The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร พระพุทธ รวม ป.1-6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maytarat.k, 2022-06-11 09:52:30

หลักสูตร พระพุทธ รวม ป.1-6

หลักสูตร พระพุทธ รวม ป.1-6

๑๑๔

โครงสร้างเวลาเรียน รายวิชาเพิ่มเตมิ
รายวชิ า ส ๑๓๒๐๑ พระพทุ ธศาสนา กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษาฯ
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลาเรยี น ๑๒๐ ชัว่ โมง น้ำหนกั คะแนน ๒๐๐ คะแนน

หน่วย ช่อื หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรยี นรู้ เรียน คะแนน
(ชั่วโมง)

๑ ประวตั ิและ ๑. บอกพุทธประวตั ิ การศกึ ษาพระพุทธศาสนา ๒๒ ๒๕

ความสำคัญของ และความสำคญั ของ เปน็ สำคญั ของวฒั นธรรมไทย

พระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนาทตี่ น และก่อใหเ้ กิดวฒั นธรรมที่ดี

นบั ถือ งามทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์เฉพาะ

ของสงั คมไทยในดา้ นต่างๆ

- พระพุทธประวตั ขิ อง

พระพุทธเจ้าที่พุทธศาสนิกชน

ควรศึกษา เพอื่ ให้ทราบถึง

ประวัติความเป็นมาของ

พระองค์ที่ทรงบำเพญ็ เพยี ร

จนตรสั รู้ และเผยแผ่

พระพุทธศาสนา

-ศกึ ษาประวัติของ

พระพุทธศาสนาในประเทศ

อาเซียน

๒ หลกั ธรรมนำชาว ๓. รู้และเขา้ ใจประวัติ -การศึกษาพระไตรปิฏกเปน็ ๒๖ ๔๐

พทุ ธ ความสำคัญ ศาสดา คมั ภรี ์ในพระพุทธศาสนาท่ี

หลักธรรมของ รวบรวมหลกั ธรรมคำสอนของ

พระพทุ ธศาสนา มี พระพุทธเจ้า เพื่อให้

ศรทั ธาท่ีถูกตอ้ ง ยึด พทุ ธศาสนิกชนได้นำปฏบิ ตั ิใน

มั่น และปฏิบัตติ าม การดำรงชวี ติ

หลักธรรม เพ่ืออยู่

ร่วมกันอย่างสนั ตสิ ุข

๑๑๕

หนว่ ย ชอื่ หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ เรียน คะแนน
(ชั่วโมง)
๔. บอกความหมาย -หลักธรรมคำสอนทเ่ี ปน็ ๑๕
๑๒
ความสำคัญ และ หัวใจสำคัญของ ๘๐
๖๐ ๒๐
เคารพต่อพระรัตนตรัย พระพทุ ธศาสนา คือ โอวาท - ๑๐๐
๖๐
ปฏิบตั ิตามหลักธรรม ๓ ได้แก่

ในโอวาท 3 ใน การไม่ทำความช่วั การทำ

พระพทุ ธศาสนา หรือ ความดี และการทำจติ ใจให้

หลักธรรมของ ผอ่ งใสบริสุทธิ์

พระพุทธศาสนาทีต่ น -พทุธศาสนสุภาษิตเป็นคติ

นับถอื ตามท่ีกำหนด ธรรมทางพระพุทธศาสนา

เพื่อเป็นคติสอนใจให้

พทุ ธศาสนกิ ชนนำไปปฏบิ ตั ิ

(หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง)

๓ พุทธสาวก ๒. ช่ืนชมและบอก การศกึ ษาพทุ ธสาวก ชาดก

ชาดก และ แบบอย่างการดำเนนิ และพุทธศานิกชนตัวอย่าง

ศาสนกิ ชน ชีวิตและข้อคดิ จาก จะทำให้ไดแ้ บบอยา่ งและ
ตวั อยา่ ง ประวตั พิ ระสาวก ขอ้ คิดทีด่ ีมาปฏิบัติใน
ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และศา ชีวติ ประจำวัน เพื่อให้

สนกิ ชนตวั อยา่ งตามที่ ดำเนนิ ชวี ติ ได้อยา่ งมี

กำหนด และปฏิบตั ิ ความสขุ

ตามหลกั ธรรม เพื่ออยู่ (หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ

ร่วมกันอยา่ งสนั ติสุข พอเพียง)
๕. ช่ืนชมการทำความ

ดีของตนเอง บุคคลใน

ครอบครวั และใน

โรงเรียนตามหลัก

พระพุทธศาสนา

รวมระหว่างภาคเรยี นท่ี ๑

สอบวดั ผลปลายภาคเรยี นท่ี ๑

รวมภาคเรยี นที่ ๑

๑๑๖

หน่วย ช่อื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรยี นรู้ เรยี น คะแนน
๗. ปฏบิ ัติตนอยา่ ง ศาสนบคุ คล ศาสนสถาน (ช่ัวโมง)
๔ หนา้ ทแี่ ละ เหมาะสมต่อสาวกของ และศาสนวัตถุ เปน็ ๒๐
มารยาทชาว พระพทุ ธศาสนาที่ตนนบั องค์ประกอบหนึ่งทชี่ ่วย ๒๐
พุทธ ถอื ตามทีก่ ำหนดได้ สนับสนุนให้ศาสนาดำรงอยู่ ๔๐
ถกู ต้อง ศาสนิกชนทด่ี คี วรให้ ๒๒
๕ การบริหารจติ ความสำคัญ และปฏบิ ัติตน
และเจริญ ต่อศาสนบุคคล ศาสนสถาน
ปญั ญา และศาสนวตั ถุอย่างถกู ต้อง
และเหมาะสม

หน้าทชี่ าวพุทธ คือการ
แสดงตนเป็นพุทธมามกะ ซึ่ง
เป็นสิ่งทีช่ าวพทุ ธทกุ คนควร
ปฏบิ ตั เิ พือ่ สบื ทอด
พระพทุ ธศาสนาให้คงอยูส่ ืบ
ตอ่ ไป

มรรยาทชาวพุทธ เปน็ สง่ิ ที่
ชาวพทุ ธทุกคนควรศกึ ษาและ
ปฏิบตั ิใหถ้ ูกต้อง เพ่ือใหเ้ กดิ
ความเป็นสริ มิ งคลแก่ตนเอง
การสวดมนต์ไหวพ้ ระ เป็นการ
แสดงความเคารพในพระรุตน
ตรยั และเปน็ การฝึกบรหิ าร
และเจรญิ ปัญญาเพ่ือใหจ้ ติ ใจ
สงบ

๑๑๗

หน่วย ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนัก
ท่ี การเรยี นรู้ เรียน คะแนน
๖. เห็นคณุ ค่าและ การฝึกให้มสี ติและสมาธเิ ปน็ (ชัว่ โมง)
๖ วนั สำคัญทาง สวดมนต์ แผเ่ มตตา มี การบรหิ ารจติ และเจริญ ๒๐
พระพทุ ธศาสนา สตทิ ีเ่ ปน็ พน้ื ฐานของ ปัญญาทส่ี ามารถปฏบิ ัตไิ ด้ ๑๘
และศาสนพิธี สมาธิใน เป็นประจำทุกวนั และชว่ ยให้
พระพุทธศาสนา หรือ ผู้ปฏิบตั ิมสี ตแิ ละสมาธใิ นการ
การพัฒนาจิตตาม ดำเนนิ ชีวิต
แนวทางของ
พระพทุ ธศาสนาทีต่ น การอาราธนาศลี การ
นบั ถือตามทก่ี ำหนด สมาทานศลี และการจัดโต๊ะ
๘. ปฏบิ ัติตนในศาสน หม่บู ชู าเป็นพิธีกรรมทาง
พธิ ี พธิ ีกรรม และวนั ศาสนา ทพ่ี ุทธศาสนิกชนควร
สำคัญทาง ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องเม่ือเข้ารว่ ม
พระพุทธศาสนา ตามที่ ในศาสนพิธีต่าง ๆ
กำหนดได้ถกู ต้อง (หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง)

รวมระหวา่ งภาคเรยี นที่ ๒ ๖๐ ๘๐
สอบวัดผลปลายภาคเรยี นที่ ๒ - ๒๐
๖๐ ๑๐๐
รวมภาคเรียนท่ี ๒ ๑๒๐ ๒๐๐
รวมตลอดปีการศกึ ษา

๑๑๘

โครงสร้างเวลาเรยี น รายวชิ าเพมิ่ เติม

รายวชิ า ส ๑๔๒๐๑ พระพทุ ธศาสนา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษาฯ

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลาเรียน ๑๒๐ ชั่วโมง น้ำหนักคะแนน ๒๐๐ คะแนน

หนว่ ย ชื่อหนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ เรียน คะแนน
(ชวั่ โมง)

๑ ประวตั แิ ละ 1. อธบิ ายความสำคญั พระพุทธศาสนาเป็น ๒๐ ๒๕

ความสำคญั ของ ของพระพุทธศาสนาใน ศาสนาประจำชาติของไทย

พระพทุ ธศาสนา ฐานะเปน็ ศนู ยร์ วมจิตใจ ซงึ่ มีความสำคญั ตอ่ วิถชี ีวติ

ของศาสนิกชน ของคนไทยในฐานะท่ีเป็น

เคร่อื งยึดเหน่ียวจติ ใจเปน็

ศนู ย์การทำความดแี ละการ

พฒั นาจติ ใจ จงึ ชว่ ยทำให้

สงั คมไทยมคี วามสขุ

2. สรปุ พุทธประวัตติ ง้ั แต่ เจา้ ชายสิทธัตถะทรงออก

บรรลุธรรมจนถึง ผนวชเพอ่ื ค้นหาทางดบั ทุกข์

ประกาศธรรม หลังจากทรงค้นพบแล้ว ทรง

ได้เผยแผ่หลกั ธรรมท่ีพระองค์

ทรง คน้ พบใหผ้ ู้อ่นื ร้ตู าม

วิถกี ารดำเนินชีวิตใน

ทอ้ งถิ่น ท่ีเก่ียวข้องกบั หลกั

ปฏิบตั ิทางพระพุทธศาสนา

ศาสนาพุทธประจำชาติ

ต่างๆ ของประเทศใน

ประชาคมอาเซยี น

๒ หลักธรรมนำชาว 4. แสดงความเคารพ หลกั ธรรมทาง ๒๗ ๓๕

พทุ ธ พระรัตนตรัย ปฏบิ ัติตาม พระพทุ ธศาสนามคี วามสำคัญ

ไตรสกิ ขาและหลักธรรม และมีประโยชนม์ ากมาย ชาว

โอวาท 3 ใน พุทธควรศกึ ษาและนำไป

พระพุทธศาสนา ปฏิบตั ใิ นชวี ิตประจำวนั

๑๑๙

หนว่ ย ช่ือหนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ เรียน คะแนน
(ชว่ั โมง)

7. ปฏิบัติตนตาม ความหมาย ความสำคัญ

หลักธรรมของ และเคารพพระรัตนตรัย

พระพุทธศาสนา เพื่อ ปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมโอวาท

การนำไปแก้ไขและ ๓ในพระพทุ ธศาสนา หรอื

นำไปใชใ้ นชีวิต หลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนับ

ประจำวันอยู่ไดอ้ ยา่ ง ถือตามทกี่ ำหนด

สนั ติสุข ศกึ ษาขอ้ คดิ คติเตอื นใจที่

เก่ยี วขอ้ งกบั หลกั ธรรม

พระพทุ ธศาสนาในศาสน

สถานในท้องถ่ิน

หลักธรรมทสี่ ำคัญของ

ศาสนาพทุ ธ ของประเทศใน

ประชาคมอาเซียน

๓ พทุ ธสาวกชาดก 3. เหน็ คุณค่า และ การศกึ ษาเกีย่ วกับประวตั ิ ๑๓ ๒๐

และศาสนกิ ชน ปฏิบัติตนตามแบบ พทุ ธสาวกทำให้ได้รับความรู้

ตัวอยา่ ง อยา่ งการดำเนนิ ชวี ติ และ เกิดความจรรโลงใจและมี
ขอ้ คิดจากประวตั สิ าวก ศรทั ธาในพระพุทธศาสนา

ชาดก/เรื่องเลา่ และศา ชาดกเปน็ วรรณกรรมทาง

สนิกชนตัวอยา่ ง พระพุทธศาสนาท่ใี ช้อบรมส่งั

สอน โดยการยกนิทานขนึ้ มา

สอน การศึกษาเกยี่ วกบั นิทาน

ชาดก จะทำใหเ้ ข้าใจ

หลกั ธรรมคำสอนต่างๆได้งา่ ย

ข้นึ และเกดิ ความสนุกสนาน

เพลดิ เพลนิ ได้ข้อคดิ เตือนใจ

(หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง)

๑๒๐

หน่วย ช่อื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น นำ้ หนัก
ท่ี การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

