ์ 4 ด้าน และตกเกณฑ์ 5 ดา้ น
3.2 จานวนคนจนเป้าหมายตามดชั นคี วามยากจน 5 มติ ิ
จํานวนคนจนเปูาหมายตามดัชนีความยากจน 5 มิติ พบว่าส่วนใหญ่ ตกเกณฑ์ด้านรายได้
รองลงมา คือ ตกเกณฑ์ด้านการศึกษา และอันดับสาม คือ ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพและการเข้าถึงบริการรัฐ
และไมพ่ บการตกเกณฑ์ด้านความเป็นอยู่ รายละเอยี ดดังต่อไปน้ี
ตารางที่ 5 จานวนคนจนเป้าหมายตามดัชนคี วามยากจน 5 มิติ
หมูบ่ า้ น ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ ตกเกณฑ์ จานวนคน
ดา้ น ด้าน ดา้ น ดา้ น ดา้ นการ ตกเกณฑ์
หมู่ 4 บา้ นดอนผึง้ สขุ ภาพ ความ รายได้ เขา้ ถึง
หมู่ 5 บ้านดงยาง เปน็ อยู่ การศกึ ษา บริการ 2
หมู่ 9 บา้ นบากเรือ - 2 ภาครฐั 5
หมู่ 11 บา้ นดงยาง - - - 3 2
1 - 1 - - 1
รวม - - 1 - 1 10
1 - 1 5
3 -
0
-
1
~ 257 ~
แผนภมู ทิ ี่ 6 เปรียบเทียบคนจนเปา้ หมายตามจานวนดา้ นทต่ี กเกณฑ์
จากแผนภูมิท่ี 6 จํานวนคนจนเปูาหมายตามดัชนีความยากจน 5 มิติ พบว่า คนจน
เปูาหมายสว่ นใหญต่ กเกณฑด์ า้ นรายได้ มีจาํ นวน 5.ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 ตกเกณฑ์ด้านการศึกษา
มีจํานวน.3 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 30.00 ตกเกณฑ์ด้านสุขภาพและตกเกณฑ์ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
มีจํานวน.1.ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตกเกณฑ์ด้านการเข้าถึงบริการของรัฐ มีจํานวน.1.ครัวเรือน
คิดเป็นรอ้ ยละ 10.00 ในสัดส่วนท่ีเทา่ กนั และไม่พบการตกเกณฑ์ดา้ นความเป็นอยู่ (ทีอ่ ยอู่ าศยั )
สามารถจาแนกคนจนเปา้ หมายท่ีตกเกณฑ์ตามตัวช้ีวัด ได้ดงั น้ี
1. ด้านสขุ ภาพ จาํ นวน 1 คน
- คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ออกกาํ ลงั กายอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วนั วันละ 30 นาที จาํ นวน 3 คน
2. ดา้ นการศึกษา จํานวน 3 คน
- เดก็ อายุ 6-14 ปี ไดร้ ับการศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปี
- คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขยี นภาษาไทย และคดิ เลขอย่างงา่ ยได้
3. ดา้ นรายได้และการมงี านทํา จํานวน 5 คน
- คนอายุ 60 ปขี ึน้ ไป มีอาชีพและรายได้ จํานวน 5 คน
4. ดา้ นการเข้าถึงบริการรฐั (MPI) จาํ นวน 1 คน
- ผ้สู ูงอายุ ได้รบั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
คาอธิบาย
TPMAP สามารถระบไุ ดว้ ่า “คนจนเปาู หมาย” มีปัญหาอะไรบ้างในแต่ละมิติ จากข้อมูลจํานวนคน
ในครัวเรือนยากจนที่ตกตัวชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในแต่ละมิติ โดยคัดเลือกจากตัวช้ีวัด จปฐ.
(31 ตัวชว้ี ัด) ทน่ี าํ มาใชใ้ นการคาํ นวณดชั นคี วามยากจนหลายมติ ิ (MPI) จํานวน 17 ตัวชีว้ ัด ดงั นี้
ด้านสุขภาพ (เลือก 4 ตัวช้วี ัด จาก 7 ตัวชว้ี ดั )
เดก็ แรกเกิดมีนา้ํ หนกั 2,500 กรมั ข้ึนไป
ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน
ครัวเรือนมีการใช้ยาเพอื่ บําบดั บรรเทาอาการเจ็บปุวยเบ้ืองตน้ อยา่ งเหมาะสม
คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ออกกาํ ลงั กายอย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 3 วนั วันละ 30 นาที
~ 258 ~
ดา้ นความเปน็ อยู่ (เลอื ก 4 ตวั ชวี้ ัด จาก 7 ตวั ชว้ี ดั )
ครัวเรือนมีความมน่ั คงในท่ีอยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร
ครวั เรือนมนี ้าํ สะอาดสําหรับดืม่ และบริโภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 5 ลิตรตอ่ วัน
ครวั เรือนมีน้าํ ใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวนั
ครวั เรอื นมีการจดั การบ้านเรือนเป็นระเบียบเรยี บร้อย สะอาด และถกู สุขลกั ษณะ
ด้านการศกึ ษา (เลอื ก 4 ตวั ช้ีวัด จาก 5 ตัวช้ีวัด)
เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รับบริการเลยี้ งดูเตรยี มความพร้อมก่อนวัยเรียน
เดก็ อายุ 6-14 ปี ไดร้ บั การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
เดก็ จบชัน้ ม.3 ไดเ้ รยี นตอ่ ชั้น ม.4 หรือเทยี บเท่า
คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคดิ เลขอย่างง่ายได้
ด้านรายได้ (เลอื ก 3 ตวั ช้วี ัด จาก 4 ตัวชวี้ ดั )
คนอายุ 15-59 ปี มอี าชพี และรายได้
คนอายุ 60 ปีขึน้ ไป มีอาชีพและรายได้
รายไดเ้ ฉลีย่ ของคนในครวั เรอื นตอ่ ปี
ดา้ นการเข้าถึงบรกิ ารรัฐ (เลือก 2 ตัวชว้ี ัด จาก 8 ตวั ช้วี ดั )
ผู้สงู อายุ ได้รบั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน
ผพู้ กิ าร ไดร้ ับการดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
นอกจากนน้ั TPMAP ยังสามารถเปรียบเทียบข้อมูลปีต่อปี ทําให้เห็นสภาพปัญหาว่ามีทิศทางปรับ
ลดหรือรุนแรงมากขึ้นเพียงใด ซ่ึงสามารถนํามาใชป้ ระเมนิ ปจั จยั ที่อาจส่งผลต่อปัญหาดังกล่าว หรือประเมิน
ประสิทธิภาพของนโยบายท่ีเกดิ ข้ึนในช่วงเวลาน้นั ได้ ซ่ึงจะชว่ ยให้การแก้ปัญหาตรงจุด และเลือกนโยบายได้
มีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้ึน
~ 259 ~
ส่วนที่ 3
การวิเคราะหป์ ัญหาโดยคนในชุมชน
การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพเพื่อประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันโอกาส
การพฒั นาในอนาคตของท้องถิ่นตําบลบากเรือ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ SWOT.(Swot.Analysis) โดยการ
พิจารณาปัจจัยต่างๆ สภาพปัจจุบันของหมู่บ้าน ปัญหา ศักยภาพ อุปสรรค โอกาส ข้อเสนอในเวที
ประชาคม ที่สามารถบ่งชส้ี ภาพปัญหาและความตอ้ งการของคนในชมุ ชนได้ ดงั น้ี
1. ปจั จยั สภาวะแวดลอ้ มภายใน ได้แก่ จุดแข็ง (Strengths) และจดุ อ่อน (Weakness)
2. ปจั จยั สภาวะแวดล้อมภายนอก ไดแ้ ก่ โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threats)
ปัจจัยภายใน : จุดแขง็ (Strengths)
1) มีองค์กรชุมชน เชน่ กรรมการหมูบ่ า้ น กลุม่ สตรี อสม. กองทุนหมบู่ ้าน อปพร. ชรบ.ฯลฯ
2) มีหน่วยงานด้านการพฒั นาสังคมสงเคราะห์ให้การสนบั สนุนงบประมาณในการพัฒนาดา้ นสังคม
ปจั จัยภายใน : จดุ อ่อน (Weakness)
1) ปญั หาความไม่ปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ
2) ปัญหาการพนัน
3) ปญั หาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในหมู่บ้าน
ปัจจยั ภายนอก : โอกาส (Opportunity)
1) พรบ. กระจายอํานาจใหแ้ ก่ อปท. พ.ศ. 2542 ได้ใหอ้ ํานาจหน้าทข่ี อง อปท. ในการจัดบริการ
สาธารณะทางด้านสวสั ดกิ ารสงั คมและพัฒนาชุมชนกวา้ งมากข้นึ
2) นโยบายในการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอยา่ งจริงจัง ซ่ึงถือเปน็ วาระแหง่ ชาติ
ปัจจัยภายนอก : ขอ้ จากัด (Threats)
1) ประชาชนบางสว่ นยงั ไม่สามารถเขา้ ถึงการบรกิ ารด้านสวัสดิการสังคมเนือ่ งจากไมร่ บั ร้ขู ้อมูลข่าวสาร
2) ผตู้ ิดยาเสพตดิ ไม่ให้ความร่วมมือในการเปิดเผยข้อมลู สว่ นตัวในการเข้ารบั การบาํ บัด/ฟืน้ ฟู
วิสัยทัศน์
