The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-06 22:44:56

ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

Keywords: ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

35

ความแตกตา่ งในการบรหิ ารงานพระศาสนา
ของรชั กาลท่ี ๕ และ รชั กาลที่ ๖

ในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ ออกพรรษาแล้ววันท่ี ๒๓ ตุลาคม
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าสยามปิยมหาราชเสร็จสวรรคต
ชาวพสกนกิ รระงมไปด้วยความโศกเศรา้ ท่ัวพระราชอาณาจักร ไม่ได้
พดู ถึงการงานในหนา้ ทีข่ องตน เว้นแต่การจำ� เป็น ครั้น ณ วันท่ี ๑๑
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓ นัน้ เอง พระมงกฎุ เกล้าเจ้าสยามเถลงิ ถวัลย-
ราชสมบตั สิ ืบรัชทายาทตอ่ มา การก็แปรไปตามสมยั
ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ มสี มเดจ็ พระสงั ฆราชต่อกนั ๒ พระองค์
คือ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระสังฆราชมาก่อน
ครั้นสิน้ พระชนมแ์ ลว้ ทรงตัง้ สมเด็จพระสงั ฆราช (สา) วัดราชประดิษฐ์
คร้ันสมเด็จพระสังฆราช (สา) สิ้นพระชนม์แล้ว ก็ไม่ทรงต้ังสมเด็จ
พระสังฆราช แต่มอบหน้าทส่ี มเดจ็ พระสังฆราชแกพ่ ระเจา้ น้องยาเธอ
กรมหลวงวชิรญาณวโรรสฯ ในรัชกาลโน้นถึงมีสมเด็จพระสังฆราช
แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ก็ไมว่ างอำ� นาจเด็ดขาดแก่สมเด็จ
พระสงั ฆราช เปน็ แต่ให้สมเดจ็ พระสงั ฆราชอนุวัตรตามการคณะ การ
ศาสนา การศึกษาเล่าเรียนทรงเป็นพระราชธุระด้วยพระองค์ท้ังส้ิน
สมเดจ็ พระสังฆราชเปน็ แตอ่ นวุ ตั รตามพระราชประสงค์เทา่ นน้ั ฯ
ครน้ั มาถงึ สมยั รัชกาลที่ ๖ ทรงสถาปนาพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ
กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม-

36 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

พระยาวชิรญาณวโรรสทส่ี มเดจ็ พระสงั ฆราชา แลว้ ทรงมอบพระราช-
ธุระฝา่ ยพุทธจักรถวาย ให้ทรงชก้ี ารเด็ดขาดทีเดียว พระบาทสมเด็จ-
พระเจา้ อยู่หวั เปน็ แตท่ รงอนวุ ัตรตามสมเด็จพระสังฆราชเทา่ นั้น ใน ๒
รัชกาลด�ำเนินการผิดกนั อย่างนีฯ้

ไมต่ อ้ งวา่ การคณะ ออกเทยี่ วธดุ งคเ์ สมอ

ครั้นถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระ-
จลุ จอมเกล้าเจ้าสยามแล้ว สมเดจ็ พระมหาสมณะเจา้ ทรงเรม่ิ จัดการ
พระศาสนา ทั้งการคณะแลการศึกษาใหม่ ส่วนมณฑลหัวเมือง
กรุงเทพฯ ทรงจัดใหร้ วมขึน้ อยใู่ นคณะหนกลางกรุงเทพฯ อตั ตโนกไ็ ม่
ต้องวา่ การคณะต่อไป ตอนนอ้ี ัตตโนมกี �ำไรในทางสมถะวิปัสสนามาก
พอตกแลง้ แลว้ ออกเทีย่ วเสมอ

ปาฏหิ ารยิ พ์ ระพชิ ติ มารมธั ยมพทุ ธกาล

ในปี พ.ศ. ๒๔๕๔ นน่ั เอง เจ้าจอมมารดาเลื่อนมีศรทั ธา
สร้างศาลาธรรมสวนะข้ึนที่คณะกลางชอ่ื ศาลาอุรุพงษ์ ซง่ึ อาศยั ใชอ้ ยู่
ทุกวนั นี้ สว่ นพระประธานในศาลานน้ั เปน็ พระศลิ าแดงชะลอมาจาก
วดั หลมุ ดนิ เกา่ เมืองราชบุรี เปน็ พระประธานในโบสถ์ แต่โบสถเ์ กา่

37

ชำ� รดุ หมดแลว้ ส่วนพระกต็ กลงมาอยู่ข้างลา่ งช�ำรดุ ทั้งองค์ คงไดด้ ี
แต่พระเศียรเท่านน้ั จา้ งเจ๊กล่องถ่านบรรทกุ เข้ามาให้ ปชี วดวันท่ี ๑
เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๕ ไดย้ กพระข้นึ แท่นในศาลาล�ำดบั ให้เป็นองค์ ใช้
ปูนซีเมนต์ประสานเร่งรีบจะให้เสร็จทันสมโภชฉลองในวันวิสาขบูชา
เผอิญวนั วิสาขะตกเดือน ๗ ส�ำเร็จทันตามประสงค์ ไดถ้ วายพระนาม
วา่ “พระพชิ ติ มารมัธยมพุทธกาล”
การสมโภชพระประธานองคน์ ้ี มปี าฏหิ ารยิ ป์ รากฏแกป่ ระชมุ ชน
เป็นอนั มาก ในเวลาปัจจสุ มัยพระยืนรอบสวดปฏิจจสมปุ บาท เวลา
สรงน�้ำอบน้ำ� หอมมแี สงพระรัศมชี ่วงโชติข้นึ ในศาลา เป็นสายคลา้ ยกบั
สายฟ้าแลบ ทำ� ให้เกดิ ปีติแก่ประชุมชนนา่ อัศจรรยฯ์ ความเป็นจริง
แต่ได้พระประธานองค์นม้ี าการในวดั ก็เจริญข้ึนทุกหน้าที่
การทีส่ รา้ งพระประธานน้ีได้คิดมา ๕ ปีแล้ว แตแ่ รกไดส้ รา้ ง
วดั เสนห่ านกุ ลู ทใี่ กลพ้ ระปฐมเจดยี ์ คดิ วา่ จะสรา้ งโบสถห์ ลอ่ พระประธาน
ขึ้นท่ีนั้นให้ทันได้ฉลองในปีชวดนี้เหมือนกัน ต้ังใจว่าจักไปช่วยบ�ำรุง
พระปฐมเจดียด์ ว้ ย แตไ่ ม่สะดวกเกดิ ขัดๆ ข้องๆ จึงได้หลกี ไปเสียทาง
อ่นื ครัน้ ถงึ ปชี วดได้สร้างพระประธานองค์ทศ่ี าลาธรรมสวนะนขี้ น้ึ ก็
คดิ วา่ สมประสงค์ แตย่ ังรูส้ ึกในใจว่าน้อยนกั ไมพ่ อแก่ท่ไี ด้คดิ ไว้ใน
เบือ้ งตน้ ด้วยเหตอุ ะไรจงึ ไดค้ ิดจะก่อสร้างท่รี ะลึกไว้ให้ส�ำเรจ็ ในปชี วด
นี้ ดว้ ยในปชี วด พ.ศ. ๒๔๕๕ นี้ เป็นปีกึ่ง ๕,๐๐๐ แห่งพทุ ธกาล
นบั แต่วันตรสั ร้เู ป็นพระสัมมาสัมพุทโธมา ควรเราผูเ้ ปน็ ปจั ฉิมสาวกจะ
สรา้ งเจตยิ สถานจารึกไว้เปน็ ที่ระลกึ อย่างส�ำคญั สกั ช้นิ หนึ่ง อันน้เี ป็น
ความคิดเดมิ คดิ มาได้ ๕ ปี

38 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ออกเทยี่ วธดุ งคล์ พบรุ ี สรา้ งวดั สริ จิ นั ทรนมิ ติ ร

ครน้ั ฉลองสมโภชพระประธานในเดอื น ๗ กลางเดือนเสรจ็ แล้ว
ได้พาพระครูปลัดอ่�ำออกไปเที่ยวแขวงเมืองลพบุรี เพราะเป็นต�ำบล
มีถ�้ำมีเขามาก จึงไปได้ถ้�ำเขาบ่องาม ที่สร้างวัดสิริจันทรนิมิตรอยู่
บดั น้ี ว่างไม่มีพระสงฆ์ไปอาศยั แลเปน็ สถานที่ชอบใจเห็นเป็นมงคล
สถาน ปากถ�้ำน้ันเป็นเง้ือมเป็นปากมังกร ผินหน้าสู่ทิศตะวันออก
เวลาบ่ายได้รับเงาภูเขาเย็นสบายดี เชื่อว่าในบริเวณตรงหน้ามังกรนี้
คงจะมีความเจริญสืบไปในเบ้อื งหนา้ เวลานี้กเ็ งียบสงัดดี ห่างหม่บู า้ น
ประมาณ ๕๐ เส้น พอไปบิณฑบาตมาฉันได้ ก็ตกลงจับที่เป็น
เจ้าของถ้�ำทีเดียว พระครูปลัดเธอก็ชอบใจขอลาออกจากต�ำแหน่ง
พระครปู ลัด ขอจำ� พรรษาอยทู่ ่ถี ้�ำนี้ อตั ตโนกด็ ใี จ คดิ วา่ ออกพรรษา
แลว้ จะได้มาอยดู่ ้วยกนั ส่วนอตั ตโนกลับเขา้ มาจ�ำพรรษากรุงเทพฯ
เดอื น ๑๑ ปวารณาแลว้ ได้รบั จดหมายพระครูปลัดหารือ
มาว่า พระพุทธรูปเก่าซ่ึงปรักหักพังเกลื่อนกลาดเป็นท่ีร�ำคาญมาก
อยากจะเก็บรวมแล้วก่อเป็นพระกัจจายน์องค์เขื่องๆ ให้เป็นที่บรรจุ
พระท่ชี ำ� รดุ จะเห็นอย่างไร อัตตโนคิดเห็นวา่ พระกัจจายน์เปน็ สาวก
พระพุทธรูปเป็นพระพุทธเจ้าเห็นไม่เหมาะ พอเสร็จพระกฐินแล้ว
เดอื น ๑๒ ข้างขึน้ ก็รีบออกไปปรึกษากนั ควรจะสร้างพระใหญ่ สว่ น
พระกจั จายนเ์ อาไวท้ หี ลงั ก็ตกลงกัน จึงพากันเลอื กหาท่ี เห็นวา่ ทถ่ี ำ้� น้ี
เป็นศีรษะมังกร ภูเขาน้ีเป็นหางมังกร ควรจะสร้างเหนือคอมังกร
นีแ้ หละ จะไดม้ ีเดชานภุ าพมาก มีหนิ ก้อนใหญ่รบั พระชาณอุ ยู่สองกอ้ น

39

ทศิ ใตก้ อ้ นใหญ่ ทศิ เหนอื กอ้ นยอ่ มหนอ่ ย แตก่ พ็ อกนั ไมใ่ หท้ รดุ ลงไปได้
วัดดทู ก่ี พ็ อจะได้ ๑๐ วาเศษ คิดว่าจะท�ำเพียงหนา้ ตกั ๑๐ วาเทา่ น้นั
ครน้ั ลงมือทำ� กลายเปน็ ๑๑ วา เพราะขยายออกตามก้อนหนิ

ตงั้ สตั ยาธษิ ฐานสรา้ งพระใหญ่ เขาพระงาม

ครั้นตกลงกันแลว้ อตั ตโนกต็ ้งั เครื่องสกั การะต้งั สัตยาธษิ ฐาน
วา่ คิดจะทำ� การอยา่ งนีจ้ ะสะดวกหรอื ไม่ จะส�ำเรจ็ หรอื ไม่ ขอ
นมิ ิตตอ่ เทวนิกาย ในคืนวันน้ันจวนสว่างนิมิตไปวา่ ไดว้ ่ายนำ�้ ไปตาม
กระแสแมน่ �้ำต�ำบลหน่งึ นำ้� เชีย่ วเตม็ ที แตม่ ีเสาสำ� หรับเกาะพกั แรง
ไปเป็นระยะๆ ในที่สุดไปเจอะโรงทหารอยู่รมิ นำ้� ว่ายแวะเขา้ ไปขอ
อาศัยขึ้น ทหารก็ดีใจให้อนุญาตจึงขึ้นไปในสนามทหาร เห็นเป็น
ถนนใหญเ่ ลยเดนิ เลยไป เปน็ บา้ นเปน็ เมอื งใหญโ่ ตในทน่ี นั้ กพ็ อตน่ื พอดี
ร�ำพึงถึงนิมิตจะอธิบายว่ากระไร ? ท�ำไมจึงมาเกี่ยวด้วยกองทหาร
แปลไมอ่ อก รูแ้ ต่วา่ การคงส�ำเรจ็ ตามประสงคเ์ พราะไม่มเี หตขุ ัดขอ้ งก็
ดีใจ
คร้ันเดือน ๑๒ ข้นึ ๕ คำ่� จะกลับเขา้ มากรุงเทพฯ ได้ตัง้
สัตยาธิษฐานอกี คราวน้ขี อเทวนกิ ายจงบนั ดาลให้เห็นการท่ีจักสรา้ ง
พระใหญ่ตามนิมิตนั้น ถ้าจะส�ำเร็จข้าพเจ้าเข้าไปกรุงเทพฯ คราวน้ี
จะไปบอกบญุ พวกสัตบรุ ุษใหไ้ ด้เงนิ อย่างนอ้ ย ๕,๐๐๐ บาท ในภายใน
๕ วัน ๗ วัน จะเชอื่ ได้วา่ การจะส�ำเรจ็ เป็นแน่ จะได้เรยี กลูกจ้างออก

40 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

มาท�ำในเดือนน้ีให้ส�ำเร็จเป็นพระกึ่งยุค เป็นเกียรติยศแก่พระพุทธ
ศาสนา ถ้าจะไม่ส�ำเรจ็ ในภายใน ๕ วัน ๗ วนั นอ้ี ย่าให้ได้เงินเลยฯ
แลว้ กลับเขา้ มากรงุ เทพฯ มาเลา่ ความประสงคใ์ หส้ ัตบุรษุ ฟงั เจา้ จอม
มารดาเลอื่ นมศี รัทธาช่วย ๒,๐๐๐ บาท แม่ชอี บุ าสกิ าเช่อื ง อบุ าสกิ า
ชง ให้คนละ ๑,๐๐๐ บาท เวลาน้ัน ส่วนอัตตโนเองไวยาวัจกร
เกบ็ ไว้มอี ยู่บ้าง ผอู้ นื่ ช่วยอีกบา้ งรวมเปน็ ๑,๐๐๐ บาทเศษ ยงั ไม่ถงึ
๕ วัน มีเงินถงึ ๕,๐๐๐ บาท สมกับสัตยาธษิ ฐานแล้วสิ้นความสงสัย
จึงเรยี กเจ๊กกวางตุ้งช่างไมใ้ หไ้ ปผกู โครง เจ๊กแต้จวิ๋ เปน็ ชา่ งกอ่ ออกไป
พร้อมกนั
เดอื น ๑๒ แรมค่ำ� ๑ พาเจก๊ ออกไป แต่โครงเหมาเจก๊ กวางตงุ้
๔,๐๐๐ บาท ใหแ้ ลว้ ในกง่ึ เดอื น เดือนอ้ายข้นึ ๔ คำ่� เวลาโมงเชา้
กอ่ ฤกษ์นิมนตพ์ ระสงฆ์มาสวดมนต์ ก�ำหนดร้อยหนึง่ ขึ้นไปชาวบา้ นมา
ชว่ ยเลยี้ งพระมากกวา่ ๕๐๐ การก่อเหมาเจก๊ แต้จวิ๋ ๖,๐๐๐ บาท ว่า
ใหท้ นั ได้สมโภชเดือน ๔ เพ็ญ แต่กไ็ ม่สำ� เรจ็ ท�ำงาน ๓ เดือนไม่มหี ยุด
เลย ไดเ้ หนอื บ้นั เอวขนึ้ ไปนดิ หนอ่ ย เงินคา่ เหมา ๖,๐๐๐ บาทก็หมด
ต้องเหมาใหท้ �ำต่อขนึ้ ไปอกี ๕,๐๐๐ บาท ยังตอ้ งเติมอีก ๓,๐๐๐ บาท
สามปีจึงส�ำเรจ็ บรบิ รู ณ์ แตก่ ารฉลองสมโภชตอ้ งท�ำแตป่ ตี น้ ตลอดมา
ทง้ั ๓ ปี ใหม้ บี อ้ งไฟใหญ่มาจุดบชู าสมโภชทุกบ้าน บา้ นใดสามารถ
จะทำ� ได้ในงานคราวหน่ึงกไ็ ม่ตำ่� กวา่ ๔๐ กระบอก ทงั้ ๓ ปี ต่อนั้นมา
ให้เว้นบอ้ งไฟ ๒ ปี ปีที่ ๓ จึงให้มบี ้องไฟเพราะเป็นการยาก หามมาก็
ล�ำบากบา้ นอยไู่ กล จึงไดเ้ ป็นธรรมเนยี มมาจนถงึ ทกุ วนั นี้

