The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 21:35:54

อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร

อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Keywords: อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร

การสรงนำ้�ศพของพระอาจารย์ฝ้ันครั้งน้ี เป็นคร้ังแรกของเมืองไทย
ไมว่ า่ ในกรณศี พของบคุ คลใดกต็ าม ถา้ พระมหากษตั รยิ พ์ ระราชทานอาบน�ำ้ ศพ
แลว้ จะไมม่ กี ารรดน้�ำ ศพอกี แต่กรณีศพของพระอาจารยฝ์ ั้น พระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ
ดว้ ยพระกระแสรับสั่งของพระองค์เองว่า

“ขออย่าไดห้ า้ มประชาชนสรงน�ำ้ ศพทา่ นอาจารย์
จงให้เขาไดส้ รงน้�ำ กนั ตอ่ ไป ตามแต่ศรัทธา”

วัด...วดั ตนวดั ตวั ของเรา 121

โบสถว์ หิ ารเปน็ ศาสนา ศาสนาทา่ นบญั ญตั คิ อื กายของเรานี้ วาจาใจของเรานี้ ศาสนา
เราก็มาประพฤติปฏิบัติให้มันถึงกายถึงใจของเราซี เพื่อให้กายของเราเรียบร้อย
ใจของเราเรียบร้อย น่ันแหละ เราก็ต้องการอย่างน้ีไม่ใช่เรอะ ไม่ต้องการกาย
พิกลพิการ ใจพิกลพิการ ไม่อยากได้ไม่ใช่เรอะ เม่ือเป็นเช่นนี้แล้ว เราก็สำ�รวม
ให้เรียบร้อยแล้ว โทษน้อยใหญ่ไม่มีแล้ว เราจะไปเกิดในชาติในภพใดในปัจจุบันนี้
กเ็ กดิ เป็นคนเรยี บร้อย

เพราะฉะนน้ั ใหร้ จู้ กั ศาสนาอยตู่ รงน้ี ไมไ่ ดอ้ ยทู่ อี่ น่ื มนั อยทู่ ก่ี ายทใ่ี จของเรา
เมื่อเราปฏบิ ตั อิ ยู่ ศาสนามันก็เจริญอยู่ ถ้าเราทัง้ หลายไมไ่ ด้ปฏบิ ัติ ไมไ่ ด้ประพฤติ
ไมไ่ ดก้ ระท�ำ กห็ มดศาสนา ผใู้ ดรงั เกยี จศาสนา ชงั ศาสนา ชงั พระแลว้ รงั เกยี จพระแลว้
อุดจมกู เสยี เออ อุดไดไ้ หมละ่ จมกู พระไม่ไดอ้ ยู่ท่อี ืน่ อยทู่ ่ีจมูกของเรา ลมหายใจ
เข้า ลมหายใจออกอย่ทู ไ่ี หนเลา่ อยูท่ จี่ มกู ไม่ใชเ่ รอะ ผใู้ ดรงั เกียจศาสนาอุดจมกู เสยี
อดุ จมกู ไดอ้ ย่างน้นั ละผูร้ ังเกยี จศาสนา ยังอุดจมกู บไ่ ด้ อย่าไปรงั เกยี จศาสนา

ใหพ้ ากนั ประพฤตคิ ณุ งามความดี พากนั ปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ จงั ๆ บา้ นเมอื งของเรา
กอ็ ยเู่ ยน็ เปน็ สขุ เราท�ำ คณุ งามความดที ั้งกายทัง้ วาจาใจแล้ว ความช่วั ทงั้ หลายมนั ก็
สลายไปเอง นี่พากนั เข้าใจซิ เพราะสตั วท์ ้ังหลายในโลก มนษุ ย์ทงั้ หลายในโลกนนี้ ่ะ
ใครๆ กต็ อ้ งการความดี เมอื่ ผใู้ ดจะมาท�ำ ลายความดแี ลว้ ธรณสี บู กนิ เพราะไมร่ จู้ กั
ความดี เกดิ มาเราท�ำ คณุ งามความดแี ลว้ ใหพ้ ากนั รจู้ กั เราถอื พระพทุ ธเจา้ พระธรรม
พระสงฆ์นีเ้ ปน็ สรณะที่พึง่ ของเรา มอี านภุ าพและศักดส์ิ ทิ ธิ์ ให้ระลึกไวใ้ นใจของเรา
ต่อไป ให้พากนั มีอานภุ าพ ถา้ ประเทศอ่นื จะมาท�ำ ลายนน้ั นะ่ ธรณีสูบรบั รองร้อย
เปอรเ์ ซน็ ต์ เอาซถี่ า้ เราถอื จรงิ ๆ นะ เราถอื พระพทุ ธเจา้ เคยไปวดั ไมไ่ ดย้ นิ ดอกเรอะ
ว่าพญามารหรือใครทำ�ลายท่าน ธรณีสูบไม่ใช่เรอะ หรือว่าไง ผู้ใดเบียดเบียน
พระพทุ ธเจา้ กธ็ รณีสูบไมใ่ ชเ่ รอะ เรากเ็ หน็ อยใู่ นตำ�นานหรอื ในตำ�ราทา่ นวา่ ไว้

เพราะฉะน้ัน ที่พ่ึงของเราไม่มีในสามโลกน้ี มีแต่พระพุทธเจ้าองค์เดียว
เทา่ นนั้ ขาดพระพทุ ธเจา้ องคเ์ ดยี วละท�ำ อะไรเปน็ ละ่ คนเรา กด็ ซู ่ี พทุ ธะ ขาดความรู้
แลว้ ท�ำ อะไรเปน็ ท�ำ อะไรไมไ่ ด้ พง่ึ ไมไ่ ด้ หตู าจมกู เรากพ็ งึ่ ไมไ่ ด้ แขง้ ขาตนี มอื เรากพ็ งึ่
ไมไ่ ด้ มนั ขาดความรู้แล้วท�ำ อะไรเป็น พึ่งไม่ได้ เดยี๋ วนีเ้ รามพี ทุ ธะ ผ้รู ู้ เรามีความรู้
แลว้ พึง่ ไดห้ มดสามโลกน้ี เข้าใจไหมละ่ เรารสู้ กึ รู้ดี รู้ชัว่ รสู้ ุข รูท้ กุ ข์ พึง่ ได้ ให้รูจ้ ักซี่

122  อาจารยิ บูชา พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร

นแ่ี หละ เราจงึ มาประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ พอื่ ศาสนาเจรญิ เพราะฉะนน้ั ประเทศเราจะเจรญิ
ได้ต้องอาศัยพระพทุ ธศาสนา ชาติ คือความเกดิ พุทธะ คอื ความรู้ รู้จักผดิ รูจ้ กั ถกู
รูจ้ กั ดี รู้จกั ชัว่

เดย๋ี วน้คี นเราไม่รู้จัก ความชว่ั สำ�คัญวา่ ดี คนทด่ี ่ืมสุราสาโท เลน่ พ่งเล่นไพ่
การพนนั ขโมยโพยโจร มันไมร่ ูจ้ กั วา่ ดวี า่ ชั่ว เม่ือลกั เขาแล้ว เขาฆา่ ไมใ่ ช่เหรอ มนั ดี
ทไี่ หน เขาใสค่ ุกใส่ตะราง เรอื่ งมนั เป็นอย่างง้นั นน่ั แหละไม่รจู้ กั ความผิดเหมอื นกบั
แมลงเมา่ บนิ เขา้ กองไฟ เรามพี ุทธะ เรารแู้ ลว้ ส่งิ ใดชว่ั เรากไ็ ม่ท�ำ เราท�ำ แตค่ ณุ งาม
ความดี เพราะฉะน้นั ให้เขา้ ถงึ ศาสนา ชัน้ ศาสนา แกน่ ศาสนา คอื เขา้ ถงึ ศาสนา คอื
เขา้ ถึงกาย เขา้ ถึงใจของเราทก่ี ระทำ� น่คี ือการประพฤตปิ ฏบิ ัติ น่ีเราเกิดมากม็ ีเทา่ น้ี
มกี ายกบั ใจเท่าน้ี ทกุ ขย์ ากกไ็ มม่ ีอืน่ ยาก ยากกายกบั ใจน้ี

พระพทุ ธเจา้ ทา่ นสอนใหพ้ ากนั ท�ำ คณุ งามความดี เมอื่ คณุ งามความดมี แี ลว้
มันไม่ทุกข์ไม่ยาก กายของเราก็บริบูรณ์ ใจของเราก็บริบูรณ์ เม่ือเราไม่ประพฤติ
ไม่ปฏิบัติ เราไม่ทำ�แล้ว กายของเราก็วิบัติ ใจของเราก็วิบัติ วิบัติเป็นอย่างไร คือ
เสยี จรติ ผดิ มนษุ ย์ ทกุ ขย์ ากล�ำ บาก กายพกิ ลพกิ าร หหู นวกตาบอด กระจอกงอกงอ่ ย
ข้ีทูดกุฏฐัง อยากได้ไหมล่ะ ไม่อยากได้ซักคนดอก จะว่ายังไง เข้าใจหรือยัง
ตอ่ นไ้ี ป พากนั เขา้ ใจแลว้ วธิ เี วยี นเทยี น จะไดน้ �ำ ถวายเปน็ อาสาฬหะและวนั เขา้ พรรษา
เพอ่ื ช�ำ ระกเิ ลสของเรา ช�ำ ระทฏิ ฐมิ านะของเรา ช�ำ ระความชวั่ ของเรา เพอ่ื ก�ำ จดั ทกุ ข์
ก�ำ จดั ภยั ก�ำ จดั กเิ ลสจญั ไร ไมไ่ ดล้ า้ งบาปลา้ งกรรมดว้ ยน�ำ้ เราท�ำ คณุ งามความดแี ลว้
ความชวั่ มนั ก็หายไป เข้าใจไหมล่ะขอ้ น้ี

ต่อไปเป็นการเดินเวียนเทียน พากันต้ังใจ เรามาทำ�บุญกุศล เรามาทำ�
คณุ งามความดี เมอ่ื มาเชน่ นแี้ ล้ว เราก็ถวายดอกไม้ธูปเทยี นไปแลว้ อันนกี้ ็เปน็ การ
ทำ�บุญอันหน่ึง เป็นอามิสบูชา ทีนี้จะมาปฏิบัติบูชา คือมาปฏิบัติ มาปฏิบัติกาย
ของตน มาปฏิบตั วิ าจาของตน ปฏบิ ตั ใิ จของตนให้เรยี บร้อย คนเราแต่กอ่ นท�ำ บุญ
น้ัน กท็ �ำ แตเ่ ปน็ พิธี รับศีลกร็ ับแตเ่ ปน็ พธิ ี โกหกพระเร่ือยไป นีต่ ่อน้ีไปอย่าใหเ้ ป็น
สีลัพพตะ ความลูบคลำ�ในศีล ให้พากันรู้จักศีลของเราทุกคน และเป็นท่ีพ่ึงของ
เราทกุ คน

วัด...วดั ตนวดั ตวั ของเรา 123

เราไม่มีสิ่งอ่ืนเป็นสรณะที่พ่ึง เราเอาพระรัตนตรัยทั้งสามน้ี คือพุทธรัตนะ
ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ รัตนะแปลว่าแก้ว แก้วคือพระพุทธเจ้า แก้วคือพระธรรม
แกว้ คือพระสงฆ์ เปรียบเหมือนกับแก้ว เราไม่นบั ถือส่งิ อื่นเปน็ สรณะท่ีพ่ึง ทรี่ ะลกึ
ท่ีกราบ ที่ไหว้ เราพง่ึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ทัง้ สามประการนี้ เป็นท่ีกราบ
ไหว้ ผทู้ ถี่ งึ ไตรสรณาคมน์ คอื ผถู้ งึ พระพทุ ธศาสนา ถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
แล้ว ดว้ ยกายด้วยวาจาดว้ ยใจของเรา พากันให้กราบใหไ้ หว้

อรหัง กล่าวถึงพระพุทธเจ้า สวากขาโต กล่าวถึงพระธรรม นมัสการ
พระธรรม สปุ ฏปิ นั โน กลา่ วถงึ พระอรยิ สงฆ์ มอบกายถวายชวี ติ ตอ่ คณุ พระพทุ ธเจา้
คณุ พระธรรม คุณพระสงฆแ์ ล้ว โทษที่หนักก็เบาไป โทษที่เบาก็หายไป นี่ มนั เป็น
เช่นนี้ เมอื่ เป็นผูถ้ งึ พระไตรสรณาคมนเ์ ชน่ นแี้ ล้ว เราต้องละเวน้ เหตสุ ามสถาน

ข้อหน่ึง อย่าไปไหว้ผี เชื่อผีถือผีหรืออะไรก็ตาม ช่ัวช้าลามกคือผี ไม่ดีคือ
ผี อย่าไปนับถือมัน ไม่รู้จักภาษาคือผีนี้แหละ เราอย่าไปนบ อย่าไปกราบไหว้ผี
ท้ังหมด น่ีแหละให้พากันให้พึงรู้พึงเข้าใจต่อไป ผู้ใดไปกราบผีไปไหว้ผีแล้ว พระ
ไตรสรณาคมน์ทา่ นเศร้าหมอง เจา้ ของเป็นบาป

ขอ้ สอง อยา่ ถอื มงคลตน่ื ขา่ ว ผถู้ งึ พระไตรสรณาคมนแ์ ลว้ ตนื่ ขา่ วเปน็ ยงั ไงเลา่
ถือฤกษ์ยามดี เคราะห์ดเี คราะหร์ า้ ย ดูมดดหู มอ ดหู มอดตู า่ งๆ ปลกู ศาลเพียงตา
ลงเลขลงผา เสยี เคราะหส์ ะเดาะนาม ผู้ถอื มงคลตนื่ ข่าว ต่นื กนั เฉยๆ วา่ มือ้ นัน้ ไมด่ ี
มื้อน้ีดี ม้ือน้ันจม ม้ือน้ันฟู เม่ือนั้นพาล ไม่เห็นอะไรจมอะไรฟูซักอย่าง เม่ือเป็น
เชน่ นนั้ แลว้ เราต้องละเวน้ เหลา่ นี้ จึงจะเป็นผถู้ ึงพระไตรสรณาคมน์ ถา้ ผใู้ ดปฏบิ ัติ
เชน่ นั้นแล้ว ขาดจากพระไตรสรณาคมน์ ขาดจากพทุ ธศาสนา พระไตรสรณาคมน์
เศรา้ หมอง เจ้าของเป็นบาป เป็นเรอื่ งงมงาย

ขอ้ สาม อยา่ ถอื ตามศาสนาอ่ืนในคนพวกนอกศาสนา ถา้ ผ้ใู ดไปถอื เช่นนั้น
แล้วขาดจากศาสนา ขาดจากพระไตรสรณาคมน์ เศร้าหมอง เจา้ ของเปน็ บาป

น่ีให้ละเว้นเหตุสามประการนี้ ให้พากนั ใหพ้ ึงรู้พงึ เข้าใจ ถ้าเราไปถือเช่นนั้น
แล้วไม่พบพระพุทธเจ้า ทำ�บุญให้ทานเท่ากับท้ิงในมหาสมุทร เร่ืองไม่มีที่ส้ินสุด
เรอ่ื งเป็นยงั งแี้ หละให้รจู้ กั

124  อาจาริยบูชา พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร

ต่อไปให้รู้จักข้อปฏิบัติ ศีลของเรา บางคนว่าเราไม่ได้รับศีล ว่าไม่ได้ศีล
มะยงั ภันเต ติสสรเณนะ สหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ท่านอาจารย์ใหญท่ า่ นว่า
โอ ไปขอก้อนหินยังไงเล่า เราไม่ได้แบกก้อนหินมา สีลัง ทำ�ใจของเราให้เป็นศีล
จะไปขอใครเล่า ปัญจะ ได้มาพร้อมกันตั้งแต่เราเกิดมา ศีลห้า ให้รู้จักตัวศีลห้า
ศลี หา้ คอื อะไรเลา่ ขาเราทง้ั สองนแ่ี หละ มอื เราทง้ั สอง ศรี ษะอนั หนง่ึ รวมกนั เปน็ หา้
นแ่ี หละคอื ศลี หา้ ทา่ นไมไ่ ดเ้ อาศลี ให้ เราอยา่ เอาหา้ นนั่ ไปท�ำ โทษหา้ ปาณา นนั่ กโ็ ทษ
อทินนา กโ็ ทษ กาเม กโ็ ทษ มุสา กโ็ ทษ สุรา น่นั ก็โทษ นที่ ่านไมใ่ หท้ ำ�โทษเทา่ น้ัน
ท่านไม่ได้เอาศีลให้ ถ้าเราไม่ได้ทำ�โทษห้าอย่างนี้แล้ว อยู่ในรถก็เป็นศีล ในถนน
หนทางก็เปน็ ศลี ในบ้านในเมืองกเ็ ป็นศลี ในดงในปา่ ก็เปน็ ศีล นั่งกเ็ ป็นศลี นอนก็
เป็นศีล เดินอยู่ก็เป็นศีล น่ีแหละให้พากันรู้จักศีล รับหรือไม่รับก็เป็นศีลทั้งนั้น
เมื่อเราท�ำ โทษอยแู่ ลว้ สมาทานวันยังคำ�่ ก็ไมเ่ ปน็ ศีล

ปาณาติปาตา เว ยังไม่ทันจบ ยุงมากัด...ตบปั๊บ มันก็ไม่เป็นศีลหรอก
เรอื่ งมนั เป็นยังง้นั หรอก สมาทานวันยงั ค�ำ่ กไ็ ม่เปน็ ศลี แบบนีแ้ หละใหจ้ ำ�ไว้ น่แี หละ
ต่อนใ้ี ห้รู้จกั ศลี ไมต่ อ้ งรับกับใคร ท่านก็บอก อยา่ พากันฆา่ สัตวน์ ะ อย่าพากันขโมย
อย่าพากันประพฤติผิดกาม อย่าพากันมุสา อย่าพากันด่ืมสุราสาโทกัญชายาฝ่ิน
ทา่ นบอกเทา่ นน้ั แหละ ทา่ นไมไ่ ดเ้ อาศลี ให้ เวรมณี เวรมณี อยา่ งนนั้ เปน็ วา่ ตามบาลี
ปาณาตปิ าตา เวรมณี สิกขาปทังสมาทิยามิ ขา้ พเจ้าจะไม่ฆ่าสตั วต์ ดั ชวี ติ มมี ดด�ำ
มดแดงเหลา่ น้เี ป็นตน้

เม่ือประกาศปฏิญาณรกั ษาศลี แล้ว เราไม่ละเว้นกโ็ กหกพระเรอื่ ยไป กเ็ ป็น
โทษซิ ต่อไปน้ีให้เข้าใจไว้เร่ืองศีล นี้เมื่อเราน่ังอยู่น่ีก็เราไม่ได้ทำ�อะไรไม่ใช่เรอะ
ห้าอย่างนี้ ทีน้ีผู้จะรักษาศีลแปดต่อไป เราเว้นอาหารในเวลาวิกาล ไม่ดูประโคม
ตา่ งๆ ดดี สีตเี ป่า เอาบุญแลว้ กพ็ ากันให้รู้จกั เด๋ียวนี้บ้านเมืองของเรา วดั วาศาสนา
มนั ไม่เจริญ แตก่ ่อนมีบา้ นหนงึ่ เมืองหน่ึงแลว้ ตง้ั วดั ไว้ มีพระเจา้ พระสงฆป์ ระพฤติ
ปฏิบตั ิบา้ นหน่งึ เป็นวัดและเจดยี ์ เป็นทสี่ ักการบชู า ที่เคารพนบนอบ ทกี่ ราบท่ีไหว้
เป็นทีท่ �ำ บญุ ใหท้ าน น้ีจึงเรียกว่า วดั วัดตนวัดตวั ของเรา เป็นเครือ่ งวดั

เด๋ียวนี้ไม่เป็นอย่างนั้น เอาสนามวัดเป็นสนามเล่น วัดเลยไม่มีอำ�นาจ
วดั เลยไมม่ ีความศกั ดิส์ ิทธ์ิ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆก์ ็เลยไม่มีความศักด์สิ ิทธิ์

วดั ...วดั ตนวัดตัวของเรา 125

เลยไมม่ อี �ำ นาจ ไมม่ อี านภุ าพ เพราะเราไมร่ กั ษาไว้ เรอ่ื งมนั เปน็ อยา่ งนน้ั อนั นมี้ าเอา
บญุ แลว้ กห็ าหมอลำ�หมู่ หมอร�ำ วง หาภาพยนตร์ หาการละเลน่ มาเล่นในวัดในวา
กนิ สรุ าสาโทอึกทกึ ครกึ โครม เปน็ บ้าเต้นยกึ ยกั ๆ หมดคนื หมดวัน วา่ ตัวมาทำ�บุญ
น่ันละ คนเลยเป็นบ้าไปซะล่ะทนี ี้ บอกยงั ไงก็ไมร่ ้จู กั ศีล ไมร่ จู้ ักธรรมซิ เพราะฉะนน้ั
จะมคี วามเคารพนบนอบอยา่ งไร ศลี แปลวา่ ผสู้ งบกายวาจาเรยี บรอ้ ย ไมก่ ระท�ำ โทษ
น้อยใหญ่ทางกายทางใจของเรา เราก็เปน็ คนสวยคนงามซิ

เดี๋ยวนี้ยังมีแต่คนหมอรำ�หมู่เป็นยังไงเล่า หมอรำ�วง ดูซิเอ้า ส่ันยึกยักๆ
อยู่นั่น แน่ะ มันไม่ใช่คนนะเดี๋ยวน้ี อาตมาไม่ชนะ แล้วจะรดน้ำ�มนต์ให้ ผู้น้ัน
เปน็ บ้าแลว้ จะเปน็ อันน้ีแล้ว หลอกใหน้ ้�ำ มนต์ ให้อาตมารดน้�ำ มนต์ หมอเพอ่ื นวา่
โรคเสน้ ประสาท ขกู่ ไ็ มไ่ ด้ ฉดี ยากไ็ มห่ าย เอามาหาอาจารย์ มาหาอาจารยก์ เ็ ลยหาย
หมอเขาว่าเป็นเส้นประสาท นั่นแหละมันเป็นผี ให้รู้จักต่อไป เราถือศีลแปดแล้ว
นจั จะคตี ะวา ใหล้ ะเวน้ ดดี ปส่ี เี ปา่ ประโคมตา่ งๆ ทา่ นหา้ ม เรากเ็ อามาเลน่ ในวดั ในวา
มันเป็นโทษเท่าไหร่แล้วนั่น บาปเท่าไหร่แล้วนั่น พากันรู้จักซี เรามาทำ�บุญ
รจู้ ักบุญรู้จกั บาปเสียซิ อธิบายให้ฟังแล้วเรอ่ื งศลี เรือ่ งสรณะ ตอ่ น้ีไปลงมอื ทำ�บญุ
เอา้ เขา้ ทนี่ ่ัง ฟังธรรมน่งั ใหส้ บาย

“...ไม่ใช่ว่าชกั บังสกุ ุล
ให้ผู้นน้ั ไปสวรรคน์ ิพพาน
ชกั ให้คนท่ียงั อยู่นีด่ ตู า่ งหาก
ท่านให้ดใู หพ้ ิจารณาวา่
ขอ้ งนนั่ ขอ้ งน่แี ลว้ มันไดอ้ ะไร
มันมีอะไร...”