5. ชนื่ ชมการทำความดี การศกึ ษาประวตั ชิ าวพุทธ

ของตนเอง บคุ คลใน ตวั อยา่ ง ทำใหเ้ ห็นคุณค่า

ครอบครวั โรงเรยี นและ ของการทำความดแี ละทำ

ชมุ ชน ตามหลัก เปน็ แบบอย่างในการดำเนนิ

พระพทุ ธศาสนา พร้อมทั้ง ชวี ิต

บอกแนวทางปฏิบตั ใิ นการ ช่ืนชมและบอกแบบ

ดำเนินชวี ติ อย่างการดำเนนิ ชวี ติ และ

ข้อคิดจากประวัตสิ าวก

ชาดก/เรือ่ งเลา่ และศาสนิก

ชนตัวอย่างตามที่กำหนด

ประวัตคิ วามเป็นมา

ของศาสนสถานทางพุทธ

ศาสนาท่ีสำคญั ในจงั หวัด

ประวตั ิและผลงานของ

บุคคลสำคัญทาง

พระพทุ ธศาสนาในกลุ่ม

ประชาคมอาเซียน

รวมระหว่างภาคเรียนที่ ๑ ๖๐ ๘๐
สอบวดั ผลปลายภาคเรยี นท่ี ๑ - ๒๐
๖๐ ๑๐๐
รวมภาคเรยี นท่ี ๑

๑๒๑

หนว่ ย ชือ่ หนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนัก
ท่ี การเรยี นรู้ เรยี น คะแนน
8. อภิปรายความสำคญั ชาวพทุ ธมหี น้าที่ (ชวั่ โมง)
๔ วถิ ีชาวพุทธ และมีสว่ นร่วมในการ บำรงุ รักษาศาสนสถาน เข้า ๓๐
บำรงุ รักษา รว่ มกจิ กรรมการทำความดี ๒๒
ศาสนสถานของ ทางศาสนา
พระพุทธศาสนา
พระสงฆ์เปน็ ผูส้ ืบทอดพระ
9. มีมารยาทของความ ศาสนา การปฏิบัตติ นของ
เปน็ ศาสนกิ ท่ีดีตามที่ ทา่ นจงึ แตกต่างไปจากบุคคล
กำหนด ธรรมดา ดงั นั้นชาวพุทธจึง
ควรเรยี นรเู้ กีย่ วกับมรรยาท
ของชาวพุทธทีพ่ ึงปฏบิ ตั ติ อ่
พระสงฆ์เพ่ือให้สามารถ
ปฏบิ ตั ไิ ด้ถูกต้อง

บำเพ็ญประโยชนต์ ่อวัด
หรือศาสนสถานของศาสนาท่ี
ตนนับถอื

ความสามารถในการ
ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ภกิ ษุในท้องถนิ่

๕ การบริหารจติ 4. แสดงความเคารพ เหน็ คุณคา่ และสวดมนต์ แผ่ ๒๑ ๓๐

และเจริญปญั ญา พระรัตนตรยั ปฏิบตั ติ าม เมตตา มสี ตทิ ีเ่ ปน็ พ้ืนฐาน

ไตรสกิ ขาและหลักธรรม ของสมาธใิ นพระพุทธ

โอวาท 3 ใน ศาสนา หรอื การพัฒนาจติ

พระพทุ ธศาสนา ตามแนวทางของศาสนาท่ีตน

นบั ถือตามทก่ี ำหนด

การบริหารจติ เปน็ การพัฒนา

ตนเองด้วยการฝึกอบรมจิตใจ

ควบคุมจิตให้มีความแน่วแน่

ไม่ ฟุ้ ง ซ่ า น ซึ่ ง ท ำ ให้ เกิ ด

ประโยชน์ในการทำงานตา่ งๆ

๑๒๒

หนว่ ย ชื่อหนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรยี นรู้ เรยี น คะแนน
การสวดมนต์ไหว้พระ (ช่ัวโมง)
สรรเสรญิ คณุ พระรตั นตรัย
และแผ่เมตตาเปน็ กิจกรรมท่ี
ชาวพุทธศาสนิกชนควรปฏบิ ตั ิ
ในชีวติ ประจำวัน เพือ่
ความสุขในการดำเนินชีวติ

ความสามารถในการ
จำแนกแยกแยะความ
แตกตา่ ง ๆ ระหวา่ งการนบั
ถอื ศาสนาในท้องถ่นิ และ
อธิบายลกั ษณะเดน่ ของ
ประเพณที างศาสนาพุทธใน
ท้องถ่ิน

ความสามารถในการศกึ ษา
หลกั คำสอนทสี่ ำคัญของ
ศาสนาต่างๆ ในท้องถนิ่

ความสามารถในการ
จำแนกแยกแยะความ
แตกตา่ งระหว่างการนับถือ
ศาสนาต่างๆ ของประเทศใน
กลมุ่ ประชาคมอาเซียน

ความสามารถในการเคารพ
และยอมรบั ความแตกต่าง
หลากหลายทางศาสนา
ประเพณี และวฒั นธรรม

๑๒๓

หนว่ ย ชือ่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ เรยี น คะแนน
๑๐. ปฏบิ ัตติ นในศาสน ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี (ชวั่ โมง)
๖ วนั สำคัญทาง พธิ ี พิธกี รรม และวนั พิธีกรรม และวันสำคัญทาง ๒๐
พระพทุ ธศาสนา สำคัญทางพระพทุ ธ ศาสนา ตามท่ีกำหนดได้ ๑๗
และศาสนพิธี ศาสนาได้ถูกต้อง ถกู ต้องวันสำคญั ทาง
พระพทุ ธศาสนาเป็นพิธกี รรม
ทางศาสนาซึ่งมผี ลตอ่ การ
ดำเนนิ ชีวติ ของ
ศาสนกิ ชนและจะทำให้เกดิ
ศรทั ธาและเหน็ ความสำคัญ

เข้ารว่ มในศาสนพธิ ี
พิธกี รรม และวนั สำคัญทาง
ศาสนาที่มใี นท้องถนิ่

พธิ ีกรรม และวนั สำคญั ทาง
ศาสนาของประเทศตา่ งๆใน
กลมุ่ ประชาคมอาเซียน (หลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง)

รวมระหวา่ งภาคเรยี นที่ ๒ ๖๐ ๘๐
สอบวัดผลปลายภาคเรยี นท่ี ๒ - ๒๐
๖๐ ๑๐๐
รวมภาคเรยี นท่ี ๒ ๑๒๐ ๒๐๐
รวมตลอดปีการศึกษา

๑๒๔

โครงสรา้ งเวลาเรยี น รายวิชาเพมิ่ เติม

รายวิชา ส ๑๕๒๐๑ พระพทุ ธศาสนา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษาฯ

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลาเรยี น ๑๒๐ ช่วั โมง น้ำหนกั คะแนน ๒๐๐ คะแนน

หนว่ ย ชือ่ หนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน น้ำหนกั

ที่ การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

๑. ความสำคัญ ๑. วิเคราะห์ พระพุทธศาสนา มี ๑๔ ๒๕

ของ ความสำคัญของ ความสำคัญต่อวถิ ชี วี ติ ของคนไทย
พระพุทธศาส
นาและพุทธ พระพทุ ธศาสนาใน ในฐานะทเ่ี ปน็ เคร่ืองยึดเหน่ียว
ประวัติ ฐานะเป็นศาสนา
ประจำชาติ จิตใจ เปน็ ศนู ยก์ ลางของการทำ

๒. สรุปพุทธประวตั ิ ความดแี ละการพฒั นาจิตใจ จึง
ตงั้ แตเ่ สดจ็ กรุง ชว่ ยทำให้สงั คมไทยมีความสงบสขุ

กบิลพัสดจุ์ นถงึ พระพทุ ธศาสนาเกิดขนึ้ ใน

พทุ ธกจิ สำคัญ ดินแดนชมพูทวีป พระพุทธเจ้า

ทรงออกผนวชเพื่อค้นหาทางดบั

ทกุ ข์ หลงั จากคน้ พบแล้ว ทรงได้

เผยแผ่หลักธรรมทพ่ี ระองค์ทรง

ค้นพบใหผ้ ู้อนื่ รแู้ ละปฏิบัตติ ามใน

ดนิ แดนตา่ งๆ

๒. พุทธสาวก ๓. เหน็ คุณค่า และ การศึกษาเก่ยี วกับประวัติพระ ๑๕ ๒๐

ชาดกและ ประพฤตติ นตาม พทุ ธสาวกทำให้ไดร้ บั ความรู้ เกิด
พทุ ธศาสนิกช แบบอย่างการ ความจรรโลงใจและมีศรัทธาใน
นตวั อยา่ ง ดำเนินชวี ติ และ พระพุทธศาสนาและนิทานชาดก
ข้อคิดจากประวัติ เป็นวรรณกรรมทาง
พระสาวก ชาดก/ พระพทุ ธศาสนาท่ีใช้อบรมส่งั สอน
เร่อื งเลา่ และพุทธ โดยการยกนิทานขึน้ มาสอน
ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง

ตามทก่ี ำหนด การศึกษาเกยี่ วกับนทิ านชาดก จะ

ทำให้เขา้ ใจหลักธรรมคำสอน

ต่างๆ ได้ง่ายขนึ้ และเกิดความ

๑๒๕

สนุกสนานเพลิดเพลิน ได้

หนว่ ย ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน น้ำหนัก

ท่ี การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

ขอ้ คิดเตอื นใจ

การศึกษาประวตั ิชาวพุทธ
ตวั อยา่ ง ประวัติความเปน็ มา
ของศาสนสถานทาง
พระพุทธศาสนาทีส่ ำคญั ใน
ท้องถิ่น และประวัติของบุคคล
สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาประจำ
ชาติต่างๆ ของประเทศในกลุ่ม
ประชาคมอาเซยี น ทำให้เหน็
คุณคา่ ของการทำความดีและการ
ประพฤติปฏิบตั ิเป็นแบบอยา่ งใน
การดำเนนิ ชวี ติ
(หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง)

๓ หลกั ธรรมทาง ๔. แสดงความ หลักธรรมทาง ๓๑ ๓๕

พระพุทธศาส เคารพพระรตั นตรยั พระพุทธศาสนามีความสำคัญและ

นา และปฏิบตั ิตาม มีประโยชน์มากมาย สำหรับชาว
ไตรสิกขาและ
หลักธรรม พทุ ธควรศึกษา และนำไปปฏิบัติ
โอวาท ๓ การเคารพพระรัตนตรัยและ

ปฏิบตั ิตามหลักธรรมใน

พระพุทธศาสนา ยดึ มนั่ ถอื มั่น

และศึกษา ข้อคิด

เวลาเรียนภาคเรียนภาคเรียนที่ ๑ ๖๐ ๘๐

เวลาสอบภาคเรยี นท่ี ๑ - ๒๐

รวมเวลาเรยี น/สอบภาคเรียนท่ี ๑ ๖๐ ๑๐๐

๑๒๖

หนว่ ย ชื่อหนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น น้ำหนกั

ที่ การเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

๔ บริหารจติ และ ๕. เหน็ คุณคา่ เหน็ คณุ ค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มี ๒๑ ๒๕

เจรญิ ปญั ญา และสวดมนต์ แผ่ สติทเ่ี ป็นพืน้ ฐานของสมาธิใน

เมตตามสี ติทเ่ี ปน็ พระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจิต
ของพื้นฐานของ
สมาธิใน ตามแนวทางของพระพุทธศาสนา

พระพทุ ธศาสนา การบรหิ ารจติ เปน็ การพฒั นาตนเอง
หรือการพัฒนา ดว้ ยการฝกึ อบรมจิตใจ

จติ ตามแนวทาง ควบคุมจติ ให้มีความแนว่ ไม่ฟุ้งซ่าน

พระพทุ ธศาสนา ซึ่งทำให้เกดิ ประโยชนใ์ นการทำงาน

ตา่ งๆ การสวดมนต์ไหวพ้ ระ

สรรเสริญคุณพระรตั นตรยั และแผ่

เมตตาเปน็ กิจกรรมทช่ี าว

พุทธและศาสนกิ ชนควรปฏบิ ัติใน

ชีวิตประจำวัน เพื่อความสุขในการ

ดำเนนิ ชีวิตและความสามารถในการ

จำแนกแยกแยะความแตกตา่ ง

ระหว่างการนับถือศาสนาพุทธใน

ทอ้ งถิน่ และอธิบายลกั ษณะเดน่ ของ

พระเพณีทางพระพุทธศาสนาใน

ท้องถ่นิ และมีความสามารถใน

การศึกษาหลักธรรมคำสงั่ สอนที่

สำคัญของศาสนาพุทธในท้องถิน่ และ

สามารถจำแนกแยกแยะความ

แตกต่างระหว่างการนับถอื ศาสนาต่าง

ของประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียน

ความสามารถในการเคารพและ

ยอมรับความแตกต่าง หลากหลาย

ทางศาสนา ประเพณีและวฒั นธรรม

๑๒๗

หนว่ ย ชื่อหนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก

ท่ี การเรยี นรู้ เรียน คะแนน

(ช่ัวโมง)