41

การสมโภชคราวหน่ึงได้มีมหาชนผู้มีสัทธาบริจาคทรัพย์ไม่ต�่ำ
กวา่ ๕,๐๐๐ บาท การจงึ ส�ำเรจ็ ถ้าจะว่าไปโดยความจรงิ การสร้าง
พระใหญ่นี้ เก่ียวด้วยความเป็นเองโดยมากจึงส�ำเร็จได้ สิ้นเงิน
๖๐,๐๐๐ บาทเศษ นบั แต่แรกสร้างปชี วด พ.ศ. ๒๔๕๕ มาถึง พ.ศ.
๒๔๖๙ ปขี าลนี้ได้ ๑๕ ปี ในปีขาลนี้ได้ลงมอื ปฏสิ ังขรณใ์ หมผ่ ูกลวด
เหล็กเทคอนกรีตข้ึนไปแต่พื้นดินตลอดถึงพระเศียร ส้ินปูนซีเมนต์
๔๐๐ ถัง คราวน้ไี ด้ท�ำให้แข็งแรงและเรียบรอ้ ยดขี ้นึ กวา่ เก่า ทำ� อยู่
๗ เดอื นจึงส�ำเร็จสิ้นเงิน ๑๖,๐๐๐ บาท แลได้สร้างพระกจั จายน์ดว้ ย
สรา้ งวหิ ารพระกัจจายน์ด้วย พระกจั จายน์หนา้ ตัก ๑๑ ศอก สูง ๓ วา
อยขู่ า้ งลา่ งเคียงพระอโุ บสถ ทัง้ พระกจั จายนแ์ ลวิหารสิ้นเงิน ๕,๐๐๐
บาท ในปีเดยี วกัน ในเดอื น ๔ ปนี ี้ท�ำการฉลองสมโภชเป็นการใหญ่ฯ

ในรชั กาลที่ ๖ เจรญิ ยง่ิ ดว้ ยลาภแลยศ
ทงั้ การกอ่ สรา้ งแลปฏสิ งั ขรณ์

ในรชั กาลที่ ๖ อัตตโนมคี วามเจรญิ ย่งิ ดว้ ยลาภแลยศ ท้ังการ
กอ่ สรา้ งในวดั บรมนิวาสแลทอ่ี ื่นๆ คอื วัดสริ จิ นั ทรนมิ ิตร เขาพระงาม
แลปฏิสังขรณโ์ บสถ์แลวิหารคดวดั บวรมงคล นีส้ ้นิ เงิน ๔,๐๐๐ บาท
เศษ แลไปชว่ ยเขาสรา้ งมณฑปพระบาท ทว่ี ดั กลางบา้ นแป้ง อ�ำเภอ
พรหม แขวงเมอื งสงิ ห์ด้วย ส่วนในวัดบรมนวิ าส จะบอกไวแ้ ต่ของ
สำ� คญั พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมขนุ มรุพงษสริ ิพฒั น์ มพี ระประสงค์
อยากสร้างถาวรวัตถไุ วใ้ นวัดนส้ี ักสิ่งหน่ึง เพือ่ อทุ ศิ พระราชกศุ ลถวาย

42 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว อตั ตโนได้ถวายพระพรขอให้
ทรงสรา้ งหอระฆงั และตวั ระฆัง หอใหส้ งู ไมต่ �ำ่ กวา่ ๑๐ วา ระฆงั ไมใ่ ห้
ตำ่� กวา่ ๙ ก�ำ ทรงเหน็ ชอบด้วย ทรงสรา้ งสำ� เรจ็ บรบิ ูรณ์ ทง้ั หอและ
ตวั ระฆงั สน้ิ เงนิ ๕,๘๐๐ บาทฯ
ส่นุ ทงั สภุ ูติ อบุ าสิกาเปน็ ผู้มีสัทธากลา้ แขง็ บรจิ าคทรัพย์
รวม ๓๕,๐๐๐ บาท สรา้ งโรงเรียนส่นุ วทิ ยานกุ ลู ขนึ้ แลว้ เสรจ็ บรบิ ูรณ์
เต็มที่ ส�ำหรบั ให้พระสงฆส์ ามเณรศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แลเม่ือ
สร้างโรงเรยี นน้ีขึ้นได้แล้ว นำ� ความสะดวกให้แกพ่ ระสงฆ์สามเณรได้
รับความผาสุกในการเล่าเรยี นพระปริยัติธรรมเป็นอันมาก นบั เปน็ สง่ิ
ส�ำคัญของวัดอยา่ งหน่งึ แลทั้ง สุ่น ทงั สภุ ูติ อบุ าสิกายงั ได้ช่วยเหลอื
ในการปฏิสังขรณ์ต่างๆ แลอดุ หนุนจนุ เจอื พระสงฆ์สามเณรในวัดน้ีที่
ขาดแคลน ให้ได้รับปจั จัยท้ัง ๔ ตามสมควรอยเู่ สมอมิไดข้ าด นับวา่
เปน็ ทายิกาทม่ี อี ปุ การคณุ แกพ่ ระสงฆ์แลสามเณรในวัดนีผ้ หู้ นงึ่

พรรษา ๓๙ ถกู ถอดสมณศกั ดไิ์ มก่ เ่ี ดอื น
ไดร้ บั พระราชทานอภยั โทษเลอื่ นสมณศกั ด์ิ

สว่ นบรรดาศักดถ์ิ งึ ปขี าล วนั ท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๗
ไดร้ ับพระราชทานสญั ญาบตั ร เล่ือนต�ำแหนง่ เปน็ พระเทพโมลี คร้นั
ถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๕๘ พรรษาท่ี ๓๙ ปลายปีถกู ถอดลดยศ ออกจาก
ต�ำแหนง่ พระเทพโมลี จะเลา่ เรอื่ งการถูกถอดไวใ้ หล้ กู ศิษย์ฟงั นดิ หน่อย

43

พอกันสงสยั คือในสมัยน้นั พง่ึ เกิดมหาสงครามในประเทศยโุ รปใหม่ๆ
อตั ตโนไดค้ ดิ แตง่ หนงั สอื แทนจดหมายเหตชุ โ้ี ทษแหง่ ทวุ ชิ ชาขน้ึ เรอ่ื งหนึ่ง
ให้ช่ือว่า “ธรรมวิจยานุสาศ” แจกในงานศพ ม.ร.ว.หญิงดวงใจ
ปราโมช ณ อยุธยา ในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมขุนวรจกั รธรานุภาพ
แต่หนังสือนั้นขัดข้องต่อรัฐประสาสโนบายของประเทศเป็นเหตุไม่ต้อง
ด้วยพระราชนิยม เมื่อทรงทราบจึงมีพระบรมราชโองการรับส่ังให้
ถอดจากสมณศักด์ิ ให้น�ำตัวไปกกั ไวท้ ่ีวดั บวรนเิ วศวิหาร
ครั้นเม่ือพรรษาท่ี ๔๐ ตรงกับวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๙
ทรงพระราชทานอภัยใหอ้ ัตตโนพ้นจากโทษ แล้วทรงพระกรณุ าโปรด
พระราชทานตำ� แหน่งสมณศกั ด์ิ ใหเ้ ป็น พระธรรมธรี ราชมหามุนี มี
ตำ� แหนง่ เสมอกับพระราชาคณะชัน้ เทพ

พรรษา ๔๖ จำ� พรรษาบนเขาพระธาตุ
จอมยอง เมอื งเชยี งตงุ

คร้ันถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๕ อัตตโนลาไปเที่ยวหาที่วิเวก เลย
ไปนมัสการพระธาตุจอมยองในอาณาเขตเมืองเชียงตุง ในเขตแดน
อังกฤษ เผอิญติดฝนชกุ จะกลบั มาจำ� พรรษากรงุ เทพฯ ไมท่ ัน ตอ้ ง
จ�ำพรรษาอยบู่ นเขาพระธาตุจอมยองตลอดไตรมาส เป็นปพี รรษาที่
๔๖ ออกพรรษาแลว้ เจ้าฟ้าหลวงเมอื งเชียงตงุ จดั ให้ข้าราชการมา
อาราธนารับเข้าไปเมอื งเชียงตุง

44 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

การไปเมืองเชียงตุงจะเล่าให้ลูกศิษย์ฟังพอได้ใจความสักหน่อย
การไปคราวน้ีได้ทูลลาแต่สมเด็จพระสังฆราชเจ้าว่า จะไปเที่ยว
ทางเหนือ มิได้ลาทางราชการ ท่ีไปนมัสการพระธาตุจอมยองเป็น
ความคดิ ใหม่ เพราะอยนู่ อกพระราชอาณาเขต แตอ่ ัตตโนระวังรกั ษา
ธดุ งควตั รอยา่ งเตม็ ท่ี ไมใ่ หใ้ ครรวู้ า่ เปน็ พระมฐี านนั ดรศกั ดเิ์ พอื่ จะรกั ษา
พระราชเกยี รตยิ ศ แตอ่ ย่างน้ันเจ้าฟา้ หลวงเมอื งเชียงตงุ ยังทรงทราบ
อัตตโนไปถงึ เดอื น ๗ พอเดอื น ๘ ได้รบั จดหมายของเจ้าฟ้า
เชียงตุงซึ่งให้ข้าราชการน�ำมา ในจดหมายนั้นมีใจความว่าทรงยินดี
ที่ได้ทราบว่าอัตตโนเข้ามาในอาณาเขต บัดนี้พระองค์ท่านกับท้ัง
พระราชมารดา ขออาราธนาเข้าไปจ�ำพรรษาที่เมอื งเชยี งตงุ เพ่อื จะ
ได้รับโอวาทดังนี้ อัตตโนได้ตอบไปว่าจวนเข้าพรรษาแล้ว ฝนชุก
ไปไม่ได้ ระยะทางก็ไกลถึง ๘ คืน จึงต้องจ�ำพรรษาอยู่ท่ีนั่น
ในพรรษานี้ไดเ้ จริญสมถะวปิ ัสสนาอย่างพอใจ เปน็ ทว่ี ิเวกส�ำราญจรงิ
ครน้ั ออกพรรษาแล้ว ถึงเดอื น ๑๒ ได้รบั จดหมายเจ้าฟา้ เชียงตงุ
ให้ข้าราชการน�ำมาพร้อมด้วยพาหนะให้มารับทีเดียว เดือน ๑๒
ข้างแรม จึงได้ไปเมืองเชียงตุง พวกอัตตโนท่ไี ปด้วยกันพระ ๓ รปู
คฤหัสถ์ ๒ คน เปน็ ๕ คนดว้ ยกัน
เมืองยองอยู่ตรงตะวันออกของเมืองเชียงตุง ไปแม่น�้ำโขง
วันเดยี วถงึ ถ้าจะไปสบิ สองปนั นา ๒ วันถึงเขต ถ้าไปเชียงตุงตอ้ ง
๙ วันจึงถึง ทางล�ำบากกันดารมีแม่น้�ำล�ำคลองท่ีข้ามไม่ต�่ำกว่า
๖๐ ต�ำบล ไปตามระหว่างซอกเขาคดๆ เลยี้ วๆ ไปอยา่ งนัน้ เอง ใน
ระยะทาง ๙ วันนั้นจะหาทีร่ าบเดนิ สบายสัก ๑๐๐ เสน้ กไ็ ม่คอ่ ยจะมี

45

ต้องขนึ้ ๆ ลงๆ กนั ร่�ำไป แตท่ ีพ่ กั แลอาหารไมล่ ำ� บาก เขาส่งั จัดไว้
คอยรับทุกระยะ ต้องเทศน์ให้เขาฟังทุกระยะท่ีพักตลอดทางจนถึง
เมืองเชียงตุง น่ายินดีการทีเ่ จ้าฟา้ หลวงเมืองเชยี งตงุ สัง่ จัดการรับรอง
พอจวนถึงเมืองมขี า้ ราชการแลพลเมืองตัง้ เครอ่ื งสักการะ แล
พากนั มาดูเต็มไปทุกแหง่ ทุกหน ทา่ นจดั ท่ใี หพ้ กั วัดหัวโข่ง แปลวา่ วดั
หน้าสนาม น่ันเอง อะไรก็ดีทกุ อยา่ งเสยี แต่หนาวอยา่ งเดยี ว หนาวจน
ต้องผิงไฟวนั ยังคำ่� พักอยทู่ ่เี มืองหลวงนนั้ ๑๕ วัน ในเวลาพกั อย่นู นั้
ได้แสดงธรรมตามบ้านตามวดั แลในวังเจ้าฟ้าหลวงดว้ ย แทบทกุ วนั ทง้ั
หนาวๆ อยา่ งนั้นเอง เจ้าฟา้ หลวงแลพระราชมารดา พระราชเทวี
แสดงความเล่ือมใสมาก

ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั พิ ระวนิ ยั
และการปกครองคณะสงฆเ์ มอื งเชยี งตงุ

เจ้าฟ้าหลวงเมืองเชียงตุงองค์น้ีทรงพระนามว่า “สมเด็จพระ-
เชฏฐปรมบพิตรมหารัตนะโชติ ศิริสุธัมมสีหฬเมฆมณีปวรเสฏฐา
ราชาภูมินทนรินทาเขมาธิปติราชเจ้า” มีพระชนม์ก็จวนจะถึง ๕๐
เป็นคนมีศรัทธา สนใจในทางธรรมปฏิบัติมาก วันพระ ๘ ค่�ำ
๑๔ - ๑๕ ค่�ำ มีพระต�ำหนกั วิเวกรักษาอารมณ์ พระราชมารดาก็ออก
จะเข้าใจในทางสมถะมอี คุ คหปฏภิ าคพอควร

46 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ข้อสำ� คัญในเวลาท่ีไปพักอยูท่ ีเ่ มืองเชียงตงุ อัตตโนไดม้ ีหนังสือ
ถวายช้ีแจงเรื่องการบ�ำรุงพระศาสนา มใี จความว่าต้องอาศยั พระราชา
เปน็ หลกั พระสงฆส์ ามเณรในประเทศนี้ปฏบิ ตั ิยงั บกพร่องในทางวินยั
มาก ไมใ่ ช่พระเจก๊ พระญวน เป็นพระสำ� เรจ็ ดว้ ยญัตตจิ ตุตถกรรม แล
รักษาปาฏิโมกข์สังวรศีลด้วยกัน ควรจะแก้ไขให้เหมือนเขา อย่าง
ประเทศพมา่ ลังกา สยาม เขมร เขาลงกนั ทง้ั นั้น ท่อี ุจาดมากพระเณร
ไปทางใด สะพายดาบพกมดี กนิ อาหารไม่มเี วลา ไหว้พระสวดมนต์
กไ็ มม่ หี ลัก ใครได้อย่างใดก็ไหว้ไปสวดไปอยา่ งน้ัน เหล่านเี้ ป็นตัวอยา่ ง
บา้ นเมอื งเนือ่ งกันกับนานาประเทศแลว้ ควรจะทรงดำ� รจิ ัดให้ทันเขา
จะไดเ้ ต็มเกณฑ์ศาสนูปถัมภก จะเป็นพระราชกุศลอย่างสงู สดุ
ทรงรบั สั่งว่า ทรงพระด�ำรอิ ยู่เสมอ ขาดผเู้ ป็นหัวหน้าฝ่ายพระ
ศาสนา ฝ่ายอาณาจกั รจะทรงเป็นพระธุระเตม็ ที่ อัตตโนไดแ้ นะนำ�
ให้ค่อยแก้ไขไปทีละน้อย ขอให้คัดพระเณรส่งเข้าไปศึกษาเล่าเรียน
ในกรงุ เทพฯ อัตตโนจะช่วยเปน็ ธุระสงั่ สอน จะได้เป็นก�ำลงั ในการ
สั่งสอนตอ่ ไป ทรงเหน็ ชอบดว้ ยทกุ ประการ จงึ ไดท้ รงจัดใหพ้ ระเณร
เข้ามาเลา่ เรียนในกรุงเทพฯ พร้อมกับอัตตโน ๖ รปู ภายหลังได้สง่
เพ่ิมเข้ามาอกี ได้เปน็ นกั ธรรมตรี นกั ธรรมโท ขึน้ บ้างแล้ว นักธรรมตรี
ได้ออกไปช่วยการศึกษาองค์หน่ึงแล้ว ยังก�ำลังเรียนอยู่กรุงเทพฯ
หลายองค์ ทกุ วันนกี้ ารปกครองคณะสงฆ์ก็ทรงจัดใหเ้ ขา้ ระเบียบได้
แล้ว นบั วา่ ก้าวหน้าขึ้นสูค่ วามเจรญิ ทนั สมัย
เจ้าฟ้าหลวงองค์น้ีนับว่าเป็นอัครศาสนูปถัมภก เม่ืออัตตโน
ลากลับกรุงเทพฯ ทรงอาลัย ทรงจัดพาหนะให้คนมาส่งถึงเมือง

47

เชยี งราย ทง้ั คา่ รถเขา้ มากรงุ เทพฯ ทรงจดั ถวายมาเสรจ็ เปน็ พระเดช
พระคณุ มาก สว่ นอตั ตโนไปเทย่ี วคราวน้ี ก็นบั วา่ เปน็ คณุ เปน็ ประโยชน์
ส่วนตัวแลประโยชน์ส่วนญาติคือผู้ที่ได้พบได้เห็น แลเป็นประโยชน์
ส่วนพุทธศาสนาตามก�ำลังความสามารถฯ เล่าให้ฟังไว้เพียงย่อๆ
การไปเที่ยวเมืองเชียงตุง คือไปก็เป็นสุข มาก็เป็นสุข อยู่ที่ไหนก็
เป็นสุข เพราะอัตตโนปฏิบัติถึงพระพุทธคุณบทว่า “สุคโต” คร้ัน
อัตตโนกลับจากเชียงตุงมาถึงกรุงเทพฯ แล้ว วันท่ี ๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๔๖๖ ได้รับพระราชทานสัญญาบัตร เลอ่ื นต�ำแหนง่ เปน็
พระโพธิวงศาจารย์ เทียบทพ่ี ระราชาคณะช้ันธรรม