ตามหา “ผ้รู ู้”

โดย พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
ณ วดั ป่าอุดมสมพร จ. สกลนคร

วันท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒

น่ังให้สบาย น่ังขัดสมาธิ เอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตั้งกาย
ให้สบาย เราต้องการความสุขความสบาย วางท่าวางทางให้สบาย สง่าผ่าเผย
ยิ้มแย้มแจ่มใส ไม่ต้องกดต้องตึง วางให้สบาย พอกายเราสบายแล้ว วางดวงใจ
ใหส้ บาย เมอ่ื ใจเราสบายแลว้ ใหร้ ะลกึ ถงึ คณุ พระพทุ ธเจา้ คณุ พระธรรม คณุ พระสงฆ์
อยใู่ นใจ เชอ่ื มนั่ อยนู่ นั่ จงึ ใหน้ กึ ค�ำ บรกิ รรมภาวนาวา่ พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ พทุ โธ ธมั โม
สังโฆ สามหนแลว้ ให้นึก พุทโธๆ คำ�เดยี ว

หลบั ตา งบั ปากเสยี ใหร้ ะลกึ อยใู่ นใจ พทุ โธ คอื ความรู้ ความรอู้ ยตู่ รงไหนละ่
ตาเราก็เพ่งดทู ่รี ู้วา่ พุทโธ ให้ก�ำ หนดดู น่เี ราอยากรู้ หูก็ลงไปฟงั ทร่ี อู้ ยูน่ ั่น สติของเรา
ก็จดจ่อ ดูอันรู้อยู่น่ัน อย่าส่งใจไปข้างหน้ามาข้างหลัง ข้างซ้ายข้างขวา ข้างบน
ข้างล่าง ตั้งเฉพาะท่ามกลางอันรู้อยู่ ความรู้อยู่ตรงไหน เรากำ�หนดอยู่ตรงนั้น
ไมต่ ้องหา วางให้หมด ดูอันร้นู ั่นอยู่ น่แี หละเราจึงรู้จักว่าทพ่ี ง่ึ ของเรา

เม่ือจิตของเราสงบเป็นสมาธิ มันต้ังตรงแน่วอยู่ภายใน ใส รู้สึกเบาตน
เบาตวั เม่อื จิตสงบแลว้ หายทุกขห์ ายยาก หายความล�ำ บากรำ�คาญ มแี ต่ความเบา
มแี ตค่ วามสบาย นั่นแหละ ทอ่ี ย่ขู องตน นี่เรียกวา่ เป็นกศุ ลธรรม เมอื่ จติ ของเรามี
ความเบาความสบายแลว้ มันน�ำ ความสขุ ความเจรญิ ให้ มนั ได้อุบายปัญญา ความรู้
ความฉลาดเกิดตรงนนั้ เราพกั เราจะมีกำ�ลงั สตขิ องเรา สมาธขิ องเรา ปญั ญาของ

128  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร

เราเกิดจากนัน้ มันไม่เกิดจากอ่นื ไกล เรารนู้ ี่ จติ ของเรามืด ผู้รู้น่ันพทุ ธะ แปลว่าผ้รู ู้
เราอยากรมู้ ันเป็นอยู่ยงั ไง ผู้รู้ว่ามืดมันมี มนั มดื เราก็ยดึ เอาความมืดมาเป็นตนเสยี
มันสว่างก็ไปยึดเอาความสว่างมาเป็นตนเสีย น่ี มันเป็นอย่างน้ี มันทุกข์ก็ไปยึด
เอาทกุ ขม์ าเป็นตนเลย เราไม่กำ�หนดวา่ ผรู้ ้วู ่าทุกขม์ ันมี ทุกข์ต่างหาก ผู้ร้ตู ่างหาก
มันเฉยๆ กผ็ รู้ ูเ้ ฉยๆ มี ผูร้ ู้มันไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไรซี่

อยา่ งพทุ ธะเปน็ ผรู้ ู้ เหนอื หมดทกุ อยา่ งความรอู้ นั น้ี มดื มนั กร็ ู้ หลงมนั กร็ ู้ ทา่ น
อาจารยม์ น่ั ทา่ นเคยพดู แตก่ อ่ น ทา่ นรอ้ งตะโกนแรง ทา่ นวา่ ใครเรยี นไป ถงึ แตอ่ วชิ ชา
กไ็ ปหยดุ แหละ ถงึ แตอ่ วชิ ชา ผ้ใู ดกว็ า่ แตอ่ วิชชา คอื ความหลง ท่านบอกยังงี้แหละ
ผู้ใดรู้อวิชชาล่ะไม่ดู รู้แต่ว่าอันนั้นเป็นอวิชชา น่ัน ท่านบอกยังงี้ อวิชชาคือ
ความหลง ใครเปน็ ผรู้ ู้อวิชชาละ่ เราไมไ่ ด้ดแู นะ่ ให้ดูผ้รู ู้อวิชชาน่นั ซิ มันกเ็ ปน็ วชิ าขึน้
มาล่ะ อวชิ ชาคอื ความไม่รู้ วิชาคอื ความรู้แจ้งเห็นจรงิ น่ี มนั เป็นอย่างน้ี เราก็เพ่งดู
ผรู้ นู้ น้ั อยู่ ความรอู้ นั นไ้ี มใ่ ชเ่ ปน็ ของแตกของท�ำ ลาย และไมเ่ ปน็ ของสญู หาย นดิ หนงึ่
มนั กร็ ู้ มันรอู้ ยูห่ มด จึงวา่ พุทธะคอื ผรู้ ู้ เราอยากร้มู ันเป็นยังไง มันเป็นสขุ เราไปยดึ
เอาสุข ผู้รู้สุขมันมีอยู่ มันเป็นทุกข์ เราก็ไปยึดเอาทุกข์มาเป็นตน ผู้รู้ทุกข์มันมีอยู่
เราเป็นผู้ไปยึดเอาท้ังหมด น่ี จึงว่าอยากรู้มันเป็นอยู่ยังไง ส่ิงทั้งหลายท้ังหมด
ไม่มใี ครทำ�ให้ เราทำ�เอาเองทั้งหมด สุขทกุ ข์ ดชี ั่ว เราไมม่ ีโอกาสอย่างคณุ หลวงว่า
เดย๋ี วน้ีเรามอี ะไร น่งั อย่เู ดี๋ยวนี้ เรามโี อกาสเต็มที่ ไม่มอี ะไรซักอยา่ ง ดแู ต่ดวงใจดวง
เดียวเท่าน้ี นี่เราตอ้ งฟังดู ทนี ้ีมนั ไปเกาะตรงไหนเลา่ หวั ใจของเรา

ภเว ภวา สมั ภวันติ เราจะรู้จักภพทอ่ี ย่ขู องตน ภวะ แปลว่าภพ เราเจริญภพ
ภาวนาน้ี ภวะแปลว่าภพ ภพน้อยๆ ภพใหญ่ๆ ทเ่ี ราไปยึดตรงไหนน่ันแหละ ภพ
อยตู่ รงนั้นแหละ ไปยดึ เอาสุข นนั่ มนั กเ็ ปน็ ภพ ไปยึดเอาทุกข์มันกเ็ ป็นภพ ยดึ เอาดี
มันก็เป็นภพท่ีดี ยึดเอาชั่วมันก็เป็นภพท่ีช่ัว ไปยึดเอาทุกข์ก็เป็นภพท่ีทุกข์ นี่ที่อยู่
อัตตโนนาโถ ตนเป็นท่ีพึ่งของตน เม่ือจิตเราสบายแล้ว เราก็ได้ที่พ่ึงอันสบาย
เม่อื จติ เราไม่สบาย เราก็ไดท้ ี่พึง่ อนั ไมส่ บาย นม่ี นั เป็นอยา่ งนี้

ให้พึงรู้พึงเห็นซิ สันทิฏฐิโก ผู้ปฏิบัติรู้เองเห็นเอง ไม่ใช่ผู้อ่ืนเห็น เราเป็น
ผู้เห็นซี่ ให้มันรู้มันเห็นจริงแจ้งประจักษ์ซี มันจึงหาย ความสงสัยในภพทั้งหลาย
ภพนอ้ ยๆ ใหญๆ่ ทใี่ กลท้ ไ่ี กล ในนอก ผนู้ ที้ ง้ั หมดเปน็ ผไู้ ปยดึ ผนู้ ท้ี ง้ั หมดเปน็ ผไู้ ปถอื

ตามหา “ผูร้ ู้” 129

ใหร้ ้จู ัก นรกมันก็ไมไ่ ด้อยตู่ น้ ไมภ้ เู ขาเลากา ในพืน้ ดินฟา้ อากาศ นรกก็หมายความ
ทกุ ข์ อะไรทกุ ขเ์ ดยี๋ วนี้ ถา้ จติ เราทกุ ขน์ นั่ แหละตวั นรก นรกกห็ มายความทกุ ข์ ภพหนงึ่
เป็นอย่างนั้น สวรรค์หมายความสุข จิตเราเป็นสุข เราก็ได้ท่ีพ่ึงอันสุข ก็สบาย
เย็นอกเย็นใจ หายทุกข์หายยาก หายความลำ�บากรำ�คาญ ไม่มีภัย ไม่มีเวร ไม่มี
ความชั่วท้ังหลาย มแี ตค่ วามเบาความสบาย ใสอยภู่ ายในผูร้ อู้ นั น้ัน ความพน้ ทกุ ข์
เราอยากพ้นทุกข์ เราให้รู้จักว่าสิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งน้ันไม่ใช่ตัวทั้งหมด เราไปยึดเอา
เราอยากพน้ ทกุ ขก์ ใ็ หก้ �ำ หนดดซู ี ถา้ จติ ของเรามที กุ ขอ์ ยู่ มนั กไ็ มพ่ น้ ทกุ ข์ จติ พน้ ทกุ ข์
คอื มนั ไมท่ กุ ข์ คอื มนั ละมนั วางหมด เมอื่ มนั ละมนั วางหมดแลว้ นน่ั แหละมนั พน้ ทกุ ข์
ตรงนนั้ มนั ไมไ่ ดพ้ น้ ทอ่ี น่ื ผนู้ เี้ ปน็ ทกุ ข์ นแ่ี หละใหพ้ ากนั ก�ำ หนดดใู หร้ ู้ ใหเ้ พง่ เลง็ ลงไปซิ
ให้มันแน่นอนลงไปซิ เช่ือม่ันลงไปซิ สันทิฏฐิโก ผู้ปฏิบัติรู้เองเห็นเอง จะไม่เห็น
อย่างไรละ่ จติ ของเรา เราสบายเรากร็ ู้ เราไมส่ บายเราก็รู้

เอ้า ต่อไปต่างคนต่างฟังดวงใจของเรา ได้ความยังไงแล้วพิจารณาให้มันรู้
เม่ือเราได้ยินเสียงท้ังหลายทั้งหมด ให้รู้ว่าสิ่งเหล่านั้นไม่มีอันตรายแล้ว เราก็ไม่
เดือดร้อน ต้ังดูความรู้ของเรานั่น เราอยากสุขก็วางจิตของเราให้สบาย สังขารทั้ง
หลายเหล่าน้ีมันเป็นของไม่เท่ียงท้ังหมด สังขารมันเป็นทุกข์ทั้งน้ัน เรากำ�หนดจิต
ของเราผู้รู้อันเดียวเท่าน้ัน น่ีแหละ ตนของตนคือ ผู้รู้ ผู้รู้น่ันแหละ จิตวิญญาณ
อันนั้นแหละมันไปก่อภพก่อชาติ มันไปก่อที่ไหนเล่า คือ ไปยึดที่ไหนแล้วมันก็ไป
เกดิ ทน่ี ั่น เราได้แต่เด๋ยี วนี้ ได้สุขได้ทุกข์ มันต้องสร้างไวแ้ ต่เดยี๋ วน้ี ตอ้ งทำ�แตเ่ ดี๋ยวน้ี
เหตนุ ้ี เราจะนง่ั สมาธดิ วู า่ จติ ของเราตกในชน้ั ภมู ใิ ด เชน่ กามาวจรกศุ ล นแ้ี บง่ เปน็ สองนยั
แบง่ เป็นอบายภมู ิอนั หน่ึง แบง่ เป็นฉกามาวจรสวรรคอ์ นั หนง่ึ เราร้ไู ดย้ ังไง แบง่ เป็น
อบายภูมิ คือจิตเราทุกข์ จิตเราไม่ดี จิตเศร้าหมอง จิตวุ่นวาย นี่ไปทางอบายภูมิ
ไปทางนรก จติ เราผอ่ งใส มคี วามเบกิ บาน ย้ิมแยม้ แจม่ ใส นเี่ ปน็ ฉกามาวจรสวรรค์

ทีน้ีให้เราพิจารณาส่ิงทั้งหลายเหล่านี้เป็นของไม่เท่ียง สิ่งทั้งหลายเหล่านี้
เป็นทกุ ข์ เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตน เหน็ แตภ่ ายนอกไม่มีแกน่ สาร ไม่มีสาระ เราละได้
เรามาเหน็ แต่สังขารร่างกายเทา่ น้ี มาเหน็ แต่ รปู เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ นี้
มาเหน็ อตั ภาพรา่ งกายนี้ มนั เกดิ จากนท้ี งั้ หมด เรากม็ าพจิ ารณาสงั ขารรา่ งกายเรานี้
นะโม นี้ มันไมม่ ีแกน่ ไมม่ สี าร นะ คอื อนั ใด เชน่ ปติ ตงั น้�ำ ดี เสมหัง น�ำ้ เสลด บพุ โพ

130  อาจารยิ บูชา พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร

น้�ำ เหลอื ง โลหิตงั น้�ำ เลือด เสโท น้ำ�เหงอื่ เมโท น้�ำ มันขน้ อสั สุ น�้ำ ตา วสา น�ำ้ มัน
เหลว เขโฬ น�้ำ ลาย สิงฆาณกิ า น�้ำ มูก ละสกิ า น�้ำ ไขข้อ มตุ ตัง น้ำ�มูตร ส่ิงเหล่านี้
เป็นของท้ิงทั้งหมด มิใช่เป็นของเอา สังขารร่างกายเรานี้ไม่เป็นแก่นเป็นสาร มีแต่
กองทกุ ขท์ ั้งนน้ั ไมใ่ ชเ่ ปน็ ตัวเปน็ ตน ไม่ใช่เป็นสัตว์เป็นบคุ คล ไม่ใช่เปน็ เราเปน็ เขา
เราก็ละรูปภพ ถึงอรูปภพ เหลือแต่จิตดวงเดียว มันวางกายหมดแล้ว เห็นแต่จิต
ดวงเดยี ว ใส วา่ งอย่หู มด น่นั เรียกอรูปภพ ชน้ั พรหม

ถ้าเรารู้จักภพทั้งสามนี้ว่ามันยังเป็นทุกข์อยู่ นำ�ให้ทุกข์อยู่ภพทั้งหลายน้ี
ละกิเลส ละตัณหาราคะโลภะที่ยึดน้อยหน่ึงก็ตาม ยังกิญจิรูปัง ในรูปทั้งหลายน้ี
จติ มนั วางหมดไมม่ อี ะไรจนนดิ หนง่ึ ทม่ี ดื ทสี่ วา่ งไมม่ ี เปน็ วมิ ตุ ติ หลดุ พน้ หมด นนั่ มนั
ก็เข้าสู่ปรินิพพาน ไม่มีเกิดไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บไม่มีตาย ไม่มีทุกข์ ไม่มีอะไร สังขาร
ทงั้ หลายไม่มี เป็นผรู้ ะงับดับหมดแลว้ ไมม่ อี ะไร เรอ่ื งสมมตนิ ิยมไมม่ ี จงึ วา่ วมิ ุตติ
แปลวา่ หลุดพ้นหมด ขอ้ น้ตี นของตนต้องรู้เอง จะอธิบายอย่อู ย่างนม้ี นั กเ็ ปน็ สมมติ
นส่ี มมตใิ หร้ จู้ ักหนทาง ผลที่สุดคอื วมิ ุตติหลุดพน้ เอ้า ตอ่ นีไ้ ปให้น่ังดูจิตของเราอยู่
ในชัน้ ใด ภมู ใิ ด...

พระอภธิ รรมสังคณิ มี าตกิ าบรรยาย

เรียบเรยี งโดยพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร

“... เมื่อบคุ คลผู้ใดเหน็ ปจั จุบันธรรมคอื
อนจิ จัง ทุกขงั อนัตตา น้ใี หแ้ จ้งชดั แล้ว
บุคคลผู้นัน้ กจ็ ัดเปน็ ผูส้ ามารถจะยัง
ศีล สมาธิ ปญั ญา ใหบ้ ริสุทธบิ์ ริบรู ณ์ข้นึ ในตนได้ ...”

พระอภธิ รรมสังคณิ มี าตกิ าบรรยาย

เรียบเรยี งโดย
พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร

กรุณา วยิ ะ สัตเตส ุ ปญั ญายสั สะ มเหสโิ น

เญยยธมั เมสุ สพั เพสุ ปวัตติตถะยถารจุ งิ

ทยายะ ตายะ สตั เตส ุ สมุสสาหติ มานโส

ฯลฯ

อภิธมั มกถงั กเถสตี ฯิ

ณ บัดน้ี อาตมภาพจักได้รับประทานวิสัชนา ในพระอภิธรรมมาติกา ๒๒
ตกิ ะในเบอ้ื งตน้ สนองศรทั ธาธรรมของทา่ นสาธชุ นสปั ปรุ ษุ โดยสมควรแกก่ าลเวลา
ดว้ ยพระอภธิ รรมมาตกิ าน้ี ยากทจี่ ะอธบิ ายแกไ้ ขแปลออกไปใหพ้ สิ ดารได้ มแี ตท่ า่ น
สวดมาติกาเพลาบังสุกุลเท่านั้น แต่ถึงอย่างน้ันก็ยังเป็นบาลีอยู่ ยากที่จะเข้าใจได้
ท่ีทา่ นแปลออกไวก้ ม็ แี ตพ่ ระอภิธรรม ๗ คมั ภรี ์อย่างยอ่ เทา่ น้นั แต่ในพระอภธิ รรม
มาตกิ านี้ หาไดแ้ ปลออกใหว้ ติ ถารพสิ ดารไม่ พระอภธิ รรมมาตกิ า ๒๒ ตกิ ะในเบอื้ งตน้
น้ี ทรงสำ�แดงเมื่อพระชินสีห์พระศาสดาจารย์ เสด็จคมนาการข้ึนจำ�วัสสาในช้ัน
ดาวดึงสาเทวโลก ทรงตรัสเทศนาในพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ โปรดหมู่เทวกัลยา
มพี ระพทุ ธมารดาเปน็ ตน้ กเถตุ กามะยะตา ทรงปจุ ฉาเปน็ สกวาที ปรวาที ทกุ ๆ คมั ภรี ์
เปน็ ลำ�ดบั ๆ ไปฯ

เบ้ืองหน้าแต่น้ี อาตมภาพจักได้วิสัชนาในพระอภิธรรมมาติกาเป็นปุจฉา
วสิ ัชนา ตามนัยพระพทุ ธฎีกาเชน่ นนั้ เพือ่ ให้เกดิ ความเลอื่ มใสได้ศรัทธา เชื่อมน่ั ใน
คณุ พระรัตนตรัยยงิ่ ๆ ขึ้นไป

134  อาจาริยบูชา พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร

สมัยคร้ังหนึง่ ยงั มพี ระอาจารยอ์ งคห์ นง่ึ ชื่อว่า สกวาทอี าจารย์ มารำ�พงึ แต่
ในใจวา่ เมอื่ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จะทรงตรสั พระธรรมเทศนาโปรดพระพทุ ธ
มารดานั้น พระองค์ได้เลอื กคัดจดั สรรพระวินัย พระสุตตันตะ พระอภิธรรม ทงั้ ๓
ปิฎกนี้แล้ว ก็ยังไม่เห็นว่าจักเสมอด้วยคุณของพระพุทธมารดาน้ันได้ เห็นแต่
พระอภธิ รรมมาตกิ านไี้ ซรจ้ งึ จะสมควรดว้ ยคณุ ของพระพทุ ธมารดา แตพ่ ระบาลนี นั้
ก็ยงั ปรากฏอยู่ ๒๒ ตกิ ะ ติกะละ ๓ รวมเป็น ๖๖ บทดังน้ี ทำ�ไฉนหนออาตมาจึงจะ
ร้จู กั เข้าใจในเนอ้ื ความแห่งพระอภิธรรมมาตกิ าน้ไี ด้

เมอ่ื ทา่ นสกวาทอี าจารยค์ ดิ ร�ำ พงึ แตใ่ นใจฉะนแ้ี ลว้ จงึ คมนาการเขา้ ไปสสู่ �ำ นกั
ของทา่ นปรวาทอี าจารย์ ทา่ นปรวาทอี าจารยจ์ งึ กล่าวพระบาลขี นึ้ ว่า กสุ ะลา ธมั มา
อกุสะลา ธัมมา เปน็ ตน้ โดยเนอ้ื ความเดมิ ในปฐมมาติกานว้ี า่ กุสะลา ธมั มา ธรรม
ท้ังหลายท่ีเป็นกุศลน้ันอย่างหนึ่ง อกุสะลา ธัมมา ธรรมท้ังหลายท่ีเป็นอกุศลนั้น
อย่างหนง่ึ อัพยากะตา ธัมมา ธรรมทั้งหลายทเี่ ปน็ อพั ยากฤตนนั้ อยา่ งหน่ึง
๑.กสุ ะลา ธัมมา

โดยความอธิบาย ในธรรมที่เป็นกุศลน้ันว่า ธรรมอันเป็นส่วนของบุคคล
ท้ังหลาย ผู้ฉลาด แปลว่าตัดออกเสียซึ่งบาป ไม่ให้เกิดข้ึนในสันดานได้ มีอุปมา
เหมือนหนึ่งบุคคลปลูกผลไม้ มีต้นมะม่วง เป็นต้น คอยระวังรักษาไม่ให้กาฝาก
บงั เกดิ ขน้ึ ในตน้ มะมว่ งนน้ั ได้ เพราะกลวั ตน้ มะมว่ งนนั้ จะไมง่ าม จะมผี ลนอ้ ยเปรยี บ
เหมือนร่างกายของบุคคลผู้ฉลาด อันธรรมดาบุคคลผู้ฉลาดนั้นย่อมระวังรักษา
กายสจุ ริต วจสี จุ ริต มโนสจุ ริต ไม่ใหบ้ ังเกิดความเศรา้ หมองได้ฉะนนั้

ท่านปรวาทีอาจารย์ถามว่า ในปฐมมาติกาคือ กุสะลา ธัมมา นั้น ท่าน
ก็แปลถูกต้องตามพยัญชนะแล้ว แลยังอัตถาธิบายความอุปมาอุปไมยซำ้�อีกเล่า
ยงั จะมีอะไรท่ีข้าพเจา้ จกั ต้องแจกแจงอีกหรือ?

