The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR 65 ฉบับสมบรูณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prontipa, 2023-05-30 06:15:28

SAR 65 ฉบับสมบรูณ์

SAR 65 ฉบับสมบรูณ์

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียน มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น รหัสโรงเรียน 1140100040 182/1 หมู่ที่ 4 ถนน ชาตะผดุง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 043221463 โทรสาร สังกัด สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น โรงเรียนหญิงล้วนแห่งเดียวในจังหวัดขอนแก่น ตามปรัชญาที่ว่า “ก้าวหน้าเสมอ ด้วยความรู้คู่คุ ณธรรม” เป็นโรงเรียนคาทอลิก มุ่งพัฒนาครูและผู้เรียน ก้าวทันเทคโนโลยีมีนวัตกรรม นำสู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของควา มเป็นไทย ตามหลักธรรมาภิบาล สานสัมพันธ์ชุมชน สู่มาตรฐานการศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 182/1 หมู่ 4 ถนน ชาตะผดุง แขวง/ตำบ ลในเมือง อำเภอ เมือง จังหวัด ขอนแก่น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับปร ะถมศึกษาปีที่  1  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  3  ระดับประถมศึกษาปีที่  1 – 6  จำนวน 24 ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  846  ค น ระดับมัธยมศึกษาปีที่  1 – 3  จำนวน  5  ห้องเรียน  มีจำนวนนักเรียน 125  คน  รวมทั้งสิ้น 971 คน  ครู  53   คน  เป็นชา ย   12   คน  เป็นหญิง  41  คน  ครูชาวต่างประเทศ  5  คน  พนักงาน 10 คน   โดยมีบาดหลวงบัวทอง บุญทอด  เป็นผู้ลงนา มแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ  บาดหลวงอุดม ดีเลิศประดิษฐ์ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา  เป็นผู้อำนว ยการ ได้ดำเนินงานด้านการสร้างความเข้มแข็งตามระบบประกันคุณภาพภายใน อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยดำเนินงานตาม กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา และมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ หน้า 2 จาก 66


ตอนที่ 1 : การนำเสนอผลการประเมินตนเอง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณ ยอดเยี่ยม 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปั ญหา ยอดเยี่ยม 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม 7. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 9. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน ยอดเยี่ยม หน้า 3 จาก 66


มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยอดเยี่ยม 2. หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ ผู้เรียนของโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น ได้รับการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านวิชาการ อาทิการอ่า น การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิ ดเห็นและแก้ปัญหา มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มรผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) โดยสูงกว่าระดับประเทศทุกวิชา มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ อีกทั้งยังได้รับการส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะและค่านิยม ที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหล าย และสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ผ่านการร่วมกิจกรรมในโครงการต่างๆ ได้แก่ โครงการคลังปัญญา โครงการยอดนักคิ ด โครงการนักสร้างอัจฉริยะ โครงการ Gen ใหม่ใช้ICT โครงการเส้นทางสานฝัน มุ่งมั่นปั้นอาชีพ โครงการคนดีศรีมหาไถ่ โครง การโรงเรียน โรงธรรม โครงการรักษ์ถิ่นไทย โครงการโฮมฮัก มหาไถ่ โครงการสุขกาย สบายใจ ในระดับยอดเยี่ยมทุกโครงการ โรงเรียนมีนวัตกรรมรูปแบบการบริหารและการจัดการสู่ความเป็นเลิศ HOLY SMART Model เพื่อมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ได้แก่ การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของ สถานศึกษา มีกิจกรรมพิเศษเพื่อ ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา และมีผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์แ ละมีความสามารถเป็นส่วนใหญ่ จึงทำให้การบริหารจัดการด้านต่าง ๆ มีประสิทธิภาพระบบสารสนเทศของโรงเรียนเป็นหมวดห มู่เป็นปัจจบุัน ทำให้การบริหารจัดการของ โรงเรียนมีประสิทธิภาพ มีระบบการบริหารที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่ว มในการกําหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และอัตลักษ ณ์ที่สถานศึกษากําหนด จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด และดำเนินการ ตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมิ นตนเองประจำปีนําผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และจัดส่งรายงานผลการ ประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด หลักสูตรสถานศึกษามีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน มีการนิเทศภายใน กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ แ ละนําผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัดความ สามารถและความสนใจจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและ ตอบสนองความต้องการตามความสามารถ ความถนัด และควา มสนใจของผู้เรียน ครูได้ปฏิบัติหน้าที่ตรงกับความรู้ความสามารถหรือคุณวุฒิทางการศึกษา ส่งผลให้งานมีคุณภาพ ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง และชมุ ชนในการจัดการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ นําผลที่ได้จากการรับม อบหมาย มาปรับใช้พัฒนาโรงเรียนจนส่งผลให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเกิดความพึงพอใจในผลของการบริหารการจัดกา รศึกษา ผู้บริหารให้คำแนะนํา คําปรึกษาทางด้านวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาอย่างเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก เพียงพอ อยู่ในสภาพใช้การได้ดีสภ าพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน หน้า 4 จาก 66


จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีการสร้าง และพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษารวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง บุคลากรภายในสถานศึกษา ร ะหว่างสถานศึกษากับชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง โรงเรียนให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ โดยบริการอินเทอร์เน็ตที่ครอบ คลุมพื้นที่สะดวก มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางออนไลน์มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัย ทำให้นักเรี ยนสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ           ครูผู้สอนมีความตั้งใจมุ่งมั่นในการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการคิด การปฏิบัติจริง มีวิธีการและ แห ล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นใน กา รพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย จ นเป็นนวัตกรรมและการปฏิบัติที่ดีเลิศ อาทินวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ HOLY GO MODEL รวมกับเทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์เรื่องการอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 นวัตกรรมการพัฒนาทักษะกา รแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยการ จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการห้องเรียนพอเพียง โดยใช้รูปแบบ HOLY GO Model รายวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และนวัตกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative L earning) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3. โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 1.       ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน 2.       พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3.       พัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 4.       จัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 5.       พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 6.       พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็น พลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 7.       ส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน 8.       พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) 1. การจัดการเรียนรู้แบบ HOLY GO MODEL รวมกับเทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ เรื่องการอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทย 2. การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการ จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรม 3. การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการห้องเรียนพอเพียง โดยใช้รูปแบบ HOLY GO Model รายวิชาสังคมศึกษา 4. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) 5. นวัตกรรมรูปแบบการบริหารและการจัดการสู่ความเป็นเลิศ HOLY SMART Model หน้า 5 จาก 66