ตาํ บลบากเรอื น่าอยู่ ควบคู่ภมู ิปญั ญา เป็นแหล่งศึกษาเรยี น
ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาสง่ เสริมคุณภาพชวี ติ 3) การพัฒนาการศึกษา
1) การพัฒนาส่งเสริมอาชพี 4) การพฒั นาสาธารณสุข
2) การพฒั นางานสวัสดิการสังคม
การวเิ คราะห์ปัญหาของตาบล
1) ปญั หาดา้ นรายได้ (คา่ ครองชีพในครวั เรอื น ผลกระทบจาก Covid-19 ไมม่ ที ีด่ ินทาํ กนิ )
2) ปัญหาด้านการมีหนีส้ ิน (หนี้สนิ ในระบบ)
3) ปัญหาดา้ นสงิ่ แวดล้อมในครัวเรอื น (สภาพครัวเรือนไมถ่ ูกสุขลักษณะ)
4) ปญั หาดา้ นสขุ ภาพ (ผู้สูงอายไุ มม่ ีผดู้ ูแล เจบ็ ปุวยเรอื้ รัง ผู้พกิ ารไมม่ ีผ้ดู ูแลและปุวยติดเตยี ง)
5) ปัญหาดา้ นเด็กในครอบครัวยากจน
6) ปญั หาด้านครอบครัวเล้ยี งเดีย่ ว ครอบครวั แหวง่ กลาง
7) ปญั หาด้านยาเสพติด
8) ปญั หาด้านท่ีอยู่อาศัย (สภาพไม่มนั่ คง และไม่เหมาะสมต่อการพกั อาศัยสาํ หรบั ผู้พิการ
~ 260 ~
ส่วนที่ 4
แผนปฏิบัตกิ ารสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง
4.1 แผนปฏบิ ตั ิการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ระยะ 3 ปี (2564-2566)
ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาสงั คมและคณุ ภาพชวี ติ ประกอบด้วย
1) การพฒั นาส่งเสริมอาชีพ
2) การพฒั นางานสวัสดิการสังคม
3) การพฒั นาการศึกษา
4) การพัฒนาสาธารณสุข
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสงั คมและคุณภาพชวี ติ : การพฒั นาสง่ เสริมอาชพี
เป้าหมาย งบประมาณ ผลท่คี าดว่า หนว่ ยงานที่
ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 จะไดร้ ับ ได้
โครงการ) รบั ผิดชอบ
1 โครงการฝกึ อบรม เพอื่ ให้ -จัดทําโครงการ 500,000 500,000 - ประชาชนมี กองส่งเสรมิ
และสง่ เสรมิ อาชพี ประชาชน ยโสธรโมเดล คุณภาพชีวิต การเกษตร
ตามนโยบายการ ในพ้นื ทีม่ ี -จดั ทําโครงการ ท่ี ดี ข้ึ น มี
แก้ไขปญั หาสังคม รายได้ อบรมอาชพี ตาม รายไดเ้ พิ่มข้นึ
และความยากจน เพ่ิมขึ้นและ แนวปรัชญา
ภายใต้ปรชั ญา ดาํ เนนิ การ เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ตามแนว พอเพยี ง
เศรษฐกจิ -รณรงค์ปลูกผกั
พอเพยี ง ปลอดสารพษิ
-โครงการ
อนุรักษ์ พันธุ
กรรมพชื อนั
เน่อื งมาจาก
พระราชดาํ ริฯลฯ
2 โครงการปลูกพชื เพอ่ื ใหม้ ี จดั กิจกรรม 150,000 150,000 - ประชาชนมี กองส่งเสรมิ
หลังฤดูเกบ็ เกี่ยว รายได้ จาก อบรมและจัดซ้ือ คุณภาพชีวิต การเกษตร
อาชีพเสรมิ เมลด็ พันธุใ์ หแ้ ก่ ท่ดี ขี น้ึ มี
เกษตรกร เชน่ ถัง่ รายไดเ้ พิม่ ขน้ึ
ลิสง ข้าวโพด
ขา้ วฯลฯ
~ 261 ~
2. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาสังคมและคุณภาพชวี ติ : การพัฒนางานสวสั ดิการสงั คม
เปา้ หมาย งบประมาณ ผลทค่ี าดว่า หนว่ ยงานท่ี
ท่ี โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค์ (ผลผลติ 2564 2565 2566 จะได้รบั ได้
ของ
รับผิดชอบ
โครงการ)
1 โครงการปอู งกนั -เพอื่ ลดปญั หา จัดอบรมให้ 500,000 500,000 - ประชาชน กองสง่ เสริม
การตง้ั ครรภแ์ ละ การต้ังท้องใน ความรู้ มีคุณภาพ การเกษตร
ปญั หายาเสพติดใน วัยเรียน ชวี ิตที่ดีขนึ้
วัยร่นุ -ลดปัญหายา มรี ายได้
เสพตดิ เพิ่มข้ึน
2 โครงการสง่ เสรมิ เพือ่ สง่ เสริม จัดอบรม 15,000 15,000 - ผสู้ ูงอายแุ ละ กอง
สุขภาพผูส้ งู อายุ สุขภาพผูส้ งู อายุ และ คนพิการมี สวัสดกิ าร
และผพู้ กิ าร และผพู้ กิ ารใหม้ ี กิจกรรม สขุ ภาพท่ี สังคม
สขุ ภาพทเี่ ขม้ แขง็ แขง็ แรง
3 โครงการจดั ซือ้ เพ่ือสง่ เสริมการ จดั ซ้ือ 1,000,000 1,000,000 - ประชาชน กอง
อปุ กรณก์ ารกฬี า ออกกําลงั กาย อปุ กรณ์ มสี ุขภาพท่ี การศึกษา
เครื่องออกกําลัง การกฬี า แขง็ แรง
กายแกช่ มุ ชน และเครอ่ื ง
ออกกําลงั
กายแก่
ชมุ ชน
4 โครงการแก้ไข เพื่อพัฒนาสงั คม -โครงการ 50,000 50,000 - - ประชาชน กอง
ปญั หาผมู้ ีรายได้ และใหป้ ระชาชน สง่ เสรมิ มอี าชพี เสรมิ สวัสดิการ
นอ้ ยและส่งเสรมิ มีรายได้และ อาชีพ -ประชาชน สังคม
กลมุ่ อาชีพ คณุ ภาพชีวิตทดี่ ี -สนับสนนุ มคี ุณภาพ
การแกไ้ ข ชีวิตที่ดีขน้ึ
ปญั หา
ให้แก่ผู้มี
รายได้นอ้ ย
5 โครงการฝกึ อบรม เพอ่ื ให้ความรแู้ ก่ จัด 15,000 15,000 - ประชาชน กอง
มคี วามรู้ สวสั ดิการ
ความรู้ผพู้ กิ ารและ ระชาชนในการ ฝึกอบรม มากขึน้
สังคม
ด้อยโอกาสในการ เขา้ ถึงสิทธติ า่ งๆ และ
เขา้ ถงึ สทิ ธิต่างๆ กิจกรรม
6 โครงการสงู วัยสงู เพอ่ื ให้ผู้สูงวยั จัดโครงการ 400,000 400,000 ผ้สู งู วยั มี กอง
คณุ ค่ารว่ มพฒั นา มีคณุ คา่ ผสู้ ูงวัยและ คุณภาพ สวสั ดิการ
ประเทศไทย 4.0 ไม่ถกู ทอดทง้ิ กิจกรรม ชีวิตที่ดี
สังคม
~ 262 ~
3. ยุทธศาสตร์การพฒั นาสงั คมและคุณภาพชีวิต : การพัฒนาการศึกษา
โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลท่คี าดว่า หน่วยงานท่ี
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ
ที่ วตั ถุประสงค์ โครงการ) 2564 2565 2566 จะไดร้ ับ ได้
รับผดิ ชอบ
1 โครงการ เพื่อการจัดหา จัดซื้อสื่อการ 150,000 150,000 - ศนู ย์พฒั นา กอง
พัฒนาการ ส่อื การเรยี น เรียนการสอน เด็กเล็กมี การศึกษา
เรียนการสอน การสอน เพือ่ ใชใ้ นศูนย์ การพฒั นา
ตาม สําหรบั พัฒนาเด็กเล็ก ดา้ นส่อื การ
หลกั สตู ร พัฒนาการ ทัง้ 4 แห่ง เรียนการ
ปฐมวยั เรียนการสอน สอนอยา่ ง
เพียงพอ
2 โครงการ เพ่อื ให้เด็ก จัดทาํ โครงการ 40,000 40,000 - - เดก็ และ กอง
กิจกรรมร่วม และเยาวชน กจิ กรรมรว่ มเขา้ เยาวชนมี การศึกษา
เข้าค่าย เพอ่ื มรี ะเบยี บวนิ ยั ค่ายเพอื่ พฒั นา จิตใจทด่ี ี
พัฒนาเดก็ และ เด็กและเยาวชน งาม
เยาวชน (เขา้ ค่ายนอก - มีความ
สถานท)่ี สามคั คี
รู้จกั แบง่ ปัน
3 กอ่ สรา้ งโรง เพื่อการบรหิ าร กอ่ สร้างโรง 400,000 400,000 - นกั เรียน กอง
อาหาร จดั การตาม อาหารโรงครัว ศูนยพ์ ฒั นา การศกึ ษา
โรงครวั ของ มาตรฐานศนู ย์ ศนู ยพ์ ฒั นา เด็กเลก็ ได้
ศูนยพ์ ฒั นา พัฒนาเด็กเลก็ เด็กเล็ก จาํ นวน โรงอาหาร
เดก็ เลก็ 4 หลัง ขนาด และโรงครวั
(กว้าง 4 เมตร ที่ได้
ยาว 6 เมตร) มาตรฐาน
4 โครงการ เพอ่ื สง่ เสรมิ จัดทาํ โครงการ 100,000 100,000 - ประชาชน กอง
สง่ เสริม กจิ กรรมการ กจิ กรรมการ ไดร้ ับทราบ การศกึ ษา
กจิ กรรมการ ดาํ เนินงาน ดาํ เนนิ งานของ ขอ้ มลู
ดําเนินงาน ของเครือข่าย เครือข่ายเด็กและ กิจกรรม
เครือขา่ ยเด็ก เด็กและ เยาวชน และผลงาน
และเยาวชน เยาวชน ของ
เครือขา่ ย
เดก็ และ
เยาวชนได้
อย่างท่ัวถงึ
~ 263 ~
โครงการ/ เปา้ หมาย งบประมาณ ผลท่คี าดว่า หน่วยงานท่ี
กจิ กรรม (ผลผลติ ของ
ท่ี วัตถปุ ระสงค์ โครงการ) 2564 2565 2566 จะไดร้ บั ได้
รับผดิ ชอบ
5 โครงการ เพ่อื ปรบั ปรงุ โครงการ 500,000 500,000 - เดก็ กอง
ปรับปรุง ใหม้ สี ภาพท่ี ปรับปรงุ ตอ่ เติม นักเรยี น การศึกษา
ตอ่ เติมอาคาร สามารถใชง้ าน อาคารเรยี นศนู ย์ ศนู ยพ์ ฒั นา
เรยี นศูนย์ ไดป้ กติและมี พัฒนาเดก็ เลก็ เด็กเลก็ มี
พัฒนาเดก็ เล็ก ความปลอดภยั ตามแบบท่ี อาคารเรียน
กาํ หนด ทกี่ วา้ งข้ึน
และมคี วาม
ปลอดภยั
6 โครงการ เพือ่ ปรับปรุง จัดทําโครงการ 100,000 100,000 - ศูนย์พฒั นา กอง