ท่านสกวาทีอาจารย์จึงว่า โดยอัตถะนั้นข้าพเจ้าก็เข้าใจแล้ว แต่ข้าพเจ้า
ยังมีความวิตกถึงบุคคลท่ีโง่กว่าข้าพเจ้านี้ก็ยังมีอยู่บ้าง เพราะเหตุน้ันข้าพเจ้าจึง
ขอค�ำ แนะนำ�ตอ่ ไปอีกสักหน่อย ขอรับ

ทา่ นปรวาทอี าจารยจ์ งึ ตอบขน้ึ วา่ เอโก กริ ะ ปรุ โิ ส ดกู อ่ นทา่ นสกวาทยาจารย์
ดังได้ยนิ ขา่ วว่ามบี รุ ษุ ผหู้ นึ่งเปน็ คนฉลาด ไดเ้ หน็ เรือพลดั มาติดอย่ทู ่หี น้าทา่ ของตน

พระอภธิ รรมสังคณิ มี าติกาบรรยาย 135

แล้วก็พิจารณาเหน็ วา่ เรอื นีเ้ ป็นเรือโจร โจรเก็บเอาของในเรอื ไปหมดแล้ว ลอยเรอื
มาหน้าท่าของเรา ถ้าเราไม่ผลกั ออกไปเสียจากหน้าทา่ ของเราไซร้ เมือ่ เจ้าของเรอื
มาพบเขา้ ในกาลใด กจ็ กั กลา่ วโทษว่าเราเปน็ โจรลักเอาเรือมาดงั น้ี

เปรียบเหมือนหน่ึงบุรุษไถนา วันหน่ึงโจรนำ�เอาถุงทรัพย์ไปท้ิงไว้ท่ีริมนา
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธะเสด็จไปกับพระอานนท์ ครั้นพระองค์ได้ทอดพระเนตร
เห็นถุงทรัพย์น้ันแล้ว จึงทรงตรัสกับพระอานนท์ว่า อสรพิษอยู่ท่ีนี้แล้ว ครั้นบุรุษ
ไถนาไดฟ้ งั พระพทุ ธฎกี าตรสั แกพ่ ระอานนทด์ งั นน้ั กส็ �ำ คญั เสยี วา่ เปน็ อสรพษิ จรงิ ๆ
หาได้คิดว่าโจรเอาถุงเงินไปท้ิงไว้ในที่น้ันไม่ แล้วพระองค์จึงคมนาการเสด็จไป
สทู่ ่อี ื่น คร้ันภายหลงั บุรุษผู้เป็นเจ้าของทรพั ย์มา เหน็ ถงุ ทรพั ยข์ องตนทิ้งอยทู่ ่ีริมนา
ของบรุ ษุ ไถนานนั้ แลว้ กส็ �ำ คญั มน่ั หมายวา่ บรุ ษุ ไถนานน้ั เปน็ โจร จงึ จบั เอาบรุ ษุ ไถนา
น้ันไปฉะน้ี บุคคลผู้มีวิจารณญาณพิจารณาเห็นเหตุผลดังนี้แล้ว ก็ถอยเรือนั้น
ออกจากหนา้ ทา่ ปลอ่ ยไปตามกระแสน�ำ้ กจ็ ดั ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผฉู้ ลาด ตดั ฐานะภยั เสยี ได้
ดงั น้ี

ถ้ามิฉะนั้นเปรียบเหมือนหนึ่งบุรุษเล้ียงโค บุรุษเจ้าของโคนั้นเม่ือได้เห็น
โคหลวงมาอยู่ในคอกของตนแล้ว ก็คิดแต่ในใจว่า ถ้าผู้ใหญ่บ้านและนายอำ�เภอ
มาเหน็ โคหลวงมาอยใู่ นคอกของเราแลว้ กจ็ ะหาวา่ เราลกั เอาโคของหลวงมาแลว้ กจ็ ะ
จับเอาตัวเราไปลงทัณฑกรรมตา่ งๆ เม่อื บรุ ษุ เลย้ี งโคคิดเช่นนี้แลว้ ก็เปดิ ประตูคอก
ไล่โคหลวงออกไปให้พ้นจากบ้านของตน ดังน้ีก็จัดได้ชื่อว่าเป็นผู้ฉลาด ตัดราชภัย
ใหพ้ ้นไปเสียได้ ดังนี้

อีกเรื่องหน่ึง สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธะของเราได้เสวยพระชาติเป็น
กทุ ทาลบณั ฑติ ครงั้ นนั้ พระองคไ์ ดท้ �ำ ไรข่ า้ วโพดและถวั่ ราชมาส อยรู่ มิ ฝง่ั มหาสมทุ ร
ครั้นถึงคิมหันตฤดูแล้ว ก็บวชเป็นฤาษี เมื่อวัสสันตฤดู (ฤดูฝน) แล้วก็สึกออกมา
ท�ำ ไรต่ อ่ ไป เปน็ เชน่ นอี้ ยถู่ งึ ๗ ครงั้ คอื บวช ๗ ครงั้ สกึ ๗ ครงั้ ครน้ั ภายหลงั พระองค์
จึงมาคดิ วา่ เรามคี วามเหน่อื ยยากล�ำ บากกาย ต้องบวชตอ้ งสึก เพราะเป็นห่วงจอบ
กบั ขา้ วโพดเปน็ ตน้ นเ้ี อง ท�ำ ใหเ้ ราตอ้ งบวชๆ สกึ ๆ เมอ่ื พระองคค์ ดิ ไดเ้ ชน่ นแี้ ลว้ จงึ น�ำ
เอาผา้ หอ่ พชื คามกบั จอบนนั้ ไปโยนทง้ิ เสยี ทรี่ มิ ฝงั่ มหาสมทุ ร ครนั้ สน้ิ หว่ งสน้ิ กงั วลแลว้
พระองคจ์ งึ มาเจรญิ สมาบตั ิ กไ็ ดส้ �ำ เรจ็ ญาณโลกยี ์ ครนั้ จตุ จิ ากนน้ั แลว้ กไ็ ดอ้ บุ ตั บิ งั เกดิ
ในชัน้ พรหมโลก ดงั นี้

136  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร

แสดงมาท้ังนี้ก็เป็นแต่อุปมาอุปไมยเพื่อจะให้เห็นความว่า ร่างกายของเรา
ทา่ นทั้งหลาย คือ เบญจขันธ์ทงั้ ๕ นี้ เม่อื บุคคลมคี วามยินดีรกั ใครอ่ ยู่ตราบใดแล้ว
ก็จักได้เสวยแต่กองทุกขเวทนาอยู่ตราบน้ัน เท่ากับว่ายินดีอยู่ด้วยราชภัยคือ
พญามัจจุราช และโจรภัยคือโมหะ เหมือนดังพระบาลีท่ีพระองค์ทรงตรัสไว้ว่า
ปัญจุปาทานักขันธาทุกขา ดังนั้น โดยเน้ือความว่า สัตว์โลกทั้งหลายมีความ
เดือดรอ้ นอยู่ กเ็ พราะเข้าไปยึดถือเอาขันธไ์ ว้ว่าเปน็ ของของเราฉะน้ี

ในธรรมทว่ี า่ กสุ ะลา ธมั มา นน้ั คอื มพี ทุ ธประสงคใ์ หเ้ อาองคป์ ญั ญาตดั อาลยั
ในเบญจขนั ธ์ทั้ง ๕ เสยี ได้ โดยเหน็ วา่ เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตน เพราะเบญจขนั ธน์ ัน้
ไม่ได้อยใู่ นอ�ำ นาจใตบ้ งั คบั ของผ้ใู ด เพราะฉะน้นั จึงไดช้ ื่อว่า กุสะลา ธมั มา แปลว่า
ตัดเสยี ซง่ึ บาปออกจากกาย วาจา ใจ ไม่ให้เกิดข้ึนได้ วนิ ะยะ แปลวา่ วนิ ยั กแ็ ปลวา่
น�ำ เสียซงึ่ บาปออกจากกาย วาจา ใจ ไม่ให้ติดอยใู่ นสนั ดานได้ ปฏิปตั ติ กแ็ ปลว่า
ปฏิบัติกลับ กาย วาจา ใจ ทีเ่ ป็นบาปใหเ้ ปน็ บญุ เปน็ กศุ ลเสยี ฉะน้ี เพราะเหตนุ นั้ จึง
ได้เรียกช่ือวา่ ศีล วา่ วินยั ว่า ปฏิบตั ิ ดังนี้

๒. อกุสะลา ธมั มา

เบื้องหน้าแต่นี้จักได้แก้ไขในบทท่ี ๒ ต่อไป อกุสะลา ธัมมา นี้สืบไป
โดยพระบาลวี ่า อกสุ ะลา ธัมมา ธรรมทงั้ หลายอนั เป็นอารมณ์แหง่ จติ คือว่าทรงไว้
ซึง่ จติ อนั ทเ่ี ป็นอกศุ ลธรรม อกุสะลา ธัมมา ถา้ ช้ีตัวบคุ คลก็แปลว่า ธรรมของบุคคล
ผไู้ มฉ่ ลาด หรอื แปลวา่ ไมต่ ดั บาปกรรมออกไปจาก กาย วาจา ใจ กไ็ ด้ ความอธบิ าย
วา่ คนโง่ ไมร่ ะงับบาปที่จะถึงแก่ตน บางคนบาปยงั ไมท่ นั ถงึ ตนเลย กเ็ ทย่ี วแสวงหา
บาปใสต่ นกอ่ นกม็ ี

ทา่ นสกวาทอี าจารยจ์ งึ ถามขน้ึ วา่ ค�ำ วา่ บาปทจ่ี กั มาถงึ แกต่ นนนั้ อยา่ งไร และ
ที่ว่าบาปยังไม่ทันมาถึงตน ก็ไปเที่ยวแสวงหาบาปใส่ตนก่อนน้ันอย่างไร ขอท่าน
ปรวาทฯี จงวสิ ชั นาความขอ้ นใ้ี หเ้ กดิ เปน็ สตุ ตมยปญั ญาแกข่ า้ พเจา้ ดว้ ยเถดิ พระเจา้ ขา้ ?

ท่านปรวาทีจึงอธิบายว่า บาปท่ีจะมาถึงแก่ตนน้ัน ด้วยเหตุที่จักกระทำ�ให้
เดอื ดรอ้ นขึน้ ก่อน เป็นต้นวา่ ไปได้ยินเสียงเขาลงอาญาหรอื ทุบตดี ว้ ยไม้ คอ้ น หรือ

พระอภิธรรมสังคณิ ีมาติกาบรรยาย 137

ก้อนดิน เป็นต้น บุคคลท่ีจะเกิดความเดือดร้อนนั้น เพราะไม่ปิดป้องกำ�บังไว้ให้ดี
ปล่อยให้เสียงน้ันล่วงเข้ามากระทบหูหรืออายตนะน้ันมาถึงตน บุคคลผู้น้ันก็ได้
ชือ่ วา่ เป็นคนโง่ ไม่ฉลาด ไมต่ ดั บาป ไมร่ ะวังบาปท่จี ักมาถงึ แกต่ นฉะน้ี ถา้ มิฉะน้นั
เปรียบเหมือนบุคคลท่ีมีเรือนไฟไหม้ บุรุษน้ันเมื่อได้เห็นไฟไหม้มาแต่ไกลแล้ว
กไ็ มร่ ะมดั ระวงั ไฟและไมต่ ดั เชอื้ ไฟเสยี แตท่ ต่ี น้ ลม เพราะฉะนน้ั จงึ ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ คนโง่
ไม่ฉลาด ไม่ระวังบาปท่จี ักมาถงึ แกต่ น ดังน้ี

คำ�ท่ีว่าไปเที่ยวแสวงหาบาปใส่ตนน้ัน ได้แก่บุคคลท่ีเที่ยวปักขวากหลาวไว้
และดักบ่วงข่ายไว้สำ�หรับจะให้สัตว์มาติดตายน้ันแล จักได้ช่ือว่าไปเที่ยวแสวงหา
บาปมาใสต่ น ท่ีว่าไมต่ ดั บาปเสียนน้ั มีคำ�อธบิ ายวา่ ยงั มตี น้ ไม้ไทรอยตู่ ้นหนึง่ ไมส่ ู้
โตนัก มีใบ กิ่ง ก้าน บรบิ ูรณ์เป็นอนั ดีอย่ใู นป่าหมิ วนั ตประเทศ วนั หนงึ่ มีนกบินไป
จบั กนิ เถาวลั ย์ ครน้ั ภายหลงั กบ็ นิ มาจบั ทต่ี น้ ไทรนนั้ แลว้ กถ็ า่ ยอจุ จาระลงไป ครนั้ ถงึ
วสนั ตฤดู เมลด็ เถาวลั ยน์ นั้ กง็ อกงามขน้ึ มาทใ่ี ตต้ น้ ไทร ยงั มคี นจ�ำ พวกหนง่ึ ไดเ้ ดนิ มา
เห็นเถาวัลย์กำ�ลังงอกข้ึนอยู่ใต้ต้นไทร แล้วบอกแก่ต้นไทรน้ันว่า หน่อเถาวัลย์น้ัน
ครั้นงอกงามข้ึนมานแี้ ล้ว ถา้ ทงิ้ ไวใ้ ห้มันเจริญใหญ่โตแล้ว ก็จกั ปกคลุมท่านใหถ้ ึงแก่
ความตายไปในที่สุด ต้นไทรจึงตอบขึ้นว่า มันคงไม่ทันที่จะงอกงามข้ึนมาคลุมเรา
ได้ สตั ว์ท้งั หลาย มกี ระตา่ ยและสกุ รเป็นต้น กจ็ ะมากดั กนิ เปน็ อาหาร เถาวัลยก์ ็จัก
ถงึ แกค่ วามตายไป ไมท่ นั ทจี่ ะเลอื้ ยยาวขนึ้ มาได้ ครนั้ นานไปเถาวลั ยน์ นั้ กเ็ จรญิ ใหญ่
โตขึน้ มา ไม่มีอนั ตรายจากสตั วท์ ัง้ หลาย มีกระต่ายและสุกรเป็นต้น จนเถาวลั ย์น้ัน
เล้ือยขน้ึ ไปถึงคาคบใหญ่ ยังมีคนจ�ำ พวกหน่งึ ไดต้ กั เตือนตน้ ไทรนั้นว่า เหตไุ ฉนท่าน
จึงได้ให้โอกาสแก่เถาวัลย์นั้นเลื้อยขึ้นมาจนถึงเพียงน้ีเล่า คร้ันนานไปมันก็จักคลุม
ยอดของท่าน ท่านก็จักได้ความลำ�บาก ถึงแก่ความตายไป ครั้นต้นไทรได้ฟังแล้ว
จงึ ตอบขึน้ ว่า ทา่ นอยา่ ไดก้ ลัวเลยว่าเถาวลั ย์มันจักไม่ตาย ถ้าพวกตดั เสาเขามาเห็น
เข้าแล้ว เขาก็จักตัดเอาไปทำ�เชือกลากเสา ต้นเถาวัลย์น้ันก็จักถึงแก่ความตายไป
ครั้นนานมา ต้นเถาวัลย์นั้นก็เล้ือยข้ึนไปคลุมยอดแห่งต้นไทร จนต้นไทรน้ันถึงแก่
ความตายหักลงไปอยู่เหนอื ปฐพี

แสดงมาท้ังน้ีก็เพ่ือให้เห็นความประมาทท่ีไม่คิดตัดบาปทางกาย วาจา ใจ
เพราะฉะนัน้ จึงต้องลำ�บากในภายหลงั ฉะนี้ฯ

138  อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ ้ัน อาจาโร

ทา่ นสกวาทีอาจารย์จึงถามขึ้นว่า บุคคลทไ่ี ม่ตดั บาปนนั้ คร้นั ตายแลว้ ไดไ้ ป
เสวยทุกขเวทนาในอบายภูมทิ งั้ ๔ มนี รกเป็นต้นนั้น จักได้แก่บุคคลจำ�พวกใด?

ท่านปรวาทีจึงชักนิทานในคัมภีร์ธรรมบทมาแสดงให้เห็นปรากฏว่า ยังมี
กลุ บุตร ๔ คนพี่น้องกัน ครนั้ ไดท้ ัศนาการเหน็ หญิงสวยผ้ภู รรยาของทา่ นผูอ้ น่ื แล้ว
เกิดความกำ�หนัดมีจิตปฏิพัทธ์รักใคร่ ได้กระทำ�กาเมสุมิจฉาจาร ครั้นพวกเขา
กระทำ�กาลกิริยาตายไปแล้ว ก็ไปตกอยู่ในนรกโลหกุมภีนานประมาณหกหมื่นปี
แล้ว จนน้ําน้ันเดือดขึ้นมาถึงปากหม้อกระทะทองแดงท่ีเดือดพล่าน แล้วก็ได้สติ
มีความปรารถนาจะประกาศถึงบุพกรรมของตนให้ปรากฏ แต่ก็กล่าวไม่ได้ตลอด
ไดแ้ ตเ่ พยี งคนละอกั ขระ คนทห่ี นงึ่ วา่ ทุ ความเตม็ แปลวา่ ขา้ พเจา้ เปน็ คนชว่ั ทสี่ องวา่
สะ ความเตม็ แปลวา่ ขา้ พเจา้ มาตกอยใู่ นนรกนนี้ านประมาณหกหมนื่ ปแี ลว้ ทสี่ ามวา่
นะ ความเตม็ แปลวา่ ขา้ พเจา้ ไม่มีทส่ี ดุ วา่ จกั หมดกรรมเมื่อไร ที่สี่ว่า โส ความเต็ม
แปลว่า ข้าพเจ้าจักไม่กระทำ�กรรมช่ัวอีกต่อไปแล้ว ดังน้ี พอยังไม่ทันจะหมดเรื่อง
ทจี่ กั กล่าว ได้แตค่ นละอักขระๆ เท่าน้นั นาํ้ กพ็ ัดหมนุ ลงกน้ หม้ออย่างเดิม แล้วก็ได้
เสวยทุกขเวทนา เผ็ด แสบ ร้อน อยใู่ นนรกอกี ต่อไปจนกว่าจะสิ้นบาปกรรม เพราะ
โทษที่ตนไมไ่ ด้ตัดบาปทาง ปรทาริกกรรม (กระท�ำ ผิดในภรรยาของผู้อนื่ ) สตั วน์ รก
ทงั้ ๔ ตนเหลา่ นเ้ี มอื่ ยงั เปน็ มนษุ ยอ์ ยนู่ นั้ ชอ่ื วา่ เปน็ คนโง่ คนไมฉ่ ลาด ไมต่ ดั บาปกรรม
เสยี เพราะฉะนั้นจงึ ตอ้ งเปน็ สัตวน์ รก เสวยทุกขเวทนาอยูใ่ นโลหกุมภี ฉะนฯ้ี

๓. อพั ยากะตา ธัมมา

ในล�ำ ดบั นจ้ี กั ไดว้ สิ ชั นาแกไ้ ขในบทท่ี ๓ สบื ตอ่ ไป โดยพระบาลวี า่ อพั ยา กะตา
ธัมมา แปลวา่ ธรรมอนั เปน็ อารมณแ์ หง่ จิตทีเ่ ปน็ อพั ยากฤต ข้อน้แี ปลวา่ ธรรมอนั
พระพุทธองค์มิได้ทรงพยากรณ์ว่าเป็นบุญหรือเป็นบาป ดังนี้ โดยความอธิบายว่า
จติ ทไ่ี มย่ นิ ดยี นิ รา้ ย ไมโ่ สมนสั โทมนสั นน้ั แล ชอื่ วา่ อพั ยากฤต เปรยี บเหมอื นหนง่ึ วา่
ใบบวั อนั น้าํ ดีและน�ำ้ ชั่วตกถกู ตอ้ งแล้ว กไ็ หลไปไม่ขงั อยู่ได้ฉะนน้ั ถา้ มฉิ ะน้ันเปรียบ
เสมอื นเสาไมแ้ กน่ อนั บคุ คลฝงั ไวแ้ ลว้ เหนอื แผน่ ดนิ ผงเผา้ เถา้ ธลุ จี ะปลวิ มาสกั เทา่ ใดๆ
ก็ดี ก็ไม่ติดอยู่ท่ีเสาได้ จิตท่ีเป็นอัพยากฤตน้ัน ถึงใครๆ จะบูชาดีก็ดี บูชาชั่วก็ดี
ก็ไม่มคี วามยนิ ดียินรา้ ยฉะนั้น

พระอภิธรรมสังคณิ มี าติกาบรรยาย 139

ทา่ นสกวาทอี าจารยจ์ งึ ไดข้ ออปุ มาอปุ ไมยขนึ้ อกี วา่ ขา้ แตท่ า่ นปรวาทอี าจารย์
ซ่ึงท่านได้ช้ีแจงแสดงมาก็ถูกต้องตามพระบาลีดีแล้ว ข้าพเจ้าได้ฟังก็มีความยินดี
ชอบใจทกุ ประการแลว้ แตข่ ้าพเจา้ ขออปุ มาอุปไมยอีกสักหน่อย ขอรบั

ท่านปรวาทีอาจารย์จึงแสดงอุปมาอุปไมยว่า ดูกรท่านสกวาทีอาจารย์
นครทวารกิ ะ ปุริโสวิยะ จิตที่เป็นอพั ยากฤตนนั้ เปรียบเหมอื นหนง่ึ นายทวาริกะคือ
บุรุษผู้เฝ้าซึ่งประตูพระนคร จิตท่ีเป็นกุศลน้ันเปรียบเหมือนหน่ึงชนที่เข้าไปใน
ประตูพระนคร จิตที่เป็นอกุศลน้ันเปรียบเหมือนชนท่ีออกไปจากประตูพระนคร
นายทวาริกะผู้เฝ้าซ่ึงประตูพระนครนั้นก็ไม่ได้ไต่ถามซ่ึงชนท่ีเข้าออก เพียงแต่เห็น
หาไดถ้ ามชนทีเ่ ขา้ ออกนั้นไม่ เชน่ น้ีแลชอ่ื วา่ อพั ยากฤต

ถา้ มฉิ ะนนั้ เปรยี บเหมอื นหนง่ึ ภาชนะทใี่ สน่ า้ํ เปน็ ตน้ ภาชนะทเี่ ตม็ แลว้ ดว้ ยนา้ํ
นนั้ ถงึ ใครๆ จะเอานา้ํ ใสล่ งไปอกี สกั เทา่ ใดๆ กด็ ี นาํ้ ในนน้ั กย็ อ่ มไหลลน้ ออกไปจาก
ภาชนะ ไมส่ ามารถขงั อยูไ่ ด้ ฉันใดก็ดี จติ ที่เป็นอัพยากฤต ท่ีพระพทุ ธองค์มไิ ดท้ รง
พยากรณไ์ วว้ า่ เปน็ บญุ เปน็ บาปนนั้ กช็ อ่ื วา่ บญุ บาปไมม่ ี ถงึ บญุ บาปจกั มมี าสกั เทา่ ใดๆ
กด็ ี กไ็ ม่สามารถจะตดิ คา้ งอยูไ่ ด้ มอี ุปไมยดงั ภาชนะทเี่ ตม็ แลว้ ดว้ ยนํ้า ฉะนัน้

จิตท่เี ป็นอพั ยากฤตนี้ก็ยอ่ มมแี ต่ในพระอริยเจา้ จ�ำ พวกเดียวเทา่ นน้ั หาไดม้ ี
แกป่ ุถุชนไม่ ปถุ ชุ นนน้ั มแี ต่จิตเป็นบุญเป็นบาปท้งั สองประการ จิตทีเ่ ปน็ อพั ยากฤต
นั้นหาไดม้ ไี ม่ เพราะฉะนัน้ จิตท่เี ป็นอัพยากฤตนั้น จงึ มิไดบ้ งั เกดิ แก่ปุถุชน

ทา่ นสกวาทีอาจารย์ได้ฟังก็ชอบใจ จงึ ไตถ่ ามตอ่ ไปอีกว่า บุคคลผู้ใดมีแตจ่ ิต
ที่เป็นกศุ ล ส่วนอกุศลและอพั ยากฤตไมม่ ี บคุ คลผู้ใดมีแตจ่ ติ ทเ่ี ป็นอกศุ ล สว่ นกศุ ล
และอัพยากฤตไม่มี บุคคลผู้ใดมีแต่จิตท่ีเป็นอัพยากฤต ส่วนกุศลและอกุศล
ไม่มีเล่า ขอรบั ?

