อพารจาะรอยิ บาูชจาารยฝ์ น้ั อาจาโร ปฏบิ ัตไิ วอ้ ยา่ ใหม้ ันขาดซ่ี
ประวัติ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสงั คิณมี าติกาบรรยาย ไม่ได้มากก็ให้ได้นอ้ ย
ต้องหมน่ั เขา้ วัดฟงั ธรรมเสียกอ่ นจงึ จะนอน
ทีงานการละ อุตสาหะทำ�จนเหง่ือไหล
จนเหน็ดจนเหนื่อย
งานภายในของเราล่ะ เราไมร่ กั ษาใครจะรกั ษาล่ะ
อโุ บสถวดั ปา่ ไชยชมุ พล (เสลยี งแห้ง)
อำ�เภอเขาคอ้ จงั หวัดเพชรบรู ณ์
พระอาจารย์จริ วัฒน์ อตตฺ รกโฺ ข
เจา้ อาวาสวดั ป่าไชยชมุ พล (เสลยี งแหง้ )
รปู เหมือนบูรพาจารย์
ประดิษฐาน ณ พระอโุ บสถวดั ปา่ ไชยชมุ พล
พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร
พระอาจารยเ์ สาร์ กนฺตสโี ล พระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ตฺตเถร
พระอาจารย์สวุ จั น์ สวุ โจ พระอาจารยม์ หาบวั ญาณสัมปนั โน
อาจารยิ บูชา
พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
ประวตั ิ พระธรรมเทศนา
และพระอภิธรรมสงั คิณีมาตกิ าบรรยาย
อาจารยิ บูชา พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร
ประวัติ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสงั คิณมี าตกิ าบรรยาย
พมิ พ์คร้ังที่ ๑ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ (๑๑๔ ปี หลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร)
จำ� นวนพมิ พ์ ๕,๐๐๐ เล่ม
ท่ีปรึกษา พระครูวัชรธรรมาจารย์ (พระอาจารยจ์ ริ วัฒน์ อตฺตรกโฺ ข)
วดั ปา่ ไชยชมุ พล (เสลยี งแห่ง) อ. เขาคอ้ จ. เพชรบูรณ์
ผจู้ ดั ท�ำ คณะกลุ่มเพอื่ นธรรมเพ่ือนท�ำ
กราฟิกดไี ซน ์ ARTISTIC GROUP
โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๙๒๒ ๑๓๕๑, ๐ ๒๘๘๔ ๓๕๓๖
โทรสาร ๐ ๒๘๘๔ ๓๕๓๖
พิมพโ์ ดย บรษิ ัท ควิ พร้นิ ท์ แมแนจเมน้ ท์ จ�ำกัด
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๒๙๒, ๐๘ ๔๙๑๓ ๘๖๐๐
โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๓๖๔๙
พิมพ์ครัง้ ท่ี ๒ ๑๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ (๑๑๔ ปี หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร)
จ�ำนวนพมิ พ ์ ๕,๐๐๐ เล่ม
ผจู้ ดั ท�ำ คณะศษิ ยานศุ ิษย์
พิมพ์ครัง้ ท่ี ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐ (อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร)
จ�ำนวนพิมพ์ ๘,๐๐๐ เลม่
ผู้จัดทำ� ชมรมพุทธศาสน์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
พิมพท์ ่ี บริษทั อมรินทรพ์ ริ้นต้งิ แอนดพ์ ับลชิ ชิง่ จำ� กดั (มหาชน)
๓๗๖ ถนนชยั พฤกษ์ แขวงตลงิ่ ชัน เขตตล่งิ ชัน กรงุ เทพฯ ๑๐๑๗๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ ๒๗๔๒
E - mail : [email protected] Homepage : www.amarin.com
ที่ ชพศ. ๑๐๕/๒๕๖๐ ชมรมพทุ ธศาสน์ กฟผ.
บางกรวย นนทบุรี ๑๑๑๓๐
๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
เร่ือง ขออนุญาตจดั พิมพห์ นงั สือ และเผยแพร่บนอนิ เทอรเ์ นต็
นมสั การ พระครูวัชรธรรมาจารย์ (พระอาจารย์จริ วฒั น์ อตฺตรกโฺ ข)
ดว้ ยหนงั สอื ๑๑๔ ปี หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร (ประวัติ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสงั คณิ ี
มาติกาบรรยาย) ซ่ึงรวบรวมและจัดทําขึ้นโดยคณะศิษย์พระอาจารย์จิรวัฒน์ อตฺตรกฺโข เป็นหนังสือ
ท่ีดำ�รงไว้ซ่ึงคำ�สอน ปฏิปทา ของพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร พระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเป็นแบบอย่าง
และเป็นประโยชน์ต่อผู้ใฝ่ในธรรมท้ังหลาย ควรค่าแก่การศึกษาและนำ�มาปฏิบัติเป็นอย่างย่ิง ชมรม
พทุ ธศาสน์ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย เปน็ ชมรมทตี่ ง้ั ขน้ึ เพอ่ื การศกึ ษาและเผยแพรธ่ รรมะของ
องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทงั้ ยงั สง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านการไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย และ
พทุ ธศาสนกิ ชนผมู้ จี ติ ศรทั ธาเลอื่ มใสในพระบวรพทุ ธศาสนา ไดศ้ กึ ษาธรรมะและนาํ ธรรมะไปประพฤติ
ปฏบิ ตั ใิ นหนา้ ทก่ี ารงานและการดาํ รงชวี ติ อยา่ งมหี ลกั ธรรม อนั จะนำ�มาซง่ึ ความสงบรม่ เยน็ และเปน็ สขุ
ตอ่ ตนเองและสรรพสตั วท์ ้ังหลาย
ชมรมพุทธศาสน์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มีความประสงค์จะจัดพิมพ์
หนงั สือ พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร (ประวัติ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสังคิณมี าติกาบรรยาย)
โดยขอเปลยี่ นชอ่ื หนังสือ “๑๑๔ ปี หลวงปู่ฝ้นั อาจาโร” เปน็ “อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร”
เพอื่ เปน็ ธรรมบรรณาการและเผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ธรรมทาน แกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านการไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ
แห่งประเทศไทย และพุทธศาสนิกชนผู้สนใจท่ัวไป ทางชมรมพุทธศาสน์ฯ จึงขอกราบเรียนเพื่อ
ขออนญุ าตจดั พิมพ์หนงั สือ และเผยแพร่บนอนิ เทอร์เนต็ ดงั กล่าว
จึงกราบนมสั การมาเพือ่ โปรดพจิ ารณา
ขอนมัสการดว้ ยความเคารพอยา่ งสงู
(นายกรศิษฏ์ ภัคโชตานนท์)
ประธานคณะกรรมการบรหิ ารงาน
ชมรมพุทธศาสน์ กฟผ.
เลขานกุ ารคณะกรรมการบริหารงานชมรมพทุ ธศาสน์ กฟผ.
โทร. ๐ ๒๔๓๖ ๓๐๓๒
โทรสาร ๐ ๒๔๓๖ ๓๐๙๙
อนโุ มทนากถา
ตามท่ี ชมรมพทุ ธศาสน์ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย มีความประสงค์จะ
จัดพิมพ์หนังสือ หลวงปฝู่ ัน้ อาจาโร (ประวตั ิ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสงั คณิ ี
มาตกิ าบรรยาย) โดยขอเปลย่ี นชอ่ื หนงั สอื “๑๑๔ ปี หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร” เปน็ “อาจารยิ บชู า
พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร” เพื่อเป็นธรรมบรรณาการและเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตเป็น
ธรรมทาน แกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านการไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย และพทุ ธศาสนกิ ชนผสู้ นใจ
ทว่ั ไปนั้น เปน็ เรื่องทีน่ ่ายนิ ดแี ละนา่ สนบั สนุนอยา่ งย่ิงในเจตนาอันเป็นกุศลน้ี
อาตมภาพขออนโุ มทนาสาธกุ ารในกศุ ลเจตนาของทา่ นในครงั้ น้ี เพราะการจดั พมิ พ์
หนังสือธรรมะและเผยแพร่ธรรมะท่ีเป็นคำ�สอน ปฏิปทา จริยาวัตร ของครูบาอาจารย์
ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ถือได้ว่ามีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการปลูกฝังคุณค่าของพระธรรม
คาํ สงั่ สอน ความศรทั ธา และความต้ังม่ันด้วยปญั ญาในพระพทุ ธศาสนาแกผ่ คู้ นในสงั คม
เปน็ การเผยแพร่พระพุทธศาสนาอกี ทางหนึง่ ดว้ ย จึงขอสนบั สนุนและอนุญาตใหจ้ ดั พิมพ์
และเผยแพร่บนอินเทอรเ์ น็ตเป็นธรรมทานได้ตามความประสงค์
ขออาราธนาคณุ พระศรรี ตั นตรยั พรอ้ มทง้ั บญุ กศุ ลทง้ั หลายทที่ า่ นไดก้ ระทาํ แลว้ ใน
คร้งั น้ี จงเป็นพลวปัจจัยสง่ ผลใหท้ กุ ท่านประสบแตค่ วามสขุ ความเจริญรงุ่ เรอื ง ดว้ ยอายุ
วรรณะ สขุ ะ พละ ปฏภิ าณ ธนสารสมบตั ิ เจรญิ ในศีล สมาธิ และปญั ญาทง้ั ทางโลกและ
ทางธรรม
จงึ เจรญิ พรมาเพือ่ ทราบ และขออนุโมทนา มา ณ โอกาสน้ี
ขออํานวยพร
พระครูวัชรธรรมาจารย์
(พระอาจารยจ์ ิรวฒั น์ อตฺตรกฺโข)
วดั ป่าไชยชุมพล (เสลยี งแห้ง) อ.เขาคอ้ จ.เพชรบูรณ์
คาํ ปรารภ
ชมรมพุทธศาสน์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ในการ
เผยแพร่หลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาให้แพร่หลายและเป็นท่ีเข้าใจอย่างถูกต้อง
ชมรมพทุ ธศาสนฯ์ มคี วามยนิ ดที ี่ไดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สือ อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร
(ประวัติ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสงั คณิ ีมาติกาบรรยาย) มาเผยแพรแ่ กส่ มาชิก
และประชาชนท่ัวไป
ชมรมพุทธศาสน์ฯ ขอกราบขอบพระคุณในความอนุเคราะห์ของพระครู
วัชรธรรมาจารย์ (พระอาจารย์จิรวัฒน์ อตฺตรกฺโข) วัดป่าไชยชุมพล (เสลียงแห้ง)
อ.เขาคอ้ จ.เพชรบรู ณ์ ทเ่ี มตตาอนญุ าตใหช้ มรมพทุ ธศาสนฯ์ จดั พมิ พห์ นงั สอื อาจารยิ บชู า
พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร (ประวตั ิ พระธรรมเทศนา และพระอภธิ รรมสงั คณิ มี าตกิ าบรรยาย)
เพื่อเป็นธรรมบรรณาการและเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตแก่สมาชิกและประชาชนทั่วไป
เป็นธรรมบรรณาการท่มี คี ณุ ค่า เปน็ แบบอยา่ งชวี ิตทง้ั ทางโลกและทางธรรม แก่ผ้ทู นี่ าํ ไป
ปฏิบตั ิตามได้เปน็ อย่างดี
(นายกรศษิ ฏ์ ภัคโชตานนท)์
ประธานคณะกรรมการบริหารงาน
ชมรมพุทธศาสน์ กฟผ.
“ ... แมท่ พั ที่จะยกพลนิกายเข้าสู่ยุทธสงคราม
ก็ต้องตระเตรียมเสบยี งอาหารและ
เครอื่ งศาสตราวธุ ให้เพียงพอบริบูรณ์ก่อน
จงึ จะยกเข้าสูย่ ุทธสงครามน้นั ได้ ฉันใดกด็ ี
บคุ คลทจี่ ะได้ประสบซง่ึ ความสุขนั้น
ก็ตอ้ งอาศยั สะสมซงึ่ การบุญการกุศลเหมอื นกัน ... ”
สารบัญ
หน้า
• ประวตั พิ ระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร (เรยี บเรยี งโดยพระอาจารยส์ ุวจั น์ สวุ โจ) ๑
• พระธรรมเทศนา โดยพระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
๑. มนุษย์ ๗ จำ� พวก ๙๗
๒. หายหลงเพราะรู้จัก “นะโม” ๑๐๗
๓. หลงของเกา่ ๑๑๓
๔. วดั ...วดั ตนวัดตวั ของเรา ๑๑๙
๕. ตามหา “ผรู้ ”ู้ ๑๒๗
• พระอภธิ รรมสังคณิ มี าตกิ าบรรยาย ๑๓๓
(เรยี บเรียงโดยพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร)
“ ... ศีลธรรมเทา่ นัน้
ท่จี ะท�ำใหบ้ คุ คลทกุ ชนช้นั
มคี วามสงบสุข
ทง้ั ตนและคนท่วั ไป ...”
