The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-06 22:44:56

ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

Keywords: ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์

85

พยาบาลมาเป็นเวลา ๑ เดอื นกบั ๑๓ วัน มอี าการดีข้ึนบ้างเลก็ น้อย
วันท่ี ๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดล้ งเรือไปจังหวัดราชบรุ ี
ในระหวา่ งนีอ้ าการไขก้ �ำเรบิ หนักขน้ึ จึงจดั การกลับกรุงเทพฯ ถึงวันที่
๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ รวมเวลาไปกลับ ๔๘ วนั มหี มอจนี มา
รักษาไขร้ าว ๔ - ๕ วนั ไมไ่ ด้ผลดีจงึ ส่ังเลกิ อาการยิง่ ทรุดหนกั ลง
และเกิดมีเนอ้ื งอกที่หน้าอกท�ำพิษขนึ้ อกี นายแพทยม์ าจดั การผ่าตดั
เอาเนอ้ื ร้ายออก โลหติ ออกมากจนนา่ วิตก แต่ส�ำหรบั ท่านเองมไิ ด้
แสดงอาการวปิ ริต แสดงอาการอดทนต่อสกู้ ับทกุ ขเวทนาอันเป็นที่
นา่ หวาดเสียวไดอ้ ย่างองอาจ แม้เหล่าชนผ้นู งั่ ดยู ังพากนั ครน่ั คร้าม
โทมนัสแทนท่าน ข้อน้สี ่อให้รวู้ ่า ทา่ นมีก�ำลงั ใจดพี อ จนแสดงให้
เป็นคติของผู้ที่ได้เห็นเป็นอย่างดี เมื่อแผลหายแล้วมีอาการหอบ
แทรกแซงเขา้ มาอกี ถึงเดอื น ๘ มีอาการบวมมากขนึ้ ทว่ั ทงั้ องค์ สว่ น
โรคอืน่ ๆ ซึ่งมีประจำ� อยกู่ ก็ �ำเรบิ ข้นึ
ในระหว่างท่ีอาพาธน้ี ทา่ นไดท้ �ำกรณียกจิ สมภมู แิ หง่ บณั ฑติ
ควรเป็นทฏิ ฐานคุ ตแิ หง่ ศิษย์หลายประการ มีอาทิเช่น ไดน้ �ำหมู่สงฆ์
ในวดั บรมนวิ าส ท�ำอุโบสถสังฆกรรม ณ ทีอ่ ยูข่ องท่าน (หอเขยี ว)
โดยทา่ นได้แนะน�ำใหส้ งฆ์ท้ังปวงเขา้ ใจว่า วดั บรมนิวาสนีเ้ ปน็ มหาสมี า
อาศัยหลกั คือ ท่านไดส้ ดบั มาจากมหาเถรผูใ้ หญ่บอกเล่ามาโดยลำ� ดับ
อย่างหนึ่ง แลมีหลักศิลาฝังอยู่ตามมุมวัดท้ัง ๔ ทิศ เป็นนิมิต
เคร่ืองหมายอย่างหน่ึง ข้อนี้ช่ือว่าท่านท�ำให้เป็นเนติแบบแผนเป็น
อย่างดี เพราะเป็นเหตใุ ห้ตดั ความสงสัย อนั จะพึงเกิดขึ้นเปน็ ความ
ยงุ่ ยากแก่สงฆภ์ ายหลงั ชื่อวา่ เป็นผไู้ ม่มคี วามลบั ในก�ำมอื

86 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ท่านให้อุปสมบทกุลบุตรทีม่ หาสมี าน้ี ๒ ครั้ง ในพัทธสมี า ๑
ครง้ั โดยท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ใหอ้ ุปสมบทกลุ บุตรหลายคนเหมอื น
กัน แลไดแ้ สดงธรรมเทศนาใหพ้ ทุ ธบรษิ ทั ฟงั เปน็ พเิ ศษในวนั ธรรมสวนะ
ณ ทอี่ ยขู่ องทา่ น (หอธรรมวิจารณ์) หลายครง้ั กัณฑต์ ้นยก พระพุทธ
อุทาน ทที่ รงเปลง่ คราวประทบั อยู่ ณ ควงไม้มุจลินทร์ขึ้นแสดงว่า
สุโข วเิ วโก ตฏุ ฺสสฺ สุตธมฺมสฺส ปสสฺ โตฯ อพยฺ าปชฌฺ ํ สุขํ โลเก
ปาณภูเตสุ สญฺ โม. สขุ า วิราคตา โลเก กามานํ สมตกิ ฺกโม.
อสมฺ ิมานสฺส วินโย เอตํ เว ปรมํ สุขฯํ ความสงัดเปน็ สขุ ของบคุ คล
ผยู้ นิ ดแี ล้ว มีธรรมอันได้สดับแล้ว เปน็ ผูเ้ ห็นอยูซ่ ึ่งยถาภูตญาณทัสสนะ
รู้เห็นสรรพสังขารตามเป็นจริงอย่างไร ความเป็นบุคคลไม่มีความ
เบียดเบียนต่างๆ คือความส�ำรวมในสัตว์ท้ังหลาย เป็นสุขในโลก
ความที่สัตว์เป็นผูม้ ีราคะอันปราศแลว้ คือความลว่ งกามทงั้ หลายเสียได้
ด้วยประการทั้งปวงเปน็ สขุ ในโลก ความน�ำเสียซง่ึ อสั มมิ านะให้พนิ าศ
ได้เปน็ สุขอยา่ งยง่ิ ฯ
สว่ นใจความท่อี ธบิ าย ยกวเิ วก ๓ คอื กายวเิ วก จิตตวเิ วก
อุปธวิ ิเวกฯ กายวเิ วก คอื ความสงัดทางกาย จิตตวเิ วก คือ ความ
สงดั ทางใจ อปุ ธวิ เิ วก คือ ความสงดั จากกเิ ลสอันเป็นอปุ ธฯิ พอเทศน์
จบลงแล้วท่านยังได้ปวารณาไว้ว่า “ไม่เฉพาะแต่จะมีเครื่องไทยทาน
เครื่องกัณฑจ์ งึ จะเทศนไ์ ด้ เพราะพวกท่านทัง้ หลายตา่ งก็พากันมคี วาม
ร้ดู ีอยู่แกใ่ จพอแล้ว ถ้าหากเหน็ เปน็ โอกาสเหมาะ ใหพ้ ากนั มาประชมุ
ฟงั เพ่ือจะไดเ้ พมิ่ พูนความรูใ้ หม้ ากขน้ึ จะได้เป็นศรีแกต่ น ฉนั ยินดีจะ
แสดงใหฟ้ ังเสมอไมม่ คี วามรงั เกยี จเลย เพราะอายุสงั ขารก็ปรากฏอยู่
เชน่ น้ี ไม่มเี ครอื่ งหมายนายประกนั ให้ถอื ว่าเปน็ ฐานกันเอง ประหนงึ่

87

ศิษย์กับอาจารยเ์ ท่าน้นั ”
โอวาทนี้ย่อมเป็นคุณเคร่ืองส่องให้เห็นน้�ำใจอันดีงามของท่าน
เพ่อื จะแสดงสังคหวตั ถุธรรมให้ปรากฏคือท่านแสดงธรรมให้ฟัง ส�ำเร็จ
เปน็ ธรรมทานนับเขา้ ในทาน ข้อต้นกลา่ วแต่สมั มาปาสวาจา คือวาจา
เป็นดุจบ่วงเหนย่ี วน้ำ� ใจของปวงชนใหอ้ าจหาญร่นื เรงิ อยเู่ สมอ นบั เขา้
ในปิยวาจา วาจาเป็นที่น่ารัก วาจาเป็นท่ีควรฝังไว้ในหีบคือหทัย
เป็นการท่ี ๒ ทา่ นเองแมจ้ ะอาพาธไดร้ บั ทุกขเวทนาถึงเพยี งนี้ กม็ ิได้
เบื่อหน่ายในการทีจ่ ะท�ำประโยชน์ให้แก่เพอื่ นมนษุ ยด์ ้วยกัน เม่อื มอง
เหน็ ประโยชนอ์ ันดงี ามจกั เกดิ มกี ็รบี ทำ� โดยทนั ที นับเขา้ ในอตั ถจริยา
ข้อที่ ๓ การประพฤติตนให้เป็นประโยชน์ ท่านเป็นผู้หนักในสัมมา
ปฏิปัตติธรรมไม่แสดงอาการสูงๆ ต�่ำๆ มีอาการสม่�ำเสมอเป็นอันดี
เปน็ ทสี่ มาคมของคนได้ทุกชนั้ ผู้ท่ีมาส่สู ำ� นกั ของทา่ นแลว้ กเ็ ยือกเยน็ ผูท้ ่ี
ยังไม่มาก็ปรารถนาจะมานับเข้าในสมานัตตตา ความเป็นผู้มีตน
สม่�ำเสมอ สมกับค�ำท่ีท่านพูดว่า “ถ้าเราสงบอยู่เย็นเป็นสุขแต่
ผ้เู ดยี วแลว้ กช็ อื่ ว่าเปน็ สุขท้ังโลก”

88 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

กรณที ่านเจ้าคุณอุบาลฯี ขณะขาหกั ยังแสดงธรรมจนจบนน้ั
ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ สามารถแยกเวทนากับจิตได้โดยใช้ขันติ
ความอดทนอยา่ งแรงกลา้ ข่มเวทนา
กรณีนี้ครูบาอาจารย์ท้ังหลายที่ผ่านการอบรมปฏิบัติธรรม
มาอยา่ งโชกโชนแลว้ สามารถทำ�ได้ เช่น กรณหี ลวงปู่เจ๊ยี ะ จุนโฺ ท
ทา่ นเคยเลา่ ใหพ้ ระศษิ ยฟ์ งั วา่ เมอ่ื ครง้ั ทา่ นจำ�พรรษาทว่ี ดั อโศการาม
จ.สมุทรปราการ เกดิ อาพาธทเ่ี ทา้ ขา้ งหน่ึงจนออกเดนิ บิณฑบาต
ไม่ได้ เหตุเพราะท่านไปแบกยกหินก้อนใหญ่ จนเกิดอาการ
เจ็บปวดจนหลังเสียตั้งแต่บั้นเอวลงไปถึงเท้า และไม่สามารถ
บังคับระบบประสาทเสน้ เอน็ ท่ีเทา้ ได้ เวลาเดินจะกะเผลก เทา้ จะ
บิดตะแคง นวิ้ เทา้ จะคดงอกระทบไปกับพ้นื
คราวหนึ่งท่านถูกวิงวอนขอร้องให้ออกบิณฑบาต ทั้งๆ ที่
อาการเจ็บปวดที่เท้าก็ยังไม่หายทุเลาลง แต่ด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง
และเหนือกว่า ท่านจึงฝืนเดินพร้อมพูดว่า “ไอ้ขันธ์ห้ามึงจะแน่
กวา่ กหู รอื ” จากนน้ั ทา่ นกเ็ ดนิ บณิ ฑบาตอยา่ งปกติเหมอื นกับวา่
ไมม่ อี าการเจบ็ ปวดใดๆ มารบกวน จนกระดูกนวิ้ เทา้ ขา้ งทค่ี ดงอ
ทง้ั ๔ นิว้ กห็ ัก ท่านจึงบอกกบั ลกู ศษิ ยว์ ่า “กระดกู นิว้ เท้ามันหัก
แลว้ ” ซ่ึงแม่ชที อี่ ยู่ในเหตกุ ารณ์ก็ต่างพากนั รอ้ งไห้

89

โอวาททา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี กลา่ วเตอื นใจ
พทุ ธบรษิ ทั ทมี่ าเยยี่ มเยยี น

ส�ำหรับโอวาทที่ท่านกล่าวเตือนใจพุทธบริษัทที่มาเย่ียมเยียน
น้ันมใี จความวา่ “ธรรมดาการเยยี่ มคนป่วย ถา้ คนป่วยแสดงอาการ
ทกุ ข์โทมนัสเพราะเวทนาครอบง�ำใจ ผู้มาเยย่ี มจึงควรเศรา้ โศกเสยี ใจ
น้ีผู้ป่วยก็ยังแสดงอาการเบิกบานส�ำราญใจดี ก็ควรจะร่าเริงอยู่เช่น
เดยี วกนั ถ้าใครแสดงความเสยี ใจ ผู้น้นั ชอื่ วา่ พลาดจากคำ� สอนของ
พระพทุ ธเจ้า ต่างวา่ ฉันถงึ มรณภาพลงจรงิ ๆ ก็ขอใหเ้ หลา่ พุทธบรษิ ทั
พากันมสี ตคิ งที่ แสดงอาการย้มิ แยม้ แจ่มใสเปน็ ปกติ อย่ามกี ารรอ้ งไห้
ร�ำ่ ไร จะเปน็ พอใจของฉนั มาก”
คร้นั ถึงวันสรงนำ�้ ทพี่ ทุ ธบรษิ ทั เคยทำ� ประจ�ำปี วันนัน้ มอี าการ
ไขห้ นัก กย็ ังมีอุตสาหะระงบั ทกุ ขเวทนาไวร้ บั น้�ำสรง แลใหโ้ อวาท
เพ่ือเป็นเคร่ืองรักษาน้�ำใจ ปลูกความเช่ือความเล่ือมใสให้ม่ันคง
เป็นครั้งสุดท้ายโดยย่อว่า “ฉันมีความยินดีท่ีพากันมาสรงน้�ำฉันตาม
ประเพณีท่ีเคยท�ำมา นับว่าเป็นกุศลขันธ์อันยิ่งใหญ่ ขอให้พากัน
ทำ� สรณะท่ีพงึ่ ของตนใหจ้ งได้ อยา่ ปล่อยใหโ้ ลภะ โทสะ โมหะ ซึ่ง
เป็นตัวมารเข้าครอบง�ำใจจะเสียที ให้แสวงหาความดีภายใน อย่า
แสวงหาความดภี ายนอก พยายามช�ำระมลทินทางใจของตนใหส้ ะอาด
ด้วยความไม่ประมาท จึงจะชื่อว่าได้สรณะท่ีดีจริง แล้วอ�ำนวย
จตรุ พิธพรให้พอสมควรแกก่ าล

90 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

กิจส่วนท่าน ทา่ นเปน็ ผหู้ นกั ในเหตใุ นผล ทา่ นเคยพูดเสมอวา่
“ความเจ็บปวดท้ังหลายซึ่งเป็นตัวทุกขเวทนานี้ แม้จะมีก�ำลัง
แรงกล้าอย่างไรก็ดี ก็ไม่สามารถท�ำจิตของเราให้ผิดปกติไปได้”
กล่าวสรรเสริญก�ำลังน้�ำใจที่ได้ฝึกหัดอบรมมาแล้วว่า “เราไม่เสียทีท่ี
ได้พยายามทรมานอบรมจิต ทั้งวธิ ตี ่อยุทธไว้ คอยตอ่ สกู้ บั ทกุ ขเวทนา
ซ่ึงเป็นพลรบอันมีก�ำลังแรงกล้า แลเป็นอาวุธที่มีพิษอันร้ายกาจของ
พระยามัจจุราช ก็ได้เข้าประจัญบานกันอย่างถึงใจ นับว่าเรามีชัย
ทุกๆ คนท่ีได้เกิดมาในโลกจะต้องได้ประสพทุกขเวทนาอย่างนี้ท้ังสิ้น
เพราะฉะนั้นสานุศษิ ยท์ ั้งหลายให้ดขู า้ เปน็ เยี่ยงอยา่ ง แล้วอย่าได้พากัน
ประมาท ใหพ้ ากนั อุตส่าหฝ์ ึกหดั อบรมจิต สั่งสมก�ำลังจติ ไว้ใหม้ าก
จะไดน้ ำ� ออกใช้ในคราวจำ� เปน็ เช่น มที ุกขเวทนาหรอื เหตุแห่งทุกข์
อย่างอ่ืนเกิดข้ึน จะได้ต่อสู้กันอย่างองอาจ ตรงกับค�ำว่าเป็นศิษย์มี
ครู ใหท้ ำ� ตนเปน็ ผคู้ งทจี่ กั ไม่เสียคน” นเ้ี ป็นโอวาททที่ ่านพร�ำ่ สอนโดย
สงั เขป
เพราะเหตุทีท่ า่ นให้โอวาทพร�ำ่ สอนอยูอ่ ยา่ งน้ี สานศุ ษิ ยฝ์ า่ ย
บรรพชิตต่างก็พากันมีความช่ืนชมโสมนัสต่อข้อสัมมาปฏิบัติธรรมแล
โอวาทานุสาสนยี ์ของทา่ น ต้ังใจพยาบาลทา่ นอยา่ งเต็มอกเตม็ ใจไม่มี
ความรังเกยี จ แม้องคท์ า่ นเองก็ไดแ้ สดงความพอใจฝากไว้วา่ “ฉันมี
ความยินดแี ลพอใจเป็นท่ียงิ่ ในการท่ีพวกเธอทกุ ๆ รูปพากนั ออกกำ� ลัง
กายแลกำ� ลังใจ มีฉนั ทะเป็นอันเดียวกัน มาปฏบิ ัติฉนั ใหไ้ ด้รบั ความ
สุข แม้ต้องอดหลบั อดนอนท้ังกลางวันทัง้ กลางคืนกไ็ ม่มีความทอ้ ถอย
นเ้ี ป็นการปฏิบัตชิ อบย่งิ ของพวกเธอ แต่การปฏิบัตฉิ นั คราวนี้ อย่าพา