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
เสดจ็ งานผกู พทั ธสมี า วดั เขาพระงาม

ครั้นในปลาย พ.ศ. นั้น อัตตโนก�ำหนดการจะผูกพัทธสีมา
ท่ีวัดเขาพระงาม จังหวัดลพบุรี ในเดือน ๔ เพญ็ เวลาน้ันพระบาท
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประทับอยู่ ณ พระราชวัง
สนามจนั ทร์ นครปฐม ทรงกำ� หนดเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทอดพระเนตร
สวนสนามปนื ใหญ่ ท่กี รมสนามปนื ใหญ่ จังหวัดลพบุรี กำ� หนดเสด็จ
ข้างแรมเดอื น ๓ ครนั้ ได้ทรงทราบจากเจ้าพระยายมราชวา่ อัตตโน
จะมกี ารผูกพัทธสมี าทีว่ ัดเขาพระงามในเดือน ๔ เพญ็ เปน็ การใหญ่
จึงทรงรับส่ังกับเจ้าพระยายมราชว่า จะเสด็จไปทรงช่วยอัตตโน

48 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

แล้วให้งดการก�ำหนดเดิมเสยี ทรงกำ� หนดเสด็จสนามปนื ใหญ่ตอ่ ณ
วนั เดอื น ๔ ขึ้น ๑๔ ค่ำ� ใหเ้ หมาะกบั งานของอตั ตโน ทรงประทับแรม
ณ สนามปนื ใหญ่
รงุ่ ขึน้ วันกลางเดอื นเวลาบ่าย ๒ โมง เสด็จพระราชด�ำเนินไป
ท่ีวัดโดยกระบวนรถยนต์พระท่ีน่ัง พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์แล
เสวกามาตยม์ สี มเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภมิ ขุ แลสมเดจ็ พระเจ้า
พ่ียาเธอเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต แลเจ้าพระยายมราช
เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ในกระบวนผู้ตามเสด็จมากพระองค์
มากทา่ นด้วยกัน ส่วนราษฎรหญิงชายซึง่ มาในงานนน้ั กม็ ากลน้ หลาม
เต็มไปในบรเิ วณวดั แลถนนหนทาง ตำ� รวจภูธรไดต้ อ้ นออกพอเปน็ ชอ่ ง
รถพระท่นี ่ังเดนิ ไดเ้ ทา่ นน้ั
คร้ันรถพระที่น่ังถึงแล้ว ก็เสด็จเข้าไปประทับในพระอุโบสถ
ทอดพระเนตรวธิ ผี กู พทั ธสมี า แลว้ ทรงรบั สง่ั ถงึ การวดั แลวธิ ผี กู พทั ธสมี า
ทรงส�ำราญพระราชหฤทัย แล้วทรงพระราชทานเงินช่วยในงานน้ัน
๒๐๐ บาท ทรงประทบั อยู่พอสมควรแลว้ เสดจ็ ออกไปประทบั ณ
ปะร�ำ ทรงจุดฝกั แค ทอดพระเนตรบอ้ งไฟใหญ่ ซง่ึ เอาข้ึนรา้ นไว้ถวาย
ให้ทอดพระเนตร ๔ กระบอก บอ้ งไฟข้นึ สูงพอได้ทอดพระเนตรแต่
๒ กระบอก อกี กระบอก ๑ แตก อีกกระบอก ๑ ชนวนตายด้าน
พอไดเ้ วลารถไฟจะออกก็รีบเสดจ็ กลับฯ
การท่ีเสด็จพระราชด�ำเนินไปในงานคราวนี้ อัตตโนถือว่า
เป็นการพระราชทานเกียรติยศแก่อัตตโน เป็นมหามงคลอันสูงสุด
สำ� หรบั ตวั ของอตั ตโน แมไ้ ดร้ บั พระราชทานตำ� เหนง่ ยศกม็ คี วามยนิ ดี

49

ล้นเหลอื แต่ว่าความปลืม้ หรือความเอิบอิม่ ในใจ กย็ ังไมเ่ ทา่ ได้รบั เสด็จ
ในงานสำ� คญั คราวนี้ เพราะเห็นวา่ ตำ� แหนง่ ยศจะทรงพระราชทานแก่
ทา่ นผใู้ ดกไ็ ด้ สว่ นจะเสดจ็ ในงานของเอกชนเชน่ คราวนี้ เชือ่ วา่ แต่
เสดจ็ ครองราชยอ์ ยู่ ๑๕ ปี คงจะมีแตค่ ราวเดียวเทา่ น้ี ข้อน้ีเตือนให้
อัตตโนระลึกถงึ พระมหากรุณาธิคณุ อยา่ งล้นพ้น คร้นั ตอ่ มาในปี พ.ศ.
๒๔๖๗ ยงั ทรงพระกรณุ าต้งั พระครูปลดั (อ่ำ� ) เจา้ อาวาสน้ันให้เป็น
พระครศู ลี วรคุณ ต�ำแหน่งเจา้ อาวาส แลทรงพระราชทานนามวดั
เขาพระงามให้เรยี กว่า “วดั สิริจนั ทรนมิ ติ ร”

เอตทคั คะในทางสญั ญาบตั ร

ต่อไปก็ยิ่งเพ่ิมความยินดีของอัตตโนให้มากขึ้นอีกหลาย
เทา่ ครัน้ ถงึ วนั ที่ ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ไดร้ บั พระราชทาน
สัญญาบัตรเล่ือนต�ำแหน่งเป็น พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เจ้าคณะ
รองอรัญญวาสี สิ้นรัชกาลที่ ๖ ในศกน้ี ในรัชกาลท่ี ๕ อัตตโนได้รบั
พระราชทานสญั ญาบตั รสมณศักดิ์ ๓ ต�ำแหนง่ สญั ญาบตั รต�ำแหนง่
เจ้าคณะมณฑล ๔ มณฑล ในรชั กาลที่ ๖ ในระหว่าง ๑๕ ปี ไดร้ ับ
พระราชทานสัญญาบตั รสมณศกั ดิ์ ๔ ตำ� แหนง่ รวม ๒ รชั กาล เป็น
๑๑ ต�ำแหน่ง เห็นจะเป็นเอตทัคคะในทางสัญญาบัตรได้คนหนึ่ง
กระมงั ?

50 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

การบำ� เพญ็ ตามหลกั พทุ ธจรยิ า ๓ ประการ
ของทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

นับแตไ่ ดม้ าเป็นเจา้ อาวาสวดั บรมนวิ าส ๒๓ พรรษา ในศก
ที่ท�ำบญุ อายคุ รบ ๗๐ ปีน้ี คงเป็นอนั จำ� พรรษาในวัดบรมนิวาสแต่
๒๑ พรรษา ไปจำ� พรรษาวดั บวรนเิ วศวิหาร ๑ พรรษา แลท่ีแขวง
เมืองเชียงตุง ๑ พรรษา การท่เี ลา่ มาให้ฟังตลอดเร่อื ง ไดเ้ ล่าทางลาภ
แลยศ แลกิจจานกุ จิ ให้เหน็ วา่ อตั ตโนมีความสุขสบาย เจรญิ ด้วยลาภ
แลยศโดยลำ� ดบั แตอ่ ุปสมบทมาตลอดอายไุ ด้ ๗๐ ปบี รบิ รู ณ์

อตตฺ ตถฺ จรยิ า

ต่อนีจ้ ะเล่า อตฺตตฺถจรยิ า ในทางธรรมปฏิบตั ิไวส้ ฟู่ ังอกี โสด
หนึ่ง คือในระหวา่ งอตั ตโนมีอายุ ๓๐ ปลี ว่ งแลว้ อัตตโนมคี วาม
จบั ใจพระพุทธโอวาทขอ้ ทวี่ ่า อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ ตนแลเป็นที่
พึ่งแก่ตน เมอื่ อตั ตโนยังไม่ฉลาด ก็ถือว่าร่างกายจติ ใจนีเ้ องเป็นตน
จึงได้ต้ังหน้าศึกษาเล่าเรียนพากเพียรรักษาตนให้ตั้งอยู่ในสุจริต
ทกุ เมอ่ื มีหิรโิ อตตัปปะประจ�ำตัวอยู่เสมอ ครน้ั ภายหลังไดศ้ กึ ษาธรรม
หนกั ขึ้น ได้อาศยั หนังสือสงั ขิตโตวาทของเจา้ คุณสมเดจ็ พระวันรตั (ทบั
พุทธสิร)ิ วดั โสมนัส แสดงว่า “เปลา่ ไม่มีใครเกิด ไมม่ ีใครแก่ ไมม่ ใี คร

51

ตาย นามรปู ธาตุ ขันธ์ อายตนะ เกิดขน้ึ แล้วกด็ บั ไปต่างหาก” ดงั นี้
กต็ ้งั ใจปฏิบัติตาม แตเ่ กดิ ความลงั เลไมแ่ น่ใจ เพราะผิดกบั ความเหน็
เดมิ ไป แต่เดมิ เหน็ ว่ารา่ งกายจิตใจเปน็ ตน คอื นามรปู ธาตุ ขันธ์
อายตนะนน่ั เอง
ครนั้ มาพิเคราะหต์ ามตำ� ราของทา่ นวา่ ไม่ใชต่ น ยงิ่ เกดิ ความ
สงสัยใหญโ่ ตขึ้น แตก่ ค็ งเช่อื ว่า นามรปู ธาตุ ขันธ์ อายตนะ เป็น
อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา อยู่ตามท่านนั้นเอง แตต่ ิดอนัตตาอยู่ประมาณ
๑๐ ปี เมือ่ สงั เกตดผู ล คือ ความสงบราคะ โทสะ โมหะ ก็ไมส่ ู้จะมี
อ�ำนาจอะไรนัก ใจกจ็ างออกจากต�ำรา ยึดไตรสิกขา เช่อื แน่ว่าทา่ นที่
เดินตามไตรสกิ ขาได้สำ� เร็จมรรคผล นบั ด้วยแสนดว้ ยโกฏเิ ปน็ อันมาก
เราจะมายดึ ม่นั ใน อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า อยูเ่ พยี งเทา่ นี้ จะถือเอาว่า
เปน็ ปัญญาก็ยงั กระไรอยู่ จะเสยี เวลามากไป แต่นน้ั กต็ ้งั หนา้ เจรญิ สติ
เพ่อื จะใหเ้ ปน็ องค์สัมมาสมาธิ แต่วิธคี ุมใจเปน็ ของลำ� บากมาก เพราะ
เป็นผู้เก่ียวอยู่ในหมู่ในคณะ พรั่งพร้อมอยู่ด้วยลาภแลยศ แต่ถึง
อย่างนนั้ กย็ งั มเี วลาปลีกออกหากายวิเวกไดบ้ า้ งบางสมยั
เนื้อความในธรรมนิยามสูตร ท�ำให้เกิดความฉลาดขึ้นมาก
เหตุที่ท่านวางท่ากระเหย่งไว้ ท�ำให้เกิดวิจิกิจฉาขึ้นมาก ท่ีแสดงว่า
สงั ขารทงั้ ส้นิ ไม่เที่ยง สังขารทัง้ ส้นิ เปน็ ทกุ ข์ ธรรมทง้ั สิน้ เปน็ อนตั ตา
ทำ� ไมจึงไมแ่ สดงว่าสงั ขารทง้ั สน้ิ เปน็ อนัตตา เกดิ ความสงสยั วา่ สังขาร
กับธรรมนี้จะต่างกนั อยา่ งไร ? สงั ขารกช็ อื่ ว่าธรรม ส่วนธรรมจะต่างกับ
สงั ขารอย่างไร ? คงได้ความตามนัยอัคคปั ปสาทสตู รที่ว่า สงขฺ ตา วา
อสงขฺ ตา วา วริ าโค เตสํ อคคฺ มกขฺ ายติ สังขตธรรมก็ดี อสงั ขตธรรม

52 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ก็ดี ผรู้ ูจ้ ริงยอ่ มกล่าววา่ วิราคะธรรมประเสริฐกว่าธรรมทง้ั หลาย
เหลา่ น้ี ดังนัน้ คิดจดั เอาตามชอบใจ

สงฺขตา วา คิดจัดเป็นสังขารโลก ได้แก่ จิต เจตสิก รูป

๓ ประเภท เป็นอุปาทินนกสังขาร
อสงฺขตา วา เปน็ สงั ขารธรรม ไดแ้ ก่ นิพพานกับบัญญัตธิ รรม
ทงั้ ส้นิ เป็นอนุปาทินนกสงั ขารฯ
ทีว่ ่า สพเฺ พ ธมฺมา อนตฺตา นน้ั ท่านหมายถงึ สังขตธรรม
แลอสงั ขตธรรมเปน็ อนัตตา แตม่ วี เิ ศษต่างกัน สว่ นสังขตธรรมน้ัน
อาจดับจากตัวได้ ตามนยั ที่ว่า เตสํ วปู สโม สโุ ข ความเข้าไประงับ
สงั ขารเหล่านน้ั เป็นสุข คือเป็นของไม่มอี ยู่แตเ่ ดิม จงึ ระงบั ดบั ได้ฯ
ส่วนอสังขตธรรมนั้น ชีวิตยังมีอยู่ดับไม่ได้ เพราะเป็นของมีอยู่
แต่เดิม เป็นแต่อนตั ตา คงเปน็ ธรรมอยตู่ ามหนา้ ที่ คงไดค้ วามวา่
ตนเป็นธรรม ธรรมเป็นตน จงึ เปน็ อตฺตทีปา ธมมฺ ทีปา อตฺตสรณา
ธมฺมสรณา ตรงกับวักกลิสูตรว่า โย ธมฺมํ ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ
ผูใ้ ดเห็นธรรม ผู้นั้นเหน็ เรา ดงั น้ีฯ
เม่อื ปฏิบตั ิจนเหน็ ตัวเปน็ ธรรม เห็นธรรมเป็นตวั แล้ว กเ็ ห็นคุณ
เห็นประโยชน์ ในร่างกายจติ ใจทกุ แผนกท่วี ่า อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ
ตนเปน็ ท่ีพึง่ แก่ตน กไ็ ด้ความชัดเจนขึ้น
แตก่ อ่ นเหน็ รา่ งกายจติ ใจนี้เป็น อนิจจฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺตา เป็น
อสุจิ เปน็ อสภุ ํ หาแก่นสารมิได้ เมอื่ สังขารดบั แล้ว อนจิ จฺ ํ ทุกขฺ ํ
อนตตฺ า อสจุ ิ อสภุ ํ ดบั ไปตามกันหมด ยงั เหลืออย่แู ตธ่ รรมซง่ึ เป็น

53

ของวิเศษให้เราได้พ่ึงพาอาศัยอยู่เป็นสุขทุกวัน ร่างกายจิตใจนี้กลาย
เป็นแกว้ สารพัดนกึ สำ� หรบั ตัวเราทัง้ สิน้ จะจำ� แนกให้ดู
คำ� ทีว่ า่ รา่ งกายจติ ใจนนั้ ได้แก่ สกลกายทง้ั ส้นิ คอื ตา หู
จมูก ปาก ทวารหนกั ทวารเบา มอื เทา้ อวัยวะน้อยใหญท่ ัง้ ปวง
ล้วนแต่เป็นสมบัติอันประเสริฐส�ำหรับตัวเราแต่ละอย่างๆ ล้วนแต่
ของเปน็ เอง สำ� เร็จมาด้วยปญุ ญาภสิ ังขารทัง้ สน้ิ จึงได้บริบูรณ์เช่นน้ี
ถงึ แมเ้ ราจะเปน็ คนฉลาด เปน็ ชา่ งวาดช่างเขียนจะตกแต่งเพิ่มเตมิ ใหด้ ี
ขึ้นไปอีกก็ไม่ได้ ได้มาอย่างไรก็จะต้องอาศัยใช้สอยกันไปจนวันตาย
แต่งได้แตเ่ พยี งใหป้ ระพฤติดปี ระพฤตชิ ัว่ เทา่ น้ันเอง ทจี่ ะแตง่ ใหส้ งู ให้ตำ�่
ให้ดำ� ใหข้ าว ใหม้ อี ายยุ ืนไมร่ จู้ ักตายแตง่ ไมไ่ ด้ฯ
ทีว่ า่ รา่ งกายจิตใจเป็นแกว้ สารพดั นึกนนั้ พึงพเิ คราะหด์ ู เรามี
ตานกึ จะดูอะไรก็ดู เรามหี นู ึกจะฟงั อะไรกฟ็ ังได้ เรามีจมกู นกึ อยากจะ
รู้กลน่ิ อะไรก็รู้ได้ เรามปี ากมลี ้นิ นกึ อยากจะรู้รสอะไรก็รไู้ ด้ นึกอยาก
จะพดู อะไรก็พูดได้ นกึ อยากจะกินอะไรก็กนิ ได้ เรามีมอื นึกอยากจะ
ท�ำอะไรกท็ �ำได้ เรามีเทา้ นึกอยากเดนิ ไปทางใดกไ็ ปได้ เรามจี ิตมใี จ
นกึ อยากจะน้อมนึกตรกึ ตรองอะไรกไ็ ด้สมประสงค์ ผรู้ ้ตู นว่าเป็นของ
วเิ ศษอย่างน้ี ยอ่ มเป็นเหตใุ หไ้ ดค้ วามสุข คือใชต้ ามหนา้ ที่ไมใ่ ห้วัตถุ
เหล่านั้นเปน็ ข้าศกึ แก่ตน
นสิ ยั ของผไู้ มฉ่ ลาดยอ่ มให้ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ ซง่ึ เป็น
วัตถุภายในของตนเปน็ ข้าศกึ แกต่ น คือเกดิ ปฏิฆะโทมนัสยนิ ดียินรา้ ย
เพราะวัตถุของตน นิสัยของผู้ฉลาดย่อมไม่ให้วัตถุวิเศษของตนเป็น
ขา้ ศึกแกต่ น อารมณท์ ี่ผ่านไปผา่ นมาเลอื กเอาแต่ส่วนทีเ่ ป็นประโยชน์