ประวตั ิ
พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร
วดั ป่าอุดมสมพร อ�ำ เภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
เรียบเรียงโดย พระอาจารยส์ ุวัจน์ สวุ โจ
พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร เกิดเมื่อวันอาทิตยท์ ี่ ๒๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๔๒
ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๔ ค�ำ่ เดอื น ๙ ปกี นุ ณ บา้ นมว่ งไข่ ต�ำ บลพรรณา อ�ำ เภอพรรณานคิ ม
จังหวัดสกลนคร บิดาช่ือไชยกุมาร สุวรรณรงค์ มารดาช่ือนุ้ย ท่านมีพี่น้อง
รว่ มมารดาบดิ าคือ
๑. นางกองแกว้ อปุ พงศ์
๒. นายกลุ สวุ รรณรงค์
๓. นางเฟือ้ ง สวุ รรณรงค์
๔. นายฝ้นั สุวรรณรงค์ (พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร)
๕. นายคำ�พนั สุวรรณรงค์
๖. นางคำ�ผัน สุวรรณรงค์
ปฐมวัยและการศึกษาในเพศฆราวาส
ในเบื้องต้น ท่านได้ศึกษาอักษรสมัยอยู่ที่วัดโพธ์ิชัย บ้านม่วงไข่ ในบ้าน
ชาติภูมิของท่านน้ันเอง มีครูหุ่น ไชยชมภู เป็นผู้สอน ต่อมาครูหุ่น ย้ายไปท่ีอ่ืน
ท่านก็ได้เรียนกับพระอาจารย์ตัน วุฒิสาร ท่านเป็นนักเรียนเรียนดี และเรียบร้อย
จนจบตามหลักการศึกษาในสมัยนั้น หลังจากท่ีได้เรียนจบแล้ว ท่านมีความตั้งใจ
ทจี่ ะเขา้ รับราชการ จงึ ได้ไปอยกู่ ับนายเขยี น อุปพงศ์ พ่ีเขยผเู้ ป็นปลัดขวาอยทู่ เ่ี มอื ง
ขอนแก่น จากนั้นทา่ นก็ได้เขา้ ฝกึ เปน็ เสมียนอ�ำ เภอ ทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ เลา่ ตอ่ ไป
ว่า พี่ๆ ได้ใช้ท่านถือเอาป่ินโตกับข้าวไปส่งนักโทษการเมือง คือ พระยาณรงค์ฯ
เจ้าเมืองขอนแก่น ต้องโทษฐานฆ่าคนตาย กับนายวีรวงศ์ ปลัดซ้าย ต่อมา
2 อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร
นายเขียน อุปพงศ์ ถูกยา้ ยให้ไปอยอู่ �ำ เภอกุดปอ่ ง จงั หวดั เลย ก็ไดถ้ ูกเปน็ ผูต้ อ้ งหา
คดฆี ่าคนตายอกี เช่นกัน
ในกาลคร้ังนั้นท่านพระอาจารย์ฝ้ันได้เห็นเหตุการณ์สับสนวุ่นวายของ
ขา้ ราชการและบ้านเมอื ง ไดเ้ หน็ การปราบปรามผู้รา้ ย มกี ารฆา่ ฟันกนั นักโทษถูก
ประหารชวี ิต เจา้ เมอื งมาเปน็ นักโทษ เรอื่ งเหลา่ นี้เปน็ เหตใุ ห้ท่านไดส้ ตบิ งั เกิดความ
สลดจติ ให้ท่านคดิ เบอื่ หนา่ ย คลายความยนิ ดี เพราะเหน็ ความยงุ่ เหยงิ และความ
ไม่แน่นอนของชีวติ ในทางโลก จึงไดต้ ดั สินใจไมร่ ับราชการ คิดกลับบ้านเขา้ ไปบวช
อย่วู ัดดีกวา่ จึงได้เดนิ ทางไปลาพท่ี ้งั สองท่จี ังหวัดเลย พอเดนิ ทางไปถงึ วนั นน้ั เปน็
วันหยุดราชการ เห็นพี่ท้ังสองไม่ได้ไปไหน อยู่กับหลานๆ ในเรือนชั้นบน เดินขึ้น
บันไดไปในเรือน น่ังลงยกมือไหว้พี่เขยและพ่ีสาว แล้วเอากระเป๋าเดินทางเข้าไว้
ลงไปอาบน�้ำ ช�ำ ระร่างกายใหเ้ ย็นสบายหายเหนอ่ื ย
พอเย็นวันนั้น ท่านจึงเข้าไปน่ังใกล้กับพ่ีสาว ได้พูดกับพ่ีสาวว่า “ท่ีผมได้
เดินทางมาหาคณุ พี่ทั้งสองคราวนี้ ตงั้ ใจจะมาลาคุณพที่ ัง้ สองกลับบ้าน” พอจบคำ�
พ่ีสาวก็พูดข้ึนทันทีว่า “อยากกลับบ้านหรือเร่ืองอะไร คิดถึงบ้านหรือคิดถึงใคร
คุณพ่อคุณแม่น่ะ ไม่ต้องเป็นห่วงท่านหรอก กิจการงานทางบ้านก็มีพี่ชายพ่ีสาว
น้องชายน้องสาวเขาแทนแล้ว น้องไม่ต้องเป็นห่วงท่านหรอก” พอพี่สาวพูดจบลง
ทา่ นยงั ไมพ่ ดู อะไร พ่เี ขยกพ็ ูดขน้ึ ต่อไปอีกว่า “ไหนๆ เรากไ็ ดต้ ัง้ ใจมาว่าจะยดึ อาชพี
ทางราชการ ออกจากบ้านมาทำ�การท�ำ งาน เวลาน้เี รากก็ ำ�ลงั ท�ำ งาน งานที่เราทำ�ก็
กำ�ลังจะก้าวหน้าอยู่แล้ว ไม่นานเท่าไรคำ�ส่ังก็จะมาถึง จักได้บรรจุเป็นข้าราชการ
คิดดู ใหด้ ี อยา่ ใจร้อนไปมากนกั เลย เหรอ วา่ ไง มคี ู่รกั อยู่ทางบา้ นเหรอ คิดถงึ เขา
มากหรอื ”
แทจ้ รงิ ทา่ นยงั ไมม่ คี รู่ กั และยงั ไมเ่ คยคดิ ทจี่ ะมคี รู่ กั เลย แตเ่ นอื่ งดว้ ยเวลานน้ั
ทา่ นอายยุ า่ ง ๑๙ ปี เป็นวยั ท่ีกำ�ลงั หนุ่ม พร้อมกับลกั ษณะรูปสมบัติและคุณสมบัติ
เป็นที่ชอบเนื้อเจริญใจและพอใจแก่ผู้ท่ีได้พบเห็น จึงเป็นเหตุให้พ่ีเขยพูดคาดคะเน
และถามในทำ�นองนั้น ท่านพระอาจารย์ฝ้ันเรียนตอบพ่ีเขยว่า “เวลานี้จิตของผม
เปลยี่ นความคดิ กลบั ตรงกนั ขา้ ม มคี วามเบอ่ื หนา่ ยทอ้ ใจในงานอาชพี ทางรบั ราชการ
ไม่มีแก่จิตแกใ่ จที่จะท�ำ ต่อไปอีกแลว้ ” “เพราะอะไร” พเ่ี ขยซกั “อ้า...ผมไมอ่ ยากจะ
ประวตั ิพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร 3
พดู ถ้าผมพดู แลว้ เดยี๋ วคุณพที่ ง้ั สองกจ็ ะหาวา่ ผมพดู ไมม่ มี ารยาท ไมน่ า่ พดู ในท่นี ้ี”
“พดู ไปเถดิ นอ้ งไมต่ อ้ งเกรงใจ มคี วามทกุ ขใ์ จ หรอื แคน้ ใจอยา่ งไร กร็ ะบายออกมาเถอะ
พท่ี งั้ สองจะคอยฟงั ” “ถา้ อยา่ งนน้ั ผมจะเลา่ เรอ่ื งความคดิ ของผมใหค้ ณุ พท่ี ง้ั สองฟงั ”
“แต่แรกผมก็คิดว่าผมจะยึดอาชีพทำ�งานราชการ จึงได้มาฝึกและทำ�งาน
ด้วยความพยายามและอดทน ผลของงานก็ได้คืบหน้ามาตามลำ�ดับ ต่อมา
ผมได้เห็นเจ้านายข้าราชการช้ันผู้ใหญ่กลับกลายมาเป็นนักโทษการเมือง คือ
พระยาณรงคฯ์ เจา้ เมอื งขอนแกน่ ตอ้ งโทษตดิ คกุ โดยฐานฆา่ คนตาย กบั นายวรี พงศ์
ปลดั ซา้ ย ตอ่ มาคณุ พกี่ ถ็ กู ยา้ ยออกจากปลดั อ�ำ เภอเมอื งขอนแกน่ มาเปน็ ปลดั อ�ำ เภอ
อย่อู ำ�เภอกดุ ปอ่ ง จงั หวัดเลย แล้วก็ไดเ้ ปน็ ผู้ถกู ตอ้ งหาคดีฆา่ คนตายเช่นกนั ผมได้
เห็นเหตุการณ์สับสนวุ่นวายของข้าราชการ กับได้เห็นการปราบปรามผู้ร้าย มีการ
ฆ่าฟันกัน นักโทษถูกประหารชีวิต เจ้าเมืองกลับมาเป็นนักโทษ เรื่องเหล่าน้ีเป็น
เหตุให้ผมได้สติ บังเกิดความสลดจิต ให้ผมคิดเบ่ือหน่ายคลายความยินดี เพราะ
ความยุง่ เหยิงความไม่แนน่ อนของชวี ิตในทางโลก ท่านผู้ไดศ้ กึ ษาดีมคี วามรู้สูงและ
ได้รับตำ�แหน่งหน้าท่ีการงานเป็นข้าราชการช้ันผู้ใหญ่มียศถาบรรดาศักด์ิอันสูงส่ง
ในวงราชการอันมีเกียรติ เขาเหล่านั้นแทนท่ีจะเป็นบุคคลตัวอย่างในทางท่ีดีกลับ
ผิดด้วยการทจุ รติ ตอ้ งโทษอยา่ งรา้ ยแรง ที่คุณพีใ่ หผ้ มเอาขา้ วไปส่งเจ้านายผใู้ หญท่ ่ี
ตอ้ งโทษตดิ คกุ อยู่ในห้องขัง ผมไดไ้ ปเห็นแล้วเกิดความเบ่ือหนา่ ย ไม่มคี วามหมาย
ในจิตใจท่ีไร้ศีลธรรม ศีลธรรมเท่านั้นที่จะทำ�ให้บุคคลทุกชนช้ันมีความสงบสุข
ทั้งตนและคนท่ัวไป สังคมใดถ้าหากว่าไร้ศีลธรรมประจำ�บุคคลในสังคมนั้นแล้ว
ต้องเหลวแหลก ทุกข์ก็ดี ภัยก็ดี เป็นความเหลวแหลกของสังคมท่ีมีบุคคล
ไรศ้ ลี ธรรมในสงั คมนน้ั ดว้ ย มไิ ดเ้ ปน็ เพราะดวงดาวทไ่ี หนมาจากไหนเลย เปน็ เพราะ
จิตใจท่ีไร้ศีลธรรมท่ีมีประจำ�ศาสนานี้เอง ผมลาคุณพี่ทั้งสอง ไปถึงบ้านแล้ว
ผมตัง้ ใจว่าจะไปบวชถา้ คุณพอ่ คณุ แม่ท่านอนุญาต”
พี่ทั้งสองได้ฟังน้องชายเล่าระบายความคิดเห็นของตนให้ฟังแล้ว ทั้งที่มี
ความรักและอาลัยไม่อยากให้น้องชายกลับไปเพราะขาดคนอาศัยช่วยเหลือกิจการ
ท้ังภายในบ้านและนอกบ้าน แต่จำ�เป็นต้องตัดสินใจอนุญาต เพราะเขาคิดไปใน
ทางดี ควรผเู้ ปน็ พจี่ ะตอ้ งสนบั สนนุ พวกเรานบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ตามธรรมเนยี ม
4 อาจารยิ บูชา พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร
ประเพณีท่ีเราเคารพนับถือพระพุทธศาสนา ต้ังแต่สมัยโบราณกาลมาเป็นเวลาอัน
สืบเนือ่ งแต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ ัน ไดม้ ีขนบธรรมเนียมประเพณขี องคนไทยเรา พ่อ แม่
จะต้องฝึกอบรมลูกชายของตนให้ออกบวช เพ่ือจะได้ฝึก ศึกษา ให้รู้จักความดี
ความช่ัว ว่าความดีควรทำ� ความช่ัวควรละเว้นไม่กระทำ�ตามหลักธรรมคำ�สอน
ของพระพุทธเจ้า ถือกันว่าถ้าบวชเป็นสามเณร เป็นการทดแทนคุณของคุณแม่
ถา้ บวชเปน็ พระ เป็นการทดแทนคณุ ของคุณพอ่ แตก่ อ่ นเขาถือกนั อย่างนี้ จงึ ไดเ้ ป็น
ธรรมเนียมประเพณมี าจนถึงบดั น้ี
พระพทุ ธเจา้ พระองคส์ อนใหท้ กุ ๆ คนรจู้ กั เคารพรกั นบั ถอื เชอื่ ฟงั กราบไหว้
คณุ พอ่ คณุ แม่ และผูเ้ จรญิ ด้วยวัยเปน็ ผใู้ หญ่ในตระกูลของตน เพราะคณุ พอ่ คุณแม่
ท่านเป็นผู้มีบุญคุณแก่พวกเราผู้เป็นบุตรธิดามาก พวกเราจำ�ต้องละความชั่ว
ทำ�แต่ความดี เป็นการเสนอสนองความต้องการของท่าน การบวชก็คือการเข้าไป
ปฏิบัติละกรรมชั่วทำ�แต่กรรมดี ลูกคนใดท่ีได้บวชเป็นพระเป็นเณร จักได้ป้องกัน
ช่วยเหลอื บิดามารดาไม่ให้ตกนรก เขาถือกนั ดงั น้ี ส่วนลกู ผชู้ ายสมัยกอ่ นกม็ คี วาม
พอใจและตง้ั ใจไว้เสมอวา่ ตวั เองเกดิ มาเปน็ ลกู ผู้ชายแล้วตอ้ งบวช เพอื่ เป็นการสบื
ดำ�รงวงศ์ตระกูลไว้ตามประเพณีมิให้ขาดสูญเสียไป และจะได้เป็นการตอบแทน
บุญคุณค่านำ้�นมข้าวป้อนของพ่อแม่ ท่ีท่านได้ทะนุถนอมกล่อมเกลี้ยงเลี้ยง
บำ�รงุ ตนมาโดยความเหนอ่ื ยยากล�ำ บาก การทดแทนบุญคณุ พอ่ แม่อยา่ งอน่ื ใดท่จี ะ
เสมอดว้ ยการบวชเปน็ ภกิ ษสุ ามเณรในพระบวรพทุ ธศาสนาเปน็ อนั ไมม่ ี คดิ ดงั นแ้ี ลว้
คุณพที่ ั้งสองจงึ ตกลงใจอนญุ าต ทัง้ ๆ มคี วามอาลยั และคดิ ถึง เพราะขาดนอ้ งคนดี
ทเี่ คยได้ช่วยเหลืออย่ทู ่บี ้าน
เมื่อท่านได้รับอนุญาตจากพ่ีท้ังสองแล้วก็เข้าไปเก็บส่ิงของบรรจุกระเป๋า
เดนิ ทางของทา่ นเรยี บรอ้ ย แลว้ กราบลาคณุ พท่ี งั้ สองออกเดนิ ทาง ไมม่ ใี ครเปน็ เพอ่ื น
ต้องไปด้วยกำ�ลังแข้ง เลาะเลียบภูเขาเป็นดงหนาป่าทึบเป็นทางเปล่ียวและกันดาร
มีภัยนานาชนิดจากช้างป่าและเสือสิงสาราสัตว์ต่างๆ เป็นอันมาก ท่านเดินทาง
จากจังหวดั เลย ผา่ นจงั หวัดอุดรธานี อำ�เภอหนองหาน อำ�เภอสวา่ งแดนดิน อ�ำ เภอ
พรรณานคิ ม ถงึ บา้ นบะทอง เปน็ เวลา ๑๐ วนั พอทา่ นมาถงึ บา้ น วางกระเปา๋ เดนิ ทาง
ไวใ้ นทคี่ วรแลว้ เขา้ ไปกราบเท้าคุณพ่อคณุ แม่ และไดท้ ักทายปราศรยั กับพี่ๆ น้องๆ
ทวั่ ทุกคน
ประวัติพระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร 5
คุณพ่อกับคุณแม่วันน้ัน นับแต่มองเห็นหน้าลูกชายเดินมามีความดีใจและ
สุขใจท่ีสุด จะนำ�เอาสิ่งใดมาเปรียบเสมอไม่ได้ แล้วก็ได้ถามความสุขทุกข์ในการ
เดินทางทุรกนั ดาร ตลอดถึงการกินอยหู่ ลับนอนกบั พ่ีเมอ่ื อยทู่ จี่ งั หวดั ขอนแกน่ และ
จังหวัดเลย ตลอดถึงความสุขความทุกข์ของลูกสาวลูกเขยและหลานๆ ทุกๆ คน
ท่านก็พิจารณาเลือกเล่าแต่ในเร่ืองที่จะให้เกิดประโยชน์และสบายใจให้พ่อแม่และ
ญาติๆ พี่น้องฟัง เพื่อไม่ให้ท่านเป็นห่วงและเสียใจ เรื่องพ่ีเขยถูกเป็นผู้ต้องหา
ในคดีฆ่าคนตาย ท่านไม่เล่าให้ใครฟังเลย โดยคิดว่าแม้จะพูดให้รู้ ใครๆ ก็ช่วย
อะไรไม่ได้ มแี ต่ทำ�ใหเ้ กิดความเสียใจและทุกข์ใจไปเปล่าๆ ไมม่ ีประโยชน์อะไรเลย
ในวนั น้ัน ลุง ปา้ นา้ อา ญาตพิ ี่น้องตลอดจนเพ่ือนฝูงบ้านใกล้เรอื นเคยี งได้ทราบ
ขา่ วการกลบั มาของทา่ นในคราวครง้ั นนั้ กพ็ ากนั มาเยย่ี มเยยี นถามขา่ วความสขุ ทกุ ข์
มากหน้าหลายตาเตม็ บา้ นแนน่ ไปหมด
สามเณรฝัน้
เม่ือท่านได้พักผ่อนอยู่ท่ีบ้าน พอหายเหน่ือยพอสมควรในการเดินทางจาก
จังหวัดเลยถึงบ้านท่ีอำ�เภอพรรรณานิคมด้วยกำ�ลังเท้าแล้ว ท่านจึงเข้าไปกราบ