91

กันเขา้ ใจวา่ จะเอาชีวิตร่างกายของฉนั ไว้ ใหพ้ ากันต้งั ใจว่าปฏบิ ตั ิ
บูชาคุณเพ่อื เอาส่วนบุญกุศลเท่านนั้ แลจงพากนั มคี วามสุขความเจรญิ
ในพระพทุ ธศาสนาทุกๆ คนเถดิ ฯ”

พ.ศ. ๒๔๗๔ หลวงปมู่ นั่
เยยี่ มอาการอาพาธทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

(จากหนงั สือชวี ประวัติพระอาจารย์ลี ธมฺมธโร)

ในปพี รรษาที่ ๓ กน็ ึกวา่ เรา (ท่านพอ่ ลี) ต้องออกจากพระนคร
แน่ๆ ถ้าพระอุปัชฌาย์ยังหวงห้ามกีดกันอีก เห็นจะต้องแตกกัน
ในคราวนี้ มิฉะนนั้ ก็ขออ�ำนาจคุณพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ และ
สิง่ ศกั ดิ์สทิ ธิ์ท้งั หลายในสากลโลกจงชว่ ยขา้ พเจ้าโดยทางอ่นื
วันหนึ่งเวลากลางคืนนอนหงายดูหนังสือพร้อมภาวนา พอ
เคลิ้มหลับได้เหน็ พระอาจารยม์ น่ั มาดวุ า่ “ท่านอยู่ท�ำไมในกรงุ เทพฯ
ไม่ออกไปอยู่ป่า” ก็ได้ตอบท่านว่า “พระอุปัชฌาย์ไม่ยอมให้ไป”
ท่านตอบค�ำเดียวว่า “ไป” จึงได้ตั้งจิตอธิษฐานถึงท่านว่า “เม่ือออก
พรรษาแลว้ ขอให้ท่านมาโปรดเราเอาไปใหจ้ งได”้
ต่อมาไมก่ วี่ นั เจา้ คุณอุบาลีคุณปู มาจารย์ วัดบรมนิวาส เกิด
อาพาธขาหัก พระอาจารย์ม่ันก็ได้เดินทางมานมัสการเย่ียมเจ้าคุณ
อุบาลีฯ วันหนึ่งคุณนายน้อยมารดาเจ้าคุณมุขมนตรีได้ถึงแก่กรรม
เจ้าภาพได้ก�ำหนดการฌาปนกิจที่วัดเทพศิรินทราวาส คุณนายคนน้ี

92 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ไดม้ อี ุปการะแกพ่ ระอาจารยม์ ่นั สมยั ท่อี ยู่ จ.อดุ รธานี ท่านไดต้ ้ังใจมา
ในงานศพนี้ด้วย เรากบั พระอุปชั ฌายก์ ็ไดร้ บั นมิ นต์ไปในงานฌาปนกิจ
คร้ังนด้ี ว้ ย ได้ไปพบพระอาจารย์มนั่ บนเมรเุ ผาศพ มีความดใี จอย่างยิง่
แต่ไม่มีโอกาสได้สนทนากับท่านแม้แต่ค�ำเดียว จึงได้เข้าไปถามท่าน
เจ้าคุณอมราภริ กั ขติ วดั บรมนิวาส ทา่ นก็เล่าให้ฟังว่า พระอาจารย์
ไดม้ าพักอย่ทู ่วี ดั บรมนิวาส จึงได้ลาพระอุปชั ฌายไ์ ปแวะวัดบรมนวิ าส
เพือ่ พบพระอาจารยม์ ่ัน
นบั แตอ่ ุปสมบทลว่ งแล้วได้ ๔ พรรษา เพงิ่ จะได้มาพบท่าน
อกี ในคราวนี้ กไ็ ด้เขา้ ไปกราบไหว้ ทา่ นก็เมตตาแสดงธรรมให้ฟงั วา่
ขณี า ชาติ วสุ ติ งั พรหมจรยิ นั ติ แปลไดใ้ จความสน้ั ๆ วา่ พระอรยิ เจา้
ขีณาสพท้ังหลาย ท่านท�ำตนให้เป็นผู้พ้นจากอาสวะแล้วมีความสุข
นั้นคอื พรหมจรรย์อันประเสริฐ จ�ำไดเ้ พยี งเท่านี้ แตร่ ูส้ ึกว่าเราไป
น่ังฟังค�ำพูดของท่านเพียงเล็กน้อย ใจนิ่งเป็นสมาธิดีกว่าเรานั่งท�ำ
คนเดียวมากมาย ในที่สุดท่านก็สั่งว่า คุณต้องไปกับเราในคราวนี้
สว่ นอปุ ัชฌายน์ ้นั เราจะไปเรยี นท่านเอง สนทนากันไดเ้ พียงเท่าน้ันแลว้
ไดล้ ากลับวัดสระปทุม (วัดปทมุ วนาราม)
ไดเ้ ล่าเร่อื งทไี่ ด้ไปพบพระอาจารย์ม่ันให้พระอปุ ชั ฌายฟ์ ัง ท่าน
ก็นั่งฟังแล้วนง่ิ อยู่ วันรงุ่ ขน้ึ พระอาจารยม์ นั่ ไดไ้ ปทีว่ ดั สระปทุม แล้ว
พดู กับพระอุปชั ฌายว์ า่ จะให้พระรูปนต้ี ิดตามไปด้วยในเมอื งเหนือ
พระอปุ ัชฌาย์ก็อนุญาต จงึ ไดจ้ ดั แจงตระเตรียมบริขารของตน ล่ำ� ลา
สงั่ เสียเพ่ือนฝงู และศษิ ย์ ไดถ้ ามลกู ศิษยถ์ งึ มูลค่าปัจจัยในการเดนิ ทาง
ไดร้ บั ตอบวา่ เหลือเพียง ๓๐ สตางค์ เฉพาะคา่ รถจากวัดสระปทมุ ไป

93

ถงึ สถานหี ัวลำ� โพงจะต้องจ่ายถงึ ๕๐ สตางค์ คดิ แล้วคา่ รถจากวัดไป
ถงึ สถานีหัวลำ� โพงกไ็ มพ่ อเสียแลว้ จงึ ไดก้ ราบเรียนให้พระอาจารย์มน่ั
ทราบ ท่านกร็ บั รองว่าจะจัดการให้
กอ่ นจะถึงกำ� หนดเวลาประชมุ เพลงิ คณุ นายน้อย ๑ วนั ทา่ น
ไดร้ ับนมิ นต์ไปแสดงธรรมท่ีบา้ นเจา้ พระยามุขมนตรี เจ้าภาพได้ถวาย
ผ้าไตร ๑ ไตร น�ำ้ มันก๊าด ๑ ปีบ และเงนิ ๘๐ บาท ทา่ นเล่าใหฟ้ ัง
ว่าผา้ ไตรไดถ้ วายพระวัดบรมนิวาส นำ�้ มนั ก๊าดถวายพระมหาสมบูรณ์
ปจั จยั ได้แจกจา่ ยแก่ผ้ไู ม่มี เหลอื ไว้พอดคี า่ รถ ๒ คน คอื เรากับท่าน
เมื่อได้พักผ่อนพอสมควรแล้ว เจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ก็ให้ท่าน
กลบั ขนึ้ ไปเมอื งเหนอื ไดเ้ ดนิ ทางขน้ึ ไปพกั อยทู่ วี่ ดั ศลั ยพงศ3์ จ.อตุ รดติ ถ์
กอ่ นทจ่ี ะขน้ึ รถดว่ นทส่ี ถานหี วั ลำ� โพง ไดพ้ บแมง่ อ้ เนตรจำ� นงค์ ซง่ึ จะ
ได้ลงมาในงานฌาปนกิจศพคุณนายน้อยหรืออย่างไรไม่ทราบ แม่ง้อ
เคยเปน็ ศษิ ยพ์ ระอาจารย์มน่ั จึงได้รบั เป็นโยมอุปัฏฐาก ขณะเดนิ ทาง
ในรถไฟไปตลอดทาง เมื่อเดินทางถึง จ.อุตรดิตถ์แล้ว ได้ไปพัก
อยทู่ วี่ ัดศลั ยพงศ์หลายวัน แลว้ ไดอ้ อกไปพักอย่ใู นปา่ ละเมาะแห่งหน่งึ
หา่ งจากกุฏเิ ป็นท่ีเงียบสงัดวิเวกท้งั เวลากลางวันและกลางคืน

๓ วดั ศลั ยพงศ์ ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี วดั บรมนวิ าส เปน็ ผรู้ เิ รม่ิ กอ่ สรา้ งเปน็ องคแ์ รก

94 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

พระศษิ ยห์ ลวงปมู่ น่ั เยยี่ มอาการอาพาธทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลี

จากหนังสอื ประวัตหิ ลวงป่ฝู ั้น อาจาโร

เดือนถดั มา คอื เดอื นกุมภาพนั ธ์ ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ท่านเจ้า
ประคุณสมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (อ้วน ตสิ ฺโส) เม่อื คร้งั ดำ� รงสมณศกั ด์ิ
เปน็ พระราชาคณะชน้ั เจ้าคณะรองหริ ญั บฏั หรือรองสมเดจ็ พระราชา
คณะ ในพระราชทินนามที่ พระพรหมมุนี เจา้ คณะมณฑลนครราชสมี า
ท่านได้บังเกิดมีความสังเวชสลดใจ โดยได้ทศั นาการเหน็ ท่านเจ้าคุณ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นโฺ ท) วัดบรมนวิ าส กรงุ เทพฯ
ป่วยหนัก ระลกึ ถงึ ตวั เองวา่ ไม่มีกลั ยาณมิตรทด่ี ที างฝา่ ยวิปัสสนา จึง
ใคร่จะหาท่ีพ่ึงอันประเสริฐต่อไป ดังนั้น จึงตกลงใจต้องไปเอาหลวงปู่
สิงห์ และ พระอาจารย์มหาปิ่น ซ่ึงก�ำลังออกเท่ียวธุดงค์ไปจังหวัด
ขอนแก่น มาเป็นกัลยาณมติ รทด่ี ใี หจ้ งได้
เม่ือตกลงใจแล้วก็เดินทางไปโดยฐานะเป็นเจ้าคณะตรวจการ
ครน้ั ไปถงึ จังหวดั ขอนแก่นแลว้ ถามได้ทราบความวา่ หลวงป่สู ิงห์ และ
พระอาจารย์มหาปิ่นก�ำลังออกไปเทศนาสั่งสอนประชาชนอยู่อ�ำเภอ
น้�ำพอง ก็โทรเลขถึงนายอ�ำเภอให้ไปอาราธนาหลวงปู่สิงห์ และ
พระอาจารย์มหาปิ่น เอารถยนต์มาส่งถึงจงั หวดั ขอนแกน่ ในวนั น้นั
เมอ่ื หลวงป่สู งิ ห์ พระอาจารยม์ หาปิ่น มาถึงจงั หวดั ขอนแก่น
แล้ว ท่านบอกว่าจะเอาไปอย่ดู ว้ ยทจ่ี ังหวัดนครราชสมี า เพื่อปรึกษา
หารือกันด้านวิปัสสนาและอบรมสมถวิปัสสนาแก่พุทธบริษัทท้ังหลาย
ดว้ ย เพราะไดเ้ หน็ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท)

95

ปว่ ยขาหกั เสยี แล้ว ท่านสลดใจมาก
และในปีนเ้ี อง พ.ต.ต.หลวงชาญนยิ มเขต ไดถ้ วายที่ดนิ หลงั
สถานรี ถไฟ จ�ำนวน ๘๐ ไร่เศษ ใหส้ รา้ งเป็นวัด ซง่ึ ตอ่ มาก็คือ วัดป่า
สาลวนั นั่นเอง หลวงปู่สิงหจ์ งึ ไดเ้ รยี กลูกศิษยท์ ่อี ยูท่ างขอนแกน่ ลงไป
เมือ่ คณะศษิ ยานศุ ษิ ย์มาถงึ นครราชสมี า ก็ไดอ้ อกเดนิ ทางไปพกั ทส่ี วน
ของคณุ หลวงชาญนิยมเขต
รุง่ ขึ้นจากวนั ที่มกี ารถวายท่ีดนิ หลวงป่สู ิงห์ ขนฺตยาคโม และ
พระอาจารยม์ หาปิน่ ปญฺ าพโล กเ็ ดนิ ทางเข้ากรุงเทพฯ โดยเดนิ ทาง
ร่วมมากับพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ซึ่งเป็นการเข้ากรุงเทพฯ เป็น
ครั้งแรกของท่านพระอาจารยฝ์ ้นั เพ่อื เข้ามาเย่ียมอาการป่วยของท่าน
เจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นโฺ ท) ท่วี ัดบรมนวิ าส
เมื่อถึงกรุงเทพฯ ก็ได้เขา้ พักอยูท่ ีว่ ดั บรมนวิ าส ตงั้ แต่เดอื น ๓ จนถึง
เดือน ๖ ในระหว่างน้ันท่านก็ได้ฝึกสอนพุทธบริษัทวัดบรมนิวาส
ให้นั่งสมาธิภาวนา และได้ไปฝึกสอนพุทธบริษัทวัดสัมพันธวงศ์ให้น่ัง
สมาธิภาวนา มีประชาชนพุทธบริษัทมาสดับตรับฟังและฝึกหัดน่ัง
สมาธเิ ปน็ อันมากทงั้ ๒ ส�ำนกั

96 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

หลวงปแู่ หวนไปเฝา้ พยาบาลทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

(จากหนงั สอื ประวตั หิ ลวงปู่แหวน สจุ ิณโฺ ณ)

ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ขณะทห่ี ลวงปแู่ หวน จาริกภาวนาอยู่ใน
ปา่ เขตจงั หวัดเชยี งใหม่ ได้ขา่ วการอาพาธของท่านเจ้าคุณพระอบุ าลี-
คุณูปมาจารย์ (จันทร์ สริ จิ นโฺ ท) ทวี่ ดั บรมนิวาส กรุงเทพฯ
จากการบอกเล่าของครูบาอาจารย์บอกว่า ท่านเจ้าคุณพระ
อบุ าลีฯ ท่านประสบอุบัติเหตุ เม่ือข้นึ ธรรมาสนเ์ ทศน์ ขาของทา่ น
ไปขัดกับพนักของธรรมาสน์ กระดูกขาของท่านเลยหัก แต่ท่าน
ไม่แสดงอาการเจ็บปวดใหเ้ หน็ ยงั คงแสดงธรรมไปตามปกติจนจบ
แลว้ ทา่ นกล็ กุ ขนึ้ ไมไ่ ด้ ทกุ คนจงึ รวู้ า่ ทา่ นขาหกั แตส่ ามารถขม่ เวทนา
โดยไม่แสดงอาการเจบ็ ปวดให้ใครรู้เลย
เม่ือหลวงปู่แหวนทราบเร่ือง ในฐานะที่เป็นศิษย์ ท่านจึง
ประสงค์จะเดินทางลงมากรุงเทพฯ เพื่อเย่ียมอาการและถวายการ
อุปฏั ฐากรับใช้
ตามบันทึกในประวัติหลวงปู่แหวนบอกว่า ช่วงนั้นหลวงปู่มั่น
อยทู่ ่จี ังหวดั อุตรดิตถ์ จึงลงมากราบเรียนใหห้ ลวงปมู่ ัน่ ทราบเร่อื ง แล้ว
ท่านก็เดนิ ทางเข้ากรงุ เทพฯ ต่อไป
หลวงปู่แหวนได้พักอย่ใู นกรุงเทพฯ เพ่อื พยาบาลทา่ นเจ้าคุณ
อุบาลฯี นานถงึ ๑ เดือน เห็นอาการท่านดีข้ึนมากแลว้ จงึ กราบลา
ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ กลับเชียงใหม่ ด้วยมีเหตุขัดข้องเรื่องอาหาร