๕ ศาสนพิธแี ละวนั ๖.จดั พธิ ีกรรม ปฏบิ ัตติ นในศาสนพธิ ี พิธีกรรม และ ๒๔ ๓๕

สำคญั ทาง ทาง วนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
พระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนา ตามทีก่ ำหนดได้ถกู ต้องและวนั
หนา้ ทีแ่ ละ อย่างเรยี บงา่ ย มี สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาเป็น
มรรยาทชาวพุทธ ประโยชน์ และ พธิ ีกรรมทางทม่ี ีอิทธิพลต่อการ
ปฏบิ ัตติ นถกู ต้อง ดำเนนิ ชวี ติ ของพุทธศาสนิกชน จะ

ทำใหเ้ กิดความศรัทธาและเห็น

๗. ปฏิบัติตนใน ความสำคญั และเขา้ ร่วมในศาสนา

ศาสนพธิ ี พิธี พธิ ีกรรม และวันสำคัญทาง

พิธกี รรม และวนั พระพทุ ธศาสนา

สำคัญทาง (หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

ศาสนา ตามท่ี พอเพยี ง)

กำหนด และ

อภปิ ราย

ประโยชนท์ ่ีได้รบั

จากการเขา้ ร่วม

กิจกรรม

๖ หน้าทีแ่ ละ ๘. มมี ารยาท• มรรยาทของศาสนิกชน ๑๕ ๒๐

มรรยาทชาวพทุ ธ ของความเปน็ ศา ๑. การกราบพระรตั นตรยั
สนกิ ชนท่ดี ี
ตามทกี่ ำหนด - ๒. การไหว้บดิ า มารดา ครู/อาจารย์ ผู้
ทเ่ี คารพนับถือ

- ๓. การกราบศพ

- ๔. การเข้าค่ายพุทธบุตร

เวลาเรยี นภาคเรยี นภาคเรยี นที่ ๒ ๖๐ ๘๐

เวลาสอบภาคเรียนท่ี ๒ - ๒๐

รวมเวลาเรยี น/สอบภาคเรียนที่ ๒ ๖๐ ๑๐๐

รวมตลอดปีการศกึ ษา ๑๒๐ ๒๐๐

๑๒๘

โครงสรา้ งเวลาเรยี น รายวชิ าเพ่มิ เติม

รายวชิ า ส ๑๖๒๐๑ พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษาฯ

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลาเรยี น ๑๒๐ ช่วั โมง น้ำหนกั คะแนน ๒๐๐ คะแนน

หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น น้าหนัก
ที่ การเรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน
๑. วเิ คราะห์
๑ ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ พระพุทธศาสนา มี ๑๘ ๒๕
พระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนาใน
และพทุ ธประวตั ิ ฐานะเป็นศาสนา ความสาคญั ต่อวถิ ชี วี ติ ของ
ประจาชาติ
๒ พุทธสาวก ๒. สรุปพุทธ คนไทยในฐานะทเ่ี ป็นเครอ่ื ง
ชาดกและ ประวตั ติ งั้ แตป่ ลง
พทุ ธศาสนกิ ชน อายสุ งั ขารถงึ ยดึ เหน่ยี วจติ ใจ เป็น
ตวั อยา่ ง สงั เวนยี สถาน
ศูนยก์ ลางของการทาความดี
๓. เหน็ คุณค่า
และปฏบิ ตั ติ นตาม และการพฒั นาจติ ใจ จงึ ชว่ ย
แบบอยา่ งการ
ดาเนินชวี ติ และ ทาใหส้ งั คมไทยมคี วามสงบ
ขอ้ คดิ จากประวตั ิ
สาวก ชาดก/เรอ่ื ง สขุ
เลา่ และ
ศาสนกิ ชนตวั อย่าง พระพทุ ธศาสนาเกดิ ขน้ึ ๑๘ ๒๐
ตามทก่ี าหนด ในดนิ แดนชมพทู วปี
พระพทุ ธเจา้ ทรงออกผนวช
เพอ่ื คน้ หาทางดบั ทกุ ข์
หลงั จากคน้ พบแลว้ ทรงได้
เผยแผ่หลกั ธรรมทพ่ี ระองค์
ทรงคน้ พบใหผ้ อู้ น่ื รแู้ ละ
ปฏบิ ตั ติ ามในดนิ แดนต่างๆ
การศกึ ษาเก่ียวกบั ประวัติพระ

พทุ ธสาวกทำให้ไดร้ ับความรู้

เกิดความจรรโลงใจและมี

ศรทั ธาใพระพุทธศาสนาและ

นทิ านชาดกเปน็ วรรณกรรม

ทางพระพุทธศาสนาที่ใชอ้ บรม

สัง่ สอน โดยการยกนิทานขึน้ มา

สอน การศึกษาเก่ียวกบั นิทาน

ชาดก จะทำใหเ้ ขา้ ใจหลักธรรม

๑๒๙

คำสอน

หน่ว ชื่อหน่วย ผลการ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนั
ย การเรยี นรู้ เรยี นรู้ เรียน ก
ที่ (ชวั่ โมง) คะแนน

๑๓๐

ต่างๆ ได้ง่ายขึน้ และเกิดความสนกุ สนาน

เพลิดเพลิน ได้

ขอ้ คิดเตือนใจ

การศกึ ษาประวัติชาวพุทธตวั อยา่ ง
ประวัติความเป็นมาของ
ศาสนสถานทางพระพทุ ธศาสนาท่สี ำคัญใน
ทอ้ งถ่ิน และประวตั ิของบคุ คลสำคญั ทาง
พระพทุ ธศาสนาประจำชาติต่างๆ ของ
ประเทศในกลมุ่ ประชาคมอาเซียน ทำให้
เห็นคณุ ค่าของการทำความดีและการ
ประพฤตปิ ฏิบตั เิ ปน็ แบบอย่างในการดำเนนิ
ชีวิต
(หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง)

หน่ว ชื่อหน่วย ผลการ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนั
ย การเรียนรู้ เรยี นรู้ เรยี น ก

๑๓๑

ที่ (ชวั่ โมง) คะแนน

๓ หลกั ธรรมทาง ๔.วเิ คราะห์ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนามี ๒๔ ๓๕

พระพุทธศาสนา ความสาคญั ความสำคญั และมีประโยชนม์ ากมาย

และเคารพ สำหรบั ชาวพุทธควรศกึ ษา และนำไปปฏิบัติ
พระรตั นตรยั
ปฏบิ ตั ติ น การเคารพพระรตั นตรัยและปฏิบตั ิตาม
ตามไตรสกิ ขา หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา ยดึ ม่ัน ถอื ม่ัน
และศึกษา ข้อคิด
และ

หลกั ธรรม

โอวาท 3 ใน

พระพุทธศาส

นา

๕. ช่นื ชมการ

ทาความดี

ของ บุคคลใน

ประเทศตาม

หลกั ศาสนา

พรอ้ มทงั้ บอก

แนวปฏบิ ตั ใิ น

การดาเนิน

ชวี ติ

๖. ปฏบิ ตั ติ น

ตาม

หลกั ธรรม

ของศาสนา

พุทธ

เพอ่ื แกป้ ัญหา

อบายมุขและ

สงิ่ เสพตดิ

รวมภาคเรียนที่ ๑ ๖๐ ๘๐

สอบภาคเรียนท่ี ๑ - ๒๐

รวมเวลาเรยี น/สอบภาคเรยี นที่ ๑ ๖๐ ๑๐๐

๑๓๒

หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนัก
ท่ี การเรียนรู้ เรยี น คะแนน
(ชวั่ โมง)

๔ หน้าทแ่ี ละ ๗. อธบิ าย - ชาวพทุ ธมหี น้าท่ี ๑๙ ๒๕
มารยาทชาว
พทุ ธ ความรเู้ ก่ยี วกบั บารงุ รกั ษาศาสนสถานและเขา้
สถานทต่ี า่ ง ๆ รว่ มกจิ กรรมการทาความดที าง
ในศาสนสถาน
ของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนา พระสงฆถ์ อื วา่
และปฏบิ ตั ติ นได้ เป็นผสู้ บื ทอดพระพทุ ธศาสนา

อยา่ งเหมาะสม ดงั นนั้ การปฏบิ ตั ติ นของท่านจงึ
๘. มมี ารยาท แตกตา่ งไปจากบุคคลธรรม ชาว

ของความ พทุ ธจงึ ควรเรยี นรเู้ กย่ี วกบั

เป็นศาสนิกชนท่ี มารยาทของชาวพทุ ธทพ่ี งึ ปฏบิ ตั ิ
ดี ต่อพระสงฆเ์ พอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิ

ไดถ้ ูกตอ้ ง และบาเพญ็ ประโยชน์

ต่อวดั และมี

- ความสามารถในการปฏบิ ตั ิ

ตนต่อพระภกิ ษุสงฆแ์ ละผนู้ า

ศาสนาพุทธในทอ้ งถนิ่ และใน

กลุ่มประชาคมอาเซยี น

ความสามารถในการเคารพและ

ยอมรบั ความแตกต่าง

หลากหลายทางศาสนา ประเพณี

และวฒั นธรรม

๕ การบรหิ ารจติ ๙. เหน็ คณุ ค่า เหน็ คณุ ค่าและสวดมนตแ์ ผ่ (๒๐) ๒๕

และเจรญิ ปัญญา และสวดมนตแ์ ผ่ เมตตา มสี ตทิ เ่ี ป็นพน้ื ฐานของ
เมตตา และและ สมาธใิ นพระพทุ ธศาสนา หรอื
บรหิ ารจติ เจรญิ
ปัญญามสี ตทิ ่ี การพฒั นาจติ ตามแนวทางของ

๑๓๓

เป็นพน้ื ฐานของ พระพุทธศาสนา การบรหิ ารจติ

สมาธใิ น เป็นการพฒั นาตนเองดว้ ยการ

พระพทุ ธศาสนา ฝึกอบรมจติ ใจ
หรอื การพฒั นา
จติ ตามแนวทาง ควบคุมจติ ใหม้ คี วามแน่วไม่
ของศาสนาพุทธ ฟุ้งซ่าน ซง่ึ ทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ใน

การทางานต่างๆ

หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนัก
ที่ การเรียนรู้ เรียน คะแนน
(ชวั่ โมง)
๖ วนั สาคญั ทาง
พระพทุ ธศาสนา ๑๐.อธบิ าย ปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี พิธกี รรม ๒๑ ๓๕
และศาสนพธิ ี
ประโยชน์ของ และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

การเขา้ ร่วมในศา ตามท่กี ำหนดได้ถกู ต้องและวนั สำคัญ

สนพธิ ี พธิ กี รรม ทางพระพุทธศาสนาเปน็ พิธีกรรม
กจิ กรรมในวนั ทางท่ีมีอิทธิพลตอ่ การดำเนินชีวิต
สาคญั ทาง
ของพุทธศาสนิกชน จะทำให้เกดิ
พระพุทธศาสนา ความศรัทธาและเห็นความสำคัญ
และปฏบิ ตั ติ นได้ และเข้ารว่ มในศาสนาพธิ ี พิธีกรรม
ถูกตอ้ ง
และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

(หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง)

รวมภาคเรยี นท่ี ๒ ๖๐ ๘๐
สอบภาคเรยี นท่ี ๒ - ๒๐
รวมเวลาเรยี น/สอบภาคเรยี นท่ี ๒ ๖๐ ๑๐๐
รวมตลอดปีการศกึ ษา ๒ ๑๒๐ ๒๐๐

๑๓๔

เกณฑก์ ารวดั ประเมินผลและการจบหลักสตู ร

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การ
ประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยแบ่งออกเป็น ๒ ระดับ (ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๒๕๕๑) ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่
การศึกษา (องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ต้นสังกัด) และระดับชาติ
สำหรับในการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นร้ใู นระดับสถานศกึ ษา แบง่ เปน็ ๒ ระดบั มรี ายละเอยี ด
ดังน้ี

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนทำการวัดและประเมินผล โดยใช้วิธีการที่
หลากหลายและเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพ่ือน ผปู้ กครองร่วมประเมิน เพื่อเป็น
การตรวจสอบวา่ ผู้เรียนมีพฒั นาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้และต้องปรับปรุงส่งเสรมิ ในด้านใด รวมท้ัง
ใช้ผลการประเมินพัฒนาเทคนิคการสอนของครู โดยต้องประเมินให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้วี ัด

๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายปี ผลการ
ประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น เพ่อื นำผล
การประเมินไปใช้ในการเปรียบเทียบกับเป้าหมายคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษากำหนดเทียบกับเกณฑ์
ระดับชาติ ระดับเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา (องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ท่ตี น้ สงั กัด) โดยใชเ้ ป็นข้อมลู สารสนเทศ
ในการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการหรือวิธีการจัดการเรียนการสอน รวมท้ังจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

๑๓๕

โรงเรียนจงึ กำหนดหลักการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูเ้ พื่อเป็นแนวทางในการวัดและประเมินผล
การเรยี นรูข้ องสถานศึกษา ดงั น้ี

๑. โรงเรียนเป็นผู้รบั ผิดชอบการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ยี วข้อง
มสี ่วนร่วม โดยโรงเรียนเปน็ ผแู้ ต่งตัง้ คณะกรรมการประเมิน