ขออนญุ าตจากมารดาบดิ าออกไปบวชตามทไี่ ดต้ งั้ ใจไวแ้ ลว้ นนั้ เมอื่ ทา่ นมารดาบดิ า
ได้เห็นท่านมากราบขออนุญาตลาไปบวช ท่านทั้งสองมีความปีติปล้ืมใจและดีใจ
เปน็ อย่างยงิ่ หาส่ิงใดท่จี ะนำ�เอามาเปรยี บเสมอมไิ ด้ เพราะบิดามารดาท้ังสองทา่ น
มคี วามตงั้ ใจตัง้ แตไ่ หนแต่ไรมาเสมอวา่ ลูกชายของเราจะต้องบวชให้พอ่ แม่ เราไม่
ควรปล่อยให้เป็นคนดิบคนดาย เมื่อลูกได้บวชอยู่ในร่มผ้ากาสาวพัสตร์ เราพ่อแม่
และญาตๆิ ของเรากจ็ ะไดย้ ดึ เหนย่ี วยดึ ถอื ชายผา้ จวี รของลกู ชกั จงู พวกเราพาขน้ึ ไป
สสู่ วรรคเ์ ทวโลก เสวยทพิ ยส์ มบตั อิ ยใู่ นวมิ านเงนิ วมิ านทองเพยี บพรอ้ มดว้ ยความสขุ
อันเลิศประเสริฐย่ิง ท่านบิดาพูดข้ึนว่า พ่อมีความพอใจและดีใจมาก ท่ีลูกมาขอ
อนญุ าตลาไปบวชในพระบวรพทุ ธศาสนาคราวน้ี แทจ้ รงิ เราพอ่ แมท่ งั้ สองไดป้ รกึ ษา
ตกลงกนั ไวแ้ ลว้ วา่ จะไปรบั เจา้ เอามาบวช แตย่ งั มทิ นั ไดไ้ ปรบั ลกู ไดก้ ลบั มาเสยี กอ่ น
แล้วลูกก็มาขออนุญาตกราบลาเราผู้พ่อแม่อยากจะออกไปบวช ความคิดของเรา
พ่อแม่ลูกมันตรงกันอะไรอย่างนี้ น่าแปลกจริงหนอ ชะรอยบุพเพสันนิวาสชาติ
ปางกอ่ น พวกเราสามคนเคยปลูกศรทั ธาสามคั คที �ำ ความดีรว่ มกนั มาแลว้ เป็นแน่
6 อาจารยิ บูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
คุณแม่ก็ไปหยิบดอกไม้ธูปเทียนที่จัดเตรียมไว้แล้วย่ืนให้คุณพ่อพาลูกชาย
(พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร) ไปมอบใหท้ า่ นเจา้ อาวาสวดั โพนทอง บา้ นบะทอง ต�ำ บล
พรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร ท่านพระอาญาครธู รรม เจา้ อาวาสวัดโพนทอง จึงรับ
นายฝนั้ สวุ รรณรงค์ ไวใ้ หบ้ รรพชาเปน็ สามเณร เพราะอายยุ งั ไมถ่ งึ พอทจ่ี ะอปุ สมบท
เป็นพระภกิ ษุได้ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๑ ตรงกับปมี ะเมีย
นบั แตว่ นั ทไ่ี ดบ้ รรพชา สามเณรฝนั้ มคี วามขยนั หมน่ั เพยี รในการเรยี นหนงั สอื
และทอ่ งสวดมนต์ มจี ติ ใจทรหดอดทนทอ่ งสวดมนตส์ ตู รนอ้ ยสตู รใหญไ่ ดเ้ จนจบหมด
ต่อมาในระยะไม่นาน มีความแตกฉานในการเรียนเขียนจาร อ่านหนังสืออักษร
ตัวธรรม (เป็นหนังสือผูกใบลาน ทางภาคอีสานเรียนในสมัยน้ัน) ได้เป็นอย่างดี
มีสติปัญญาวอ่ งไว เอาใจใส่ในขอ้ วัตรปฏบิ ัติอนั เปน็ กิจวัตรของสามเณรเปน็ อย่างดี
มคี วามเฉลยี วฉลาด กริ ิยามารยาทเรียบรอ้ ย มคี วามเคารพเชอื่ ฟงั ว่างา่ ยสอนงา่ ย
อยู่ในโอวาทคำ�ว่ากล่าวตักเตือนพรำ่�สอนของอุปัชฌาย์อาจารย์ ท่านเล่าให้ฟังว่า
หนังสือนวโกวาทท่านท่องจบสวดปากเปลา่ ไดท้ ั้งเล่ม
เขา้ พิธอี ุปสมบท (มหานกิ าย)
ครั้นถึงปีมะแม พุทธศักราช ๒๔๖๒ สามเณรฝ้ัน มีอายุคำ�รบครบถ้วนได้
๒๐ ปเี ตม็ บรบิ รู ณ์ คณุ โยมทง้ั สองพรอ้ มดว้ ยญาตพิ นี่ อ้ งไดจ้ ดั ตระเตรยี มบรขิ าร การ
อปุ สมบทของสามเณรฝนั้ สำ�เรจ็ เสร็จบรบิ รู ณ์แล้ว กาลเวลาอันดที ่ีเป็นอุดมมงคล
ก็มาถึง สามเณรฝั้น พร้อมด้วยเพ่ือนๆ ก็ได้เข้าสู่พิธีอุปสมบท โดยมีท่านพระครู
ปอ้ ง (ปอ้ ง นนตะเสน) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์นวลและพระอาจารย์สังข์
เป็นพระกรรมวาจาจารยแ์ ละอนุสาวนาจารยต์ ามลำ�ดับ ณ วัดสิทธบิ ังคม บ้านไฮ่
ต�ำ บลบา้ นไร่ อ�ำ เภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร
เมื่อได้อุปสมบทแล้ว ท่านได้จำ�พรรษาอยู่กับพระอุปัชฌาย์ท่ีวัดสิทธิบังคม
บ้านไฮ่ ภายหลังออกพรรษาแล้วท่านได้ลาอุปัชฌาย์ ไปอยู่กับท่านพระอาญา
ครูธรรม (ภายหลังท่านได้รับสมณศักด์ิเป็น พระครูสกลสมณกิจ เจ้าคณะจังหวัด
สกลนคร) เจา้ อาวาสวัดโพนทอง บา้ นบะทอง ซง่ึ เป็นมาตุภมู ขิ องท่าน
ประวตั พิ ระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร 7
ท่านพระอาญาครูธรรมได้พาพระลูกวัดท่านฝึกหัดภาวนาทำ�กรรมฐาน
พระอาจารยฝ์ น้ั ทา่ นกไ็ ดร้ บั การฝกึ อบรมกรรมฐานการภาวนาครง้ั แรกกบั พระอาญา
ครูธรรม ด้วยท่านได้เคยติดตามพระอาญาครูธรรมออกธุดงค์ไปตามสถานท่ี
ต่างๆ ซึ่งเป็นท่ีสงบสงัด ฝึกหัดภาวนาตามป่าช้าป่าชัฏ ภูผาหน้าถ้ำ�หลายๆ แห่ง
หลายตำ�บล ทมี่ ีอยใู่ นแถบนนั้ วธิ ที ำ�กรรมฐานการภาวนาท่านทำ�อยา่ งไร ควรจะได้
น�ำ มาลงไวใ้ นทีน่ ี้ เพอ่ื ทา่ นผู้อ่านจะได้ทราบไว้บา้ งว่า พระสมยั กอ่ นปฏิบตั ิอยา่ งไร
การฝกึ กรรมฐานการภาวนาแตก่ อ่ นนนั้ ทา่ นใหม้ กี ารฝกึ อบรมจติ ใจใหม้ สี ติ
โดยวิธีนับลูกประคำ� คือเอาด้ายมาร้อยเม็ดลูกประคำ�จำ�นวน ๑๐๘ เม็ด เอามา
คล้องคอหรือข้อมือ แล้วนั่งบริกรรมภาวนาตั้งสติระลึกพุทธคุณว่า พุทโธๆๆๆ
เช่นเดยี วกนั แต่ตอ้ งนับลกู ประค�ำ ไปดว้ ย เชน่ บรกิ รรมวา่ พทุ โธ นับ ๑ ให้เอามอื
จบั เล่ือนลกู ประคำ�ลูกท่ี ๑ ไว้ พทุ โธ ๒ พุทโธ ๓ พทุ โธ ๔ พุทโธ ๕ นบั เลอื่ นไป
ตามลำ�ดบั ให้นบั แต่ในใจไปจนครบตามจำ�นวนของลกู ประคำ�ทงั้ ๑๐๘ เม็ด
เม่ือจบแล้วก็ต้ังต้นใหม่ คือ พุทโธ ๑ พุทโธ ๒ พุทโธ ๓ นับเรื่อยไป
หลายๆ รอบ จนกวา่ จติ จะสงบตัง้ ม่ันเปน็ สมาธอิ ย่างแน่วแน่ มีความรู้สึกเบากาย
เบาจิต พอปรากฏเห็นนิมิตต่างๆ มีแสงสว่างเป็นต้น ก็ถือว่าผู้น้ันได้สมาธิชั้นต้น
แลว้ เมอื่ ไปเลา่ ใหค้ รผู อู้ บรมฟงั มคี รคู อยสอบอารมณบ์ รกิ รรมไปนบั ไป ถา้ หากผใู้ ด
มีความพลั้งเผลอ หลงลืมสติ ท่านให้นับต้ังต้น คือ พุทโธ ๑ พุทโธ ๒ พุทโธ
๓ - ๔ - ๕ ไปใหมไ่ ปตามล�ำ ดบั ท�ำ อยา่ งนแ้ี มก้ ระทง่ั ยนื เดนิ นง่ั นอน กใ็ หย้ นื บรกิ รรม
นับ เดินนับ น่ังนับ นอนนับ เว้นไว้แต่กิน และเวลานอนหลับ ให้เจริญอย่างน้ัน
ตลอดเวลา จนกวา่ จะครบก�ำ หนด ๗ วนั หรอื ครงึ่ เดอื น หรอื เดอื น ๑ ตามทอ่ี าจารย์
ผูฝ้ กึ อบรมกำ�หนดให้ สมควรแก่ความสามารถของผปู้ ฏิบัตจิ ะทำ�ได้
ส่วนธัมมานุสสติ ความระลึกเจริญพระธรรมคุณ ก็เช่นเดียวกัน ให้ระลึก
นับธมั โม ๑ ธัมโม ๒ ธัมโม ๓ ไปตามล�ำ ดบั นบั ไปจนครบ ๑๐๘ แล้วต้งั ตน้ นับใหม่
ในอริ ยิ าบถตา่ งๆ เชน่ เดยี วกนั สว่ นสงั ฆานสุ สตนิ นั้ กใ็ หต้ งั้ สตริ ะลกึ ถงึ คณุ พระอรยิ สงฆ์
เช่นเดียวกนั เปล่ียนเปน็ ค�ำ วา่ สงั โฆ เท่านน้ั เช่น สงั โฆ ๑ สังโฆ ๒ สงั โฆ ๓ ดงั นี้
เปน็ เหมอื นกลา่ วแลว้ ในพระพทุ ธคณุ นน้ั แล ทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ ทา่ นฝกึ กรรมฐาน
8 อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
ภาวนากบั ทา่ นพระอาญาครธู รรมในครงั้ นน้ั ไดร้ บั ผลเปน็ อยา่ งไรทา่ นไมไ่ ดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั
จงึ ไมส่ ามารถจะนำ�เอามาลงในท่นี ี้ได้
พบพระอาจารย์มนั่ ภรู ทิ ตั ตะมหาเถระ
เมื่อพระภกิ ษฝุ ้ัน อาจาโร ได้อุปสมบทแลว้ ไดศ้ กึ ษาและปฏบิ ตั ิอยกู่ บั ท่าน
พระอาญาครธู รรม เปน็ เวลา ๒ ปี คร้ันถึงเดือน ๓ ข้างขึน้ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๖๓
ญาทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตั ตะมหาเถระ พรอ้ มด้วยพระภิกษสุ ามเณรหลายรูป
ออกเที่ยววิเวกเดินธุดงค์รุกขมูล มาถึงบ้านม่วงไข่ ตำ�บลพรรณานิคม จังหวัด
สกลนคร ได้เข้าไปพักปักกลดอยู่ในป่า อันเป็นป่าช้า ข้างบ้านม่วงไข่ (ปัจจุบัน
ท่ตี รงนั้นไดส้ ร้างเป็นวดั แลว้ ชื่อวา่ วดั ป่าภูไทสามคั ค)ี
ส่วนญาติโยมชาวบ้านม่วงไข่ ได้ทราบข่าวว่ามีพระธุดงค์มาพักปักกลดอยู่
ในป่าช้าข้างหมู่บ้านของตน พากันดีใจเป็นอย่างมาก เพราะทุกคนก็อยากจะเห็น
พระธุดงค์ จึงได้กระจายข่าวให้ได้ทราบทั่วถึงกันอย่างรวดเร็ว คณะหญิงชาย
ท้ังเด็กและผู้ใหญ่พากันออกไปต้อนรับ ได้ช่วยปัดกวาดจัดทำ�ที่พักปักกลดและ
ทางเดินจงกรม ตลอดจนถึงน้ำ�ด่ืมน้ำ�ใช้ถวาย คนผู้เฒ่าผู้แก่ก็นำ�เอาน้ำ�ร้อนน้ำ�อุ่น
หมากพลู บหุ รไ่ี ปถวายตามธรรมเนียมของคนสมยั น้นั เสร็จแล้วโยมทเ่ี ปน็ หัวหน้า
ผู้เป็นนักปราชญ์อาจารย์พากันนั่งคุกเข่ากราบพระ ๓ หน แล้วนั่งสงบเรียบร้อย
คอยฟังธรรมคำ�อบรมจากพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตะเถระต่อไป สำ�หรับภิกษุท่ีไป
รว่ มฟงั ดว้ ยในคราวน้ี มพี ระอาญาครดู ี พระภกิ ษฝุ นั้ อาจาโร พระภกิ ษกุ ู่ ธมั มทนิ โน
ไดม้ ใี จเล่ือมใสศรทั ธาชวนกนั ออกไปฟงั พระธรรมเทศนาอบรมธรรมปฏบิ ัตดิ ้วย
ท่านพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ตั ตะมหาเถระ ท่านได้แสดงธรรมเทศนาส่งั สอน
เริ่มต้ังแต่การให้ทาน การรักษาศีล ตลอดถึงการภาวนา ว่ามีผลอานิสงส์มาก
แตก่ ารทผ่ี ใู้ หท้ าน รกั ษาศลี ไหวพ้ ระ ฟงั ธรรม กระท�ำ เจรญิ พระกรรมฐานการภาวนา
ทไี่ มไ่ ดอ้ านสิ งสผ์ ลมากนนั้ เพราะพวกเรายงั มคี วามเหน็ ผดิ มคี วามนบั ถอื และเชอื่ ถอื
ผิดจากทางธรรมท่ีพระพุทธองค์นำ�พาสาวกประพฤติปฏิบัติมา ตัวอย่างเช่น
ชาวบา้ นเรายงั บวงสรวงนบั ถอื บชู าหอทะดาอารกั ษ์ (เรยี กตามภาษาพน้ื บา้ นสมยั กอ่ น)
ภตู ผปี ศี าจ พระภมู เิ จา้ ที่ ผสี างนางไม้ เคารพนบั ถอื เอามาเปน็ ทพ่ี งึ่ ตามความเขา้ ใจผดิ
ประวตั พิ ระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร 9
ของพวกเรา โดยเข้าใจว่าของเหล่าน้ันเป็นส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ มีอิทธิฤทธ์ิดลบันดาล
คุ้มครอง ปกปักรักษา และป้องกนั ภยันตรายไดจ้ รงิ มกี ารฆ่าสัตว์ ๒ เทา้ ๔ เทา้
มีวัว ควาย หมู เปด็ ไก่ ตลอดถงึ เหลา้ สุรา ยาดองของมนึ เมาเอามาทำ�พธิ กี รรม
เซน่ สรวง บวงสรวง ทะดา ปศี าจ วญิ ญาณภตู ผี พระภมู เิ จา้ ท่ี เทวาอารกั ษ์ เขาเหลา่ นนั้
จะไดม้ าเสวยเครอ่ื งสงั เวยทเี่ อามาท�ำ การเซน่ สรวงหรอื ไมไ่ มม่ ใี ครเหน็ เหน็ แตพ่ วกเจา้
เองน้ันแหละ อ่ิม เมา มึนเมามวั ซวั เซยี ครกึ ครืน้ หมดกนั ท้งั บา้ น แลว้ สิ่งเหลา่ น้นั
กจ็ ะมาชว่ ยอะไรเราไม่ได้ มแี ต่จะมากอ่ กวน กอ่ กิน กบั พวกเราร่ำ�ไป รวบปีหนึง่ ๆ
กต็ ้องเสยี ววั เสยี ควาย หมู เป็ด ไก่ ใหม้ ันทุกๆ ปี
พวกเรามคี วามเชื่อถือมาผดิ ๆ เพราะความเห็นผิดนี้แล ไม่ใช่ธรรมคำ�สอน
ของพระพทุ ธเจา้ ทพี่ าสาวก อบุ าสก อบุ าสกิ า ประพฤตปิ ฏบิ ตั มิ า การไหวพ้ ระ ภาวนา
รกั ษาศลี ใหท้ าน การท�ำ บญุ กศุ ลจงึ ไมม่ ผี ลอานสิ งสม์ าก ใหพ้ ากนั เลกิ ละความเชอื่ ถอื
ผิดตามความที่เคยเช่ือถือและนับถือผิดมาแล้วนั้นเสียต้ังแต่วันน้ีเป็นต้นไป
อย่าได้เกี่ยวขอ้ งกบั มันอีกอยา่ งเด็ดขาด
คณุ พระรตั นตรัยเท่าน้นั เปน็ ท่พี ง่ึ อนั ประเสริฐของพวกเรา
พระพทุ ธเจา้ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑ ทง้ั ๓ อยา่ งนี้ เรยี กวา่ พระรตั นตรยั
พระพุทธเจ้านั้นพระองค์ทรงคุณคือ กายกรรม การกระทำ�การใดๆ ทางกาย
พระองค์ทรงละเว้นการกระทำ�ในทางที่ผิด มีการเบียดเบียนตนและคนอื่น
ให้เกิดโทษ เป็นทุกข์ภัยอันตรายแก่ตนเองน้ันเสีย และพระองค์ทรงกระทำ�แต่ใน
ทางทถ่ี กู ไมเ่ บยี ดเบยี นตนและใครคนอน่ื เขา ตลอดถงึ สตั วอ์ นื่ ดว้ ย ท�ำ แตค่ ณุ ความดี