ท่านปรวาทีอาจารย์จึงวิสัชนาว่า บุคคลที่มีจิตเป็นบาปเป็นอกุศลน้ัน
ก็ไดแ้ กน่ ายพราน คิดแต่จะฆ่าเนื้อฆา่ ปลาอยเู่ ปน็ นจิ กุศลจติ และอัพยากฤตจติ น้ัน
ไมบ่ งั เกดิ มแี กน่ ายพรานเลย ดงั น้ีบคุ คลทม่ี จี ติ เปน็ บญุ เปน็ กศุ ลนน้ั ไดแ้ กพ่ ระอรยิ สปั ปรุ ษุ
ทา่ นคดิ แตก่ ารบำ�เพญ็ ทาน รักษาศลี เจรญิ เมตตาภาวนา สดับฟังพระธรรมเทศนา

140  อาจาริยบูชา พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร

เปน็ นจิ อกศุ ลจติ และอพั ยากฤตจติ กไ็ มบ่ งั เกดิ มแี กท่ า่ นดงั น้ี เพราะฉะนนั้ จงึ วา่ จติ ที่
เป็นอพั ยากฤตน้ี ยอ่ มบังเกดิ มแี ต่พระอรหันต์อย่างเดยี ว พระอรหนั ต์เม่อื เข้านโิ รธ
สมาบตั แิ ลว้ จติ ทเ่ี ปน็ บญุ เปน็ บาปนนั้ ไมบ่ งั เกดิ มแี กท่ า่ น ฉะนนั้ นกั ปราชญผ์ มู้ ปี ญั ญา
พงึ สนั นษิ ฐานเขา้ ใจตามนยั พระพทุ ธภาษติ อนั วจิ ติ รพสิ ดาร อาตมาแกไ้ ขมาในปฐม
มาติกา บทท่ี ๓ โดยสงั เขปก็ยตุ ิลงแตเ่ พยี งนฯ้ี

๔. สขุ ายะ เวทะนายะ สมั ปะยุตตา ธมั มา

ในล�ำ ดบั น้จี กั ได้แสดงติกมาตกิ าบทท่ี ๔ สืบตอ่ ไป โดยพระบาลีว่า สุขายะ
เวทะนายะ สมั ปะยตุ ตา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายซงึ่ เปน็ อารมณแ์ หง่ จติ อนั สมั ปยตุ
แลว้ ดว้ ยเวทนา เวทนาแปลวา่ เสวยอารมณ์ สขุ ายะ แปลวา่ เปน็ สขุ โดยความอธบิ าย
ว่า ธรรมทั้งหลายอนั สัมปยุตแลว้ ด้วยความเสวยอารมณ์เป็นสขุ นัน้ คือ จกั ขุ โสตะ
ฆานะ ชวิ หา กาย ใจ ท่ไี ด้สมั ผัสรปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ กล็ ว้ น
แตเ่ ปน็ ทรี่ กั ทเี่ จรญิ ใจ คอื วา่ ไมย่ งั ใจใหเ้ ดอื ดรอ้ น มแี ตค่ วามโสมนสั ยนิ ดี ในเมอื่ สมั ผสั
มาถูกต้องกับทวาร มีจักขุทวารเป็นต้น เพราะฉะน้ันธรรมดวงน้ีสมเด็จพระสัมมา
สัมพทุ ธเจ้าจึงไดท้ รงตรสั วา่ สุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ฉะน้ี

พระสกวาทีอาจารย์จึงขอความอุปมาอุปไมยต่อไปว่า ข้าแต่ท่านปรวาที
อาจารย์ ขอพระผูเ้ ปน็ เจ้าจงแสดงใหพ้ ิสดารอีกสกั หนอ่ ยเถิดพระเจ้าขา้

พระปรวาทีอาจารย์จึงวิสัชนาว่า คนหนาวได้ห่มผ้า คนร้อนได้อาบน้ํา
คนหิวอาหารได้รับประทานอาหารบรรเทาเวทนาเก่าลงได้ และห้ามเวทนาใหม่
ไม่ให้กำ�เริบข้ึนมาได้ ฉะน้ี ก็จักได้ชื่อว่าสัมผัสถูกต้องเวทนาที่เป็นสุข ถ้ามิฉะน้ัน
เปรียบเหมือนหนึ่งคนยากจนเข็ญใจ เมื่อได้ลาภ ยศ ฐานันดรอันใดอันหน่ึงแล้ว
ก็ย่อมมคี วามชืน่ ชมยนิ ดีเป็นกำ�ลัง ดังนายควาญชา้ ง เดิมทกี ็เปน็ คนยากจนอนาถา
คร้ันได้รับจ้างเขาเลี้ยงช้าง แล้วก็ได้รับประทานอาหารเช้าเย็น คร้ันอยู่มาภายหลัง
ก็ได้เสวยราชสมบัติเป็นบรมกษัตริย์ เสวยแต่เวทนาท่ีเป็นสุขฉะน้ัน ถ้ามิฉะนั้น
ก็เปรียบเหมือนหน่ึงพระเจ้าสักกมันธาตุราชกุมาร เมื่อเดิมทีนั้นก็เป็นคนยากจน
เขญ็ ใจ จะแสวงหาอาหารบรโิ ภคแตล่ ะมอ้ื นน้ั กท็ ง้ั ยาก จนทส่ี ดุ แมแ้ ตผ่ า้ จะนงุ่ จะหม่
ก็ไม่มี มีแต่นงุ่ ใบไม้ คร้นั ภายหลงั ก็ได้เปน็ บรมจกั รพรรดิ แสนท่จี ะมคี วามสขุ สบาย
ดังน้ี

พระอภธิ รรมสงั คิณีมาตกิ าบรรยาย 141

๕. ทุกขายะ เวทะนายะ สมั ปะยตุ ตา ธมั มา

ในลำ�ดับนี้จกั ไดว้ ิสชั นาแก้ไขในบทที่ ๕ สืบต่อไป โดยพระบาลีว่า ทุกขายะ
เวทะนายะ สมั ปะยุตตา ธัมมา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอันสมั ปยุตแล้วด้วยทกุ ขายะ
เวทะนายะ นามธรรมทไ่ี ดเ้ สวยอารมณเ์ ปน็ ทกุ ข์ โดยความอธบิ ายวา่ ธรรมทงั้ หลาย
ท่ีทรงไว้ซึ่งจิตของบุคคลท่ีมีความลำ�บากน้ันก็ได้แก่คนท่ียากจนเข็ญใจและคนที่มี
โรคาพยาธิเบียดเบยี นตา่ งๆ และคนที่ต้องราชภยั โจรภยั อัคคภี ัย อุทกภยั เปน็ ต้น
เหล่านี้แลช่ือว่า ทุกขายะ เวทะนายะ เป็นทุกขเวทนาอีกอย่างหนึ่ง คือทุกข์ของ
สัตวใ์ นนรก ทุกข์ของเปรต อสุรกาย ทกุ ขข์ องสัตว์เดยี รัจฉานก�ำ เนดิ ทุกขข์ องสัตว์
ทจ่ี ักเวยี นวา่ ยตายเกดิ ตอ่ ไป ดงั นี้แลชือ่ วา่ ทุกขเวทนา

ทา่ นสกวาทอี าจารยจ์ งึ ถามขน้ึ วา่ บคุ คลทไี่ ดเ้ สวยทกุ ขเวทนาอยา่ งทไ่ี ดแ้ สดง
มานี้คือใคร ผู้ใดเปน็ ตวั อยา่ งขอรับ โปรดได้อรรถาธิบายให้แจม่ แจง้ ขอรบั ?

ทา่ นปรวาทอี าจารยจ์ งึ น�ำ บคุ คลยกขน้ึ มาแสดงใหเ้ หน็ เปน็ นทิ ศั นอทุ าหรณว์ า่
ยังมีสตรผี ู้หนงึ่ ช่อื ว่า นางสุปปวาสา เป็นมารดาของพระสวี ลีทท่ี รงพระครรภ์อย่ถู ึง
๗ ปี ๗ เดอื น ๗ วนั คร้นั ภายหลงั นางสุปปวาสา ผเู้ ป็นมารดานั้นจึงไดช้ ้ีแจงแสดง
เหตุให้ปรากฏว่า ตนประกอบไปด้วยความทุกข์เหลือท่ีจะอดทนพ้นที่จักพรรณนา
เปน็ ตน้ วา่ ครรภน์ ั้นไดใ้ หญ่เกนิ ประมาณ จะน่ังก็เป็นทกุ ข์ จะนอนกเ็ ป็นทุกข์ จะยืน
ก็เป็นทุกข์ จะเดนิ ก็เปน็ ทุกข์ ดงั นี้ เพราะฉะน้ันจึงไดช้ ่อื ว่า ทกุ ขเวทนา ทกุ ขน์ ั้นแปล
วา่ ล�ำ บาก ล�ำ บากนน้ั แปลวา่ ความชว่ั กม็ าจากความชวั่ ทตี่ วั เองกระท�ำ ไวไ้ มด่ ี เพราะ
เหตนุ นั้ องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จงึ ไดท้ รงตรสั เทศนาวา่ สพั พะปา ปสั สะอะ
กะระณงั ดังนี้ ก็เพอ่ื พระพุทธประสงคไ์ มใ่ หส้ ัตวก์ ระท�ำ บาป เพราะทรงพระกรณุ า
แกส่ ตั ว์ จกั ไมใ่ หไ้ ดเ้ สวยทกุ ขเวทนา ดว้ ยทรงหวงั พระหฤทยั วา่ จกั ใหส้ ตั วไ์ ดเ้ สวยแต่
สขุ เวทนายิ่งๆ ข้ึนไปฉะน้ฯี

๖. อะทุกขะมะสุขายะ เวทะนายะ สมั ปะยุตตา ธัมมา

เบอ้ื งหนา้ แตน่ จ้ี กั ไดแ้ สดงในบทที่ ๖ วา่ อะทกุ ขะมะสขุ ายะ เวทะนายะ สมั ปะ
ยตุ ตา ธมั มา นต้ี อ่ ไป ขอ้ นแี้ ปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอนั สมั ปยตุ แลว้ ดว้ ยเวทนาทไ่ี มม่ สี ขุ
ไมม่ ที กุ ข์ โดยความอธบิ ายวา่ ทกุ ขก์ อ็ าศยั แกเ่ บญจขนั ธท์ งั้ ๕ เมอ่ื ไดป้ ฏบิ ตั วิ ปิ สั สนา

142  อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ ้ัน อาจาโร

ภาวนา วจิ ารณญาณเหน็ เบญจขนั ธท์ ้ัง ๕ เปน็ อนตั ตา ไมใ่ ช่ตวั ตน หรอื เหน็ ว่าเปน็
อยา่ งอนื่ มใิ ชเ่ ราและตวั ตนของเราแลว้ อปุ าทานกไ็ มเ่ ขา้ ไปใกลไ้ ปยดึ ถอื ปลอ่ ยวางเฉย
เพราะฉะนั้นจึงว่า สุขทุกข์ไม่มีดังน้ี ส่วนอารมณ์นั้นเล่าก็มีอุเบกขา อุเบกขานั้น
แปลว่า เข้าไปเห็นเบญจขันธ์ท้ัง ๕ เบญจขันธ์ท้ัง ๕ ที่เกิดข้ึนแล้วย่อมดับสูญไป
สน้ิ ไป สว่ นความรคู้ วามเหน็ นน้ั กไ็ มเ่ จอื ปนอยดู่ ว้ ยเบญจขนั ธท์ งั้ ๕ เพราะเหตนุ น้ั จงึ วา่
ไม่มที ุกข์ไมม่ สี ขุ ฉะนฯี้

ทา่ นสกวาทอี าจารยจ์ งึ ถามสบื ตอ่ ไปอกี วา่ อารมณท์ ไ่ี มม่ ที กุ ขไ์ มม่ สี ขุ นน้ั เปน็
อยา่ งไร เปน็ โลกยี ์หรอื เป็นโลกตุ ระ หรอื เปน็ ประการใด?

ทา่ นพระปรวาทอี าจารยจ์ งึ ไดเ้ ฉลยวนิ จิ ฉยั วา่ ความทว่ี า่ ไมม่ ที กุ ขไ์ มม่ สี ขุ นนั้
ที่เปน็ โลกยี ์กม็ ี ทเี่ ปน็ โลกุตระกม็ ี เปรยี บเหมอื นหน่งึ อารมณท์ ี่รอ้ นแล้ว แลมคี วาม
ปรารถนาจกั ใหพ้ น้ รอ้ นไปหาเย็น แต่ยังไปไม่ทนั จะถึงความเย็นฉะนั้น

แล้วท่านปรวาทีอาจารย์จึงย้อนถามท่านสกวาทีอาจารย์กลับคืนมาอีกว่า
ท่านสกวาทีอาจารย์จักมีความเห็นเป็นอย่างไร เม่ือได้ออกจากความร้อนแต่ยัง
ไม่ทนั ถึงความเยน็ ?

ท่านสกวาทีฯ ตอบว่า อารมณ์นัน้ รอ้ น

ท่านปรวาทอี าจารยจ์ ึงถามอกี ว่า อารมณ์นน้ั จกั รอ้ นอยา่ งไร เมือ่ ได้หนพี น้
ร้อนมาแล้ว?

พระสกวาทฯี จึงตอบว่า ถ้าพน้ อารมณร์ ้อนมาแล้ว อารมณน์ ั้นกเ็ ยน็

พระปรวาทฯี จงึ ว่า จะเย็นได้อย่างไรเพราะยงั ไมถ่ งึ ความเย็น?

พระสกวาทฯี จงึ ว่า ถ้าเปน็ เชน่ นน้ั แล้ว อารมณ์น้ันกไ็ ม่เยน็ ไมร่ อ้ น

พระปรวาทีฯ จงึ อนโุ ลมคลอ้ ยตามว่า นัน้ แลธรรมทส่ี มั ปยุตแล้วด้วยเวทนา
ทไ่ี ม่ทกุ ขไ์ มส่ ขุ

ท่านสกวาทอี าจารยย์ ังมีความวิมตกิ ังขา คือ มีความสงสัย จงึ ไถ่ถามอกี วา่
ธรรมท่เี ปน็ โลกยี ์น้ันคอื ใคร ผ้ใู ดกระท�ำ ไดแ้ ลว้ ขอพระผู้เปน็ เจา้ ช้ีบอกบคุ คลที่เปน็

พระอภธิ รรมสงั คณิ มี าตกิ าบรรยาย 143

โลกีย์มาแสดงในทน่ี ี้ เพอื่ ให้เห็นเปน็ แบบอยา่ งสกั เรอ่ื งหน่ึง พอเปน็ เคร่อื งเตอื นสติ
ให้สิน้ ความสงสยั ?

ทา่ นปรวาทฯี จงึ นำ�บคุ คลมาแสดงเพอื่ ใหเ้ ป็นนิทัศนอุทาหรณ์ว่า เอโก เถโร
ยังมีพระมหาเถระองค์หน่ึง ไปเจริญสมณธรรมอยู่ในอรัญราวป่า ท่านได้น่ัง
เจรญิ วปิ สั สนา พจิ ารณาซงึ่ สงั ขารธรรม คอื อนจิ จงั ความไมเ่ ทย่ี ง ทกุ ขงั ความทนทกุ ข์
ยากล�ำ บาก อนตั ตา ความมิใชต่ ัวเราและของเรา หรอื ตัวตนของเรา จนอารมณ์น้ัน
ไมม่ ีทกุ ข์ไม่มสี ุข แต่เฉยๆ อยตู่ ลอดกาล ขณะนน้ั ยงั มีเสอื โครง่ ใหญต่ ัวหน่งึ เขา้ มา
คาบเอาพระมหาเถระองคน์ น้ั ไปบรโิ ภคเป็นภกั ษาหาร เม่ือเดิมทนี ้ันกบ็ ริโภคตง้ั แต่
เทา้ ขน้ึ ไปจนถงึ โคนเขา่ พระผเู้ ปน็ เจา้ กไ็ มส่ ขุ ไมท่ กุ ข์ จติ ของพระผเู้ ปน็ เจา้ นน้ั กย็ งั เปน็
โลกยี ์อยู่ คอื ทา่ นยังเปน็ ปถุ ชุ นอยู่ ยงั ไมไ่ ด้สำ�เร็จอะไร เม่อื เสือโคร่งใหญ่น้ันบรโิ ภค
ถึงสะเอวและท้องน้อย ท่านก็ยังไม่สำ�เร็จมรรคผลธรรมวิเศษอันใด อารมณ์ของ
ท่านนั้นยังเฉยๆ อยู่ ไม่เดือดร้อนหว่ันไหว คร้ันบริโภคถึงดวงหฤทัยของท่านแล้ว
ท่านก็ไดส้ �ำ เร็จอรหนั ตพ์ ้นกเิ ลสเปน็ สมุจเฉทปหาน ดบั ขันธเ์ ขา้ สปู่ รนิ พิ พานในปาก
เสือโครง่ ใหญน่ น้ั ฉะน้ฯี

อนง่ึ นกั ปราชญผ์ มู้ วี จิ ารณญาณพงึ สนั นษิ ฐานเขา้ ใจตามนยั พระพทุ ธภาษติ
อนั วจิ ติ รพสิ ดาร อาตมารบั ประทานวสิ ชั นามาในตกิ มาตกิ าบทท่ี ๖ แตพ่ อสงั ขติ ตนยั
โดยย่นยอ่ พอสมควรแกก่ าลเวลาเพียงเทา่ น้ีฯ

๗. วปิ ากา ธัมมา

ณ บัดนี้จักได้แกไ้ ขในตกิ มาตกิ าท่ี ๗ ตามล�ำ ดบั สบื ไป โดยนยั พระบาลีวา่
วปิ ากา ธัมมา แปลว่า ธรรมท้งั หลายอนั เปน็ สขุ และทุกขต์ า่ งๆ กนั คือกรรมวิบากท่ี
เปน็ สว่ นบุญนั้นเรียกวา่ กศุ ลวบิ าก ๑ กรรมวิบากท่เี ปน็ ส่วนบาปนัน้ เรียกว่า อกุศล
วิบาก ๑ ขนั ธวบิ าก ๑ และปญั ญาวิบาก ๑

กรรมวบิ ากนนั้ เปน็ ผลจาก ๒ ประการ คือ อกศุ ลวิบาก ได้แกผ่ ลทุจรติ ๓
คอื กายทจุ ริต ๑ วจีทุจริต ๑ มโนทจุ ริต ๑ ทุจรติ ทงั้ ๓ เหล่านี้เปน็ ฝา่ ยอกุศลวิบาก
กุศลวิบาก ได้แก่ผลสุจริต ๓ กายสุจริต ๑ วจีสุจริต ๑ มโนสุจริต ๑ สุจริตท้ัง
๓ เหล่านี้ เป็นฝ่ายกศุ ลวบิ าก เมอ่ื เสวยแล้วกม็ ผี ลต่างๆ กนั

144  อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร

ทุจริตท้ัง ๓ นั้นได้แก่สัตว์ท่ีเสวยทุกข์ยากลำ�บากต่างๆ หลายอย่างหลาย
ประการ เป็นต้นว่าให้โรคาพยาธิเบียดเบียนมาก และให้เป็นคนยากจนเข็ญใจ
ไรท้ รพั ยอ์ บั ปญั ญาและยงั สตั วใ์ หต้ กไปในอบายภมู ทิ งั้ ๔ ฉะนี้ ชอ่ื วา่ อกศุ ลวบิ ากทงั้ ๔

ผลกรรมท่ี ๒ คอื สจุ รติ ทง้ั ๓ นนั้ ได้แก่สัตว์ท่ีเสวยความสขุ สนกุ สบายต่างๆ
หลายอยา่ งหลายประการ เปน็ ตน้ วา่ ใหป้ ราศจากโรคาพยาธแิ ละใหม้ ง่ั มที รพั ยส์ มบตั ิ
สมบูรณ์บริบูรณ์มาก และยังสัตว์ให้เสวยสมบัติในฉกามาพจรสวรรค์เป็นต้นฉะน้ี
ช่อื ว่า กุศลวบิ าก

ขันธวิบากนั้นคอื ยงั รา่ งกายของสัตว์ใหไ้ ดโ้ ทษ ลดน้อยถอยก�ำ ลังลงไป และ
ให้ฟนั หกั ผมหงอก เนือ้ หนงั เหี่ยวแห้ง หตู ึง ตามดื มวั ไป ทัง้ สรีระร่างกายนั้นไซร้ก็
คดค้อมน้อมโค้งไปเบือ้ งหน้า ให้ทรมาทรกรรมดว้ ยโรคาพยาธิตา่ งๆ ฉะน้ี จึงชื่อว่า
ขันธวบิ าก

ปญั ญาวบิ ากนน้ั ยงั สตั วใ์ หร้ จู้ กั บาปรจู้ กั บญุ รจู้ กั คณุ และโทษ ประโยชนแ์ ละมใิ ช่
ประโยชนท์ ง้ั ปวงตามความเปน็ จรงิ ได้ และใหม้ ปี ญั ญาสามารถรจู้ กั สพั พเญยยธรรม
ทเ่ี ปน็ โลกยี ์และเป็นโลกตุ ระได้ฉะนั้น จึงชอื่ ว่า ปญั ญาวบิ าก

ท่านพระสกวาทีฯ ได้เสวนาการฟังธรรมบรรยายแล้วก็ชอบใจช่ืนชมยินดี
ย่งิ นกั จึงขอใหท้ า่ นปรวาทีฯ ยกเอาบคุ คลตัวอยา่ งต่อ เพือ่ เป็นนิทัศนนัยอกี ๔ คน
วา่ อกศุ ลวิบากนนั้ จกั ไดแ้ กบ่ คุ คลผู้ใด กุศลวบิ ากนน้ั จกั ได้แกบ่ ุคคลผู้ใด ขนั ธวบิ าก
นนั้ จักไดแ้ ก่บคุ คลผูใ้ ด และปญั ญาวบิ ากนนั้ จกั ไดแ้ ก่บคุ คลผู้ใด ขอรบั ?