ปรับปรงุ ศนู ย์พฒั นา ปรับปรุงภูมิทัศน์ เดก็ เล็กมี การศกึ ษา
ภมู ิทัศน์ศูนย์ เด็กเล็กให้มี ศูนยพ์ ัฒนาเด็ก สภาพแวด
พฒั นา สภาพแวดล้อม เล็ก ทัง้ 4 ศนู ย์ ล้อมที่ดี
เดก็ เลก็ ท่ดี ี มีอากาศท่ี มคี วามรม่
บรสิ ทุ ธิ์ รนื่ และมี
อากาศที่
บริสทุ ธิ์
7 โครงการสนาม เพื่อเสรมิ สรา้ ง จดั ซอ้ื เครอื่ งเล่น 200,000 200,000 - เดก็ กอง
เด็กเล่นสร้าง พัฒนาการของ กลางแจ้งสาํ หรบั นกั เรยี น การศกึ ษา
ปญั ญาศนู ย์ เด็กนกั เรียน ศูนยพ์ ัฒนา ศูนยพ์ ัฒนา
พัฒนาเด็กเลก็ ศนู ย์พฒั นา เด็กเล็ก เด็กเลก็ มี
เด็กเล็ก พฒั นาการ
ตามความ
เหมาะสม
ของวยั
8 โครงการ เพอ่ื อดุ หนุน - อุดหนุนโรงเรยี น 60,000 60,000 - - นักเรียน กอง
สง่ เสรมิ กจิ กรรมการ บ้านบากเรือ ดอน มกี าร การศกึ ษา
กจิ กรรม เรียนการสอน เรือตามโครงการ พัฒนาและ
การเรยี น ตามโครงการที่ ทัศนศกึ ษา แหลง่ มีความคดิ
การสอน โรงเรียนเสนอ เรียนรู้ สรา้ งสรรค์
ของบประมาณ - โครงการสง่ เสริม 60,000 60,000 - - มคี วามรู้
กิจกรรมการเรียน ประสบการณ์
การสอน
9 โครงการ เพอ่ื อดุ หนุน อดุ หนนุ โรงเรียน 30,000 30,000 - นกั เรยี นมี กอง
สง่ เสริม กจิ กรรมการ บ้านท่าชา้ งตาม การพัฒนา การศึกษา
กิจกรรม เรียนการสอน โครงการ และมี
การเรยี น คุณธรรม ความคิด
การสอน จริยธรรม สรา้ งสรรค์
~ 264 ~
ท่ี โครงการ/ เป้าหมาย งบประมาณ ผลท่ีคาดว่า หน่วยงานท่ี
กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 จะได้รับ ได้
30,000 30,000
10 โครงการ โครงการ) รับผิดชอบ
สง่ เสริม 20,000 20,000
กิจกรรม เพอ่ื อุดหนุน - อดุ หนนุ - นกั เรยี นมี กอง
กจิ กรรมการ โรงเรียนบ้าน การพฒั นา การศึกษา
การเรยี น เรียนการสอน ดอนผ้งึ ตาม และมี
การสอน ตามโครงการที่ โครงการสง่ เสรมิ ความคดิ
โรงเรยี นเสนอ กจิ กรรมการ
ของบประมาณ เรยี น การสอน - สร้างสรรค์
- โครงการพัฒนา
เด็ก
4. ยุทธศาสตร์การพฒั นาสงั คมและคณุ ภาพชวี ิต : การพฒั นาสาธารณสุข
ที่ โครงการ/ วัตถปุ ระส เปา้ หมาย งบประมาณ ผลท่ีคาดว่า หนว่ ยงานท่ี
กจิ กรรม งค์ (ผลผลติ ของ 2564 2565 2566 จะได้รบั ได้
โครงการ)
100,000 100,000 รบั ผิดชอบ
1 โครงการ เพอ่ื จดั กิจกรรมและ
ปอู งกันและ - ปอู งกันและ - สาํ นกั ปลัด
ควบคุม ปูองกัน รณรงค์ ควบคุมการ - กอง
โรคติดตอ่ เกดิ โรคได้ สาธารณสขุ
และ ประชาสมั พนั ธ์
ควบคุม
โรคติดต่อ
2 โครงการ เพือ่ จัดซอื้ เคร่อื งออก 200,000 200,000 - ประชาชน - สํานกั ปลัด
มีสขุ ภาพ - กอง
ส่งเสรมิ ส่งเสริม กําลงั กลางแจง้ ท่ีแขง็ แรง สาธารณสุข
การออก การออก ใหก้ บั ชมุ ชน - ผูส้ งู อายไุ ด้ - สํานกั ปลัด
จัดกจิ กรรม - กอง
กําลงั กาย กาํ ลงั กาย ร่วมกัน สาธารณสุข
ตามความ
ในชมุ ชน ประสงค์
ของชมรม
3 สนับสนนุ เพอ่ื สนับสนนุ ชมรม 30,000 30,000 เอง
กองทนุ สนบั สนนุ ผ้สู ูงอายุในการ - ประชาชน - สาํ นักปลดั
สามารถ - กอง
ชมรมผู้สงู อายุ การ ดาํ เนินกิจกรรมตาม ไดร้ ับ สาธารณสุข
บรกิ ารดา้ น
พื้นท่ตี ําบล ดําเนนิ วัตถปุ ระสงค์ สุขภาพ
บากเรือ งานของ
ชมรม
ผู้สูงอายุ
4 โครงการ เพื่อ สนับสนนุ กองทนุ 100,000 100,000
สนับสนนุ สนบั สนนุ หลักประกันสขุ ภาพ
กองทนุ หลัก การจดั ตําบลบากเรือ
ประกันสุขภาพ กจิ กรรม
ระดับตําบล ของ
~ 265 ~
โครงการ/ วัตถุประส เปา้ หมาย งบประมาณ ผลทคี่ าดว่า หนว่ ยงานที่
(ผลผลติ ของ
ที่ กจิ กรรม งค์ โครงการ) 2564 2565 2566 จะไดร้ ับ ได้
รบั ผิดชอบ
กองทุน อย่าง
หลัก ต่อเนอ่ื ง
ประกัน
สุขภาพ
ตาํ บล
บากเรือ
5 โครงการ เพอ่ื จัดทําโครงการตรวจ 35,000 35,000 - หญงิ - สาํ นักปลดั
สง่ เสรมิ ตรวจ/ คดั กรองสขุ ภาพ ตัง้ ครรภ์ - กอง
สุขภาพแม่ ดูแล ให้แก่หญงิ ต้ังครรภ์ ได้รบั การ สาธารณสุข
และเดก็ สุขภาพ และเดก็ ตรวจและ
หญงิ ท่ี ดูแล
ต้งั ครรภ์ สขุ ภาพ
และเดก็ อย่าง
ถกู ตอ้ ง
6 สนบั สนนุ เพ่อื สนบั สนนุ กองทนุ 200,000 200,000 - ประชาชน/ - สํานักปลัด
กองทนุ สนับสนนุ สวัสดกิ ารชมุ ชน สมาชกิ มี - กอง
สวสั ดกิ ารชุมชน กองทุน ตําบลบากเรอื สวัสดกิ าร สาธารณสขุ
ตําบลบากเรอื สวัสดิการ ในการ
ชุมชน ดําเนนิ ชีวติ
ตาํ บล
บากเรอื
7 โครงการ เพอ่ื สร้าง จัดทาํ โครงการฯ 45,000 45,000 - เยาวชนมี สาํ นกั ปลัด
เยาวชน เครือข่าย จิตสํานกึ
เครือข่ายขยะ ในการ ในการ
ในโรงเรียน กาํ จดั ขยะ กําจดั ขยะ
8 โครงการ เพอ่ื ผสู้ ูงอายตุ าํ บล 100,000 100,000 - ผ้สู ูงวัยมี กอง
คุณภาพ สวัสดิการ
โรงเรียน สง่ เสริม บากเรอื ชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ สงั คม
และได้
ผูส้ งู อายุตาํ บล การ ถ่ายทอด
ภมู ปิ ัญญา
บากเรือ เรียนรู้ ท้องถ่นิ
ตลอด
ชีวิตและ
พัฒนา
คณุ ภาพ
ชวี ิต
ผสู้ ูงอายุ
~ 266 ~
ส่วนที่ 5
การขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง
1. ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคล่ือนภารกิจตามตัวช้ีวัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรอง
การปฏิบัติราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
เพื่อชี้แจงแนวทางการขับเคล่ือนการบูรณการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับ สํานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1 – 11 และ สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ทั้ง 76 จังหวัด.เม่ือวันที่
26 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุมสาํ นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4
2. ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคล่ือนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกําหนด
พื้นที่ท่ีเครือข่ายมีความเข้มแข็ง พร้อมท้ังกําหนดขอบเขตในการศึกษาตําบลสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ร่วมกับ ทีม พม จังหวัดยโสธร (ทีม One Home) ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom.Meeting
เมอ่ื วนั ท่ี 4 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชมุ สาํ นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4
3. คําส่ังแต่งตั้งคณะทํางานขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย
จงั หวดั ยโสธร ตามคาํ สง่ั จงั หวดั ยโสธรที่ ยส 1251/2564 ลงวนั ท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2564
4. เขา้ รว่ มประชมุ ชี้แจงแนวทางการขบั เคลอ่ื นการบรู ณาการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแข็งในพนื้ ที่
ตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางสังคม วิเคราะห์ประเด็น
ปญั หาทางสงั คมในระดบั ชุมชน พร้อมท้ังศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเปูาหมาย ผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน
และคัดเลือกครัวเรือนเปูาหมายในพ้ืนที่ที่จะแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพ โดยใช้ข้อมูลจาก TPMAP,
Social Map, ข้อมูลจากการสํารวจตามโครงการ Family Data, ข้อมูลการช่วยเหลือของ พม., ข้อมูลในพ้ืนที่