ท่ีให้เกิดประโยชน์แก่ตนทั้งบุคคลอ่ืนและสัตว์อ่ืน กายของพระองค์ทำ�แต่กรรมดี
มคี วามบรสิ ทุ ธิผ์ ่องใสสะอาดปราศจากกรรมอนั มวั หมองตอ้ งโทษ
พระพุทธเจ้าน้ันพระองค์ทรงคุณคือ วจีกรรม การกล่าวออกเสียง ชี้แจง
แสดงพูดออกเสียงมาทางวาจา พระองค์ทรงเว้นจากการกล่าวเท็จ พูดคำ�หยาบ
ค�ำ สอ่ เสยี ด ค�ำ เพอ้ เจอ้ เหลวไหล ไมเ่ ปน็ ประโยชนท์ ง้ั ตนและคนอนื่ พระองคท์ รงพดู
แต่ค�ำ สตั ยจ์ ริง เปน็ คำ�ท่มี นั่ คงตง้ั อยู่ตลอดกาล ไมเ่ คยเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
จึงเป็น สวากขาโต ภควตา ธัมโม พระองค์ทรงกล่าวแต่คำ�ท่ีจะทำ�ให้เกิดความ
10 อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
สมัครสมานประสานความสามัคคีในทางดีมีประโยชน์ซ่ึงกันและกัน ตลอดถึง
ประโยชน์สว่ นรวมพร้อมทั้งประโยชน์ชาตินแี้ ละชาตหิ น้า และประโยชนอ์ ยา่ งสูงสดุ
ชั้นวิมุตติเฉทปหาน พระองค์ทรงคุณคือ เว้นจากการพูดคำ�หยาบซ่ึงเป็นคำ�พูด
ทแ่ี สลงหขู องผทู้ ไี่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั ท�ำ ใหเ้ ปน็ ทกุ ขโ์ ทษไมเ่ กดิ ประโยชนท์ งั้ สองฝา่ ย พระองค์
ทรงคุณคือ เว้นจากคำ�พูดอันเหลวไหลไร้สาระ พูดแต่คำ�กอปรด้วยประโยชน์
เป็นคำ�พูดที่สะอาดหมดจดปราศจากมัวหมองธุลีละอองใดๆ ท้ังส้ิน จนพระองค์
ทรงได้บรรลุถงึ ซึง่ ขน้ั ชนั้ วจวี สิ ุทธิคณุ อนั ยอดเย่ียม
พระพุทธเจ้านั้นพระองค์ทรงคุณคือ มโนวิสุทธิ มีจิตใจหมดจดสะอาด
ผอ่ งใสบรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากละอองธลุ อี นั เปน็ มลทนิ อนั มคี วามโลภ โกรธ หลง เปน็ ตน้
พระองคม์ กี าย มวี าจา มจี ติ บรสิ ทุ ธป์ิ ราศจากเครอื่ งเศรา้ หมอง คอื กเิ ลสอาสวะไมม่ ี
ในกาย วาจา จิต พระองค์ไดบ้ รรลถุ ึงขนั้ วิสุทธคิ ุณอนั ยอดเยีย่ ม ซึ่งไม่มีมนุษย์ และ
สตั ว์ เทวดา อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ ใดๆ ในโลกได้บรรลถุ ึงคุณนามวา่ วิสทุ ธิคุณ
อย่างเยย่ี มยอดนเี้ ลย
พระพุทธเจ้าน้ัน พระองค์ทรงพระเมตตาพระมหากรุณาธิคุณอย่างสูงสุด
แก่พวกเราและสัตว์ท้ังหลายในโลกหาประมาณมิได้ พระองค์ไม่เห็นแก่ความ
เหนื่อยยากลำ�บากในพระวรกาย ท่องเที่ยวไปโปรดเทศนาแนะนำ�พรำ่�สอนตาม
คามเขตนคิ ม ทกุ แหง่ ทุกหน ทุกบา้ นทกุ ตำ�บล ตามหมบู่ ้านชนบท บา้ นน้อยใหญ่
ตามไร่นาป่าเขา จะเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ เศรษฐี คฤหบดี มีจนคนใดอย่างไร
ไม่เลือก พระองค์ทรงชักนำ�พรำ่�สอน อนุเคราะห์ สงเคราะห์เวไนยชนเหล่าน้ัน
ดว้ ยอาศยั พระมหากรณุ าเมตตาธคิ ณุ ของพระองคอ์ ยา่ งลน้ ฟา้ ลน้ ฝงั่ ไมเ่ คยบกพรอ่ ง
แม้แตน่ อ้ ยเลย จงึ ไดช้ ือ่ ว่าพระองค์ทรงพระมหากรณุ าธิคณุ
พระพทุ ธเจา้ นนั้ พระองค์ทรงพระปญั ญาคณุ เปน็ คณุ อันส�ำ คญั ยง่ิ เพราะ
พระปัญญาคณุ นี้เอง ท�ำ ใหพ้ ระองคไ์ ด้ความส�ำ เรจ็ ในการตรสั รบู้ รรลถุ งึ อรหันตคณุ
เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นเอกในโลก ธรรมท่ีพระองค์ทรงได้บรรลุถึง
ซง่ึ การตรสั รชู้ อบดว้ ยพระองคเ์ องเหลา่ นนั้ พระองคย์ งั ไมเ่ คยไดย้ นิ ไดฟ้ งั มาจากใคร
คนใดทีไ่ หนมาก่อนเลย ไม่มี และไมเ่ คยมีใคร ครูอาจารย์ใดท่ไี หนมาส่ังสอน หรือ
ช้ีแจงแสดงบอกแนะแนวทาง ผิด ถูก ดี ช่ัว ให้แก่พระองค์ได้ทราบมาก่อนเลย
ประวัติพระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร 11
พระองคไ์ ดต้ รสั รดู้ ว้ ยพระปญั ญาอนั ปรชี าหลกั แหลม เฉลยี วฉลาดองอาจแกลว้ กลา้
ยังความสามารถให้ได้บรรลุถึงคุณคือ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยลำ�พัง
พระองคเ์ องอยา่ งเยย่ี มยอด เปน็ เอกในโลกกบั ดว้ ย เทวดา มาร พรหม ในประชาชน
กับด้วยสมณะและพราหมณ์ กับด้วยเทวดาและมนุษย์ สูงสุดไม่มีใครและส่ิงใด
จะมาเปรยี บเทียบเทยี มเท่าพระมหาปัญญาคุณของพระองคไ์ ด้
พระมหาปัญญาคุณอันเลิศประเสริฐสูงสุดน้ีเอง ทำ�ให้พระองค์มีความ
สามารถได้ลุถึงซ่ึงความสำ�เร็จพระมหาสัพพัญญุตญาณคุณ เป็นคุณธรรมย่ิงใหญ่
สูงสดุ กว่าโลกท้ัง ๓ คุณของพระพุทธเจา้ นนั้ มมี าก ไม่สามารถทน่ี ำ�เอามาแสดงท่ีนี้
ให้ส้ินสุดได้ ขอให้พวกเราศึกษาจดจำ�ไว้โดยอย่างย่อเพียง ๓ อย่างก่อน คือ
ทรงพระมหาปัญญาคุณ ๑ ทรงพระมหาบรสิ ทุ ธคิ ุณ ๑ ทรงพระมหากรณุ าธคิ ณุ ๑
พระผู้มีพระภาคผู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวเราท้ังหลาย พระองค์
ทรงไว้ด้วยดีแล้วซึ่งพระมหาปัญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ
พระสพั พญั ญคู ณุ พระสพั พอนนั ตคณุ ดงั แสดงมาแลว้ น้ี ใหพ้ วกเราทง้ั หลายทกุ ทา่ น
ทุกคนตั้งจิตน้อมนึกระลึกถึงพระคุณของพระองค์ทุกวันทุกเวลา เคารพนบไหว้
น้อมกราบบูชานับถือเป็นสรณะท่ีพ่ึงของตนทุกคนทุกท่านเถิด จักได้เป็นมหากุศล
อนั ล�ำ้ เลศิ ประเสรฐิ นกั แล ทพี่ วกเรานบไหวบ้ ชู า เซน่ สรวงเทวดาอารกั ษ์ พระภมู เิ จา้ ที่
ภูตผปี ีศาจ อะไรเหลา่ นี้ มนั ไม่สามารถทจ่ี ะชว่ ยอะไรเราได้ อยา่ พากนั เช่ือถือและ
นบั ถอื ผดิ ๆ ต่อไป
พระธรรมน้ันคือ สภาวะท่ีให้เกิดความสุขและทุกข์จากบุคคลที่ฉลาดและ
ไมฉ่ ลาดกระท�ำ ขนึ้ มานเี้ อง เปน็ ความจรงิ มตี ลอดกาล อยา่ งมน่ั คง เปน็ ของประจ�ำ โลก
จึงเรียกว่า ธรรมเป็นสภาพท่ีดำ�รงทรงไว้ซึ่งความจริง พระธรรมน้ันบางอย่าง
เมื่อบุคคลกระทำ�แล้ว ให้เกิดความสุข เป็นคุณความดี มีประโยชน์แก่ตนผู้ทำ�ก็มี
บางอย่างทำ�แล้วกลับให้เกิดทุกข์เป็นโทษภยันตรายแก่ตัวผู้กระทำ�ก็มี บางอย่าง
ทำ�แล้วเป็นกลางๆ ไม่เป็นคุณเป็นโทษก็มี แต่ท่ีน่ี จักแสดงธรรมในส่วนท่ีเป็นคุณ
และเป็นโทษเท่าน้ัน บุคคลใดท่ียังไม่ฉลาดไม่รอบรู้ในทางธรรม เขาย่อมฆ่าสัตว์
ลกั ทรัพย์ ประพฤติมิจฉาจารทางกาม เปน็ การท�ำ ความทจุ ริตทางกาย เรยี กวา่ กาย
ทจุ รติ บา้ ง เขายอ่ มน�ำ เอาความไมจ่ รงิ มาพดู ทง้ั ๆ ทร่ี ู้ เรยี กวา่ พดู เทจ็ ยอ่ มพดู สอ่ เสยี ด
12 อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
น�ำ เรอ่ื งยยุ งใหแ้ ตกรา้ วซง่ึ กนั และกนั พดู คำ�หยาบ ไมเ่ สนาะเพราะหแู กผ่ ทู้ ไี่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั
บ้าง พูดเพ้อเจอ้ เลอะเทอะเหลวไหลไรป้ ระโยชน์ เป็นการทจุ ริตทางวาจาที่เรียกว่า
วจที จุ รติ เขายอ่ มมคี วามละโมบโลภเพง่ เลง็ ในวตั ถขุ า้ วของของคนอน่ื มาเปน็ ของตน
เรียกว่า อภิชฌาวิสมโลภะ คิดปองร้าย ผูกอาฆาตบาดหมางจองเวรจองผลาญ
เปน็ การคดิ พยาบาท ยอ่ มมคี วามคดิ เหน็ ผดิ จากความเปน็ ธรรมทมี่ เี หตผุ ลตามความ
เป็นจรงิ เป็นมจิ ฉาทิฏฐิ นเ้ี รียกว่า มโนทุจริต
คนไม่ฉลาดย่อมท�ำ กรรมเป็นการทจุ รติ ดว้ ยกาย วาจา จติ เปน็ อกุศลธรรม
คือ อกุศล อันเป็นท่ีมาจากจิตท่ีประกอบกับกิเลส มีโลภะ โทสะ โมหะ เป็นมูล
ชวนให้ท�ำ บาป อปญุ ญาภสิ งั ขารเป็นปัจจยั อาศยั มาจากอวิชชา เปน็ นายช่างผู้ปรงุ
ชวนจติ ของคนผไู้ มฉ่ ลาดใหท้ �ำ กรรมทเ่ี ปน็ บาปอกศุ ล ใหผ้ ลเปน็ โทษ ไดร้ บั ความเสวย
ทกุ ข์ทรมานกายและจิตใจ อาศัยเหตนุ ้ี พระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองค์จงึ ไดท้ รงชแ้ี จง
แสดงแนะน�ำ พร�่ำ สง่ั สอนชาวเราผยู้ งั โง่ ยงั ไมฉ่ ลาดทงั้ หลายอยา่ งนวี้ า่ สพั พปาปสั สะ
อกรณัง เอตัง พุทธานสาสนัง อย่าทำ�กรรมอันเป็นบาปน้อยใหญ่ด้วยท้ังทางกาย
วาจา ใจทง้ั ปวง น้เี ปน็ พระธรรมค�ำ สัง่ สอนของพระพุทธเจ้าทง้ั หลาย ทเ่ี ราเรียกว่า
พระศาสนา ดงั น้ี
บคุ คลผมู้ สี ตปิ ญั ญาดี เมอ่ื ไดเ้ หน็ ไดย้ นิ ไดฟ้ งั พระสทั ธรรมอนั เปน็ คำ�สง่ั สอน
ของพระพุทธเจ้าแล้ว เขาย่อมเป็นผู้มีจิตอันแสนฉลาด รู้ความหมาย มีศรัทธา
เลอ่ื มใส เขา้ ใจในอรรถในธรรม เขาท�ำ แตก่ รรมดี ละกายทจุ รติ ตง้ั จติ เจตนา เวน้ หา่ ง
จากบาป เชน่ ไมฆ่ ่าสตั ว์ ไมล่ กั ขโมยเอาขา้ วของผอู้ ืน่ ไมป่ ระพฤติผิดมจิ ฉาทางกาม
ไม่พูดความเท็จ พูดแต่ความจริง ไม่พูดส่อเสียดให้เกิดความทะเลาะแตกความ
สามัคคีต่อกัน พูดแต่คำ�ให้เกิดความสมัครสมานประสานสามัคคีต่อกันและกัน
ไม่พูดคำ�หยาบ พูดแต่คำ�ไม่แสลงหู ทำ�ให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจดี ไม่มีภัยในคำ�พูด
พูดมั่นคงมีหลักฐาน ไม่เป็นคำ�เพ้อเจ้อเหลวไหล ไร้ประโยชน์ เป็นวาจาสะอาด
นักปราชญน์ ยิ มชมชอบ
บุคคลผู้ฉลาดนั้น แม้จะคิดส่ิงใด ก็ไม่คิดเพื่อเบียดเบียนตนและคนอื่น
อนภิชฌา (ไม่โลภคอยจ้องอยากได้ของเขา) อพยาบาท (ไม่คิดร้ายเบียดเบียน
เขา) มีความเห็นถูกต้อง คิดเวน้ กรรมชั่ว ศกึ ษาสมาทานทำ�แต่กรรมดี ยินดีพอใจ
ในการท�ำ บญุ มที านมยั สลี มยั ภาวนามยั ใหค้ วามส�ำ เรจ็ เปน็ บญุ อาศยั ไดก้ �ำ ลงั หนนุ
ประวัตพิ ระอาจารย์ฝั้น อาจาโร 13
มาจาก ปุญญาภิสังขาร เป็นนายช่าง มีวิชชามาเป็นปัจจัย ให้เป็นไปสมควรแก่
กำ�ลังของตน นี่เป็นฝ่ายกุศลธรรม ทำ�ได้ทุกคน เมื่อจิตใจมีความฉลาดแล้ว
ย่อมยังกุศลให้ถึงพร้อม ที่เรียกว่า กุสลัสสูปสัมปทา (กุสลสฺสูปสมฺปทา) เอตัง
พุทธานสาสนันติ น้ีเป็นพระธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เราทุกคน
ควรระลกึ นกึ มาเปน็ ธรรมค�ำ ภาวนาวา่ สวากขาโต ภควตา ธมั โม หรอื จะบรกิ รรมวา่
ธมั โม เม นาโถ หรอื ธัมโม ธมั โม ธมั โมๆๆๆ ก็ได้ ให้พากันปฏิบัติอย่างนจี้ ึงจะถูก
จึงจะมีผลอานิสงส์มาก เป็นทางสุคติ ปฏิบัติถูกอย่างนี้จึงจะได้รับประโยชน์
ส�ำ เรจ็ สขุ ในมนษุ ยส์ มบัติ และสวรรคส์ มบัติ นพิ พานสมบตั ิ เปน็ สมบัติสุขอยา่ งย่งิ
ไดเ้ ลิกละความเช่อื ถอื ท่ีนบั ถือผิดๆ อันพวกเราเคยถือมาแลว้ น้นั เสยี
พระสงฆ์น้ันคือ ท่านปฏิบัติรักษากายของท่านดี วาจาของท่านก็ปฏิบัติดี
จติ ของทา่ นกม็ สี ตปิ ญั ญาเปน็ เครอ่ื งรกั ษาและปอ้ งกนั อยา่ งดยี งิ่ เปน็ สปุ ฏปิ นั โนสงฆ์
ทา่ นบคุ คลใดปฏบิ ตั จิ ติ และอบรมจติ ดว้ ยสตปิ ญั ญาอนั คมกลา้ อยา่ งถกู ตอ้ งตรงตาม
ทางของพระอรยิ ะ เปน็ ทางอนั เอกเหนอื ทางโลกทง้ั ๓ ทา่ นนแี้ ล เปน็ อชุ ปุ ฏปิ นั โนสงฆ์
ทา่ นบคุ คลใดเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั จิ ติ อาศยั ทไ่ี ดพ้ ลงั มาจากมหาสตมิ หาปญั ญาทตี่ นไดเ้ ตรยี ม
ไวอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามศลี ธรรมของพระอรยิ ะ เหมอื นคนผฉู้ ลาด รจู้ กั เลอื กเอาลกู กญุ แจ
ถูกกับตัวของมัน พอจับเข้าไปถึงจุดไขนิดเดียวก็หลุดพ้นออกมาทันทีนี้ฉันใด
ท่านผู้ปฏิบัติถูกต้องตามทางของพระอริยะเพ่ือมรรคผลนิพพานก็เช่นกัน ผู้ปฏิบัติ
อยา่ งนแ้ี ล เปน็ ญายปฏปิ นั โนสงฆ์ บคุ คลทา่ นใดแลเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ตั ติ รง ปฏบิ ตั ิ
อย่างถูกตอ้ ง ปฏบิ ัตชิ อบยง่ิ เป็นผ้บู ริสทุ ธหิ์ มดจดงดงาม สะอาด ปราศจากกิเลส
ตณั หาอาสวะ เห็นแจง้ พระนิพพาน พระองคท์ า่ นนีแ้ ล เปน็ สามีจปิ ฏปิ นั โนสงฆ์