ท่านพระปรวาทีฯ จึงได้เฉลยตอบต่อไปว่า อกุศลวิบากน้ันได้แก่อุบาสก
ทถ่ี กู ตดั คอนน้ั เอง กศุ ลวบิ ากนนั้ กไ็ ดแ้ กท่ า้ วมหาชมพบู ดนี นั้ เอง ขนั ธวบิ ากนนั้ กไ็ ดแ้ ก่
พระปตู ิคัตตตสิ สเถระนั้นเอง ปญั ญาวิบากน้ันได้แกพ่ ระจุฬปันถกนั้นเองฯ แกไ้ ขใน
ตกิ มาติกาบทที่ ๗ โดยสงั เขปก็ยุตไิ ว้แตเ่ พียงนี้ฯ

๘. วปิ ากะธัมมะ ธมั มา

ในลำ�ดับนี้จักได้แสดงติกมาติกาในบทที่ ๘ ว่าด้วย วิปากะธัมมะ ธัมมา
สืบต่อไป โดยเนื้อความว่า ธรรมท้ังหลายอันเกิดแห่งวิบาก ได้แก่ เหตุและปัจจัย

พระอภธิ รรมสงั คณิ ีมาติกาบรรยาย 145

เปรียบเหมือนหน่งึ ต้นมะพร้าวทคี่ วรจะงอกออกมาจากผลมะพรา้ วห้าว (แห้ง) ได้
และมีบุคคลนำ�เอาไปปลูกไว้ในแผ่นดิน ต้นมะพร้าวน้ันก็งอกงาม เจริญใหญ่โต
ข้ึนมาจนถึงแก่ตกจั่น แล้วก็กลายเป็นมะพร้าวอ่อนและมะพร้าวห้าว ต้นมะพร้าว
ทง่ี อกงามเจรญิ ขน้ึ นน้ั ไดแ้ กเ่ หตุ บคุ คลทนี่ �ำ ไปปลกู ลงไวน้ นั้ ไดแ้ กป่ จั จยั ผลมะพรา้ ว
ออ่ นและผลมะพรา้ วหา้ วท่ีควรจะบริโภคน้ันไดแ้ กว่ ิบาก

อกี นยั หนง่ึ วา่ อกศุ ลกรรมนน้ั เปรยี บเหมอื นหนงึ่ ตน้ ไมท้ มี่ พี ษิ สง เมอื่ มผี ลสกุ
แลว้ กใ็ หโ้ ทษแกบ่ คุ คลผบู้ รโิ ภคฉะนนั้ กศุ ลวบิ ากนนั้ เปรยี บดจุ หนง่ึ ตน้ ไมท้ ไี่ มม่ พี ษิ สง
เม่ือมีผลอันสุกแล้ว ก็ย่อมนำ�ประโยชน์ให้สำ�เร็จแก่สัตว์ท้ังหลายท่ัวไป โดยเหตุนี้
จึงว่า บาปเป็นเหตุ ทกุ ข์เปน็ ผล บญุ เป็นเหตุ สขุ เป็นผล ดังน้ี

เพราะเหตุนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงได้ทรงตรัสเทศนาไว้ว่า
วปิ ากะธมั มะ ธัมมา ฉะนี้ โดยเน้อื ความว่า ธรรมท้ังหลายทีเ่ ป็นเคร่อื งอดุ หนุนของ
ความสขุ พเิ ศษ เปรียบเหมือนเคร่อื งบ่มผลไม้ทั้งปวง มผี ลมะมว่ งและกล้วยเปน็ ต้น
อีกประการหน่ึง ตัวอวิชชาน้ีแลเป็นวิบากธรรม เพราะสังขาร วิญญาณ นามรูป
จะบังเกิดได้ ก็ต้องอาศัยอวิชชาเป็นเดิมเหตุ ถ้ามิฉะนั้นก็ต้องอาศัยแก่มูล ๖ คือ
กศุ ลมูล ๓ และอกุศลมลู ๓ มลู ทัง้ ๖ นีเ้ ปน็ เหตใุ ห้บังเกดิ บุญ เกดิ บาป เพราะฉะนน้ั
จึงได้ช่อื ว่า วปิ ากะธมั มะ ธมั มา ฉะนีฯ้

๙. เนวะวปิ ากะนะวปิ ากะธัมมะ ธมั มา

ในลำ�ดับนี้จักได้แสดงในบทที่ ๙ ว่า เนวะวิปากะนะวิปากะธัมมะ ธัมมา
นส้ี บื ตอ่ ไป โดยเนอ้ื ความวา่ ธรรมทง้ั หลายมใิ ชเ่ หตุ มใิ ชว่ บิ าก แปลวา่ ธรรมไมม่ วี บิ าก
ไม่มีเหตุปัจจัยดังนี้ โดยความอธิบายว่า ธรรมที่ไม่มีท้ังเหตุท้ังผล เปรียบเหมือน
บุคคลท่ีนอนหลับฝันไปว่า ได้บริโภคอาหารอิ่มหนำ�สำ�ราญใจ คร้ันต่ืนข้ึนมาแล้ว
อาหารและความอม่ิ ในฝนั กห็ ายไปหมด อาหารนนั้ ไดแ้ กเ่ หตุ ความอมิ่ ในอาหารนนั้
กไ็ ดแ้ กผ่ ล บคุ คลทน่ี อนหลบั ฝนั ไปนนั้ กไ็ ดแ้ กธ่ รรม คอื เนวะวปิ ากะนะวปิ ากะธมั มะ
ธมั มา ฉะน้ี เมอ่ื ตราบใดธรรมนนั้ แสดงใหต้ รงกบั ธรรมชอื่ วา่ เนวะวปิ ากะนะวปิ ากะ
ธัมมะ ธัมมา ฉะน้ีก็คือพระนิพพานแล้ว เม่ือยังไม่ถึงพระนิพพานตราบใด ธรรม
ดวงนน้ั ก็ต้องอาศัยบญุ และบาปทส่ี ตั ว์กระท�ำ อยู่ ครัน้ ถึงพระนพิ พานแล้ว บญุ และ

146  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร

บาปก็สญู ไปหมด ดังมีพระบาลปี รากฏว่า เอสะ ธัมโม สะนนั ตะโน ธรรมดวงเดยี ว
น้ีแลเป็นธรรมของเก่า เป็นธรรมเครื่องยินดีของสัตบุรุษท้ังหลาย มีพระพุทธเจ้า
เป็นประธาน หรือแปลอีกนัยหนึ่งว่า เป็นธรรมของพระอริยเจ้าทั้งหลายท่ีท่านได้
ขา้ มไปแล้วจากกเิ ลส ฉะนฯี้

พระสกวาทีฯ จึงถามข้ึนว่า ธรรมดวงเดียวน้ีเป็นธรรมของพระอริยเจ้า
ทัง้ หลาย มีพระพทุ ธเจ้าเปน็ ตน้ ข้าพเจ้ามคี วามสนใจมานานแลว้ ขา้ พเจา้ อยากจะ
เข้าใจโดยง่ายๆ เพราะฉะนัน้ ขอความกรุณาให้ท่านปรวาทีฯ จงแสดงอปุ มาอปุ ไมย
เพ่อื ใหเ้ กิดสนั นษิ ฐาน ณ กาลบัดน้ีด้วยเถดิ ขอรับ?

พระปรวาทีฯ จึงแสดงอุปมาว่า ธรรมดวงนี้เปรียบเสมือนหนึ่งบุคคลย้อม
ผ้าด้วยสตี ่างๆ มสี ีเหลอื ง ด�ำ แดง เปน็ ตน้ บคุ คลท่ยี อ้ มผ้านัน้ ก็ไดแ้ กส่ งั ขารนัน้ เอง
สตี ่างๆ นนั้ กไ็ ดแ้ ก่วิบากกรรม คือ ผลแหง่ บญุ และบาปน้ันเอง ผา้ น้นั กไ็ ดแ้ กธ่ รรม
ช่ือว่า เนวะวิปากะนะวิปากะธัมมะ ธัมมา นี้เอง เมื่อบุคคลย้อมผ้าและสีต่างๆ
นน้ั หายสูญไปจากผา้ แล้ว ผ้านน้ั ก็มสี ีขาวบริสุทธ์อิ ยา่ งเดมิ ปราชญ์ผมู้ วี จิ ารณญาณ
พงึ สนั นษิ ฐานเขา้ ใจตามนยั พระพทุ ธภาษติ อนั วจิ ติ รพสิ ดาร ไดแ้ สดงมาในตกิ มาตกิ า
บทที่ ๙ แตโ่ ดยสังขิตตกถาไว้เพยี งเทา่ นีฯ้

๑๐. อุปาทนิ นปุ าทานยิ า ธัมมา

ในลำ�ดับนี้จักได้แสดงติกมาติกาบทที่ ๑๐ สืบต่อไป ตามนัยพระบาลีว่า
อุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ทรงไว้ซึ่งธรรมชาติ
อนั เปน็ เครอื่ งก�ำ หนดในอปุ าทาน คอื ความเขา้ ไปถอื เอาซง่ึ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร
วิญญาณ ว่าเป็นของถาวรมั่นคง หลงว่าเป็นของดีงาม ถือว่าเป็นของตนจริงๆ
เพราะฉะน้ันจึงได้ถือว่าอุปาทานจักบังเกิดข้ึนได้ ก็อาศัยความไม่รู้จักว่าเป็นโทษ
เห็นไปว่าเป็นคุณเป็นประโยชน์แก่ตน เพราะฉะนั้นจึงได้หลงรักใคร่พอใจ ชอบใจ
แตอ่ นั ท่จี ริงนน้ั รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เหล่าน้ี ยอ่ มให้โทษหลายอย่าง
หลายประการ โทษของรูปน้ันเป็นต้นว่า หนาวก็เป็นทุกข์ ร้อนก็เป็นทุกข์ อยาก
ข้าวอยากนํ้ากเ็ ปน็ ทุกข์

พระอภธิ รรมสังคิณมี าตกิ าบรรยาย 147

ถ้าจะอุปมาให้เห็นชัดแล้ว บุคคลท่ีถือรูปว่าเป็นของของตนนั้น ย่อมหลง
กระท�ำ แต่บาปกรรม เพอ่ื นำ�มาบำ�รงุ ซงึ่ รปู ของตนและรูปของทา่ นผู้อ่นื ครัน้ ตายไป
แลว้ ก็ได้เสวยแต่ทุกขเวทนาในอบายภมู ิทงั้ ๔ มนี รกเป็นตน้ กเ็ พราะเหตทุ ี่เขาถือวา่
รปู เปน็ ของของตนนเี้ อง อปุ มาเหมอื นเวทนาบคุ คลทง่ี กู ดั ตายฉะนน้ั อกี ประการหนง่ึ
บุคคลทถี่ ือวา่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เปน็ ของของตนนัน้ เวทนา สญั ญา
สังขาร วญิ ญาณ ก็มิใชข่ องของตนเพราะเปน็ วปิ รณิ ามะธรรม รู้ยักย้ายกลับกลาย
ไปตา่ งๆ ก็ยงั ขนื ยดึ ถือไว้วา่ เป็นของของตน เพราะฉะนัน้ บุคคลท่ถี ือไวว้ ่าเป็นของ
ของตนนน้ั ก็อยากใหม้ ีแตค่ วามสขุ สบาย สว่ นเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณนัน้
กลับกลายราํ่ ไป แตบ่ ุคคลก็ยังขืนยึดถือเอาไว้ว่าเป็นของของตน เพราะฉะนัน้ จึงได้
ประสบแตค่ วามทกุ ขย์ ากล�ำ บากใจหลายอยา่ งหลายประการ เพราะอปุ าทานเขา้ ไป
ยดึ ถอื ไวไ้ ม่วาง ฉะนี้ฯ

๑๑. อะนุปาทินนปุ าทานยิ า ธมั มา

จกั ไดแ้ สดงในบทท่ี ๑๑ สบื ตอ่ ไปวา่ อะนปุ าทนิ นปุ าทานยิ า ธมั มา นน้ั แปลวา่
ธรรมทง้ั หลายอันเปน็ เคร่ืองกำ�หนดถอื เอาซง่ึ อารมณ์ที่ไม่พงึ ถอื เอา ดงั น้ี โดยความ
อธิบายว่า โลกธรรมทั้ง ๘ คอื ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ท้ัง ๔ เหลา่ น้เี ปน็ อิฏฐารมณ์
ความเสื่อมลาภ เส่ือมยศ นินทา และความทุกข์ ทั้ง ๔ เหล่าน้ีเป็นอนิฏฐารมณ์
อารมณ์ทง้ั ๘ เหลา่ นีเ้ รยี กว่าโลกธรรม เพราะโลกธรรมทง้ั ๘ นก้ี ระทำ�ใจให้ขนุ่ มัว
วุ่นวายไป ไมใ่ ชเ่ ครอื่ งระงบั และกระทำ�ใจใหเ้ ดือดร้อนไปตา่ งๆ เพราะฉะน้ันองค์
สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จงึ ไดท้ รงตรสั ไวว้ า่ อะนปุ าทนิ นปุ าทานยิ า ธมั มา แปลวา่
ธรรมทั้งหลายอันไม่ควรเข้าไปถือเอาเป็นอารมณ์ ดังน้ี เพราะเหตุว่าโลกธรรม
ทงั้ ๘ เหลา่ นี้ เปน็ เครอื่ งกวนใจของหมสู่ ตั วโ์ ลกทงั้ ปวง โดยความอธบิ ายวา่ โลกธรรม
ทั้ง ๘ เหล่าน้ีเปรียบเหมือนกงจักรสำ�หรับดักสัตว์ให้หมุนเวียนไป ให้ได้เสวย
ทุกขเวทนาต่างๆ ดังเปรตทต่ี ้องกงจกั รตัดศีรษะ แต่สัตว์ท้ังหลายเหน็ ว่าโลกธรรม
ท้ัง ๘ เหล่านเี้ ปน็ ความสุข กเ็ ชน่ เดยี วกนั กบั โลกธรรมทง้ั ๘ ทีก่ ระทำ�สตั ว์ใหว้ ุน่ วาย
เดือดร้อนไป เสวยแตค่ วามทกุ ขเวทนา ดังนฯี้

148  อาจาริยบูชา พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร

๑๒. อะนุปาทนิ นานปุ าทานยิ า ธัมมา

ในบทท่ี ๑๒ วา่ อะนุปาทินนานุปาทานยิ า ธัมมา นั้นแปลวา่ ธรรมท้ังหลาย
อันเป็นเคร่ืองกำ�หนดถึงธรรมที่ควรพึงถือเอาและธรรมที่ไม่ควรพึงถือเอา ดังน้ี
โดยความอธิบายวา่ ธรรมท่คี วรจะพงึ ถอื เอาน้นั กค็ อื พระอรยิ มรรคทั้ง ๘ ประการ
มสี ัมมาทิฏฐเิ ป็นตน้ นี้เอง ส่วนธรรมทไี่ ม่ควรพึงถอื เอาน้นั คือโลกธรรมท้ัง ๘ นน้ั เอง
โดยเนื้อความในพระบาลีวา่ ไมถ่ อื ซ่ึงโลกธรรมทัง้ ๘ และถือเอาพระอริยมรรค ๘
เพราะฉะนน้ั จงึ ไดช้ อื่ วา่ อะนปุ าทนิ นานปุ าทานยิ า ธมั มา ฉะนี้ แกไ้ ขมาในตกิ มาตกิ า
บทท่ี ๑๒ กย็ ุติแต่เพียงนฯ้ี

๑๓. สังกลิ ิฏฐะสงั กิเลสิกา ธมั มา

จักได้แสดงในติกมาติกาท่ี ๑๓ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลีว่า สังกิลิฏฐะ
สงั กเิ ลสกิ า ธัมมา เปน็ ตน้ แปลว่า ธรรมทัง้ หลายอันเป็นเครอ่ื งเศรา้ หมองแหง่ จิต
ดังน้ี โดยความอธบิ ายวา่ บุคคลบางจำ�พวกได้วิตกคดิ ไปถึงบคุ คลที่ไดฆ้ า่ ตน ทีไ่ ด้
ลักของของตนไป ท่ีได้กระท�ำ ล่วงเกนิ ลูกเมียของตน ทีไ่ ดห้ ลอกลวงตน ดงั น้ี เหตุ
๔ ประการนี้ย่อมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตท้ังส้ิน เปรียบเหมือนหน่ึงตั๊กแตนที่
ยนิ ดใี นไฟ ถกู รอ้ นเขา้ จงึ ไดร้ วู้ า่ เปน็ ทกุ ข์ เพราะฉะนน้ั จงึ ไดส้ มกบั พระบาลวี า่ สงั กลิ ฏิ ฐะ
สังกิเลสิกาธัมมา ฉะน้ี แต่เดิมทีน้ันจิตก็เศร้าหมองอยู่แล้ว ยังไปคิดเอาอารมณ์
เศร้าหมองมาประสมกันด้วยจิตที่เศร้าหมองน้ันอีก จิตก็ยิ่งเศร้าหมองทวีขึ้นไป
ฉะน้ี แสดงติกมาตกิ าในบทที่ ๑๓ มาพอสมควรแล้ว จึงขอยตุ ไิ ว้แต่เพียงนี้

๑๔. อะสงั กลิ ฏิ ฐะสงั กิเลสิกา ธมั มา

จกั ไดแ้ สดงตกิ มาตกิ าในบทที่ ๑๔ สบื ตอ่ ไป โดยนยั พระบาลวี า่ อะสงั กลิ ฏิ ฐะ
สงั กเิ ลสกิ า ธมั มา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายทป่ี ระกอบไปดว้ ยจติ อนั เศรา้ หมองแลว้ และ
ไปคิดเอาแต่อารมณท์ ่ีไมเ่ ศร้าหมอง ดังนี้ โดยความอธบิ ายวา่ บุคคลบางจ�ำ พวกท่ีมี
จติ อนั เศรา้ หมองแลว้ แตไ่ ดค้ ดิ ถงึ คณุ พระรตั นตรยั วา่ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
ทงั้ ๓ รตั นะน้ี ถา้ ใครไดน้ บั ถอื แลว้ อจิ ฉติ งั ปตั ถติ งั ผนู้ น้ั จะปรารถนาสงิ่ ใดกส็ ามารถ
ให้สำ�เร็จได้ทุกประการ โดยความอุปมาว่า บุคคลที่ว่ายนํ้าไป ย่อมคิดถึงแต่ศีล

พระอภิธรรมสงั คณิ ีมาติกาบรรยาย 149

ทาน การกุศลของตนให้เป็นอารมณ์ เปรียบเหมือนอปุ พุทธเป็นนิทัศนอุทาหรณ์วา่
อุปพุทธนั้นเดิมเป็นคนยากจนเข็ญใจ ท้ังประกอบไปด้วยโรคาพยาธิน้ันก็มาก
ทงั้ ทกุ ขย์ ากล�ำ บากเหลอื ทจี่ ะประมาณ แตเ่ ขาไดย้ ดึ คณุ พระรตั นตรยั คอื พระพทุ ธคณุ
พระธรรมคุณ พระสังฆคุณเป็นอารมณ์อยู่เป็นนิตย์ คร้ันภายหลังได้บริโภค
ธัญญสมบัติ สรรพโรคาพยาธิก็หายไปหมด เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า
อะสงั กิลิฏฐะสงั กิเลสกิ า ธัมมา ฉะนฯี้

๑๕. อะสงั กิลิฏฐาสงั กเิ ลสกิ า ธัมมา

จักได้แสดงติกมาติกาในบทท่ี ๑๕ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลีว่า อะสังกิ
ลิฏฐาสงั กิเลสกิ า ธมั มา ดังน้ี แปลวา่ ธรรมทัง้ หลายอันทรงไวซ้ ึง่ จิตทไี่ ม่เศร้าหมอง
ความคดิ นกึ กค็ ดิ นกึ ในธรรมทไี่ มเ่ ศรา้ หมอง ดงั น้ี โดยความอธบิ ายวา่ จติ ทเ่ี ปน็ กริ ยิ า
ประกอบไปด้วยธรรม อันเป็นเคร่ืองถอนออกเสียซ่ึงธรรมท้ังหลายอันเป็นเครื่อง
เศร้าหมองอยู่ในสันดาน เปรียบเหมือนหน่ึงทารกไม่มีความยินดีในกามคุณแต่ไป
บรรพชา บรรพชาก็เปน็ เคร่ืองกำ�จัดเสยี จากกามคุณ เพราะฉะน้นั จึงสมกบั บาลีวา่
อะสังกิลฏิ ฐาสงั กิเลสกิ า ธัมมา ซึ่งแปลวา่ ธรรมกไ็ ม่เศร้าหมอง จติ กไ็ ม่เศร้าหมอง
ความคิดนึกในธรรมารมณ์ก็ไม่เศร้าหมองฉะนี้ แก้ไขในบทติกมาติกาท่ี ๑๕ ก็ยุติ
แตเ่ พียงนฯ้ี