97

เพราะบิณฑบาตได้อาหารไม่เพียงพอ หลวงปู่เล่าว่า กลายเป็น
กรรมฐานแมวบ้าง กรรมฐานอ่ึงบ้าง คือวันไหนอาหารน้อยก็
กรรมฐานแมว เพราะเวลาแมวกินข้าวก็ค่อยๆ เลียเอา กินน้อยๆ
กลัวอาหารจะเป้ือนปาก วนั ไหนไม่ได้อาหารก็อด เปน็ กรรมฐานอง่ึ
การกล่าวเช่นน้ันเป็นค�ำอุปมาเปรียบเทียบ ไม่ได้หมายความว่าแมว
หรืออ่ึงปฏิบัติกรรมฐาน หลวงปู่กล่าวว่า “สัตว์ทั้งหลายเว้นมนุษย์
แล้ว เป็นอันไม่มีโอกาสได้ปฏิบัติธรรม เพราะวิบากของสัตว์น้ัน
ไมอ่ �ำนวย”

เหตกุ ารณว์ นั กอ่ นมรณภาพ
ถงึ วนั พระราชทานเพลงิ ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

ท่านเจา้ คณุ อุบาลฯี มรณภาพด้วยอาการสงบในอิริยาบถนง่ั ณ
กุฏเิ ขยี ว วดั บรมนวิ าส เมือ่ วันท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ คำ� นวณ
อายุได้ ๗๗ ปี พรรษา ๕๕ โดยก่อนวันมรณภาพมีเหตกุ ารณส์ �ำคญั
ดงั น้ี

วนั ที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ท่านเจา้ คณุ อบุ าลีฯ นงั่
เป็นพระอปุ ชั ฌาย์
คณุ สุดใจ สภุ สร หลานชายได้บวชและปรนนิบัตริ บั ใช้ท่าน
เคยเลา่ ใหฟ้ งั วา่ ทา่ นสงั่ ใหค้ นหามทา่ นไปนง่ั เปน็ พระอปุ ชั ฌายใ์ นโบสถ์

98 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

วัดบรมนวิ าส ข้างหลานชายทว้ งตงิ วา่ ขอใหพ้ ระรูปอน่ื ไปทำ� หนา้ ท่ี
แทนก็ได้ ท่านดุหลานทันทีว่า “มึงเข้าใจว่ากูจะไม่ตายยังง้ันหรือ
ก่อนตายควรท�ำประโยชน์เท่าท่ีจะท�ำได้จึงจะชอบ” หลังจากนั้น
อกี ๗ วัน ท่านก็มรณภาพ

วันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ คณะศิษย์หล่อรปู เหมอื น
ถวายพรอ้ มกลา่ วท�ำวตั รขอขมา
ฝ่ายคณะสัปปุรุษท้ังหลาย ทั้งที่อยู่ในกรุงเทพฯ แลอยู่ใน
มณฑล จังหวัดต่างๆ ท่ีพากันมีความปีติยินดีต่อคุณธรรมของท่าน
ได้พากันสละทุนทรพั ย์เพอ่ื พยาบาลทา่ น แลหล่อรูปแทนองค์ของท่าน
ไว้เพอื่ สกั การบชู า รูปนัน้ สำ� เรจ็ ดว้ ยโลหะธาตุ แลมีลกั ษณะสมสว่ นกบั
องคข์ องทา่ น หล่อ ณ วนั ท่ี ๒๘ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ข้อน้ีนับว่า
เปน็ นมิ ติ เครอื่ งหมายคุณความดีของท่านดว้ ย แลเป็นเครื่องหมายว่า
คณะสปั บุรษุ ท้งั หลาย ต่างพากนั ปลูกศรัทธาเลอ่ื มใส มใี จมัน่ คงแสดง
กตัญญู กตเวทิตาธรรม แลคารวะธรรมให้ปรากฏ นับว่าเป็นเนติ
อันดีงามประเภท ๑ ส่วนนายช่างหล่อท�ำรูปส�ำเร็จเรียบร้อยดีแล้ว
ได้น�ำมาในคืนวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. นี้ เวลาประมาณ ๔ ทุ่มเศษ
การหล่อรปู เหมือนพอ่ แม่ครอู าจารย์ ผู้คนส่วนใหญ่ในสมัยน้ัน
ล้วนมีความเห็นว่า หากท่านยังมีชีวิตอยู่แล้วหล่อรูปเหมือนท่านไว้
จะเป็นการแช่งให้ท่านตายไวๆ เป็นลางไม่ดี และไม่นิยมท�ำ แต่
สำ� หรับท่านเจ้าคุณอุบาลฯี กลับมคี วามเห็นวา่ “หากทา่ นตายไปแลว้
รูปเหมอื นทห่ี ล่อจะเหมือนองค์จรงิ หรือไม่ และจะทราบไดอ้ ย่างไรวา่

99

ทา่ นพึงพอใจหรอื ไม”่ ดงั นนั้ เมอ่ื คณะศษิ ยานศุ ษิ ยไ์ ดร้ ว่ มกนั หลอ่ รูป
แทนองค์ทา่ นมาถวาย ท่านไดเ้ หน็ รปู แล้วเหมอื นองคท์ ่านมาก ทา่ น
ก็แสดงอาการให้เห็นว่าเป็นที่พอใจ จึงได้ให้รางวัลแก่นายช่างด้วย
ตนเอง4
ต่อจากกาลนี้คณะสงฆ์มีพระเถรานุเถระเป็นประธาน ได้ขอ
ขมาโทษทา่ นตามสมณวตั ร ทา่ นก็ไดอ้ จั โยโทษแลให้ศลี ให้พรตามควร
วันนี้เป็นวันเข้าปุริมพรรษา พอรุ่งข้ึนก็เป็นวันมรณภาพ วันเช่นน้ี
ตามปกติพระสงฆ์ต่างวัดได้เคยพากันมาท�ำวัตรท่าน ได้มีพระสงฆ์มา
ท�ำวัตรท่านเป็นอันมาก แต่ได้ผลตรงกันข้าม คือกลายเป็นการมา
บูชาศพท่านไป
อาการก่อนหนา้ วนั มรณภาพ ท่านหยุดฉันหมาก ๒ - ๓ วัน
ตามปกติเคยฉันอย่เู สมอ ทา่ นเคยสัง่ ไว้ใหเ้ ป็นทส่ี ังเกตวา่ “ถา้ วนั ใด
ไมฉ่ ันหมากใหเ้ ขา้ ใจวา่ ไม่สบายมาก” สว่ นอาหารน้นั ฉันไดแ้ ต่นมแล
แปง้ ในวันจะมรณภาพไมฉ่ นั อะไรเลย
ในตอนเชา้ วนั ท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. นี้ ทา่ นพดู วา่ “วันน้ี
ไมต่ อ้ งฉันกไ็ ด”้ เท่าที่สงั เกตอาการของทา่ น แสดงให้เห็นว่ามอี าการ
สงบดี แมถ้ งึ นายแพทยต์ รวจดูอาการแลว้ ก็รบั รองวา่ อาการดีข้ึน
เวลาล่วงไปได้ ๑๑.๓๐ น. (เชา้ ๕ โมง ๓๐ นาท)ี ท่านถามผู้ปฏบิ ตั ิ
อย่ใู กล้ชิดว่า “เวลาไดเ้ ท่าไร” เมือ่ ไดร้ ับตอบแล้วจงึ สงั่ ให้ผ้พู ยาบาล
ชว่ ยพยงุ ลกุ ขึ้นน่ัง นง่ั อยู่ได้สักครู่หน่ึง สง่ั ใหพ้ ยงุ ลงนอน คราวนที้ า่ น

๔  อนึ่ง รูปเหมือนของท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ปัจจุบันประดิษฐานด้านข้าง
พระพิชิตมารมัธยมพุทธกาล บนศาลาอุรุพงษ์

100 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

มบี ญั ชาว่า “ทุกขเวทนามีหน้าตาอย่างนเี้ ทียวหรอื ” (เขา้ ใจว่าท่าน
คงท�ำความรู้สึกองค์ท่านได้เป็นอย่างดี ตรงกับค�ำว่ามีชัยชนะอันยึด
ไดม้ ่นั แลว้ ) จึงสั่งใหเ้ อาฉากก้ัน แล้วส่ังให้พยุงองคท์ า่ นขนึ้ นง่ั ใหต้ รง
ท�ำอาการประหน่ึงว่าจะยกมือขึ้นมาประนมไว้ท่ีน่าอก ลมอัสสาสะ
ปัสสาสะก็ดับลงเพียงนี้ โดยนัยน์ตาท้ังสองข้างคงหลับสนิทดีอย่าง
นอนหลับไปตามธรรมดา ในระหว่างนี้สงัดจากการพลุกพล่านเพราะ
พระภิกษสุ ามเณรไปฉนั เพล คงเหลอื แต่พระทป่ี ฏบิ ัติประจำ� ประมาณ
๒ – ๓ รปู แลผูพ้ ยาบาลเพียง ๒ - ๓ คนเท่าน้นั
รวมเวลาอาพาธทเี่ ดนิ ไปมาไม่ได้จนถงึ วนั มรณภาพ ๘ เดือน
กับเศษ ๗ วัน
วนั ท่ี ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. น้ี เวลา ๑๗.๐๐ นาฬิกา ได้
พระราชทานน้�ำสรงศพ แลได้รับพระราชทานโกศโถมีรองสองช้ัน
ฉัตรเบญจา ๔ ต้น ประกอบโกศเป็นเกียรติยศ เมอ่ื จัดการท่านเข้า
โกศเรยี บรอ้ ยแล้ว ได้ก�ำหนดการบำ� เพญ็ บญุ ถวายตามประเพณนี ิยม
เปน็ การใหญ่ ๓ คร้งั คือ ๗ วันตน้ คณะบรรพชิตทำ� ถวาย ๕๐ วัน
คณะอบุ าสกิ าทำ� ถวาย ๑๐๐ วันคณะอบุ าสกทำ� ถวาย สว่ น ๗ วนั
ในระหว่างๆ ไดม้ ีคณะศิษยานุศิษยแ์ ลคณะสปั บรุ ุษพากันทำ� ถวายทกุ ๆ
๗ วันมิไดข้ าด แลจัดดอกไม้สดเปลย่ี นหตั ถโกศลบชู าศพทุกๆ ๗ วัน
ในระหว่างแห่ง ๗ วัน ได้มีการสวดพระอภิธรรมทุกๆ วัน
คณะอบุ าสิกาได้พากนั จดั ของมาถวายพระภกิ ษุ สามเณร และนำ�
เครอ่ื งสกั การมาบูชาศพมไิ ด้ขาด

101

การก�ำหนดทำ� บุญ ๑๐๐ วันแลพระราชทานเพลิงมรี ายการ
ดงั นี้
วนั ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เริม่ พธิ สี วดมนต์ ๑๐๐ วนั
แลมีเทศนา ๑ กัณฑ์
วันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ องั คาสพระสงฆ์ เพลแล้ว
มเี ทศน์แลบงั สกลุ เวลาเยน็ มีเทศน์ศราทธพรต เวลากลางคนื มีสวด
พระธรรม
วันท่ี ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๗๕ นีม้ อี ังคาสพระสงฆ์ทงั้ เช้าแล
เพล เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา เคล่อื นโกศสเู่ มรุซึ่งตง้ั อยู่ในวดั นนั้ เอง
มเี ทศนบ์ ังสกุ ุลตลอดไปจนกว่าจะสดับปกรณข์ องหลวง เวลา ๑๗.๐๐
นาฬกิ า พระราชทานเพลงิ
วันที่ ๓๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เวลาเชา้ มี ๓ หาบ เวลา
๑๐.๐๐ นาฬิกา สวดมนต์ท�ำบุญอัฏฐิ อังคาสพระสงฆ์เสร็จแล้ว
มีเทศน์บงั สุกลุ แลว้ บรรจุอฏั ฐิ เปน็ เสร็จงานฯ





ภาคบรู พาจารย์

104 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

บรู พาจารย์ วดั บรมนวิ าส

วดั บรมนิวาส เป็นพระอารามหลวงชน้ั โท ชนดิ ราชวรวิหาร
เปน็ วดั ธรรมยตุ ทพี่ ระวชริ ญาณเถระโปรดใหเ้ รมิ่ สรา้ งเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๓๗๗
ประกอบด้วยพระอุโบสถ พระเจดยี ์ และกุฏิ ๑๔ หลงั การก่อสร้าง
ด�ำเนินมาจนกระท่ังพระวชิรญาณเถระลาผนวชและข้ึนครองราชย์
เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์ตั้งใจสร้าง
วัดแห่งน้ีให้เป็นวัดฝ่ายอรัญวาสีหรอื วัดฝ่ายปฏบิ ัติ คกู่ บั วัดบวรนิเวศ
วิหาร ซึง่ พระองค์ตั้งใจให้เป็นวดั ฝ่ายคามวาสหี รือฝา่ ยปรยิ ัติ ในอดตี
ท่ีต้ังของวัดอยู่นอกก�ำแพงพระนคร สภาพแวดล้อมเป็นไร่นาแบบ
ชนบทเงยี บสงบ เหมาะเป็นท่บี ำ� เพญ็ ภาวนาของพระภิกษสุ ามเณรที่
สนใจการปฏบิ ัติ

105

พระอารามได้รับการปฏิสังขรณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และปฏิสังขรณ์คร้ังใหญ่อีกครั้งในสมัย
ท่พี ระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สริ จิ นฺโท) เปน็ เจ้าอาวาส โดย
เจา้ จอมมารดาทบั ทมิ ในรัชกาลที่ ๕ และพระราชโอรสธิดา เปน็
ผู้สนับสนุนทุนทรัพย์ พระอารามยังมีเสนาสนะสร้างเพ่ิมเติมและ
ไดร้ ับปฏสิ งั ขรณ์ในสมัยเจา้ อาวาสรนุ่ ตอ่ ๆ มาจวบจนปจั จุบนั
จุดประสงค์ขององค์ผู้สร้างวัดให้เป็นวัดฝ่ายอรัญวาสี
สอดคล้องกบั เจ้าอาวาส ผู้ครองวดั ก็ชว่ ยส่งเสริมให้รุ่งเรืองตอ่ มาจนถงึ
ปจั จุบัน อดตี เจา้ อาวาสทเ่ี ป็นกำ� ลงั สำ� คัญน้ัน ไดแ้ ก่
ทา่ นเจ้าคณุ พระอมราภริ ักขิต (เกิด อมโร) อดตี เจา้ อาวาสรูป
ที่ ๒ ท่านมีความเอ้ือเฟอ้ื ต่อพระธรรมวนิ ยั และหวงั ใหก้ ารปฏิบตั ิ
หย่ังรากลึกในพระพุทธศาสนา ท่านได้รจนาหนังสือ “บุพพสิกขา-
วรรณนา” ข้นึ โดยรวบรวมรายละเอียดวธิ ีปฏิบัติตามพระธรรมวินัยไว้
อย่างพสิ ดาร เปน็ ประโยชน์อย่างมากต่อพระภกิ ษุท่ีต้องการประพฤติ
ให้ตรงตามหลักพระธรรมวินัย เพื่อเป็นรากฐานส�ำคัญในการปฏิบัติ
ธรรมขั้นสงู ตอ่ ไป
ในเวลาตอ่ มากม็ ี ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์
สริ ิจนโฺ ท) อดตี เจา้ อาวาสรปู ที่ ๕ ท่านเจ้าคุณอุบาลฯี เลิศทง้ั ด้าน
ปริยัติและปฏิบัติ ท่านสง่ เสรมิ กิจทางศาสนาท้ัง ๒ ด้าน ทา่ นยังอยู่
ในฐานะพระอาจารย์รูปหนง่ึ ของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ในเวลาท่ที า่ น
เจ้าคุณอุบาลีฯ ยังมีชีวิตอยู่ ท่านได้ยกย่องหลวงปู่ม่ันในด้านการ
ปฏบิ ตั ิใหเ้ ป็นท่ปี รากฏ เพราะสังคมในสมยั น้นั วงกรรมฐานยังไมเ่ ป็น