บุคคลท่านผู้ปฏิบัติดังได้แสดงมานี้จึงได้ช่ือว่าเป็น พระอริยสงฆ์สาวกของ
พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผู้ทรงคณุ อันประเสริฐ เราท้งั หลายควรนบนอบคำ�นบั ตอ้ นรบั
เคารพกราบไหว้สักการบูชา ต้ังจิตด้วยสติระลึกน้อมนึกเอาเข้ามาภาวนาว่าเป็น
สรณะ ทพี่ ึง่ ของเราอนั ประเสริฐ สปุ ฏิปนั โน ภควโต สาวกสงั โฆ หรอื จะบรกิ รรมว่า
สังโฆ เม นาโถ หรอื สงั โฆ สงั โฆ สงั โฆๆๆๆๆ กไ็ ด้ เมื่อพากนั ไดย้ ินได้ฟงั แล้วตอ้ ง
ปฏิบัติตาม จักได้เป็นท่ีพ่ึงที่อาศัยของเรา ถ้าไม่ปฏิบัติก็พึ่งอะไรไม่ได้ จะเป็นคน
อนาถาหาทีพ่ งึ่ ไม่มี มแี ต่ภัยแตเ่ วร ทุกข์ยากล�ำ บากเดอื ดร้อน จะพึง่ พาอาศยั อะไร
กไ็ มไ่ ด้ เพราะเราไม่ได้ฝกึ หดั ปฏิบตั ิไวใ้ หไ้ ด้เป็นสมบตั ิของเราเอง
14 อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร
เมอื่ เราไดม้ าฝกึ หดั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหจ้ ติ ใจของเรามคี วามฉลาด เกดิ มสี ตปิ ญั ญา
ศรัทธาเล่ือมใส เคารพนับถือเชื่อม่ันในคุณพระรัตนตรัย คือ คุณพระพุทธเจ้า
คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ แล้วกราบไหว้บูชาทุกวันทุกเวลา อย่างน้ีเราก็พ่ึงได้
เพราะท่ีพึ่งของเรามีแล้ว เราทำ�บุญให้ทานการกุศลใดๆ ย่อมได้ผลอานิสงส์
มาก เราอยู่ในชาติใดภพใด เราก็ได้อาศัยซึ่งบุญกุศลท่ีตนทำ�ไว้แล้วเป็นท่ีพ่ึงอาศัย
บำ�รุงตกแต่ง คุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ให้พ้นภัยอันตรายมีแต่ความสุขกาย
สบายใจ เราจะปรารถนาสงิ่ ใดกย็ อ่ มไดบ้ รรลถุ งึ ซงึ่ ความส�ำ เรจ็ เพราะมผี ไู้ ดร้ บั ความ
สำ�เร็จมากต่อมากนับจำ�นวนไม่ได้ทั้งในอดีตและปัจจุบันมาแล้ว อย่างนี้พวกเรา
ต้องการไม่ใช่หรือ เม่ือเราต้องการแต่เราไม่ทำ�เราจะได้หรือ ไม่ได้ถ้าเราไม่ทำ�
ได้จำ�เพาะผูท้ ไ่ี ดท้ �ำ ไวแ้ ล้วเทา่ นั้น ขอ้ นี้ควรจ�ำ ไวใ้ หด้ ี
พระอาจารยม์ ่ันทา่ นได้เทศน์สอนอบรมแสดงถงึ เร่อื งทาน ศีล ภาวนา ว่ามี
ผลมากก็เมื่อเรามีศรัทธา เลื่อมใส ตั้งใจปฏิบัติให้ถูกต้อง ให้เลิกละการนับถือ
แลเช่ือถือผิด แล้วก็ปฏิบัติผิดๆ กันมานั้นเสีย ท่านได้แสดงอุปมาอุปไมย
เปรยี บเทยี บใหพ้ วกเราเหน็ แจง้ จรงิ ประจกั ษใ์ นจติ ใจ ท�ำ ใหเ้ กดิ มคี วามพอใจ เลอื่ มใส
ศรัทธา ในพระธรรมเทศนาของพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตั ตะมหาเถระ ในกาลครัง้ นนั้
เปน็ อันมาก จงึ มอบกายถวายตวั เป็นลูกศิษย์ ตง้ั จติ ปฏิญาณตนเป็น พทุ ธมามกะ
เลิกละการเซ่นสรวงบูชาอารักษ์ วิญญาณพระภูมิเจ้าท่ีมเหศักด์ิหลักคุณ
ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา พากันนับถือเคารพกราบไหว้สักการบูชาแต่ในคุณ
พระรัตนตรยั คอื คุณพระพุทธเจ้า คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ เป็นสรณะทพ่ี ่ึงของ
ตนมาจนตราบเทา่ ทุกวนั น้ี
ฝ่ า ย พ ร ะ ส ง ฆ์ ผู้ ซึ่ ง มี ศ รั ท ธ า ไ ด้ ม า ร่ ว ม ฟั ง ธ ร ร ม ข อ ง พ ร ะ อ า จ า ร ย์ มั่ น
ภูริทัตตะมหาเถระ ในคราวครั้งนั้น มีท่านพระอาญาครูดี พระภิกษุฝ้ัน อาจาโร
พระภิกษุกู่ ธัมมทินโน ฟังท่านแสดงจบแล้ว เกิดความปีติปล้ืมใจเป็นอย่างย่ิงทั้ง
๓ องค์จึงเข้าไปมอบกายถวายตัวเป็นลูกศิษย์ด้วยจิตศรัทธาอันแรงกล้า เพ่ือจะได้
ฝึกศึกษาแล้วปฏิบัติตามพระอาจารย์ไป เม่ือพระอาจารย์ม่ันและคณะได้พักอยู่
ทนี่ นั้ ตามสมควรแกอ่ ธั ยาศยั แลว้ ทา่ นไดพ้ าคณะของทา่ นจารกิ ออกเดนิ ธดุ งคต์ อ่ ไป
เปน็ เหตใุ หศ้ ษิ ยใ์ หมท่ งั้ ๓ องค์ ตระเตรยี มบรขิ ารการออกธดุ งคอ์ ยปู่ า่ ไมท่ นั ถงึ อยา่ งนน้ั
ประวัติพระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร 15
ใจของท่านก็ไม่ยอมเลิกละความพยายามท่ีจะติดตามท่านพระอาจารย์มั่นไป
ดว้ ยใจศรัทธาอนั เปย่ี มฝั่งไม่เคยบกพร่องตลอดเวลา
พบกับพระอาจารยด์ ลู ย์ อตุโล
คณะของพระอาจารยด์ ลู ย์ อตโุ ล (พระรตั นากรวสิ ทุ ธ์ิ เจา้ อาวาสวดั บรู พาราม
จงั หวัดสรุ นิ ทร์) จ�ำ นวน ๕ รูป มพี ระอาจารย์สีทา พระอาจารยบ์ ุญ พระอาจารยห์ นู
พระอาจารย์สิงห์ (พระญาณวิศิษฏ์ สมิทธิวีราจารย์ วัดป่าสาลวัน นครราชสีมา)
ออกจากวัดสุปัฏนาราม อุบลราชธานี เท่ียวธุดงค์ติดตามหาพระอาจารย์ม่ัน
ไปถงึ บา้ นทา่ คันโท จังหวดั กาฬสินธ์ุ เปน็ ฤดกู าลเข้าจ�ำ พรรษา เดนิ ทางตอ่ ไปไมไ่ ด้
คณะชาวบา้ น ทา่ คนั โทจงึ ไดช้ ว่ ยกนั จดั ท�ำ ทพ่ี กั ในปา่ ชวั่ คราวใหท้ า่ นไดอ้ ยจู่ �ำ พรรษา
ตามวินัยพทุ ธานุญาต
เมอื่ ออกพรรษาแลว้ ทง้ั ๕ รปู ตา่ งกแ็ ยกยา้ ยกนั ออกเดนิ ทาง แตก่ ไ็ ดน้ ดั พบกนั
ทสี่ �ำ นกั ของพระอาจารยม์ นั่ ดว้ ยกนั พระอาจารยด์ ลู ยไ์ ปดว้ ยกนั กบั พระอาจารยส์ งิ ห์
ต่อมาพระอาจารย์ดูลย์ก็ได้แยกออกมาจากท่านพระอาจารย์สิงห์ไปคนละทาง
แต่ก็มีจุดมุ่งหมายไปหาพระอาจารย์มั่นอันเดียวกัน ต่อมาพระอาจารย์ดูลย์ก็ได้
เดินทางไปทันพบท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตะมหาเถระ อยู่ท่ีบ้านตาลเน้ิง
อ�ำ เภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ทา่ นไดอ้ ยฟู่ งั เทศน์ ศกึ ษาวธิ กี ารปฏบิ ตั ฝิ กึ หดั
ทำ�สมาธิภาวนากับท่านพระอาจารย์มั่น พอเป็นท่ีเข้าใจนำ�ไปปฏิบัติตัวเองได้แล้ว
จึงไดก้ ราบลาพระอาจารย์มั่นออกปฏิบัติเดนิ ธุดงค์กอ่ นไป
พระอาจารยด์ ูลย์เทีย่ วธดุ งคม์ าถึงบ้านกดุ ก้อม อ�ำ เภอพรรณานคิ ม จังหวดั
สกลนคร พอดีถึงกาลเข้าพรรษา คณะศรัทธาญาติโยมบ้านกุดก้อม พร้อมใจกัน
จัดเสนาสนะที่พักชั่วคราวที่ป่าซ่ึงห่างจากหมู่บ้านพอสมควร นิมนต์ให้ท่านเข้าอยู่
จำ�พรรษา สามเณรที่ติดตามพระอาจารย์ดูลย์เกิดป่วยไข้เป็นมาลาเรียอย่างแรง
อาการหนักมากถึงแก่ความตายเป็นท่ีน่าสงสารย่ิงนัก คณะศรัทธาจึงได้อาราธนา
ทา่ นพระอาจารยด์ ลู ยไ์ ปเขา้ จ�ำ พรรษาอยใู่ นโบสถว์ ดั โพธช์ิ ยั บา้ นมว่ งไข่ ต�ำ บลพรรณา
อ�ำ เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร ซง่ึ พระอาญาครดู เี ปน็ ผรู้ กั ษาการแทนเจา้ อาวาส
ท่านพระอาจารย์ดลู ยจ์ งึ ไดย้ ้ายไปเขา้ จ�ำ พรรษาอยทู่ ีโ่ บสถใ์ นวดั โพธิ์ชยั บา้ นม่วงไข่
16 อาจารยิ บชู า พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร
ช่างเป็นโชคดีท่ีหาได้ไม่ง่ายนัก ท่ีได้มีพระธุดงค์เท่ียวรุกขมูลมาเข้าอยู่
จ�ำ พรรษาดว้ ยอยา่ งน้ี เปน็ โอกาสอนั ดสี �ำ หรบั พระอาญาครดู ี พระภกิ ษฝุ น้ั พระภกิ ษกุ ู่
หลังจากทา่ นได้ฟงั ธมั โมวาท ของพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตั ตะมหาเถระแล้ว เกิดมี
ศรทั ธาไดม้ อบกายถวายชวี ติ ตดิ ตามฝกึ ศกึ ษาอบรมภาวนากบั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
แต่บังเอิญตระเตรียมบริขารการออกอยู่ป่าไม่ทัน เป็นเหตุให้ท่านพระอาจารย์ม่ัน
และคณะออกเดนิ ทางไปกอ่ น ภายหลงั โชคอนั ดมี มี าถงึ เหมอื นเทวดาชว่ ยมาบนั ดาล
ให้ท่านพระภิกษุ ๓ รูปได้พบกับพระอาจารย์ดูลย์ดังกล่าวแล้ว ท่านอาญาครูดี
พระภิกษุฝ้ัน พระภิกษุกู่ ท่านจึงได้เข้าไปศึกษาวิธีฝึกจิตตภาวนาเบื้องต้นกับ
พระอาจารย์ดูลย์ตลอดพรรษาในปนี ้ัน
ครน้ั เมื่อออกพรรษาแลว้ ท่านทง้ั ๓ รูปและพระเณรองคอ์ นื่ ๆ อีกหลายรูป
มพี ระอาจารยด์ ลู ยเ์ ปน็ ผนู้ �ำ พาคณะออกเดนิ ธดุ งคเ์ จาะจงตรงไปทพี่ ระอาจารยม์ น่ั
ภูริทัตตะมหาเถระ ได้ไปทันพบพระอาจารย์มั่นที่บ้านตาลโกน ตำ�บลตาลเนิ้ง
อำ�เภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ท่านได้อยู่ศึกษาได้อุบายวิธีการภาวนาจาก
พระอาจารย์มั่นชนิดอย่างจุใจเต็มอัตราแล้ว พระอาจารย์ฝ้ันท่านจึงได้ลา
พระอาจารย์มั่นไปกราบนมัสการท่านพระอาจารย์ใหญ่เสาร์ กันตสีละมหาเถระ
ซึ่งท่านพักทำ�ความเพียรภาวนาอยู่ที่ป่าใกล้บ้านหนองดินดำ� ใกล้กับบ้านตาลโกน
น่ันเอง หลังจากนั้น ท่านก็เดินทางไปกราบนมัสการท่านพระอาจารย์สิงห์
ขันตยาคโม (พระญาณวิศิษฏ์) ท่ีบ้านหนองหวาย ท่านอยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมกับ
ท่านพระอาจารย์สิงห์ พอควรแก่ความต้องการแล้ว ได้ลาท่านพระอาจารย์สิงห์
ยอ้ นกลบั มาอยู่กบั พระอาจารยม์ น่ั อกี
อบุ ายธรรมจากท่านพระอาจารย์ม่นั
ทีนที้ า่ นพระอาจารยม์ ัน่ สอนชี้วธิ ที างปฏบิ ัตอิ ย่างถงึ จติ ถงึ ใจ ใหเ้ ป็นผตู้ งั้ ใจ
ปรารภความเพยี รแรงกลา้ เดด็ เดยี่ ว ไปลำ�พังองคเ์ ดยี วเท่ยี ววเิ วก อย่าไดค้ ลุกคลใี ห้
ยนิ ดีตอ่ ความสงบ อย่ามักมาก ยินดใี นความมกั น้อย เป็นผสู้ นั โดษ ยนิ ดใี นความ
สันโดษ พอใจในปจั จัยสแี่ ต่ท่ีตนมีอยู่แลว้ ได้มาโดยชอบธรรม นเ้ี ปน็ อรยิ ะประเพณี
เป็นอริยะปฏิปทามีมาแต่โบราณกาล สืบสายต่อเน่ืองมาไม่เคยขาดในวงศ์ของ
พระอริยะ ท้ังอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ไป๊ ไปผู้เดียวน่ันแหละจะได้กำ�ลังจิต
ประวตั พิ ระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร 17
จักได้ฝึกจิตให้มีความกล้าหาญ ให้เป็นนักต่อสู้เพื่อเอาชัยชนะกับกิเลสตัณหา
สัญญาพญามารท่ีมีสันดานบาปหยาบช้าทารุณ ก่อกวนจิตใจให้หมกมุ่นลุ่มหลง
อย่ใู นใต้อำ�นาจของมัน โนน้ ภเู ขา ปา่ ชา้ ปา่ ชัฏ เปน็ ทีส่ งบสงดั มนี ำ�้ ใสสะอาด เป็นที่
ปราศจากคนไปมาพลกุ พลา่ น ไปเถอะไปคนเดยี วเทย่ี วอยวู่ เิ วกประกอบความเพยี ร
เจริญสติ สมาธิ ปัญญา ศรัทธา วิริยะ อันเป็นพละของใจให้เข้มแข็ง จิตใจจะได้
มีกำ�ลังกล้าหาญ องอาจ ชาญชัย ขับไล่พญามารพร้อมทั้งลูกสาวและเสนามาตย์
ให้หมดอำ�นาจพินาศขาดสูญไป จิตใจก็จักได้มาซ่ึงความสงบสุขอย่างย่ิง หมดจด
สงบระงบั ดับจากส่งิ กอ่ กวนอย่างนี้แล
อาจารย์ฝ้ันได้ฟังธรรมคำ�ชี้แจงแสดงสอนแนะแนวทางปฏิบัติ ให้เห็นชัด
จะแจ้งเจาะจงตรงถึงจติ ถึงใจของท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทตั ตะมหาเถระ ในคราว
คร้ังน้ัน ทำ�ให้ท่านได้เพม่ิ กำ�ลังใจในความเชือ่ มนั่ ตอ่ ธรรมะปฏิบตั ิ ทา่ นจึงได้ปรารภ
ในใจตัวเองว่า ต่อไปนี้เราจะต้องปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจัง เอาชีวิตเป็นเดิมพัน
เป็นเครื่องประกันการปฏิบัติเพ่ือให้ได้ถึงอรรถ ถึงธรรม ด้วยความเพียรพยายาม
อย่างถูกต้องตามทางพระอริยะที่ท่านได้พาดำ�เนินมา ยิ่งคิดยิ่งจิตกล้าอาศัยพลัง
ศรัทธามาแต่จากการฟังธรรม ท่านจึงได้ตกลงตัดสินใจเข้าไปกราบนมัสการลา
พระอาจารย์ม่ัน ออกธุดงค์แต่องค์เดียว เที่ยวไป อาศัยกำ�ลังขาของตนเป็น
ยานพาหนะ ปัจจัยค่าเดินทางรถเรืออะไรไม่เกี่ยว ยินดีพอใจในความมักน้อย
สันโดษ ขจัดโกรธโลภหลง มุ่งจำ�นงตรงต่อวิเวกสงบสงัด ปฏิบัติบำ�เพ็ญเพ่งเพียร
ภาวนา
ผีเจ้าถ้ำ�พระบาท
ท่านได้ออกจากสำ�นักของท่านพระอาจารย์ม่ัน มุ่งไปยังภูเขาท้องที่อำ�เภอ
บา้ นผอื จังหวดั อดุ รธานี ได้ขนึ้ ไปถงึ ภูเขาพระบาทบัวบก แล้วไปพักทำ�ความเพยี ร
ภาวนาอยทู่ ถ่ี �้ำ พระบาท ทนี่ แ่ี หละทเ่ี ขาร�ำ่ ลอื เลา่ กนั วา่ ใครมาอยไู่ มไ่ ด้ เพราะผเี จา้ ถ�้ำ