๑๖. สะวติ กั กะสะวิจารา ธัมมา

ในล�ำ ดบั นี้จกั ได้แสดงติกมาติกาในบทที่ ๑๖ สบื ต่อไป โดยนยั พระบาลีว่า
สะวิตักกะสะวิจารา ธัมมา เป็นต้น แปลว่า ธรรมทั้งหลายเป็นไปกับวิตกและ
วิจาร วิตกและวิจารท้ัง ๒ น้ี โดยความอธิบายว่า บุคคลท่ีมีวิจารตรึกตรองไป
ต่างๆ น้ัน เปรียบเหมือนหนึ่งพระโสดาบันท่านวิจารไปว่า สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา
สลี พั พตปรามาสขาดไปแลว้ ไมม่ อี ยใู่ นสนั ดานของเราแลว้ จะคดิ เปน็ ประการใดหนอ
จึงจะสละกามฉันทะ พยาบาท ได้ฉะน้ี ความตรึกตรองไปเช่นนี้เรียกชื่อว่า วิจาร
แลว้ ทา่ นจงึ วติ กไปวา่ กามฉนั ทะ พยาบาท กย็ งั มอี ยใู่ นสนั ดานของเรา เราจะคดิ เปน็
ประการใดหนอ เราจงึ สละกามฉนั ทะ พยาบาท ไปได้ ฉะนี้

150  อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ ้ัน อาจาโร

พระสกวาทฯี จึงขออปุ มาอปุ ไมยตอ่ ไปอกี ว่า ขา้ แต่ทา่ นปรวาทีฯ ความข้อนี้
ข้าพเจ้ายังมีความสงสัยอยู่ เพราะฉะน้ันขอพระผู้เป็นเจ้าจงแสดงอุปมาอุปไมย
อีกตอ่ ไป

พระปรวาทีฯ จึงได้แสดงอุปมาอุปไมยว่า เปรียบเหมือนหนึ่ีงพ่อค้าลงทุน
หาก�ำ ไร การคา้ ขายน้ันมกี �ำ ไรมากอยแู่ ล แต่วา่ วิตกไป กลวั บุคคลผอู้ น่ื เขาจะมาแยง่
ซ่ึงค้าขายฉะน้ี ถ้ามิฉะน้ันเปรียบเหมือนท่านทายก อุบาสก อุบาสิกาท่ีได้โอกาส
ถวายทานแก่พระภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน และพิจารณาทดลอง
ของบริโภคเคร่ืองไทยทานของตนก็เห็นว่าดีแล้ว และคิดไปว่าพระท่านจะชอบ
หมดทุกองค์ หรือว่าจะไม่ชอบบ้างเป็นประการใด คอยตรวจตราแลดู เพิ่มเติม
เปร้ียวหวานมันเค็มเป็นต้นอยู่อย่างน้ี ฉะน้ีแล เรียกว่าวิตกวิจาร เพราะฉะน้ันจึง
สมกับพระบาลีว่า สะวิตักกะสะวจิ ารา ธัมมา ฉะนีฯ้

๑๗. อะวติ กั กะ วิจาระมตั ตา ธมั มา

ในบทที่ ๑๗ ว่า อะวติ ักกะ วิจาระมตั ตา ธัมมา น้นั แปลว่า ธรรมทง้ั หลาย
อันเป็นเคร่ืองทรงไว้ซึ่งจิต มาตรว่ามีแต่วิจาร วิตกไม่มี ดังนี้ โดยความอธิบายว่า
บคุ คลทกี่ ระท�ำ กศุ ลสจุ รติ จติ ไมว่ อกแวกหวนั่ ไหวแลคดิ ไปวา่ เปน็ บญุ เปน็ กศุ ลแลว้ ก็
กม้ หนา้ กระท�ำ ไป มไิ ดเ้ คลอื บแคลงกนิ แหนงเมื่อภายหลัง ดงั บคุ คลผู้ชำ�นาญในการ
ดูเงนิ ที่ดกี ว็ ่าดี ที่แดงกว็ ่าแดง เพราะเชอื่ มือเชอ่ื ตาของตนฉะน้ัน

พระสกวาทีฯ จึงถามขึ้นว่า บุคคลมีแต่วิจารไม่มีวิตกดังน้ี ข้าพเจ้ามี
ความสงสยั วา่ เมื่อบคุ คลไมม่ ีวติ ก แล้วจะเอาวิจารมาแตไ่ หนเลา่ ขอพระผเู้ ป็นเจา้
จงแสดงอุปมาอปุ ไมย เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจอีกตอ่ ไป?

พระปรวาทีฯ จึงได้แสดงอุปมาอุปไมยว่า บุคคลมีแต่วิจาร วิตกไม่มีน้ัน
เปรียบเหมือนหน่ึงหัวปลีแห่งกล้วย เม่ือเดิมทีนั้นเป็นหัวปลีอยู่ กล้วยหามีไม่
เมอ่ื ปลนี น้ั กลายเปน็ กลว้ ยแลว้ เจา้ ของกลว้ ยกต็ ดั เอาปลไี ปเสยี กลว้ ยกแ็ กไ่ ปทกุ วนั
เขากเ็ รยี กวา่ กลว้ ย เขาหาไดเ้ รยี กวา่ หวั ปลไี ม่ ดงั โลกโวหารทพ่ี ดู กนั อยวู่ า่ บคุ คลผนู้ นั้
กระทำ�สง่ิ ใดๆ ไมไ่ ด้ตรกึ ตรอง กระทำ�ตามความชอบใจของตนดังนี้ เพราะฉะน้ัน
จงึ สมกบั พระบาลีวา่ อะวติ ักกะ วิจาระมตั ตา ธัมมา ฉะนีฯ้

พระอภธิ รรมสงั คณิ มี าติกาบรรยาย 151

๑๘. อะวติ กั กาวิจารา ธมั มา

ในบทท่ี ๑๘ ว่า อะวติ ักกาวิจารา ธัมมา นน้ั แปลวา่ ธรรมท้งั หลายท่ที รงไว้
ซ่งึ จิตอนั ไม่วิตกวจิ าร ดงั น้ี โดยความอธิบายวา่ บุคคลจำ�พวกหนงึ่ จะกระทำ�ส่ิงไร
กไ็ ม่ตรกึ ตรอง ไม่พจิ ารณา เม่อื เขาว่าดกี ด็ ตี าม มีแตค่ วามเชื่ออย่างเดยี ว

พระสกวาทีฯ จงึ ถามขน้ึ ว่า บุคคลท่ีไม่มีวติ กวจิ าร มแี ต่ความเช่ืออย่างเดยี ว
น้ันคือใคร ผู้ใดเล่าเปน็ ตัวอย่าง?

พระปรวาทีฯ จึงนำ�บุคคลมาแสดงเพ่ือเป็นนิทัศนอุทาหรณ์ว่า เม่ือ
พระอานันทะไปกระทำ�กายคตาสติกรรมฐาน พิจารณาซึง่ อาการ ๓๒ เป็นอนโุ ลม
ปฏโิ ลม คร้ังนั้นกย็ ังไม่สำ�เรจ็ อาสวักขัยไปได้เพราะวติ กไปถึงองค์สมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้า และเชื่อคำ�พยากรณ์ภาษิตท่ีพระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ว่า อาตมาจะได้
สำ�เร็จอาสวักขัยในวันนี้ ก็เหตุไฉนยังไม่สำ�เร็จเล่า อย่ากระน้ันเลยชะรอยว่า
ความเพยี รจะกลา้ ไป จ�ำ อาตมาจะพกั ผอ่ นเอนกายเสยี สกั หนอ่ ยเถดิ พอคดิ จะจ�ำ วดั
เอนกายลง ก็หมดความวิจารถึงอาการ ๓๒ และหมดความวิตกถึงพระพุทธองค์
กไ็ ดบ้ รรลอุ าสวกั ขยั ไดส้ �ำ เรจ็ เปน็ พระอรหนั ตป์ ฏสิ มั ภทิ าญาณ ดว้ ยมาตดั วติ กวจิ าร
ออกไปเสยี ได้ฉะน้ี เพราะฉะนน้ั จึงสมกบั พระบาลวี า่ อะวิตักกาวิจารา ธัมมา ซ่งึ
แปลว่า ธรรมอันหมดวิตกวิจารฉะน้ี นักปราชญ์ผู้มีวิจารณญาณก็พึงสันนิษฐาน
เข้าใจตามนัยพระพุทธภาษิตอันวิจิตรพิสดาร อาตมาแสดงติกมาติกาบทที่ ๑๘
แตโ่ ดยสงั เขปกถาพอเป็นธรรมสวนานิสงส์แตเ่ พียงนฯี้

๑๙. ปตี สิ ะหะคะตา ธมั มา

ณ บัดน้ี จะได้แสดงในติกมาติกาบทที่ ๑๙ เป็นปุญญานุสนธิสืบต่อไป
โดยนยั พระบาลวี ่า ปตี ิสะหะคะตา ธัมมา เป็นต้น แปลวา่ ธรรมท้งั หลายอนั รว่ มมา
ดว้ ยปตี ิ ปตี นิ นั้ มลี กั ษณะ ๕ ประการ คอื ขณกิ าปตี ิ ๑ ขทุ ทกาปตี ิ ๑ โอกกนั ตกิ าปตี ิ ๑
อุเพงคาปีติ ๑ ผรณาปีติ ๑ ขณิกาปีติน้ันบังเกิดเป็นขณะ เม่ือบังเกิดดุจหน่ึงว่า
สายฟา้ แลบ ขทุ ทกาปตี นิ น้ั บงั เกดิ นอ้ ย เมอ่ื บงั เกดิ ดจุ หนง่ึ คลนื่ กระทบฝงั่ โอกกนั ตกิ า
ปตี นิ นั้ เม่ือบงั เกิดขนึ้ กระทำ�ให้กายหวนั่ ไหว อเุ พงคาปีตนิ ัน้ เมอื่ บงั เกิดข้ึนก็กระท�ำ
ให้ขนพองสยองเกล้า แล้วกระทำ�ให้กายลอยไปบนอากาศได้ ผรณาปีติน้ัน เม่ือ

152  อาจารยิ บชู า พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร

บังเกิดข้ึนก็ทำ�ให้ซาบซ่านไปทั่วสรรพางค์กาย เปรียบเหมือนบุคคลท่ีได้บริโภค
โภชนาหารอนั โอชารสตา่ งๆ ฉะนัน้ ปีตนิ น้ั แปลวา่ อ่มิ ใจ เป็นท่ียินดขี องสตั ว์ที่เป็น
โลกวิสัยนท้ี ั่วไป

พระสกวาทีฯ จึงถามข้ึนวา่ ปตี ิน้นั แปลว่าอ่มิ บุคคลที่ได้บริโภคโภชนาหาร
อันโอชารสต่างๆ ก็อ่ิม ได้ลาภท่ีชอบใจก็อ่ิม จิตที่ฟุ้งซ่านไปก็อิ่ม จิตท่ีระงับก็อ่ิม
เรียกวา่ ปตี ิ ปตี ิในที่นีจ้ ะว่าอมิ่ ดว้ ยอะไร?

พระปรวาทีฯ จึงวิสชั นาวา่ ปตี ิในทนี่ ีแ้ ปลว่าอ่มิ เพราะมไิ ดม้ คี วามกังวลอีก
ต่อไป ดังบุคคลที่หิวอาหารจัด ก็เที่ยวแสวงหาอาหารตามชอบใจของตน ครั้นได้
บริโภคอาหารอิม่ แลว้ ก็สน้ิ ความกังวล ไม่ต้องแสวงหาอกี ต่อไป เปรยี บเหมอื นหนึ่ง
พระวกั กลภิ กิ ขุ มคี วามหวงั ตงั้ ใจจะดพู ระพทุ ธเจา้ ใหอ้ มิ่ ใจ เมอื่ ไมไ่ ดเ้ หน็ พระพทุ ธเจา้
ก็มีความโทมนัสเสียใจ ครั้นได้เห็นพระพุทธเจ้าแล้ว จิตใจที่โทมนัสน้ันก็หายไป
ความอิ่มอย่างนี้แลเรียกว่าปีติ เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า ปีติสะหะคะตา
ธมั มา ฉะน้ี

๒๐. สขุ ะสะหะคะตา ธมั มา

ในบทท่ี ๒๐ ว่า สุขะสะหะคะตา ธัมมา นั้นแปลวา่ ธรรมท้งั หลายอันรว่ ม
มาแล้วดว้ ยความสขุ ความสขุ น้ันมี ๔ ประการ คือ ความสขุ กาย ๑ ความสุขทไ่ี มม่ ี
โรคเบียดเบียน ๑ ความสุขใจที่ไม่เศร้าหมอง ๑ ความสุขท่ีสมเหตุที่คิด สมกิจท่ี
กระทำ� ๑ ยังมคี วามสขุ อีกประเภทหนง่ึ มีอยู่ ๔ ประการเชน่ กันคอื สขุ มีอายุยืน ๑
สขุ มีรปู งาม ๑ สุขมกี ำ�ลังกาย มกี �ำ ลงั ทรัพย์ มกี ำ�ลงั ปัญญา ๑ สขุ ในความหมดเวร
หมดกรรม ๑ เมอื่ จะวา่ ย่อๆ ก็มอี ยู่ ๒ ประการ คือ โลกียสขุ ๑ โลกตุ รสุข ๑

โดยความอธิบายว่า ความท่ีไม่มีโรคภัยเบียดเบียนเรียกว่าความสบาย
ความสบายเรยี กวา่ ความสขุ สขุ ทป่ี ระกอบไปดว้ ยกเิ ลสนน้ั เรยี กวา่ โลกยี สขุ ความสขุ
ทีไ่ มม่ กี ิเลสน้นั เรียกว่า โลกตุ รสุข ความสขุ ทั้ง ๒ ประการน้เี ม่ือจะอา้ งบุคคลก็ไดแ้ ก่
สขุ สามเณร เมอ่ื เดมิ ทนี น้ั กเ็ ปน็ คนยากจนเขญ็ ใจ ไดถ้ วายอาหารแดพ่ ระปจั เจกพทุ ธเจา้
แล้ว แต่น้ันก็เป็นสุข สุขมาจนกระท่ังถึงศาสนาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

พระอภิธรรมสังคณิ มี าตกิ าบรรยาย 153

ทรงพระนามว่าสมณโคดม น้ีเป็นเขตโลกียสุข ตั้งแต่วันได้บรรลุอาสวักขัยเป็น
พระอรหันต์ ตดั กเิ ลสเป็นสมจุ เฉทปหานนัน้ เปน็ เขตโลกุตรสุข สุโข วิเวโก ความ
เงียบสงัดจากกิเลส ก็เป็นสุขประการหนึ่ง สุโข พุทธานะมุปาโท ความบังเกิด
ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายในโลกน้ีก็เป็นสุขประการหนึ่ง สุขา สัทธัมมะเทสะนา
การทไ่ี ดฟ้ งั พระสทั ธรรมค�ำ สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ กเ็ ปน็ สขุ ประการหนง่ึ สขุ า สงั ฆสั สะ
สามัคคี การท่ีพร้อมเพรียงกันแห่งสงฆ์เป็นสุขประการหนึ่ง สะมัคคานัง ตะโป
สโุ ข การกระท�ำ กิเลสใหเ้ รา่ รอ้ น คือผ่อนผันบรรเทาใหเ้ บาบางพ้นจากสันดานไปได้
ก็เป็นสุขประการหน่ึง ความปฏิบัติความประพฤติเป็นไปในกายวิเวก จิตตวิเวก
อุปธิวิเวก วิเวกทั้ง ๓ น้ีแลเรียกช่ือว่าความสุข เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า
สขุ ะสะหะคะตา ธัมมา ฉะนีฯ้

๒๑. อุเปกขาสะหะคะตา ธัมมา

ในบทท่ี ๒๑ วา่ อเุ ปกขาสะหะคะตา ธมั มา นน้ั แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอนั เปน็
อารมณแ์ ห่งจิตท่ีเปน็ อเุ บกขา อเุ บกขานัน้ คือหมดปตี ิแลหมดสขุ จึงจดั เป็นอุเบกขา
ไวท้ น่ี ี้ อเุ บกขานกี้ บ็ งั เกดิ ขนึ้ แตส่ ขุ สขุ นนั้ กบ็ งั เกดิ ขนึ้ แตป่ ตี ิ ตอ่ เมอ่ื หมดปตี แิ ลหมดสขุ
แล้ว อุเบกขาจึงจะบังเกิดขน้ึ โดยความอธบิ ายว่า หมดปีตแิ ลหมดสุขแลว้ จงึ จะเปน็
อุเบกขา ถ้าปตี แิ ละสุขยังมอี ยู่แล้ว อเุ บกขาก็ไม่บงั เกดิ ขึน้ ได้ อุเบกขาในท่ีน้ีประสงค์
ความวา่ ปตี กิ บั สขุ ทงั้ สองบงั เกดิ ขนึ้ แลว้ แลหายไป ถา้ ปตี แิ ละสขุ ทง้ั สองยงั มอี ยตู่ ราบใด
กไ็ ม่จัดเปน็ อุเบกขาได้ ถา้ ปตี แิ ละสุขท้ังสองไม่มแี ตเ่ ดมิ มา อเุ บกขากไ็ ม่มเี หมือนกนั
เพราะเหตุว่าไม่อาจมีอุเบกขาได้เอง เปรียบเหมือนหน่ึงแสงสว่างอันบังเกิดแต่
เปลวไฟ ไฟจะบงั เกิดข้นึ ได้กต็ อ้ งอาศัยแกเ่ ช้อื ฟาง ฟางกไ็ ดแ้ กป่ ตี ิ เปลวไฟก็ได้แก่
ความสขุ แสงสว่างก็ได้แก่อเุ บกขา

เพราะฉะนนั้ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธะจงึ ไดท้ รงประทานเทศนาวา่ ปตี ิ สขุ
อุเบกขา เป็นลำ�ดับกันมา เหมือนอย่างสุขทั้ง ๓ ประการ คือ สุขในมนุษย์ สุข
ในสวรรค์ และสุขในพระนิพพาน

สุขในมนุษย์ไม่เท่าสุขในสวรรค์ สุขในสวรรค์ไม่เท่าสุขในพระนิพพาน
เช่นน้ีดังมีในเรื่องราวท้าวมหาชมพูเป็นตัวอย่างว่า เม่ือเดิมทีท้าวมหาชมพูน้ันได้

154  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร

เสวยสขุ ในสริ ริ าชสมบตั ใิ นมนษุ ย์ แลว้ ไปยนิ ดใี นสวรรคว์ า่ สขุ ยง่ิ กวา่ ในมนษุ ย์ ครน้ั ได้
เหน็ สขุ ในพระนพิ พานอนั เปน็ บรมสขุ ยงิ่ กวา่ สขุ ทง้ั สองนน้ั แลว้ กท็ ง้ิ สขุ ทงั้ สองนน้ั เสยี

ความสุขท้ัง ๓ น้ัน คือ มนุษย์ สวรรค์ และพระนิพพานน้ี กม็ นี ยั เดยี วกนั
กับธรรมท้ัง ๓ คือ ปีติ สุข อุเบกขา เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า อุเปกขา
สะหะคะตา ธมั มา ฉะนี้ แกไ้ ขมาในติกมาติกา บทท่ี ๒๑ กย็ ตุ ลิ งแต่เพียงน้ฯี

๒๒. ทสั สะเนนะ ปะหาตัพพา ธัมมา

ในลำ�ดับนี้จะได้แสดงติกมาติกาในบทที่ ๒๒ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลีว่า
ทสั สะเนนะ ปะหาตพั พา ธมั มา เปน็ ตน้ แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายอนั บคุ คลจะละกเิ ลส
ไดเ้ พราะเหตทุ ี่ไดเ้ หน็ ดงั นี้ โดยความอธิบายว่า จติ ทฟ่ี ้งุ ซ่านไปตามอารมณต์ า่ งๆ
น้ัน ครั้นได้เห็นเข้าแล้ว ก็บังเกิดสังเวชสลดใจ จึงละกิเลสได้ เหมือนหน่ึงบัณฑิต
สามเณร เมอ่ื ไดเ้ หน็ ผมของตวั แลว้ กบ็ งั เกดิ ปญั ญาพจิ ารณาเปน็ อสภุ ะ วา่ ผมของเรา
ไม่งาม ผมของผู้อื่นกไ็ มง่ ามเหมือนกนั อรหตั ผลกบ็ งั เกิดปรากฏขึ้น ดังนี้

พระสกวาทีฯ จึงถามข้ึนว่า บุคคลท่ีละกิเลสได้เพราะได้เห็นน้ัน ก็เห็นอยู่
ดว้ ยกนั โดยมาก เหตไุ ฉนจงึ ละกเิ ลสไมไ่ ด้ หรอื การทเ่ี หน็ นนั้ จะมนี ยั ตา่ งกนั อยา่ งไร?