106 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ที่ยอมรบั ยังผลถงึ ความมน่ั คงของคณะพระกรรมฐานจนถงึ ปจั จุบนั
ในวงกรรมฐานจะกล่าวถึงพระคุณท่านด้วยความเคารพอย่างสูงว่า
“เจ้าคุณปู่ใหญ่”
ทา่ นเจ้าอาวาสรูปต่อมา คือ ท่านเจ้าประคณุ สมเดจ็ พระมหา
วีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) อดีตเจา้ อาวาสรปู ท่ี ๖ ท่านกส็ บื สานแนวทางที่
ทา่ นเจ้าคุณอุบาลีฯ ได้วางแนวทางไว้ และอุปถัมภส์ ง่ เสริมการปฏิบตั ิ
สืบต่อมา
วัดบรมนิวาส เป็นวัดทสี่ ่งเสริมทั้งดา้ นปริยัติและปฏบิ ตั ิ จึง
เป็นวัดส�ำคัญวัดหน่ึงท่ีพระกรรมฐานสายหลวงปู่ม่ัน นับแต่พ่อแม่
ครูอาจารย์หลวงปเู่ สาร์ หลวงป่มู ัน่ เดินทางมาพัก มากราบฟงั ธรรม
ปรึกษาธรรมกับท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ จวบจนพระป่าในสมัยปัจจุบันก็
มักแวะเวียนมาพักเสมอ

ทำ� ไมทา่ นพระอาจารยท์ งั้ ๓ รปู
ไมพ่ กั ทวี่ ดั บรมนวิ าส

ท่านพระอาจารย์หนู ติ ปญฺโ ท่านพระอาจารย์เสาร์
กนฺตสโี ล และทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภูริทตฺโต เปน็ ศษิ ยว์ ดั ไหน และ
สาเหตทุ พี่ ระอาจารย์หนู ติ ปญฺโ ได้รบั อาราธนามาเปน็ เจ้าอาวาส
ทว่ี ัดปทมุ วนาราม

107

เรื่องนี้ท่านพระอาจารย์ม่ันได้เมตตาเล่าไว้หลายครั้งหลาย
คราวและหลายปี ว่าการศึกษาพระปริยัติธรรมและอบรมกัมมัฏฐาน
ระยะที่ ๒ ของพระอาจารย์ทั้ง ๓ รูปนั้น ท่านได้มาศึกษาที่
กรงุ เทพมหานคร โดยมีทา่ นเจ้าคณุ พระอบุ าลคี ุณูปมาจารย์ (จันทร์
สิรจิ นโฺ ท) วดั บรมนิวาส เป็นพระอาจารย์ แตท่ �ำไมท่านพระอาจารย์
ท้ัง ๓ รูป ไม่พกั ท่วี ดั บรมนวิ าส แตม่ าพกั ท่วี ัดปทมุ วนาราม ท้ังน้ี
เพราะทัง้ ๓ รูปมคี วามผกู พนั กับวดั ปทุมวนาราม
วัดปทุมวนารามนี้เป็นพระอารามท่ีพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลท่ี ๔ ผู้ทรงเปน็ ต้นวงศค์ ณะธรรมยุต
ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๐
พรอ้ มท้งั ไดท้ รงอาราธนาเจา้ อธกิ ารกำ่� จากวัดบวรนเิ วศวหิ าร
ซ่ึงเป็นสัทธิวิหาริกของพระองค์สมัยท่ีทรงผนวช มาเป็นเจ้าอาวาสที่
วัดปทุมวนาราม ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานสมณศกั ดิ์
เปน็ พระครูเจา้ อาวาสพระอารามหลวงวิปัสสนาท่ี พระครปู ทมุ ธรรม-
ธาดา มีพระสงฆจ์ ากวัดบวรนเิ วศวิหารจ�ำนวนหนึ่ง เป็นพระอนุจรมา
จ�ำพรรษาด้วย
พระอารามแห่งน้ีอยู่ภายนอกพระนคร สถานท่ีเงียบสงบ
เหมาะแกก่ ารปฏิบตั ิกมั มัฏฐาน เจ้าอาวาสรูปแรกและรูปต่อๆ มา มี
ภมู ิล�ำเนาอยทู่ ีจ่ ังหวดั อบุ ลราชธานี จังหวดั รอ้ ยเอ็ด และจังหวดั ยโสธร
มีเฉพาะท่านเจ้าอาวาสรูปท่ี ๖ คือ พระธรรมปาโมกข์ (บุญมั่น
มนฺตาสโย) เท่าน้นั ทเี่ ป็นชาวกรงุ เทพมหานคร

108 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ก่อนอุปสมบท พระธรรมปาโมกข์ท่านเป็นมหาดเล็กใน
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ ๕ ท่านเปน็
นกั เรียนของโรงเรียนพระต�ำหนักสวนกหุ ลาบรนุ่ แรก ท่านออกบวชใน
คราวท่พี ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เสดจ็
ประพาสยโุ รปคร้ังที่ ๒ พระเดชพระคณุ มชี อื่ คล้ายพระอาจารยม์ ัน่
ภูรทิ ตฺโต และทา่ นได้ตดิ ตามพระอาจารยม์ ัน่ ออกธดุ งค์ทภ่ี าคเหนอื
และประเทศพมา่
ท่านเจา้ คณุ พระอุบาลีคุณปู มาจารย์ (จนั ทร์ สิรจิ นโฺ ท) วัดบรม-
นิวาส ได้ออกไปเรียนวปิ สั สนาอยกู่ บั ท่านเจา้ คุณพระปญั ญาพศิ าลเถร
(สงิ ห)์ เจา้ อาวาสวัดปทุมวนาราม และได้เข้ามาจ�ำพรรษาท่วี ดั ปทุม-
วนารามใน พ.ศ. ๒๔๓๙
ทา่ นเจ้าคุณพระปญั ญาพศิ าลเถร (สิงห)์ เจ้าอาวาสวดั ปทุม-
วนาราม รปู ท่ี ๓ เม่อื ก่อนพระคุณท่านเปน็ เจา้ อาวาสอยทู่ วี่ ดั พระแท่น-
ศลิ าอาสน์ จงั หวดั อุตรดิตถ์ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชา
คณะท่ี พระธรรมวโิ รจน์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว
ได้เสดจ็ ประพาสต้นไปยังวดั พระแทน่ ศลิ าอาสน์ ทรงพบทา่ นเจา้ คณุ
พระธรรมวโิ รจน์ (สงิ ห์) ทรงเล่อื มใสในวัตรปฏบิ ตั ิ เพราะพระคณุ ท่าน
เคร่งครดั ในพระธรรมวินยั ปฏิบัตกิ ัมมัฏฐาน จงึ ทรงอาราธนาให้มา
เปน็ เจา้ อาวาสที่วัดปทมุ วนาราม เพราะท่านพระครปู ทมุ ธรรมธาดา
(สิงห์ อคฺคธมฺโม) เจ้าอาวาสรปู ท่ี ๒ มรณภาพ วดั ยังวา่ งเจา้ อาวาส
ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดเ์ิ ปน็ พระราชาคณะ
เจา้ อาวาสพระอารามหลวงวปิ ัสสนา ทีพ่ ระปัญญาพิศาลเถร พร้อมท้งั

109

พระราชทานพัดงาสาน เปน็ พัดยศสมณศักดิ์
พดั งาสานน้ี พระราชทานเฉพาะพระราชาคณะเจ้าอาวาสวัด
ปทุมวนาราม ซ่ึงได้รบั พระราชทานมี ๔ รูป คือ
๑. พระปัญญาพศิ าลเถร (สิงห์) เจา้ อาวาสรูปที่ ๓
๒. พระวิสุทธิญาณเถร (ผิว) เจา้ อาวาสรปู ท่ี ๔
๓. พระปัญญาพิศาลเถร (หนู ติ ปญโฺ ) เจา้ อาวาสรูปท่ี ๕
๔. พระธรรมปาโมกข์ (พระปญั ญาพศิ าลเถร บญุ มน่ั มนตฺ าสโย)
เจา้ อาวาสรปู ท่ี ๖
หลงั จากทท่ี า่ นเจา้ คณุ พระปญั ญาพศิ าลเถร (บญุ มนั่ มนตฺ าสโย)
ได้รบั พระราชทานเลอื่ นสมณศักด์ิเป็นชั้นราชในราชทนิ นามเดมิ จึงคืน
พดั ยศงาสานเล่มนน้ั ไปที่กรมการศาสนา หลังจากนน้ั มา พัดงาสาน
ก็ไมไ่ ดอ้ ย่ทู ่วี ดั ปทุมวนารามอีกเลย
พระอาจารย์ท้ัง ๓ จึงถือว่าเคยอยู่ส�ำนักวัดปทุมวนาราม
แมแ้ ตบ่ ทนพิ นธข์ นั ธะวมิ ตุ สิ ะมงั คธี รรมะ ทท่ี า่ นพระอาจารยม์ นั่ เขยี นขน้ึ
ก็ยังใช้คำ� วา่ “พระภรู ิทตั โต (หมน่ั ) วดั สระประทมุ วัน เปน็ ผแู้ ตง่ ” สมดุ
เล่มน้ปี รากฏอยทู่ พ่ี ิพิธภัณฑ์พระอาจารยม์ ั่น ภรู ิทตโฺ ต วดั ป่าสุทธาวาส
จังหวัดสกลนคร
ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ได้เมตตาเลา่ ใหฟ้ งั ว่า ในฤดแู ล้งปหี นึ่ง ได้
พากนั จาริกไปธดุ งค์แถวจังหวัดนครนายก วันหนึง่ เวลาวา่ ง ทา่ นพระ
อาจารยห์ นู ติ ปญโฺ  ได้เล่าความฝนั ให้เพือ่ นสหธรรมิกท่อี อกธุดงค์
ด้วยกันฟงั ว่า

110 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ท่านฝันว่าได้ลอยข้ามทุ่งกว้างมุ่งหน้าสู่ทิศตะวันตก แล้ว
ลอยตำ�่ ลงๆ จนถึงพน้ื ดิน ไดม้ ีบรุ ษุ ๔ คน แตง่ ตัวคลา้ ยมหาดเลก็
สมัยโบราณ บนศีรษะใส่กระโจมแหลมๆ เหมือนคนแต่งเป็นเทวดา
เวลามีขบวนแห่ขบวนใหญ่ๆ ไดน้ �ำเสลี่ยงเข้ามาหา แลว้ ยน่ื หนังสอื
พระบรมราชโองการจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวถวาย เสร็จ
แล้วนิมนต์ท่านขึ้นเสล่ียงตั้งขบวนแห่แหนท่านเข้าเฝ้าถวายพระพร
ท่านตืน่ พอดี
หลงั จากน้นั ไมน่ านก็เป็นจริงเหมือนตามฝัน ท่านเจ้าคณุ พระ
วิสทุ ธญิ าณเถร (ผิว) เจา้ อาวาสวดั ปทุมวนารามรูปที่ ๔ มรณภาพ จึง
มพี ระบรมราชโองการ อาราธนา พระอาจารยห์ นู ติ ปญโฺ  มาเป็น
เจ้าอาวาสวัดปทุมวนารามรูปที่ ๕ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานสมณศักด์ิเป็นพระครูปทุมธรรมธาดา พระครูเจ้าอาวาส
พระอารามหลวงวิปัสสนา แล้วได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น
พระราชาคณะเจ้าอาวาสพระอารามหลวงวิปัสสนาในโอกาสต่อมา
โดยพระราชทานพัดยศงาสานเปน็ พดั ยศสมณศักดิ์
ท่านพระอาจารยม์ น่ั ได้กรุณาเลา่ ให้ฟงั ว่า การแตง่ ต้งั เจ้าอาวาส
พระอารามหลวงทส่ี ำ� คญั ๆ ในสมัยนน้ั เม่ือเจ้าอาวาสวา่ งลง หลังจากท่ี
เลือกสรรผ้ทู จ่ี ะด�ำรงตำ� แหนง่ เจ้าอาวาสไดแ้ ล้ว ต้องเขา้ เฝ้าสมเดจ็ พระ
สังฆราชฯ จะทรงพจิ ารณา ถ้ามคี วามเหมาะสมด้วยประการใดแล้ว
จงึ น�ำเขา้ เฝ้าถวายพระพรพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว
วดั ปทมุ วนารามกเ็ ชน่ เดยี วกัน เมือ่ ท่านเจ้าคุณพระวิสุทธิญาณ
เถร (ผวิ ) มรณภาพลง สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น์

111

วัดราชบพิธ ได้ถวายพระพรสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้าว่า
วัดปทุมวนารามเป็นพระอารามที่เกี่ยวเน่ืองด้วยพระกัมมัฏฐาน และ
ผูค้ นท่อี ยู่ในบรเิ วณรอบวัดกอ็ พยพมาจากลา้ นช้าง ผูท้ ่ีเป็นเจ้าอาวาส
ก็มาจากพระกัมมัฏฐานและมาจากมณฑลอุบลราชธานี ในครั้งน้ีก็
เห็นสมควรท่ีจะอาราธนา พระอาจารย์หนู ติ ปญฺโ ซึ่งเป็น
ชาวอุบลราชธานี มาเป็นเจ้าอาวาส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงเห็นดดี ้วย จึงได้มีพระบรมราชโองการอาราธนา พระอาจารย์หนู
มาเปน็ เจ้าอาวาสรปู ท่ี ๕ ดังกล่าว
พระปญั ญาพศิ าลเถร (หนู ติ ปญฺโ) เป็นสหธรรมกิ ท่รี ักและ
คุ้นเคยกนั เปน็ อย่างดยี ิ่งกบั ท่านพระอาจารยเ์ สาร์ กนฺตสีโล ท่านเปน็
พระอุปัชฌายข์ องท่านพอ่ ลี ธมฺมธโร พระอาจารย์กงมา จิรปุ โ
หลวงพอ่ พธุ านิโย

ตน้ ตระกลู กรรมฐาน

แสดงโดยพระราชสงั วรญาณ (พุธ านโิ ย)
เน่อื งในวันบูรพาจารย์ ๒ ธนั วาคม ๒๕๓๙

บรู พาจารย์ หมายถงึ อาจารย์ผเู้ กดิ ก่อนเรา ทา่ นเกดิ กอ่ นเรา
ทา่ นบวชก่อนเรา ท่านสอนเรามากอ่ น จึงไดช้ อ่ื วา่ พระบูรพาจารย์
อนั ดับของพระบูรพาจารย์ในภาคอสี าน อนั ดบั แรก ทา่ นอรยิ กวี (อ่อน)
ได้ไปอุปสมบทในส�ำนกั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี ๔
ซึ่งสมัยนนั้ พระองคย์ ังทรงอุปสมบทอยู่ ยงั ไม่ทรงลาผนวชออกมาครอง

112 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

เมือง แล้วท่านผู้น้ันก็ได้ศึกษาพระปริยัติธรรมเรียนรู้พระธรรมวินัย
แล้วก็น�ำธรรมวินัยซ่ึงถอดแบบจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า
อยู่หวั รชั กาลที่ ๔ ไปประดิษฐานคณะพระกรรมฐานธรรมยุตสงฆ์ท่ี
วัดสีทอง จงั หวดั อบุ ลราชธานี เมอ่ื สน้ิ บญุ บารมีของทา่ นอรยิ กวี (ออ่ น)
กต็ กทอดมาถึงทา่ นพนั ธลุ ะ ซงึ่ เปน็ สหธรรมกิ ของทา่ น

พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ ยงั เปน็ กวี
นกั แตง่ กลอน แตง่ โคลง

ถดั จากนัน้ ก็มาถงึ ยคุ ของพระเดชพระคุณ เจา้ พระคุณอบุ าลี
คณุ ูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนฺโท) เจ้าพระคุณอุบาลคี ณุ ูปมาจารย์
ทา่ นบริหารกจิ การพระศาสนาท้งั ฝา่ ยปรยิ ัตแิ ละท้ังฝ่ายปฏบิ ัติ ภาษา
กฎหมายเขาวา่ คันถธุระ และ วปิ สั สนาธุระ คนั ถธุระ มีหน้าทจ่ี ัดการ
บริหาร ปกครองคณะสงฆ์ตามพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ ซึ่งพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ตราเป็นกฎหมายสงฆ์ข้ึนมาเรียกว่าพระราช
บญั ญตั คิ ณะสงฆ์ และก็จัดการศึกษาพระปรยิ ตั ิธรรม คอื สอนนักธรรม
สอนบาลี สอนทง้ั การปฏบิ ัติธุดงคกรรมฐาน
เจ้าพระคุณ พระมหาเถระรูปนี้ เรียกว่า เป็นพระเถระที่
ครบเครื่อง มีทุกอย่าง ถ้าจะพูดถึงส�ำนวนโวหารของทา่ น ทา่ นเป็น
ผู้ช�ำนิช�ำนาญ นอกจากจะช�ำนาญในหลักวิชาการทางศาสนาแล้ว
ยงั เป็นกวี นักแตง่ กลอน แต่งโคลง อา่ นแลว้ ฟงั ซาบซึ้ง หลวงพ่อยงั จำ�
คำ� สอนซึง่ เปน็ ค�ำกลอนของทา่ น ทา่ นวา่ เปน็ ภาษาอสี าน ท่านบอกวา่

113

“กมั มัฏฐานโจกแกว้ แถวธรรมบเ่ ต้ืองต่อ
กมั มัฏฐานพ่อว่อมข่ ้ใี ห้หมู่เหม็น
เขาก็ลือมันแล้วกมั มัฏฐานหมเู ถ่ือน
ได้อาหารอมิ่ ทอ้ งนอนมงุ้ น่งั ธรรม”

(ค�ำแปล กรรมฐานไปท่ไี หนพะรงุ พะรังขนแต่สิง่ ของ ไมส่ นใจ
ต่อการประพฤติธรรม กรรมฐานไปโผล่ตรงนัน้ ตรงนแ้ี ละไปประพฤติ
เสียหายใหห้ มู่เหมน็ เบอ่ื คนเขาร�่ำลือวา่ เปน็ พระกรรมฐานจอมปลอม
หลอกลวงโลก ฉนั อาหารอิ่มท้องแล้วนอนเหมือนหมู ไม่สนใจข้อวตั ร
ปฏบิ ัต)ิ
อันนี้ จ�ำติดตาติดใจ บล่ มื จกั เทอื (สักท)ี อกี อนั หนงึ่ ท่านวา่

“อศั จรรยป์ ลาไหลหลดหลาด
นา่ อนาถหนหี น่ายวังตม
ผเู้ ป็นสมณ์สืบวงศบ์ ม่ ่วั ”

(ค�ำแปล ปลาไหล ปลาหลด ปลาหลาด น่าอนาถถ้ามัน
เบ่ือหน่ายในโคลนตม ผู้เป็นสมณะก็เหมือนกัน ถ้าเบื่อหน่ายใน
พระธรรมวนิ ัย กช็ ่อื วา่ เปน็ ผทู้ ำ� ลายศาสนา ไมส่ ามารถสบื สมณวงศ์ได)้
เพราะฉะนั้น ได้พูดมาถงึ ตอนทวี่ า่ เจา้ พระคณุ อบุ าลีคุณูปมา-
จารย์เป็นพระเถระที่ทรงคุณวุฒิทั้งฝ่ายคันถธุระและวิปัสสนาธุระ
เจา้ พระคุณอบุ าลีคณุ ูปมาจารย์ท�ำหน้าท่ีสองทาง สอนหนงั สอื ธรรมะ
สอนนักธรรม สอนบาลี สอนจนกระท่ังสมถกรรมฐาน วิปัสสนา-
กรรมฐาน เป็นนักปฏิบัติท่ียอดเย่ียม ขนาดขึ้นนั่งบนธรรมาสน์

114 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

พอขยบั ตัว ขาหัก ยงั น่ังเทศน์เฉย เอาซิ จนกระท่งั เทศนจ์ บแลว้
ไมย่ อมลงธรรมาสน์
“อา้ ว พระเดชพระคณุ ท�ำไมไมล่ งธรรมาสนเ์ สียที”
“มันจะลงไดอ้ ย่างไรเลา่ ขาหักแล้ว”
แสดงว่า คุณสมบัติความเข้มแข็งของจิตใจของนักต่อสู้เช่น
เจา้ คุณอบุ าลคี ณุ ูปมาจารย์นี่ หาไดย้ ากที่สดุ ในโลกน้ี

ทายาทธรรม นคี้ อื จดุ เรม่ิ ตน้
ของพระธดุ งคกรรมฐานในสายภาคอสี าน

ท่านเจ้าคณุ อุบาลคี ุณูปมาจารย์นีแ้ หละ ท่านมลี กู ศิษยส์ ององค์
องค์หนึ่งคือ สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (ตสิ ฺสมหาเถร) ตอนนมี้ าแยกสาย
กัน สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ตสิ ฺสมหาเถร) เป็นผทู้ �ำธรุ ะในฝ่ายคันถธุระ
แลว้ ลูกศิษย์อีกองคห์ นง่ึ คือ พระเดชพระคุณ หลวงปูเ่ สาร์ กนฺตสโี ล
หลวงป่เู สาร์ กนตฺ สีโล นี้ ท�ำหน้าทเี่ ฉพาะฝ่ายปฏบิ ัติฝ่ายเดียว
พระธุดงค์ในภาคอีสานที่ออกเดินธุดงค์ไปตามหัวเมืองน้อย
เมอื งใหญ่ ตามป่าตามชนบทเปน็ องคแ์ รกเท่าที่รมู้ า คอื หลวงปูเ่ สาร์
กนฺตสีโล หลังจากท่ีท่านอุปสมบทเป็นพระภิกษุสงฆ์แล้วประมาณ
๖ พรรษา ก็มาได้ลกู ศษิ ยอ์ งค์ส�ำคญั คือ พระอาจารยม์ น่ั ภูรทิ ตโฺ ต
พระอาจารย์มั่น ภูรทิ ตโฺ ต นีเ่ ปน็ กำ� ลังส�ำคัญ

115

ถา้ จะเปรยี บเทยี บผ้สู อนหนังสือ หลวงปูเ่ สารส์ อนไดเ้ ฉพาะแต่
ระดับประถมและมัธยม แตห่ ลวงปมู่ น่ั สอนถงึ ระดบั มหาวิทยาลัยจนถงึ
ปริญญาเอก ทีแรกหลวงปมู่ ั่นมาเรยี นกรรมฐานกบั หลวงปูเ่ สาร์ แต่
บุญบารมีของหลวงปู่มั่นน้ัน บุญวาสนาของท่านมีปฏิภาณรวดเร็ว
การปฏบิ ตั ธิ รรมกา้ วหนา้ ไดด้ ี แลว้ ลงผลสดุ ทา้ ยขน้ั สมถะพระอาจารยเ์ สาร์
สอนพระอาจารย์มั่น ข้ันวิปัสสนาพระอาจารย์ม่ันย้อนกลับมาสอน
พระอาจารยเ์ สาร์ อาจารย์กลบั เป็นลกู ศิษย์ ลูกศษิ ยก์ ลบั เปน็ อาจารย์
แต่ท่านก็ยังมีความเคารพต่อกันอย่างสุดซ้ึง ซ่ึงหาความเคารพของ
พระภิกษุสามเณรปัจจุบันน้ีมีต่อครูบาอาจารย์นั้น จะเปรียบเทียบ
อย่างท่านไม่ได้เลย แมว้ า่ ท่านจะเกง่ กวา่ อาจารยใ์ นทางภมู ิจิต ภูมธิ รรม
ท่านก็ไม่เคยลบหลู่ดหู ม่นิ อุปชั ฌายอ์ าจารย์ของท่าน เคารพปรนนบิ ตั ิ
อย่จู นกระทงั่ มรณภาพตายจากกนั ไป อันนีค้ อื จุดเรม่ิ ของพระธุดงค-
กรรมฐานในสายภาคอีสาน

หลวงปเู่ สารฟ์ งั ธรรมทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

พระพรหมมุนี (บู่ สุจิณฺโณ) อดีตเจา้ อาวาสวดั บรมนวิ าส ท่าน
ไดเ้ ล่าความสมั พันธ์ระหว่างทา่ นเจ้าคณุ อุบาลีฯ หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล
และ หลวงปู่มัน่ ภรู ทิ ตฺโต ซึง่ พระบรู พาจารยใ์ หญ่ท้งั สาม ตา่ งเปน็ คน
จงั หวดั อบุ ลราชธานี ตา่ งมคี วามสนทิ สนมคนุ้ เคยกนั และตา่ งใหค้ วาม
เคารพนบั ถือยกย่องภมู ธิ รรมของกันและกนั โดยหลวงปู่เสาร์ และ
หลวงปู่ม่นั ให้ความเคารพนบั ถอื ท่านเจา้ คุณอุบาลฯี ในฐานะอาจารย์

116 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

เหตุที่หลวงปู่เสาร์ได้เดินทางเข้ากรุงเทพฯ เพ่ือฟังธรรมท่าน
เจา้ คณุ อุบาลีฯ เน่อื งมาจากหลวงป่มู ั่นท่านไดเ้ ข้าฟังธรรมปรึกษาธรรม
กบั ทา่ นเจา้ คุณอบุ าลฯี ท่ีวัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ และน�ำไปปฏิบตั ิจน
ได้ผลเป็นท่ีพึงพอใจแล้ว ท่านมีความประสงค์อยากให้หลวงปู่เสาร์
ซึ่งเป็นอาจารย์ของท่าน ได้มีโอกาสเข้าฟังธรรมปรึกษาธรรมกับ
ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ บ้าง ท่านจึงได้กราบนิมนต์หลวงปู่เสาร์ ซ่ึง
หลวงป่เู สาร์ทา่ นทราบช่ือเสียงกติ ติศัพทข์ องท่านเจา้ คุณอุบาลฯี เป็น
อยา่ งดี ทา่ นจงึ ได้ตอบรบั และเดินทางเข้ากรุงเทพฯ และได้ฟังธรรม
จากท่านเจา้ คุณอบุ าลฯี บนศาลาอุรพุ งษ์ ซ่ึงกาลตอ่ มาพระกรรมฐาน
ศิษย์สายหลวงปู่มั่น ในยุคต้นๆ จะเดินทางมาพักและเข้ากราบ
ฟงั ธรรมเย่ยี มเยยี นท่านเจา้ คุณอุบาลฯี เสมอ อาทเิ ช่น หลวงปสู่ งิ ห์
ขนฺตยาคโม, หลวงปู่มหาปิ่น ปญฺาพโล, หลวงปู่ฝั้น อาจาโร,
หลวงปแู่ หวน สจุ ิณโฺ ณ, หลวงปูส่ ิม พทุ ฺธาจาโร ฯลฯ

หลวงปมู่ น่ั ออกปฏบิ ตั เิ บอ้ื งตน้ ไดศ้ กึ ษาอบรม
กบั ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

(จากประวตั ทิ ่านพระอาจารยม์ นั่ ภูรทิ ัตตเถระ
โดย ทา่ นอาจารย์พระมหาบัว ญาณสมั ปนั โน)

พระอาจารย์มัน่ ทา่ นไดเ้ ทย่ี วจารกิ ไปตามจังหวดั ตา่ งๆ มี
นครพนม เปน็ ตน้ ทางภาคอสี าน นานพอควรสมยั ออกปฏบิ ัตเิ บือ้ งตน้
จนจิตมีก�ำลังพอต้านทานอารมณ์ภายในท่ีเคยผาดโผนมาประจ�ำใจ

117

และอารมณ์ภายนอกได้บ้างแล้ว ก็เท่ียวจาริกลงไปทางภาคกลาง
จำ� พรรษาท่วี ัดปทมุ วนั พระนครฯ ระยะทจ่ี ำ� พรรษาอยวู่ ัดปทุมวัน
ก็ได้พยายามมาศึกษาอบรมอุบายปัญญาเพิ่มเติมกับท่านเจ้าคุณ
พระอบุ าลคี ุณูปมาจารย์ สริ ิจนโฺ ท ทว่ี ัดบรมนวิ าสมิได้ขาด
พอออกพรรษาแลว้ ทา่ นกอ็ อกเทยี่ วจารกิ ไปทางจงั หวดั ลพบรุ ี
พกั อยู่ถำ้� ไผ่ขวาง เขาพระงามบ้าง ถ�ำ้ สงิ โตบา้ ง ขณะทพี่ ักอยไู่ ด้มี
โอกาสเร่งความเพียรเตม็ ก�ำลัง ไมข่ าดวรรคขาดตอน ใจรสู้ ึกมีความ
อาจหาญต่อตนเองและส่ิงเก่ียวข้องต่างๆ ไม่พร่ันพรึงอย่างง่ายดาย
สมาธิก็ม่นั คง อบุ ายปัญญากเ็ กิดขน้ึ เรือ่ ยๆ มองเห็นส่ิงต่างๆ เป็นอรรถ
เป็นธรรมไปโดยล�ำดับ เวลามีโอกาสก็เข้าไปกราบนมัสการและเล่า
ธัมมะถวาย และเรียนถามปัญหาข้อข้องใจเก่ียวกับอุบายปัญญากับ
ทา่ นเจ้าคุณอุบาลฯี วดั บรมนิวาส ท่านกไ็ ดอ้ ธบิ ายวิธีพจิ ารณาปญั ญา
เพิม่ เติม ใหจ้ นเป็นท่ีพอใจ แล้วกราบลาท่านไปเที่ยววเิ วกทางถ�้ำ
สาริกา เขาใหญ่ จงั หวดั นครนายก

อคั รฐานเปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ มรรคผลนพิ พาน

เทศนก์ ณั ฑน์ ้เี กิดที่วดั ปทมุ วนาราม ความเดิมมวี า่ หลงั จาก
ทา่ นพระอาจารยม์ ั่นไปเจรญิ สมณธรรมอยู่ท่ี ถ�้ำสงิ โต หรือเรยี กอกี ช่อื
วา่ ถ�้ำไผ่ขวาง ท่านพักอยูพ่ อสมควรแลว้ กก็ ลบั เข้ากรงุ เทพฯ พักที่
วดั สระปทมุ (วัดปทมุ วนาราม) มโี อกาสกไ็ ปนมัสการ ทา่ นเจา้ คณุ พระ