ดมุ าก ใครไปพกั เปน็ โดนหลอก จะเปน็ หน้าไหนผีเจา้ ถำ้�ไมเ่ กรงกลัว เล่นหลอกเอา
ทกุ ราย ทา่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ทา่ นตดั สนิ ใจอยู่ เผอื่ จะไดภ้ าวนาตอ่ สดู้ กู นั ผหี ลอกทม่ี ี
อยทู่ ง้ั ภายนอกและภายใน จงึ ตง้ั ใจประกอบการเดนิ จงกรม นง่ั สมาธิ เรง่ ความเพยี ร
ภาวนา อยา่ งเตม็ สตปิ ญั ญาตามพลงั ศรทั ธาทม่ี อี ยู่ ตง้ั จติ เจรญิ สตริ ะลกึ ธรรมบรกิ รรม
18 อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร
ภาวนา ทง้ั วนั ทง้ั คนื ทกุ อริ ยิ าบถ ยนื เดนิ นง่ั นอน เวน้ แตห่ ลบั รสู้ กึ ตวั ตนื่ ขน้ึ เมอื่ ไรก็
ระลกึ บรกิ รรมท�ำ ความเพยี รภาวนาตอ่ เพอื่ ฝกึ สตใิ หม้ กี �ำ ลงั จติ กจ็ ะตงั้ มน่ั เปน็ สมาธิ
พอตกค�่ำ คนื ในคนื วนั ท่ี ๒ เหตกุ ารณอ์ นั สยองพองหวั เสยี งทนี่ า่ กลวั กเ็ กดิ ขน้ึ
เหมือนกับมีอะไรข้ึนไปเขย่าต้นไม้ มีเสียงดังเกรียวกราว เกรียวกราว เป็นระยะๆ
น่ีหรือที่ชาวบ้านเขาพูดเล่าลือกันนักหนาว่า ที่ถำ้�พระบาทน้ีมีผีดุมาก ใครมาพัก
อยแู่ รมคนื ทถี่ �ำ้ พระบาทนี้ ตอ้ งถกู ผเี จา้ ถ�ำ้ พระบาทเลน่ งานหลอกหลอนไมเ่ ลอื กหนา้
แม้แต่รายเดียว เวลาน้ีเราก็กำ�ลังถูกผีเจ้าถำ้�พระบาทนี้หลอกอีกคนแล้ว ผีเราก็
ไม่เคยเห็น รูปร่างหน้าตาเป็นอย่างเราก็ไม่รู้ ผีมีจริงหรือ ท่านน่ังรำ�พึงในใจอยู่ใน
มุง้ กลด
ท่านก็น่ังตั้งกำ�หนดจิตเข้าสมาธิ รวบรวมกำ�ลังใจอาศัยสติ สมาธิ ปัญญา
ศรัทธา ความเพียร ท่ีมีอยู่มาอบรมภาวนารักษาจิตใจให้สงบ ไม่นานจิตก็รวม
เขา้ ภวงั ค์ สงบเปน็ สมาธอิ ยา่ งอม่ิ เอมเตม็ อดั แนน่ ในใจ ไมห่ วน่ั ไหวเกรงกลวั สงิ่ ใดทง้ั สนิ้
เกิดความกล้าหาญใคร่อยากจะออกมาดูให้รู้ว่ามันเป็นเสียงอะไรกันแน่ ถ้าเป็น
ผีเจ้าถำ้�พระบาทนี้ และมาหลอกจริงละก็ เราก็จะได้รู้ได้เห็นจริงประจักษ์ด้วยตา
ตนเองในวันนี้ จงึ ได้ลุกออกมายนื มองดไู ปทตี่ น้ ตะเคยี นใหญ่ กป็ รากฏเหน็ เจ้าบ่าง
๓ ตัวใหญต่ วั เท่าแมวตัวใหญๆ่ บ้านเรานแ้ี หละ บนิ มาจับเถาวัลยท์ ่ีมนั ขึน้ ปกคลุม
ต้นตะเคียนใหญ่ แล้วมันเขย่าเถาวัลย์กระทบกับต้นตะเคียน ทำ�ให้เกิดเสียงดัง
เกรียวกราว เกรยี วกราว ท�ำ ใหส้ ะเก็ดตะเคียนร่วงลงมามเี สียงดงั เหมอื นกบั ผหี ลอก
มนั ออกมาเขย่าต้นไม้
เมื่อท่านมองไปเห็นเจ้าบ่างสัตว์ ๓ ตัว บินหยอกกันเล่นอย่างสนุกสนาน
ตามภาษาของสัตว์ดังนั้นแล้ว ท่านจึงได้คิดรำ�พึง คำ�นึงนึกแต่ในใจว่า วันน้ีเราได้
เห็นผีตวั จริงทม่ี นั เคยหลอกเราและใครต่อใครมานักหนาแลว้ เจา้ ผีตัวนเี้ องที่ไดม้ า
หลอกพระสงฆ์ ภกิ ษุ สามเณร เถร ชี อุบาสก อบุ าสิกา ตลอดจนประชาชนชาวบา้ น
ผู้แสวงบุญมาบำ�เพ็ญภาวนารักษาศีลปฏิบัติธรรม มาพักค่ำ�คืนอยู่ท่ีนี่ เจ้าหลอก
ไมเ่ ลอื กหนา้ มาเปน็ เวลาชา้ นาน จนร�่ำ ลอื เลา่ ตอ่ ๆ กนั มาวา่ ผเี จา้ ถ�้ำ พระบาทนด้ี รุ า้ ย
แรงมาก ท�ำ ใหพ้ ระสงฆอ์ งคเ์ จา้ ผทู้ ที่ า่ นไมร่ ขู้ อ้ เทจ็ จรงิ เกดิ ความสะดงุ้ หวาดตกใจกลวั
เก็บบริขารหอบหนีเตลิดเปิดเปิงไป ไม่กล้ากลับเข้ามาบำ�เพ็ญเพียรภาวนาอยู่ใน
ประวตั ิพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร 19
ถ้ำ�นี้ อีกฝ่ายหน่ึงกลัวตัวสะดุ้งนอนเป็นทุกข์ ส่วนพวกเจ้าเย้าหยอกกันสนุกสนาน
พระองคอ์ นื่ และคนอนื่ พวกเจา้ พากนั หลอกเขาได้ แตส่ ำ�หรบั เรา พวกเจา้ ๓ สตั วเ์ อย๋
พวกเจ้าจะไม่มปี ญั ญาทีจ่ ะมาหลอกเราให้หลงกลัว สะดุ้งหวาดหวั่นในความหลอก
ของพวกเจ้าอีกแล้ว เราไม่หวั่นไหวสนใจกับพวกเจ้าอีกแล้ว จงพากันอยู่เป็นสุขๆ
เถดิ อยา่ ไดม้ ที กุ ขล์ �ำ บากกายและจติ ใจเลย ตงั้ แตน่ น้ั มาความเชอื่ ถอื หรอื ความสงสยั
ในเรอื่ งผหี ลอกของเจา้ ถ�ำ้ พระบาททไี่ ดร้ �ำ่ ลอื กนั มาเปน็ เวลานานกเ็ ปน็ อนั สน้ิ ซากไป
อย่างไมม่ ีปญั หาท่ียงั สงสยั อะไรเศษเหลอื อยเู่ ลย
ทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ ออกเทยี่ วธดุ งคค์ ราวนน้ั มสี ามเณรนอ้ ยตดิ ตามไปดว้ ย
ชื่อสามเณรพรหม สุวรรณรงค์ เป็นหลานของท่าน พอเช้ารุ่งสว่างได้เวลาจึงพา
สามเณรน้อยออกบิณฑบาตที่กระท่อมหลังเดียวมี ๒ ตายายมาทำ�ไร่อยู่กลางดง
ได้ข้าวเหนยี วองคล์ ะปน้ั กลับมาฉัน อาหารกบั ข้าวอยา่ งอื่นไมม่ ี นอกจากเกลอื กับ
พริกเท่าน้ัน ท่านฉันพอเพ่ือปฏิบัติ ไม่ใช่ปฏิบัติเพื่อฉัน ท่านพระอาจารย์ฝ้ันกับ
สามเณรนอ้ ยกอ็ ยไู่ ดอ้ ยา่ งสบาย เพราะทกุ คนมขี อ้ ฝกึ หดั มงุ่ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื อรรถเพอ่ื ธรรม
อย่างเดียว จึงเปน็ สภุ โรบคุ คล สลั ลหกุ วุตติบุคคล เปน็ คนเล้ยี งง่าย เบากาย เบาจติ
อันเปน็ ธรรมของบณั ฑิตผฉู้ ลาดในประโยชน์ไดก้ ระท�ำ แลว้
การออกเดนิ ธดุ งค์ และความเปน็ อยขู่ องพระผอู้ ยใู่ นการปฏบิ ตั ขิ องพระธดุ งค์
ที่ครูบาอาจารย์ พระภิกษุสามเณรออกปฏิบัติสมัยโน้น เม่ือนำ�มาเทียบกับการ
ออกธุดงค์และความเป็นอยู่ของผู้ออกธุดงค์ปัจจุบันนี้ ผิดต่างห่างจากกันกับ
สมัยก่อนโน้นมาก หันไปคนละทางมองไม่เห็นกันเลย จริงไหมท่าน แต่เมื่อเขา
ตามมาไม่ทันเพราะเขาเกิดท่ีหลัง เขาไม่ได้ประสบพบเห็นในตัวด้วยตาของเขาเอง
เขาก็ไม่เชื่อว่าจะมีใครทำ�ได้ เพราะเขาไม่เคยทำ�และไม่เคยเห็นใครทำ� จึงทำ�ให้
เขาเป็นคนมีจักษุแต่ข้างเดียว แล้วยังมืดมึนเมามัวหมองอยู่ด้วยอาสวะซำ้�เติมอีก
ทางมีอยู่จงึ ไปไม่ถกู ขอพวกเราอย่าได้เป็นคนประเภทน้เี ลย
ท่านพระอาจารย์ฝ้ันท่านได้พักอยู่ทำ�ความเพียรท่ีถำ้�พระบาทอย่างย่ิงยวด
เต็มตามกำ�ลังศรัทธา ที่ได้ลาพระอาจารย์ม่ันมาเพื่อการปฏิบัติ ได้รับความสงบ
สงัดขจัดส่ิงก่อกวนชวนให้ใจไม่สงบได้อย่างสมภูมิ อยู่ที่น้ันประมาณกึ่งเดือน
จึงไดพ้ าสามเณรนอ้ ยออกเดินธดุ งค์ ขา้ มแม่น้�ำ โขงไปสเู่ ขตประเทศลาว ด้วยความ
20 อาจารยิ บูชา พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร
มงุ่ หวงั ตงั้ ใจเจาะจงไปทภ่ี เู ขาควาย ซงึ่ เปน็ ภเู ขาทส่ี งู ใหญแ่ ละกวา้ งยาวมาก อยตู่ อน
เหนอื ของประเทศลาว ตดิ ตอ่ กบั แดนประเทศญวน ครนั้ ไดข้ า้ มแมน่ �ำ้ โขงไปอยฝู่ งั่ ฝา่ ย
ดนิ แดนประเทศลาวแลว้ เกดิ การขดั ขอ้ งเพราะไมม่ หี นงั สอื สทุ ธแิ ละหนงั สอื เดนิ ทาง
ฝรง่ั เศสผเู้ ปน็ นายปกครองประเทศลาวก�ำ ลงั เขม้ งวดกวดขนั คนเขา้ เมอื งมาก ทา่ นจงึ
คิดเปล่ียนทางกลับประเทศไทย เดินธุดงค์ตรงไปหาพระอาจารย์ม่ัน ซึ่งท่านออก
เดนิ ธดุ งคม์ าพกั ทำ�ความเพยี รอยทู่ ข่ี า้ งบา้ นนาสดี า ตำ�บลกลางใหญ่ อำ�เภอบา้ นผอื
จงั หวัดอดุ รธานี
เม่ือท่านพระอาจารย์ฝั้นเข้าไปกราบพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตะมหาเถระ
เรียบร้อยแล้ว ได้ปราศรัยให้เป็นเหตุระลึกนึกถึงกันแล้ว พระอาจารย์ม่ันได้พูด
เพ่ือเป็นกำ�ลังใจให้แก่พระอาจารย์ฝ้ันและสามเณรว่า ดีแล้วที่พวกท่านได้ผีและ
เสือมาเป็นอาจารย์ สอนให้รู้เท่าจิตที่มันหลงผลิตความกลัวข้ึนมาหลอกตัวเอง
เหน็ ความโงเ่ ขลาของจิตทคี่ ิดปรงุ หลงงมงายหมายมั่นสำ�คัญผดิ คดิ ว่าเปน็ ความจริง
หลอกตัวเองให้กลัวไม่กล้าที่จะประกอบความพากเพียรเหมือนอย่างบางคนท่ีเขา
กลวั กนั ผกี บั เสอื ถา้ เราเชอื่ กรรมดที ม่ี อี ยใู่ นตวั ความกลวั กไ็ มม่ ปี ญั หา แตค่ วามกลวั
กม็ ปี ระโยชนอ์ ยบู่ า้ งเหมอื นกนั ถา้ เรากลา้ ตอ่ สกู้ บั มนั แลว้ กจ็ ะกลบั มาอบรมจติ ใจให้
สงบแนว่ แนต่ ง้ั มน่ั เปน็ สมาธิ เกดิ ปตี ขิ น้ึ มาฆา่ ความกลวั ดบั ลงอยา่ งราบคาบ จากนนั้
เรากจ็ กั ไดเ้ รง่ เจรญิ ด�ำ เนนิ ความเพยี รตดิ ตอ่ โดยไมห่ ยดุ ยงั้ เพอื่ บรรลถุ งึ ธรรมทเี่ รายงั
ไม่ไดบ้ รรลุ เพอื่ ให้ไดถ้ งึ ธรรมท่ีเรายงั ไมถ่ งึ
เมอ่ื พระอาจารย์ม่นั ได้กลา่ วสัมโมทนยี คาถาจบลงคราวคร้งั นน้ั ทำ�ใหเ้ กดิ
ความปีติเพิ่มกำ�ลังใจแก่ท่านพระอาจารย์ฝั้นและสามเณรน้อยเป็นอย่างยิ่ง และ
พร้อมทั้งเกิดความอัศจรรย์ในใจว่า พระอาจารย์มั่นท่านทราบได้อย่างไร ท้ังท่ีเรา
ก็ไม่ได้กราบเรียนเล่าอะไรให้ท่านทราบ ท่านทราบได้อย่างไรว่าพวกเราได้เผชิญ
กับผีหลอกและเสือ และว่าเราได้เอาอุบายในความกลัวเสือและผีหลอกน้ันมาแก้
จิตทีค่ ดิ กลัว จนเกดิ มคี วามกลา้ ข้ึนมาในจิต ยงั จิตให้รวมสงบลงเปน็ สมาธิต้งั มน่ั อยู่
อย่างองอาจ น่าอัศจรรย์ใจจริงหนอ สิ่งท่ีไม่เคยเป็นก็มาเป็น สิ่งท่ีไม่เคยมีก็มามี
กม็ าเหน็ มาเป็นข้ึนมาได้ แปลกแต่กเ็ ปน็ ความจริงนก่ี ระไร
ท่านอยู่กับพระอาจารย์ม่ัน พอได้อุบายจากการฟังธรรมท่ีจะนำ�ออกไป
ปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ ไดก้ ราบลาทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ออกเดนิ ธดุ งคไ์ ปทางอ�ำ เภอวารชิ ภมู ิ
ประวตั ิพระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร 21
แต่เพียงลำ�พังผู้เดียว พอไปถึงบ้านหนองแสง เกิดป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ อาการ
หนกั มาก ท�ำ ใหจ้ ติ ใจกระสบั กระสา่ ยรอ้ นรนกระวนกระวาย ท�ำ ใหจ้ ติ ฟงุ้ ซา่ นร�ำ คาญ
ไม่มีความสงบ เกิดความคิดท้อถอยหมดกำ�ลังใจ อุบายความพากเพียรประกอบ
ดว้ ยสติปญั ญาทเี่ คยนำ�เอามาใช้ไดผ้ ลแก่ตัวเองมาแลว้ คราวน้ีกลบั ใชไ้ มไ่ ดเ้ สยี แลว้
ย่ิงร่างกายอ่อนเพลียเสียกำ�ลังมากเท่าไร ยิ่งทำ�ให้จิตใจคิดมาก จึงจัดเก็บบริขาร
บรรจุลงในบาตร ยกขนึ้ สะพาย มือถือกาน�ำ้ บา่ แบกกลดออกเดนิ ธดุ งคเ์ พือ่ เปล่ียน
สถานที่ ทงั้ อาการไข้ก็ยงั ไม่ทุเลา
หมาหวงกระดูก
ขณะกำ�ลังเดินอยู่น้ันท่านได้มองไปเห็นหมาแทะกระดูกควายตายด้วย
โรคระบาดอยู่ พอท่านเดินเข้าไปใกล้ หมาก็ว่ิงหนี พอท่านออกไปยืนดูอยู่แต่ไกล
มันก็กลับเข้าไปแทะอีก ท่านได้ยืนพิจารณายกเอาเร่ืองหมาหวงกระดูกควาย
ตายด้วยโรคระบาดมาวิจารณ์ตัวเองว่า เราน้ีก็มาหลงยึดถือหวงแหนท่อนกระดูก
ในตวั เองนยี้ งิ่ มากกวา่ หมาทม่ี นั หวงกระดกู ควายตายหา่ นเี้ ปน็ ไหนๆ เสยี อกี หมาทมี่ นั
แทะกระดกู มนั ยังไดก้ ลืนน�ำ้ ลายของมันที่ได้ประสมกับรส กลิ่น ของกระดูกอยบู่ า้ ง
พอใหเ้ กิดความชื่นใจ สว่ นเราไดอ้ ะไรบา้ งจากโครงกระดูกท่เี ราหวงแหน แบกหาม
อยู่ตลอดเวลา น่ีชาติ นี่ชรา น่ีพยาธิ นี่มรณะ เห็นไหม สิ่งเหล่านี้มีมาจากไหน
อาศยั อะไรเปน็ ทเี่ กดิ ไมใ่ ชม่ นั มาจากโครงกระดกู และมนั อาศยั เกดิ อยทู่ โี่ ครงกระดกู
น้ีเองมิใช่หรือ ใจเราทไี่ ดร้ บั ทกุ ข์ โทมนสั ฟุง้ ซ่าน ไม่เปน็ อนั อยู่ อันกนิ หลับนอน
ท่ีเรากำ�ลังได้รับอยู่ในเวลาน้ี มันมาจากไหนเล่า ไม่ใช่มาจากชรา พยาธิ มรณะ
ท่ีมีอยู่เต็มท่ัวไปในโครงกระดูกของร่างกายอันนี้ดอกหรือ หมามันหลงหวงกระดูก
ซากควายตายห่ามันก็ยังวางปล่อยทิ้งวิ่งหนีได้ แต่เรานี่หนา ย่ิงโง่กว่าหมาเสียอีก
หลงรักหลงหวงแหน หลงนอนกอดนอนซมงมอยู่ตลอดเวลา นอกจากทุกข์แล้ว
เราไมเ่ หน็ วา่ เราไดอ้ ะไรจากการแบกโครงรา่ งอนั เปน็ ภาระอนั หนกั นเี้ ลย อยา่ งไรเรา