๒. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัดตาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร จัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียน
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

๓. การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ด้านความรู้ ทักษะ คุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ โดยทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมใน
กระบวนการเรยี นรู้ ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรปู แบบการศึกษา

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้อง
ดำเนินการด้วยเทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้าน ท้ัง
ความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิงที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชาและ
ระดับชนั้ ของผู้เรียนและระดับสถานศกึ ษา โดยตง้ั อยบู่ นพนื้ ฐานความเท่ยี งตรง ยุตธิ รรม และเชือ่ ถือได้

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มีจุดม่งุ หมายเพอื่ ปรับปรุงพัฒนาผเู้ รยี น พฒั นาการจดั การเรยี นรแู้ ละตดั สนิ ผลการ
เรียนในกรณีท่นี ักเรียนไมผ่ ่านเกณฑม์ าตรฐานและตัวช้วี ดั วิชาใดวิชาหน่งึ ใหซ้ ้ำชั้น

๖. เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนและผมู้ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
๗. ให้มีการเทยี บโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ
๘. ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาเพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้
รายงานผลการเรียน แสดงวฒุ กิ ารศึกษาและรบั รองผลการเรยี นของผเู้ รียน

วธิ กี ารวดั และประเมินผลการเรียนระดบั ประถมศกึ ษา
การกำหนดสัดสว่ นคะแนน
๗๐ : ๓๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ

ประวัติศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ
๘๐ : ๒๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและ

เทคโนโลยี

๑. รูปแบบและวธิ กี ารประเมนิ ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้
๑.๑ รูปแบบและวธิ ีการประเมินใชส้ ดั สว่ นตามทก่ี ำหนด โดยประเมนิ ผลคะแนนระหวา่ งปี

: ปลายปี และตดั สนิ ผลการเรยี นปลายปี โดยใชผ้ ลการประเมนิ รวมเปน็ ตวั ตัดสนิ

๑๓๖

๑.๒ การประเมินระหว่างปี (๗๐/๘๐) ใช้วธิ กี ารประเมนิ ท่หี ลากหลายตามสภาพจรงิ
ส่วนการวดั ผลปลายปี (๓๐/๒๐) โดยใชแ้ บบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ

๒. รปู แบบและวิธกี ารประเมินการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน
๒.๑ ใช้วธิ บี ูรณาการความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนสอื่ ความสอดคล้อง

กับหนว่ ยการเรียนรูใ้ นรายวชิ า โดยมีสดั สว่ นทเ่ี หมาะสมสามารถนำคะแนนแต่ละหนว่ ยรวมเป็นผลการ
ประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนตลอดปี

๒.๒ ส่งเสรมิ และพฒั นาการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน โดยจดั ทำโครงงาน / กจิ กรรม
เสรมิ หลกั สตู ร เชน่ กจิ กรรมรกั การอ่าน กิจกรรมการประกวดหรอื แขง่ ขนั ทักษะวชิ าการเป็นตน้

เกณฑก์ ารประเมนิ
โรงเรียนกำหนดการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น โดยจัดระดบั คณุ ภาพออกเปน็ ๔

ระดบั คอื ดเี ยย่ี ม / ดี / ผา่ น / ไมผ่ ่าน
ดเี ยยี่ ม (๓) หมายถงึ สามารถจบั ใจความได้ครบถว้ น เขยี นวิพากษว์ ิจารณ์ เขยี น

สร้างสรรคแ์ สดงความคดิ เหน็ ประกอบอยา่ งมเี หตผุ ลไดถ้ ูกตอ้ งสมบรู ณ์ ใช้ภาษาสภุ าพและเรยี บเรียงได้
สละสลวย

ดี (๒) หมายถึง สามารถจับใจความสำคญั ได้ เขียนวพิ ากษแ์ ละเขยี นสร้างสรรคไ์ ด้โดย
ใชว้ าจาสภุ าพ

ผ่าน (๑) หมายถงึ สามารถจบั ใจความสำคัญและเขียนวิพากษ์วจิ ารณไ์ ดบ้ า้ ง
*ไมผ่ ่าน (๐) หมายถงึ จบั ใจความสำคญั และเขียนวพิ ากษว์ ิจารณไ์ มไ่ ด้
เมือ่ ครปู ระจำวชิ าสง่ ผลการประเมินใหค้ รปู ระจำชนั้ ครูประจำชั้นนำผลแตล่ ะรายวิชามาประมวล
เปน็ ผลของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ แลว้ สรุปผลทุกกลมุ่ สาระการเรยี นร้เู ปน็ ผลการประเมินการอ่านคิด
วเิ คราะห์และเขียนของนกั เรยี นแตล่ ะคน โดยใช้ฐานนยิ ม (Mode)

๓. รปู แบบและวธิ กี ารประเมินคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
ใช้รปู แบบการประเมิน โดยแยกการประเมนิ ออกจากตวั ช้วี ดั ของกล่มุ สาระ / กิจกรรม โดยมี
วธิ กี าร ดังนี้

๓.๑ ครผู ู้สอนประจำรายวิชาต้องประเมนิ คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ๘ ประการ ๓๑
ตวั ชวี้ ดั ตดั สนิ ผลการประเมนิ ออกเป็น ๔ ระดบั คือ ดเี ยีย่ ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น โดยใชฐ้ านนิยม

๓.๒ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องสถานศึกษา ประมวลผลและ
ตัดสนิ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคร์ ายปี โดยใชฐ้ านนยิ ม

๑๓๗

๓.๓ รายงานผลใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศึกษาพิจารณาอนมุ ัติ รายปี
๓.๔ การประเมนิ คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ในระดบั ประถมศกึ ษา ใหค้ ณะกรรมการฯ
ประมวลผลการประเมินจากผลการประเมนิ ฯ รายปี และตดั สินผลการประเมนิ โดยใชฐ้ านนยิ ม (Mode)

๔. รปู แบบและวธิ กี ารประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมท่ีมงุ่ ให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยา่ งรอบด้าน
เพ่ือความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายสติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้
และอยู่ร่วมกับผู้อน่ื อยา่ งมีความสุข

โรงเรียนเทศบาล ๓ (วัดพุทธภูมิ) ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ
ดังนี้

๑ กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ อันจะนำไปสู่
สมรรถนะที่สำคัญ ๕ ประการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๐ ประการ โดยนำไปบูรณาการในการจัด
กิจกรรมตามลกั ษณะของกิจกรรม แนะแนวท่รี ะบุไว้ในหลกั สูตร มุ่งจัดกจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา
ความต้องการ ความน่าสนใจ ธรรมชาติของผู้เรียนและวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ท่ีตอบสนองจุดมุ่งหมาย
หลักสูตรจัดกิจกรรมให้ครอบคลมุ ท้ังดา้ นการศกึ ษา การงานและอาชพี รวมทง้ั ชีวิตและสังคมอีกท้ังส่งเสริม
พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีทักษะชวี ิต

นักเรียนทกุ คนตอ้ งเข้ารว่ มกจิ กรรมแนะแนว ๓๐ - ๔๐ ชวั่ โมง ต่อปกี ารศึกษา ทงั้ นข้ี นึ้ อยู่กับ
ระดบั ช้ันเรียน

แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว
๑. สำรวจสภาพปญั หา ความต้องการ ความสนใจ และธรรมชาติของผู้เรยี น เพือ่ ใชเ้ ปน็

ข้อมลู ในการกำหนดแนวทางและแผนปฏบิ ตั ิกิจกรรมแนะแนว
๒. ศกึ ษาวสิ ยั ทศั นข์ องสถานศกึ ษา และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล หรอื การ

สำรวจเพื่อทราบปัญหา ความต้องการ และความสนใจ เพ่ือนำไปกำหนดสาระและรายละเอยี ดของ
กิจกรรมแนะแนว

๓. กำหนดสัดสว่ นของกจิ กรรมด้านการศึกษาการงานและอาชพี รวมทง้ั ชวี ิตและสงั คม

ให้ได้สดั ส่วนที่เหมาะสม โดยยึดสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติของผู้เรียนเป็น
ทงั้ หมดทัง้ ครู และผ้เู รยี นมสี ่วนร่วมในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

๔. กำหนดแผนการปฏบิ ัติกจิ กรรมแนะแนว เปน็ รายปี เม่ือกำหนดสดั สว่ นของกจิ กรรม

๑๓๘

ในแต่ละดา้ นแล้ว จะตอ้ งระบวุ า่ จดั กจิ กรรมแนะแนวในดา้ นใดจำนวนก่ีช่ัวโมง พร้อมทัง้ กำหนดรายละเอียด
ของแต่ละดา้ นให้ชดั เจนว่าควรมเี รอื่ งอะไรบ้างเพอ่ื จะไดท้ ำเป็นรายละเอียดของแต่ละกจิ กรรมยอ่ ยต่อไป

๕. ปฏบิ ตั ิตามแผนการปฏิบตั กิ จิ กรรมแนะแนว วัดและประเมนิ ผล และสรุปรายงาน

๒. กจิ กรรมนกั เรียน เปน็ กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามชำนาญ และมีประสบการณ์
กวา้ งขวางยิ่งขนึ้ เพ่ือให้ค้นพบความถนัดของตนเอง และพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนา
ทักษะของสังคม และปลูกฝังจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพ่ือสังคม รวมท้ังมุ่งปลูกฝังระเบียบวินัย
กฎเกณฑ์ เพ่ือการอยู่ร่วมกันในสภาพชีวิตต่าง ๆ นำไปสู่วิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมขุ

กจิ กรรมนกั เรียนประกอบดว้ ย
๑. กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐

ชวั่ โมงต่อปีการศึกษา

แนวการจดั กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี
การจดั กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี โรงเรยี นเทศบาล ๓ (วดั พทุ ธภมู )ิ ไดด้ ำเนนิ การดงั นี้
๑. นักเรียนทกุ คนเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารีในวันทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
๒. โรงเรียนกำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ การเข้ารว่ มกิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี
๓. ประเมินผลพิจารณาจากเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม ผลการปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/

ชิ้นงาน/ คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนตามเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกำหนด
๔. นักเรียนที่มผี ลการประเมินไม่ผา่ นในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรม

และผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามทโ่ี รงเรยี นกำหนด ใหค้ รูหรือผู้รบั ผดิ ชอบต้องดำเนินการซ่อมเสริมและ
ประเมินจนผ่าน

๒. กจิ กรรมชมรม นกั เรยี นทกุ คนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมชมรม ๔๐ ชว่ั โมงตอ่ ปกี ารศึกษา

แนวการจดั กิจกรรมชมรม
๑. สำรวจความตอ้ งการของผเู้ รยี น และกำหนดชมรมตามความตอ้ งการ
๒. รบั สมคั รสมาชกิ ตามความสนใจและความถนดั ของผูเ้ รยี น
๓. โรงเรียนกำหนดเกณฑ์การประเมินการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี

๑๓๙

๔. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ 1 ชมรมต่อปีการศึกษาและมี
เวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่นอ้ ยกว่า ๘๐ % ของเวลาเรยี น

๕. การประเมินผลพิจารณาจากเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม ผลการปฏิบัติกิจกรรม และ
ผลงาน/ ชน้ิ งานตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด

๖. นกั เรียนทมี่ ผี ลการประเมนิ ไมผ่ า่ นในเกณฑเ์ วลาการเข้ารว่ มกจิ กรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

และผลงาน/ชิน้ งานตามทก่ี ำหนด ใหค้ รหู รอื ผูร้ บั ผิดชอบต้องดำเนนิ การซอ่ มเสรมิ และประเมินจนผา่ น

กิจกรรมชมรมทโ่ี รงเรียนเทศบาล ๓ (วดั พุทธภมู ิ) จดั ใหน้ กั เรยี นเลือกเรียนมีดงั นี้
๑. ชมรม Sciences Thai
๒. Math Musics
๓. Pure Math
๔. Enjoy English
๕. Freelance
๖. 3R
๗. คอมพวิ เตอร์

๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมทสี่ ่งเสรมิ และพฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ีจิตสา
ธารณ มุ่งทำงานเพ่อื ประโยชน์ของส่วนรวม และมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ชุมชน และท้องถน่ิ ตามความ
สนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพือ่ ปลกู ฝังจติ สำนึกและการมสี ว่ นร่วมในการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม และดแู ล
สาธารณประโยชน์

นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ - ๑๕ ชั่วโมงต่อปี
การศึกษา ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับระดับช้ันท่ีเรียน เมื่อนกั เรยี นจบการศึกษาระดับประถมศกึ ษา นักเรียนต้องมีเวลา
การเขา้ รว่ มกิจกรรม รวมทั้งสนิ้ ๖๐ ชวั่ โมง

แนวการจดั กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
๑. นักเรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ตามระยะเวลาและ

กิจกรรมที่โรงเรียนกำหนด
๒. โรงเรียนกำหนดเกณฑ์การประเมนิ การเข้ารว่ มกจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
๓. การประเมินผลพิจารณาจากเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม ผลการปฏิบัติกิจกรรม และ