118 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

อบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท) เลา่ ความเปน็ ไปในการปฏบิ ตั บิ ้าง
สนทนาธรรมบา้ ง ตามประสาศิษยแ์ ละครู ได้ปรารภถงึ การแนะน�ำ
สง่ั สอนหมูค่ ณะเชงิ ปรกึ ษาวา่ ทา่ นมีวาสนาทางน้ไี หม ท่านเจ้าคุณก็
รับรองวา่ มี
พอกลบั มาวดั สระปทมุ ทา่ นกพ็ จิ ารณาเรอ่ื งการแนะนำ� หมคู่ ณะ
เกดิ ความรขู้ นึ้ มาจากภายในวา่ อคคฺ ํ านํ มนสุ เฺ สสุ มคคฺ ํ สตตฺ วสิ ทุ ธฺ ยิ า
ได้ความว่า ฐานะอันเลิศมีอยู่ในหมู่มนุษย์ มีแต่หมู่มนุษย์เท่านั้น
ท่ีจะด�ำเนินไปสู่หนทางเพ่ือความดับทุกข์ได้ ท่านพิจารณาได้ความว่า
การแนะนำ� หมูค่ ณะเป็นไปได้อยู่
ธรรมเทศนาเรื่องนี้ ทา่ นอธิบายอา้ งอิงคัมภีร์เปน็ พิเศษ ทา่ น
ว่า ผู้ทจี่ ะมาตรัสรูเ้ ปน็ พระพทุ ธเจ้า หรือพระสาวกก็ดี ตอ้ งเป็นมนุษย์
เท่าน้ัน ทง้ั อดตี นับด้วยแสนเปน็ อเนกกด็ ี ปัจจุบนั ก็ดี ในกาลอนาคต
อันจะมาถงึ กด็ ี ผู้ท่จี ะมาตรสั รู้เป็นพระพุทธเจ้าหรือพระสาวกก็ดี มแี ต่
มนษุ ย์เท่านัน้ สว่ นเทพ อินทร์ พรหม และอบายภูมิทัง้ ๔ กไ็ ม่สามารถ
จะมาตรัสรู้ได้ เพราะวา่ กายของเทพละเอียดเกนิ ไป กายของอบายภมู ิ
๔ กห็ ยาบเกนิ ไป ส่วนมนษุ ย์อยู่ท่ามกลางแหง่ ภพทัง้ สาม โดยเฉพาะ
กามภพ ๑๑ คือ นบั ขึน้ ขา้ งบน ๖ นบั ลงขา้ งล่าง ๔ รวมเปน็ ๑๐
มนษุ ยอ์ ยตู่ รงกลาง รวมเป็น ๑๑
มนษุ ยน์ ้ี คอื อัครฐาน มีคณุ สมบตั หิ รอื องคป์ ระกอบพร้อม
ทุกอย่าง มนุษย์ผู้เลิศ มนุษย์ผู้ประเสริฐ มนุษย์ผู้มีความสามารถ
ท�ำได้ทั้งโลกียปัญญา และโลกุตรปัญญา มนุษย์อยู่ในท่ามกลาง
จะข้ึนข้างบนก็ได้ จะลงข้างล่างก็ได้ นักปราชญ์ท้ังหลาย มี

119

พระพุทธเจา้ เปน็ ต้น ทรงแนะนำ� ไว้ทง้ั สองทาง

หอธรรมวจิ ารณ์

พระพรหมมนุ ี (บู่ สจุ ณิ โฺ ณ) อดตี เจา้ อาวาสวัดบรมนิวาส
เล่าวา่ ในเบอ้ื งต้นแหง่ การออกประพฤติปฏบิ ัตธิ รรมของหลวงปู่ม่นั
ท่านมักเข้ามากราบฟังธรรมและเรียนถามปัญหาเก่ียวกับอุบายปัญญา
กับท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ท่ีวัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ เสมอ โดยท่าน
เจ้าคุณอุบาลฯี ได้จัดกุฏิที่พักใหห้ ลวงปู่มนั่ และเม่อื มโี อกาสสนทนา
ธรรมกันตามล�ำพังทุกครั้งจะสนทนาธรรมกันถึงเวลาตีสอง ท่าน
เจ้าคณุ อบุ าลีฯ กบั หลวงปู่มน่ั สนทนาปรึกษาอรรถธรรมกันอยา่ ง
เพลิดเพลินด่ืมด�่ำในธรรมะปฏิบัติของกันและกัน เวลาในการสนทนา
ธรรมผ่านพ้นไปอย่างรวดเร็วจนดึกด่ืนถึงเวลาสองนาฬิกา สถานที่
สนทนาธรรมของพระบรู พาจารยใ์ หญท่ งั้ สองเป็นสถานทม่ี งคล และ
ได้ขนานนามเพ่ือเป็นอนุสติเครื่องระลึกภาพการสนทนาธรรมดังกล่าว
วา่ “หอธรรมวิจารณ์” ซ่ึงตอ่ มาเป็นสถานทจ่ี �ำวดั ของทา่ นเจ้าประคุณ
สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (อ้วน ติสฺโส) และทีห่ อธรรมวจิ ารณ์นปี้ ัจจบุ นั
เปน็ สถานท่ีประดิษฐานพระพทุ ธรปู เจดียบ์ รรจุอัฐิธาตุ รปู เหมือน
ภาพถ่ายของบูรพาจารย์ วัดบรมนวิ าส
เร่ืองการไปศึกษาปัญหาธรรม พ่อแม่ครูอาจารย์พระศิษย์
หลวงปมู่ นั่ เลา่ วา่ ระหวา่ งทห่ี ลวงปมู่ น่ั พกั อยทู่ วี่ ดั ปทมุ วนาราม กรงุ เทพฯ
ท่านได้เดินทางด้วยเท้าเปล่าไปกราบเรียนถามธรรมะกับท่านเจ้าคุณ

120 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

อุบาลีฯ ท่ีวัดบรมนิวาส น้ัน วัดท้ังสองในสมัยน้ันอยู่ก�ำแพงนอก
พระนคร เป็นวัดที่สร้างขึ้นเพ่ือการปฏิบัติธรรมกรรมฐาน ตั้งอยู่
หา่ งไกลชมุ ชนและผคู้ นสญั จรไปมา ระหวา่ งทางเดนิ ไปมาหาสกู่ นั ตลอด
สองข้างทางสภาพบ้านเรือนมีจ�ำนวนไม่มากและต้ังอยู่ห่างไกลกัน
สภาพแวดล้อมก็เต็มไปดว้ ยธรรมชาตทิ อ้ งทงุ่ นาในชนบท บรรยากาศ
เงียบสงบ ในขณะเดนิ ท่านก็ได้พจิ ารณาธรรมไปตลอดสาย คร้ังหนึ่ง
เม่ือท่านได้รับอุบายปัญญาจากท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ท่านได้ก�ำหนด
พจิ ารณากาย โดยใช้ปัญญาวปิ ัสสนาพิจารณาใคร่ครวญ จติ ของทา่ น
เกิดรวมลง รตู้ ามความเป็นจรงิ อยา่ งชัดเจน รเู้ ทา่ กาย ร้เู ท่าเวทนา
ต่างอันต่างจริง กายอยู่สว่ นกาย เวทนาอยู่ส่วนเวทนา อิสระจากกัน
ด้วยท่านเคยปรารถนาพุทธภูมิสร้างบุญญาธิการมามากมายมหาศาล
จึงปรากฏเกิดเป็นภาพแผ่นดินทางเดินน้ันได้แยกขาดออกจากกัน
ในขณะจิตรวมลง จิตของท่านพาดกระแสเข้าสู่พระนิพพาน
เป็นอกุปปธรรม ซ่ึงท่านได้บรรลุอริยธรรมเบื้องต้นข้นั โสดาบนั เป็น
ปฐมฤกษ์ในอิริยาบถเดินน่ันเอง จากน้ันท่านก็เดินทางไปถ�้ำสาริกา
จ.นครนายก เพอื่ บำ� เพญ็ ธรรมขนั้ สงู ต่อไป ซงึ่ ท่านไดบ้ รรลอุ ริยธรรม
ขน้ั สกิทาคามีและอนาคามที ่ถี ำ้� แหง่ นี้

121

หลวงปมู่ น่ั กำ�หนดจติ ดทู า่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

(จากประวตั ิท่านพระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตั ตเถระ)

จวนจะถงึ วนั ลงจากถ�้ำ (ถ้ำ� สารกิ า) ตอนกลางคนื ราว ๔.๐๐
นาฬกิ า คอื ๑๐ ทมุ่ ท่านคดิ ถงึ ท่านเจา้ คุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ วัด
บรมนิวาส ว่าเวลาน้ที า่ นจะพิจารณาอะไรอยู่ จึงก�ำหนดจติ สง่ กระแส
ลงมาดูท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ก็ทราบว่าเวลาน้ันท่านก�ำลังพิจารณา
ปัจจยาการ คอื อวิชชาอยู่ ท่านอาจารย์ทราบแลว้ ก็จดจำ� วนั ไว้ เวลา
ลงมากรุงเทพฯ ได้โอกาสก็เรียนถามท่านตามท่ีตนทราบมาแล้ว
ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี พอไดท้ ราบเทา่ นนั้ เลยตอ้ งสารภาพและหวั เราะกนั
พักใหญ่ พรอ้ มท้งั ชมเชยว่า “ทา่ นม่ันนีเ้ กง่ จริง เราเองเป็นขนาด
อาจารยแ์ ตไ่ มเ่ ปน็ ทา่ นา่ อายทา่ นมน่ั เหลอื เกนิ ทา่ นมนั่ เกง่ จรงิ ” แลว้ ก็
กล่าวชมเชยวา่ “มนั ต้องอยา่ งน้ซี ิ ลกู ศิษย์พระตถาคต ถงึ จะเรยี กวา่
เดินตามครู พวกเราอย่าท�ำตัวเป็นโมฆะจากธรรมของพระพุทธเจ้า
เสียหมด ต้องมีผู้ทรงธรรมท่านไว้บ้าง สมกับธรรมเป็นอกาลิโก
ไมป่ ล่อยให้กาล สถานที่ และความเกียจคร้านเอาไปกินเสียหมด
ธรรมจะไม่ปรากฏแก่โลก ท้ังที่พระพุทธเจ้าประกาศสอนแก่หมู่ชน
ต้องท�ำอย่างทา่ นมนั่ ที่ได้ความรตู้ ่างๆ มาเลา่ สู่กันฟงั อย่างน้ี จงึ เป็นท่ี
น่าชมเชย”
ท่านเลา่ ใหฟ้ งั ว่า ทา่ นเจา้ คุณอบุ าลฯี เลื่อมใสและชมเชยทา่ น
มาก บางครั้งเวลามเี รอ่ื งราวตา่ งๆ ทท่ี ่านไมแ่ น่ใจวา่ จะควรพิจารณา
และตัดสินใจอย่างไรจึงจะถูกต้องเหมาะสม ท่านยังให้พระมานิมนต์

122 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ท่านพระอาจารย์มั่น ไปช่วยปรึกษาและมอบเรื่องราวให้ท่านไป
พจิ ารณาช่วยกย็ ังมี พอควรแกเ่ วลาแล้วท่านก็เดินทางไปภาคอสี าน

จอมปราชญท์ งั้ สองฉลาดมาแตเ่ ปน็ ฆราวาส

(จากประวัติทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทัตตเถระ)

เท่าที่ทราบจากครูอาจารย์ที่เคยอยู่กับท่านมาก่อนว่า ถ้ามี
เฉพาะทา่ นทม่ี ีภมู จิ ิตใจสูงอยู่กับทา่ น การวางตวั ท่านกป็ ล่อยตามนิสัย
ที่รู้จักท่านดีแล้ว คือแสดงกิริยามรรยาทธรรมดาสบายๆ เหมือน
ผู้ใหญ่อยู่ด้วยกัน ไม่ค่อยเข้มงวดกวดขันนัก แต่การเปลี่ยนแปลง
มรรยาท ท่านร้สู ึกเปล่ยี นแปลงไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ จนตามแทบไมท่ นั อยู่
สถานท่ีแห่งหน่ึงเป็นอย่างหน่ึง สถานท่ีแห่งหน่ึงเป็นอีกอย่างหนึ่ง
ตามแต่เหตุการณ์ที่ควรเปล่ียนแปลงไปตามสถานที่บุคคลน้ันๆ และ
เปล่ียนแปลงได้อย่างรวดเร็วทั้งไม่ซ้�ำรอยกันเลย นับว่าเป็นเรื่องที่
แปลกประหลาดสำ� หรบั ผไู้ มส่ ามารถทำ� อยา่ งทา่ นได้ เวลาวา่ งโอกาสดๆี
ท่านก็เล่านิทานให้ฟัง ซ่ึงโดยมากมักขันๆ และน่าหัวเราะท้ังนั้น
จึงขอยกเร่ืองท่านมาเล่าให้ท่านผู้อ่านฟังเล็กน้อย พอทราบว่า
คนๆ เดียวมีการเปลี่ยนแปลงตัวอยา่ งนา่ อศั จรรย์
คือสมยั ท่านเป็นฆราวาสกำ� ลังแตกหนมุ่ ทา่ นเคยเปน็ หมอล�ำ
หมอเพลง คราวหนึ่งท่านข้ึนไปขับล�ำท�ำเพลงประชันกันกับหญิงสาว
ซ่ึงเป็นนักประชันที่มีช่ือคนหนึ่งในงานใหญ่ มีคนไปในงานนั้นเป็น

123

พนั ๆ ทา่ นนกึ สนุกข้นึ มากข็ ้ึนไปบนเวทีขอประชนั เพลงกบั หญงิ คนน้นั
หรือทา่ นอาจมรี ักเขาบา้ งกท็ ราบไมไ่ ด้ จงึ เกดิ ความฮึกหาญข้นึ มาอยา่ ง
คาดไม่ถงึ หญิงนนั้ ก็ยนิ ดีเป็นคแู่ ข่งกบั ทา่ น พอเรมิ่ กลอนประชันยงั ไม่
ถงึ ไหน ทา่ นกเ็ ปน็ ฝา่ ยแพ้กลอนเขาเข้าไปสองสามกลอนแลว้ พอดีมี
เทวบุตรมาโปรดไวท้ นั คือในงานนัน้ ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์
ซ่งึ เวลานัน้ ท่านเป็นฆราวาสและอยู่ในวัยหนุ่มเชน่ เดยี วกนั แต่อายแุ ก่
กว่าท่านอาจารยม์ ั่นบ้างกไ็ ปงานนน้ั ดว้ ย และเขา้ ฟังเพลงระหว่างทา่ น
อาจารย์ม่ันซึ่งเป็นชายหนุ่มกับหญิงสาวคนนั้นขับเค่ียวกันในเชิงกลอน
ต่างๆ
ทา่ นเจา้ คุณอบุ าลฯี เห็นทา่ ไมไ่ ดก้ าร เพราะฝ่ายเราคือท่าน
อาจารย์ม่นั แพ้เขาไปหลายกลอนแลว้ กวา่ ตกดกึ ไปกวา่ นีค้ งจะลงเวที
ไม่ได้แน่ อาจจะถูกหญิงสาวคนน้ันหามลงแบบไม่มีหน้าติดตัวลงมา
เลย เพราะหญิงสาวเป็นนักต่อสมู้ าหลายเวทีแล้ว ส่วนคนของเราเพ่ิง
จะเริม่ ข้ึนเวทีและกใ็ จป�ำ้ ฮกึ หาญส�ำคญั โดดขึ้นส้กู บั เสือโคร่งใหญล่ าย
พาดกลอน แม้จะเป็นเสอื ตวั เมียมนั กม็ ีเขีย้ วเต็มปากอย่างพอตวั แต่
เสอื เราแม้จะเปน็ เสือตัวผู้ แต่ฟันน้�ำนมมันกเ็ พิง่ จะออกไม่ก่ซี ี่ ขนื ให้
สูต้ อ่ ไปเสือตัวเมียต้องถลกหนงั มนั เข้าตลาดแน่ๆ อ้ายมัน่ น่ีมันไม่รู้จัก
เสือ มนั นกึ วา่ แต่สาวๆ เท่าน้ัน แต่มนั ไมร่ ู้จกั ตาย เราต้องเข้าช่วยเอา
หนังมนั ไวก้ อ่ นคร้ังน้ี ไมเ่ ชน่ น้นั หนงั มันจะเข้าตลาดแนน่ อน พอคิด
แล้วกโ็ ดดขึน้ บนเวทีทำ� ท่าว่า “อา้ ยมน่ั อา้ ยหา่ กเู ที่ยวตามหามงึ แทบ
ตาย แม่มึงตกเรอื นสงู ๆ ลงมากองอยูก่ ับพื้น จะตายหรือยังกไ็ ม่แน่ใจ
เลย พอกโู ผลเ่ ขา้ ไปจะช่วย เขากใ็ ชใ้ หก้ ูมาเที่ยวตามหามึงตง้ั แตว่ ันๆ
จนปา่ นน้ี กูตามหามงึ แทบตาย ข้าวกย็ ังไม่ตกท้องเลย กูจะเป็นลม