จำ�ต้องรีบเร่งประกอบความเพียรอย่างนักต่อสู้ หัวเด็ดตีนขาดไม่ถอยหนี ท่านได้
ทำ�ความเพียรคน้ ควา้ พิจารณาอยไู่ ม่นาน จติ รวมสงบลงอย่างแน่นหนา จากน้ันมา
อาการป่วยดว้ ยไข้หวัดก็หาย รา่ งกายกลับปกติ
22 อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร
การป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ของพระอาจารย์ฝั้นในคราวคร้ังนั้น ทำ�ให้ท่าน
ไดร้ บั ผลประจกั ษเ์ ปน็ กำ�ลงั ใจอยา่ งนา่ อศั จรรย์ ทา่ นไดบ้ ำ�บดั ทกุ ขเวทนาอนั กลา้ แขง็
ด้วยธรรมโอสถ มีสติ วิริยะ ธัมมวิจยะ มาเป็นองค์ประกอบ เพ่งภาวนาบำ�เพ็ญ
ความเพียร และอุบายท่ีได้จากไปเห็นหมาแทะกระดูกควายตายด้วยโรคระบาดมา
เป็นเครื่องเตือนสติอบรมจิต จึงได้ความสลดสังเวชเบื่อหน่าย คลายความลุ่มหลง
ปลงอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมีกำ�ลังกล้าโดยปัญญาอันแหลมคม สามารถตัด
สิ่งก่อกวนกีดกันทางลงอย่างราบคาบ ได้มองเห็นฝ่ังทางดิ่งตรงไปอย่างถูกต้อง
สิ้นสงสัย
ญตั ตเิ ปล่ียนเป็นธรรมยุติกนกิ าย
เมอื่ อาพาธท่ีเปน็ ไขห้ วดั ใหญ่บรรเทาทเุ ลาหายจากไปแลว้ ทา่ นไดค้ ดิ รำ�พงึ
ระลกึ ถงึ พระอาจารย์ม่ันว่า เราควรจะอยู่ใกล้ชิด เปน็ ลกู ศษิ ย์ติดตาม ฝึกหัดปฏิบตั ิ
ตามทา่ นไปอยา่ ไดอ้ อกหา่ ง แตเ่ รายงั เปน็ พระนานาสงั วาส ไมอ่ าจรว่ มสงั ฆกรรมท�ำ
สงั ฆกจิ ใกลช้ ดิ เปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั ได้ ถา้ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ทา่ นมคี วามเมตตา
อนเุ คราะห์ รบั เราเอามาเข้าญตั ติเป็นพระในคณะธรรมยตุ ิกนกิ ายแล้ว เรากจ็ ะได้มี
สังวาสเสมอ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับท่านและคณะของท่าน เราก็จักได้อยู่ใกล้ชิด
ออกธดุ งคต์ ดิ ตามไปกบั ทา่ นดว้ ย เมอื่ ทา่ นพระอาจารยฝ์ น้ั คดิ ตกลงปลงใจอนั แนว่ แน่
อย่างนี้แล้ว ก็จัดแจงเก็บบริขารเข้าในบาตร ผูกบาตรยกข้ึนสะพายบ่าข้างหนึ่ง
แบกกลด ออกเดินทางมุ่งไปหาพระอาจารยม์ ั่น ได้ไปพบทา่ นท่วี ัดมหาชยั อำ�เภอ
หนองบัวลำ�ภู จังหวัดอุดรธานี จึงเข้าไปนมัสการกราบเรียนตามความดำ�ริ
ขอญัตติเปลี่ยนเป็นพระธรรมยุต ท่านพระอาจารย์มั่นตกลงรับ เพราะท่านทราบ
จิตใจศรัทธาเลื่อมใสของพระอาจารย์ฝ้ันเป็นอย่างดี เมื่อตระเตรียมบริขารและ
ฝึกซ้อมการขานนาคได้ถูกต้องคล่องปากแล้ว จึงได้นำ�ไปทำ�การญัตติเป็นพระ
คณะธรรมยุต โดยมีท่านเจ้าคุณธรรมเจดีย์ (จูม พันธุโล) เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอาจารย์รถเปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์มุกเป็นอนสุ าวนาจารย์ เมือ่
วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘ เวลา ๑๕ นาฬิกา ๒๒ นาที ณ พทั ธสมี า
วดั โพธสิ มภรณ์ อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี
ประวัตพิ ระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร 23
พรรษาท่ี ๑ พทุ ธศักราช ๒๔๖๘
พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ได้ญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ แลว้ ไดจ้ �ำ พรรษาอยู่กับ
พระอาจารย์มั่น ที่วัดอรัญญวาสี อำ�เภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย ในพรรษาน้ี
พระอาจารย์ฝ้ันได้อาพาธเป็นไข้มาลาเรีย ท่านได้พยายามทำ�ความเพียรภาวนา
เพื่อบำ�บัดอาการป่วยด้วยธรรมโอสถเช่นเคย คร้ันออกพรรษาแล้วได้แยกย้ายกัน
ออกไปเท่ียวบำ�เพ็ญภาวนา แสวงหาความวิเวกสงบสงัดตามป่าช้าป่าชัฏ ตามถำ้�
ภูเขาล�ำ เนาไพร ไปองคล์ ะทิศละทาง สมัยก่อนทา่ นไปพักภาวนาจ�ำ พรรษาอยู่ทีใ่ ด
ท่านให้ทำ�ที่พักอาศัยชั่วคราว ไม่สร้างตั้งเป็นวัดเป็นวาอยู่ประจำ�เหมือนอย่างพระ
ทกุ วนั นี้ ทา่ นมอิ ยตู่ ดิ ถนิ่ ฐาน อยากไดเ้ ปน็ สมภารแยง่ วดั แยง่ วากนั ทา่ นท�ำ ตวั เหมอื น
นกที่มแี ตป่ ีกบินไปจับที่ใดไม่มีรอยฉันน้ัน
พระอาจารย์ฝั้นท่านไปพักอยู่ที่ไหน เมื่อมีคนไปกราบนมัสการหรือทำ�บุญ
ใหท้ านอยา่ งไรกต็ าม ปกตทิ า่ นตอ้ งเทศนอ์ บรมสง่ั สอน ทง้ั เดก็ เลก็ หนมุ่ สาวปานกลาง
คนใหญ่ ผู้เฒ่าผู้แก่ ท่านสอนทุกรายไปไม่เลือก ให้รู้จักคุณพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ คุณมารดาบิดา ครูอาจารย์ ให้หม่ันกราบไหว้พระ ภาวนาระลึกเอา
คณุ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ มาเปน็ ทพี่ งึ่ ทางใจของเรา ทา่ นอธบิ ายใหผ้ ฟู้ งั
สำ�รวมจิตตภาวนา ทำ�สมาธิไปด้วย จากนั้นท่านก็ให้นึกบริกรรมคำ�ภาวนาว่า
พุทโธๆๆๆๆ คำ�เดียว ทำ�จิตให้สงบเบาสบาย หายทุกข์หายยากลำ�บากรำ�คาญ
ไม่ฟุ้งซ่านวุ่นวาย เย็นสบายในอกในใจ ทุกคนจึงติดอกติดใจ เกิดมีความเล่ือมใส
ในองค์ของทา่ น เคารพฝงั แน่นอยู่ในใจจนตลอดชีวิต
พบโยมผู้รู้วาระจิต
มีตอนหน่ึงทา่ นพระอาจารยไ์ ด้เลา่ ใหผ้ ู้เขียนฟงั ว่า ทา่ นไดอ้ อกธดุ งคไ์ ปทาง
อ�ำ เภอบา้ นผอื จงั หวดั อดุ รธานี ไดไ้ ปพกั บ�ำ เพญ็ ภาวนาอยทู่ ปี่ า่ ระหวา่ งบา้ นแหง่ หนง่ึ
เปน็ บา้ นหนองดอง หรอื อะไรนแ้ี หละถา้ ผเู้ ขยี นจ�ำ ไมผ่ ดิ ในบา้ นนน้ั มผี หู้ ญงิ วยั กลางคน
คนหนึ่งชื่อนางคำ�ภู เธอมีความเล่ือมใสในพระอาจารย์ฝั้น ได้ออกไปทำ�บุญและ
ฟังธรรม ทา่ นพร�่ำ สอนอบรมทกุ วนั เธอมีนสิ ยั เป็นคนกลวั ผหี ลอกมาก เวลาค่�ำ คืน
ถ้าได้ยินเสียงอะไรผิดแปลก ก็เกิดสะดุ้งหวาดกลัวว่าผีหลอก พระอาจารย์ท่าน
24 อาจารยิ บูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
พยายามสอนใหเ้ ธอนงั่ ภาวนา เธอไมก่ ลา้ นง่ั ภาวนาโดยคดิ วา่ ถา้ เรานงั่ แลว้ เกดิ เหน็ ผี
ปรากฏขึ้นมา เดี๋ยวเป็นบ้า เพราะรักษาจิตไม่อยู่ ท่านสอนเท่าไรก็ไม่อยากจะทำ�
ท่านอาจารยก์ ็พยายามสอนทกุ วนั
อยู่มาวันหน่ึง เธอจึงตัดสินใจน่ังภาวนาทดลองดู เพราะมาคำ�นึงว่า
พระอาจารย์ท่านมีความเมตตา ได้มาอยู่ส่ังสอนอนุเคราะห์เรา ท่านสอนชวน
ให้เราไหว้พระแล้วน่ังภาวนาทุกวันๆๆ เป็นอะไรก็ให้มันรู้ คืนนี้แหละเราต้อง
น่ังให้ได้ ค่ำ�คืนน้ัน เธอเข้าห้องสวดมนต์ไหว้พระ สวดมนต์แผ่เมตตาสัตว์
แล้วเรมิ่ อธษิ ฐานจติ คิดบริกรรมทำ�ภาวนา ระลึก พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ พุทโธ ธัมโม
สังโฆ พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ ๓ จบแลว้ ใหร้ ะลกึ พทุ โธๆๆๆ คำ�เดยี ว เธอมีความเพยี ร
อดทนนง่ั ได้นานพอสมควร เวลาออกจากสมาธแิ ลว้ เธอรสู้ กึ มคี วามสบาย เบากาย
เบาใจตั้งแต่วันนน้ั มาเธอกน็ ัง่ ภาวนาต่อๆ มาทุกวนั
มวี นั หนงึ่ เธอนง่ั ภาวนาไปสกั พกั หนง่ึ จติ กเ็ รม่ิ สงบรวมลงไปสกั หนอ่ ย กเ็ กดิ
นิมติ เหน็ คนตายนอนอย่ตู รงหน้า นกึ กลัว พอเตรียมตวั จะลุกขึน้ ผีก็เลอื่ นมานอน
ทับขาอยู่บนตักไว้ ลุกข้ึนไม่ได้ จนใจกำ�ลังคิดหาวิธีแก้ไข ในทันทีทันใดน้ันเอง
ผีก็กลับกลายหายเข้าไปในร่างตัวของเธอเอง เกิดมีความสว่างไสว มองเห็นหัวใจ
ของเธอเองสว่างไสวใสสะอาด เธอสามารถเห็นจิตใจใครๆ เป็นอย่างไรเธอรู้หมด
รถู้ งึ ใจของสตั วเ์ ดยี รจั ฉานตลอดถงึ วญิ ญาณของสตั วใ์ นกามภมู ิ จติ ทเ่ี คยมคี วามกลวั
กลบั หายกลายมาเปน็ จติ กลา้ หาผตี วั ไหนทจี่ ะกอ่ กวนหลอกใหห้ ลงกลวั ไมม่ อี กี แลว้
เธอมีความสงบสขุ เบาสบาย อิ่มเอบิ อยดู่ ว้ ยความปีติตลอดคืน
พอรงุ่ เชา้ วนั ใหม่ เวลาตอนบา่ ยเธอออกไปฟงั เทศนข์ องพระอาจารยเ์ ชน่ เคย
ท่านพระอาจารย์ได้สังเกตอากัปกิริยาตั้งแต่เห็นเธอเดินเข้ามา มีหน้าตาเบิกบาน
เปล่งปลั่ง มีสติสำ�รวมน่ิมนวลนอบน้อม ตาแหลมคม จิตเที่ยงตรงองอาจ กิริยา
อาการผิดเปลี่ยนไปจากแต่ก่อนมาก เวลาน้ันท่านพระอาจารย์เป็นไข้มีอาการ
ไมส่ บายมาก แต่ท่านพยายามทำ�ใจให้เข้มแข็ง แสดงเหมอื นกับทา่ นไม่ได้เปน็ อะไร
ออกมานั่งพูดจาปราศรัย แล้วแสดงธรรมปฏิสันถาร พอท่านหยุดแสดงธรรม
นางคำ�ภูผู้รู้จิตใจของผู้อื่นก็พูดข้ึนว่า แหมดอกบัวของครูบาอาจารย์วันน้ี คือเห่ียว
หลายแท้ (ดอกบัวหมายถึงหัวใจ) เป็นความจริงหรือ โยมรู้จักจิตใจอาตมาได้
อยา่ งไร ทา่ นอาจารยร์ บี ถามเพราะแปลกใจ จรงิ คะ่ ทา่ นอาจารย์ เปน็ อยา่ งนน้ั จรงิ ๆ
ขณะพระอาจารยฝ์ ้นั ข้นึ ไปพักบนถ�ำ้ ขามครัง้ แรก
ญาตโิ ยมชว่ ยกันจดั แครน่ อนให้เป็นทีพ่ กั ช่ัวคราว
ประวตั พิ ระอาจารย์ฝั้น อาจาโร 25
ดิฉันรู้ได้และเห็นได้ด้วยใจของดิฉันเอง ถึงใครไม่บอกก็รู้ได้ แม่คำ�ภูตอบจิตใจ
มันเป็นอย่างไรก่อนที่จะได้เกิดความรู้ความเห็นแจ้งจริงประจักษ์ข้ึนมาได้อย่างน้ี
ไหนลองเล่าให้อาตมาฟังซิ นางคำ�ภูจึงได้เล่าเรื่องท่ีเธอภาวนาปรากฏเป็นนิมิต
เหน็ ผีที่นอนตายอยตู่ รงหนา้ ดงั กลา่ วมาแลว้ ขา้ งต้นจนตลอดให้ทา่ นอาจารย์ทราบ
แล้วท่านพระอาจารย์ฝ้ันก็ได้เทศน์อธิบายต่อเติมส่งเสริมให้มีกำ�ลังใจ ให้มีสติ
รักษาจิตให้ตัง้ ม่ันอยู่ในสมาธิอย่างม่นั คง อยา่ ให้หลงไปตามอารมณ์สญั ญาวิปลาส
เคลือ่ นคลาดจากสมาธิ สติ ปัญญา ให้น้อมจิตเข้าร้ตู วั อยู่เสมอ
ท่านอาจารย์แสดงธรรมจบแล้ว โยมคำ�ภูจึงได้กราบลากลับบ้าน ท่าน
พระอาจารย์คิดอยากจะลองจิตโยมคำ�ภูดูอีกคร้ัง จึงได้เร่งประกอบความเพียร
ภาวนา ตงั้ สตริ กั ษาจิตใหส้ งบ พอจติ รวมสงบระงับดบั ทุกขจ์ ากความเป็นไข้ได้แลว้
จติ มคี วามสวา่ งไสวปลอดโปรง่ เบาเนอื้ เบาตัวสบายเปน็ ปกตแิ ลว้ พอรงุ่ ขึ้นวนั ใหม่
เวลาบ่าย นางคำ�ภูก็ออกมาฟังเทศน์ของพระอาจารย์อีก วันน้ีท่านพระอาจารย์
นอนคลมุ ผา้ ท�ำ ทา่ ไมอ่ ยากจะลกุ มาตอ้ นรบั นางค�ำ ภมู าถงึ แลว้ กราบและนงั่ อยสู่ กั ครู่
หนึ่งชำ�เลืองตามองส่องไปยังท่านพระอาจารย์อย่างแสดงให้เห็นว่ามีความเคารพ
และเลอ่ื มใสอยา่ งสดุ อกสดุ ใจ แลว้ กลา่ วค�ำ อทุ านพดู ขนึ้ มาวา่ ดอกบวั ของทา่ นอาจารย์
วนั นค้ี อื มาบานดหี ลายแทน้ อ้ ทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ นกึ ชมแตใ่ นใจวา่ โยมค�ำ ภนู ภ้ี าวนา
เกง่ จรงิ ท�ำ ความเพยี รภาวนาไดด้ ี จนจติ มอี ภญิ ญาแตกฉาน สามารถฉลาดรอบรจู้ กั
จิตใจของผู้อื่นและสัตว์อื่นได้อย่างถูกต้องตามความเป็นจริง น้อยนักน้อยหนา
คนท่ีจะปฏิบตั ภิ าวนาไดอ้ ย่างน้ี หาไดโ้ ดยไม่ง่ายนกั เลย
ติดตามท่านพระอาจารย์มั่น
ทา่ นมาบ�ำ เพญ็ ท�ำ ความเพยี รพกั อยทู่ น่ี น้ั นานพอสมควรแลว้ ทา่ นมคี วามระลกึ
ถงึ พระอาจารยข์ องทา่ น (พระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตะมหาเถระ) จงึ ไดธ้ ดุ งคเ์ ดนิ ยอ้ น
กลบั มาทางวดั อรญั ญวาสที ไี่ ดจ้ �ำ พรรษาอยู่อ�ำ เภอทา่ บอ่ จงั หวดั หนองคายพอเดนิ ทาง
มาถงึ วดั อรญั ญวาสี ปรากฏวา่ พระอาจารยม์ นั่ ไดอ้ อกเดนิ ทางไปทางอ�ำ เภอวารชิ ภมู ิ
จังหวัดสกลนครแล้ว และได้พำ�นักอยู่ที่บ้านหนองลาด ท่านพระอาจารย์ฝั้น
เดินธุดงคต์ ามไปท่บี า้ นหนองลาด เม่อื ถึงบา้ นหนองลาดก็ไปไมท่ ันอกี เพราะท่าน