เมอื่ วนั ที่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ องคก์ ารบริหารสว่ นตําบลบากเรือ
5..ประชุมการขับเคล่ือนการบูรณาการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หนว่ ยงาน พม. (One Home) จังหวดั ยโสธร เม่ือวนั ท่ี 11 มนี าคม 2564 ณ ห้องประชุมสํานักงานพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัดยโสธร ชน้ั 1 ศาลากลางจังหวดั ยโสธร เพือ่ กําหนดครวั เรือนเปาู หมาย
6. ลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูลกลุ่มเปูาหมายใน TPMAP, Social Map, ข้อมูลจากการสํารวจตามโครงการ
Family Data, ข้อมลู การชว่ ยเหลือของ พม., ข้อมูลในพื้นท่ตี ําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชยั จงั หวัดยโสธร
เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการนําเข้าท่ีประชุมคณะทํางานสร้างเสริมชุมชนเข้ มแข็งตําบลบากเรือที่ร่วมกัน
คัดเลือกครัวเรือนเปูาหมาย พร้อมท้ังวางแผนการให้ความช่วยเหลือท่ีต้องการได้รับการพัฒนาและการ
แกไ้ ขปญั หา (แผนพฒั นารายครัวเรือน) จํานวน 35 ครัวเรอื น เม่ือวันท่ี 15 มีนาคม 2564 รายละเอียดดังนี้
~ 267 ~
ตารางท่ี 1 กลุ่มเป้าหมายผู้ประสบปัญหารายครวั เรือน 5 มิติ
ทีอ่ ยู่ สภาพปญั หา 5 มิติ
ดา้ นการมี ดา้ น ดา้ น ด้าน ด้านการ
เข้าถงึ
ที่ ชอื่ -สกลุ อายุ เลข หมู่ งานทา สขุ การ ความ บรกิ าร
(ปี) ที่ ท่ี และรายได้ ภาพ ศกึ ษา เป็นอยู่ ภาครัฐ
(ที่อยู่
อาศยั )
1 นางบญุ ลายเมฆ 76 14 11
2 นางศศธร ดงิ่ กลาง 64 54 11
3 นายไสว พนั ธ์สขุ 54 79 2
4 นายสมร บญุ พา 52 78 2
5 นางสาวกฤษณา ขนั อาสา 33 26 10
6 นางลี สืบแสน 75 116 11
7 นางจาํ ลอง พลโยธา 59 129 11
8 นายนคิ ม พงษ์ละออ 59 66 1
9 นางอําไพ นําภา 70 10 7
10 นางวิเชยี ร เอกบุญ 75 139 9
11 นางสาวทองดา เอกบุญ 83 39 9
12 นางวงษ์จนั ทร์ อนิ นนั ทะ 45 105 10
13 นางสาวเสวย สิงหะ 73 47 10
14 นางสาวสุดใจ ทองปาน 68 56 10
15 นางพฒุ ลคุ าํ นงึ 73 14 11
16 นางสมยั ธงเพ็ง 69 95 1
17 นายพิฑูรย์ หลกั ชยั 60 196 2
18 นายจรญู ภาระปี 37 53 3
19 นางสุข สมละออ 79 24 3
20 นายออ่ นสา ปาทาสู 81 17 6
21 นางสวน สหี านาม 83 16 7
22 นายศรสี วัสดิ์ สมยงค์ 81 62 9
23 นางสาวพินพร สมสอางค์ 34 13 9
24 นางบุญเลศิ สมจติ ร 54 89 10
25 นางไสว สมช่อื 63 81 10
26 นางมจั ฉา บญุ ราช 36 113 10
27 นางสาคร สุอบอนิจ 64 119 10
28 นางรชั ต์ พ่ึงกิจ 67 55 11
29 นางหนกู ร สมขลงั 58 193 2
30 นางสาวทษิ ฏยา พมิ พ์สวัสดิ์ 21 33 2
~ 268 ~
ทอี่ ยู่ สภาพปัญหา 5 มิติ
ดา้ นการมี ด้าน ดา้ น ดา้ น ด้านการ
ท่ี ชือ่ -สกลุ อายุ เลข หมู่ งานทา สขุ การ ความ เขา้ ถึง
(ป)ี ท่ี ที่ และรายได้ ภาพ ศึกษา เปน็ อยู่ บรกิ าร
31 นางนุชรา ลาํ พุทธา ภาครัฐ
32 นางเภาว์ พงษล์ ะออ (ทอ่ี ยู่
33 นายจรูญ บตุ สนิ
34 นายสวุ ิทย์ ทรวงงาม อาศัย)
35 นางคําภา พว่ั พรรค
33 73 3
54 76 3
62 23 6
101 6
72 53 6
7..กา รป ร ะชุ มค ณ ะก รร ม กา รพิ จ าร ณ าใ ห้ค ว าม ช่ว ย เห ลือ ป ระชุ มบู รณ า กา รค ว าม ช่ว ย เห ลื อ
กลุ่มเปาู หมาย 35 ครัวเรือน.โดยหนว่ ยงานทีม One.Home.วตั ถปุ ระสงค.์ รว่ มกันพิจารณาใหค้ วามชว่ ยเหลอื และ
วางแผนใหค้ วามชว่ ยเหลือในมิตทิ ่ีเกีย่ วขอ้ งไปยงั หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
8. จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนร่วมกับคณะทํางานขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชน
เข้มแข็งในพ้ืนท่ี เป็นการจัดประเภทของการพัฒนาครัวเรือน ตามความเร่งด่วนของผู้ประสบปัญหา
รายครัวเรือน ที่ต้องให้การช่วยเหลือ จํานวน 43 ครัวเรือน โดยการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต
รายครัวเรอื น เปน็ 3 ระยะ ดังน้ี
8.1 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะเร่งด่วน (ระยะสั้น) เช่น การช่วยเหลือ
ทางด้านเคร่อื งอปุ โภคบริโภค เงนิ สงเคราะห์ (เงินอดุ หนนุ ) และการเข้าถงึ สทิ ธ์ิ เป็นตน้
8.2 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือนระยะกลาง เช่น การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ
การเขา้ ถงึ โอกาส การเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่มของชมุ ชน การเข้าถึงระบบ IT และการปรับสภาพแวดล้อม เป็นตน้
8.3 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนระยะยาว เช่น การปรับปรุง
ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย การมีท่ีดินทํากิน การเป็นชุมชนสีเขียว (ปลอดภัย ไม่มีขโมย) และการบรรจุแผนการ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตรายครอบครัวในแผนระดบั ท้องถิ่น
9. ประชุมเวทีทบทวน และถอดบทเรียนการจัดสวัสดิการสังคมในการขับเคล่ือนการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็ง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ร่วมกับศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดยโสธร บ้านพักเด็ก
และครอบครัวจังหวัดยโสธร และภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2564 ณ ห้องประชุม
องค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร เพื่อนําไปสู่การมีส่วนร่วมและแก้ไข
ปัญหาคุณภาพชวี ติ ผู้ประสบปญั หาทางสงั คมรายครัวเรอื น
10..สรุปผลการดําเนินงาน การติดตาม และประเมินผลตามแผนปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กล่มุ เปราะบางรายครัวเรือน จาํ นวน 35 ครวั เรอื น
11. ประชุมถอดบทเรียนและสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมผลการแก้ไขปัญหาและผลการพัฒนา
ศักยภาพครัวเรือนเปูาหมายในพ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็งตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
โดย สาํ นกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (สสว.4), หน่วยงาน พม. จังหวัดยโสธร คณะทํางานสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งฯ เมื่อวันท่ี 10 กันยายน 2564 ณ ห้องประชุมสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
ผา่ นระบบประชมุ ทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
~ 269 ~
ส่วนที่ 6
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
6.1 รายงานผลการชว่ ยเหลือครวั เรือนเป้าหมายในพ้นื ท่ีบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง
ดา้ นการชว่ ยเหลือ ประเภทการช่วยเหลอื จานวน หน่วยงาน
(ครวั เรอื น) ทช่ี ว่ ยเหลือ
ด้านการมงี านทา เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ผู้มี 35 ครัวเรือน ศูนย์คุม้ ครองคนไร้ที่พ่ึงจงั หวัด
และรายได้ รายได้นอ้ ยและผู้ไร้ท่ีพงึ่ ยโสธร
ด้านสขุ ภาพ 3 ครวั เรือน -รพ.สต./อสม.ตําบลบากเรอื
1.ดูแลสขุ ภาพคนพกิ ารติดเตียง
ดา้ นการศึกษา ในครอบครัว 12 ครวั เรอื น -รพ.สต./อสม./สสอ.ตําบล
ด้านความเปน็ อยู่ 2.ใหค้ าํ ปรกึ ษาด้านการดแู ล บากเรอื /อปท.