124 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ตายอยูเ่ ดี๋ยวนี้”
ทางอ้ายม่ันก็ตกตะลึง หญิงสาวก็ตกตะลึงในอุบายไปตามๆ
กัน ฝ่ายอ้ายม่ันอดไม่ได้รีบถามข้ึนมาทันทีว่า “แม่กูเป็นยังไงวะอ้าย
จนั ทร”์ (ช่อื ท่านเจา้ คุณอบุ าลฯี วา่ นายจนั ทร์สมัยเปน็ ฆราวาส ท่าน
พดู กันตอนเปน็ ฆราวาส) ฝา่ ยอา้ ยจันทรก์ ท็ ำ� เป็นอดิ โรยจะเปน็ ลมตาย
อยู่บนเวทีว่า “กูคิดว่าแม่มึงตายแล้ว ส่วนกูก็ก�ำลังจะตายด้วย
ทั้งหิวขา้ ว ทั้งเป็นลม” พอจบคำ� อา้ ยจันทร์ก็ฉดุ แขนอ้ายมั่นทำ� ทา่ ลาก
กันลงมาจากเวทีทา่ มกลางคนเปน็ พันๆ ตกตะลึงพรึงเพรดิ ไปตามๆ กนั
แลว้ พากันออกว่งิ ผ่านฝงู คนไปอย่างรีบดว่ น พอพน้ หมบู่ ้านนน้ั ไปแลว้
อ้ายมน่ั กถ็ ามซำ้� อีกอยา่ งกระหายอยากทราบเป็นกำ� ลังวา่ “แม่กูไปท�ำ
อะไรถึงได้ตกเรือนจนขนาดกองกับพื้นเล่า” ฝ่ายอ้ายจันทร์ก็ตอบว่า
“กเู องกย็ ังไม่ทราบสาเหตชุ ัด พอมองเหน็ และจะวง่ิ เข้าไปชว่ ย เขา
ก็ใช้ให้วิ่งตามหามึง กูก็วิ่งมานี้จะไปรู้เร่ืองละเอียดลอออย่างไรเล่า”
“เท่าท่ีมึงดูบ้างแล้ว แม่กูจะพอตายไหม” อ้ายมั่นถามอย่าง
กระวนกระวาย อา้ ยจันทร์ตอบว่า “ตายหรอื ยังอยู่ เรากไ็ ปดูเองอยู่
ขณะนย้ี ังไงละ่ ”
พอเลยหมบู่ า้ นไปไกลกะวา่ อา้ ยมน่ั จะไม่กลา้ กลับมาคนเดยี วได้
อีกแล้ว (สมัยกอ่ นหมู่บ้านอยหู่ า่ งกนั มาก สตั ว์เสอื ผีกช็ มุ ใครๆ จงึ ไม่
กลา้ มาคนเดยี วในเวลาค�่ำคืน) จงึ เปลยี่ นกริ ยิ าอาการทุกอยา่ งเสยี ใหม่
แล้วบอกกับอ้ายม่ันโดยตรงวา่ “แม่มึงไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไรหรอก ท่กี ทู ำ� ท่า
อยา่ งน้นั กทู นดูมึงติดกลอนอียายเมยี มึงคนน้ันไมไ่ หว กลัวมันจะ
ถลกหนงั มงึ ไปขายตลาด ซึง่ เปน็ การขายหนา้ กูและขายหนา้ บา้ นเราวา่

125

อ้ายม่ันส้ผู ูห้ ญิงไมไ่ ด้ ให้เขาเปดิ ผา้ ลบลายเลน่ เหมือนเสือตายแล้ว กู
จึงได้คิดอุบายหลอกมึงและหลอกอียายเมียมึงให้มันตายใจและให้
ชาวบ้านเชอื่ ถอื ไดว้ ่า มงึ ยังไม่หมดประตูสู้ แตต่ อ้ งหนไี ปเพราะเหตุ
สดุ วสิ ยั แล้วฉดุ มงึ หนเี พ่อื ไม่ให้ใครเขาจับพิรุธได้ แมอ้ ยี ายเมียคูแ่ ข่ง
มึงก็เห็นอดตกตะลึงไปตามอุบายอันแยบคายของกูไม่ได้ มันต้อง
สนใจฟังและมองตามพวกเราด้วยความตกใจ และสงสารแม่มึงและ
มึงไปตามเรา เห็นไหม อุบายกูช่วยมึงออกจากนรกผู้หญิงคราวน้ี
มึงคิดว่าแยบคายดพี อใชไ้ หม”
พออา้ ยจนั ทร์พดู จบลง อา้ ยมั่นอุทานว่า “โอ้โฮ น่าเสยี ดาย
อ้ายห่าน่ีท�ำกูถึงขนาดนี้เทียวนะ กูก�ำลังคันฟันห�้ำหั่นกับมันอย่าง
สนกุ สนาน มงึ มาฉดุ กูออกจากถ้วยลาภ แมม่ ึงทำ� กูอยา่ งถนัด กมู ไิ ด้
นึกเลยอ้ายจนั ทร์ กูอยากคนื ไปซำ้� มนั อกี เอาหนงั เข้าตลาดในคนื วันนี้
จนได้” อา้ ยจนั ทรต์ อบ “โธ่ มึงจะตายกชู ว่ ยชุบชีวติ ไว้ได้แล้วมงึ ยัง
กลับท�ำทา่ อวดเกง่ อยอู่ กี เดย๋ี วกูจะผลักหลงั กลบั คืนไปใหอ้ ียายเมยี มึง
เอาเนื้อขึ้นเขียงเสียในคืนน้ีไม่ดีหรือ” อ้ายม่ันออกท่าว่า “ท่ีกูท�ำท่า
ตดิ กลอนมันบา้ งพอให้มนั ไดใ้ จไปหน่อยน้ัน เพราะกูเหน็ มันเป็นผู้หญิง
พอตกดึก กูก็มัดมันเข้ากระสอบเอาไปขายกินอย่างหวานๆ ยังไงล่ะ
มงึ ยังไมร่ ้อู ุบายกูเปน็ อบุ ายเสือหลอกลิงเลย”
“ถ้ามึงเก่งจริงดังที่คุยโม้ เพียงกูคิดอุบายนิดหน่อยฉุดมึงขึ้น
จากนรกผู้หญิงมึงยังตกตะลึง ทงั้ จะร้องห่มร้องไห้ตอ่ หนา้ เมียมึงอย่าง
ไมค่ ิดอายว่าตวั เป็นผชู้ ายเลย แลว้ ใครจะชมมงึ ว่าฉลาดพอจะเอาอยี าย
เมียมึงเข้ากระสอบล่ะ กูคิดเห็นแต่มันจะมัดมึงโยนลงเวทีต่อหน้าคน

126 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

จ�ำนวนพันๆ เท่านั้น มึงอย่าคุยโม้ไปมาก รีบสาธุอุบายเมตตากู
ทม่ี ตี ่อมึงดีกว่า อา้ ยแพ้ผู้หญิง” สดุ ทา้ ยคืนนน้ั ทัง้ อา้ ยจนั ทรท์ ้งั อา้ ยม่นั
เลยไมไ่ ดด้ งู านตามความคาดหมายไว้ เพราะเรอ่ื งน้ีเปน็ สาเหตใุ หต้ ้อง
พรากงาน
ฟังนักปราชญ์ท้ังสองโต้กันแม้สมัยท่านยังเป็นฆราวาสก็ยัง
รสู้ กึ นา่ ฟังมาก ถงึ จะเปน็ เรือ่ งโลกๆ แตก่ เ็ ปน็ เชงิ ของคนฉลาดพูดกัน
จึงเป็นที่ซาบซ้ึงจับใจในอุบายท่ีแสดงออกทุกๆ ประโยค ฟังแล้ว
ท�ำให้เพลินใจประหน่งึ ท่านสนทนากนั อยูต่ ่อหนา้ เราฉะนนั้ เรอื่ งของ
ทา่ นท้งั สองโตก้ ันยังมอี กี แยะ แตเ่ ห็นว่าเทา่ ทกี่ ลา่ วมาก็พอเป็นคติแก่
พวกเราพอสมควร อบุ ายของทา่ นทง้ั สองแสดงใหเ้ หน็ ไดช้ ดั วา่ มเี คา้ แหง่
ความฉลาดมาแตเ่ ป็นฆราวาส ฉะน้ัน เวลามาบวชเปน็ พระ ทา่ นจึง
เปน็ จอมปราชญท์ ง้ั สององคใ์ นสมยั ปจั จบุ นั ปรากฏชอ่ื ลอื นามกระเดอ่ื ง
เล่ืองลือทั่วประเทศไทยว่า ท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์และท่าน
พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ัตตเถระ เป็นจอมปราชญ์ในสมยั ปจั จุบนั
ท่ีเขียนว่าอ้ายจันทร์และอ้ายม่ันน้ัน เขียนตามท่ีทราบจาก
ท่านเล่าให้พระฟังเวลาท่านเปิดโอกาสสบายๆ กับบรรดาศิษย์ที่
เคร่งเครยี ดต่อการระวงั ในท่านมาเป็นประจ�ำ หากเป็นการไม่บงั ควร
ประการใด ก็ขอประทานโทษท่านเจ้าพระคุณทั้งสองและท่าน
ผอู้ ่านท่ัวๆ ไปดว้ ย ถา้ จะเล่ยี งเขยี นตามศพั ท์นิยมก็ไมถ่ นัดใจ ทท่ี ่าน
เรยี กกันเชน่ น้นั เข้าใจวา่ ท่านนยิ มนบั ถือกนั ด้วยคำ� พดู ทำ� นองนั้น
ซ่ึงเราเองก็เคยใช้ต่อกันระหว่างบุคคลท่ีสนิทสนมกันตามฐานะ
และวัยเสมอมา จึงได้เขียนตามเค้ามาดั้งเดิม จะหยาบคายหรือ

127

ละเอียดประการใดก็ประสงค์ใหเ้ ป็นไปตามเร่ืองเดิม ซ่ึงเป็นธรรมชาติ
แทท้ ี่ท่านใช้กันในเพศและวัยน้นั รู้สกึ สะดวกใจและอาจมองเหน็ ภาพ
ท่านทงั้ คราวเป็นฆราวาสท่ีกำ� ลังคะนองรน่ื เริง และภาพท่เี ปน็ นักบวช
ซง่ึ สละความเป็นโลกออกอยา่ งส้ินเชิง มแี ต่ความอัศจรรย์ล้วนๆ อยู่ใน
องค์แหง่ พระทา่ นเวลาบวชแลว้
ขณะท่านเล่านิทานให้ฟังน่าฟังมาก โดยมากก็เป็นเรื่องสมัย
ปัจจุบันมากกว่าจะเป็นนิทาน ท่านชอบชมเชยความฉลาดของท่าน
เจ้าคุณอุบาลีฯ ให้ฟังเสมอ คร้ังหน่ึงท่านเล่าว่าท่านสนทนากับท่าน
เจ้าคณุ อบุ าลฯี ถงึ พระเวสสนั ดร พอไดโ้ อกาสทา่ นเรียนถามถงึ แมข่ อง
พระนางมัทรคี อื ใคร ไมเ่ หน็ กลา่ วไวใ้ นคมั ภีรห์ รือค้นหาไม่พบตา่ งหาก
ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ก็ตอบขึ้นทันทีว่า ท่านยังไม่เคยเห็น
ไมเ่ คยได้ยินแมน่ างมทั รบี ้างหรอื เขาเหน็ กนั ทง้ั บ้านท้งั เมือง ทา่ นมวั
ไปหานางมัทรีอยู่ท่ีไหนถึงไม่ได้เห็นกับเขา ท่านพระอาจารย์ม่ัน
กราบเรียนวา่ ยังไมเ่ คยเหน็ เลย ไมท่ ราบวา่ อยใู่ นคมั ภรี ์ไหน ทา่ นตอบ
ทนั ทวี ่าจะอยู่ในคมั ภีรอ์ ะไรทไ่ี หนกัน กส็ าวอบผูพ้ ดู เสียงดงั ๆ บ้านแก
หลงั ใหญๆ่ อยู่สี่แยกทางออกไปวดั ยงั ไงล่ะ
ท่านพระอาจารย์ม่ันเกิดงงต้องเรียนถามท่านอีกว่า สี่แยก
ที่ไหนและทางออกไปวัดไหน ท่านไม่เห็นกล่าวเร่ืองวัดเร่ืองวาไว้เลย
ท่านตอบว่า ก็แม่นางมัทรีบ้านแกอยู่เกือบติดกับบ้านท่านอย่างไรล่ะ
ท�ำไมยังไม่รู้กระท่ังนางมัทรีและสาวอบแม่นางมัทรีเข้าอีก ท่านนี้แย่
จริงๆ เพียงนางมัทรีและสาวอบในหมู่บ้านเดียวกันยังไม่รู้อีก ท่าน
จะไปเท่ียวหาแม่นางมัทรใี นคมั ภรี ์ไหนกันอกี ผมก็แย่แทนทา่ นถ้าเปน็

128 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

อยา่ งนี้ ทา่ นอาจารย์ก็ระลกึ ไดท้ นั ทเี มือ่ ทา่ นพดู ว่านางมัทรแี ละสาวอบ
ท่ีอยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน แต่ก่อนมัวไปนึกภาพในเรื่องพระเวสสันดร
ในคมั ภีรโ์ น้น จึงทำ� ให้งงไปนาน
ท่านว่า ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ท่านฉลาด โต้ตอบด้วยอุบาย
แปลกๆ อย่างนเี้ สมอมา ทา่ นมักโตต้ อบแบบศอกกลบั เสมอ ท�ำเอา
ผู้ฟงั งงไปตามๆ กนั และกไ็ ดส้ ตปิ ญั ญาจากอุบายทา่ นตลอดมา ทา่ น
เล่าทั้งหวั เราะขนั ตัวท่านเองท่ีไมท่ ันลกู ไมท้ า่ นเจา้ คุณอุบาลีฯ

หลวงปมู่ น่ั รบั เปน็ เจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวง

(จากหนงั สือชีวประวตั ิพระอาจารยล์ ี ธมฺมธโร)

ปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ภายหลงั งานฌาปนกจิ ศพท่านเจา้ คุณ
อบุ าลีฯ หลวงปู่ม่นั ทา่ นรบั เป็นเจา้ อาวาส วัดเจดยี ห์ ลวง พรอ้ มทั้ง
ต�ำแหนง่ อุปัชฌาย์ ในชว่ งเวลาสัน้ ๆ จากนน้ั ท่านก็ออกเที่ยวธดุ งค์ทาง
ภาคเหนอื ตอ่ ไป โดยหนังสือชวี ประวัติพระอาจารย์ลี ธมมฺ ธโร บันทกึ
ไว้ดังนี้
อยตู่ อ่ มาเมอื่ ออกพรรษาแลว้ ทางวัดบรมนวิ าสได้จัดงานเพ่อื
ฌาปนกจิ ศพเจา้ คุณอบุ าลีฯ พระผู้ใหญท่ อ่ี ยวู่ ดั เจดยี ์หลวงได้ทยอยมา
เพื่อช่วยงานเกือบหมด เจ้าอาวาสได้มอบให้พระอาจารย์ม่ันเฝ้าวัด
เจดีย์หลวง เม่ือเสร็จงานฌาปนกิจได้เห็นหนังสือฉบับหน่ึงมีถึงพระ

129

อาจารย์มัน่ ตัง้ ใหท้ ่านเป็นอุปัชฌาย์ ทา่ นไดเ้ ปิดออกอา่ นมีใจความว่า
พระอาจารย์ม่ันขอให้ท่านรับเป็นเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง พร้อมทั้ง
ต�ำแหนง่ อปุ ชั ฌาย์ สั่งใหเ้ จา้ แกว้ นวรัฐ ณ เชียงใหม่ เปน็ ผ้เู เทน การ
ขอให้พระอาจารย์ม่ันท�ำหน้าที่แทนเจ้าอาวาสเดิมต่อไป สรุปได้
ใจความส้นั ๆ อยา่ งน้ี พอท่านไดท้ ราบเรือ่ งราวแลว้ ท่านกเ็ รยี กไปหา
แล้วพูดวา่ เราตอ้ งออกจากวัดเจดยี ์หลวงไปอยทู่ ีอ่ ่ืน

ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี หลวงปมู่ น่ั ครบู าศรวี ชิ ยั