5. ความโดดเด่นของสถานศึกษา 1. การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการห้องเรียนพอเพียง โดยใช้รูปแบบ HOLY GO Model รายวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการห้องเรียนพอเพียง โดยใช้รูปแบบ HOLY GO Model รายวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 กระบวนการห้องเรียนพอเพียง เป็นกระบวนการสร้างแรงกระตุ้นการทำงานที่ดีให้กับนักเรียน โดยยึดนักเรียนสู่ศูนย์กลาง ทางความคิดที่มีความหลากหลาย เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนจาก กระบวนการทำงานที่มีความเป็นรูปแบบมากขึ้น กระตุ้นความอยากรู้ของผู้เรียนผ่านสื่อจากครูผู้สอนที่สร้าง สิ่งเร้าที่ดีในการสืบค้นเนื้อหาด้วยตนเองและสร้างผลงานที่มีความสร้ างสรรค์ โดยใช้ Holy Go Model ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น โดยโมเดลการ จัดการเรียนรู้ เป็นการรวมกันของวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และคุณค่าพระวรสารของพระเยซูเจ้า โมเดลการเรียนรู้ Holy G o Model ประกอบไปด้วย Ho = heart and happy รวมใจใสสบาย ทบทวนความรู้ คือขั้นนําเข้าสู่บทเรียนเป็นการเริ่มต้น เต รียมความพร้อมก่อนเรียน Ly = learning กิจกรรมการเรียนรู้ คือ ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆในบทเรียนนั้น ๆ G = goal หลักฐานการปฏิบัติตัวชี้วัดสู่เป้าหมาย คือ ใบงาน และแบบฝึกหัดต่างๆที่ผู้เรียนได้ลงมือทำ O = overall ประยุกต์ใช้ ให้คิดจำ/ จิตสํานึกสู่เป้าหมาย คือผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ เรียน ทั้งนี้กระบวนการดังกล่าวสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกระบ วนการทำงานในชีวิตประจำวันได้ ทุกๆ เร่ืองของตัวนักเรียนเอง เป็นข้อคิดที่นักเรียนสามารถจดจำไปสร้างสรรค์การทางานของ ตนเองให้เกิด ผลสำเร็จอย่างเข้าใจ ถูกใจ และสุขใจ เพราะการเรียนรู้สังคมศึกษาคือการเรียนรู้ด้วยหัวใจและนักเรียน เกิดการเป ลี่ยนแปลงตัวเองด้วยตนเองไปในทิศทางที่ดีและถูกต้อง มากกว่าการฝืนความรู้สึกในการเรียนรู้ การนากิจกรรมการแข่งขันทักษ ะเข้ามาส่งผลให้นักเรียนได้เกิดการกล้าแสดงออกอย่างมีหลักการและได้รับ การยอมรับ จากชุมชนหรือหน่วยงานภายนอกและผ ลตอบแทนที่ได้รับคือ รางวัลที่เป็นสิ่งส่งเสริมกำลังใจใน การที่จะปฏิบัติต่อไปในอนาคต 2. การจัดการเรียนรู้แบบ HOLY GO MODEL รวมกับเทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ เรื่องการอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - การจัดการเรียนรู้แบบ HOLY GO MODEL รวมกับเทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ เรื่องการอ่านจับใ จความ วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การจัดการเรียนรู้แบบ HOLY GO MODELร่วมมือเทคนิค LT (Learning Togeth er) เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ เรื่องการอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทำให้ เกิดการเปลี่ยนแป ลงในการเรียนรู้กับนักเรียน นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำงาน ร่วมกัน นักเรียนสามารถยอมรับควา มสามารถของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน และมีทักษะการนําเสนองาน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในการฝึกทักษะการอ่า นจับใจความ และฝ?กกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการคิด บรรยากาศในห้องเรีย นเต็มไปด้วยความสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน สร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง ไม่ต้องมาฟังครูบรรยายเพีย งอย่างเดียว ครูสามารถนําความรู้และประสบการณrมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับนักเรียนจนเกิดองคrความรู้ใหม่ ๆ นักเรียนมีเจ ตคติที่ดีในการเรียนภาษาไทย ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ดี ส่งงาน ครบและตรงเวลา 3. การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการ จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการ จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรม ชั้นประถมศึกษ หน้า 6 จาก 66


าปีที่ 6 นักเรียนได้ศึกษาโจทย์ปัญหา เรื่องสามเหลี่ยม โดยนักเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาจากการแลกเปลี่ยน แนวคิดกัน โดยให้ผู้เรีย นสามารถเผยแพร่ให้ผู้อื่นศึกษาได้ กิจกรรมการเรียนรู้ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการสังเกต การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาโจทย์ปัญ หาคณิตศาสตร์ โดย การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรม (Design Thinking Process) เป็น กระบวนการจัดกา รเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการของการคิดเชงิ ออกแบบ Design Thinking Process มาช่วยเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดที่สามา รถสร้างสรรค์เครื่องทอ หรือนวัตกรรมได้ ประกอบไปด้วย 1. Empathize – เข้าใจปัญหา ทำความเข้าใจปัญหา/สํารวจตรวจสอ บเกี่ยวกับบริบทของปัญหา รวมถึงวิธีการแก้ปัญหา อย่างหลากหลายมุมมองรอบด้าน รอบคอบ และมีทางเลือกที่ใช้ในการแก้ปั ญหาได้ทันทีและประสบ ความสำเร็จ (Creative) 2. Define – กําหนดปัญหาให้ชัดเจน วิเคราะห์ปัญหาจากที่สํารวจจากข้างต้น อย่างรอบด้านแล้ว ให้นําข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ เพื่อคัดกรองให้เป็นปัญหาที่แท้จริง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหา เลือก และ สรุปแนวทางความเป็นไปได้ 3. Ideate –ระดมความคิด ระดมนําเสนอแนวคิดที่หลากหลาย ในด้านของความหลากหลายมุมมอ ง ความหลากหลาย วิธีการ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา ซึ่งแนวทางในการแก้ไขปัญหาสามารถผสานหลายความคิดให้ออกม า เป็นแนวทางที่ชัดเจนได้ 4. Prototype – สร้างต้นแบบที่เลือก เป็นการนําแนวทางในการแก้ไขปัญหานํามาออกแบบเป็นต้นแ บบนวัตกรรมหรือชิ้นงาน โดยเลือกใช้แนวทางในการแก้ปัญหาจากการระดมความคิดในขั้นตอนที่ 3 5. Test – ทดสอบเป็นการ นําต้นแบบของนวัตกรรมการศึกษาที่ได้สร้างขึ้นมาแล้วนํามาใช้จริง เพื่อ ทดสอบประสิทธิภาพ ประเมินผลและนําปัญหาที่พบมา ปรับปรุงนวัตกรรม ก่อนนําไปใช้จริงต่อไป 4. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ (Collabora-tive Learnin g) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practice) ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางก ารเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่ น 2) ให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น มีเจคติที่ดีต่อรายวิชาภ าษาอังกฤษ และ 3) ให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 Holy Go Medel และ Design thinki ng การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นที่ 1 ขั้น Ho = heart and happy คือ ขั้นการนำเข้าสู่บทเรีย นโดยใช้บทเพลง เกม หรือการทำสมาธิ เพื่อให้ผู้เรียนพร้อมสำหรับการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้น ขั้นที่ 2 ขั้น Ly = learning คือ ขั้นจัด การเรียนการสอนในชั้นเรียนของครู โดยเน้นกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน หรือ การเรียนรู้แบบร่วม มือ (Collaborative Learning) โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อย สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มจะมีความสามารถที่แตกต่างกั นเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ของแต่ละคน สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันจนบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ นอ กจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ และเป็นการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ทำให้สามารถปรับตัวอยู่กั บผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และ ให้นักเรียนใช้กระบวนการารคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) เ พื่องส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถนะกาคิดอย่างสร้างสรรค์ และในระหว่างการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูจะคอยเป็นผู้ช่วยเหลือ หรือผู้ให้คำแนะนำนักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรม แก้ไขปัญหา ตลอดจนดำเนินงานต่างๆ ให้ประสบความสำเร็จได้ ครูจะทำการเดินไปรอบๆ ห้องเรียนด้วยใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถามเมื่อมีข้อสงสัยหรือเกิดปัญหา ขั้นที่ 3 ขั้น G = goal คือ ขั้นการใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เหมาะสมและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น แ บบฝึกหัดหน่วยการเรียนรู้ สื่อออนไลน์ เช่น Microsoft PowerPoint, Video in YouTube, Apple music และ Google Clas sroom และสื่อที่เป็นวัสดุอุปกรณ์ สิ่งของ เช่น ลูกบอลยาง Flash card เป็นต้น ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถตอบสองกับความต้องการ ความถนัด และความชื่นชอบของนักเรียนแต่ละบุคคล ตลอดจนสอดคล^องกับตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ หน้า 7 จาก 66


ในแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 4 ขั้น O = overall คือ ขั้นที่ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาโดยมีการวัดและประเ มินผลตามสภาพจริง โดยครูจะทำการวัดและประเมินผลจากกิจกรรมที่นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ทั้งการทดสอบก่อ นเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน การทดสอบกลางภาคและปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้เครื่องมือการวัดและปร ะเมินผลที่หลากหลาย สอดคล้องเหมาะสมกับกิจกรรมแตaละกิจกรรม หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลรายจุดใด ค รูผู้สอนจะทำการทบทวนเนื้อหารายจุดนั้นให้กับนักเรียนคนดังกล่าวอีกครั้ง แล้วจึงทำการวัดและประเมินผลใหม่จนกว่านักเรียน จะผ่านเกณฑ์ที่ครูกำหนดไว้ Check : ตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน โดยการดูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังก ฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น และดูจากรางวัลที่ได้รั บจากการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษในระดับต่างๆ Action : สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษให้กับผู้อำนวยการสถานศึกษาได้รับทราบ เพื่อปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป 6. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 6.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี 6.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 6.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 6.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 6.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 6.1.5. มีทักษะชีวิต 6.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 6.2.1. มีทักษะทางปัญญา 6.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 6.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 6.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 6.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม 6.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 6.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 6.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 6.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 6.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 6.3.3. มีจิตอาสา 6.3.4. มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค ลงชื่อ........................................ (........นางสาวกันตินันท์ แสนทำนา........) ตําแหน่ง ผู้อํานวยการ หน้า 8 จาก 66


ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน 1. โรงเรียน (School Name) : มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น รหัสโรงเรียน (School Code) : 1140100040 ที่อยู่ (Address) : 182/1 อาคาร (Bldg) : หมู่ที่ (Village No.) : 4 ตรอก (Alley) : ซอย (Lane) : - ถนน (Street) : ชาตะผดุง ตำบล/แขวง (Sub-district) : ในเมือง อำเภอ/เขต (District) : เมืองขอนแก่น จังหวัด (Province) : ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ (Post Code) : 40000 โทรศัพท์ (Tel.) : 043221463 โทรสาร (Fax.) : อีเมล (Email) : [email protected] เว็บไซต์ (Website) : ไลน์ (Line) : เฟซบุ๊ก (Facebook) : 2. ระดับที่เปิดสอน ปกติ (สามัญศึกษา) : ประถมศึกษา, มัธยมศึกษาตอนต้น English Program : หน้า 9 จาก 66