54 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

สว่ นท่จี กั เปน็ โทษปลอ่ ยใหผ้ ่านไปเสีย ไม่รบั ไมเ่ ก็บเขา้ มาไว้ คอื หัด
ชำ� ระวัตถภุ ายในน้ีให้ผอ่ งใส สมกับที่ว่าเป็นแก้วสารพัดนกึ อยู่ทุกเมอ่ื
อาศยั ความหัดบ่อยๆ สตกิ แ็ ก่ขึน้ วัตถภุ ายในกป็ ราศจากโทษ คือ
ไมเ่ ปน็ ขา้ ศกึ แกต่ น ใหค้ วามสขุ แกต่ นทกุ อริ ยิ าบถ จงึ สมกบั พทุ ธโอวาท
ทที่ รงสัง่ สอนไว้วา่ อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเปน็ ท่ีพึง่ แกต่ น
ถ้าวา่ โดยสมมตุ ิสกลกายนเี้ องเป็นตน ถ้าว่าโดยสภาพสกลกาย
นี้เองเปน็ ธรรม ท่วี า่ อตฺตสรณา ธมฺมสรณา ให้มตี นเปน็ ที่ระลกึ ให้
มธี รรมเป็นที่ระลึกนี้ คือให้เห็นวา่ ตนเปน็ ธรรม ธรรมเป็นตน ความ
รู้ธรรมเป็นพุทธะ สกลกายท่ีทรงคุณความดีไว้เป็นธรรม ความ
ประพฤติใหค้ ณุ ความดีมีขึ้นในตนเป็นสงั ฆะ ผทู้ มี่ พี ุทธะ ธรรมะ สังฆะ
ในตนอย่างน้ี ช่ือว่าผู้ถึงไตรสรณาคมน์ในชาตินี้ ตลอดชาติก็ไม่มี
ทุกข์ ถ้ายังจะมีภพมีชาติต่อไปก็จักได้รับความสุขต่อไป ถ้าถึงพระ
ไตรสรณาคมนอ์ ยา่ งสูงกส็ ้ินภพสิ้นชาติส�ำเร็จพระนิพพานทเี ดียว
ตัวของอัตตโนทุกวันนี้ได้ส�ำเร็จแต่เพียงพระไตรสรณาคมน์
เท่าน้ัน แต่ลักษณะของพระไตรสรณาคมน์น้ัน มีต�่ำมีสูงเป็นช้ันๆ
คือ ชัน้ ศีล ช้นั สมาธิ ชน้ั ปญั ญา ชน้ั วมิ ุตติ ชนั้ วมิ ุตตญิ าณทัสสนะ
สุดแท้แต่วาสนาของใครจะถึงได้ในช้ันใด จะต้องได้รับผล คือ
ความสขุ ตามชัน้ ตามภมู ิของตนทัง้ นั้น
เล่าความประพฤตธิ รรมไวใ้ ห้ศษิ ยานศุ ษิ ย์ฟัง เพอื่ ให้พากันมี
ทพ่ี ึง่ อย่าเปน็ คนลังเล ยึดใหม้ ่นั ค้ันใหต้ าย อย่างมงายเชือ่ เกจอิ าจารย์
ที่สอนนอกรีตนอกทาง ดังพวกทสี่ อนว่า ให้ทาน รกั ษาศลี เจรญิ สมถะ
วปิ สั สนา ไหวพ้ ระสวดมนต์ ประพฤตพิ รหมจรรย์ เวน้ เมถนุ เวน้ ข้าวค�ำ่

55

เหล่านี้เป็นกิเลสตัณหาท้ังนั้น การไม่ท�ำอะไรนั่นแลเป็นอันหมดกิเลส
ตณั หา สอนอย่างนเ้ี ปน็ ลักษณะแห่งอกริ ิยทิฏฐิ ถอื ว่าความไม่ท�ำเป็น
ความบริสุทธ์ิ เป็นมิจฉาทิฏฐิ อย่าพากันหลงเช่ือ ถ้าใครหลงเช่ือจะ
พากันจนทั้งชาตินี้ชาติหน้า นิพพานเช่นน้ันเป็นนิพพานของอวิชชา
อย่าพากนั หลงใหลไปตามเขาฯ
สว่ นนิพพานของพระพทุ ธเจา้ เปน็ พระนิพพานอันม่งั มี ทเี่ รียก
ว่า นิพพานสมบตั ิ คอื ทาน, ศีล, เนกขมั มะ, ปัญญา, วริ ยิ ะ, ขนั ติ,
สัจจะ, อธษิ ฐาน, เมตตา, อเุ บกขา, แลโพธปิ กั ขิยธรรม ๓๗ ประการ
มีสติปัฏฐาน เป็นตน้ มีอัฏฐังคกิ มรรคเปน็ ทส่ี ุด เหล่านเี้ ปน็ นพิ พาน
สมบตั ิ ถ้าไม่มสี มบัติเหลา่ นีจ้ ะถึงนิพพานของพระพุทธเจา้ ไม่ไดเ้ ลย
นิพพานของพระพุทธเจ้าเป็นนิพพานของวิชชา ให้ตรวจดู
นิพพานสมบัติอย่างที่แสดงไว้น้ี มีในตนเต็มรอบหรือยัง ถ้าไม่เต็ม
รอบยังเป็นคนจนอย่ไู ปนิพพานไมไ่ ด้ เปรียบเหมือนคนจนจะไปทางรถ
ทางเรอื ทไี่ กลไมไ่ ด้ เพราะจนไมม่ ีเงนิ ให้คา่ จา้ งค่าโดยสารเขา ถ้าตรวจ
ในตัวเห็นว่านิพพานสมบัติมีในตัวเต็มรอบแล้ว นับว่าเป็นคนมั่งมี
อาจจักถึงพระนิพพานได้ เปรียบเหมือนคนทม่ี เี งนิ อยากไปทางใด ก็
จ้างเขาไปส�ำเร็จทุกประการ พระนิพพานไม่ใช่สถานท่ีอันบุคคลผู้ไร้
อริยทรัพย์จะไปได้ พวกมิจฉาทิฏฐิเหล่านั้นเป็นคนจน ก็ไปได้แต่
นพิ พานจนๆ คือ นพิ พานอนตั ตา นิพพานอวชิ ชาเท่านัน้
พวกเราเป็นสาวกของพระพทุ ธเจา้ ต้องประพฤติตนใหม้ งั่ มี
เหมือนพระพุทธเจา้ พระพทุ ธเจ้าท่านบริบรู ณ์ด้วยลาภ ด้วยยศ ดว้ ย
ความสรรเสรญิ แลดว้ ยความสขุ พระพุทธศาสนากว่า ๒,๐๐๐ ปีนี้

56 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ไมไ่ ดต้ ้งั มนั่ ถาวรมาด้วยความจนเลย ต้ังมั่นถาวรมาไดด้ ว้ ยความมั่งมี
โดยแท้ แมต้ ัวของอตั ตโนผู้แนะน�ำทา่ นท้งั หลาย กห็ ัดเดนิ ตามจรรยา
ของพระพทุ ธเจา้ จงึ บรบิ รู ณด์ ้วยลาภ แลยศ แลความสรรเสรญิ กบั
ความสขุ เปน็ ผมู้ ่งั มีทัง้ สมบตั ิภายนอก แลสมบัติภายใน ตลอดจนอายุ
๗๐ ปี ณ บัดน้ีฯ
เมื่อท่านทั้งหลายได้อ่านประวัติน้ีแล้ว พึงเพ่งดูจรรยาของ
อัตตโนที่ได้ประพฤติมาแล้ว ส่วนที่อัตตโนตั้งอกตั้งใจศึกษาเล่าเรียน
และประพฤติปฏิบัติให้ตรงต่อธรรมวินัย แลปฏิบัติราชการตามหน้าที่
ไม่ให้เสียหายจนเจริญด้วยยศฐานาศักด์ิ ส่วนธรรมวินัยก็ตั้งอกต้ังใจ
ด�ำเนินสมถะแลวิปัสสนา จนรู้จักสังขารแลวิสังขาร หรืออุปาทิน-
นกสงั ขาร แลอนุปาทินนกสงั ขารโดยชดั ใจได้ถงึ พระรัตนตรัยเปน็ ท่พี งึ่
นับวา่ มสี รณะโดยส้ินสงสัย ส่วนนเ้ี ป็น อตฺตตฺถจรยิ า ประพฤตใิ ห้เปน็
ประโยชน์แก่ตนฯ

าตตถฺ จรยิ า

ท่ีได้รักษาหมู่คณะ แนะน�ำส่ังสอนให้พระสงฆ์ สามเณร
อุบาสก อุบาสิกา ได้ความฉลาด ได้ท่ีพึ่งแก่ตน ฝ่ายพระสงฆ์ก็มี
ความเจรญิ ดว้ ยลาภแลยศ จะนับลกู ศษิ ยผ์ ูใ้ หญซ่ ่ึงเปน็ ทว่ี างใจได้ใหฟ้ งั
๑. พระโพธิวงศาจารย์ (อ้วน) เจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา
๒. พระสาสนดลิ ก (เสน) เจ้าคณะมณฑลอุดร

57

๓. พระราชมนุ ี (ส)ี วดั นเิ วศธรรมประวัติ
๔. พระเมธาธรรมรส (เสาร)์ เจ้าอาวาสวัดพชิ ยญาตกิ าราม
๕. พระปญั ญาพศิ าลเถร (หนู) วัดปทมุ วนานาม
๖. พระอมราภริ ักขิต (ชยั ) วดั บรมนิวาส
เป็นพระราชาคณะ ๖ รูป

ส่วนเปน็ พระครู
๑. พระครูปลัดนพิ ัทธโพธพิ งษ์ (ขำ� ) วัดบรมนวิ าส
๒. พระครอู ดุ มธรี คณุ (เงนิ ) เจ้าอาวาสวัดสัตตนาถปริวตั ร
จงั หวัดราชบรุ ี
๓. พระครูวาทีวรคณุ (เพ็ง) เจา้ คณะรองจงั หวัดปราจีนบรุ ี
๔. พระครสู ีจันทรคณุ (สีจันทร)์ วัดนรนาถสุนทริการาม
๕. พระครศู ลี วรคุณ (อ�ำ่ ) วัดสริ ิจันทรนมิ ติ ร จังหวดั ลพบรุ ี
๖. พระครูพิเศษสุตคุณ เจ้าอาวาสวัดศรีจันทร์ จังหวัด
ขอนแกน่
๗. พระครูสลี สงั วร เจา้ อาวาสวดั บวรมงคล
เป็นพระครู ๗ รูป
ทเ่ี ป็นเปรียญแต่ ๓ ประโยค ถงึ ๖ ประโยคก็มีมากดว้ ยกัน
สว่ นน้เี ป็นบริษัทภายใน

58 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

บริษัทภายนอกน้ันก็มีเป็นอันมาก และได้แนะน�ำให้ท�ำบุญ
ภายนอก คอื บริจาคทานแลชักชวนให้กอ่ สร้างถาวรวัตถุไว้ในพระพทุ ธ
ศาสนา คอื สร้างพระพุทธรูป สรา้ งหนงั สอื สร้างกุฏิ สร้างศาลา สร้าง
โรงเรียน สร้างสระน้�ำบ่อน้�ำ ผู้มีมากให้ท�ำมาก ผู้มีน้อยให้ท�ำน้อย
ต่างคนก็ต่างท�ำถาวรวัตถุตามความพอใจของตน เกิดปีติปราโมทย์
ได้ความอบอุน่ ใจในโภคทรพั ย์อนั ตนฝังไว้ ส่วนบุญภายในกไ็ ดแ้ นะนำ�
สั่งสอนให้พากันผ่อนผัน โลภะ โทสะ โมหะ ให้เบาบาง ชี้ให้รู้จัก
ลกั ษณะพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ใหม้ พี ระไตรสรณาคมน์เป็น
ที่พึ่ง แลการท่ีเทศน์สั่งสอนตลอดไปทั่วทุกหนทุกแห่ง ส่วนน้ีเป็น
าตตถฺ จรยิ า ประพฤตใิ หเ้ ป็นประโยชน์แก่ญาติ คอื บรรดาคนทไี่ ด้
เห็นกนั รู้จกั กนั ช่อื วา่ ญาติทงั้ สน้ิ ฯ

โลกตถฺ จรยิ า

ส่วนที่อัตตโนที่ได้ท�ำการก่อสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ซ่ึงเป็น
ภายนอก มกี ารบำ� รงุ วดั เปน็ ตน้ สว่ นภายใน คอื ไดแ้ ตง่ หนงั สอื ธรรม
แลหนังสือสุภาษิตของเก่าบ้าง ของแต่งข้ึนใหม่บ้าง ทั้งภาคไทยแล
ภาคลาว ซง่ึ พระยาธนภารพสิ ิษฐ์ (เปา มลิ นิ ทสูต) ซึ่งไดร้ วบรวม
พมิ พ์ขึ้นอยา่ งละ ๑,๐๐๐ ฉบับ มากกวา่ ๒๐ เรอ่ื ง ส�ำหรับแจก
ในงานท�ำบุญอายุครบ ๗๐ คราวนี้ แต่จะได้รับแจกจ�ำเพาะผู้ท่ี
นับถอื แลผรู้ ับช่วยทำ� บญุ ไมต่ ำ่� กวา่ ๑๐๐ บาทข้นึ ไป เพราะเหน็ ว่า
ท่านจ�ำพวกน้ีเคารพนับถือจริง ได้หนังสือไปแล้วก็คงจะตรวจตรอง

59

เหตุท่ีมีความเลื่อมใสอยู่แล้ว ส่วนที่สร้างถาวรวัตถุไว้น้ี เป็นส่วน
โลกตถฺ จริยา ประพฤติใหเ้ ป็นประโยชน์แกโ่ ลกฯ
การที่ประพฤติจรรยา ๓ ประการนั้นก็หมายจะตามเสด็จ
พระบรมศาสดา แต่คุณสมบัติต่างกัน ส่วนบรมครูท่านมีบุญใหญ่
จรรยาทั้ง ๓ ประการของท่านก็ใหญ่ ส่วนพวกเรามีบุญน้อยเพียง
แต่เป็นสาวก จรรยา ๓ ประการของพวกเราก็น้อยตามสมควรแก่
คุณสมบัติของตน ลูกศิษย์ของเราควรพึงตั้งใจด�ำเนินตาม ความดี
เหล่าน้เี ป็นของกลาง ใครจะเอาไปไหนไมไ่ ด้ ใครเกิดขนึ้ มาปฏบิ ัติได้ก็
จักไดร้ บั ผลคอื ความดอี ยอู่ ย่างนตี้ ลอดกปั ตลอดกลั ป์

เจา้ ผคู้ รองนครเชยี งใหมน่ มิ นตท์ า่ นเจา้ คณุ
พระอบุ าลฯี มาอยปู่ รบั ปรงุ วดั เจดยี ห์ ลวง

(จากหนังสือประวตั ิหลวงปแู่ หวน สุจิณโฺ ณ)

ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ เคยไปจำ� พรรษาทเ่ี ชยี งตงุ
(พ.ศ. ๒๔๖๕) ไดไ้ ปแสดงธรรมโปรดเจ้าผูค้ รองนครเชยี งตุงจนเลอื่ มใส
ถวายตนเปน็ ศษิ ย์อปุ ัฏฐาก เป็นเหตุให้ทางสำ� นักนครเชียงตุงประพฤติ
ธรรมกันโดยทั่วหน้า แม้ปัจจุบันเช้ือพระวงศ์นครเชียงตุง เจ้านาย
ชน้ั ผ้ใู หญ่ ก็ยังคงปฏิบัตธิ รรมกันอยู่ ในครัง้ นนั้ นอกจากทา่ นเจา้ คณุ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ จะได้โปรดเจ้านายวงค์นครเชียงตุงแล้ว
ท่านยังได้ปรับปรุงการปฏิบัติพระวินัยของพระสงฆ์ในเชียงตุงให้ดีขึ้น

