235
พระสงั กจั จายนะ
พระสงั กจั จายนะนี ้ ประดิษฐานอยู่ท่พี ระวหิ ารขา้ งพระอโุ บสถ
หน้าตกั กว้าง ๑๑ ศอก, สูง ๓ วา, สร้างเมือ่ ปีฉลู พ.ศ. ๒๔๖๘ ส้ิน
เงนิ ๑,๕๐๐ บาทเศษ, สว่ นพระวิหารท่ปี ระดิษฐานอย่นู ้นั สรา้ งเมอ่ื
ปขี าล พ.ศ. ๒๔๖๙ ซ่ึงเปน็ ปีเดยี วกนั กบั การปฏิสงั ขรณ์พระใหญ ่
สิ้นเงิน ๓,๕๐๐ บาท ตรงทส่ี รา้ งพระวิหารนี ้ แต่เดมิ เป็นพระอโุ บสถ
ทา่ นเจ้าคุณพระเทพวรคณุ (ภทรฺ าวุโธ อ่�ำ) เคยเลา่ ว่า การสรา้ ง
พระสงั กัจจายนะน ี้ ไม่ไดจ้ า้ งชา่ ง พระภกิ ษุสามเณรช่วยกันทำ� และ
ทำ� ตามความพอใจ สดุ แตผ่ ู้ใดจะเหน็ สวยงามอยา่ งไรกท็ ำ� กนั อยา่ งน้ัน
นอกจากพระพุทธรปู ส�ำคัญๆ และพระสังกจั จายนะ ตามท่กี ล่าวถงึ น้ี
แล้ว ยังมพี ระพทุ ธรูปอีกเป็นจำ� นวนมาก ซง่ึ ประดิษฐานอย่ใู นพระ
อุโบสถบา้ ง มีพระพุทธรปู ท่ที ำ� ด้วยศลิ าและทองสำ� ริดอกี หลายปาง
และหลายชนิด ส่วนมากเปน็ ฝีมอื ช่างสมัยลพบรุ เี กือบท้งั สน้ิ
พระอโุ บสถ
พระอุโบสถ เสาเทคอนกรตี ฝาผนังกอ่ ดว้ ยหนิ ก้อนใหญ่ๆ
พระอโุ บสถน้ีกวา้ ง ๑๒ เมตร, ยาว ๒๔ เมตร ประกอบพธิ ผี ูก
พัทธสมี า เม่อื ณ วันพุธ ข้นึ ๑๕ ค่ำ� เดอื น ๔ ตรงกับวันท่ี ๑๙
มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ พระบาทสมเดจ็ พระรามาธปิ ดศี รีสนิ ทร
236 ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
มหาวชิราวุธ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ ในงาน
ผูกพทั ธสีมาคราวน้ดี ว้ ย
วหิ ารสริ จิ นโฺ ท
วิหารสิริจนฺโท สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖ ท่านเจ้าคุณ
พระศีลวรคณุ (สงกฺ จิ โฺ จ ล�ำเจยี ก) ชักชวนพุทธบริษทั ร่วมกันสรา้ ง
ขึ้น เพ่ือประดิษฐานรูปปั้นของท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(สิริจนโฺ ท จนั ทร)์ ผสู้ ถาปนาวดั นี้ กบั รปู ป้นั ของทา่ นเจ้าคุณพระเทพ-
วรคุณ (ภทรฺ าวโุ ธ อำ�่ ) เจ้าอาวาสองคท์ ่ี ๑ และเมอื่ ผ้นู ำ� การก่อสรา้ ง
คอื ท่านเจ้าคุณศีลวรคุณ (สงฺกิจโฺ จ ลำ� เจยี ก) ซึง่ เป็นเจ้าอาวาสรูปท่ี
๒ ไดม้ รณภาพลง บรรดาศิษยานุศิษย์ได้ร่วมกันสร้างรูปปั้นแล้วนำ� มา
ประดิษฐานรวมกนั เป็น ๓ องค์
237
อดตี อนาคต เป็นธรรมเมา ปัจจุบันเป็นธรรมโม
ความคดิ ทง้ั ทีเ่ ปน็ อดตี อนาคต เมอ่ื เราคิดข้นึ พร้อมกันมนั กด็ บั
ทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลฯี ทา่ นกล่าววา่ “อดตี อนาคต มันกอ็ นั เดียวกนั
นั่นแหละ ความตวั เดียวนี้แหละ แต่ปจั จบุ นั น้เี ป็นธรรมโม
อดตี อนาคตเปน็ ธรรมเมา เรอ่ื งของสงั ขารทง้ั หลาย มนั ปรงุ มนั แตง่
มันเกดิ มันดับอยูน่ ี้ มนั แสดง อนจิ ฺจํ ทุกขฺ ํ อนตตฺ า อย่นู ี้แหละ
สมควรจ�ำ ต้นมนั ไว้ ต้นเหตุอดีต อนาคต เป็นธรรมเมา
ปจั จุบันเปน็ ธรรมโม จ�ำไวใ้ หแ้ ม่น”