3. ประวัติโรงเรียน เมื่อวันที่  ๑๗  พฤษภาคม  พ.ศ. ๒๕๐๗ พระคุณเจ้าดูฮาร์ด  อดีตประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี  ได้เริ่มจัดตั้งเป็นโรงเรียนสหศึก ษามีชื่อว่า  “โรงเรียนมหาไถ่ศึกษา  ขอนแก่น” ณ  อาคารคอนกรีต ๓ ชั้น     เลขที่  ๑๘๒/๑ หมู่ที่ ๔ ถนนชาตะผดุง  อำเภอเ มือง  จังหวัดขอนแก่น  ๔๐๐๐๐  ตามใบอนุญาตเลขที่  ๗๗/๒๕๐๗  โดยมอบหมายให้บาทหลวงวีระพงษ์   วัชราทิตย์  เป็นเจ้า ของและผู้จัดการ   มีซิสเตอร์คณะพระกุมารเยซูเป็นผู้ดูแลและบริหารเปิดทำการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ  วิชาสา มัญ  ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่  ๖  มีนักเรียนจำนวน  ๒๗๔  คน           ปีการศึกษา  ๒๕๑๖ เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้น  ป.๑ – ป.๗  ได้แยกนักเรียนชายไปเรียนที่โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาชาย  ส่ วนนักเรียนหญิงยังคงเรียนต่อในสถานที่เดิม           ปีการศึกษา ๒๕๑๗ ได้ขออนุญาตเปิดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาปีที่๑  ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เพื่อรองรับความต้อง การในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น           ปีการศึกษา ๒๕๒๑ กระทรวงศึกษาธิการได้รับรองวิทยฐานะโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึก ษาปีที่ ๑  ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน  ๑๐  ห้องเรียน           ปีการศึกษา  ๒๕๓๒  ได้ขออนุญาตขยายห้องเรียนเป็น  ๒๔ ห้องเรียน  ก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่อีก ๑ หลัง  เป็นอ าคารคอนกรีต  ๓  ชั้น  จำนวน  ๑๐  ห้องเรียน ชื่อว่าอาคารเยราร์ด           ปีการศึกษา  ๒๕๔๒ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น  เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑ ถึงระดับมัธยมศึ กษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีนักเรียนจำนวน  ๙๔๖ คน  ระดับมัธยมศึกษา ปีที่ ๑ –๓ มีนักเรียนจำนวน  ๑๘๖ คน  รวมนักเรียนทั้งสิ้น  ๑,๑๓๒  คน  ครู  ๕๐  คน  แบ่งเป็นครูสอนระดับประถมศึกษา  ๓๘  คน  เป็นหญิง ๓๖  คน ครูชาย ๒ คน  ครูสอนระดับมัธยมศึกษา  ๑๒ คน  แบ่งเป็นหญิง  ๑๐ คน  เป็นชาย  ๒ คน นักกา ร  ๑๒ คน  ยามรักษาการณ์  ๑ คน  โดยมีซิสเตอร์ภาวิณี  พิชัยศรีสวัสดิ์  เป็นผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต  ผู้จัดการ  และนางสาวพรสวรรค์   จงสุมามาลย์  เป็นครูใหญ่           ปีการศึกษา  ๒๕๔๓ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น  เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑ถึงระดับมัธยมศึก ษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน  ๙๖๖  คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑–๓  จำนวนนักเรียน  ๑๕๗  ค น  นักเรียนทั้งสิ้น ๑,๑๒๓  คน ครู  ๓๙  คน แบ่งเป็นครูสอนระดับประถมศึกษา ๓๓ คน เป็นหญิง ๒๙  คน  เป็นชาย  ๔ คน  ครูสอนระดับมัธยมศึกษา  ๖ คน  เป็นหญิง ๖ คน  นักการ ๑๓ คน  ยามรักษาการณ์  ๑  คน  โดยมีซิสเตอร์ภาวิณี   พิชัยศรีสวั สดิ์  เป็นผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต -  ผู้จัดการและนางสาวพรสวรรค์   จงสุมามาลย์  เป็นครูใหญ่           ปีการศึกษา  ๒๕๔๔   โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น  เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับมัธยมศึ กษาปีที๓  ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๙๕๗  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ จำนวนนักเรียน ๑๓๐  คน ค รู  ๓๗  คน แบ่งเป็นครูสอนระดับประถมศึกษา ๓๐  คน  เป็นหญิง ๒๖ คน  เป็นชาย  ๔ คนครูสอนระดับมัธยมศึกษา  ๗  คน  เป็นหญิง ๕  คน เป็นชาย ๒  คน นักการ ๑๒  คน  ยามรักษาการณ์๑  คน โดยมีซิสเตอร์ภาวิณี  พิชัยศรีสวัสดิ์  เป็นผู้ทำการแ ทนผู้รับใบอนุญาต-ผู้จัดการ        นางสาวคมขำ บุญกอบ เป็นครูใหญ่ และนายสมปอง  ชาสิงห์แก้ว  เป็นผู้ช่วยผู้จัดการ ปีการศึกษา  ๒๕๔๕   โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น  เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓  ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๐๐๓  คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  จำนวนนักเรียน ๑๕๕ คน รวมนักเ รียนทั้งสิ้น  ๑,๑๔๗ คน ครู๔๘ คน แบ่งเป็นครูสอนระดับประถมศึกษา ๓๕ คน เป็นหญิง ๓๒  คน เป็นชาย ๓  คน ครูสอนระ ดับมัธยมศึกษา ๑๐  คน เป็นหญิง ๙  คน เป็นชาย  ๑ คน    และมีครูชาวต่างประเทศ  จำนวน  ๓  คน นักการภารโรง ๑๒  ค น ยามรักษาการณ์๑  คน   โดยมีบาทหลวงบัวทอง  บุญทอด เป็นผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต ซิสเตอร์ภาวิณี  พิชัยศรีสวัสดิ์เ ป็นผู้จัดการ นางสาวคมขำ  บุญกอบ  เป็นครูใหญ่ หน้า 10 จาก 66


ปีการศึกษา  ๒๕๔๖   โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น  มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร  โดยพระสงฆ์จากสังฆมณฑลอุดรธานี  เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑  ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓                        ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวน นักเรียน ๑,๐๑๑  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรียน ๑๕๙ คน รวมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๑๗๐  คน   ครูแบ่งเป็นครูสอนระดับประถมศึกษา  ๓๘  คน เป็นหญิง ๓๔  คน   เป็นชาย ๔  คน ครูสอนระดับมัธยมศึกษา  ๑๐ คน เป็นหญิง ๘  คน เป็นชาย ๒  คน  และมีครูชาวต่างประเทศ  จำนวน ๑  คน  นักการ- ภ ารโรง  ๑๒  คน  ยามรักษาการณ์  ๑  คน  โดยมีบาทหลวงประสิทธิ์  ไกรโหล   เป็นผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต  บาทหลวงสม พงษ์   เตียวตระกูล  เป็นผู้จัดการและนางสาวคมขำ  บุญกอบ  เป็นครูใหญ่ ปีการศึกษา ๒๕๔๗  โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๒๐๖  คน ระดับมัธยมศึกษา ปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรียน ๑๖๑ คน รวมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๓๖๗ คน ครู๕๙ คน แบ่งเป็นครูสอนระดับประถมศึกษา ๔๙ คน เ ป็นหญิง ๔๔ คน  เป็นชาย ๕ คน  ครูผู้สอนมัธยมศึกษา ๑๑ คน  ครูชาวต่างชาติ ๓ คน  นักการภารโรง  ๑๕  คน  ยามรักษาการณ์  ๑  คน  โดยมีบาทหลวงประสิทธิ์  ไกรโหล เป็นผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต บาทห ลวงสมพงษ์  เตียวตระกูล เป็นผู้จัดการ และนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นครูใหญ่           ปีการศึกษา ๒๕๔๘ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑  ถึงระดับมัธยมศึก ษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๒๖๖  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ มีจำนวนนักเรียน ๒๖๕ คน ร วมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๕๓๑ คน ครู๖๐ คน เป็นหญิง ๕๕ คน เป็นชาย ๕ คน    โดยมีบาทหลวงจรัล  ทองปิยะภูมิ  เป็นผู้ลงนาม แทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นครูใหญ่           ปีการศึกษา ๒๕๔๙ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ถึงระดับมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๓๕๔  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรียน ๒๖๑ คน รว มนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๖๑๕  คน ครู๕๕ คน เป็นหญิง  ๕๐  คน  เป็นชาย  ๕  คน  โดยมีบาทหลวงจรัล  ทองปิยะภูมิ  เป็นผู้ลงนา มแทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นครูใหญ่           ปีการศึกษา ๒๕๕๐ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับมัธยมศึก ษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๓๓๕  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรียน ๑๙๒  คน รวมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๕๒๗ คน ครู๕๖ คน เป็นหญิง  ๕๒  คน  เป็นชาย  ๔  คน   โดยมีบาทหลวงจรัล  ทองปิยะภูมิ  เป็นผู้ลง นามแทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นครูใหญ่           ปีการศึกษา ๒๕๕๑ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ระดับมัธยมศึก ษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๒๐๘  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ มีจำนวนนักเรียน ๑๕๐ คน ร วมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๓๕๘ คน ครู๕๓ คน เป็นหญิง ๔๙ คน เป็นชาย ๔ คน    โดยมีบาทหลวงจรัล  ทองปิยะภูมิ  เป็นผู้ลงนาม แทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นครูใหญ่ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๑,๐๗๗  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ มีจำนวนนักเรียน ๑๔๓ คน รวมนักเ รียนทั้งสิ้น ๑,๒๒๐ คน ครู ๕๐ คน เป็นหญิง ๔๖ คน เป็นชาย ๔ คน    โดยมีบาทหลวงจรัล  ทองปิยะภูมิ  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รั บใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นครูใหญ่ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน ๙๕๐  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรี ยน ๑๔๒ คน รวมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๙๒ คน ครู  ๔๗  คน เป็นหญิง  ๔๓  คน  เป็นชาย  ๔  คน    โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจ หน้า 11 จาก 66