ผลงาน/ ชน้ิ งาน/ คณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ี่โรงเรยี นกำหนด
๔. นักเรยี นท่ีมีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้ารว่ มกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรม

และผลงาน/ช้ินงาน/คณุ ลักษณะตามท่โี รงเรยี นกำหนด ใหค้ รหู รอื ผู้รับผดิ ชอบต้องดำเนินการซอ่ มเสริมและ
ประเมินจนผา่ น

๑๔๐

แนวทางการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น

โรงเรียนเทศบาล ๓ (วดั พุทธภมู ิ) ไดก้ ำหนดแนวทางการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ไวด้ ังนี้
๑. เวลาเรยี น ผเู้ รยี นตอ้ งมีเวลาการเข้ารว่ มกจิ กรรม ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียน

ทงั้ หมด
๒. การปฏิบตั ิกจิ กรรมทง้ั ๓ กจิ กรรม คอื กิจกรรมลูกเสอื /เนตรนารี กิจกรรมชมุ นมุ และ

กจิ กรรมสงั คมและสาธารณประโยชนแ์ ละผลงานของผเู้ รียน ผู้เรยี นต้องมผี ลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และผลงาน
ตามเกณฑท์ ่กี ำหนด

๓. ผลการประเมิน กำหนดระดับ เปน็ “ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น” ดงั นี้

“ผา่ น” หมายถงึ ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรม ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และมผี ลงานตาม
เกณฑท์ ก่ี ำหนดของแตล่ ะกจิ กรรม

“ไม่ผา่ น” หมายถึง ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมหรอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมหรือมี
ผลงานไมผ่ ่านตามเกณฑ์ทกี่ ำหนดของแตล่ ะกจิ กรรม

เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา
๑. การตดั สินผลการเรยี น

โรงเรียนเทศบาล ๓ (วัดพุทธภูมิ) จังหวัดยะลา ได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน มาตรฐานการ
เรียนรู้ / ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์และกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน ซ่ึงโรงเรียนต้องจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีคุณภาพตามศักยภาพโดยกำหนดหลักเกณฑ์
การวดั และประเมนิ ผล เพอื่ ตัดสนิ ผลการเรียนของผเู้ รียน ดังน้ี

๑.๑ ผเู้ รียนต้องมเี วลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทงั้ หมด
๑.๒ ผู้เรียนต้องไดร้ ับการประเมินสาระการเรยี นรเู้ ปน็ รายวชิ าทุกตวั ช้ีวดั และผ่านตาม
เกณฑ์ ที่โรงเรยี นกำหนด
๑.๓ ผู้เรียนตอ้ งไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า
๑.๔ ผ้เู รยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ โดยการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลกั ษณะท่ีพึง
ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกำหนด

๒. การใหร้ ะดบั ผลการเรยี น

โรงเรียนได้กำหนดการตดั สนิ ผลการเรยี นของผเู้ รียน ซง่ึ ผ้เู รยี นต้องมีความรู้ ทกั ษะและ
คุณลกั ษณะตามเกณฑ์โดยใช้ระบบตวั เลขเปน็ ๘ ระดบั ดังนี้

คะแนนรอ้ ยละ ระดับผลการเรียน ความหมายของผลการประเมิน

๑๔๑

๘๐ – ๑๐๐ ๔ ดีเยย่ี ม
๗๕ – ๗๙ ๓.๕
๗๐ – ๗๔ ๓ ดี
๖๕ – ๖๙ ๒.๕
๖๐ – ๖๔ ๒ พอใช้
๕๕ – ๕๙ ๑.๕
๕๐ – ๕๔ ๑ ผ่าน
๐ - ๔๙ ๐ ไม่ผา่ น

๓. การเลอ่ื นชนั้

โรงเรียนได้กำหนดเกณฑก์ ารเลือ่ นชนั้ ดงั นี้
๓.๑ ผเู้ รียนตอ้ งมเี วลาเรียนตลอดปกี ารศกึ ษาไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมด
๓.๒ ผู้เรยี นต้องได้รบั การประเมนิ สาระการเรยี นรเู้ ปน็ รายวชิ าทกุ ตวั ชวี้ ดั และผ่านตาม

เกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกำหนด
๓.๓ ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การตดั สนิ ระดบั ผลการเรียนไม่ตำ่ กว่าระดบั คุณภาพ ๑ ทุกรายวชิ า

สำหรบั ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๓ ตอ้ งมีระดบั ผลการเรยี นในรายวชิ าภาษาไทยและคณติ ศาสตรไ์ ม่
ต่ำกวา่ ระกับคุณภาพ ๒

๓.๔ ผเู้ รียนต้องได้รบั การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะที่พงึ
ประสงค์และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ทีโ่ รงเรยี นกำหนด

๔. การเรยี นซำ้ ช้นั

หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันที่
สูงขึ้น โรงเรียนอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ท้ังนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้
ความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนท่ีไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การอนุมัติเล่ือนช้ันเรียน โรงเรียน
จะตอ้ งจดั ให้เรยี นซ้ำชัน้ ในกรณีท่ีผเู้ รียนขาดคุณสมบัติข้อใดข้อหนงึ่ โรงเรียนอาจใชด้ ลุ พินจิ ให้เลื่อนชัน้ ได้
หากพิจารณาเห็นวา่

๔.๑ ผเู้ รียนมเี วลาเรียนไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ อนั เน่อื งจากสาเหตุจำเปน็ หรือเหตสุ ดุ วสิ ัยแตม่ ี
คณุ สมบตั ิตามขอ้ อ่ืน ๆ ครบถว้ น

๔.๒ ผู้เรยี นผา่ นมาตรฐานและตวั ช้วี ดั ไม่ถึงเกณฑ์ตามทโี่ รงเรียนกำหนดในแตล่ ะรายวชิ า
และเหน็ วา่ สามารถซ่อมเสรมิ ไดใ้ นปีการศกึ ษาถดั ไปและมีคณุ สมบตั ขิ ้ออน่ื ๆ ครบถ้วน

๑๔๒

๔.๓ ผ้เู รียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ มีผลการประเมินกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
และคณติ ศาสตร์อย่ใู นเกณฑพ์ อใชแ้ ละผู้เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ – ๖ มีผลการประเมนิ กลมุ่ สาระการ
เรยี นรู้ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมอยู่ในเกณฑ์ทผี่ ่าน

๕. การสอนซอ่ มเสรมิ

การสอนซอ่ มเสรมิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการจดั การเรยี นรู้และเป็นการใหโ้ อกาสแก่ผ้เู รยี นไดม้ ี
เวลาเรียนรสู้ ่ิงต่างๆ เพิ่มข้ึน จนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วัดท่ีกำหนดไวก้ ารสอนซ่อม
เสรมิ เปน็ การสอนกรณีพเิ ศษนอกเหนอื ไปจากการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูป้ กตเิ พื่อแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง
ทีพ่ บในผ้เู รยี น โดยจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลายและคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผูเ้ รยี น

การสอนซอ่ มเสรมิ สามารถดำเนนิ การไดใ้ นกรณดี ังตอ่ ไปนี้
๕.๑ ผ้เู รยี นมีความรู้ / ทกั ษะพื้นฐานไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะศกึ ษาในแตล่ ะรายวิชานั้น ควรจัดการ

สอนซอ่ มเสรมิ ปรบั ความรู้ / ทกั ษะพืน้ ฐาน
๕.๒ การประเมินระหวา่ งเรยี น ผเู้ รียนไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการหรอื

เจตคติ / คณุ ลักษณะ ทกี่ ำหนดไว้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั
๕.๓ ผลการเรียนไมถ่ งึ เกณฑ์และ / หรอื ต่ำกวา่ เกณฑก์ ารประเมนิ ต้องจัดการสอนซอ่ ม

เสริมกอ่ นจะใหผ้ ูเ้ รยี นสอบแกต้ วั
๕.๔ ผเู้ รยี นมีผลการเรียนไมผ่ า่ น สามารถจดั สอนซอ่ มเสริมในภาคฤดรู อ้ น ทง้ั น้ีใหอ้ ยู่ใน

ดลุ พินจิ ของโรงเรียน
๖. การเลอ่ื นช้นั ระหวา่ งปี

การดำเนนิ การเลอื่ นชน้ั ระหวา่ งปี โรงเรียนแต่งตง้ั คณะกรรมการประกอบด้วย คณะกรรมการ
บริหารหลกั สตู รและวิชาการและผแู้ ทนขององคก์ ร (อปท.ตน้ สงั กดั ) พิจารณาผเู้ รยี นท่มี สี ตปิ ัญญาและ
ความสามารถดเี ลิศ สามารถเรียนรไู้ ด้เรว็ เป็นพเิ ศษ และมคี ุณสมบัตคิ รบถว้ นตามเงื่อนไข ดงั น้ี

๖.๑ มผี ลการเรียนปีการศึกษาท่ผี า่ นและมผี ลการเรียนระหวา่ งปอี ยู่ในเกณฑ์ดีเย่ยี ม
๖.๒ มวี ฒุ ภิ าวะเหมาะสมทจี่ ะเรียนในชนั้ ท่ีสงู ขน้ึ ผา่ นการประเมินผลความรู้ความสามารถ
ตามตวั ชวี้ ดั รายปที ้งั หมดในภาคเรียนที่ ๒ ปปี ัจจุบนั และภาคเรยี นที่ ๑ ของปกี ารศึกษาถดั ไป
(สถานศกึ ษาใชเ้ ครื่องมือประเมนิ ทม่ี มี าตรฐานเทียบโอนระดบั ความสามารถทางการเรยี น)
๖.๓ ผ่านการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ เขียน ในระดับดีเย่ยี มของปกี ารศกึ ษาปจั จุบัน
๖.๔ ผา่ นการประเมินคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ในระดบั ดเี ยย่ี มของปกี ารศึกษาปจั จบุ นั
๖.๕ ผ่านกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นในปีการศกึ ษาท่ผี า่ นมาจนถึงปัจจุบนั
๖.๖ มีผลงานทไ่ี ด้รบั รางวัลในระดบั จงั หวดั ภาค ประเทศ

๑๔๓

๖.๗ ต้องไดร้ บั การยนิ ยอมจากนักเรยี น และผูป้ กครอง และต้องดำเนินการใหเ้ สรจ็ สน้ิ
ภายในวนั ที่ ๑ กนั ยายน ของปีการศึกษานน้ั

๗. การจบระดับประถมศกึ ษา
๗.๑ ผเู้ รียนเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชา / กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ ตามโครงสร้างเวลาเรยี น

ทโี่ รงเรียนกำหนด
๗.๒ ผู้เรยี นตอ้ งมผี ลการประเมนิ รายวิชาพ้ืนฐานผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามทโี่ รงเรียนกำหนด
๗.๓ ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ าร

ประเมินตามทโี่ รงเรียนกำหนด
๗.๔ ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ

ตามทโี่ รงเรียนกำหนด
๗.๕ ผเู้ รียนเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

ตามทโ่ี รงเรียนกำหนด

๘. การเทยี บโอนผลการเรยี น
๘.๑ การเตรียมเอกสารใหน้ ักเรยี นกรณียา้ ยสถานศกึ ษา

โรงเรยี น ดำเนนิ การดงั น้ี
๘.๑.๑ จดั ทำหนงั สอื สง่ ตวั การย้ายสถานศกึ ษาใหก้ บั สถานศกึ ษาท่รี บั โอนนักเรียน
๘.๑.๒ จดั ทำเอกสารแสดงผลการประเมนิ ตามตวั ช้ีวดั ทุกรายวชิ า
๘.๑.๓ จดั ทำเอกสารแสดงเวลาเรียนในภาคเรยี นท่ีนกั เรยี นศึกษาอยู่
๘.๑.๔ จดั ทำเอกสารผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น
๘.๑.๕ จดั ทำเอกสารผลการประเมนิ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
๘.๑.๖ จดั ทำเอกสารแสดงถึงผลงานและความสามารถพิเศษของนักเรยี น
๘.๒ การตรวจสอบคุณสมบตั ิของผู้เรียนกรณีรับยา้ ย

โรงเรียนแตง่ ตง้ั คณะกรรมการพิจารณาการรับย้ายนกั เรยี น โดยดำเนนิ การดงั นี้
๘.๒.๑. ตรวจรบั หนงั สือสง่ ตัวการยา้ ยสถานศึกษาจากสถานศึกษาเดมิ ของนกั เรยี น
๘.๒.๒ ตรวจเอกสารผลการประเมินตามตวั ชวี้ ัดทกุ รายวชิ าทน่ี กั เรียนผา่ นการประเมนิ
๘.๒.๓ ตรวจสอบเอกสารแสดงเวลาเรยี นของนกั เรียน
๘.๒.๔ ตรวจสอบเอกสารแสดงผลงานและความสามารถพิเศษของนักเรียน
๘.๒.๕ คณะกรรมการฯ พิจารณาจากความรู้ ประสบการณต์ รง จากการปฏบิ ัติ