60 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

หลายอย่าง ตามคำ� ขอรอ้ งของเจา้ ผู้ครองนครเชยี งตุง
เมือ่ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลฯี กลบั จากเชยี งตุงแลว้ ทา่ นได้
ขน้ึ ไปพกั ภาวนาอยู่ที่ดอยสุเทพ จงั หวดั เชยี งใหม่ ประจวบกบั สมยั นน้ั
วดั เจดีย์หลวง ในตวั เมืองเชียงใหม่ ก�ำลงั ทรดุ โทรม หาพระผู้เป็นหลัก
ไมไ่ ด้ ประชาชนกเ็ หนิ หา่ งจากวดั เพราะพระภิกษุสามเณรประพฤติ
ตนไม่เหมาะสม ทางฝ่ายบ้านเมือง มีเจ้าแก้วนวรัฐ2 เจ้าผู้ครอง
นครเชียงใหม่ พร้อมด้วยเจ้าพระยามุขมนตรี (อาบ เปาโรหิต)
สมุหเทศาภิบาลมณฑลพายัพ จึงได้ปรึกษากันว่า จะหาพระเถระ
ผู้ใหญ่ท่ีไหน เพ่ือจะได้นิมนต์มาอยู่ท่ีวัดเจดีย์หลวง เพื่อจะได้ขอให้
ท่านชว่ ยปรบั ปรุงวดั และพระภกิ ษุสามเณรให้เขา้ รปู เขา้ รอยขึน้
ทางฝา่ ยบา้ นเมืองเหน็ พ้องกนั ว่า สมควรจะอาราธนานิมนต์
ท่านเจ้าคุณพระอบุ าลีคุณูปมาจารย์ (จันทน์ สริ จิ นฺโท) วัดบรมนิวาส
กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นพระมหาเถระ สมณศกั ดิ์ฐานันดรสูงช้ันรองสมเด็จ
พระราชาคณะ องคท์ ่านมไิ ดส้ ูงแตส่ มณศักด์เิ ท่าน้ัน แต่ยังสูงส่งดว้ ย
คุณธรรม ศีลาจารวตั ร พรอ้ มทง้ั ความรูค้ วามสามารถในการเทศนา
เผยแผ่ การปกครอง การบรหิ ารหมู่คณะ โดยเฉพาะดา้ นการศึกษา
จึงเป็นท่เี คารพนบั ถือของเจา้ บ้านผ่านเมอื ง พระพทุ ธศาสนิกชน ท้งั
ในกรงุ เทพฯ เชียงใหม่ เชียงตุง และทางภาคอีสาน จงึ ได้เตรยี ม
มอบหมายใหผ้ ูเ้ ดินทางไปนิมนต์ ประจวบกับขณะนัน้ ได้ทราบขา่ ววา่
ทา่ นเจ้าคณุ พระอบุ าลฯี พักวิเวกอยู่ท่ีดอยสุเทพ จงึ ได้พากันไปกราบ
และเรยี นให้ทราบถึงวตั ถปุ ระสงค์ พรอ้ มทง้ั นิมนต์ใหท้ า่ นมาจำ� พรรษา

๒ เจา้ แกว้ นวรัฐ เป็นเจา้ ผคู้ รองนครเชยี งใหม่องคท์ ่ี ๙ แห่งราชวงศ์
ทพิ ยจ์ ักราธวิ งศ์ และองค์สดุ ทา้ ยแหง่ นครเชียงใหม่

61

ท่ีวัดเจดยี ห์ ลวง เพอ่ื จะไดป้ รับปรุงวัดให้เรียบรอ้ ย และเรยี กศรัทธา
ของประชาชนใหก้ ลบั คืนมา
แต่การนิมนต์ครั้งนั้นเป็นการนิมนต์ท่านแบบไม่เป็นทางการ
ท�ำนองเกร่ินให้ท่านรับทราบ และท่านเจ้าคุณฯ ก็ยังไม่ได้ตอบรับ
แต่ประการใด เพยี งบอกวา่ ทา่ นจะขอรับไว้พิจารณาตอ่ เม่ือกลบั ถงึ
กรุงเทพฯ แลว้ จะพจิ ารณาอีกครง้ั

พ.ศ. ๒๔๗๐ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี
รบั นมิ นตจ์ ำ� พรรษาวดั เจดยี ห์ ลวง

(จากหนงั สือประวัตหิ ลวงป่แู หวน สุจณิ โฺ ณ)

เม่ือท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ พักภาวนาอยู่ดอยสุเทพพอสมควร
แล้ว กเ็ ดนิ ทางกลับลงไปกรุงเทพฯ หลงั จากทา่ นเจา้ คณุ อุบาลฯี กลบั
กรุงเทพฯ แล้ว ประมาณเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๐ ทางเชยี งใหม่
ได้ติดต่อนิมนต์มาเป็นทางการพร้อมทั้งนิมนต์ด้วยตนเองอีกครั้งหนึ่ง
โดยเจ้าแกว้ นวรัฐมาดว้ ยตนเอง การตดิ ตอ่ นิมนต์จึงส�ำเร็จไปด้วยดี
เม่ือท่านเจ้าคุณอบุ าลีฯ ได้รับนมิ นต์ทางเชยี งใหม่แล้ว ท่าน
ได้เลือกผทู้ ี่จะตดิ ตามไปกบั ท่านอย่างพถิ ีพิถัน เพราะคา่ ใช้จา่ ยในการ
เดินทางสูงมาก เพราะเหตนุ ีเ้ องจึงเอาไปไดใ้ นจ�ำนวนจ�ำกดั ในท่ีสดุ
ท่านได้เลือกหลวงปูแ่ หวนใหข้ น้ึ ไปด้วย ยงั ความดีใจอยา่ งสงู แกห่ ลวงปู่
แหวน เพราะไมค่ าดคิดมาก่อนวา่ จะไดร้ ับการไว้วางใจจากท่านเจ้าคุณ

62 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

อุบาลีฯ ถึงขนาดนนั้
การน่ังรถไฟไปเชียงใหม่สมัยนั้นไม่มีความสะดวกสบายเหมือน
สมยั น้ี และช้ากวา่ สมัยน้ีมาก แตก่ ไ็ มม่ ีพาหนะหรอื การเดินทางอยา่ ง
อนื่ ท่จี ะสะดวกสบายไปกวา่ น้ี
เม่อื รถไฟถงึ สถานเี ชียงใหมแ่ ลว้ มีรถมารบั ทา่ นเจ้าคุณอุบาลีฯ
หลายคัน เมื่อคณะท่ีไปขึ้นรถที่มารับหมดแลว้ รถไดเ้ คล่ือนไปยงั วดั
เจดีย์หลวงอนั เปน็ ทพ่ี ัก

ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
หลวงปแู่ หวน หลวงปตู่ อื้ คราวญตั ตเิ ปน็ ธรรมยตุ

(จากหนงั สือประวัตหิ ลวงปู่แหวน สุจณิ โฺ ณ)

ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ นีเ้ อง ท่านเจ้าคุณพระอบุ าลคี ณุ ูปมาจารย์
ได้พิจารณาเห็นว่า หลวงปู่แหวนมีความต้ังใจในการประพฤติปฏิบัติ
มคี วามวริ ิยะ อตุ สาหะ ปรารภความเพียรสม่ำ� เสมอไม่ย่อทอ้ มขี ้อวตั ร
ปฏิบตั ิดี เหมาะสมตามสมณสารปู มอี ปุ ชั ฌายวตั รและอาจาริยวตั รดี
สม่ำ� เสมอปลาย มีอธั ยาศัยไมข่ น้ึ ไม่ลง และมคี วามคุ้นเคยกันมานาน
วันหน่ึงทา่ นเจ้าคุณพระอุบาลฯี ไดพ้ ดู กบั หลวงปูแ่ หวนว่า
“อยู่ด้วยกันก็นานมาแล้ว ควรจะได้ญัตติเสีย เพ่ือจะได้เข้า
ร่วมสังฆกรรมกนั ได้ ไมต่ อ้ งคอยบอกปาริสุทธใิ์ นวันอโุ บสถเหมือนเชน่
ทกุ วนั น”ี้

63

ครัง้ แรกหลวงปูก่ ราบเรียนทา่ นเจา้ คุณฯ วา่ ขอเวลาปรึกษา
เพื่อน คือ หลวงปู่ต้อื ดกู อ่ น
ในชว่ งนนั้ หลวงปู่ตื้อ ยงั ท่องธดุ งคอ์ ยตู่ ามลำ� พงั ยังไมไ่ ด้ขึน้ ไป
เชยี งใหม่ แตด่ ว้ ยเหตุผลของทา่ นเจ้าคณุ พระอุบาลฯี ท่อี ธิบายใหฟ้ งั
ในขณะนั้น ท่านจึงตัดสินใจญัตติเป็นพระธรรมยุตท่ีพัทธสีมา
วดั เจดยี ์หลวงน่ันเอง โดยมพี ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิรจิ นฺโท)
เป็นพระอปุ ัชฌาย์ มีพระครศู รพี ศิ าลสารคุณเป็นพระกรรมวาจาจารย์
และพระครูนพสี พี ิศาลคณุ (ทอง โฆสโิ ต) เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์
การท่ีท่านหลวงปู่แหวนจะยังไม่ยอมญัตติเป็นพระธรรมยุต
โดยจะปรึกษาหารือเพ่ือนเสียก่อนนั้นอาจจะเป็นเพราะถ้าท่านตัดสิน
ใจไปคนเดียวภายหลัง อาจถูกเพอ่ื นต�ำหนเิ อาว่าจะท�ำอะไรไม่ปรึกษา
กันก่อน เพราะหลวงปู่ตอ้ื เปน็ สหธรรมกิ ทเี่ คยท่องเท่ยี วไปไหนมาไหน
ดว้ ยกันเกือบจะทกุ แห่ง เมอ่ื มีเหตทุ จี่ ะตอ้ งทำ� อะไรท่ีสำ� คัญ จ�ำเป็น
อยู่เองท่ีจะต้องขอความเห็นจากผู้ท่ีคุ้นเคยหรือรู้จักอัธยาศัยกันดีก่อน
อีกอย่างหน่ึงขณะน้ันองค์หลวงปู่เองก็อยู่ในข้ันพระผู้ใหญ่พอสมควร
แล้ว เพราะทา่ นมพี รรษาไดป้ ระมาณ ๒๐ พรรษา ซ่ึงพระทีม่ พี รรษา
ขนาดนั้นจะท�ำอะไรก็ต้องมีความรอบคอบพอสมควร แต่ด้วยความ
เคารพในทา่ นเจา้ คุณอบุ าลีฯ และดว้ ยเหตดุ ว้ ยผลของทา่ นที่ได้กรณุ า
ช้ีแจงถึงการต้องญัตติเปลี่ยนคณะใหม่ จึงยอมตกลงญัตติเป็นพระ
ธรรมยุต

64 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ซึ่งในสมัยนั้นพระฝ่ายมหานิกายที่เป็นพระเถระมีอายุพรรษา
มาก ยอมตนเป็นศิษย์อบรมธรรมปฏบิ ตั อิ ย่กู ับหลวงปมู่ ั่น ภูริทตโฺ ต
น้นั มีจ�ำนวนมาก ซง่ึ ทา่ นเหลา่ นั้นเป็นพระฝ่ายปฏบิ ตั ิ มีลกู ศษิ ยล์ ูกหา
มากมายอยู่มาจนปัจจุบันน้ีมากหลายองค์ บางองค์แม้ขอญัตติใหม่
เพื่อเป็นพระธรรมยุต แต่ท่านหลวงปู่มั่นไม่อนุญาต โดยท่านให้
เหตผุ ลว่า มรรคผลนิพพานไมไ่ ดข้ ึ้นอยู่กับคณะนกิ าย แต่มรรคผล
นิพพานขน้ึ อยูก่ บั การประพฤติปฏบิ ัตขิ องบุคคลนั้นๆ ผ้มู คี วามต้ังใจ
จรงิ แล้ว ทา่ นให้ไปช่วยสงั่ สอนหม่คู ณะจนต้ังเป็นหลักฐานปกึ แผน่ มา
ถงึ ปจั จบุ นั นีก้ ม็ ี
หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ภายหลังก็ได้ญัตติเป็นพระธรรมยุต
เหมอื นกับหลวงปู่แหวน สุจณิ โฺ ณ ท่ีวดั เจดียห์ ลวงเช่นกนั เมื่อปี พ.ศ.
๒๔๗๑ โดยท่านเจา้ คุณพระอบุ าลฯี เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ พระครู
ศรีพิศาลสารคณุ เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระครูนพีสีพิศาลคุณ
(ทอง โฆสิโต) เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์

65

ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี
เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทางภาคเหนอื

การจ�ำพรรษาทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวงของทา่ นเจ้าคุณพระอุบาลีฯ ใน
ระยะแรกนัน้ นอกจากทา่ นได้อบรมพระเณรให้เคร่งครดั ในพระวนิ ัย
และถือธุดงควัตร โดยท่านไดพ้ าหม่คู ณะออกเทย่ี วธดุ งคว์ เิ วกในอ�ำเภอ
ใกลเ้ คียงแลว้ ท่านยงั ท�ำประโยชนส์ งเคราะหอ์ บรมธรรมแก่ชาวเมือง
นครเชยี งใหมแ่ ละอ�ำเภอใกลเ้ คียง
กาลต่อมาเม่ือท่านด�ำริจะเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ชาวป่า
ชาวเขาเผ่าตา่ งๆ ท่ีอาศยั อยู่ตามปา่ เขาดอยสูงทางภาคเหนอื ท่านจะ
ต้องอาศัยพระสงฆ์ท่ีออกประพฤติปฏิบัติธรรมตามป่าเขาดอยสูง ซ่ึง
ในสมัยน้ันมีจ�ำนวนน้อยมาก มีแต่พระธุดงคกรรมฐาน โดยเฉพาะ
สายหลวงป่มู ัน่ ภรู ิทัตโต ซึ่งท่านสนิทคนุ้ เคย ท่านจงึ ปรารภนมิ นต์
หลวงปู่มั่นขึ้นเชียงใหม่ ประกอบกับช่วงนั้นหลวงปู่มั่นท่านอยู่อบรม
พระศิษย์กองทัพธรรมท่ีภาคอีสาน หลวงปู่มั่นเองท่านทราบดีว่า
ขณะนนั้ ท่านยังไม่บรรลุธรรมขัน้ สงู สดุ ทา่ นมกั รำ� พงึ เสมอว่า “ก�ำลงั
เราไม่พอ ก�ำลังเราไม่พอ” จงึ คิดปลีกวเิ วกจากหมคู่ ณะ เม่อื ทา่ นสง่
โยมมารดาแลว้ ทา่ นไดเ้ ดนิ ธดุ งคเ์ ขา้ กรงุ เทพฯ และตงั้ ใจขนึ้ ภาคเหนอื
เพื่อบำ� เพ็ญธรรมขัน้ แตกหกั เมื่อทา่ นเจา้ คณุ อุบาลีฯ ได้นิมนตท์ ่านขน้ึ
เชยี งใหม่ ทา่ นจงึ ตอบตกลงรบั นมิ นต์ทนั ที

66 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

พ.ศ. ๒๔๗๒ ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี นมิ นต์
หลวงปมู่ น่ั ขนึ้ เชยี งใหม่

(จากประวัตทิ ่านพระอาจารย์มัน่ ภรู ิทัตตเถระ)

ท่าน (หลวงปูม่ ัน่ ) เขา้ พักวดั ปทมุ วัน (วดั ปทุมวนาราม) ทา่ นวา่
การขน้ึ – ลอ่ งระหว่างกรุงเทพฯ กับภาคอีสานท่านข้นึ – ลอ่ งเสมอ
บางเที่ยวข้นึ รถไฟไปลงเอาท่ีสดุ รถไฟไปถงึ เพราะแตก่ อ่ นรถไฟยังไม่
ถึงที่สุดทาง บางเท่ียวก็เดินธุดงค์ไป – มาเร่ือยๆ ก็มี เวลาท่าน
พักและจ�ำพรรษาทีว่ ดั ปทุมวนั ได้มาศึกษาอรรถธรรมกบั ทา่ นเจา้ คณุ
พระอุบาลีฯ ท่ีวัดบรมนิวาสเสมอ ออกพรรษาแล้ว หน้าแล้งท่าน
เจ้าคุณอุบาลีฯ จะไปเชียงใหม่ ทา่ นนิมนตท์ ่านอาจารยไ์ ปเชียงใหม่
ดว้ ย ท่านเลยไปเท่ียวทางเชยี งใหม่กบั ทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลฯี
ขณะนง่ั รถไฟไปเชยี งใหม่ ทา่ นเลา่ ว่า ท่านเขา้ สมาธภิ าวนาไป
เร่อื ยๆ เกือบตลอดทาง มีพักนอนบา้ งก็เวลารถไฟออกจากกรุงเทพฯ
ไปถึงลพบุรี พอถึงอุตรดิตถ์ รถจะเรมิ่ เข้าเขา ท่านก็เรมิ่ เขา้ สมาธิ
ภาวนาแต่บดั นนั้ เป็นตน้ ไป จนจะถึงสถานเี ชียงใหมถ่ ึงได้ถอนจิตออก
จากสมาธิเพราะขณะจะเร่ิมท�ำสมาธิภาวนา ท่านตั้งจิตไว้ว่าจะให้
จิตถอนออกจากสมาธิตอ่ เมือ่ รถไฟจวนเข้าถึงตัวเมืองเชียงใหม่ แล้วก็
เร่ิมปฏบิ ัติหนา้ ท่ภี าวนาต่อไป โดยมิไดส้ นใจกบั อะไรอีก
ขณะนง่ั ทำ� สมาธไิ มน่ านประมาณ ๒๐ นาที จติ ก็รวมลงสู่
ความสงบถึงฐานของสมาธิอย่างเต็มที่ จากขณะนั้นแล้วก็ไม่ทราบ
ว่ารถไฟวิ่งหรือหาไม่ มีแต่จิตที่แน่วลงสู่ความสงบระงับตัวจากส่ิง