(ท่ีอยู่อาศยั ) สขุ ภาพ การกินอาหาร การออก 2 ครวั เรือน
ดา้ นการเขา้ ถึง กาํ ลงั กายของผูส้ งู อายุท่ีอยเู่ พียง 13 ครัวเรือน -สนง.พมจ.ยโสธร
บริการของรัฐ ลาํ พัง สนง.พมจ.ยโสธร
3.การสนบั สนุนรถสามล้อมือโยก 21 ครัวเรอื น
อบต./รพ.สต./พม./อพม./อส
เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัว 3 ราย ม.ตําบลบากเรอื
ยากจน 5 ราย -อบต.บากเรือ
-อบต.บากเรือ/สนง.พมจ.
ให้คําแนะนาํ ในการปรบั ปรุง 1 ครวั เรอื น ยโสธร
สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศยั -อบต.บากเรอื /สนง.พมจ.
ยโสธร
1. จัดทาํ บัตรประจาํ ตวั ผ้พู ิการ
2. ให้คําปรึกษาดา้ นสิทธิสาํ หรับ
ผู้พกิ าร/ผ้สู ูงอายุ
3. ใหค้ าํ ปรึกษาเรื่องเงนิ อดุ หนนุ
เดก็ แรกเกิด
6.2 รายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมทีด่ าเนนิ การในพ้ืนท่ีชมุ ชนเข้มแข็ง
โครงการท่ี 1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อม และซักซ้อมการอพยพคนพิการ
ในสถานการณภ์ ัยพบิ ัติ
1.1 วัตถปุ ระสงค์
1) เพอื่ เสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจภัยพิบัตแิ ละตระหนกั ในสถานการณ์ภยั ตา่ งๆ แก่กลุ่มคนพิการ
ผดู้ ูแลคนพิการครอบครวั
2) เพ่ือฝกึ อบรมและฝึกเตรยี มความพร้อมเพื่อลดความเส่ยี ง เมื่อเกิดสถานการณภ์ ยั พบิ ตั ิ
3) เพ่ือบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน เครือข่ายในการบริหารจัดการภัยพิบัติ
สาํ หรบั คนพกิ ารทกุ ประเภทอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
~ 270 ~
1.2 กลุ่มเป้าหมาย
1) คนพิการและผู้ดูแลคนพกิ าร 150 คน
2) เครือข่ายดา้ นคนพกิ ารและผแู้ ทนจากหนว่ ยงานภาครฐั และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
15 คน รวม 165 คน
1.3 งบประมาณ จํานวน 80,860 บาท
1.4 ระยะเวลาดาเนินการ วันท่ี 23 มนี าคม 2564 ณ ศาลาวดั ศรอี มั พวนั ต.บากเรอื
อ.มหาชนะชยั จ.ยโสธร
1.5 ขน้ั ตอนการดาเนินการ
1) กรมพก. จัดสรรกรอบวงเงินสนับสนุนโครงการจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพกิ ารจังหวัดละ 250,000 บาท ในการดําเนินการ
2) สนง.พมจ.จัดทําและเสนอโครงการท่ีสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์และแนวทางตามแผนการ
จดั การภัยพิบัตสิ ําหรบั คนพกิ ารให้คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจําจังหวัด
พิจารณาอนุมตั ิโครงการ
3) ดาํ เนนิ โครงการตามท่อี นุมตั ิ
4) สรุปผลการดําเนินงาน สรุปค่าใช้จ่าย พร้อมสําเนาเอกสารทางการเงิน ใบสําคัญ และ
รายงานผลจัดส่งกองทุนและสง่ เสรมิ ความเสมอภาคคนพกิ าร
1.6 ผลการดาเนนิ งาน (เชงิ คณุ ภาพ/เชิงปรมิ าณ)
1) ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมมคี วามร้คู วามเขา้ ใจและตระหนกั ในสถานการณ์ภยั พบิ ตั ิต่างๆ
2) ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการฝึกอบรมและฝึกเตรียมความพร้อมเพื่อลดความเส่ียง เม่ือเกิด
สถานการณ์ภัยพบิ ตั ิ
3) เกิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน เครือข่ายในการบริหารจัดการภัยพิบัติ
สาํ หรบั คนพิการทกุ ประเภทอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล
โครงการที่ 2 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสตรีพิการ.ประจําปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
2.1 วัตถปุ ระสงค์
1) เพ่ือให้เกดิ ความรู้และความเขา้ ใจในการเฝูาระวังและปูองกันความรุนแรงต่อเด็กหญิงพิการ
และสตรพี กิ าร สขุ ภาวะอนามัยเจรญิ พนั ธ์สําหรบั เด็กหญิงพกิ าร และสตรีพิการ
2) เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็ง และพัฒนาศักยภาพให้สตรีพิการสามารถดํารงชีวิตได้ด้วย
ตนเองนําไปสชู่ ีวิตท่ีดีข้นึ โดยการนําหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้
~ 271 ~
2.2 กลมุ่ เป้าหมาย
1) เด็กหญิงพิการ และสตรีพิการ
2) ผูแ้ ลคนพิการ
3) อาสาสมคั ร องค์กร/เครอื ข่ายดา้ นคนพิการ/เจา้ หนา้ ที่
4) ผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเก่ียวขอ้ ง
5) องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน และผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียทุกภาคสว่ น จาํ นวน 150 คน
วนั ท่ี 25 มีนาคม 2564 ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการฯ เด็กหญงิ พิการ สตรีพิการ ผู้ดูแลคนพิการในพ้ืนที่อําเภอมหาชนะชัย
จังหวดั ยโสธร 5 ตาํ บล ดงั นี้ ต.บากเรือ ต.โนนทราย ต.บงึ แก ต.สงยาง และ ต.หวั เมือง
2.3 งบประมาณ จาํ นวน 126,770 บาท
2.4 ระยะเวลาดาเนนิ การ วันท่ี 25 มนี าคม 2564 หอประชุมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร
2.5 ขัน้ ตอนการดาเนนิ การ
1) กรมพก. จดั สรรกรอบวงเงินสนับสนุนโครงการจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพกิ ารจังหวดั ละ 250,000 บาท ในการดาํ เนนิ การ
2) สนง.พมจ.จัดทําและเสนอโครงการท่ีสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์และแนวทางตามแผนการ
จดั การภัยพบิ ัตสิ ําหรับคนพิการให้คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจําจังหวัด
พจิ ารณาอนมุ ัตโิ ครงการ
3) ดําเนนิ โครงการตามทีอ่ นุมัติ
4) สรุปผลการดําเนินงาน สรุปค่าใช้จ่าย พร้อมสําเนาเอกสารทางการเงิน ใบสําคัญ และ
รายงานผลจดั สง่ กองกองทนุ และสง่ เสรมิ ความเสมอภาคคนพิการ
2.6 ผลการดาเนินงาน (เชงิ คณุ ภาพ/เชงิ ปรมิ าณ)
1) กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจการเฝูาระวังและปูองกันการกระทําความรุ่นแรง
ตอ่ เดก็ หญงิ พกิ าร และสตรีพิการ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 จากแบบทดสอบความร้ขู องกลมุ่ เปูาหมายท้งั หมด
2) กลุ่มเปูาหมายมีความเข้าใจในการดํารงชีวิตตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ
นํามาใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั ได้
~ 272 ~
โครงการที่ 3 โครงการธนาคารเวลาจังหวดั ยโสธร ประจําปงี บประมาณ 2564
3.1 วัตถุประสงค์
1) เพื่อพฒั นามาตรการกลไกในการส่งเสริมใหค้ นทุกกลุ่มวัยในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ดูแลผสู้ งู อายุ
2) เพื่อแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุท่ีต้องการได้รับความช่วยเหลือและสร้างคุณค่าของการเป็นท้ัง
ผ้ใู ห้และผู้รบั
3.2 กลมุ่ เปา้ หมาย
- คณะกรรมการ ศพอสอ.15 คน/อพม. อพมส. 10 คน/นักเรยี นโรงเรยี นผู้สงู อายุ 15 คน/
จนท.อบต.บากเรือ 2 คน/ จนท รพสต. 2แหง่ 2 คน/ จนท พม. 6 คน รวม 50 คน
3.3 งบประมาณ 15,000 บาท