จรงิ การทดสอบ การสมั ภาษณ์

๑๔๔

๘.๒.๖ จดั นักเรียนเขา้ ชัน้ เรยี น

เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา

การจบระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา

๑. ผูเ้ รยี นเรียนตามโครงสร้างเวลาเรยี นทหี่ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานกำหนด
๒. ผู้เรยี นมีผลการประเมินรายวชิ าพืน้ ฐานผ่านเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด
๓. ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี นผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
๔. ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ เมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ผา่ นเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากำหนด
๕. ผูเ้ รยี นมีผลการเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนผา่ นเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด

๑๔๕

ภาคผนวก

๑๔๖

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (พระพทุ ธศาสนา)

ทาไมต้องเรยี นสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
สงั คมโลกมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา

และวฒั นธรรม ช่วยใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ว่ามนุษยด์ ารงชวี ติ อย่างไร ทงั้ ในฐานะปัจเจก
บคุ คล และการอย่รู ว่ มกนั ในสงั คม การปรบั ตวั ตามสภาพแวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ย่าง
จากดั นอกจากน้ี ยงั ช่วยใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจถงึ การพฒั นา เปลย่ี นแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตุ
ปัจจยั ตา่ งๆ ทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในตนเอง และผอู้ น่ื มคี วามอดทน อดกลนั้ ยอมรบั ในความแตกตา่ ง
และมคี ณุ ธรรม สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ เป็นพลเมอื งดขี องประเทศชาติ และ
สงั คมโลก
เรียนรอู้ ะไรในสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมว่าดว้ ยการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม ทม่ี ี
ความเช่อื มสมั พนั ธก์ นั และมคี วามแตกต่างกนั อยา่ งหลากหลาย เพอ่ื ชว่ ยใหส้ ามารถปรบั ตนเองกบั
บรบิ ทสภาพแวดลอ้ ม เป็นพลเมอื งดี มคี วามรบั ผดิ ชอบ มคี วามรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม และค่านิยมท่ี
เหมาะสม โดยไดก้ าหนดสาระต่างๆไว้ ดงั น้ี

๑๔๗

• ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคดิ พ้นื ฐานเก่ียวกบั ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื การนาหลกั ธรรมคาสอนไปปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นา
ตนเอง และการอย่รู ่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข เป็นผูก้ ระทาความดี มคี ่านิยมทด่ี งี าม พฒั นาตนเองอย่เู สมอ
รวมทงั้ บาเพญ็ ประโยชน์ต่อสงั คมและสว่ นรวม

สาระการเรียนรแู้ ละมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ ๔ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื
มาตรฐาน ส ๑.๒ ศาสนาท่ตี นนับถือและศาสนาอ่ืน มศี รทั ธาท่ีถูกต้อง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ิตาม
หลกั ธรรม เพอ่ื อย่รู ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ
เข้าใจ ตระห นัก และปฏิบัติตน เป็ นศาสนิก ชนท่ีดี และธารงรักษ า
พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื

๑๔๓

คณุ ภาพผเู้ รยี น

จบชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ ๓

• ไดเ้ รยี นรเู้ ร่อื งเก่ยี วกบั ตนเองและผทู้ อ่ี ย่รู อบขา้ ง ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ ทอ่ี ยู่
อาศยั และเช่อื งโยงประสบการณ์ไปสโู่ ลกกวา้ ง

• ผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาให้มที กั ษะกระบวนการ และมขี อ้ มูลท่จี าเป็นต่อการพฒั นาให้เป็น
ผมู้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามหลกั คาสอนของศาสนาทต่ี นนบั ถอื มคี วามเป็นพลเมอื งดี
มคี วามรบั ผดิ ชอบ การอย่รู ่วมกนั และการทางานกบั ผอู้ ่นื มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของหอ้ งเรยี น และได้
ฝึกหดั ในการตดั สนิ ใจ

• ไดศ้ กึ ษาเร่อื งราวเก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น และชุมชนในลกั ษณะการบูรณาการ
ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเก่ียวกับ
รายรบั -รายจ่ายของครอบครวั เขา้ ใจถงึ การเป็นผผู้ ลติ ผบู้ รโิ ภค รจู้ กั การออมขนั้ ตน้ และวธิ กี ารเศรษฐกจิ
พอเพยี ง

• ได้รบั การพัฒนาแนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่ีพลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภมู ปิ ัญญา เพอ่ื เป็นพน้ื ฐานในการทาความเขา้ ใจในขนั้ ทส่ี งู ต่อไป

จบชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖

• ได้เรยี นรูเ้ ร่อื งของจงั หวดั ภาค และประทศของตนเอง ทงั้ เชงิ ประวตั ศิ าสตร์ ลกั ษณะทาง
กายภาพ สงั คม ประเพณี และวฒั นธรรม รวมทงั้ การเมอื งการปกครอง สภาพเศรษฐกจิ โดยเน้นความ
เป็นประเทศไทย

• ได้รบั การพฒั นาความรแู้ ละความเขา้ ใจ ในเร่อื งศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ปฏบิ ตั ติ นตาม
หลกั คาสอนของศาสนาทต่ี นนบั ถอื รวมทงั้ มสี ว่ นรว่ มศาสนพธิ ี และพธิ กี รรมทางศาสนามากยงิ่ ขน้ึ

• ได้ศกึ ษาและปฏิบตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธหิ น้าท่ใี นฐานะพลเมอื งดีของท้องถิน่
จงั หวดั ภาค และประเทศ รวมทงั้ ไดม้ สี ่วนรว่ มในกจิ กรรมตามขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม ของ
ทอ้ งถนิ่ ตนเองมากยงิ่ ขน้ึ

• ไดศ้ กึ ษาเปรยี บเทยี บเร่อื งราวของจงั หวดั และภาคต่างๆของประเทศไทยกบั ประเทศเพ่อื น
บ้าน ได้รบั การพฒั นาแนวคดิ ทางสงั คมศาสตร์ เก่ยี วกบั ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หน้าท่ีพลเมอื ง

๑๔๔

เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภูมศิ าสตรเ์ พ่อื ขยายประสบการณ์ไปสูก่ ารทาความเขา้ ใจ ในภูมภิ าค
ซกี โลกตะวนั ออกและตะวนั ตกเก่ยี วกบั ศาสนา คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมความเช่อื ขนบธรรมเนียม
ประเพณี วฒั นธรรม การดาเนินชวี ติ การจดั ระเบยี บทางสงั คม และการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมจากอดตี
สปู่ ัจจุบนั

บนั ทกึ หนว่ ยการเรียนรู้

รหัสวชิ า ส ๑๑๒๐๑ พระพุทธศาสนา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ เรอื่ ง ประวัตแิ ละความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๒ ชัว่ โมง นำ้ หนักคะแนน ๒๕ คะแนน
ผลการเรยี นรู้
บอกพุทธประวัตแิ ละความสำคญั ของพุทธศาสนาได้โดยสงั เขป
สาระสำคัญ
บอกพุทธประวัติ หรอื ประวัติของศาสนาพทุ ธโดยสังเขป

การศึกษาเกีย่ วกับพทุ ธประวตั ิ เปน็ การศึกษาเกย่ี วกับประวัตขิ องพระพุทธเจ้า ตง้ั แต่ประสตู ิจนถงึ
ปรินิพพานเพือ่ ใหท้ ราบถึงตน้ กำเนิดและความเปน็ มาของพระพุทธศาสนา
การศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศอาเซยี นจะชว่ ยใหเ้ ข้าใจความเปน็ มาไดด้ ียง่ิ ขึ้น

สาระการเรยี นรู้

ความรู้ (K)
- รแู้ ละเข้าใจประวตั ิของพระพุทธศาสนา
- รแู้ ละเข้าใจพุทธประวตั ติ ง้ั แต่ ตอน ประสตู ิ ตรัสรู้ และปรนิ พิ พาน
- ร้แู ละเขา้ ใจประวตั ิพระพทุ ธศาสนาในประเทศอาเซียน

ทักษะ/กระบวนการ (P)
- กระบวน การคดิ
- กระบวนการปฏบิ ัติ
- กระบวนการกลมุ่

คุณลักษณะ (A)/คา่ นิยมหลกั ของคนไทย/โตไปไม่โกง/ปศพพ./บูรณาการกิจกรรมตา้ นทุจริตศึกษา
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น/จุดเนน้
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
จดุ เนน้ การอา่ น ออกเสยี ง รับรู้และเขา้ ใจความหมายของคำ ประโยคจากเร่อื งราวในสือ่ ตา่ งๆ ได้

๑๔๕

จดุ เน้น การเขียน บนั ทึก คำ ประโยค จากเร่ืองราวไดถ้ กู ต้อง เหมาะสม
จดุ เน้น การพดู สามารถสง่ สารได้ตรงตามวัตถุประสงคโ์ ดยใช้คำสภุ าพ
๒. ความสามารถในการคิด
จดุ เน้น การคดิ สามารถรวบรวมข้อมูล เชอ่ื มโยง จำแนกประเภทและเปรยี บเทยี บได้
๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
จดุ เนน้ นกั เรียนสามารถนำข้อคดิ ในการรจู้ กั ตนเอง และจดั การกบั อารมณ์ของตนเองได้

การวัดและประเมนิ ผล
ช้ินงาน/ภาระงาน
- การทำใบงาน

- การทำแบบฝกึ หดั

- การสรปุ เรอ่ื งความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาและพทุ ธประวตั ิ ตอนประสตู ิ ตรสั รู้ ปรนิ ิ
พาน และศาสนาทต่ี นนบั ถือ

ประเดน็ การ ระดับคุณภาพ
ประเมิน
๔ ๓๒ ๑
๑. สรปุ เรอ่ื ง (ดเี ยย่ี ม) (ปรบั ปรุง)
ความสำคญั สรปุ ความสำคญั (ดี) (พอใช)้ สรุปความสำคญั ของ
ของพระพุทธ ของ พระพุทธศาสนา
ศาสนา พระพุทธศาสนา สรปุ ความสำคัญ สรปุ ความสำคัญ ไดไ้ ม่ถกู ตอ้ งตาม
ไดถ้ กู ตอ้ ง รายละเอียดไม่ชัดเจน
๒. สรปุ พทุ ธ ของพระพุทธ ของพระพุทธ
ประวตั ติ อน สรุปพทุ ธประวตั ไิ ด้ สรุปพุทธประวตั ไิ ดไ้ ม่
ประสตู ิ ตรัสรู้ ถูกตอ้ ง ศาสนาไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ศาสนาไดถ้ ูกตอ้ ง ถกู ตอ้ งตาม
และ รายละเอียดไม่ชัดเจน
ปรินพิ พาน มีความเปน็ ระเบียบ รายละเอียดยงั ไม่ แตร่ ายละเอียดไม่
๓. ความเปน็ เรยี บรอ้ ยและ ขาดความเปน็
ระเบยี บ ชดั เจนเทา่ ท่ีควร ชัดเจน ระเบยี บเรยี บรอ้ ย

สรปุ พุทธประวตั ไิ ด้ สรุปพทุ ธประวตั ิ

ถูกตอ้ งแต่ ไดถ้ กู ตอ้ งแต่

รายละเอียดยงั ไม่ รายละเอียดไม่

ชดั เจนเท่าที่ควร ชดั เจน

มีความเปน็ ระเบยี บ มคี วามเปน็
เรียบร้อยและ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย

๑๔๖

เรยี บรอ้ ยและ สวยงามดมี าก สวยงามดี และสวยงามพอใช้ และสวยงาม
สวยงาม
๔. การตรงต่อ ส่งตรงเวลาท่ี ส่งช้ากวา่ เวลาที่ ส่งชา้ กวา่ เวลาท่ี ส่งชา้ กวา่ เวลาที่
เวลา กำหนด กำหนด ๑ วัน กำหนด ๒ วนั กำหนดเกิน ๓ วนั

เกณฑก์ ารประเมนิ

ระดบั คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน
๔ ๘ – ๑๐
๓ ๖–๗
๒ ๔–๕
๑ ๑–๓

กิจกรรมการเรยี นรู้
๑. ครูทดสอบกอ่ นเรียนเรอื่ งพุทธประวตั ิ (เวลา 1 ชว่ั โมง)
๒. ครูเลา่ เรื่องพุทธประวตั ใิ ห้นักเรียนฟง้ และร่วมกันตอบคำถาม พรอ้ มสรปุ คำสำคญั ของ

พระพุทธศาสนา (เวลา 1 ชว่ั โมง)
๓. ครเู อารปู ภาพของการปฏิบตั ิตนทด่ี ตี อ่ พระพุทธศาสนาใหน้ กั เรยี นดแู ลว้ กส็ นทนาเกยี่ วกับ

รปู ภาพช่วยกนั ตอบคำถาม ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำประโยชน์ใหก้ ับพทุ ธศาสนาและใหน้ ักเรียนทำ
ใบงาน (เวลา 2 ชวั่ โมง)