67

ภายนอกท้ังมวล ไมม่ ีอะไรปรากฏ แม้ทสี่ ุดกายก็ไดห้ ายไป ในความ
รสู้ ึกเป็นจิตทดี่ บั สนทิ จากการรบั ร้แู ละรบกวนจากสงิ่ ตา่ งๆ เป็นเหมอื น
โลกธาตไุ ม่มอี ะไรเหลอื อยู่เลย ประหน่งึ ได้ดบั ไปพร้อมกบั ความคิดปรงุ
และความส�ำคญั รับร้ตู า่ งๆ ของขันธโ์ ดยสิน้ เชงิ ขณะนนั้ เปน็ ความรสู้ ึก
ว่ากายหายไป รถไฟและเสียงรถหายไป ผคู้ นโดยสารในรถไฟหายไป
ตลอดสิ่งต่างๆ ท่ีเคยเก่ียวข้องกันกับจิตได้หายไปจากความรู้สึกโดย
สิ้นเชิง ส่ิงที่เหลืออยู่ในเวลานั้นก็น่าจะเป็นสมาธิสมาบัติอย่างเดียว
เทา่ นน้ั เพราะในขณะน้นั มิไดส้ ำ� คัญตนวา่ อยู่ในท่เี ช่นไร จติ ทรงตัว
อยูใ่ นลักษณะน้ตี ลอดมาแต่ ๒๐ นาทแี รกเร่ิมสมาธจิ นถงึ ชานเมอื ง
เชียงใหม่ จึงได้ถอนตัวออกมาเป็นปรกติจิต ลืมตาข้ึนมองดูสภาพ
ทั่วไปกพ็ อดีเหน็ ตกึ รามบา้ นช่องขาวดาดาษไปทกุ ทิศทกุ ทาง จากนนั้ ก็
เรม่ิ ออกจากท่ีและเตรยี มจะเก็บสิง่ ของบรขิ าร มองดผู คู้ นในรถรอบๆ
ข้าง ต่างพากันมองมานัยน์ตาจับจ้องมองดูท่านอย่างพิศวงสงสัยไป
ตามๆ กัน รู้สกึ จะเป็นทป่ี ระหลาดใจของคนในรถไฟท้งั ขบวน นบั
ตงั้ แต่เจ้าหนา้ ท่ีรถไฟลงมาไม่นอ้ ยเลย มาทราบไดช้ ัดเจนเอาตอนท่าน
จะขนสิง่ ของบริขารลงจากรถ
ขณะที่รถจะถึงที่ เจ้าหน้าที่รถไฟต่างมาช่วยขนส่ิงของลงรถ
ชว่ ยทา่ นดว้ ยสีหน้าย้ิมแยม้ แจ่มใส ทั้งท่ีไม่เคยรจู้ กั กันมาก่อนเลย ท้ัง
คนโดยสารและเจ้าหน้าที่รถไฟต่างยืนมองท่านจนวาระสุดท้ายอย่างไม่
กระพริบตาไปตามๆ กนั แม้กอ่ นจะลงจากรถกม็ ีเจา้ หน้าทร่ี ถไฟและ
คนโดยสารมาถามทา่ นวา่ ทา่ นอยู่วดั ไหน และทา่ นจะเดนิ ทางไปไหน
ตอ่ ไป ทา่ นก็ไดต้ อบว่า ทา่ นเป็นพระอยตู่ ามป่า ไม่คอ่ ยมหี ลกั ฐาน
วดั วาแนน่ อนนัก และตั้งใจจะมาเทย่ี ววิเวกตามเขาแถบนี้ เจา้ หน้าที่

68 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

รถไฟและผู้โดยสารบางคนก็ถามท่านด้วยความเอื้อเฟื้อเล่ือมใสว่า
ขณะนี้ท่านจะไปพักวัดไหนและมีผู้มารับหรือตามส่งหรือยัง ท่าน
แสดงความขอบคุณเจ้าหน้าที่รถไฟและเรียนว่ามีผู้มารับเรียบร้อย
แล้ว เพราะท่านไปกับท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ซึ่งเปน็ พระผู้ใหญแ่ ละเป็น
ทีเ่ คารพเล่อื มใสของชาวเมอื งเปน็ อย่างยิ่ง นับแตเ่ จา้ ผ้คู รองนครลงมา
ถงึ พ่อคา้ ประชาชน
ขณะน้ันปรากฏว่ามผี ้คู นพระเณร ไปรอรับท่านเจ้าคณุ อบุ าลีฯ
อยคู่ ับค่งั แม้รถยนต์ซ่ึงเป็นของหายากในสมยั นน้ั แต่ก็ปรากฏวา่ มรี ถ
ไปรอรบั อยหู่ ลายคัน ท้ังรถข้าราชการและพอ่ คา้ ประชาชน รับท่าน
เจา้ คุณฯ จากสถานีมาวดั เจดียห์ ลวง
เมื่อประชาชนทราบว่าท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ มาพักท่ีวัดเจดีย์-
หลวง จังหวดั เชยี งใหม่ ตา่ งก็มากราบนมสั การเย่ียมและฟังโอวาทท่าน
ในโอกาสท่ีประชาชนมามากน้ัน ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ไดอ้ าราธนาท่าน
พระอาจารย์มน่ั เป็นองคแ์ สดงธรรมใหป้ ระชาชนฟงั ปรากฏวา่ ท่าน
แสดงธรรมไพเราะเพราะพรงิ้ จับใจท่านผู้ฟงั มากมาย ไม่อยากให้จบลง
ง่ายๆ เทศน์กัณฑน์ ้นั ทราบวา่ ท่านเริ่มแสดงแตต่ ้นอนบุ ุพพิกถาขึ้นไป
เปน็ ล�ำดบั จนจบลง ในท่ามกลางแห่งความเสยี ดายของพทุ ธศาสนิกชน
ที่ก�ำลังฟังเพลิน พอเทศน์จบลงท่านลงมากราบพระเถระแล้วหลีก
ออกไปหาทีพ่ กั ผ่อนตามอธั ยาศัย

69

ขณะนัน้ ทา่ นเจ้าคุณอุบาลีฯ ได้กลา่ วชมเชยธรรมเทศนาของ
ทา่ น ในทา่ มกลางบรษิ ทั ว่า ท่านมั่นแสดงธรรมไพเราะมาก หาผู้
เสมอเหมือนไดย้ าก และแสดงธรรมเป็นมุตโตทัย คือแดนแหง่ ความ
หลดุ พ้น ท่ีผฟู้ ังไมม่ ีทน่ี ่าเคลอื บแคลงสงสัย นบั ว่าทา่ นแสดงไดอ้ ยา่ ง
ละเอียดลออดีมาก แม้แต่เราเองก็ไม่อาจแสดงได้ในลักษณะแปลกๆ
และชวนให้ฟังเพลินไปอย่างท่านเลย ส�ำนวนโวหารของพระธุดงค-
กรรมฐานนีแ้ ปลกมาก ฟงั แลว้ ทำ� ให้ได้ขอ้ คิดและเพลนิ ไปตาม ไม่มี
เวลาอ่มิ พอและเบ่อื งา่ ยเลย
ท่านเทศน์ในส่ิงท่ีเราเหยียบย่�ำไป – มาอยนู่ ี่แล คอื สิ่งที่เรา
เคยเห็นเคยได้ยินอยู่เป็นประจ�ำแต่มิได้สนใจคิดและน�ำมาท�ำประโยชน์
เวลาท่านเทศนผ์ ่านไปแล้วถึงระลึกได้ ท่านมั่นทา่ นเปน็ พระกรรมฐาน
องค์ส�ำคัญที่ใช้สติปัญญาตามทางมรรคที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้จริงๆ
ไมน่ ำ� มาเหยยี บยำ่� ทำ� ลายใหก้ ลายเปน็ โลกๆ เลวๆ ไปเสยี ดงั ทเ่ี หน็ ๆ กนั
ทา่ นเทศน์มบี ทหนกั บทเบาและเนน้ หนักลงเปน็ ตอนๆ พร้อมท้งั การ
คลี่คลายความสลับซับซ้อนแห่งเน้ือธรรมท่ีลึกลับ ซ่ึงพวกเราไม่อาจ
แสดงไดอ้ อกมาอยา่ งเปดิ เผย และสามารถแยกแยะธรรมนน้ั ๆ ออกมา
ช้ีแจงให้เราฟังได้อย่างถึงใจ โดยไม่มีปัญหาอะไรเลย นับว่าท่าน
ฉลาดแหลมคมมาก ในเชงิ เทศนาวธิ ซี ึ่งหาตวั จบั ไดย้ าก อาตมาแม้
เป็นอาจารย์ทา่ น แตก่ ็ยกใหท้ า่ น ส�ำหรับอบุ ายตา่ งๆ ทเ่ี ราไม่สามารถ
ซง่ึ มีอย่เู ยอะแยะ

70 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

เฉพาะท่านมนั่ ทา่ นสามารถจรงิ อาตมาเองยังเคยถามปญั หา
ขัดข้องใจที่ตนไม่สามารถแก้ได้โดยล�ำพังกับท่าน แต่ท่านยังสามารถ
แก้ได้อยา่ งคลอ่ งแคล่วว่องไวดว้ ยปญั ญา เราพลอยได้คตจิ ากทา่ นไม่มี
ประมาณ อาตมาจะมาเชียงใหม่จึงได้นิมนต์ท่านมาด้วย ซง่ึ ทา่ นก็
เตม็ ใจมาไมข่ ัดข้อง ส่วนใหญท่ ่านอาจเหน็ ว่าท่ีเชยี งใหมเ่ รามปี า่ มภี เู ขา
มาก สะดวกแกก่ ารแสวงหาทวี่ ิเวก ถงึ ได้ตกลงใจมากบั อาตมาก็เป็น
ได้ เป็นแต่ท่านมไิ ดแ้ สดงออกเทา่ น้นั เอง พระอย่างท่านมั่นเป็นพระ
ทหี่ าได้ยากมาก อาตมาแม้จะเป็นผ้ใู หญก่ วา่ ท่าน แต่ก็เคารพเล่อื มใส
ธรรมของท่านอยู่ภายใน ท่านเองก็ยิ่งมีความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อ
อาตมามาก จนละอายท่านในบางคราว ท่านพกั อยู่ทพ่ี อสมควรแล้ว
ก็ออกแสวงหาท่ีวิเวกต่อไป อาตมาก็จ�ำต้องปล่อยตามอัธยาศัยท่าน
ไมก่ ล้าขัดใจ เพราะพระจะหาแบบท่านม่ันนี้ร้สู ึกยากจะหาได้อย่างย่ิง
เมื่อทา่ นมีเจตนามงุ่ ต่อธรรมอย่างย่งิ เรากค็ วรอนโุ มทนา เพือ่ ทา่ น
จะได้บำ� เพญ็ ประโยชนแ์ กต่ นและประชาชน พระ – เณร ในอนาคต
อนั ใกล้น้ี
ท่านผู้ใดมีข้อข้องใจเกี่ยวกับการอบรมภาวนาก็เชิญไปศึกษา
ไตถ่ ามท่าน จะไมผ่ ดิ หวังแนน่ อน แต่กรุณาอย่าไปขอตะกรุด วิชา
คาถาอาคมอยูย่ งคงกระพนั ชาตรี ความแคลว้ คลาดปลอดภัยต่างๆ ท่ี
ผิดทางจะเป็นการไปรบกวนท่านให้ล�ำบากโดยมิใช่ทาง บางทีท่าน
อาจใสป่ ัญหาเจบ็ แสบเอาบ้างจะวา่ อาตมาไม่บอก เพราะทา่ นม่ันมใิ ช่
พระประเภทนน้ั ทา่ นเปน็ พระจริงๆ และส่งั สอนคนให้เหน็ ผิดเห็นถูก
เห็นชั่วเห็นดี และเห็นบาปเห็นบุญจริงๆ มิได้ส่ังสอนออกนอกลู่
นอกทางไปจากคลองธรรม ท่านเป็นพระปฏบิ ัติจริงและร้ธู รรมตามที่

71

พระพุทธเจา้ ทรงส่ังสอนไวจ้ ริงๆ
เท่าที่ได้สนทนาธรรมกับท่านแล้วรู้สึกได้ข้อคิดอย่างน่า
อัศจรรย์ ซึ่งใครๆ ไม่อาจพูดได้อย่างท่านเลยเท่าท่ีผ่านมาในสมัย
ปัจจุบัน อาตมาเคารพเล่ือมใสท่านมากภายในใจโดยท่ีท่านไม่ทราบ
ว่าอาตมาเคารพท่าน ถ้าท่านไม่ทราบด้วยญาณเอง เพราะมิได้พูด
ให้ท่านฟัง ท่านเป็นพระท่ีน่าเคารพบูชาจริงๆ และอยู่ในข่ายแห่ง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ ข้ันใดข้ันหนึ่งแน่นอน ไม่สงสัย แต่ท่านเอง
มิได้แสดงตัวว่าเป็นพระท่ีต้ังอยู่ในธรรมข้ันน้ันๆ หากพอรู้ได้ในเวลา
สนทนากันโดยเฉพาะไม่มใี ครเขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งด้วย
อาตมาเองเชื่อว่าเป็นผู้ตั้งอยู่ในอริยธรรมข้ันสามอย่างเต็มภูมิ
ทงั้ น้ที ราบจากการแสดงออกแห่งธรรมที่ทา่ นรู้เห็น แม้ทา่ นจะไมบ่ อก
ภูมิท่ีบรรลวุ ่าภูมิน้นั ๆ แต่ก็ทราบไดอ้ ยา่ งไมม่ ขี ้อสงสยั เพราะธรรม
ที่ท่านแสดงให้ฟัง เป็นธรรมในภูมิน้ันๆ แน่นอน ไม่ผิดกับปริยัติที่
แสดงไว้ ท่านเป็นพระที่มีความเคารพและจงรักภักดีต่ออาตมามาก
ตลอดมา ไม่เคยแสดงอากัปกิริยากระด้างวางตัวเย่อหยิ่งแต่อย่างใด
ใหเ้ หน็ เลย นอกจากวางตวั แบบผ้าข้รี ้ิว ซ่ึงเห็นแล้วอดเล่อื มใสอย่าง
จับใจไม่ได้ทุกๆ คร้ังไปเท่าน้ัน นี่เป็นค�ำของเจ้าคุณอุบาลีฯ กล่าว
ชมเชยท่านพระอาจารย์ม่ันในท่ีลับหลังให้ญาติโยมและพระเณรฟัง
หลงั จากทา่ นแสดงธรรมจบลงแลว้ หลีกไป พระทไี่ ด้ยนิ คำ� ชมเชยน้แี ลว้
นำ� ไปเล่าให้ท่านฟัง ท่านจึงนำ� เรือ่ งนมี้ าเลา่ ให้คณะลกู ศษิ ยฟ์ ังเวลามี
โอกาสดๆี ค�ำว่า “มตุ โตทัย” ท่ีมใี นชวี ประวัตยิ อ่ ของทา่ น ซึง่ พมิ พ์
แจกในงานฌาปนกจิ ศพทา่ น ก็เปน็ นมิ ติ ตกนามไปจากค�ำชมเชยของ
ทา่ นเจา้ คุณอุบาลีฯ คร้ังน้นั สืบตอ่ มา

72 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

กองทพั ธรรมศษิ ยห์ ลวงปมู่ น่ั ทำ� ประโยชน์
อยา่ งใหญห่ ลวงทางภาคเหนอื

ความปรารถนาของทา่ นเจ้าคณุ อุบาลีฯ ในการเผยแผพ่ ระพทุ ธ
ศาสนาเป็นความจรงิ ประจกั ษช์ ดั ข้ึนมา กล่าวคือเมือ่ หลวงป่มู น่ั เทยี่ ว
วเิ วกในทส่ี งบสงัด เพื่อบำ� เพญ็ ธรรมขนั้ แตกหักตามปา่ เขาในเขตจังหวดั
เชยี งใหม่ จนประสบธรรมปติ ิบรรลธุ รรมขัน้ สูงสุด จากนั้นมาทา่ น
ไมเ่ คยกล่าวเลยว่า “กำ� ลงั เราไม่พอ”
ต่อมาพระศิษย์กองทัพธรรมสมัยที่ท่านอบรมอยู่ภาคอีสานได้
ออกติดตามท่าน และอยู่บ�ำเพ็ญธรรมตามป่าเขาตามดอยสูงต่างๆ
ทางภาคเหนือ อาทิเช่น หลวงปู่เทสก์ เทสฺรังสี หลวงปู่พรหม
จริ ปุโ หลวงปู่อ่อน าณสิริ หลวงปูช่ อบ านสโม หลวงปขู่ าว
อนาลโย หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร หลวงปู่แหวน สจุ ณิ โฺ ณ หลวงปู่ต้ือ
อจลธมฺโม ทา่ นพอ่ ลี ธมมฺ ธโร หลวงป่สู ิม พุทฺธาจาโร หลวงปเู่ จี๊ยะ
จนุ โฺ ท ฯลฯ ซึง่ หลวงปูม่ ัน่ ได้ส่งั ให้พระศษิ ยแ์ ยกยา้ ยกนั ภาวนาตามปา่
เขาดอยสงู ตา่ งๆ กองทัพธรรมศษิ ย์พระอาจารยม์ น่ั ได้บำ� เพ็ญตนและ
ประโยชนแ์ กช่ าวปา่ ชาวเขาเผา่ ตา่ งๆ ทอ่ี าศยั อยตู่ ามดอยสงู เชน่ มเู ซอ
กะเหรีย่ ง แม้ว เย้า ฯลฯ
ส�ำหรับหลวงปู่ม่ันท่านเองก็ไม่ชอบอยู่กับท่ีนานๆ ท่านได้
ออกเดินธุดงค์แล้วก็เอาเด็กๆ มาบวชได้จ�ำนวนไม่น้อย ให้มาศึกษา
เล่าเรียน พร้อมท้ังจ�ำพรรษาที่วัดเจดีย์หลวงนั้น ท่านมองเห็นด้วย