3.4 ระยะเวลาดาเนินการ วันที่ 15 กรกฎาคม 2564 ณ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริม
อาชีพผ้สู ูงอายุตาํ บลบากเรอื
3.5 กิจกรรม/ขน้ั ตอนการดาเนินการ
1) ขออนุมตั ิโครงการ
2) ขออนุมัตดิ ําเนินโครงการ
2.1) จัดประชมุ สมาคมจดั ตงั้ คณะทาํ งาน
2.2) รบั สมาชกิ ปฐมนิเทศ
2.3) จัดกจิ กรรมการช่วยเหลอื
3) สนับสนนุ สือ่ ประชาสมั พนั ธ์
3.6 ผลการดาเนินงาน (เชิงคุณภาพ/เชงิ ปริมาณ)
1) เกิดมาตรการกลไกในการส่งเสริมให้คนทุกกลุ่มวัยในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล
ผสู้ งู อายุ
2) ผูส้ งู อายุที่มีปญั หาได้แล้วความช่วยเหลอื และสร้างคณุ ค่าของการเป็นทง้ั ผ้ใู ห้และผรู้ ับ
3) จิตอาสาผู้ให้มีหลักประกันให้กับตนเองเมื่อมีความจําเป็นท่ีต้องการได้รับความ
ชว่ ยเหลอื
~ 273 ~
โครงการท่ี 4 โครงการสง่ เสริมทักษะชีวิตและทกั ษะอาชพี ด้วยภูมปิ ัญญาท้องถิน่
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพที่สุจริตรับผิดชอบต่อสังคม และพัฒนาตนเองสู่การเป็น
ผปู้ ระกอบการรนุ่ เยาว์
2. เพื่อสรา้ งแรงบันดาลใจใหเ้ ดก็ คน้ หาการประกอบอาชพี ท่สี นใจ ถนัดเหมาะสมกบั วัย
3. เพ่อื ให้เด็กมคี วามรคู้ วามเข้าใจกระบวนการประกอบอาชีพ และการใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
4. เพื่อให้เด็กสามารถนําความรู้ความเข้าใจการประกอบอาชีพไปแข่งขันการทํางานประกอบอาชีพ
อนั กอ่ ใหเ้ กิดรายไดต้ ่อไป
กลุ่มเปา้ หมาย
- เด็กและเยาวชนในตาํ บลบากเรอื จาํ นวน 50 คน
งบประมาณ จาํ นวน 15,000 บาท
ระยะเวลาดาเนนิ การ วันท่ี 27 มถิ นุ ายน 2564
กจิ กรรม/ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ
1. เสนอโครงการเพ่อื อนมุ ัตขิ อรับงบประมาณ 2564 จากบา้ นพักเดก็ และครอบครวั จังหวดั ยโสธร
2. จดั ประชมุ เพอื่ แบง่ หน้าทรี่ ับผิดชอบ
3. ประสานกลุ่มเปาู หมาย สถานท่ี และจดั เตรยี มอปุ กรณ์
4. ดาํ เนนิ กิจกรรมตามโครงการ
5. สรุปผลการดําเนินงานและรายงานผล
ผลการดาเนนิ งาน (เชิงคณุ ภาพ/เชิงปริมาณ)
1. เด็กท่ีเข้าโครงการมีทัศคติท่ีดีต่ออาชีพการงานท่ีสุจริตท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคม
มีแรงจูงใจในการประกอบอาชีพ และมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจประกอบการอาชีพอิสระที่สามารถ
สร้างรายไดร้ ะหว่างเรียน
2. เด็กมีส่วนร่วมในการสร้างมูลค่าเพ่ิมภูมิปัญญาท้องถ่ินสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนฐาน ระบบ
เศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ
3. เด็กสามารถนําความรทู้ ีเ่ ขา้ ร่วมโครงการไปประยุกต์การเป็นอาชีพร่นุ เสรมิ ได้
ปัญหา/อุปสรรค (ถา้ มี)
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
~ 274 ~
โครงการที่ 5 โครงการ“สภาเดก็ และเยาวชนตาํ บลบากเรอื รูท้ นั ภัยส่ือออนไลน์”
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ใหเ้ ดก็ และเยาวชนตําบลบากเรอื ตระหนักและรูเ้ ท่าทนั ภยั จากสอ่ื ออนไลน์
2. เพอื่ ให้เด็กและเยาวชนตําบลบากเรือ วถิ ีการใชส้ ือ่ ออนไลนอ์ ย่างเหมาะสม
3. เพ่อื ให้เด็กและเยาวชนตาํ บลบากเรือ เข้าใจวธิ กี ารปอู งกันภัยจากส่อื ออนไลน์
กลุม่ เป้าหมาย
- เดก็ และเยาวชนชนในพนื้ ทตี่ ําบลบากเรอื อําเภอมหาชนะชยั จังหวดั ยโสธร จํานวน 3 รุน่ ๆ ละ 50 คน
รวมเปน็ จํานวน 150 คน
งบประมาณ จํานวน 45,000 บาท
ระยะเวลาดาเนินการ เดอื นกนั ยายน 2564
- รนุ่ ที่ 1 วนั ที่ 8 กันยายน 2564 ศาลากลางบา้ นปอแดง หมู่ 2
- รนุ่ ที่ 2 วนั ที่ 10 กันยายน 2564 ศาลากลางบ้านบากเรอื หมู่ 1
- รนุ่ ท่ี 3 วันท่ี 11 กนั ยายน 2564 ศาลากลางบา้ นยาง หมู่ 5
กิจกรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ
1. จดั ประชมุ สภาเด็กและเยาวชนตําบลบากเรือ เพ่อื เสนอโครงการ
2. รา่ งและจดั ทําโครงการเพื่อขออนมุ ตั ิ
3. ประสานกลมุ่ เปาู หมาย และจัดเตรียมสถานที่
4. จดั อบรมใหแ้ กก่ ลมุ่ เปาู หมาย
5. ตดิ ตามและประเมนิ ผล
6. สรปุ ผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน
ผลการดาเนนิ งาน (เชิงคุณภาพ/เชงิ ปริมาณ)
1. เดก็ และเยาวชนตาํ บลบากเรอื ตระหนกั และรู้เทา่ ทนั ภัยจากสอื่ ออนไลน์
2. เด็กและเยาวชนตําบลบากเรือมีความรู้ ความเขา้ ใจในวถิ ีการใช้ส่อื ออนไลน์อยา่ งเหมาะสม
3. เดก็ และเยาวชนตําบลบากเรอื มคี วามรู้ ความเข้าใจในวธิ ีการปูองกนั ภยั จากสอื่ ออนไลน์
ปัญหา/อปุ สรรค (ถ้ามี)
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
~ 275 ~
โครงการท่ี 6 โครงการสนับสนุนการรวมกลุม่ ประกอบอาชพี 110 วันปีงบประมาณ 2564 งวดท่ี 2
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ส่งเสริมให้ครอบครัวมีรายได้เสรมิ มกี ารรวมกลมุ่ ชว่ ยเหลอื กันและเกิดรายได้อยา่ งต่อเนื่อง
2. เพ่อื พฒั นาทักษะความรูค้ วามสามารถในการผลิตสนิ ค้าการตลาดและการจัดการ
3. เพื่อเปน็ ศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรูด้ ้านสัมมาอาชพี ตา่ งๆ
กลุ่มเป้าหมาย
- กลุ่มอาชพี สตรตี าํ บลบากเรอื จาํ นวน 40 คน
งบประมาณ จากศูนยเ์ รียนรูก้ ารพฒั นาสตรีและครอบครัวภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จงั หวัดศรีสะเกษ
ระยะเวลาดาเนนิ การ รวมกลมุ่ ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถงึ วันที่ 18 กนั ยายน 2564
กจิ กรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ
1. ประสานขอรับงบประมาณวิทยากรจากศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จงั หวัดศรีสะเกษ
2. ดําเนนิ การฝึกอบรม
3. ประเมินผลโครงการ
ผลการดาเนนิ งาน (เชงิ คณุ ภาพ/เชงิ ปรมิ าณ)
กลมุ่ อาชพี มศี กั ยภาพในการแขง็ ขนั ทางธุรกจิ เพ่มิ ขึน้ สร้างความมน่ั คง และย่ังยืนให้กบั กล่มุ อาชีพ
โครงการที่ 7 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชนให้ยั่งยืนตาม
แนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพฒั นาทกั ษะความรคู้ วามสามารถในการผลติ สนิ ค้าการตลาดและการจดั การ
2. เพื่อพัฒนาทักษะในการตอ่ ยอดสรา้ งมลู ค่าเพมิ่ ให้กับสนิ ค้า
กลุ่มเปา้ หมาย
- กลมุ่ อาชพี สตรีตําบลบากเรอื จํานวน 40 คน
งบประมาณ จากสถาบันพัฒนาฝมี ือแรงงานจงั หวัดยโสธร
ระยะเวลาดาเนินการ ระหว่างวันที่ 22 เมษายนถึง 3 พฤษภาคม 2564
~ 276 ~
โครงการที่ 8 โครงการสร้างเสริมพลังกลุ่มเปราะบางเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตในครอบครัวและชุมชน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ในพ้ืนท่ตี าํ บลบากเรอื
วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือส่งเสรมิ และพฒั นาทกั ษะอาชพี ให้แก่กลมุ่ เปราะบางผู้สูงอายุและคนพิการหรือผูด้ แู ลคนพิการ
2. เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี (ด้านสุขภาพ
ดา้ นความเป็นอยู่ ดา้ นการศกึ ษา ดา้ นรายได้ และด้านเขา้ ถึงบรกิ ารของรัฐ)
3. เพอ่ื บรู ณาการภาคเี ครือขา่ ยที่เก่ียวข้องรว่ มขบั เคลื่อนโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
- ผูส้ งู อายุ ผพู้ กิ ารหรือผ้ดู ูแล กล่มุ เปราะบาง จํานวน 50 คน
งบประมาณ จากโครงการพฒั นาและเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกิจฐานราก
ระยะเวลาดาเนนิ การ ดําเนนิ การจัด ระหวา่ งวนั ที่ 20-24 กนั ยายน 2564
กจิ กรรม/ขั้นตอนการดาเนินการ
1. ขออนุมตั โิ ครงการ
2. ขออนมุ ตั ดิ ําเนินการ
3. แตง่ ตั้งคณะกรรมการคณะทํางาน
4. ประสานพื้นท่ีดําเนนิ การ รายชอ่ื ผู้เข้าร่วม สถานที่ วิทยากร จัดหาวัสดฝุ ึก
5. ประชุมผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี
6. ลงพ้นื ทีด่ าํ เนินการฝกึ อาชพี 3 วนั
7. ถอดบทเรยี น
ผลการดาเนนิ งาน (เชิงคณุ ภาพ/เชงิ ปริมาณ)
1. กลุ่มเปราะบางผสู้ ูงอายแุ ละคนพิการหรือผดู้ แู ลคนพิการไดร้ บั การสง่ เสริมและพัฒนาทักษะอาชีพให้
2. กลมุ่ เปราะบางมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี (ดา้ นสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ดา้ นการศึกษา ด้านรายได้ และด้าน
การเขา้ ถึงบริการของรฐั )
~ 277 ~
สว่ นที่ 7
สรปุ ผลการถอดบทเรยี นโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง
7.1 การวเิ คราะห์สภาพปญั หาในพ้นื ที่
7.1.1 ปญั หาดา้ นรายได้ (รายได้ไม่เพียงพอ วา่ งงาน ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ Covid-19)
7.1.2 ปญั หาดา้ นการมีหน้สี ิน (หน้ีสนิ ในระบบ)
7.1.3 ปัญหาดา้ นสงิ่ แวดล้อมในครวั เรือน (สภาพครวั เรือนไมถ่ ูกสุขลกั ษณะ)
7.1.4 ปัญหาดา้ นสขุ ภาพ (ผู้สงู อายุไมม่ ผี ู้ดแู ล เจ็บปุวยเรอ้ื รงั ผพู้ กิ ารไมม่ ีผดู้ ูแลและปุวยตดิ เตียง)
7.1.5 ปญั หาดา้ นเดก็ ในครอบครัวยากจน
7.1.6 ปัญหาดา้ นครอบครัวเลี้ยงเดย่ี ว ครอบครัวแหว่งกลาง
7.1.7 ปญั หาสุรา/ยาเสพตดิ
7.1.8 ปญั หาด้านทอ่ี ยู่อาศัย (สภาพไมม่ น่ั คง และไมเ่ หมาะสมตอ่ การพักอาศัย)
7.2 การได้มาซ่งึ ข้อมูลกลุ่มเปราะบาง
7.2.1 จากเวที “จุดประกายขายความคิด การบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ภายใตโ้ ครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลมุ่ เปราะบางรายครัวเรือน” วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 โดยการเสนอ
ของเครือข่ายจากโรงเรียน รพ.สต. อาสาสมัครฯ และผู้นําชุมชน จํานวน 8 หมู่บ้าน จาก 11 หมู่บ้าน
มจี ํานวนผู้ประสบปัญหา ควรได้รับการช่วยเหลือ จํานวน 37 ครัวเรือน (ซ่ึงตรงกับฐานข้อมูล Social Map
ตําบลบากเรอื จาํ นวน 3 คน จาก 143 คน)
7.2.2 เครือข่าย อพม. อสม. ผูน้ ําชมุ ชน (3 หมู่บา้ น ม.4, ม.5, ม.6) ท่ไี ม่ได้เข้าร่วมประชุม เมื่อวันท่ี
14 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ขอเสนอเพ่ิมเติม จาํ นวน 19 ครัวเรอื น
7.2.3 ฐานข้อมูลจาก TP.MAP จํานวน 9 ราย (ให้การช่วยเหลือ 4 ราย) รวมกลุ่มเปราะบาง
ในพ้ืนที่ตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย ที่ต้องดําเนินการขับเคล่ือนในโครงการตําบลสร้างเสริมสวัสดิการ
สังคม การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางราย
ครัวเรอื น จาํ นวน 60 ครวั เรอื น (เดมิ 65 ครัวเรือน)
7.2.4 จัดประชุมทีม พม. One.Home.เพื่อพิจารณาให้การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
เม่ือวันที่ 2 เมษายน 2564 ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดยโสธร ซึ่งพิจารณาให้การช่วยเหลือ
เป็นเงินสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พ่ึง ของศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่ง (จํานวน 2,000 บาท 28 ราย/
จํานวน 3,000 บาท 32 ราย) และพิจารณากําหนดกลุ่มเปูาหมายที่จะพัฒนา จํานวน 35 ครัวเรือน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
7.3 สภาพปัญหากล่มุ เปา้ หมายรายครวั เรอื น จาํ นวน 35 ครวั เรือน
7.3.1 ด้านการมีงานทาํ และรายได้ จาํ นวน 17 ครัวเรือน
7.3.2 ดา้ นสุขภาพ จํานวน 13 ครวั เรอื น
7.3.3 ด้านการศกึ ษา จาํ นวน 21 ครัวเรอื น
7.3.4 ดา้ นความเป็นอยู่ (ทอ่ี ย่อู าศยั ) จํานวน 9 ครัวเรือน
7.3.5 ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารรฐั
~ 278 ~
7.4 ผลการชว่ ยเหลือรายครวั เรือน
7.4.1 ด้านการมีงานทาและรายได้
- เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่พ่ึง จํานวน 35 ครัวเรือน โดยศูนย์
คมุ้ ครองคนไรท้ พ่ี งึ่ จงั หวดั ยโสธร
7.4.2 ดา้ นสุขภาพ
- ดแู ลสุขภาพคนพิการติดเตียงในครอบครัว จํานวน 3 ครัวเรือน โดย รพ.สต./อสม./อพม
- ให้คาํ ปรึกษาด้านการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร การออกกําลังกายของผู้สูงอายุ
ทีอ่ ยเู่ พียงลําพงั จํานวน 12 ครัวเรือน โดย รพ.สต./อสม./สสอ. ตาํ บลบากเรือ/อปท.งานดา้ นสาธารณสขุ
- การสนับสนนุ รถสามล้อมือโยก จํานวน 2 ครัวเรือน โดย สนง.พมจ.ยโสธร
7.4.3 ดา้ นการศึกษา
- เงนิ สงเคราะหเ์ ด็กในครอบครัวยากจน จํานวน 13 ครวั เรอื น โดย สนง.พมจ.ยโสธร
7.4.4 ดา้ นความเป็นอยู่ (ทอี่ ยู่อาศัย)
- ให้คําแนะนําในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัย จํานวน 21 ครัวเรือน โดย อบต./
รพ.สต./พม./อพม./อสม.ตําบลบากเรือ
7.4.5 ด้านการเขา้ ถงึ บริการของรฐั
- จดั ทาํ บัตรประจําตวั ผพู้ กิ าร จํานวน 3 ราย โดย อบต.บากเรอื
- ใหค้ าํ ปรึกษาดา้ นสทิ ธสิ าํ หรบั ผู้พิการ/ผู้สงู อายุ โดย อบต.บากเรือ/สนง.พมจ.ยโสธร
- ให้คําปรึกษาเรื่องเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด จํานวน 1 ครัวเรือน โดย อบต.บากเรือ/
สนง.พมจ.ยโสธร)
7.5 โครงการ/กิจกรรมท่ดี าเนินการในพืน้ ท่ี
7.5.1 โครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน (ตําบลสร้างเสริม
ชมุ ชนเขม้ แข็ง) โดย สํานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 /สนง.พมจ.ยโสธร/พม.จังหวดั ยโสธร
7.5.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการอพยพคนพิการ
ในสถานการณภ์ ัยพิบตั ิ โดย สนง.พมจ.ยโสธร
7.5.3 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสตรีพิการ ประจําปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย สนง.พมจ.ยโสธร
7.5.4 โครงการธนาคารเวลาจังหวัดยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 25654 โดย สนง.พมจ.