ริญพงศ์  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา ๒๕๕๔  โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ระดับมัธยมศึ กษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน  ๘๘๑  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรียน ๑๓๕ คน รวมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๑๖  คน ครู  ๔๔  คน เป็นหญิง  ๔๑  คน  เป็นชาย  ๓  คน    โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจริญพงศ์  เป็น ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา ๒๕๕๕  โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ระดับมัธยมศึ กษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖  มีจำนวนนักเรียน  ๘๙๘  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓  มีจำนวนนักเรียน ๑๖๖ คน รวมนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๖๔  คน ครู  ๕๖  คน เป็นหญิง  ๕๑  คน  เป็นชาย  ๕  คน    โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจริญพงศ์  เป็น ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาตและนางสาวจีระนันท์ อุดมเดช เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๕๖ เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษา ปีที่  ๑ – ๖  มีจำนวนนักเรียน       ๘๘๔    คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  มีจำนวน ๑๔๑คน  รวมทั้งสิ้น ๑,๐๒๕ คน  ค รูไทย ๕๕ คน เป็นชาย ๗ คน เป็นหญิง ๔๘ คน  ครูชาวต่างประเทศ ๕ คน  พนักงาน  ๑๖  คน  ยามรักษาความปลอดภัย  ๒  คน โดยมีบาทหลวงไมเคิลประสิทธิ์  ไกรโหล  เป็น ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต-ผู้จัดการ  และนางสาวจีระนันท์  อุดมเดช  เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๕๗ เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษา ปีที่  ๑ – ๖  มีจำนวนนักเรียน ๘๘๐ คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  มีจำนวน ๑๒๗ คน  รวมทั้งสิ้น  ๑,๐๐๗ คน  ครูไทย  ๕๗  คน  เป็นชาย  ๘  คน  เป็นหญิง  ๔๙  คน  ครูชาวต่างประเทศ ๕ คน  พนักงาน ๑๖  คน  ยามรักษาความปลอดภัย  ๒  คน โดยมีบาทหลวงไมเคิลประสิทธิ์  ไกรโหล เป็น ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต-ผู้จัดการ  และนางสาวภาพร  จงสุมามาลย์ เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๕๘ เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระดับประถมศึกษา ปีที่ ๑ – ๖ มีจำนวนนักเรียน ๘๘๐ คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  มีจำนวน ๙๘ คน  รวมทั้งสิ้น  ๙๗๘  คน  ครูไทย ๓๙ คน  เป็นชาย  ๕  คน  เป็นหญิง  ๓๓  คน  ครูชาวต่างประเทศ  ๓  คน  พนักงาน  ๑๓  คน  ยามรักษาความปลอดภัย  ๒  คน โดยมีบาทหลวงไมเคิลประสิทธิ์  ไกรโหล  เป็น ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต-ผู้จัดการ  และนางสาวภาพร  จงสุมามาลย์ เป็นผู้อำนวยการ ปีการศึกษา  ๒๕๕๙      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๐ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๘๖๕  คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๓  ห้องเรียน  มีจำนวนนั กเรียน ๙๗  คน  รวมทั้งสิ้น   ๙๖๒   คน  ครู  ๔๓   คน  เป็นชาย  ๖   คน  เป็นหญิง  ๓๗   คน  ครูชาวต่างประเทศ  ๓   ค น   พนักงาน  ๑๓   คน   โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจริญพงศ์  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ  บาทหลวงเปาโลเป รม  คุณโดน  ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา เป็นผู้อำนวยการ   ปีการศึกษา  ๒๕๖๐      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๐ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๘๖๒  คน   ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๓  ห้องเรียน  มีจำนวนนั กเรียน ๘๖  คน  รวมทั้งสิ้น   ๙๔๘   คน  ครู  ๔๐   คน  เป็นชาย  ๕   คน  เป็นหญิง  ๓๕   คน  ครูชาวต่างประเทศ  ๕   ค น   พนักงาน  ๑๒   คน   โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจริญพงศ์  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ บาทหลวงเปาโลเปร ม  คุณโดน  ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา  เป็นผู้อำนวยการ             ปีการศึกษา  ๒๕๖๑      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึ กษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๑ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๘๙๖  คน  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๓  ห้องเรียน  มี หน้า 12 จาก 66


จำนวนนักเรียน ๑๐๔  คน  รวมทั้งสิ้น   ๙๗๓   คน  ครู  ๔๒   คน  เป็นชาย   ๗   คน  เป็นหญิง  ๓๕    คน  ครูชาวต่างประเ ทศ  ๓   คน  พนักงาน  ๑๓   คน   โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจริญพงศ์  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ  และนาง สาวกันตินันท์  แสนทำนา  เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๖๒      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึ กษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๒ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๙๐๑  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๓  ห้องเรียน  มี จำนวนนักเรียน ๑๐๔  คน  รวมทั้งสิ้น ๑,๐๐๕   คน  ครู  ๔๔   คน  เป็นชาย   ๗   คน  เป็นหญิง  ๓๗    คน  ครูชาวต่างประ เทศ  ๓   คน  พนักงาน  ๑๐   คน   โดยมีบาทหลวงโกวิทย์  เจริญพงศ์  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ  บาทหล วงเปโตรสดใส  จันทร์โลมา ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา  เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๖๓      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึ กษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๒ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๘๙๙  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๓  ห้องเรียน  มี จำนวนนักเรียน ๙๖  คน  รวมทั้งสิ้น ๙๙๕   คน  ครู  ๔๖   คน  เป็นชาย   ๗   คน  เป็นหญิง  ๓๙    คน  ครูชาวต่างประเท ศ  ๒   คน  พนักงาน  ๑๑   คน   โดยมีบาดหลวงบัวทอง                           บุญทอด  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้ จัดการ  บาดหลวงอุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา  เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๖๔      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึ กษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๒ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๘๗๒  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๔  ห้องเรียน  มี จำนวนนักเรียน ๑๑๖  คน  รวมทั้งสิ้น ๙๘๘ คน  ครู  ๕๖   คน  เป็นชาย   ๑๓   คน  เป็นหญิง  ๔๓  คน  ครูชาวต่างประเท ศ  ๓  คน  พนักงาน ๑๑ คน   โดยมีบาดหลวงบัวทอง  บุญทอด  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ  บาดหลวงอุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา  เป็นผู้อำนวยการ           ปีการศึกษา  ๒๕๖๕      เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๓  ระดับประถมศึ กษาปีที่  ๑ – ๖  จำนวน ๒๔ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน  ๘๔๖  คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่  ๑ – ๓  จำนวน  ๕  ห้องเรียน  มี จำนวนนักเรียน ๑๒๕  คน  รวมทั้งสิ้น ๙๗๑ คน  ครู  ๕๓   คน  เป็นชาย   ๑๒   คน  เป็นหญิง  ๔๑  คน  ครูชาวต่างประเท ศ  ๕  คน  พนักงาน ๑๐ คน   โดยมีบาดหลวงบัวทอง บุญทอด  เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ  บาดหลวงอุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ผู้ช่วยผู้จัดการ และนางสาวกันตินันท์  แสนทำนา เป็นผู้อำนวยการ       หน้า 13 จาก 66