73

ญาณของท่านว่า เด็กเหล่าน้ีจะบวชไม่สึกแน่ๆ เลยเอาเด็กเล็ก
เดก็ น้อยมาศึกษาเล่าเรยี นทางธรรม จนเป็นพระเถระผูใ้ หญก่ ็มาก ซง่ึ
อดตี เคยสง่ มาทวี่ ดั เจดยี ห์ ลวง
พระพุทธศาสนาทางภาคเหนือเจริญรุ่งเรืองอย่างเห็นได้ชัด
ทั้งด้านวัตถุและด้านจิตใจ ในด้านวัตถุ วัดป่า เสนาสนะป่า สาย
หลวงปมู่ นั่ ทต่ี งั้ อยตู่ ามปา่ เขาดอยสงู เกดิ ขนึ้ มากมาย และในกาลตอ่ มา
เหล่าบรรดาสานศุ ษิ ยไ์ ดร้ ว่ มกันสร้างพระวหิ าร - เจดยี บ์ รู พาจารย์ เพอ่ื
เป็นการน้อมร�ำลึกบูชาคุณบูรพาจารย์พระกรรมฐานที่เคยอยู่จ�ำพรรษา
ทางภาคเหนอื ในด้านจติ ใจ บรรดาพระศษิ ยห์ ลวงปมู่ ่ันเจริญงอกงาม
ในธรรมปฏบิ ัติ นับแต่ธรรมเบอ้ื งต้นจนถงึ ธรรมขน้ั สูงสุด ต่างช่วยกนั
วางรากฐานสืบทอดข้อวัตรปฏิบัติปฏิปทาพระกรรมฐานสายหลวงปู่ม่ัน
ชาวเมืองชาวป่าชาวเขาท่ีได้รับการอบรมจากกองทัพธรรม ต่างก็มี
ความมน่ั คงในการนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ใฝใ่ จในการบำ� เพญ็ ทาน รกั ษา
ศีล เจริญเมตตาภาวนา บ้างก็ออกบวชศึกษาเล่าเรียนปฏิบัติธรรม
ท�ำให้สยามประเทศในขณะนั้นซึ่งมีภัยต่างๆ รอบด้าน ทั้งจากการ
รุกรานของประเทศมหาอ�ำนาจ และจากการเผยแพรล่ ทั ธติ ่างศาสนา
กลับมาสงบร่มเย็นภายใตพ้ ระบวรพทุ ธศาสนาไดอ้ ย่างน่าอศั จรรย์
นับว่าท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ผู้ริเริ่มเผยแผ่พระพุทธศาสนาทาง
ภาคเหนือ หลวงปู่ม่ัน ภูรทิ ัตโต และพระศิษยก์ องทัพธรรม ไดส้ รา้ ง
คณุ ูปการทเ่ี ปน็ คุณประโยชน์ตอ่ ชาติ ศาสนา อยา่ งอเนกอนนั ต์

74 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

หลวงปมู่ นั่ แกค้ วามปรารถนาพทุ ธภมู ิ
ของทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

(จาก กัณฑ์เทศนเ์ ช้า พุทธเถรวาท
โดย พระอาจารย์สงบ มนสสฺ นโฺ ต วันที่ ๒๖ กนั ยายน ๒๕๔๒)

เรายกเรื่องของหลวงปู่ม่ันไง อาจารย์มหาบัวเล่าให้ฟัง
หลวงปู่ม่ันเป็นพระโพธิสัตว์มาก่อน ต้ังใจเป็นพุทธภูมิ ปรารถนา
เป็นพระพุทธเจ้า แล้วท่านก็มาภาวนาของท่าน หลวงปู่ม่ันเล่าให้
อาจารย์มหาบัวฟงั อาจารยม์ หาบวั มาเลา่ ใหล้ ูกศิษยฟ์ ังประจำ� เวลา
จะคดิ ย้อนกลับไปวิปัสสนา ทำ� ความสงบได้ ความสงบน่ีใครกท็ ำ� ได้
ความสงบของใจพื้นฐานเดิมมีอยู่แล้ว พระโพธิสัตว์ก็ท�ำความสงบได้
อยู่ในฌานโลกีย์ แต่ไม่สามารถยกข้ึนวิปัสสนา นี่เป็นปุถุชน แล้ว
ท�ำบญุ กบั ปุถุชน กับท�ำบุญกับผ้ทู ่สี น้ิ กิเลส เน้อื นาบุญ คนๆ หนง่ึ
เราท�ำบุญกับดินที่ไม่สมบูรณ์กับดินที่สมบูรณ์ เราหว่านพืชอันไหน
มันจะไดม้ ากกวา่ กนั
อันนพี้ ระพุทธเจา้ พูดนะ พระพุทธเจา้ บอกไว้ในพระไตรปิฎก
แล้วหลวงปูม่ ่ันเลา่ ให้อาจารย์มหาบวั ฟงั วา่ “เวลาจะย้อนกลับนะ พอ
จติ มันสงบ คือจะย้อนวปิ ัสสนานีม่ ันเสียดาย มนั อาลยั อาวรณก์ ับ
สมบตั เิ ดมิ ทเี่ ราสะสมบารมมี า มันไมท่ �ำ พอจะยอ้ นกลบั วปิ ัสสนา
มันลงั เล มนั สงสยั มนั เสียดาย มนั อาลยั อาวรณ์ มันยอกใจๆ”

75

ทา่ นแก้อยูน่ าน หลวงปู่ม่ันนที้ ่านปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า
มาก่อน ท่านเป็นพระโพธสิ ัตว์ไง เปน็ พุทธภูมิ ถงึ อยทู่ ีอ่ ุบลฯ อยู่
บ้านนอกก็เป็นหวั หนา้ ของคน ในวัยรุน่ ก็เปน็ หัวหน้าของวยั รุ่น เปน็
หวั หน้าคน ไปเทยี่ วไหนกเ็ ฮฮากนั ไป น่ีพระโพธิสัตว์ แตพ่ อบวชเป็น
พระแลว้ หลวงปเู่ สารไ์ ปเอาออกมา มาบวชเปน็ พระให้ได้ แลว้ ตวั เอง
จะแกไ้ ขตัวเอง พอจะยกขนึ้ วิปัสสนา มนั เสียว มันอาลยั อาวรณ์ไง
อาลัยอาวรณ์ เหน็ ไหม ถึงบอกพระโพธิสัตวน์ คี้ ือปถุ ุชน ปถุ ุชนคอื
คนทม่ี กี ิเลสอยู่ เนื้อนานน้ั ยังไม่สมบรู ณ์ ถึงว่าท่านจะเป็นโพธิสัตวน์ ะ
ท่านปรารถนาจะชว่ ยโลกก็เปน็ ปถุ ชุ น กบั ทำ� บุญกบั พระอรหนั ต์ นใี่ น
พระไตรปิฎกวา่ ไว้อย่างน้ัน
ฉะนั้น ค�ำสอนในหนังสือของเขานั้นเป็นความเห็นของเขา
เป็นความเห็นของครูบาอาจารย์ ครูบาอาจารย์เขาเห็นอย่างน้ันไง
ครูบาอาจารย์ของเขาคือฝ่ายมหายานเห็นอย่างน้ัน ความเห็นของ
อาจรยิ วาท ไมใ่ ช่วา่ ความเห็นของศาสดา แล้วอะไรจะมาขดั กับความ
เห็นของศาสดาไดล้ ะ่ เออ... พดู ใหเ้ ขาฟังเมือ่ วาน
เราก็อ่าน เมื่อก่อนเราก็สงสัยมาก่อน น่ีเวลาท่านพูดถึง
บอกว่าเวลาเราอ่านหนงั สอื ไป อา่ นต�ำราไป อา่ นแผนท่ีไปเรากล็ ังเล
สงสยั ไป แล้วเจอแผนทปี่ ลอมอีกต่างหาก แผนทเ่ี ทยี บเคยี ง แผนท่ี
ไมใ่ ชแ่ ผนที่จรงิ อ่านแลว้ ยงั หลงทาง
บอก “ไมจ่ รงิ ทำ� บุญกบั พระพุทธเจ้า ท�ำบุญกับพระอรหนั ต์
ได้บญุ มากกวา่ ” เขาลงใจ เอาเหตุผลมายกจนเขาลงใจ นีเ่ ขาก็ศึกษา
มาขนาดน้ี อยู่กับครูบาอาจารย์มาอย่างน้ีนะ แต่ในเม่ือหนังสือนี้

76 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

เขยี นมาในของฝา่ ยมหายาน เขาเช่อื ทันทีเลย เห็นไหม วา่ พระพูด
แต่พระพดู มนั กผ็ ิด พระพูดเพราะพระองคน์ น้ั ยงั ไมร่ ู้แจง้ ยงั ไมร่ ู้จบ
มนั กผ็ ดิ เห็นไหม
ถงึ วา่ ปญั ญาของผทู้ เ่ี หน็ มคี รบู าอาจารยช์ น้ี ำ� นถ่ี กู ตอ้ งดงี ามมาก
ดอู ยา่ งเชน่ หลวงปมู่ น่ั นะทา่ นเปน็ ของทา่ นเองมากอ่ น ในหวั ใจทกุ ขย์ าก
อยา่ งไรมาก่อน น่ีอาจารยเ์ ล่าใหฟ้ งั เวลาหลวงปูม่ ่นั ท่านไปเอาเจ้าคุณ
อบุ าลฯี ทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวงกอ็ ยา่ งน้ี เถยี งกนั อยอู่ ยา่ งนน้ี ะ ทกุ ขน์ ะ เกดิ ตาย
นีท่ กุ ขม์ าก ทกุ ข์มาก เพราะเจา้ คุณอบุ าลีฯ นี้ก็เปน็ พุทธภูมิ หลวงปู่
เสาร์กป็ ัจเจกภูมิ หลวงปูม่ น่ั ไปแกไ้ ดห้ มด คนทจ่ี ะแก้ได้ต้องผ่านจาก
ความเหน็ ผิดน้นั มากอ่ น ผา่ นอุปสรรคนน้ั มากอ่ น แล้วไปแก้ได้หมด
จนเจ้าคุณอบุ าลฯี กลบั มาวิปัสสนา แล้วในประวัติหลวงปแู่ หวน เจ้าคุณ
อบุ าลฯี พดู เอง เจา้ คณุ อบุ าลฯี นเ้ี ปน็ ผทู้ ว่ี า่ เปน็ นกั ปราชญข์ องเมอื งไทย
พระโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ปรารถนาพุทธภูมิ ปัญญาน่ี
กว้างขวางมาก เทศน์ทหี นึ่งในกรงุ เทพฯ จะรำ�่ ลอื ไป ๓ วนั ๗ วัน
ครูบาอาจารย์เล่าให้ฟังนะ ถ้าท่านเทศน์ทีหน่ึง พวกสามล้อถีบ
สมัยน้ันมีสามล้อถีบ สามล้อถีบจะจ�ำค�ำพูดท่านไปพูดเล่นกันอยู่เป็น
อาทิตยเ์ ลย ถา้ ท่านเทศนท์ หี นง่ึ นะ นป่ี ญั ญาขนาดน้นั หลวงปู่มัน่
บอกว่า “ทุกข์นะ เกิดตายน่ีทุกข์นะ” ท่ีวัดเจดีย์หลวง เอาจน
เจา้ คณุ อุบาลฯี คอ่ ยหนั กลบั มาวปิ สั สนา ขนาดข้างนอกสอนเข้ามา
ข้างในมันก็ต้องอาลัยอาวรณ์เหมือนกัน ข้างในตัวเองมีสมบัติอยู่
ตัวเองตอ้ งอาลัยอาวรณ์สมบตั ินั้น

77

แตเ่ วลามนั วปิ สั สนาพน้ ไปแลว้ เจา้ คุณอุบาลฯี พูดไว้ในประวัติ
หลวงปู่แหวนไง “ความรู้ของปริยัติเหมือนกับแผ่นดิน ความรู้
ของวปิ ัสสนาเหมือนกับแผ่นฟ้า ความหา่ งไกลกนั การศกึ ษาสตุ มย
ปัญญากบั ภาวนามยปญั ญา หา่ งกนั ราวฟา้ กบั ดิน” ความเหน็ ไง
ความเหน็ ของเจ้าคณุ อุบาลฯี เม่ือก่อน
เจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์น่ีมีช่ือเสียงมากนะ ไปอ่านในค�ำ
เทศน์ของทา่ นในใบลานสิ เวลาเทศน์นีเ่ รายังเคยเทศน์เลย เมือ่ กอ่ น
เทศน์น่อี ่านใบลานของท่าน จะเลือกใบลานทด่ี ีๆ ของทา่ น เทศน์ท่ี
วัดของทา่ นจะเย่ียมยอดมาก เวลาเทศน์ทีขนาดนั้น
แต่ท่านพูดเอง ท่านพูดเองอยู่ในประวัติหลวงปู่แหวน ไป
เปิดดูสิ เราเจอ เจ้าคุณอุบาลีฯ บอกว่า “ความรู้ของปริยัติเหมือน
กบั แผน่ ดนิ ความห่างนะ แตค่ วามเห็นของวิปสั สนา การประพฤติ
ปฏิบตั ิ ปฏเิ วธ น่ีหา่ งกนั ราวฟ้ากบั ดนิ แผ่นฟา้ ไง ฟา้ กับดนิ ”
นี่เจา้ คุณอบุ าลีฯ พน้ ไป พน้ ไปเพราะอะไรล่ะ ? เพราะวา่
ทา่ นเกิดมาร่วมชาตกิ บั หลวงป่มู ่ัน เหน็ ไหม หลวงป่มู ัน่ ผา่ นไปกอ่ น
หลวงปู่มั่นต้องมีอาชาไนยกว่าถึงแก้ไขความเห็นตัวเอง ดัดนิสัยของ
ตนเองได้ ดดั ความเหน็ ภายในนย่ี ากมาก “อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ
ตนเปน็ ทพี่ ง่ึ แหง่ ตน” ตนดดั ตนนแ่ี สนยาก เรามลี กู ใชไ่ หม เราพยายาม
บงั คับมัน ลกู มันกย็ งั เถียงอยู่ แต่น่เี ราดัดตนเอง แล้วหลวงปู่มน่ั
ดัดตนเองกอ่ น

78 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ท่านเลา่ ให้ฟงั เราซึ้งมาก เพราะอาจารย์มหาบัวเลา่ ต่อบอกว่า
“โอโ้ ฮ เวลายอ้ นกลบั ไปนม่ี นั อาลยั อาวรณ”์ อาลยั สมบตั เิ ดมิ ของตวั เอง
แตก่ ็พยายามคดิ พิจารณาดแู ล้วมนั ทกุ ข์ไง พจิ ารณาจนพน้ ไป พน้ ไป
ได้ก่อน ถงึ ไปแกค้ นอื่นได้ นเ่ี พราะปัญญาบารมีขนาดนั้นไง ขนาดที่
ว่าตัวเองก็ต้องแก้ของตวั เองไดแ้ ล้ว ถงึ แก้ของคนอน่ื ไดส้ บายๆ แล้ว
ถา้ พูดถงึ พระอยา่ งสาวกะ แลว้ วิปัสสนาขนึ้ มา จะร้ตู รงนี้ได้อยา่ งไร
เป็นสาวกะนะ เป็นสาวกนี่เฉพาะแก้กเิ ลสตวั กท็ กุ ขแ์ สนทุกข์
อยูแ่ ล้ว แล้วยังไปแก้กิเลสของพระโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์มนั ก็ตอ้ ง
กเิ ลสหนากว่า กเิ ลสหนากวา่ วา่ อย่างน้ันเลยนะ กิเลสต้องมากกวา่
ปุถุชนธรรมดาเนาะ กับสาวกะวิสัยใช่ไหม สาวกะก็ทุกข์อยู่แล้ว
พระโพธสิ ัตวน์ ปี่ รารถนาพทุ ธภมู ิ บารมใี หญม่ าก แตก่ ต็ อ้ งทกุ ขม์ าก
เพราะความยดึ ม่นั มันมากกว่า เห็นไหม แต่ท่านบอกวา่ ทำ� บญุ กับ
พระโพธสิ ตั วจ์ ะมากกว่าทำ� บุญกบั พระอรหันต์ เปน็ ไปไม่ได้ ! เถียง
หวั ชนฝาเลย เราเอาเหตุผลมาอา้ งใหเ้ ขาจนเขายอมรับ
น่ีศาสนาสอนอย่างน้นั มีปญั ญา พระพทุ ธเจ้าสอนอยา่ งน้นั
นที่ าน ศลี ภาวนา เราใหม้ ีทานก่อน ทานก็ทานทีใ่ จนัน่ นะ่ ภวาสวะ
เห็นไหม ภาชนะที่ใจเกิดข้ึน ด�ำริเกิดขึ้น นี่มันละเอียดตรงน้ัน
แต่มันละเอียดอ่อนจนเรามองไม่เห็นไง ถึงไม่มีใครรู้จักตนเลย รู้จัก
แต่คนอ่ืน มองเห็นแต่ข้างนอก ดวงตาทุกดวงตาส่งออก ดวงตา
ทุกดวงตาไม่เห็นดวงตาของตัวเอง ต้องหากระจกมาส่องเข้าไปจน
เห็นหน้าของตัวเอง ดวงตานีไ้ มเ่ คยเห็นหน้าของตวั เองเลย เห็นแต่
เรอ่ื งของคนอืน่ กระจกเทา่ น้ัน