ยโสธร
7.5.5 โครงการสง่ เสรมิ ทกั ษะชีวิตและทักษะอาชพี ด้วยภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ โดย บพดจงั หวัดยโสธร
7.5.6 โครงการ “สภาเด็กและเยาวชนตําบลบากเรอื รทู้ นั ภัยสื่อออนไลน์” (บพด.ยโสธร)
7.5.7 โครงการสนับสนุนการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ.110.วัน.ปีงบประมาณ.พ.ศ..2564
โดย อบต.บากเรอื /ศูนยเ์ รียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือจังหวดั ศรีสะเกษ
7.5.8 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชนให้ย่ังยืนตามแนวทาง
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดย อบต.บากเรอื /สถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดยโสธร
7.5.9 โครงการสร้างเสริมพลังกลุ่มเปราะบางเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตในครอบครัวและชุมชน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย สนง.พมจ.ยโสธร
~ 279 ~
7.6 ปญั หา อปุ สรรค
7.6.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทําให้มีการลงพ้ืนที่ได้ไม่เต็มท่ี มีข้อจํากัด
ในการจัดประชุม จดั กิจกรรม และการพฒั นาคุณภาพชีวิตกลุม่ เปาู หมายเปราะบาง
7.6.2 มีความติดขัดในการประสานงานกับหน่วยงานภาคีท่ีสามารถเสริมหนุนในด้านอาชีพ
การสร้างรายได้
7.6.3 บางโครงการ/กจิ กรรมไมส่ ามารถดําเนินการไดเ้ นอ่ื งจากต้องมีการคืนงบประมาณ
7.7 ปัจจัยความสาเร็จ
7.7.1 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลบากเรือ มกี ารสํารวจจัดเกบ็ ข้อมลู กลมุ่ เปราะบางในตําบลบากเรือ
ท่ีเป็นปัจจุบันและสามารถนําข้อมูลดังกล่าวมาใช้วางแผนบูรณาการการพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือน
รว่ มกับหนว่ ยงาน ระดับอําเภอ จังหวัด ได้
7.7.2 ตําบลบากเรือ เคยเป็นพื้นท่ีเปูาหมายในการดําเนินโครงการของหน่วยงานสังกัดกระทรวง
การพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยม์ าอย่างต่อเน่ือง เช่น เป็นตําบลต้นแบบ ปี 2558 และ ปี 2559
ทข่ี บั เคลอื่ นโดยศนู ยพ์ ฒั นาสงั คมฯ หรือศนู ย์คุม้ ครองคนไรท้ พ่ี ึง่ จงั หวัดยโสธร (ในปจั จุบัน)
7.7.3 เครือข่าย อพม. อสม. ผู้นําชุมชน เป็นกลไกหลักที่จะเป็นผู้ประสาน เชื่อมโยง ช่วยเหลือ
ซ่ึงเปน็ สว่ นสาํ คญั มากในการบรู ณาการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ กลมุ่ เปราะบาง
7.7.4 มีบุคลากรให้ข้อมูลในพื้นที่อย่างชัดเจน เช่น นางสุนีรัตน์ เลิศชัยโฆษิตกุล ผู้อํานวยการ
กองสวัสดิการสงั คม
7.7.5 การทํางานร่วมกันของทีม One Home พม.จังหวัดยโสธร กับภาคีเครือข่าย ได้แก่
องค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ อสม. ผู้นําชุมชน มีการบูรณาการทํางาน
รว่ มกนั อยา่ งเขม้ แขง็ มคี วามเป็นทีม มีการวางระบบการทํางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
7.8 ขอ้ ค้นพบ
7.8.1 การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งจะขับเคล่ือนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ พื้นที่ตําบล
เปูาหมายควรมีองค์ประกอบ ดังนี้ พ้ืนท่ีมีทุนทางสังคม ผู้นําเข้มแข็ง มีความร่วมมือของทีมอาสา จิตอาสา
ในพืน้ ทก่ี ารบรหิ ารจดั การ มกี ารตัดสินใจร่วมกันในรูปแบบคณะกรรมการในทุกระดับ ทําให้การขับเคลื่อน
งานพัฒนาคณุ ภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางมคี วามตอ่ เนื่อง ทนั เวลา และสอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชน
7.8.2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปูาหมายเปราะบาง หากจะให้ยั่งยืนต้องพัฒนาให้ครบทุกมิติ
โดยเฉพาะด้านรายได้ กิจกรรมอย่างการ เช่น กิจกรรมการฝึกอบรมสานกระติบข้าวจากต้นกก ซ่ึงเป็น
ตัวอย่างท่ีดีของการพัฒนาที่ ใช้ทุนทางสังคม ประกอบด้วย กลุ่มเปูาหมายในพ้ืนที่ วัสดุท้องถ่ิน ในการ
ดาํ เนนิ งานท่ีสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทและความต้องการ เพ่อื เป็นการเพิ่มมลู ค่าและตอ่ ยอดสินคา้ ได้
7.8.3 ผู้นําชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ มุ่งมั่นให้ความร่วมมือ เป็นฟันเฟืองที่สําคัญมีผลต่อ
ความสําเรจ็ ในการขับเคล่อื นงานรว่ มกนั
7.8.4 ความเป็นนํ้าหน่ึงใจเดียวกัน ทํางานร่วมกัน ยึดประโยชน์ร่วมกันเป็นหลัก ทําให้การ
ขับเคลอื่ นงานมีพลัง
~ 280 ~
7.8.5 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความสําคัญอย่างย่ิงในเร่ืองการสํารวจจัดเก็บข้อมูล
กลุ่มเปราะบางในพ้ืนที่ ของตนให้เป็นปัจจุบัน และสามารถนําข้อมูลมาใช้วางแผนบูรณาการการพัฒนา
คุณภาพชีวติ รายครวั เรือนได้เอง
7.8.6 ผู้นําชุมชน อาสาสมัครในพ้ืนที่ (อพม./อสม.) เป็นผู้ช้ีเปูาเฝูาระวัง สอดส่องดูแล
กลุ่มเปราะบางไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ เนอ่ื งจากเป็นผูใ้ กล้ชดิ กล่มุ เปราะบาง มขี ้อมูล มคี วามเข้าใจ สามารถ
ดําเนนิ การชว่ ยเหลอื สง่ ตอ่ ใหห้ น่วยงานภาคเี ครอื ขา่ ยที่เกย่ี วข้องได้อย่างรวดเรว็ และทันตอ่ เหตกุ ารณ์
7.9 ขอ้ เสนอแนะ
7.9.1 ชุมชนมีส่วนร่วมที่สําคัญเป็นอย่างมากในการร่วมขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพชีวิต
จึงจําเป็นท่ีจะต้องมีผู้นําชุมชนท่ีเข้มแข็งมีความรู้ความเข้าใจที่จะเป็นผู้ประสาน เช่ือมโยง ช่วยเหลือ
กลุ่มเปราะบางในชมุ ชนร่วมกับทีมระดับจังหวดั และอําเภอ
7.9.2 ควรมงี บประมาณในการสนับสนุนการจัดประชุม จํานวน 2 เวที
7.9.3 ทุกส่วนราชการในพ้ืนท่ีต้องแปลงนโยบายมาสู่การปฏิบัติ และต้องร่วมบูรณาการ
กนั อย่างต่อเนือ่ ง
7.9.4 หน่วยงานภาครัฐมีภารกิจประจํา บางคร้ังไม่สามารถเข้าร่วมกระบวนการวางแผน
และพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางครัวเรือนได้ ผู้นําชุมชนควรรับบทบาทเป็นสื่อกลางในการ
ประสานงานส่งต่อขอ้ มลู ให้ อปท. และหนว่ ยงานตา่ งๆ เน่อื งจากเป็นผู้ใกลช้ ดิ กับกลมุ่ เปูาหมาย
7.9.5 ในปีแรกการดําเนินงานการบูรณาการฯ ที่ต้องมีหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมกันขับเคลื่อน
ส่งผลให้กระบวนการในการช่วยเหลือของภาคีเครือข่ายหลายแห่งยังไม่ครอบคลุม ควรดําเนินการอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง เพื่อให้การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ กลุ่มเปาู หมายเปราะบางเกิดขน้ึ ได้อย่างย่ังยืน
~ 281 ~
ภาคผนวก
คาสัง่ จังหวดั ยโสธร ที่ 3137/2560 ลงวันท่ี 24 พฤษภาคม 2560
~ 282 ~
~ 283 ~
~ 284 ~
คาสัง่ จังหวดั ยโสธร ที่ 1251/2564 ลงวนั ท่ี 10 กมุ ภาพันธ์ 2564
~ 285 ~
~ 286 ~
การนาไปใช้ประโยชน์
1) สามารถนํารูปแบบการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง เพอื่ นาํ ไปพัฒนาต่อยอดการดําเนนิ งานในพื้นที่อน่ื ต่อไป
2) มีแนวทางในการทํางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนให้มีคุณภาพชีวิต
ท่ีดีข้ึน โดยคํานึงถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติ ทั้งมิติด้านรายได้และการมีงานทํา มิติด้านสุขภาพ
มติ ิด้านการศึกษา มิตดิ ้านความเป็นอยู่ และมิตดิ ้านการเข้าถึงบริการรฐั
3) เกิดการมีส่วนร่วมในการบูรณาการของภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
ในการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หารายครวั เรอื นให้ครอบคลุมทกุ มติ ิ
4) ประชาชนในชุมชนไดร้ บั การแก้ไขปัญหา/พัฒนาคุณภาพชวี ติ /เขา้ ถึงสิทธิและสวัสดกิ าร สามารถ
พ่ึงพาตนเองได้
~ 287 ~
ขอขอบคุณ
ทป่ี รกึ ษา
นางรชธร พลู สิทธ์ิ ผู้อํานวยการสํานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4
พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัดนครราชสีมา
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั ชัยภมู ิ
พฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดบรุ ีรัมย์
พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั สรุ นิ ทร์
พฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ
พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั ยโสธร
หวั หน้าหนว่ ยงานทมี One Home พม. 4 จงั หวัด (นครราชสีมา ชยั ภูมิ บรุ รี มั ย์ สรุ ินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร)
นายกเทศมนตรตี าํ บลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวดั นครราชสีมา
นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตําบลโนนแดง อําเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสมี า
นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตําบลโนนสาํ ราญ อาํ เภอเมืองชยั ภูมิ จังหวัดชยั ภมู ิ
นายกเทศมนตรีตาํ บลตาจง อําเภอละหานทราย จังหวัดบรุ ีรัมย์
นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลตะเคียน อําเภอกาบเชิง จงั หวัดสุรินทร์
นายเทศมนตรีตําบลจานแสนไชย อาํ เภอห้วยทบั ทัน จงั หวัดศรีสะเกษ
นายกองค์การบริหารส่วนตําบลบากเรือ อําเภอมหาชนะชยั จังหวัดยโสธร
คณะผู้จดั ทา
กลุ่มการวจิ ัยและการพัฒนาระบบเครือข่าย สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4
1. นางสาวขนิษฐา ตรากลาง หัวหน้ากลุม่ การวิจยั และการพัฒนาระบบเครอื ขา่ ย
2. นางสาวปิยะนันท์ โอปนพันธุ์ นักพัฒนาสงั คมปฏบิ ตั กิ าร
3. นางสาวชุติภา บตุ รสนิ ธ์ นักพฒั นาสังคมปฏบิ ตั กิ าร
4. นางสาวอารยา จา่ โนนสูง นักพัฒนาสังคม
5. นางสาวณภทั ร แสวงผล พนักงานบริการ
6. นางฉวีวรรณ สงั กดั กลาง พนักงานบริการ