๔. ครูนำนกั เรียนเข้าไปวดั แล้วครูอธบิ ายภาพจิตกรรมฝาผนังทมี่ อี ย่ใู นวดั แลว้ ครซู กั ถาม
นักเรยี นโดยการแบ่งกลมุ่ แลว้ ให้นกั เรยี นศึกษาภาพเกี่ยวกบั ประสูติ ตรสั รู้ และปรนิ พิ านแลว้ ตอบคำถาม
(เวลา 2 ชว่ั โมง)

๕. ครูอธบิ ายเกยี่ วขมพทู วีปว่ามกี ปี่ ระเทศอะไรบ้าง และให้นกั เรียนบันทกึ ลงในสมดุ (เวลา 2
ช่วั โมง)

๖. ครูแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ 5 กลุม่ แลว้ ครวู าดรูปลงบนกระดานดำ และใหน้ กั เรยี น
ออกมาเตมิ ข่ือประเทศในอาณาจกั รของขมพทู วปี แลว้ ใหน้ ักเรียนทำใบงาน (เวลา 2 ชัว่ โมง)

๗. ครอู ธบิ ายเก่ยี วกับพระราชกุมารตอนประสตู ิ แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ และใหร้ ะบายสภี าพ
พรอ้ มบรรยายใต้ภาพ (เวลา 2 ช่วั โมง)

๘. ครูอธบิ ายเกีย่ วกบั ทรงบำเพ็ญทกุ รกิรยิ า แลว้ บนั ทกึ ลงในสมดุ และใหร้ ะบายสิภาพพรอ้ ม
บรรยายใต้ภาพ (เวลา 2 ชวั่ โมง)

๑๔๗

๙. ครอู ธบิ ายเก่ียวกับอสิตดาบสเขา้ เย่ยี ม แลว้ บนั ทกึ ลงในสมุด (เวลา 1 ชว่ั โมง) ๑๐. ครูอธบิ าย
เกี่ยวกบั การตรัสรแู้ ล้วบนั ทกึ ลงในสมดุ และใหร้ ะบายสิภาพพร้อมบรรยายใต้ภาพ (เวลา 2 ชว่ั โมง)

๑๑. ครูอธบิ ายเกย่ี วกบั ทรงแสดงโอวาทปาฎิโมกข์ แลว้ บนั ทกึ ลงในสมดุ (เวลา 1 ชวั่ โมง) ๑๒.
ครอู ธบิ ายเก่ียวกบั การปรนิ พิ านแลว้ บันทึกลงในสมุดและให้ระบายสิภาพพร้อมบรรยาย ใตภ้ าพ (เวลา 2
ชวั่ โมง)

๑๓. ครูทบทวนเก่ียวพทุ ธประวตั ขิ องพระพุทธเจ้าและประวัติพุทะศาสนาในประเทศไทยดว้ ย
และบนั ทึกลงในสมดุ และมอบหมายงานใหน้ กั เรียนทำ แผนผงั ความคดิ เรอื่ งพทุ ธประวตั ิ (เวลา 1 ชว่ั โมง)

๑๔. ครทู ดสอบหลังเรียนเรอ่ื งพุทธประวตั ิ (เวลา 1 ชวั่ โมง)
สอ่ื การเรียนรู้ /แหลง่ การเรยี นรู้

- ใบงาน
- ภาพประกอบการเรียนรู้
- หนงั สือเรียน

๑๔๘

บนั ทึกหน่วยการเรยี นรู้

รหสั วิชา ส ๑๒๒๐๑ พระพทุ ธศาสนา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง หลกั ธรรมนำชาวพทุ ธ
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลาเรยี น ๒๖ ชั่วโมง น้ำหนักคะแนน ๓๘ คะแนน

ผลการเรียนรู้
๓. รแู้ ละเข้าใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา มศี รทั ธาทีถ่ ูกตอ้ ง ยึดมนั่

และปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรม เพ่อื อย่รู ว่ มกนั อย่างสันติสุข
๔. บอกความหมาย ความสำคญั และเคารพตอ่ พระรตั นตรยั ปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมในโอวาท ๓ ใน

พระพทุ ธศาสนา หรอื หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามทกี่ ำหนด

สาระสำคัญ
หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนามคี วามสำคญั ตอ่ การดำเนินชวี ติ และมปี ระโยชนม์ ากมาย สำหรับชาว

พทุ ธควรศึกษาและนำไปปฏบิ ัติ เพอ่ื กอ่ ใหป้ ระโยชนแ์ กต่ นเองและผูอ้ นื่
ความศรัทธาและเคารพตอ่ พระรตั นตรัยดว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา และ

ศึกษาข้อคดิ คติเตือนใจ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาในท้องถนิ่ และประเทศอาเซียน

สาระการเรยี นรู้
ความรู้ (K)
- รู้และเขา้ ใจหลกั ธรรมในทางพระพทุ ธศาสนา
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
- การอธิบาย
- กระบวนการคิด
- การศกึ ษาคน้ ควา้
- กระบวนการกลุ่ม
- กระบวนการปฏบิ ตั จิ ริง

๑๔๙

คุณลกั ษณะ (A)/ค่านิยมหลักของคนไทย/โตไปไม่โกง/ปศพพ./บรู ณาการกจิ กรรมตา้ นทุจริต

ศกึ ษา

- รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
- ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ
- ใฝ่เรยี นรู้
- อยอู่ ย่างพอเพยี ง
- มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
- มีจติ สาธารณะ
- ความเป็นธรรมทางสังคม

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น/จดุ เน้น
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
จุดเน้น การอา่ น ออกเสยี ง รับรู้และเขา้ ใจความหมายของคำ ประโยคจากเรือ่ งราวในสอื่
ต่างๆ ได้
จดุ เน้น การเขยี น บนั ทึก คำ ประโยค จากเร่ืองราวไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม
จดุ เนน้ การพูด สามารถส่งสารไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ดยใชค้ ำสุภาพ
๒. ความสามารถในการคิด
จดุ เน้น การคิด สามารถรวบรวมข้อมลู เชอื่ มโยง จำแนกประเภทและเปรียบเทียบได้
๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
จดุ เนน้ นักเรยี นสามารถนำข้อคดิ ในการรู้จกั ตนเอง และจัดการกบั อารมณข์ องตนเองได้

การประเมินผลรวบยอด
ชิน้ งาน/ภาระงาน
- การทำใบงาน
- การทำหนงั สอื เลม่ เลก็
- การทำ Pop Up
- การสรปุ องคค์ วามรู้
- แบบทดสอบ

๑๕๐

การประเมนิ ผล
๑. ชิ้นงาน/ภาระงาน

ประเดน็ การ ระดบั คุณภาพ ๓ ๒ ๑ รวมคะแนน
ประเมิน ๔ (ดี) (พอใช)้ (ปรบั ปรงุ ) ๑๐
(ดเี ย่ียม) อธบิ าย อธิบาย อธิบาย
๑. การอธบิ าย อธบิ ายและ หลักธรรมทาง หลกั ธรรมทาง หลักธรรมทาง
และการ ยกตวั อย่าง พระพุทธ พระพทุ ธ พระพทุ ธ
ยกตัวอยา่ ง หลักธรรมทาง ศาสนา ศาสนา ศาสนาไมต่ รง
หลกั ธรรมทาง พระพทุ ธ ตรงประเดน็ แต่ ตรงประเดน็ แต่ ประเดน็ และไม่
พระพทุ ธ ศาสนา ยกตวั อย่างไม่ ไม่มีการ ยกตัวอย่าง
ศาสนา ตรงประเดน็ ชัดเจน ยกตัวอย่าง
และเหน็ ชดั เจน

๒. ความคดิ รูปเลม่ และการ รปู เลม่ และการ รปู เลม่ และการ รูปเล่มและการ
สร้างสรรค์ นำเสนอมี
ความคิด นำเสนอมี นำเสนอมี นำเสนอขาด
๓. ความเปน็ สรา้ งสรรค์
ระเบยี บ แตกตา่ งจากคน ความคดิ ความคิด ความคิด
เรียบรอ้ ยและ อื่น
สวยงาม มีความเปน็ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรคไ์ ม่ สรา้ งสรรค์
๔. การตรงต่อ ระเบียบ
เวลา เรยี บร้อยและ แตกตา่ งจากคน แตกต่างจากคน
สวยงามดีมาก
สง่ ตรงเวลาท่ี อน่ื บ้าง อน่ื ๆ
กำหนด
มคี วามเปน็ มคี วามเปน็ ขาดความเปน็

ระเบียบ ระเบียบ ระเบยี บ

เรียบร้อยและ เรยี บรอ้ ยและ เรียบร้อยและ

สวยงามดี สวยงามพอใช้ สวยงาม

สง่ ช้ากวา่ เวลาที่ สง่ ชา้ กวา่ เวลาท่ี สง่ ช้ากวา่ เวลาที่

กำหนด ๑ วนั กำหนด ๒ วนั กำหนด ๓ วัน

5. ความ มคี วาม มีความ มคี วามรบั ผิด ขาดความ ๑๕๑
รบั ผดิ ชอบ รับผดิ ชอบใน รับผดิ ชอบปาน ขอบนอ้ ย รับผดิ ชอบ
หน้าที่สมำ่ เสมอ กลาง 5. ความ
รบั ผดิ ชอบ

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน

๔ ๘ – ๑๐

๓ ๖–๗

๒ ๔–๕

๑ ๑–๓

๒. แบบทดสอบประจำหนว่ ย ๑๐ ขอ้ ๆ ละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน

ระดับคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน
๔ ๘ – ๑๐
๓ ๖–๗
๒ ๔–๕
๑ ๑–๓

กจิ กรรมการเรียนรู้
๑. นักเรยี นระบคุ วามหมาย องคป์ ระกอบ และการปฏบิ ตั ติ นต่อพระรัตนตรัย (เวลา ๒ ช่วั โมง)
๒. นักเรยี นระบคุ วามหมาย องคป์ ระกอบ และหลักธรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับโอวาท ๓(หลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (เวลา ๒ ช่ัวโมง)
๓. นกั เรียนบอกความหมาย องคป์ ระกอบและยกตวั อย่างเก่ียวกบั โสภณธรรม (เวลา ๑ ชั่วโมง)
๔. นกั เรียนบอกความหมาย องคป์ ระกอบและยกตัวอย่างเก่ียวกบั สงั คหวัตถุ ๔ (เวลา ๒ ชวั่ โมง)
๕. นกั เรยี นบอกความหมาย องคป์ ระกอบและนำหลกั ฆราวาสธรรม ๔ มาใช้ตอ่ การดำเนินชีวติ (เวลา ๒
ช่วั โมง)
๖. นกั เรียนบอกความหมาย องคป์ ระกอบและยกตวั อยา่ งเกยี่ วกับ เบญจศลี (เวลา ๒ ชั่วโมง)
๗. นักเรียนระบคุ วามหมายและองค์ประกอบของพระไตรปฎิ ก (เวลา ๒ ชวั่ โมง)
๘. นักเรยี นบอกวธิ ีปฏิบตั เิ มอ่ื ถกู วา่ รา้ ย (เวลา ๒ ชว่ั โมง)

๑๕๒

๙. นกั เรียนเขยี นกระทธู้ รรมเก่ียวกับ นมิ ติ ฺตํ สาธุรูปานํ กตญฺญกู ตเวทติ า ความกตญั ญูเปน็ เคร่อื งหมายของ
คนดี (เวลา ๒ ชว่ั โมง)
๑๐. นกั เรียนเขยี นกระทู้ธรรมเกี่ยวกับ พรฺ หฺมาติ มาตาปติ โร มารดาเป็นพรหมของบุตร
(เวลา ๒ ชว่ั โมง)

๑๑. นกั เรียนระบคุ ณุ สมบตั ขิ องผวู้ ิเศษและพระอริยะ (เวลา ๒ ช่ัวโมง)
๑๒. นกั เรยี นระบวุ ิธกี ารแสดงความกตญั ญตู ่อใครบ้าง ใช้วิธกี ารใด (เวลา ๑ ชวั่ โมง)
๑๓. นกั เรียนระบวุ ิธกี ารสงเคราะห์ญาตพิ น่ี อ้ ง (เวลา ๒ ชัว่ โมง)
๑๔. นกั เรยี นปฏบิ ัตติ นตอ่ ผมู้ ีพระคณุ ไดอ้ ยา่ งไร ท่านมคี ณุ ต่อเราอยา่ งไร (เวลา ๒ ชวั่ โมง)
ส่อื การเรยี นรู้
- ภาพประกอบการเรียนรู้
- หนงั สือเรียน
- หนงั สอื พิมพ์
- หอ้ งสมดุ
- อนิ เตอรเ์ นต็
- วดั

๑๕๓

บันทกึ หน่วยการเรียนรู้

รหัสวชิ า ส ๑๓๒๐๑ พระพทุ ธศาสนา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง ประวัติพทุ ธสาวก/สาวกิ า ชาดกและชาวพทุ ธตัวอย่าง
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลาเรยี น ๑๒ ช่วั โมง น้ำหนักคะแนน ๒๐ คะแนน