4. ข้อมูลพื้นฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ปรัชญา ก้าวหน้าเสมอ ก้วยความรู้ คู่คุณธรรม วิสัยทัศน์ ภายในปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาขอนแก่น มุ่งพัฒนาครูและผู้เรียน ก้าวทันเทคโนโลยีมีนวัตกรรม นำสู่มาตรฐาน สากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ตามหลักธรรมาภิบาล สานสัมพันธ์ชุมชน สู่มาตรฐานการศึกษา พันธกิจ เพื่อให้วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ประสบความสำเร็จ ตามวิสัยทัศน์ จึงได้กำหนดพันธกิจไว้ดังนี้ มุ่งพัฒนาครูและผู้เรียนสู่มาตรฐานการศึกษา 1.   พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2.   พัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษา 3.   พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ก้าวทันเทคโนโลยี มีนวัตกรรม 4.   ส่งเสริมการบริหารการจัดการ การจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ให้มีประสิทธิภาพนำสู่มาตรฐานสากล 5.   พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะพื้นฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานของความเป็นไทย 6.   ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ สู่ความเป็นไทย ตามหลักธรรมาภิบาล 7.   ส่งเสริมการบริหารแบบมีส่วนร่วม สานสัมพันธ์ชุมชน 8.   ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เป้าหมาย 1.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ตามหลักสูตรกำหนด 2.ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรกำหนด 3. โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามเอกลักษณ์ ของโรงเรียน 4. ครูพัฒนาตนเอง ให้มีความรู้ความสามารถปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่ ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสอดคล้ องกับบริบทของโรงเรียน ชุมชน และสังคมเป็นอย่างดี 5. ผู้บริหาร อำนวยการจัดหาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมในการ บริหารจัดการ ครูมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  แล ะนวัตกรรม เพื่อค้นหาความรู้สร้างชิ้นงานและนำเสนอ ผลงาน นำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรมจ ริยธรรม 6. ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามมาตรฐานสากล มีทักษะพื้นฐานของ เด็กไทย ในศตวรรษที่ 21 7. ผู้เรียนมีพฤติกรรมและลักษณะของความเป็นไทย 8. ผู้บริหาร บริหารจัดการงานบริหาร ตามโครงสร้างงานของ โรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 9. ชุมชนมีส่วนร่วมกับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน หน้า 14 จาก 66


ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษา กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการบริหารจัดการ การจัดการ เรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ให้มี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่5 พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะ พื้นฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 (การใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสาร, การคิดคำนวณ, คิด วิเคราะห์, นำเสนอผลงาน) กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ สู่ความเป็นไทย  กลยุทธ์ที่ 7 ส่งเสริมการบริหารแบบมีส่วนร่วม กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา เอกลักษณ์ “มารยาทงามอย่างไทย ใส่ใจภาษา จิตอาสาโดดเด่น” อัตลักษณ์ “โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ด้วยจิตตารมณ์แห่งรักและรับใช้” หน้า 15 จาก 66


5. จำนวนนักเรียน จํานวนผู้เรียน ปกติ จํานวนผู้เรียนท่ีมี ระดับท่ีเปิดสอน ความต้องการพิเศษ การจัดการเรียน การสอน จำนวน ห้องเรียน ชาย หญิง ชาย หญิง รวม ระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 4 0 112 0 0 112 ประถมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 4 0 122 0 0 122 ประถมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 4 0 140 0 0 140 ประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนปกติ 4 0 163 0 0 163 ประถมศึกษาปีที่ 5 ห้องเรียนปกติ 4 0 165 0 0 165 ประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนปกติ 4 0 146 0 0 146 รวม ห้องเรียนปกติ 24 0 848 0 0 848 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 2 0 46 0 0 46 มัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 2 0 49 0 0 49 มัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 1 0 28 0 0 28 รวม ห้องเรียนปกติ 5 0 123 0 0 123 รวมทั้งสิ้น ห้องเรียนปกติ 29 0 971 0 0 971 หน้า 16 จาก 66


6. จำนวนผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา 6.1. ผู้บริหารสถานศึกษา - นายบัวทอง บุญทอด ตำแหน่ง ผู้รับใบอนุญาต เบอร์โทรศัพท์ 086-459-7540 - นายบัวทอง บุญทอด ตำแหน่ง ผู้จัดการ เบอร์โทรศัพท์ 086-459-7540 - นางสาวกันตินันท์ แสนทำนา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน เบอร์โทรศัพท์ 086-459-7540 6.2. จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา (เฉพาะที่บรรจุเท่านั้น) 6.2.1. สรุปจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกวุฒิการศึกษาและประเภท/ตำแหน่ง จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม ผู้สอนประถมศึกษา 1. ครูไทย 0 25 0 1 0 26 2. ครูชาวต่างชาติ 0 0 0 0 0 0 ผู้สอนมัธยมศึกษาตอนต้น 1. ครูไทย 0 6 0 0 0 6 2. ครูชาวต่างชาติ 0 0 0 0 0 0 รวม 0 31 0 1 0 32 บุคลากรทางการศึกษา 1. บรรณารักษ์ 0 0 0 0 0 0 2. งานแนะแนวทั่วไป 0 0 0 0 0 0 3. เทคโนโลยีการศึกษา 0 0 0 0 0 0 4. งานทะเบียนวัดผล 0 0 0 0 0 0 5. บริหารงานทั่วไป 0 1 0 0 0 1 รวม 0 1 0 0 0 1 บุคลากรอื่น หน้า 17 จาก 66


จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม 1. พี่เลี้ยง 0 0 0 0 0 0 2. บุคลากรอื่นๆ 6 9 0 0 0 15 รวม 6 9 0 0 0 15 รวมทั้งสิ้น 6 41 0 1 0 48 สรุปอัตราส่วน สรุปอัตราส่วน จํานวนห้อง จํานวนนักเรียน จํานวนครู จํานวนผู้เรียนต่อครู จํานวนผู้เรียนต่อห้อง ระดับประถมศึกษา 24 848 26 33:1 36:1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 5 123 6 21:1 25:1 หน้า 18 จาก 66


6.2.2. จำนวนครูจำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ จํานวนครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ รวม ภาษาไทย 6 0 1 0 7 คณิตศาสตร์ 6 0 1 0 7 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 0 2 0 7 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 4 0 1 0 5 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0 1 0 3 ศิลปะ 2 0 1 0 3 การงานอาชีพ 1 0 1 0 2 ภาษาต่างประเทศ 5 0 1 0 6 รวม 31 0 9 0 40 6.2.3. ตารางสรุปจำนวนครูที่สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จํานวนครูผู้สอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวม กิจกรรมนักเรียน     - ลูกเสือ 0 0 0     - เนตรนารี 0 0 0     - ยุวกาชาด 27 5 32     - ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 0 0 0     - รักษาดินแดน (ร.ด.) 0 0 0     - กิจกรรมชุมนุม ชมรม 27 5 32 กิจกรรมแนะแนว 27 5 32 กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ 0 0 0 หน้า 19 จาก 66


ส่วนที่ 3 : ผลการดำเนินงาน 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 1.1. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 : กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ : โครงการคลังปัญญา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 91.97 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ หน้า 20 จาก 66


- ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการยอดนักคิด เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 91.97 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ หน้า 21 จาก 66


- มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการนักสร้างอัจฉริยะ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 99.78 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการ Gen ใหม่ใช้ ICT หน้า 22 จาก 66


เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 96.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม หน้า 23 จาก 66


ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 93.92 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการเส้นทางสานฝัน มุ่งมั่นปั้นอาชีพ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.78 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม หน้า 24 จาก 66


สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการคนดี ศรีมหาไถ่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.09 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน หน้า 25 จาก 66


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการโรงเรียน โรงธรรม เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 99.74 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา หน้า 26 จาก 66


- การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการรักษ์ถิ่นไทย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.78 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 หน้า 27 จาก 66


- การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการโฮมฮัก มหาไถ่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.07 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) หน้า 28 จาก 66


- การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการสุขกาย สบายใจ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม หน้า 29 จาก 66


และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษา โครงการ : งานบริหารและการจัดการศึกษา ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) หน้า 30 จาก 66


- การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต โครงการ : งานประกันคุณภาพการศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ หน้า 31 จาก 66


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ หน้า 32 จาก 66


- มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต โครงการ : โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา หน้า 33 จาก 66


5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 : กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพ โครงการ : โครงการครูมืออาชีพ พัฒนาครูสู่มืออาชีพ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย หน้า 34 จาก 66


- การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 : กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการบริหารจัดการ การจัดการ เรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ให้มีประสิทธิภาพ โครงการ : โครงการโรงเรียนน่าอยู่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ หน้า 35 จาก 66


- การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต โครงการ : โครงการ ICT School Man-agement เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ หน้า 36 จาก 66


- มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต โครงการ : โครงการ Smart Teacher เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต โครงการ : งานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (และฉบับปรุง พ.ศ.2560) เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ หน้า 37 จาก 66


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต โครงการ : โครงการ Smart Classroom เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.26 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal หน้า 38 จาก 66


- การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 : กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะ พื้นฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 (การใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสาร, การคิดคำนวณ, คิด วิเคราะห์, นำเสนอผลงาน) โครงการ : โครงการคนดี ศรีมหาไถ่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.09 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : โครงการโรงเรียน โรงธรรม เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 99.74 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : หน้า 39 จาก 66


1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : โครงการรักษ์ถิ่นไทย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.78 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : โครงการโฮมฮัก มหาไถ่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.07 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน หน้า 40 จาก 66


สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : โครงการสุขกาย สบายใจ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค ยุทธศาสตร์ที่ 6 : กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ สู่ความเป็นไทย โครงการ : โครงการรักษ์ถิ่นไทย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 95.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.78 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) หน้า 41 จาก 66


ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค ยุทธศาสตร์ที่ 7 : กลยุทธ์ที่ 7 ส่งเสริมการบริหารแบบมีส่วนร่วม โครงการ : งานบริหารและการจัดการศึกษา ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 8 : กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา โครงการ : โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาครู พัฒนาผู้เรียน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.84 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ หน้า 42 จาก 66


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต หน้า 43 จาก 66


2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2.1. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.1.1. จํานวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษา ระดับผลการเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระ การเรียนรู้/ รายวิชา จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ คณิตศาสตร์ 112 112 100. 00 122 121 99.1 8 140 126 90.0 0 163 91 55.8 3 165 165 100. 00 146 67 45.8 9 ภาษาไทย 112 111 99.1 1 122 121 99.1 8 140 139 99.2 9 163 159 97.5 5 165 163 98.7 9 146 144 98.6 3 สังคม ศาสนา และ วัฒนธรรม 112 112 100. 00 122 122 100. 00 140 136 97.1 4 163 151 92.6 4 165 165 100. 00 146 145 99.3 2 ประวัติศาสตร์ 112 111 99.1 1 122 122 100. 00 140 139 99.2 9 163 163 100. 00 165 165 100. 00 146 146 100. 00 สุขศึกษาและ พลศึกษา 112 112 100. 00 122 121 99.1 8 140 139 99.2 9 163 163 100. 00 165 164 99.3 9 146 146 100. 00 ศิลปะ 112 111 99.1 1 122 122 100. 00 140 139 99.2 9 163 163 100. 00 165 165 100. 00 146 146 100. 00 การงานอาชีพ 112 112 100. 00 122 121 99.1 8 140 139 99.2 9 163 163 100. 00 165 165 100. 00 146 146 100. 00 ภาษาต่างประ เทศ 112 112 100. 00 122 121 99.1 8 140 138 98.5 7 163 163 100. 00 165 155 93.9 4 146 31 21.2 3 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโล ยี 112 112 100. 00 122 122 100. 00 140 139 99.2 9 163 158 96.9 3 165 165 100. 00 146 133 91.1 0 ภาษาจีน 112 112 100. 00 122 121 99.1 8 140 139 99.2 9 163 159 97.5 5 165 164 99.3 9 146 127 86.9 9 ภาษาอังกฤษ โปรแกรม EL LIS 112 112 100. 00 122 122 100. 00 140 139 99.2 9 163 163 100. 00 165 165 100. 00 146 146 100. 00 ว่ายน้ำเพื่อเอ าชีวิตรอด 112 112 100. 00 122 121 99.1 8 140 139 99.2 9 163 163 100. 00 165 165 100. 00 146 146 100. 00 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 1 หน้า 44 จาก 66