พระอาจารยเ์ กง่ิ อธมิ ุตตฺ โก พระอาจารยส์ ลี า อิสสฺ โร และพระอาญาครดู พี ร้อมดว้ ย
26 อาจารยิ บูชา พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร
ลกู ศษิ ยข์ องทา่ นประมาณ ๒๐ องค์ โดยเจา้ พระคณุ พระธรรมเจดยี ์ แหง่ วดั โพธสิ มภรณ์
จังหวดั อุดรธานี เปน็ พระอุปัชฌาย์ ณ อุทกุกเขปสีมา หรือ อทุ กสมี า (โบสถ์น้ำ�)
อยู่กลางหนองบา้ นสามผง
ทา่ นเคยเลา่ ใหผ้ เู้ ขยี นฟงั วา่ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั คราวครง้ั นนั้ ทา่ นไดไ้ ปโปรด
หัวหน้าชฎิล ๓ สหาย ท้ัง ๓ ท่านล้วนแล้วแต่เป็นผู้มีช่ือเสียง มีคนเคารพนับถือ
มีบริวารมาก ได้เป็นอุปัชฌาย์ให้บรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณร เป็นสัทธิ
วิหาริกของแต่ละท่านในถ่ินน้ันเป็นจำ�นวนมาก พระอาจารย์มั่นท่านแสดง
ธรรมปาฏหิ ารยิ เ์ ทศนท์ รมานหวั หนา้ ชฎลิ ทงั้ ๓ ทา่ นพรอ้ มทงั้ บรวิ าร จนไดเ้ กดิ ปญั ญา
มศี รทั ธาความเชอื่ และเลอ่ื มใส ไดม้ อบกายถวายชวี ติ เปน็ ลกู ศษิ ยต์ ดิ ตามปฏบิ ตั ฝิ กึ หดั
อบรมอยใู่ นโอวาท ยอมละทฏิ ฐมิ านะ เสยี สละนกิ ายเดมิ หนั เขา้ มาเปลยี่ นญตั ตเิ ปน็
ธรรมยุติกนิกาย สำ�หรับท่านพระอาญาครูดีน้ัน เม่ือก่อนท่านเคยเป็นครูบาของ
อาจารยฝ์ น้ั ทหี ลงั ทา่ นจงึ ไดเ้ ปลย่ี นญตั ตเิ ปน็ พระฝา่ ยธรรมยตุ ภายหลงั พระอาจารยฝ์ น้ั
ต้ังแต่น้ันมาท่านพระอาญาครูดีต้องเคารพกราบไหว้นับถือพระอาจารย์ฝั้นเป็น
ครูบา น่ังหรือเดินตามหลังพระอาจารย์ฝั้น แต่ถึงอย่างน้ันในด้านจิตใจต่างองค์
ตา่ งกไ็ ดแ้ สดงออกมาใหไ้ ดเ้ หน็ วา่ มคี วามเคารพซงึ่ กนั และกนั ไมท่ ะนงองคท์ า่ นดว้ ย
ถือทฏิ ฐิมานะ
พรรษาที่ ๒ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๙
พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร ทา่ นจ�ำ พรรษาอยทู่ บี่ า้ นดอนแดง สว่ นพระอาจารย์
มั่น ภูริทัตตะมหาเถระ จำ�พรรษาอยู่ท่ีวัดป่าบ้านสามผง เมื่อออกพรรษาแล้ว
พระอาจารยม์ น่ั ทา่ นไดน้ ดั พระภกิ ษสุ ามเณรของทา่ น ซงึ่ กระจายจ�ำ พรรษาอยตู่ ามปา่
ใกล้หมู่บ้านข้างเคียงแถบน้ันจำ�นวนประมาณ ๗๐ รูป ให้ไปร่วมประชุมที่สำ�นัก
พระอาจารย์ฝั้น อยู่จำ�พรรษา บ้านดอนแดง อำ�เภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
เมอื่ พระภกิ ษสุ ามเณรอนั เปน็ ศษิ ยานศุ ษิ ยข์ องทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ประมาณ ๗๐ รปู
เดินทางมาถึงหมดทุกองค์แล้ว ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตะมหาเถระ จึงได้
เปดิ ประชมุ ท่ศี าลาโรงฉัน
เร่ืองท่ีท่านพระอาจารย์มั่นได้หยิบยกขึ้นมาพูดในท่ีประชุมคร้ังนั้นก็คือ
นอกจากทา่ นใหโ้ อวาทตกั เตอื นสง่ั สอนเพอื่ ใหศ้ ษิ ยานศุ ษิ ยม์ กี �ำ ลงั ใจ ทา่ นแสดงธรรม
ประวัติพระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร 27
ปลุกใจให้ลูกศิษย์ลุกข้ึนต่อสู้กับกิเลสท่ีครอบงำ�จิตใจให้อ่อนแอ ง่วงเหงาหาวนอน
ขี้เกียจขี้คร้าน ฟุ้งซ่านเถลไถล ไม่มีความอดทนพยายามบำ�เพ็ญเพียรภาวนา
แล้วท่านได้ปรารภในที่ประชุมว่า ในเขตท้องที่ ๔ - ๕ จังหวัด คือ จังหวัดเลย
สกลนคร อุดรธานี นครพนม หนองคาย พวกเรากไ็ ด้ออกเดินธุดงคท์ ำ�ความเพยี ร
บำ�เพ็ญภาวนา วกไปเวียนมาอยู่ในป่า ภูเขาแถบน้ี ก็เป็นเวลาหลายปีแล้ว ปีนี้
พวกเราควรไปทางไหนดี สว่ นผมจ�ำ ตอ้ งพาคณุ โยมแมใ่ หไ้ ปอยกู่ บั นอ้ งสาวทเ่ี มอื งอบุ ลฯ
เพราะท่านชราภาพมาก อายุ ๗๘ ปีแลว้ จะพาทลุ ักทเุ ลอยู่ดงอยู่ป่าคงจะไปไม่ไหว
พระอาจารยส์ งิ หแ์ ละพระอาจารยม์ หาปนิ่ ปญั ญาพโล ตา่ งกร็ บั รองจะพาคณุ โยมแม่
ของท่านพระอาจารย์ไปส่งถึงเมืองอุบลฯ แต่ต้องไปด้วยเกวียน เดินเท้าไปไม่ไหว
เพราะท่านชราภาพมากไม่มีกำ�ลังพอ ที่ประชุมตกลงตามพระอาจารย์มั่นไป
เที่ยวธุดงค์กรรมฐานตามท้องท่ีจังหวัดอุบลราชธานีด้วยกันหมดทุกองค์ หลังจาก
เลิกประชุมแล้ว ก็ได้แยกออกเดินธุดงค์ไปเป็นหมู่ๆ ถ้าใครองค์ใดไปพบสถานที่
เหมาะดสี บายมคี วามสงัด จะพกั อยู่ปฏิบตั ิฝกึ หดั เพื่อให้ไดก้ �ำ ลงั ใจเพิ่มยงิ่ ๆ ขน้ึ อีก
กอ็ ยู่ไดแ้ ต่ใหม้ ีจดุ หมายไปพบกันท่ีเมอื งอบุ ลฯ
พระอาจารยฝ์ นั้ พระอาจารยก์ ู่ พระอาจารยอ์ อ่ น พระอาจารยก์ วา่ พรอ้ มทง้ั
สามเณร ๒ - ๓ องค์ ออกเดินธุดงค์ไปด้วยกัน ผ่านบ้านตาล บ้านนาหว้า บ้าน
นาววั บา้ นโพนสวา่ ง บา้ นเชยี งเครือ ถงึ เมืองสกลนคร พักอยู่ ๗ วัน เพราะโยม
ในเมืองสกลนครมีศรัทธานิมนต์ไว้บำ�เพ็ญบุญ เมื่อเสร็จแล้วก็เตรียมออกเดินทาง
ต่อไป ผา่ นบ้านตองโขป บ้านโคก บ้านนามน บา้ นดงเถ้าแก่ อำ�เภอนาแก ลดั เข้า
ป่าเข้าดง ขึ้นภูเขาไปพักบ้านห้วยทราย คำ�ชะอี บ้านหนองสูง จังหวัดนครพนม
ข้ามเขตไปจงั หวัดอบุ ลราชธานี
วันหน่ึงพระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ ได้มีความวิตกเกิดข้ึนในใจว่า ถ้าหาก
มีผู้หน่ึงผู้ใดท่ีมีความเฉลียวฉลาดเป็นนักปราชญ์อาจารย์ แตกฉานในปริยัติธรรม
มาถามธรรมะที่สูงและลึกซึ้ง ทำ�อย่างไรเราจึงจะตอบแก้ปัญหาธรรมของเขาได้
ภายหลังท่านพระอาจารย์อ่อนได้นำ�เอาเร่ืองท่ีท่านได้วิตกดังกล่าวมาแล้ว มาเล่า
ให้ทา่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ฟงั และทา่ นพระอาจารยอ์ อ่ นได้เล่าตอ่ ไปอีกว่า เม่ือก่อนที่
เขาถามปัญหาธรรมทุกคร้งั มีท่านพระอาจารย์มนั่ อยดู่ ้วย ท่านเปน็ ผแู้ กต้ อบปญั หา
28 อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร
ธรรมของเขาเหลา่ นั้นได้อยา่ งถูกตอ้ ง ตรงตามความในปัญหาธรรมที่เขาน�ำ มาถาม
จนผฟู้ งั ไดร้ บั ความพอใจ หมดความสงสยั สว่ นพวกเราจะท�ำ อยา่ งไรเมอ่ื ใครมาถาม
ปัญหาธรรม เพราะพวกเราก็ไม่ได้เรียนปริยัติธรรม และเพิ่งมาฝึกหัดปฏิบัติใหม่
จะตอบแกป้ ัญหาธรรมะที่สงู และลึกซง้ึ ของเขาได้หรือ
เม่ือพระอาจารย์อ่อนพูดจบลงแล้ว พระอาจารย์ฝ้ันได้พูดขึ้นทันทีว่า
จะไปกลัวท�ำ ไมในเร่ืองนี้ ธรรมทั้งหลายเกดิ ขนึ้ ที่หัวใจ รวมอย่ทู ี่ใจ พวกเรารจู้ ุดรวม
ของธรรมทั้งหลายอยู่แล้ว ตอบเขาไปวันยังค่ำ�ก็ไม่มีวันอับจน เรื่องน้ีไม่ต้องวิตก
พระอาจารยฝ์ นั้ พดู อยา่ งทา้ ทาย องอาจ แสดงออกซงึ่ ธรรมปาฏหิ ารยิ อ์ นั เปน็ อ�ำ นาจ
พลังของจิตใจ ท่ีได้ฝึกอบรมอย่างจริงจัง จากพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตะมหาเถระ
พระอาจารย์ออ่ นได้ฟังดังนนั้ ก็มคี วามโล่งใจหายกังวล พอไปถึงบ้านหัวววั อ�ำ เภอ
กุดชุม จังหวัดยโสธร ก็ได้ไปพบพระอาจารย์มั่นท่ีได้ไปพักดักรอคอยอยู่ที่น้ันก่อน
แลว้ เมื่อคณะลกู ศิษย์ได้เดินทางมาถงึ รวมกันหมดทกุ ชุดแลว้ จึงออกธุดงคต์ ่อไป
พรรษาที่ ๓ พทุ ธศักราช ๒๔๗๐
พอไปถงึ บา้ นหวั ตะพาน กถ็ งึ เวลาจวนจะเขา้ พรรษา พระอาจารยม์ นั่ พกั อยู่
ท่ีป่าใกล้วัดหนองขอน พระอาจารย์ฝ้ันตามไปช่วยจัดเสนาสนะ ทำ�ที่พักช่ัวคราว
ในกาลพรรษาถวายเสร็จแล้ว พระอาจารย์ฝั้นได้ไปจำ�พรรษาท่ีบ้านบ่อชะเนง
ก่อนเข้าพรรษาได้มีเร่ืองเกิดข้ึนแก่พระคณะน้ี คือ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน
ตสิ สะเถระ) เมอ่ื ยงั เปน็ พระโพธวิ งศาจารย์ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ เปน็ เจา้ คณะมณฑลอสี าน
ทา่ นออกตรวจการคณะสงฆ์ ทา่ นไดเ้ รยี กเจา้ คณะแขวง อ�ำ เภอตา่ งๆ ในเขตจงั หวดั
อุบลราชธานี ให้เขา้ มาประชมุ ทว่ี ัดสุปัฏนาราม เมืองอบุ ลฯ เก่ยี วกับเรอื่ งระเบยี บ
การปกครอง การศึกษาเลา่ เรียน และการประพฤติปฏบิ ตั ิของคณะสงฆ์ พระภิกษุ
สามเณร ให้มคี วามเรยี บร้อย ถกู ตอ้ งตามพระธรรมวินยั
หลังจากการประชุมเสร็จแล้ว สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ท่านได้ทราบว่า
พระกรรมฐานคณะของพระอาจารย์มั่น ได้พาคณะมาพักอยู่ท่ีบ้านหนองขอน
บ่อชะเนง หวั ตะพาน ในเขตทอ้ งทอ่ี �ำ เภออำ�นาจเจรญิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ท่านจงึ
ไดเ้ รยี กพระเจา้ คณะแขวงอ�ำ เภออ�ำ นาจเจรญิ และเจา้ คณะแขวงอ�ำ เภอมว่ งสามสบิ
มาถามว่า ได้ทราบว่ามีพระอาคันตุกะ คณะกรรมฐานเดินทางมาพักอยู่ในเขต
ประวตั พิ ระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร 29
ท้องที่ของความปกครองของเธอหรือ พวกเธอได้ไปตรวจสอบถามดูหรือเปล่า
เขามาจากไหน เขาอย่อู ย่างไร ไปอย่างไร
พระเจ้าคณะอำ�เภออำ�นาจเจริญ ได้กราบเรียนท่านว่า เกล้ามิได้ไปตรวจ
สอบถาม เพราะเนอ่ื งจากพระคณะกรรมฐานเหลา่ นนั้ เขาวา่ เปน็ ลกู ศษิ ยข์ องพระเดช
พระคณุ พอเจา้ คณะแขวงพดู จบ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศก์ ข็ นึ้ เสยี งดงั ออกมาทนั ทวี า่
“...บ๊ะ...ลูกศิษย์พระเดชพระคุณท่ีไหน ข้าไม่รู้ไม่ช้ี...ไป๊...ไล่มันให้ออกไป ไปบอก
พวกโยมอย่าใส่บาตรให้กิน” แล้วสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ก็สั่งเจ้าคณะแขวงอำ�เภอ
ม่วงสามสิบและอำ�เภออำ�นาจเจริญ พร้อมด้วยนายอำ�เภอทั้งสองอำ�เภอไปขับไล่
พระกรรมฐานคณะน้ีให้ออกไปจากเขตนี้ให้หมด แล้วกำ�ชับให้บอกพวกญาติโยม
อยา่ เอาขา้ วใสบ่ าตรใหพ้ ระกรรมฐานกนิ ถา้ ใครฝา่ ฝนื ยงั เอาขา้ วใสบ่ าตรใหพ้ ระคณะน้ี
กินแลว้ จะจับเอาไปเข้าคุกให้หมด แต่ถึงอย่างไร ชาวบา้ นกไ็ มห่ ว่ันเกรงแตอ่ ยา่ งใด
เขาพากนั ท�ำ บญุ ใส่บาตร ฟังธรรมจ�ำ ศลี ปฏบิ ตั ฝิ ึกหดั เจรญิ เมตตาภาวนาเช่นเคย
ส่วนนายอำ�เภอเข้าไปหาพระคณะน้ีแล้วแจ้งว่า ท่านในนามของจังหวัด
ทางจังหวัดมีคำ�สั่งมาว่า ให้กระผมมาขับไล่พระคณะนี้ให้ออกไปจากเขตนี้ให้หมด
พระอาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม (พระญาณวิศิษฏ์) ได้พูดขอให้อำ�เภอลดหย่อน
ผอ่ นผนั ใหไ้ ดอ้ ยทู่ น่ี ่ี เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ จงึ จะไป เวลานใ้ี กลจ้ ะถงึ วนั เขา้ พรรษาอยแู่ ลว้
นายอำ�เภอไมย่ อม อา้ งแลว้ แตท่ างจงั หวดั พระอาจารย์สงิ ห์ พดู รอ้ งขอตอ่ ไปอกี ว่า
อาตมาเองเป็นคนเกิดอยู่ท่ีนี่ ญาติพ่ีน้องของอาตมาก็อยู่ท่ีนี่ นายอำ�เภอก็อ้าง
แล้วแต่ทางจังหวัดอยู่ท่าเดียวอยู่อย่างนั้น พระอาจารย์ฝั้นก็ได้ช่วยพูดขอร้องให้
ผอ่ นสน้ั ผ่อนยาวกนั บ้าง นายอำ�เภอก็อา้ งแลว้ แตท่ างจงั หวัด
จากนนั้ นายอำ�เภอกส็ ำ�รวจชื่อพระภิกษสุ ามเณร ไม่เว้นแมแ้ ต่เด็กตาปะขาว
ตลอดถงึ ชอ่ื นามสกุล ชอื่ บดิ ามารดา เกดิ ที่ไหน อยู่บ้าน ต�ำ บล อ�ำ เภอ จังหวดั อะไร
บวชที่ไหน อุปัชฌาย์อาจารย์ช่ืออย่างไร จดหมดรวมท้ังท่านพระอาจารย์ม่ัน
พระอาจารยส์ งิ ห์พระอาจารยม์ หาปน่ิ พระอาจารยอ์ อ่ นพระอาจารยฝ์ น้ั พระอาจารยเ์ กง่ิ
พระอาจารยส์ ลี า พระอาจารยก์ ู่ พระอาจารยก์ วา่ ฯลฯ พระเณรทง้ั หมดกวา่ ๕๐ รปู
ทั้งตาปะขาวและเด็กเกือบถึง ๑๐๐ คน นายอำ�เภอทำ�การจดจนกว่าจะแล้วเสร็จ
ทั้งพระทงั้ เณรและตาปะขาว ตงั้ แตก่ ลางวันจนถึง ๒ ยามแล้วเสรจ็ ต้ังหนา้ ตงั้ ตา
จดจนไม่ได้กินขา้ วเท่ยี ง