(จากบนั ทึก พระธรรมดิลก วดั เจดีย์หลวง จ.เชยี งใหม)่

ทา่ นพระอาจารย์มั่น ทา่ นพระอาจารย์ใหญแ่ ห่งสายวปิ สั สนา
กัมมฏั ฐาน ไดเ้ คยพ�ำนกั อยวู่ ดั เจดยี ์หลวงรว่ มสมยั กับพระเดชพระคุณ
พระอุบาลฯี (จนั ทร์ สิริจนฺโท) ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๔ ซึง่
เป็นช่วงระยะเวลาท่ีครูบาศรีวิชัย พระนักบุญแห่งล้านนาไทยขึ้นมา
พ�ำนักอยู่ท่ีวัดสวนดอก เมืองเชียงใหม่เพ่ือฟื้นฟูบูรณะวัดวาอาราม
พระธาตุเจดยี ์ ปชู นียสถานตา่ งๆ ในเมืองเชยี งใหม่ รวมทงั้ สรา้ งถนน
ขึ้นดอยสุเทพดว้ ย
พระครบู าศรวี ิชยั แม้องคท์ า่ นจะไม่มฐี านันดรสมณศกั ดิ์ แต่
ท่านก็เป็นพระมหาเถระสมบูรณ์พร้อมด้วยคุณธรรมและวัตรปฏิบัติอัน
ประเสริฐยิง่ มีบารมีสงู สุด จนคนเหนือยกยอ่ งให้เป็น “ตนบุญ” หรอื
“นักบุญแห่งล้านนาไทย” พระครูบาศรีวิชัยได้เข้ามากราบนมัสการ

130 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลีฯ วดั เจดียห์ ลวงถึง ๒ ครงั้ และพระเดชพระคณุ กม็ ี
โอกาสไปเยีย่ มพระครูบาศรีวิชัยเปน็ การตอบแทน ก่อนท่ีท่านจะเดนิ
ทางกลับกรุงเทพฯ
สว่ นพระอาจารยม์ น่ั นนั้ เคยพบและสนทนาธรรมกบั พระครบู า
ศรวี ิชยั หลงั จากทีพ่ ระครบู าศรวี ิชัยถูกอธิกรณแ์ ล้ว ทา่ นอาจารยม์ ัน่
เคยออกปากชวนพระครูบาศรีวิชัยออกมาปฏิบัติกัมมัฏฐานด้วยกัน
แต่พระครูบาศรีวิชัยปฏิเสธโดยกล่าวว่า ท่านได้บ�ำเพ็ญบารมีมาทาง
พระโพธสิ ตั ว์ และไดร้ ับการพยากรณแ์ ล้ว เปลี่ยนแปลงไมไ่ ด้
ต่อมาพระเดชพระคุณพระอบุ าลฯี สนใจใคร่รถู้ งึ ภมู ธิ รรมและ
ปฏิปทาตามวิถีทางท่ีพระครูบาศรีวิชัยด�ำเนินอยู่ จึงได้สอบถามพระ
อาจารย์มนั่ ซึ่งทา่ นไดก้ ราบเรียนพระเดชพระคุณให้ทราบว่า “พระ
ศรวี ิชยั องคน์ เี้ ปน็ พระโพธสิ ัตว์ ปรารถนาพระโพธญิ าณ ขณะนกี้ ำ� ลัง
บ�ำเพ็ญเพียรสร้างสมบารมีอยู่ ซึ่งต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร
อกี นาน จนกวา่ การสัง่ สมบารมธี รรมจะบรบิ ูรณ”์

ครบู าศรวี ชิ ยั เลอื่ มใสทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี

ท่านเจ้าคณุ อุบาลฯี ท่านมีความอดทนมาก ดังครงั้ หน่งึ ท่าน
ไปเทศน์ท่ีวัดสวนดอก จ.เชยี งใหม่ โรคมะเร็งในกระดกู เข่ากำ� เรบิ กิน
กระดูกขาด ท่านกไ็ มไ่ ด้แสดงความเจ็บปวด ข้ึนเทศน์จนจบ ลงจาก
ธรรมาสนเ์ ป็นปกติ ท�ำใหค้ รบู าศรวี ิชยั กับพวกท่ีมานั่งฟงั เทศน์เลอ่ื มใส
นับถอื มาก นบั แต่นัน้ มาอาการกก็ �ำเริบหนัก

131

ธรรมนทิ าน เรอ่ื งมติ รแทส้ องโลก

เรื่องราวในตอนต่อจากนี้ไป แม้จะเป็นเร่ืองที่เคยเกิดข้ึนจริง
แต่หาได้มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานเป็นตัวหนังสือในทางใดๆ ไม่
(ไม่ว่าจะเป็นด้วยเหตุผลใดก็ตาม) คงมีแต่ค�ำบอกเล่าของคนเฒ่า
คนแก่ท่ีทันและรู้เห็นเหตุการณ์น้ีสืบทอดกันมาอีกทีหนึ่งเท่าน้ัน ซ่ึง
หากจะปล่อยให้เร่ืองท่ีส�ำคัญท่ีสุดเร่ืองหนึ่งในประวัติศาสตร์เยี่ยงน้ี
ต้องสูญสลายไปตามสายลมแห่งกาลเวลาไปแล้ว ก็นับเป็นเรื่องที่น่า
เสียดายเป็นอย่างยิ่ง จึงจะขอบันทึกไว้ในลักษณะแห่งธรรมนิทาน
เพ่ือให้เกิดจินตภาพอันไหลล่ืนแต่ชัดเจนแจ่มแจ้ง เข้าใจง่าย และ
ให้ได้อรรถรสถึงพร้อมทุกสิ่งต่อไป และที่ส�ำคัญท่ีสุดอีกประการก็คือ
เรื่องน้ีก็คือตัวเช่ือมท่ีส�ำคัญที่สุดของเร่ืองมิตรแท้สองโลกสะท้านปฐพี
นอ้ี ีกประการหน่งึ ด้วย หากไมเ่ กดิ เร่อื งราวดงั กล่าวนี้เขา้ ก็ไมท่ ราบ
เหมอื นกนั ว่า ความสมั พันธ์ระหว่างครูบาเจา้ ศรีวชิ ัย กบั หลวงปมู่ น่ั
ภูริทตฺโต และท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
จะเร่ิมต้นขึ้นอย่างสวยงามและลงตัวท่ีสุดในลักษณาการเช่นไหน
ยงั นึกสภาพไม่ออกเลยจริงๆ
เม่อื ท่านเจ้าคุณอบุ าลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สริ ิจนฺโท) ไดร้ บั
อาราธนาจากเจ้าแกว้ นวรฐั มาเปน็ เจ้าอาวาสวดั เจดีย์หลวง กลางเมอื ง
เชียงใหม่ ท่ีสร้างมาต้ังแต่สมยั พระเจ้าตโิ ลกราช โดยมีพระเจดีย์หลวง
ที่ย่ิงใหญ่และสูงที่สุดในแผ่นดินล้านนา แต่ได้โดนภัยแผ่นดินไหว
จนหักโค่นลงต้ังแต่สมัยพระนางจิรประภา (ต่อมายอมสวามิภักด์ิแก่

132 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

พระชยั ราชาธริ าช แหง่ กรุงศรีอยธุ ยา) นัน้ แม้จะเปน็ ภาระท่หี นักหนา
สักเพยี งไหน แต่ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลีฯ กห็ าไดร้ อช้าไม่ แต่เรง่ รบี ด�ำเนิน
การบูรณะพระวิหารหลวง เพื่อใช้เป็นที่ประกอบสังฆกรรมและพิธี
บุญกศุ ลของญาติโยมท้งั หลายก่อนในทันใด
แต่ก่อนอื่นต้องท�ำความเข้าใจเสียก่อนว่า อันท่านเจ้าคุณ
อบุ าลคี ณุ ูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิรจิ นฺโท) น้นั ท่านเป็นพระราชาคณะชัน้
รองสมเด็จฯ มาแต่เมืองหลวง อกี ทง้ั ท่านยังเป็นพระที่ฝา่ ยปรยิ ัตแิ ละ
ปฏิบัติท่ีเคร่งครัดมาแต่เดิม แม้ท่านเจ้าคุณจันทร์ฯ อาจจะเคยผ่าน
งานนวกรรม (งานกอ่ สรา้ ง) มาบา้ ง แตก่ ็หาได้เปน็ การที่ยิ่งใหญ่ เฉก
เช่นเดียวกับงานบูรณะพระวหิ ารหลวง วดั เจดยี ์หลวง ซึง่ ใหญก่ วา่ พระ
อุโบสถวดั บรมนิวาส กรงุ เทพมหานคร ท่ที ่านเคยครองไม่ต่�ำกวา่ ๕
เทา่ ตวั พดู งา่ ยๆ กค็ อื วา่ พระวหิ ารหลวง วดั เจดยี ห์ ลวง เพยี งหลงั เดยี ว
ก็สามารถบรรจุพระอุโบสถวดั บรมนวิ าสไดถ้ ึง ๕ หลงั สบายๆ อยา่ งไรก็
อยา่ งนน้ั เลยทีเดียว
และแน่นอนเสียเหลือเกินว่า ในการสร้างสรรค์ปฏิสังขรณ์
สิ่งที่ใหญ่ที่โตกว่าปกติธรรมดานั้น จ�ำเป็นที่จะต้องใช้เทคนิคและ
ทักษะความร้ใู นเชงิ ชา่ งเป็นอยา่ งสงู และมากกวา่ งานก่อสรา้ งของเล็ก
ของน้อยอย่างไม่อาจเปรียบเทียบกันได้ ซึ่งท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ
ก็ไมเ่ คยศึกษาและผา่ นงานใหญข่ นาดน้มี าก่อนเลยเช่นกัน ในไม่ช้า....
ผลแห่งการไม่เคย ก็ได้ก่อให้เกิดผลที่ไม่เกินคาดคิดในไม่นานเกินรอ
ในวันหนึง่ จนได้ ผนังพระวิหารวัดเจดีย์หลวงขนาดมหึมาด้านหนึ่งได้
โค่นถล่มพังทลายราบลงมาไม่มีชน้ิ ดี

133

การน้ีย่อมได้สร้างความวิตกกังวลใจให้บังเกิดแก่ท่านเจ้าคุณ
อุบาลีคุณูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนฺโท) เป็นอย่างยิ่ง แม้งานดงั กล่าวจะ
เป็นการสร้างของนอกตวั กต็ าม หากเป็นกรณที ั่วไป การเพียงน้ี ก็
อาจจะมใิ ช่เป็นเรื่องท่ีสลกั สำ� คญั ใหญ่โตอะไรมากมายนกั แตน่ เี่ ป็นวัด
ใหญ่ทส่ี ุดวัดหนงึ่ ของจงั หวัด หรือจะใหญท่ ่สี ุดวัดหน่ึงของเมืองเหนอื
ทัง้ หมดก็ว่าได้
การทบี่ รู ณะพระวหิ ารหลวง วัดทีเ่ ปรยี บเสมอื นหลักเมอื งของ
นครพิงค์เชียงใหม่ไมส่ ำ� เรจ็ นน้ั นอกจากจะยงั ความอัปยศมาสผู่ ูบ้ ูรณะ
อย่างไม่อาจหลีกเล่ียงได้แล้ว ก็ย่อมไม่ส่งผลดีต่อภาพลักษณ์แห่ง
อ�ำนาจบารมีและความน่าเช่ือถือของส่วนกลาง ที่เพิ่งผนวกแผ่นดิน
ล้านนาเขา้ เปน็ หนึ่งเดียวกับสยามประเทศมาหมาดๆ อีกตา่ งหากดว้ ย
เกียรติยศและศักดิ์ศรีท้ังของฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักร ที่
เป็นทั้งการส่วนรวมและส่วนตัว ได้กดดันท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมา-
จารย์ (จนั ทร์ สริ ิจนโฺ ท) อยา่ งหนกั หน่วงอยา่ งยงิ่ ไปโดยประการดังนี้
อีกทั้งท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ เพิ่งมาถึงแว่นแคว้นล้านนาแบบหมาดๆ
พระแต่ละพระ หรอื โยมแตล่ ะคน ล้วนแตเ่ ปน็ คนใหม่ท่ยี งั ไมค่ นุ้ เคย
จนรู้มือท้งั น้ัน สุดท่จี ะคดิ จะหนั หน้าไปปรกึ ษาใคร ใหพ้ น้ จากความ
ภาระอันใหญอ่ นั หลวงสมชือ่ น้เี สยี แลว้ จรงิ ๆ ครั้นจะหนั ไปปรกึ ษาท่าน
พระอาจารย์มน่ั ภูรทิ ตั โต หรือ ท่านกพ็ ระนักปฏบิ ตั อิ ยา่ งเดยี วล้วนๆ
อยา่ งไมม่ ีอะไรตอ้ งสงสัย ไมม่ ีจริตนิสสยั ไม่เคยริเร่มิ และไม่เคยน�ำ
ศรทั ธาญาติโยมในการก่อสร้างวดั วาโบสถ์วหิ ารใดๆ มากอ่ นทง้ั ส้ิน คง
มุ่งเน้นแต่การสร้างใจใหเ้ ปน็ พระ เป็นวดั เป็นวา ทงั้ ดวงโดยส่วนเดยี ว

134 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

มาตลอดชวี ติ แหง่ ทา่ นเท่าน้ัน งานภายนอกเย่ียงนี้ คงมิใชเ่ รอ่ื งทจ่ี ะ
ตอ้ งน�ำไปรบกวนทา่ นมน่ั เป็นแน่แท้
แล้วน่ีอาตมาจะท�ำอย่างไรดี แล้วจะท�ำอย่างไรดี จะท�ำ
อยา่ งไรดี ทำ� อยา่ งไรดี ทา่ นเจ้าคุณอบุ าลฯี ได้แตค่ ร่นุ คิดคำ� นึงอยใู่ น
ใจแต่เพียงล�ำพังองค์เดียวด้วยความกลัดกลุ้มอย่างน้ีอยู่นาน ในท่ีสุด
ท่านก็ระลึกถึงใครบางคนข้ึนมาได้อย่างปัจจุบันทันด่วน..ใช่แล้ว....พระ
ศรีวิชัยนั่นอย่างไร..เพราะจากท่ีเคยได้ยินได้ฟังกิตติศัพท์ท่ีเข้าหูมานาน
เห็นเขาเล่าลือกันนักหนาว่า พระศรีวิชัยนี้มีบุญวาสนานัก มีผู้คน
ศรัทธามาก ทั้งยังมีความรู้ความช�ำนาญในงานนวกรรม (ก่อสร้าง)
อย่างดีย่ิงด้วย จะบูรณะก่อสร้างวัดวาท่ีไหน ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่
เพยี งใด กส็ �ำเรจ็ ลงได้ในทันใดเหมอื นกับเทพเนรมติ หากพระศรีวชิ ัย
มาช่วยงานบูรณะพระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวงน้ี กค็ งจะส�ำเรจ็ ลงได้
อยา่ งไม่มอี ะไรต้องสงสัยแนๆ่
แต่....การที่เราจะไปขอความชว่ ยเหลือจากพระศรวี ชิ ยั น้นั จะ
เหมาะจะควรหรอื ไม่นะ ล�ำพังเราเอง แม้จะเป็นพระฝา่ ยธรรมยตุ ก็
ใช่ว่าเราจะยึดมั่นถือม่ันในอันท่ีจะแบ่งแยกถือเขาถือเรากับพระศรีวิชัย
ซ่ึงอยู่ในฝ่ายมหานิกายอะไรหรอก จะธรรมยุตหรือมหานิกาย ก็
ลูกศิษย์พระพุทธเจ้าองค์เดียวกันท้ังนั้น ไม่เห็นจะมีความแตกต่าง
อนั ใดแมส้ ักน้อยเลย แต่หน้าทแ่ี ละสมณศักด์อิ นั เปรยี บเสมอื นหวั โขน
ทีเ่ ราครองอยนู่ ่ีสิ เป็นเร่ืองท่ีจ�ำเปน็ ต้องคิดหนักสกั หน่อย หากทำ� การ
แม้จะเป็นด้วยเจตนาท่ีดีท่ีบริสุทธ์ิอย่างไรก็ตาม แต่กลับผิดท่ีผิดทาง
หรือผิดฝาผิดตัวไปแล้ว คงอาจจะเกิดเรื่องให้เบ้ืองบนต�ำหนิลงมา
เอาได้ไมย่ ากเป็นแน่ เฮ้อ...กลุ้มใจจริงๆ


Click to View FlipBook Version