พระปรวาทีฯ จึงวิสัชนาว่า การเห็นน้ันมีนัยต่างกัน ท่ีเห็นให้เกิดกิเลสก็มี
ทเี่ หน็ ใหล้ ะกเิ ลสกม็ ี สดุ แตเ่ หตทุ ไ่ี ดเ้ หน็ ถา้ เหน็ ของทงี่ าม ทช่ี อบใจ กใ็ หบ้ งั เกดิ กเิ ลส
ไดด้ งั นี้ เพราะเหตนุ นั้ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธะจงึ ไดท้ รงตรสั สงั่ สอนพทุ ธบรษิ ทั วา่
อะสุภานุปัสสี วิหะระติ ดังนี้ ก็เพ่ือพระพุทธประสงค์จะให้อยู่ด้วยความเห็น
ซ่ึงอารมณ์อันไม่งาม เพราะฉะน้ันจึงสมกับพระบาลีว่า ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพา
ธัมมา ฉะน้ี

๒๓. ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา

ในบทที่ ๒๓ วา่ ภาวะนายะ ปะหาตพั พา ธมั มา นน้ั แปลว่า ธรรมท้ังหลาย
อันบุคคลจะพึงละกิเลสได้เพราะการที่ภาวนาน้ัน ภาวนาก็มีอยู่ ๓ ประการ คือ
บริกรรมภาวนาละกิเลสอย่างหยาบได้ ๑ อุปจารภาวนาละกิเลสอย่างกลางได้ ๑

พระอภิธรรมสงั คณิ มี าตกิ าบรรยาย 155

อปั ปนาภาวนาละกิเลสอยา่ งละเอียดได้ ๑ เม่อื จะช้บี คุ คลที่ท่านละกเิ ลสใหห้ มดไป
แลยังธรรมวิเศษได้ ดว้ ยอ�ำ นาจแห่งภาวนา ๓ ประการน้ี กม็ เี ป็นอเนกประการ เชน่
ภิกษุท่ีได้เห็นฟันของสตรี หรือนางรูปนันทาท่ีได้เห็นนิมิตท่ีงามย่ิงกว่ารูปของตน
หรอื พระปัจเจกโพธทิ งั้ ๕๐๐ พระองค์ทไ่ี ดเ้ หน็ ดอกบวั รว่ งลงฉะนี้ เรียกวา่ ภาวนา
โดยความอธิบายว่า ปัญญาที่หยาบก็ละกิเลสอย่างหยาบได้ ปัญญาอย่างกลาง
ก็ละกิเลสอย่างกลางได้ ปัญญาอย่างละเอียดก็ละกิเลสอย่างละเอียดได้ ภาวนา
นั้นไซร้ประสงคค์ วามว่า ใหร้ ้จู ักดีชั่ว ละความชั่วให้หมดไป และกระทำ�คณุ ความดี
ให้บังเกิดขึ้นในตน ดังนี้ เรียกช่ือว่า ภาวนา เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า
ภาวะนายะ ปะหาตพั พา ธมั มา ฉะนี้ฯ

๒๔. เนวะ ทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธมั มา

ในบทที่ ๒๔ วา่ เนวะ ทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธมั มา น้นั
แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอนั บคุ คลจะพงึ ละกเิ ลสไดด้ ว้ ยเหตทุ ไี่ มไ่ ดเ้ หน็ และไมใ่ ชห่ นทาง
ภาวนานนั้ โดยความอธิบายวา่ ธรรมทงั้ หลายที่ละกิเลสได้ด้วยนิสัย เปรียบเหมอื น
ทกุ ุลบณั ฑิต เหน็ ก็ไม่ได้เหน็ ภาวนากไ็ ม่ได้เจรญิ เป็นแต่กระทำ�ความในใจไมย่ ินดี
ในกามคณุ ดุจบคุ คลผมู้ ีอารมณ์อันดี ไมโ่ ลภ ไม่โกรธ ไม่หลง เป็นแต่อยเู่ ฉยๆ อยู่
เพราะฉะน้ันจึงว่าเป็นไปตามนิสัย บุคคลที่จะละกิเลสได้ด้วยเหตุท่ีไม่ได้เห็นและ
ไม่ได้ภาวนา เป็นแตก่ ระท�ำ ความไม่ยินดีในกามคุณเชน่ กับทุกลุ บณั ฑิตนั้น ก็หาได้
โดยยากยงิ่ นกั เพราะเหตนุ นั้ จงึ สมกบั พระบาลวี า่ เนวะ ทสั สะเนนะ นะ ภาวะนายะ
ปะหาตัพพา ธัมมา ฉะน้ี ได้แกไ้ ขมาในตกิ มาติกาบทที่ ๒๔ กย็ ุติลงแตเ่ พียงเทา่ น้ีฯ

๒๕. ทสั สะเนนะ ปะหาตัพพะเหตกุ า ธมั มา

ในล�ำ ดบั น้ีจะได้แสดงตกิ มาติกาในบทที่ ๒๕ สืบตอ่ ไป โดยนยั พระบาลีว่า
ทสั สะเนนะ ปะหาตพั พะเหตุกา ธัมมา เปน็ ตน้ แปลว่า ธรรมท้ังหลายมีเหตแุ ลว้ จงึ
ละกิเลสได้เพราะความเห็น ดงั นี้ โดยความอธิบายวา่ ธรรมทง้ั หลายมีปัจจยั เก้อื กลู
อดุ หนนุ กอ่ น แลว้ จึงละกเิ ลสได้ด้วยความเห็นน้ัน ความเหน็ นน้ั กม็ ีอยู่ ๒ ประการ
คือ เห็นด้วยตาแล้วละกิเลสไดก้ ม็ ี เห็นด้วยปญั ญาแล้วละกิเลสได้กม็ ี

156  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร

ความท่ีเห็นด้วยตาแล้วละกิเลสได้น้ัน ก็ได้แก่บุคคลที่เห็นบุคคลอื่นเสวย
ทุกขเวทนาต่างๆ แล้ว ก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ กลัวแต่ภัยอันน้ันจะมาถึงตน
ดังมีบุคคลเป็นนิทัศนอุทาหรณ์ว่า ยังมีสตรีสองคนพ่ีน้องกัน ผู้พ่ีสาวนั้นก็มีสามี
ก่อน ครั้นมีครรภ์ถึงกำ�หนดทศมาสแล้ว ก็คลอดบุตร ได้ความลำ�บากเวทนาแสน
สาหัส ถึงแก่กระทำ�กาลกิริยาตายไป น้องสาวได้เห็นพ่ีสาวถึงแก่ความตายดังนั้น
ก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ จึงไม่มีสามีต่อไป กลัวแต่ภัยเช่นนั้นจะบังเกิดมีแก่ตน
ฉะน้ี กจ็ ัดได้ช่ือว่า ละกิเลสได้เพราะความเห็นดว้ ยตา ดังวิสชั นามาฉะนี้

ความทเี่ หน็ ดว้ ยปญั ญาแลว้ ละกเิ ลสไดน้ น้ั โดยเนอ้ื ความวา่ บคุ คลทเี่ หน็ นาม
และรปู โดยพระไตรลกั ษณญาณวา่ รูปและนามทง้ั ๒ ประการนี้ เป็นอนิจจัง ทุกขงั
อนัตตา แล้วแลเบ่ือหน่ายจากขันธ์ทั้ง ๕ ดังนี้แลเรียกว่า ละกิเลสได้ด้วยปัญญา
เพราะฉะนน้ั จึงสมกับพระบาลีวา่ ทสั สะเนนะ ปะหาตพั พะเหตุกา ธัมมา ฉะนีฯ้

๒๖. ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธมั มา

ในบทท่ี ๒๖ ว่า ภาวะนายะ ปะหาตพั พะเหตกุ า ธัมมา นั้น แปลวา่ ธรรม
ทั้งหลายที่มีปัจจัยเกื้อกูลอุดหนุนแก่ธรรมอันจะพึงละกิเลสได้ด้วยภาวนานั้น
โดยความอธิบายว่า โลกียธรรมเป็นปจั จยั เกื้อกูลโลกุตรธรรม ศีลเปน็ ปจั จยั เกือ้ กลู
แก่สมาธิ ศีลกไ็ ด้แก่ ความส�ำ รวมกาย วาจา และความอดใจ สมาธิกไ็ ด้แก่ภาวนา
เพราะฉะนนั้ ธรรมบทนจี้ งึ ไดช้ อื่ วา่ โลกยี ธรรม โลกยี ธรรมกเ็ ปน็ ปจั จยั ใหเ้ กดิ ภาวนา
ศีลมีอยู่ ๒ ประการ คอื โลกียศลี ๑ โลกตุ รศีล ๑ ภาวนาก็มีอยู่ ๒ ประการ คือ
โลกียภาวนา ๑ โลกุตรภาวนา ๑

โลกียศลี นน้ั กเ็ ป็นปัจจยั เก้ือกลู ใหไ้ ด้แกโ่ ลกียภาวนาเทา่ น้ัน จะไปเก้ือกลู แก่
โลกตุ รภาวนานัน้ ไมไ่ ด้ เพราะเหตุใด เพราะเหตวุ ่า โลกยี ศีลนน้ั ระงบั ได้เปน็ คราวๆ
คร้ันภายหลังกิเลสก็เกิดขึ้นได้ เปรียบเหมือนหน่ึงศิลาทับหญ้า ธรรมดาว่าศิลาอัน
ทบั หญา้ นน้ั เมอื่ ศลิ าทบั อยู่ หญา้ นน้ั กง็ อกขน้ึ ไมไ่ ด้ ศลิ านน้ั กไ็ ดแ้ กศ่ ลี หญา้ นน้ั กไ็ ดแ้ ก่
กเิ ลส เมอื่ บคุ คลผไู้ มร่ ะวงั รกั ษาองคแ์ หง่ ศลี และกระท�ำ ศลี ใหข้ าดไป กเิ ลสกบ็ งั เกดิ ขน้ึ
ไดอ้ กี อยา่ งเดมิ เปรยี บเหมอื นหนง่ึ บคุ คลทตี่ ดั ตน้ ไมไ้ ซร้ ตดั ตน้ แตไ่ มต่ ดั รากดว้ ยแลว้
นานไปฝนตกลงมาก็กลับงอกงามขนึ้ อีก ฉะนัน้ จึงวา่ บคุ คลรักษาโลกยี ศลี นน้ั ไม่มี

พระอภธิ รรมสังคณิ ีมาตกิ าบรรยาย 157

ความปรารถนาท่ีจะตัดกิเลส มีแต่ความปรารถนาท่ีจะให้ได้บุญได้กุศลอย่างเดียว
เปรียบเหมือนรากไม้เกาะเก่ียวอยู่กับแผ่นดิน คร้ันได้น้ําฝนตกลงมาถูกต้องแล้ว
กก็ ลบั งอกขน้ึ มาไดอ้ กี ฉนั ใดกด็ ี โลกยี ศลี กม็ อี ปุ าทานเกยี่ วอยู่ กเิ ลสกอ็ าศยั อปุ าทาน
บังเกิดขึ้นได้อยู่ เพราะเหตุนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า อุปาทานปัจจยา ภโว เมื่อมี
อุปาทานเป็นปัจจัยแล้ว ภพก็อาศัยบังเกิดขึ้นได้อยู่ เพราะฉะนั้นจึงว่าโลกียศีลนี้
กิเลสยงั อาศยั บังเกิดขน้ึ ไดอ้ ยู่ ศลี อนั นั้นแลชอ่ื วา่ โลกียศลี ดงั นี้

ในโลกุตรศีลนั้น โดยเนื้อความว่า ศีลอันใดไม่ยังกิเลสให้บังเกิดข้ึนได้ ศีล
อนั นั้นแลชือ่ วา่ โลกุตรศลี ดงั น้ี โดยความอธิบายวา่ โลกุตรศีลนั้นไม่ตอ้ งสมาทาน
ไม่ต้องระวังรักษา กิเลสบังเกิดข้ึนไม่ได้ เปรียบเหมือนหน่ึงบุคคลท่ีตัดต้นไม้แล้ว
แลขุดถอนรากเสียฉะนั้น ถึงฝนจะถูกต้องเป็นประการใดๆ ก็ดี ก็ไม่สามารถจะ
งอกงามข้ึนมาได้ ถ้ามิฉะนั้นเปรียบเหมือนบุคคลท่ีตัดยอดตาลและยอดมะพร้าว
ธรรมดาวา่ ยอดตาลและยอดมะพรา้ วอนั บคุ คลตดั แลว้ นนั้ กไ็ มส่ ามารถจะงอกขนึ้ ได้
โลกุตรศีลก็มอี ุปไมยเหมือนกนั ฉะนั้น

บุคคลที่รักษาโลกุตรศีลน้ัน เพราะมีปัญญาพิจารณาเห็นว่า ปัญจขันธ์แล
สรรพธรรมทง้ั ปวงแตล่ ว้ นเปน็ ของอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา ทง้ั สน้ิ เพราะฉะนน้ั ทา่ นจงึ
ไมไ่ ดร้ กั ไมไ่ ดช้ งั กเิ ลสกบ็ งั เกดิ ขนึ้ ไมไ่ ด้ กเิ ลสจะบงั เกดิ ขนึ้ ไดน้ นั้ กเ็ พราะจติ ทร่ี กั ทช่ี งั
นเ่ี อง เมอ่ื จติ ไมร่ กั ไมช่ งั แลว้ กเิ ลสกจ็ ะบงั เกดิ ขน้ึ มาแตไ่ หนเลา่ อปุ มาเหมอื นหนง่ึ ไฟ
ธรรมดาวา่ ไฟจะเกดิ ขึ้นไดน้ ้ัน กต็ ้องอาศยั เช้ือมีอยู่ แตถ่ า้ เช้อื ไมม่ ีแล้ว ไฟก็เกดิ ขึ้น
ไมไ่ ด้ ฉนั ใดกด็ ี ใจของพระอรยิ สรรพบรุ ษุ ทง้ั หลายนนั้ ยอ่ มไมม่ เี ชอื้ คอื อปุ าทานทแี่ จง้
ไปดว้ ยพระไตรลกั ษณญาณนนั้ อยใู่ นจติ สนั ดานเปน็ นจิ นริ นั ดร เมอ่ื เชอื้ คอื อปุ าทาน
ไมม่ แี ล้ว กเิ ลสกบ็ งั เกดิ ขนึ้ ไม่ได้ เหมอื นหนงึ่ เชอ้ื แหง่ ไฟฉะนน้ั

เพราะเหตุนั้นจึงว่า โลกุตรศีลน้ันไม่ต้องสมาทาน ไม่ต้องรักษา เป็นแต่
ใช้ปัญญาดวงเดียวก็รู้กิเลสได้หมด เม่ือรู้กิเลสได้หมดแล้วก็เป็นโลกุตรศีล ไม่ต้อง
สมาทานรักษา โลกียภาวนาน้ัน เม่ือบังเกิดขึ้นแล้วก็หายไป ไม่ถาวรม่ันคงอยู่ได้
เหมือนหน่ึงจิตที่เป็นเอกัคตาแล้ว ก็กลับมาเป็นวิตกวิจารอีกต่อไปได้ฉะน้ัน หรือ
เปรียบเหมือนหน่ึงบุคคลท่ีขึ้นต้นไม้ ครั้นเก็บเอาผลได้แล้ว ก็กลับลงมากองไว้
ใตต้ น้ ไม้ แลว้ จงึ ขนึ้ ไปเกบ็ อกี ฉะนนั้ ถา้ มฉิ ะนนั้ เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ ทไี่ ปบวชในส�ำ นกั

158  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร

แหง่ พระสารบี ตุ รแลว้ แลเรยี นภาวนาไดส้ �ำ เรจ็ ฌานโลกยี เ์ หาะไปได้ ครน้ั ภายหลงั ไป
เหน็ สตรี กม็ จี ติ ปฏพิ ทั ธย์ นิ ดชี อบใจ อยากไดส้ ตรนี นั้ มาเปน็ ภรรยาของตน ภาวนานนั้
กเ็ สอ่ื มหายไป ครน้ั ภายหลงั ไปประพฤตโิ จรกรรม เขาจบั ตวั ได้ ถงึ แกโ่ ทษประหารชวี ติ
พระสารบี ตุ รผเู้ ปน็ อปุ ชั ฌายไ์ ดท้ ราบเหตดุ งั นนั้ แลว้ จงึ ไปเตอื นสตใิ หภ้ าวนา บรุ ษุ นนั้
ก็ระลึกได้ จึงบริกรรมภาวนา ก็เหาะหนีรอดความตายมาได้ฉะนั้น เพราะเหตุน้ี
จงึ วา่ โลกยี ภาวนานนั้ ไมถ่ าวรมนั่ คงอยไู่ ด้ เมอ่ื บงั เกดิ ขน้ึ แลว้ กส็ ญู หายไป เพราะเปน็
ของไมเ่ ทย่ี ง รกู้ �ำ เรบิ ได้ ไมเ่ หมอื นโลกตุ รภาวนา โลกตุ รภาวนานน้ั เปน็ ของถาวรมน่ั คง
เท่ียงแท้ ไมร่ ู้แปรผันวิปริตกลับกลอกเหมือนหนึ่งโลกยี ภาวนา

โลกุตรภาวนานั้น เปรียบเหมือนหนึ่งบุคคลที่ว่ายน้ําไปในที่น้ําพัดให้
กลายกลับกลอกไปมา ครั้นถึงฝั่งฟากแล้วก็พ้นจากน้ําไม่มีคล่ืนฉะนั้น โดยความ
อธบิ ายวา่ ภาวนาให้บงั เกิดขน้ึ แล้วแลไม่หายไมส่ ญู ไป ฉะนัน้ แลชอ่ื วา่ โลกตุ รภาวนา
โลกุตรภาวนานั้นอุปมาเหมือนบุคคลที่เข้าถํ้าจนคํ่ามืด มืดน้ันก็ได้แก่บุคคลท่ีแรก
เจริญภาวนา บุคคลที่แรกเจริญภาวนานั้นก็ยังมืดอยู่ ครั้นภาวนาบังเกิดขึ้นแล้ว
กม็ ีแตค่ วามสว่างขึน้ ไมม่ ดื ต่อไป บุรุษผ้เู ข้าป่าในเวลาค่ํามืดน้นั ครัน้ แสงพระจนั ทร์
ส่องสว่างลงมาแล้ว ย่อมได้แสงจันทร์เป็นที่ดำ�เนินไป บุรุษน้ันก็ได้เห็นพระจันทร์
แล้ว บุรุษน้ันก็เดินไปสถานท่ีใดๆ จะให้พ้นพระจันทร์ไปน้ันไม่ได้ เมื่อบุรุษนั้นจะ
เดนิ ไปสปู่ ระเทศทใี่ ดๆ พระจนั ทรก์ ต็ ามไปในประเทศทนี่ น้ั ๆ ฉนั ใดกด็ ี ทา่ นทไ่ี ดเ้ จรญิ
โลกตุ รภาวนานนั้ เมอ่ื โลกตุ รภาวนาบงั เกดิ ขน้ึ แลว้ กย็ อ่ มตดิ ตามผนู้ นั้ ไปจนตราบเทา่
เขา้ สพู่ ระนพิ พานฉะนนั้ เพราะเหตนุ นั้ จงึ สมกบั พระบาลวี า่ ภาวะนายะ ปะหาตพั พะ
เหตกุ า ธัมมา ดงั น้ี

๒๗. เนวะ ทสั สะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตกุ า ธัมมา

ในบทที่ ๒๗ ว่า เนวะ ทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา
ธัมมา น้ีแปลว่า ธรรมท้ังหลายอันเป็นปัจจัยเก้ือกูลแก่ธรรมท่ีพึงละกิเลส เพราะ
เหตุท่ีไม่ไดเ้ หน็ แลไม่ไดภ้ าวนานน้ั ความอธิบายว่า ในเบือ้ งต้นทห่ี นึง่ นนั้ วา่ ละกิเลส
ได้เพราะเห็น บทที่สองนั้นว่าละกิเลสได้เพราะภาวนา ดังนี้ ในบทท่ีสามน้ันว่า
ไมต่ อ้ งเหน็ ไมต่ อ้ งภาวนา ละกเิ ลสไดด้ ว้ ยภาวะของตนเอง เปรยี บเหมอื นหนงึ่ ตน้ ไม้

พระอภิธรรมสงั คิณีมาตกิ าบรรยาย 159

ที่มผี ลเปน็ ต้น ธรรมดาวา่ ผลไม้น้ัน บางทหี ล่นลงเองกม็ ี บางทีหลน่ ด้วยพายพุ ัดก็มี
บางทีหล่นด้วยคนสอยก็มี บางทีหล่นด้วยสัตว์ท้ังหลายมีค้างคาวเป็นต้น แต่พระ
ธรรมบทนห้ี ลน่ ลง โดยสภาวะของตนเอง จะไดล้ งดว้ ยคนสอยและลมพายพุ ัดและ
สตั วจ์ �ำ พวกหนงึ่ จ�ำ พวกใดกระท�ำ หามไิ ด้ เพราะฉะนนั้ จงึ ไดช้ อ่ื วา่ เนวะ ทสั สะเนนะ
นะ ภาวะนายะ ปะหาตพั พะเหตุกา ธมั มา ฉะนี้

พระสกวาทีฯ จงึ ถามข้ึนวา่ ข้าแตท่ ่านปรวาทฯี ขา้ พเจ้าเคยได้ยินไดฟ้ งั มา
ว่า ท่านที่ได้สำ�เร็จมรรคผลธรรมวิเศษต่างๆ น้ัน ก็เพราะได้เห็น ได้เจริญภาวนา
ดังทีท่ า่ นไดเ้ ห็นฟองน้ําและพยับแดดเปน็ ฉะน้ี ในพระกรรมฐาน ๔๐ แลวปิ ัสสนา
๑๐ น้ันก็ดี ท่านแสดงไว้ว่าได้สำ�เร็จเพราะเหตุท่ีได้เห็น และเหตุท่ีได้เจริญภาวนา
ดังน้ี ก็แลคำ�ท่ีท่านว่าไม่ต้องเห็นไม่ต้องภาวนาน้ัน ข้าพเจ้ามีความสงสัยเพราะ
ไมเ่ คยไดย้ นิ ไดฟ้ งั เพราะฉะนน้ั ขอพระปรวาทฯี จงแสดงอา้ งบคุ คลพอเปน็ ตวั อยา่ ง
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอกี ต่อไป

พระปรวาทฯี จงึ น�ำ เอาเรอ่ื งพระอานนทม์ าแสดงเพอ่ื ใหเ้ ปน็ นทิ ศั นอทุ าหรณ์
ว่า ดูก่อนท่านสกวาทยาจารย์ เม่ือพระอานนท์ตามเสด็จพระพุทธเจ้าไปถึงเมือง
กุสินารา ครั้งน้ัน พระอานนท์ได้ทราบว่า พระพุทธเจ้าจะเสด็จเข้าสู่พระนิพพาน
กม็ คี วามเศรา้ โศกาอาลยั ไปตา่ งๆ พระองคจ์ งึ ทรงตรสั แกพ่ ระอานนทว์ า่ มา โสจะยิ
ดูก่อนอานนท์ เธออย่าได้เศร้าโศกเสียใจไปเลย เมื่อเราผู้ตถาคตนิพพานไปแล้ว
พระมหาอรยิ ะกสั สปะจะยกพระวนิ ยั สตุ ตนั ตอภธิ รรมขนึ้ สสู่ งั คายนา ในกาลครงั้ นนั้
ทา่ นจะได้บรรลุอาสวักขัยเป็นพระอรหันต์ดงั น้ี

คร้ันถึงวันประชุมสังคายนา พระสงฆ์ท้ังหลายจึงตักเตือนพระอานนท์
เสวะสันนิปาโต วันพรุ่งนี้แล้วพระสงฆ์จะประชุมกระทำ�สังคายนา ตวัง เสโข
ตวั ทา่ นยงั เปน็ เสขบคุ คลอยู่ ทา่ นหาสมควรทจี่ ะเขา้ ประชมุ สนั นบิ าตไม่ อปั ปะมตั โต
โหติ ฉะนั้นท่านจงอย่าได้ประมาทเลย ดังน้ี เมื่อพระอานนท์ได้ฟังซึ่งคำ�แห่งสงฆ์
ตักเตือน ดังน้ัน จึงเข้าไปสู่ท่ีสงัดกระทำ�สมณธรรมปลงปัญญาลงความเห็นชัดว่า
เราคงได้สำ�เร็จมรรคผลธรรมวิเศษพระอรหันต์เป็นแน่ พระองค์ทรงตรัสไว้แล้ว
ไม่เป็นคำ�สอง ดังนี้ ดูก่อนท่านสกวาทีฯ พระอานนท์ก็ไม่ได้สำ�เร็จมรรคผลธรรม
วิเศษอนั ใดเพราะเหตุท่ีไดเ้ หน็ น้ัน