ระดับผลการเรียน ม.1 ม.2 ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 47 29 61.70 49 26 53.06 28 19 67.86 ภาษาไทย 47 41 87.23 49 48 97.96 28 28 100.00 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 47 24 51.06 49 19 38.78 28 22 78.57 ประวัติศาสตร์ 47 17 36.17 49 22 44.90 28 19 67.86 สุขศึกษาและพลศึกษา 47 45 95.74 49 48 97.96 28 28 100.00 ศิลปะ 47 27 57.45 49 18 36.73 28 28 100.00 การงานอาชีพ 47 34 72.34 49 48 97.96 28 19 67.86 ภาษาต่างประเทศ 47 16 34.04 49 32 65.31 28 7 25.00 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 47 8 17.02 49 13 26.53 28 15 53.57 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 47 28 59.57 49 44 89.80 28 24 85.71 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 47 35 74.47 49 44 89.80 28 20 71.43 ภาษาจีน 47 41 87.23 49 44 89.80 28 28 100.00 ภาษาญี่ปุ่น 47 46 97.87 49 49 100.00 28 28 100.00 ภาษาอังกฤษ โปรแกรม ELLIS 47 42 89.36 49 48 97.96 28 28 100.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ระดับผลการเรียน ม.1 ม.2 ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 47 13 27.66 49 36 73.47 28 10 35.71 ภาษาไทย 47 38 80.85 49 41 83.67 28 27 96.43 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 47 47 100.00 49 49 100.00 28 28 100.00 ประวัติศาสตร์ 47 47 100.00 49 49 100.00 28 28 100.00 สุขศึกษาและพลศึกษา 47 46 97.87 49 48 97.96 28 27 96.43 หน้า 45 จาก 66


ระดับผลการเรียน ม.1 ม.2 ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ ศิลปะ 47 44 93.62 49 48 97.96 28 28 100.00 การงานอาชีพ 47 44 93.62 49 49 100.00 28 28 100.00 ภาษาต่างประเทศ 47 15 31.91 49 45 91.84 28 0 0.00 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 47 40 85.11 49 49 100.00 28 28 100.00 การออกแบบและเทคโนโลยี 47 34 72.34 49 45 91.84 28 22 78.57 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 47 29 61.70 49 41 83.67 28 21 75.00 ภาษาจีน 47 47 100.00 49 49 100.00 28 25 89.29 ภาษาญี่ปุ่น 47 31 65.96 49 39 79.59 28 28 100.00 ภาษาอังกฤษ โปรแกรม ELLIS 47 47 100.00 49 49 100.00 28 28 100.00 2.3.2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 146 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ 143 28.06 35.56 42.16 33.90 วิทยาศาสตร์ 143 39.34 42.75 38.08 46.16 ภาษาไทย 143 53.89 67.36 60.79 59.70 ภาษาอังกฤษ 143 37.62 70.35 58.05 54.72 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 28 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ 26 24.39 23.23 23.43 19.37 วิทยาศาสตร์ 26 33.32 30.97 28.05 33.40 ภาษาไทย 26 52.95 60.36 49.45 60.16 หน้า 46 จาก 66


คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 ภาษาอังกฤษ 26 32.05 39.68 35.00 34.84 2.4.3. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 140 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบสมรรถ สมรรถนะ นะ จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 ด้านภาษาไทย (Thai Language) 132 55.86 56.47 52.99 63.60 ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) 132 49.12 44.66 42.66 54.45 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ 2.5.4. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดัานการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 112 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ความสามารถด้านการอ่าน จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 อ่านรู้เรื่อง 109 77.19 68.56 86.70 63.32 อ่านออกเสียง 109 77.38 71.61 63.93 67.90 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ หน้า 47 จาก 66


3. จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร ระดับชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ อนุบาลปีที่ 3 0 0 0.00 ประถมศึกษาปีที่ 6 146 146 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 3 28 28 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 6 0 0 0.00 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) ชื่อ นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี ระดับการศึกษา มาตรฐานด้าน การจัดการเรียนรู้แบบ HOLY GO MODEL รวม กับเทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒน าผลสัมฤทธิ์ เรื่องการอ่านจับใจความ วิชาภาษาไ ทย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศา สตร์ โดยการ จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้างสร รค์นวัตกรรม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการห้องเรียนพอเ พียง โดยใช้รูปแบบ HOLY GO Model รายวิชา สังคมศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภา ษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมื อ (Collaborative Learning) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน นวัตกรรมรูปแบบการบริหารและการจัดการสู่คว ามเป็นเลิศ HOLY SMART Model ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 5. รางวัลที่สถานศึกษาได้รับ ชื่อรางวัล ประเภท รางวัล ระดับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ปีที่ได้รับ รางวัล รางวัลผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนดีเด่ น ผู้บริหาร ภาค/ประเทศ สมาคมคณะกรรมการประสา นและส่งเสริมการศึกษาเอกช น 2565 สมาคมคณะกรรมการประสา นและส่งเสริมการศึกษาเอกช รางวัลผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนดีเด่ น ครู ภาค/ประเทศ 2565 หน้า 48 จาก 66


ชื่อรางวัล ประเภท รางวัล ระดับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ปีที่ได้รับ รางวัล น รางวัลผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนดีเด่ น ครู ภาค/ประเทศ สมาคมคณะกรรมการประสา นและส่งเสริมการศึกษาเอกช น 2564 รางวัลดีเด่น ประเภท “ครูผู้สอน” ครู ภาค/ประเทศ คุรุสภา 2564 พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ครู ภาค/ประเทศ สำนักพระราชวัง 2563 รางวัลสดุดีครูเอกชน ครู ภาค/ประเทศ สมาคมคณะกรรมการประสา นและส่งเสริมการศึกษาเอกช น 2563 รางวัลดีเด่นประเภท “ผู้บริหารสถานศึกษ า” ผู้บริหาร ภาค/ประเทศ คุรุสภา 2563 รางวัลดีเด่นประเภท “ครูผู้สอน” ครู ภาค/ประเทศ คุรุสภา 2563 รางวัลครูและบุคลากรทางการศึกษาดีเด่น ครู ภาค/ประเทศ สมาคมคณะกรรมการประสา นและส่งเสริมการศึกษาเอกช น 2563 6. การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 6.1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 6.1.1. การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 6.1.2. การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 6.1.3. การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 6.2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 6.2.1. การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน 6.2.2. การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 6.2.3. การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 6.2.4. การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 6.2.5. การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 6.2.6. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 6.2.7. การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน 6.2.8. การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน หน้า 49 จาก 66


Click to View FlipBook Version