ผลการเรยี นรู้
๒. ชน่ื ชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวติ และข้อคดิ จากประวตั พิ ระสาวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และศาสนิกชน
ตวั อย่างตามที่กำหนด และปฏิบตั ติ ามหลักธรรม เพือ่ อย่รู ว่ มกนั อยา่ งสนั ติสขุ
๕. ช่นื ชมการทำความดขี องตนเอง บคุ คลในครอบครวั และในโรงเรียนตามหลกั พระพทุ ธศาสนา
สาระสำคัญ
การศกึ ษาพทุ ธสาวก ชาดก และพุทธศานกิ ชนตัวอยา่ งจะทำให้ไดแ้ บบอยา่ งและขอ้ คดิ ทด่ี มี าปฏบิ ัติใน
ชีวิตประจำวนั เพื่อใหด้ ำเนนิ ชีวติ ได้อย่างมีความสขุ
สาระการเรยี นรู้
ความรู้ (K)
๑. ความเป็นมาของพุทธสาวก
๒. สามเณรสงั กจิ จะสาวก
๓. อารามทสู กชาดกสาวก
๔.มหาวาณชิ ชาดกสาวก
๕. ศาสนกิ ชนตวั อย่าง
๖. พทุ ธศาสนกิ ชนตวั อยา่ งของประชาคมอาเซยี น
-นางอองซาน ซูจี
-นายลีกวนยู
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
- ทักษะการอธบิ าย
- ทักษะการสรุปความ
- ทักษะการสืบคน้ ขอ้ มูล

๑๕๔

- ทักษะการสอื่ สาร
- ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
- การปฏิบตั จิ รงิ
- กระบวนการกลมุ่
คณุ ลักษณะ (A)/ค่านยิ มหลกั ของคนไทย/โตไปไม่โกง/ปศพพ./บูรณาการกิจกรรมตา้ นทจุ รติ ศึกษา
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. มวี ินัย
๓. ใฝเ่ รยี นรู้
๔. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
๕. รกั ความเปน็ ไทย
๖. กตัญญูกตเวที
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น/จดุ เนน้
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
จดุ เนน้ การอา่ น ออกเสยี ง รับรแู้ ละเขา้ ใจความหมายของคำ ประโยคจากเรื่องราวในสอ่ื
ต่างๆ ได้
จดุ เนน้ การเขยี น บนั ทึก คำ ประโยค จากเรอื่ งราวได้ถกู ตอ้ ง เหมาะสม
จุดเนน้ การพูด สามารถสง่ สารไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ดยใชค้ ำสุภาพ
๒. ความสามารถในการคิด
จดุ เน้น การคดิ สามารถรวบรวมข้อมลู เชอื่ มโยง จำแนกประเภทและเปรียบเทยี บได้
๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
จุดเนน้ นกั เรยี นสามารถนำข้อคดิ ในการรู้จกั ตนเอง และจดั การกบั อารมณ์ของตนเองได้

การประเมนิ ผลรวบยอด
ช้นิ งานหรือภาระงาน
- การทำแบบฝกึ หดั
- รายงานการสรปุ เรือ่ งแบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ติ และขอ้ คิดจากนิทานชาดก
- การพูดนำเสนอรายงานกลมุ่ ทีร่ บั ผดิ ชอบ

๑๕๕

การประเมินผล
- ภาระงานเร่อื งรายงานการสรปุ แบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ิต ขอ้ คิดจากนทิ านชาดก และชาวพทุ ธตวั อยา่ ง

ระดับคณุ ภาพ รวม

ประเดน็ การ คะแนน

ประเมนิ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๐

(ดเี ยีย่ ม) (ดี) (พอใช้) (ปรบั ปรงุ )

๑. การสรปุ สรุปแบบอย่าง สรปุ แบบอย่าง สรุปแบบอย่าง สรุปแบบอย่าง

แบบอยา่ งและ และการบอก และการบอก และการบอก และการบอก

การบอกข้อคิด ขอ้ คดิ ถกู ตอ้ ง ขอ้ คดิ ถูกตอ้ ง ข้อคดิ ถูกตอ้ ง ข้อคดิ ถูกตอ้ ง

ทไ่ี ด้ เข้าใจง่าย มี เขา้ ใจงา่ ย มี เขา้ ใจงา่ ย ไมม่ ี ไม่มีการ

การยกตัวอยา่ ง การยกตวั อยา่ ง การยกตวั อยา่ ง ยกตัวอย่างและ

และบอกขอ้ คดิ และบอกขอ้ คิด และบอกขอ้ คิด บอกขอ้ คิดได้

ได้ชดั เจน ไดไ้ ม่ชดั เจน ได้

เท่าทค่ี วร

๒. ความเปน็ มคี วามเปน็ มคี วามเปน็ มีความเปน็ ขาดความเปน็

ระเบียบ ระเบยี บ ระเบยี บ ระเบยี บ ระเบยี บ

เรยี บรอ้ ยและ เรียบรอ้ ยและ เรยี บร้อยและ เรยี บร้อยและ เรยี บร้อยและ

สวยงาม สวยงามดมี าก สวยงามดี สวยงามพอใช้ สวยงาม

๓. การตรงตอ่ ส่งตรงเวลาท่ี ส่งช้ากวา่ เวลาที่ ส่งชา้ กวา่ เวลาที่ ส่งชา้ กวา่ เวลาที่

เวลา กำหนด กำหนด ๑ วนั กำหนด ๒ วัน กำหนดเกิน ๓

วัน

๔. การพดู นำเสนอได้ นำเสนอได้ นำเสนอได้ นำเสนอได้

นำเสนอหนา้ นา่ สนใจดีมาก น่าสนใจดี พดู จา พูดจา

ชน้ั เรียน พูดจาฉะฉานไม่ พดู จาไม่ ตะกกุ ตะกกั บาง ตะกกุ ตะกัก

ตะกกุ ตะกัก มี ตะกกุ ตะกัก มี เล็กน้อย มีการ ขาดการเตรียม

การเตรยี ม การเตรียม เตรียมความ ความพรอ้ ม ไม่

๑๕๖

ความพรอ้ ม ความพรอ้ ม พรอ้ ม รกั ษา รักษา
รักษาเวลาไดด้ ี รกั ษาเวลาไดด้ ี เวลาไดด้ ี

เกณฑ์การประเมิน

ระดบั คุณภาพ ช่วงคะแนน
๔ ๘ – ๑๐
๓ ๕.๕ – ๗.๕
๒ ๓–๕
๑ ๑ – ๒.๕

กิจกรรมการเรยี นรู้
๑. ครเู ลา่ เร่อื งประวตั คิ วามเป็นมาของ สามเณรราหุลพรอ้ มคณุ ธรรมในการปฏบิ ตั ติ นและ
บนั ทกึ ฟ้อคดิ ทไ่ี ดจ้ ากเรอ่ื งพรอ้ มทาแบบแก (เวลา 2 ชวั่ โมง)
๒. ครเู ลา่ เร่อื งวรุณ4ชาดกบนั ทกึ ฟ้อคดิ ทไ่ี ดจ้ ากเร่อื งลงในสมุด พรอ้ มทาแบบแก
(เวลา 2 ชวั่ โมง)
๓. ครเู ล่าเรอ่ื งสมเดจ็ พระญาณสงั วร(สุกไกเ่ ถอ่ื น) พรอ้ มสรปุ ใหน้ กั เรยี นฟ้งบนั ทกึ ลงในลมดุ พรอ้ มทา

แบบ(หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง) (เวลา 2 ชวั่ โมง)

๔. ครใู หน้ กั เรยี นไปหารปู ภาพของสมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (เจรญิ สุวฑฺฒโน) มา
ตดิ ในสมุดพรอ้ มสรุปใหฟ้ ้ง (เวลา 2 ชวั่ โมง)
๕. ครเู ล่าเรอ่ื งนางอองซาน ซูจี พรอ้ มสรปุ พรอ้ มทาแบบแก(เวลา 2 ชวั่ โมง)
๖. ครเู ล่าประวตั คิ วามเป็นของนายลกี วนยู ใหน้ กั เรยี นฟ้งสรุปลงในสมุด (เวลา 2 ชวั่ โมง)
สอ่ื การเรยี นรู้
- ภาพประกอบการเรยี นรู้
- หนงั สอื เรยี น
- หนงั สอื นิทานชาดก
- แบบฝึกหดั

๑๕๗

บนั ทกึ หนว่ ยการเรียนรู้

รหสั วชิ า ส ๑๔๒๐๑ พระพุทธศาสนา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่ือง วถิ ีชาวพทุ ธ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลาเรียน ๒๒ ชว่ั โมง นำ้ หนักคะแนน ๓๐ คะแนน

ผลการเรยี นรู้
๘. อภปิ รายความสำคญั และมสี ว่ นรว่ มในการบำรงุ รักษาศาสนถานของศาสนาพทุ ธ
๙. มมี ารยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทดี่ ี ตามทก่ี ำหนด
สาระสำคญั
- ชาวพทุ ธมหี นา้ ที่บำรุงรกั ษาศาสนสถาน เขา้ รว่ มกจิ กรรมการทำความดีทางศาสนา
- พระสงฆเ์ ปน็ ผสู้ ืบทอดพระศาสนา การปฏิบตั ติ นของท่านจงึ แตกตา่ งไปจากบคุ คลธรรมดา ดงั นนั้ ชาวพุทธ
จึงควรเรยี นรเู้ ก่ยี วกบั มรรยาทของชาวพทุ ธทพ่ี งึ ปฏบิ ัตติ อ่ พระสงฆเ์ พ่อื ให้สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ถกู ต้อง
- บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ วดั หรือศาสนสถานของศาสนาทต่ี นนบั ถอื
- ความสามารถในการปฏบิ ตั ติ นต่อภกิ ษุในท้องถนิ่
- การแตง่ กายตามหลกั ศาสนาพทุ ธ ของประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซยี น
สาระการเรยี นรู้
ความรู้ (K)
- เขา้ ใจความสำคญั ของการบำรุงรกั ษาศาสนสถาน
- รแู้ ละเขา้ ใจมรรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนทด่ี ี
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
- อภปิ รายความสำคัญและมสี ว่ นรว่ มในการบำรงุ รกั ษาศาสนสถานของพทุ ธศาสนา
- มีมารยาทของความเปน็ ศาสนิกชนทด่ี ตี ามทีก่ ำหนด
- ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ีกรรมและวันสำคัญทางพทุ ธศาสนาตามท่ีกำหนดและถูกต้อง
คณุ ลักษณะ (A)/คา่ นยิ มหลักของคนไทย/โตไปไมโ่ กง/ปศพพ./บรู ณาการกิจกรรมต้านทจุ ริตศึกษา
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. รกั ความเป็นไทย

๑๕๘

๓. มวี ินยั

๔. กตญั ญู

๕. อยู่อยา่ งสนั ติ

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน/จุดเนน้

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร

จดุ เน้น การอ่าน อ่านออกเสยี ง รับรแู้ ละเขา้ ใจความหมายของคำ ประโยคจากเรอ่ื งราวในสอ่ื

ต่าง ๆ ได้

จดุ เน้น การเขยี น การสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามช่วงวยั การเขยี นและวาดภาพไดต้ รงตาม

วัตถปุ ระสงค์

๒. ความสามารถในการคดิ

จุดเน้น การคิด สามารถรวบรวมขอ้ มูล เชอื่ มโยง จำแนกประเภทและเปรยี บเทียบได้

๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

จดุ เน้น นักเรยี นสามารถคดิ เป็นระบบ เพอื่ นำไปส่กู ารสร้างองคค์ วามรู้ เพอ่ื ตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั

ตนเองและสังคมได้

การประเมนิ ผลรวบยอด

ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน

- การทำแบบฝกึ

- การฝึกปฏบิ ตั มิ รรยาทชาวพุทธ

การประเมนิ ผล

๑. ภาระงานการฝกึ ปฏบิ ตั ิมารยาทชาวพุทธ

ประเดน็ การ ระดับคุณภาพ รวมคะแนน
ประเมิน ๒๐
๔๓ ๒ ๑
(พอใช)้ (ปรบั ปรงุ )
(ดเี ยยี่ ม) (ดี)

๑. มรรยาท ปฏิบตั ไิ ด้ ปฏิบตั ไิ ด้ ปฏิบัตไิ ด้ ปฏิบัตไิ ด้

การยืน ถูกตอ้ ง มีความ ถูกตอ้ ง แตข่ าด ถกู ตอ้ ง คอ่ นขา้ งถกู ตอ้ ง

พร้อมและความ ความพรอ้ ม พอสมควร แตข่ าดความ

สวยงาม คอ่ นขา้ งมคี วาม พร้อม

พร้อม

๒. มรรยาท ปฏิบตั ไิ ด้ ปฏบิ ัตไิ ด้ ปฏิบตั ไิ ด้ ปฏบิ ตั ไิ ด้

การเดิน ถกู ตอ้ ง มีความ ถูกตอ้ ง แตข่ าด ถูกตอ้ ง คอ่ นขา้ งถกู ตอ้ ง

พรอ้ มและความ ความพรอ้ ม พอสมควร แตข่ าดความ

สวยงาม คอ่ นขา้ งมคี วาม พร้อม


Click to View FlipBook Version