79

ธรรมะก็เหมอื นกัน ธรรมะเหมือนกระจกยอ้ นกลับมา เหมือน
กระจกเพราะมันเป็นส่งิ กระทบเข้ามา แตถ่ ้าเราทำ� ขึ้นมาแล้ว ดวงตา
น้ันดวงตาเหน็ ธรรม ดวงตายอ้ นกลับภายใน ดวงตาเหน็ กเิ ลสทง้ั หมด
ไม่ใชก่ ระจก กระจกนมี้ นั ธรรมของพระพทุ ธเจ้าไง กู้ยมื มา ธรรม
พระพุทธเจา้ คือศกึ ษาเลา่ เรียนมา เห็นไหม ถงึ บอกปริยตั นิ เ้ี หมอื น
กบั แผน่ ดนิ แตพ่ อปฏบิ ัตแิ ลว้ เหมือนแผน่ ฟ้า แผ่นฟ้าเพราะอะไร ?
มันเว้งิ ว้างไปหมด มันรไู้ ปหมด
น่กี เ็ หมอื นกนั ธรรมะมันเกดิ ข้นึ แลว้ ดวงตาสวา่ ง ดวงตา
เหน็ ดวงตาย้อนกลบั ดวงตาเหน็ ทัง้ หมดเลย ถึงว่ามนั ถงึ แก้ทุกขไ์ ด้
จรงิ ไง ถึงวา่ ศาสนาพุทธเราน้ีประเสริฐมาก เยี่ยม เยีย่ มจริงๆ เลย
ถงึ บอกว่ามวี าสนา ทุกคนมีวาสนานะ เกดิ มาพบพุทธศาสนา

หลวงปูเ่ จี๊ยะ จนุ โฺ ท เปน็ พอ่ แมค่ รูอาจารยส์ �ำคญั อีกองคห์ นงึ่
ที่ได้เมตตาเล่าใหพ้ ระศษิ ยฟ์ งั ว่า หลวงปู่ม่ันได้แกค้ วามปรารถนา
พุทธภูมิของท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ในพระอุโบสถวัดเจดีย์หลวง
โดยย้�ำเหตุผลว่า “การเกิดทุกข์นะ เกิดซ้�ำเกิดซากน่ีทุกข์นะ”
จนทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี ยอมรบั เหน็ ชอบตามและเรง่ เจรญิ วปิ สั สนา
จนสมประสงค์

80 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

การบรู ณะปรบั ปรงุ วดั เจดยี ห์ ลวง
และจดั การศกึ ษานครเชยี งใหม่

(จากหนังสือประวัตหิ ลวงปแู่ หวน สจุ ณิ ฺโณ และ
หนังสอื สมโภชพระวิหารหลวง วัดเจดียห์ ลวง)

ตามประวัตวิ ัดเจดียห์ ลวง นบั แต่เจ้าแก้วนวรฐั เจ้าผคู้ รองนคร
เชยี งใหม่ และเจา้ พระยามุขมนตรี (อาบ เปาโรหิต) สมุหเทศาภบิ าล
มณฑลพายพั ท่านเป็นผู้มีคณุ แกช่ าวเหนอื ได้กราบอาราธนานมิ นต์
ทา่ นเจ้าคณุ อุบาลีฯ ไปพักจ�ำพรรษา เพ่อื บูรณะปรับปรุงวัดเจดยี ห์ ลวง
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐ และ เพ่อื จัดการด้านการศกึ ษาในนครเชยี งใหม่
ซ่ึงเป็นเมืองใหญ่มีผู้คนมาก แต่การศึกษายังไม่แพร่หลายเท่าไรนัก
เพ่ือให้เกิดเป็นตัวอย่างแก่ชาวเมืองเชียงใหม่ต่อไป โดยในปี พ.ศ.
๒๔๗๑ ท่านทง้ั สองทราบว่าท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ มคี วามสามารถเปน็
เลิศในด้านจัดการศกึ ษา จึงไดท้ �ำหนงั สอื กราบบังคมทูลขอทา่ นเจา้ คณุ
พระอบุ าลฯี จากพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ ๗
ซ่ึงท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ได้รับอาราธนานิมนต์และรับภาระ
เปน็ เจา้ อาวาสวัดเจดีย์หลวง ตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๔๗๑ – ๒๔๗๔ โดย
ท�ำการรวม ๓ สังฆาวาส เข้ากับ ๑ พุทธาวาส เป็นอนั เดยี วกนั (ยกเว้น
สงั ฆาวาสพนั เตาที่แยกไปเปน็ วดั พันเตา) เรียกช่ือ “วดั เจดยี ์หลวง”
ตามโบราณเรียกขานกัน
ทา่ นเจา้ คุณอบุ าลฯี ไดบ้ ูรณะปรบั ปรงุ และพฒั นาวดั มกี ารร้ือ
ถอนสิ่งปรักหักพังแผ้วถางป่าที่ข้ึนคลุมเสนาสนะโบราณสถานต่างๆ

81

แล้วสรา้ งเสรมิ เสนาสนะใหม่ เชน่ กุฏิ ศาลา พระวิหาร จนเป็นวัดท่ี
สมบูรณม์ ีภกิ ษุสงฆ์สามเณรอยปู่ ระจำ� ทา่ นได้สอนพระภกิ ษุสามเณร
ทง้ั ปรยิ ัติและอบรมปฏิบัตภิ าวนา การศึกษาเลา่ เรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม
ภายในวดั เจดีย์หลวงไดร้ บั การยอมรับอยา่ งกวา้ งขวาง กาลตอ่ มาไดม้ ี
การจัดตั้งส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรมจนกลายเป็นศูนย์กลางการศึกษา
เล่าเรียนพระปริยัติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงองค์หลวงตามหาบัว
ญาณสัมปันโน ก่อนออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมก็เคยเรียนปริยัติท่ีส�ำนัก
เรียนแห่งนี้ นอกจากนี้วัดเจดีย์หลวงยังเป็นศูนย์กลางพระกรรมฐาน
สายหลวงปู่ม่ันทางภาคเหนือ พระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นท่ีขึ้นไป
เที่ยวธุดงคกรรมฐานตามป่าเขาในเขตจังหวัดเชียงใหม่ก็มักไปพักที่
วดั เจดยี ห์ ลวงเสมอ ต่อมาในปี พ.ศ ๒๔๘๑ วดั เจดยี ์หลวงไดร้ ับการ
เลอื่ นฐานะเปน็ พระอารามหลวงชน้ั ตรี ชนดิ วรวหิ าร เปน็ วดั เจดยี ห์ ลวง
วรวิหาร และในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้รับยกย่องเปน็ วดั พัฒนาตวั อย่าง
วัดเจดีย์หลวงในสมัยท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ได้เจริญรุ่งเรือง
ตามลำ� ดบั จนถงึ ปจั จบุ นั ดังขอ้ มลู บางตอนจากหนงั สอื ประวัตหิ ลวงปู่
แหวน สจุ ณิ โฺ ณ บนั ทกึ ไวด้ งั น้ี
“การไปจ�ำพรรษาอยู่วัดเจดีย์หลวงของท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ
ครงั้ นนั้ ทา่ นไดเ้ ทศนาสงั่ สอนอบรมพระภกิ ษสุ ามเณร อบุ าสก อบุ าสกิ า
ของวัด และได้น�ำพระภิกษุสามเณรท�ำความสะอาดวัดจนดูสะอาด
เรียบร้อย นอกจากน้ีเวลากลางคืนท่านก็อบรมทุกคืน ซ่ึงท�ำให้
ไดผ้ ลตามความประสงคข์ องทางการทกุ ประการ คอื พระภกิ ษสุ ามเณร
ก็ประพฤติดีขึ้น วัดดูสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยข้ึน มีอุบาสก
อบุ าสิกา และประชาชนมาท�ำบุญฟังธรรมกนั มากข้ึน

82 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ ทา่ นกพ็ าหมคู่ ณะออกวเิ วก ตามเขตอำ� เภอ
ใกลเ้ คยี ง บางครั้งในฤดูแลง้ ทา่ นกล็ งไปทำ� ธรุ ะที่กรงุ เทพฯ พอใกล้วนั
เขา้ พรรษาท่านกก็ ลบั ขนึ้ มาจำ� พรรษาอยูเ่ ชียงใหม่ ทำ� ให้วดั เจดียห์ ลวง
ได้รบั การสนับสนนุ จากประชาชน เชน่ ท่เี คยเป็นมาแลว้ ในอดตี ท่ีผา่ น
มา”

ประวตั กิ ารอาพาธของทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

ปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ทา่ นเจ้าคุณอบุ าลีฯ ในวยั อันชราภาพอายุ
๗๕ ปี ขณะจำ� พรรษาท่ีวดั เจดยี ์หลวง จ.เชยี งใหม่ เกดิ มโี รคประจำ� ตวั
๒ อย่างขึ้น โดยต้นปี พ.ศ. ๒๔๗๓ เกิดโรคปัสสาวะพกิ าร ภายใน
พรรษาอาการอาพาธก�ำเรบิ มาก มหี มอมารักษาพยาบาล อาการ
อาพาธทเุ ลาลงแตไ่ มห่ ายขาด เมอื่ ออกพรรษาแลว้ เดนิ ทางกลบั กรงุ เทพฯ
และวันข้ึน ๘ ค�ำ่ เดอื น ๓ เกิดโรคท้องรว่ งลำ� ไส้อกั เสบ รักษาไม่หาย
เป็นแต่ทเุ ลา
ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ จำ� พรรษาทวี่ ัดบรมนวิ าส กรุงเทพฯ เกดิ โรค
ประจำ� ตัวข้นึ อกี ๑ อย่าง คือ เกิดอาการเจบ็ ปวดขาขวา เวลาเดินรู้สกึ
ขัดๆ รวมแล้วมโี รคประจำ� ตัวถงึ ๓ อยา่ ง สขุ ภาพรา่ งกายของทา่ นก็
ทรุดโทรมลงทุกวัน โดยต้นปีนี้กล้ามเน้อื ทขี่ าขา้ งขวามีอาการเจ็บปวด
จนรู้สึก ซึง่ ขาทีต่ รงน้ันในสมัยทที่ ่านยงั หนุม่ เคยเปน็ ฝีใหญ่มาครงั้ หนึง่
และเคยถูกผ่าตัดมาแล้วคร้ังหนึ่งเม่ือคราวจ�ำพรรษาท่ีวัดเจดีย์หลวง
จ.เชยี งใหม่ ต่อมาภายในพรรษาอาการเจบ็ ปวดก�ำเริบมากขน้ึ และแข็ง

83

เป็นไตยาวไปตามล�ำขาประมาณ ๓ - ๔ นิ้ว ทา่ นรสู้ ึกเจ็บและขัดใน
เวลาเดิน ท่านเคยพดู วา่ “นานไปขาข้างนี้จะพกิ าร มันจะไม่ให้เดิน”
ครนั้ ถึงวนั ท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๗๔ ท่านเจา้ คณุ
อุบาลีฯ ได้เดนิ ทางไปแสดงธรรมทว่ี ัดเขาสมอคอน จ.ลพบรุ ี โดย
อบุ าสกิ าเงก็ เป็นผ้กู ราบอาราธนานมิ นต์ ทา่ นได้เดินทางโดยสารรถไฟ
ไปและพกั แรมอยู่หนึ่งคืน ร่งุ ข้ึนวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน เวลาบา่ ย
๓ โมงเศษ พวกสัตบรุ ษุ พากันมาประชุมประมาณ ๓๐๐ เศษ เพอื่
ฟงั ธรรม ท่านเตรยี มขน้ึ ธรรมาสน์ ธรรมาสนน์ นั้ เปน็ รูปมณฑปแบบ
โบราณสูงประมาณ ๓ ศอกเศษ บันได ๕ ข้ัน ทา่ นกา้ วขาเข้าประตู
ธรรมาสน์ ขาขา้ งขวาซง่ึ พกิ ารอยกู่ อ่ นนนั้ กระทบกบั ปมุ่ หวั เมด็ ทรงมณั ฑ์
กระดูกขาตรงกบั ที่พกิ ารนัน้ หกั ท่านมสี ติรสู้ ึกตัวได้ดี ไม่ไดเ้ ปน็ ลม
หรือพลดั ตกธรรมาสน์ พอรวู้ ่าขาหกั แลว้ ทา่ นก็ข่มเวทนาและเมตตา
แสดงธรรมจนจบ จากนัน้ ก็น่งั อยู่บนอาสนะในธรรมาสน์ พวกสตั บุรุษ
เห็นวา่ การแสดงธรรมจบแลว้ แต่ทา่ นยงั ไมล่ งจากธรรมาสน์ ก็เขา้ มา
กราบเรยี นถามท่าน ท่านจงึ ไดป้ ระกาศแก่คณะสตั บรุ ุษว่า “ขาของฉนั
หกั แลว้ ”
พวกชาวบ้านได้ช่วยกันพยุงท่านลงจากธรรมาสน์ จัดการทา
น�้ำมันเข้าเฝือกตามแผนโบราณ เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว อาราธนา
ท่านกลับกรุงเทพฯ เพ่ือจะได้ไปรักษาที่โรงพยาบาล ได้โดยสารเรือ
กลบั ไปวันน้ัน ในระหว่างเดนิ ทางทา่ นมีทุกขเวทนามาก จึงไดใ้ หห้ มอ
จีน ซ่ึงอยูเ่ กาะเลื่อนเป็นผรู้ กั ษา โดยรับหมอจีนมาในเรอื ด้วย อาการ
เจ็บปวดของท่านทุเลาลงจึงไม่ไปโรงพยาบาล ตรงไปวัดบรมนิวาส
ทีเดียว ถึงวดั เวลาเทย่ี งวนั เศษของวันที่ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๔๗๔

84 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

เม่ือศิษยานุศิษย์ทั้งพระและฆราวาสทราบเรื่อง ต่างพากันมาเย่ียม
อาการอาพาธเป็นจ�ำนวนมาก และไดถ้ วายจตุปจั จยั เพอื่ เป็นก�ำลงั ใน
การรักษาพยาบาลบ้าง ปวารณาไว้บ้าง มีเจ้านายบางพระองค์ได้
เสด็จเย่ียมถึงท่ีอยู่ของท่าน ส�ำหรับการรักษาของหมอจีนไม่มีหลัก
พอจะเชื่อถือว่าโรคจะหายได้โดยวิธีน้ีจึงได้งดเสีย และได้มอบให้
นายแพทย์โรงพยาบาลเป็นผูร้ ักษาตอ่ ไป
วนั ท่ี ๑๔ พฤศจิกายน ๒๔๗๔ นายแพทยโ์ รงพยาบาลไดม้ า
ท�ำการดิ่งกระดูกขาให้เข้าท่ีและเข้าเฝือกเรียบร้อยดีแล้ว ภายหลัง
ได้น�ำเครื่องเอก็ ซเรย์มาถา่ ยดูกระดูกที่หกั ๔ - ๕ ครั้ง นายแพทย์ลง
ความเห็นว่า “ตรงที่กระดกู หกั นนั้ มีเชื้อโรค กระดกู ผไุ ม่มยี าง ยากท่ีจะ
แก้ไขให้ดีได้” ต่อมามีหมอไทยมารักษาโดยใช้วิธีอย่างเดียวกันกับ
หมอจนี ตอนนีอ้ าการดขี น้ึ โดยล�ำดับเข้าใจวา่ จะหาย จึงได้ใหร้ างวัล
หมอและส่งกลบั
ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เกิดโรคประจ�ำตวั แทรกขน้ึ อีก ๑ อยา่ ง
คือ อาการปวดทบ่ี ้นั เอวสนั หลงั ในวนั ท่ี ๒๓ มกราคม ๒๔๗๕ ขาท่ี
เขา้ ใจวา่ หายดแี ล้วนั้นกลบั มาหลุดอีก สาเหตุจากทีท่ า่ นพลกิ องค์ท่าน
เอง คร้ังนีไ้ ด้มอบใหห้ มอจีนคนหน่ึงมารกั ษา วธิ ขี องหมอนท้ี �ำให้
น่าทุเรศมาก ไม่ได้รบั ผลดีอะไรเลย กลบั ทำ� ให้มีอาการเจบ็ ปวด
มากข้ึน เพราะดง่ิ กระดกู ซง่ึ เกยกนั อยู่นัน้ ให้เข้าทเ่ี ดิมไมไ่ ด้ จงึ สง่ั ให้
เลกิ เสีย และให้แพทย์โรงพยาบาลเป็นผรู้ ักษาฝ่ายเดียว โดยมบี รุ ษุ
พยาบาลมาประจำ� อยู่หนงึ่ คน ส่วนอาการของท่านมีแตท่ รงกับทรดุ ลง
โดยลำ� ดบั และมอี าการปวดทบี่ นั้ เอวสนั หลงั เปน็ โรคแทรกขนึ้ มาประจำ�
อีก สว่ นอุจจาระธาตกุ ค็ งพกิ ารอยตู่ ามเดิมนบั แต่กระดกู หลดุ ครั้งท่ีสอง


Click to View FlipBook Version