160  อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร

ครั้นมาภายหลัง พระอานนท์ก็ได้เจริญกายคตาสติกรรมฐาน พิจารณาซ่ึง
อาการ ๓๒ โดยพระไตรลกั ษณญาณ จนคนื ยันรงุ่ พระอานนท์ก็ไม่ไดส้ ำ�เรจ็ มรรคผล
วิเศษอันใด เพราะเหตุน้ัน พระอานนทจ์ ึงวิตกไปวา่ ก็เหตุใดหนอเราจงึ ไม่ได้ส�ำ เรจ็
เปน็ พระอรหนั ต์ สังขาระสะมตั โถ ชะรอยว่าเราจะทำ�ความเพยี รกลา้ หนักไป จ�ำ เรา
จะระงบั สงั ขารเสยี สกั หนอ่ ยใหส้ บาย แลว้ จงึ จะภาวนาใหมต่ อ่ ไป ฉะน้ี พระอานนทก์ ็
ละความเหน็ และภาวนานนั้ แลว้ จงึ เอนกายลง พระเศยี รยงั ไมถ่ งึ พระเขนย พระบาท
ยงั ไมพ่ น้ พนื้ พระอานนทก์ ไ็ ดบ้ รรลอุ าสวกั ขยั เปน็ พระอรหนั ตป์ ฏสิ มั ภทิ าในระหวา่ ง
อริ ยิ าบถทงั้ ๔ นน้ั โดยความอธบิ ายวา่ พระอานนทเ์ ปน็ ผเู้ กอ้ื กลู แกธ่ รรมอนั จะพงึ ละ
กิเลสได้ด้วยเหตทุ ่ีไม่ตอ้ งเหน็ ไมต่ อ้ งภาวนา ดังนี้ เพราะฉะน้ันจึงสมกบั พระบาลวี ่า
เนวะ ทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ฉะน้ี ปราชญ์
ผู้มีวิจารณญาณก็พึงสันนิษฐานเข้าใจตามนัยพุทธภาษิตอันวิจิตรพิสดาร อาตมา
รับประทานวิสัชนามาในติกมาตกิ าที่ ๒๗ นี้โดยสังเขปกถา กย็ ุตลิ งเพียงนี้

๒๘. อาจะยะคามโิ น ธัมมา

ในลำ�ดับน้ีจะได้แสดงในติกมาติกาที่ ๒๘ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลีว่า
อาจะยะคามโิ น ธมั มา เปน็ ตน้ แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายอันเป็นเหตจุ ะยังสัตวใ์ หไ้ ด้
เสวยความสุข เพราะการสร้างสมซึ่งบุญนั้น ธรรมดาว่าบุคคลไปสู่หนทางอันไกล
กต็ อ้ งอาศยั สะสมเสบยี งอาหารใหเ้ พยี งพอบรบิ รู ณก์ อ่ น จงึ จะมคี วามสขุ ความสบาย
ในหนทางฉะนั้น หรือเปรียบเหมือนหน่ึงแม่ทัพที่จะยกพลนิกายเข้าสู่ยุทธสงคราม
ก็ต้องตระเตรียมเสบียงอาหารและเคร่ืองศาสตราวุธให้เพียงพอบริบูรณ์ก่อน
จึงจะยกเข้าสู่ยุทธสงครามน้ันได้ ฉันใดก็ดี บุคคลที่จะได้ประสบซ่ึงความสุขนั้น
กต็ อ้ งอาศยั สะสมซง่ึ การบญุ การกศุ ลเหมอื นกนั ดงั มใี นราชเทวตาสงั ยตุ พทุ ธภาษติ วา่
สโุ ข ปุญญสั สะ อุจจะโย เมื่อบุคคลผใู้ ดสะสมซ่งึ บญุ บุญนัน้ กจ็ ะนำ�มาซึ่งความสขุ
เพราะฉะน้นั จึงสมกบั พระบาลีวา่ อาจะยะคามโิ น ธัมมา ฉะนี้ฯ

๒๙. อะปะจะยะคามิโน ธมั มา

ในบทที่ ๒๙ ว่า อะปะจะยะคามิโน ธมั มา น้ัน แปลความวา่ ธรรมทง้ั หลาย
อันเป็นเหตุจะยังสัตว์ให้ได้เสวยซ่ึงความทุกข์ เพราะไม่ได้ส่ังสมขึ้นซ่ึงการบุญ

พระอภิธรรมสงั คิณมี าติกาบรรยาย 161

การกุศล โดยความอธิบายว่า บุคคลจะถึงซึ่งความทุกข์ยากลำ�บากเข็ญใจเพราะ
ไมม่ ีเครอ่ื งใชส้ อยตา่ งๆ มีเงนิ ทองผ้านงุ่ หม่ เปน็ ตน้ น้นั กเ็ พราะไมไ่ ดส้ ง่ั สมการบุญ
การกุศล เปรียบเหมือนหน่ึงคนยากจนอนาถาเท่ียวขอทานท่านผู้อื่นเลี้ยงอัตภาพ
บางวนั กไ็ ด้ บางวนั กไ็ มไ่ ด้ วนั ทขี่ อเขาไมไ่ ดน้ นั้ แลมากกวา่ วนั ทไ่ี ด้ เพราะของของตน
ไม่มีจึงต้องถึงซึ่งความลำ�บากดังน้ี ดังมีบุคคลเป็นนิทัศนอุทาหรณ์ว่า ยังมีเศรษฐี
ผหู้ นงึ่ ชอื่ อานนั ทเศรษฐี ผนู้ ไี้ มไ่ ดก้ ระท�ำ บญุ ใหท้ านแกใ่ ครๆ ครนั้ ตายไปกไ็ ดบ้ งั เกดิ
ในครรภจ์ ณั ฑาล ตงั้ แตท่ ารกนนั้ มาปฏสิ นธกิ ารตง้ั ครรภข์ นึ้ มา กก็ ระท�ำ ใหบ้ ดิ ามารดา
ท้ังสองถึงแก่ความยาก เท่ียวขอทานเขาได้โดยลำ�บาก คร้ันคลอดออกมาพอรู้เดิน
ได้แลว้ มารดาบิดาพาไปเท่ยี วขอทาน ก็เลยไมไ่ ด้สิ่งอนั ใดมา ถ้าไมพ่ าไป ไปแตต่ น
ผเู้ ดยี ว กไ็ ดม้ าพอเปน็ ยาปรมตั ถเ์ ลย้ี งกนั ไป เพราะเหตนุ นั้ มารดาจงึ พาไปปลอ่ ยทงิ้ เสยี
ใหไ้ กลพน้ จากบ้านของตนแลว้ กเ็ ทย่ี วขอทานเขากนิ ได้โดยความสะดวกดี

ฝ่ายทารกนั้นก็เท่ียวขอทานเขาไป เมื่อทารกทั้งหลายได้เห็นแล้ว ก็พากัน
ไล่ทุบตีให้ถึงแก่ความตาย แล้วจึงพากันเอาไปโยนท้ิงไว้เหนือกองหยากเย่ือในที่
แห่งหนึ่ง เพลาเช้าวันน้ัน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธะเสด็จไปโคจรภิกขาจาร
บณิ ฑบาต ครนั้ ไดท้ อดพระเนตรเหน็ ทารกนนั้ นอนตายอยบู่ นกองหยากเยอื่ นน้ั แลว้
จงึ ทรงตรสั แกพ่ ระอานนทว์ า่ ดกู อ่ นอานนท์ ทารกทนี่ อนตายอยบู่ นกองหยากเยอ่ื นี้
ก็คืออานันทเศรษฐีน้ันเอง เพราะตนไม่ได้บำ�เพ็ญกุศลไว้ จึงต้องถึงซ่ึงความทุกข์
ยากลำ�บากเหน็ สภาวะปานฉะน้ี เพราะฉะนัน้ จึงสมกบั พระบาลวี า่ อะปะจะยะคา
มิโน ธมั มา ฉะน้ฯี

๓๐. เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามโิ น ธัมมา

ในบทท่ี ๓๐ นนั้ มีพระบาลวี า่ เนวาจะยะคามโิ น นาปะจะยะคามโิ น ธมั มา
แปลว่า ธรรมทั้งหลายอันเป็นเหตุจะยังสัตว์ให้ได้ถึงซ่ึงความสุข ด้วยการสะสม
ก็ไมใ่ ช่ ด้วยการไมส่ ะสมกไ็ ม่ใช่ โดยความอธิบายว่า สะสมแตก่ ารบุญ ไม่สะสมการ
บาป แต่ธรรมบทนแ้ี ปลวา่ ไม่ใชบ่ ุญไม่ใชบ่ าป เปรียบเหมอื นหนง่ึ คนนอนหลบั ไมส่ ุข
ไมท่ กุ ขฉ์ ะนนั้ ถา้ มฉิ ะนนั้ กเ็ ปรียบเหมอื นคนทห่ี นรี อ้ นไปหาเย็น หนรี ้อนออกไปพน้
จากร้อนแลว้ แตย่ งั ไม่ทันถงึ ความเย็น ยังอยู่ในระหวา่ งกลางๆ ฉะน้ี เม่ือจะชบี้ คุ คล
เป็นนิทัศนอุทาหรณ์แล้ว ก็ได้แก่พระมหาเถรที่บอกแก่นายช่างแก้วมณีว่า โทษยัง

162  อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร

มแี ก่บุคคลในโลกฉะนี้ เพราะตัวของทา่ นนัน้ ไมส่ ขุ ไม่ทกุ ข์ ทา่ นอยใู่ นระหวา่ งกลาง
ไม่ร้อนไม่เย็น โดยเหตุนี้ก็ย่อมพิสดารอยู่ในคัมภีร์พระธรรมบทนี้ แล้วนำ�มาแสดง
ในทนี่ แี้ ตโ่ ดยสังเขปกถาให้สมกบั พระบาลวี ่า เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามโิ น
ธมั มา ฉะนีฯ้

๓๑. เสกขา ธมั มา

เบ้ืองหน้าแต่น้ีจะได้แสดงในติกมาติกาที่ ๓๑ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลี
วา่ เสกขา ธมั มา แปลว่า ธรรมทัง้ หลายท่ีจำ�จะตอ้ งศกึ ษาดังน้ี ธรรมที่จำ�จะต้อง
ศึกษานัน้ มีอยู่ ๓ ประการ คอื อธศิ ลี สิกขา ๑ อธจิ ติ ตสกิ ขา ๑ อธิปัญญาสกิ ขา ๑
เป็นธรรม ๓ ประการฉะน้ี

พระสกวาทีฯ จึงถามขึ้นวา่ ธรรมทั้ง ๓ ประการน้ีจะตอ้ งศกึ ษาอย่างไรจึงจะ
เรียกว่า อธศิ ีล อธิจติ อธิปญั ญาได้ พระปรวาทีฯ จึงวิสัชนาว่า ในสกิ ขาทงั้ ๓ นน้ั
กค็ ือ ศีลกล้า ศลี ย่ิง ๑ ศึกษาให้จิตยิ่ง ๑ ศึกษาให้ปญั ญาย่งิ ๑ โดยความอธบิ ายวา่
ศลี น้นั กม็ อี ยู่ ๓ สถาน คือ ศีลอย่างตํ่า ๑ ศีลอย่างกลาง ๑ ศีลอยา่ งยิ่ง ๑ ผรู้ กั ษา
ศลี น้ัน บางคนกเ็ ปล่งอุบายวาจาว่าจะรักษาศีล ไมก่ ระทำ�บาปดว้ ยกายวาจา ครั้น
บาปมาถึงแก่ตนเขา้ แล้ว กไ็ มม่ ีเจตนาจะรักษาศีลน้ันไวไ้ ด้ ขนื กระท�ำ บาปลงไปดว้ ย
กายวาจา ดังน้ี เรยี กช่อื ว่าศลี อยา่ งตํ่า บุคคลผู้รักษาศลี นัน้ บางคนก็ตัง้ เจตนาไว้ว่า
จะรกั ษาศีล ไมก่ ระท�ำ บาปด้วยกายวาจา คร้นั บาปมาถงึ แกต่ นเขา้ แล้ว ก็คดิ ได้วา่
เรารกั ษาศีล ไมค่ วรกระทำ�บาปดว้ ยกายวาจา ดงั น้ี เรยี กชอ่ื ว่าศีลอย่างกลาง บุคคล
ผู้รักษาศีลนั้นบางคนก็รักษาพร้อมด้วยกายวาจา ไม่กระทำ�บาปจริงๆ จนเห็น
พระอรยิ สัจธรรมท้งั ๔ ดังนี้ เรียกชอ่ื วา่ ศลี อย่างยง่ิ อีกประการหนึง่ บคุ คลทเี่ ป็น
สัตบุรุษมารักษาศีล ๕ ได้บริสุทธิ์ดีแล้วก็ยังไม่พอแก่ศรัทธา จึงรักษาศีล ๘
ใหย้ ่ิงขน้ึ ไป คร้นั รักษาศลี ๘ ไดบ้ รสิ ทุ ธด์ิ แี ล้วก็ยังไม่พอแกศ่ รัทธา ละเพศฆราวาส
ออกบรรพชาเป็นสามเณรรักษาศีล ๑๐ ให้ยิ่งข้ึนไป จนไดอ้ ุปสมบทเป็นภกิ ษรุ กั ษา
ศีล ๒๒๗ ดังนี้ เรียกว่าศกึ ษาในศีลชอ่ื อธศิ ลี สิกขา

พระสกวาทฯี จงึ ขออปุ มากบั พระปรวาทฯี อกี ตอ่ ไป พระปรวาทฯี จงึ ไดอ้ ปุ มา
ต่อไปว่า ธรรมดาว่าบุคคลท่ีปลูกต้นไม้หวังผลแล้ว ก็ย่อมระวังรักษา หม่ันรดน้ํา

พระอภิธรรมสังคิณมี าตกิ าบรรยาย 163

พรวนดิน ไม่ใหต้ ้นไมน้ นั้ เห่ยี วแหง้ ตายไป คอยระวงั รักษาอย่ทู ุกทิวาราตรมี ิได้ขาด
จนตน้ ไมน้ น้ั งอกงามเจรญิ ขน้ึ มดี อกออกผลสมความประสงคข์ องตนฉนั ใดกด็ ี บคุ คล
ผู้มีวริ ตั ิเจตนามารักษาศลี หวงั ต่อความสขุ แล้วนัน้ ก็ย่อมตงั้ เจตนาระวงั รกั ษาไมใ่ ห้
อุปกิเลสเข้ามาท่วมทับศีลได้ และยงั ศลี ของตนใหบ้ ริบรู ณย์ งิ่ ๆ ขน้ึ ไป เหมอื นบุคคล
ทปี่ ลูกต้นไมฉ้ ะน้นั

เบอื้ งหนา้ แตน่ จ้ี ะไดแ้ กไ้ ขในอธจิ ติ ตสกิ ขาตอ่ ไป บคุ คลทจี่ ะกระท�ำ จติ ใหย้ งิ่ นน้ั
ก็พึงคดิ วา่ เราจะให้ทานตามไดต้ ามมี ครนั้ เห็นทานมผี ลแลว้ ก็พงึ คดิ วา่ เราจะรกั ษา
ศีลต่อไป คร้ันเห็นศีลมีผลมากกว่าทานแล้ว ก็พึงคิดว่าเราจะเจริญภาวนาต่อไป
ครนั้ เหน็ ภาวนามผี ลมากกวา่ ทานศลี แลว้ กพ็ งึ คดิ วา่ เราจะฟงั พระธรรมเทศนาตอ่ ไป
คร้นั เห็นอานสิ งสใ์ นการฟงั พระธรรมเทศนานั้นวา่ มผี ลมากยง่ิ กว่าทาน ศลี ภาวนา
นั้นแล้ว ก็อุตสาหะฟังพระธรรมเทศนาโดยเคารพ ด้วยหวังตั้งจิตว่าจะรับเอาข้อ
อนั เป็นแกน่ สาร ดังนเ้ี รียกวา่ ศึกษาให้จิตย่งิ ชอื่ ว่า อธิจิตตสิกขา

เบอื้ งหนา้ แตน่ จี้ ะไดแ้ กไ้ ขในอธปิ ญั ญาสกิ ขาสบื ตอ่ ไป บคุ คลผกู้ ระท�ำ ปญั ญา
ให้ยิง่ น้นั กพ็ ึงให้รู้จกั บ�ำ เพ็ญทาน รกั ษาศีล และเจริญภาวนา แลสดบั ฟงั พระธรรม
เทศนาเหมือนอย่างอธิศีล อธิจิตฉะน้ัน โดยความอธิบายว่า ปัญญาที่เป็นสามัญ
ลักษณ์ คือรู้ว่าสังขารธรรมเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สามัญปัญญาน้ีแลเรียกว่า
พระปริยตั ิ เม่อื รู้จักพระปริยตั โิ ดยลกั ษณะสามัญฉะน้แี ลว้ ก็บังเกดิ นพิ พทิ าญาณ
หยั่งรู้หย่ังเห็นในทางปฏิบัติ ว่าปฏิบัตินั้นย่ิงกว่าพระปริยัติ คือความเบื่อหน่าย
ในสังขารธรรมท้ังปวง เมื่อรู้ว่าจิตของตนมีความเบ่ือหน่ายแล้ว ก็ได้รู้ว่าความ
ปฏิบัติอย่างนี้ เป็นความปฏิบัติย่ิงกว่าพระปริยัติ ปัญญาเป็นนิพพิทาญาณน้ีแล
เรียกว่าปฏิบัติ เม่ือมากำ�หนดรู้จักปฏิบัติโดยมีนิพพิทาญาณฉะนี้แล้ว ก็บังเกิด
มญุ จติ กุ มั ยตาญาณ หยง่ั รหู้ ยงั่ เหน็ ในทางปฏเิ วธ ชอื่ วา่ อธปิ ญั ญาสกิ ขา เพราะฉะนน้ั
จงึ สมกบั พระบาลีวา่ เสกขา ธมั มา ฉะนีฯ้

๓๒. อะเสกขา ธัมมา

เบือ้ งหน้าแตน่ จ้ี ะไดแ้ สดงในตกิ มาตกิ าที่ ๓๒ สบื ตอ่ ไป โดยนัยพระบาลีว่า
อะเสกขา ธัมมา แปลว่า ธรรมท้ังหลายอันไม่ศึกษา โดยความอธิบายว่า ธรรม

164  อาจารยิ บชู า พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร

ที่ไม่ศึกษาน้ัน ก็ได้แก่ความเกียจคร้านกระทำ�ในอธิศีล อธิจิต อธิปัญญาน้ัน
เส่ือมทรุดไปทุกทิวาราตรีกาล เปรียบปานประหนึ่งว่า บุคคลปลูกต้นไม้หวังผล
แลเป็นคนเกียจคร้าน ไม่หมั่นระวังรักษา รดนํ้าพรวนดิน แล้วต้นไม้น้ันก็มีแต่
เศร้าโศกเหี่ยวแห้งตายไป เปรียบสัตว์ในอบายภูมิท้ัง ๔ สัตว์ในอบายภูมิท้ัง ๔
นั้น เม่ือเดิมทีก็เป็นมนุษย์นี้เอง แต่เป็นมนุษย์ท่ีปราศจากศีล สมาธิ ปัญญา
ทดี่ ีชอบ จึงต้องทนทกุ ขเวทนาเห็นสภาวะปานน้ี เพราะอะไรเปน็ เดิมเหตุ ก็เพราะ
ความที่ไม่ศกึ ษาในศีล สมาธิ ปญั ญาน่ีเอง

พระสกวาทีฯ จึงถามขึ้นว่า การท่ีไม่ศึกษานั้นจะมีโทษอย่างไร จะได้แก่
บุคคลจ�ำ พวกใด?

พระปรวาทีฯ จงึ วิสัชนาแก้ว่า บุคคลผ้มู ีความประมาท เกยี จครา้ น ไมศ่ กึ ษา
ในหนทางศีล สมาธิ ปญั ญา และไม่แสวงหาซึ่งความสขุ แกต่ นนัน้ ยอ่ มมีโทษมาก
หลายประการ เปรียบเหมือนหน่ึงบุคคล ๒ จำ�พวก เดินทางไกลกันดารด้วยนํ้า
จ�ำ พวกหนง่ึ เกยี จครา้ นไมเ่ พยี รเดนิ ไป จ�ำ พวกหนงึ่ มมี านะเพยี รเดนิ ไป ครนั้ เดนิ ไปๆ
กใ็ หก้ ระหายนา้ํ เปน็ ก�ำ ลงั คนเกยี จครา้ นนนั้ จงึ บอกกบั เพอื่ นกนั วา่ เราเหน็ จะเดนิ ไป
ไม่ไหว ข้ีเกียจเต็มทีแล้ว เพ่ือนที่มีมานะจึงตักเตือนขึ้นว่า ท่านจงอุตสาหะเดินไป
อีกสักหน่อย ก็จะพบต้นมะขามป้อม กินแก้กระหายน้ํา ถัดต้นมะขามป้อมน้ันไป
ก็จะพบต้นมะเฟือง ถัดต้นมะเฟืองนั้นไปก็จะพบสระน้ํา ได้อาบกินตามความ
สบายใจ คนเกียจคร้านน้ันจึงบอกว่า เราเดินไปไม่ไหว เราอดน้ํามาสามวันแล้ว
เพราะฉะนน้ั เราจะเขา้ อาศยั พกั อยใู่ นสถานทนี่ ้ี พวกมมี านะไมเ่ กยี จครา้ นอตุ สาหะ
เดินไป ก็ถึงต้นมะขามป้อม ได้กินผลมะขามป้อมแล้วก็มีกำ�ลังเดินต่อไป ก็ได้ถึง
ตน้ มะเฟอื ง ไดก้ นิ ผลมะเฟอื งกม็ กี �ำ ลงั เดนิ ตอ่ ไป กไ็ ดบ้ รรลถุ งึ สระนาํ้ กไ็ ดอ้ าบไดก้ นิ
โดยความสบายใจ จนได้บรรลุความสุขสันต์ภิรมย์ สมดังมโนประสงค์ของตน
บคุ คลเกียจคร้านนน้ั กถ็ งึ แกค่ วามตายในสถานที่น้ัน

เพราะเหตุนั้นจึงว่า บุคคลท่ีไม่ศึกษาย่อมประกอบไปด้วยโทษคือความ
ตาย เกิดอยู่ในสงั สารทุกข์ ไมม่ กี ำ�หนดชาติ ทัง้ กนั ดารล�ำ บากเดือดรอ้ นตา่ งๆ ฉะนี้
ดงั มีนยั พระพุทธฎกี าว่า อิธะ ตัปปะติ อธิ ะ โมทะติ เปจจะโมทะติ โดยเนื้อความ
วา่ บคุ คลจะได้ความเดอื ดรอ้ นในโลกนแ้ี ลว้ มหิ น�ำ ซา้ํ ไปเดอื ดร้อนในอบายภมู ิทั้ง ๔
อกี นน้ั กเ็ พราะตนไม่ไดบ้ ำ�เพญ็ กุศลสจุ ริตไว้ และไม่ไดศ้ กึ ษาในศลี สมาธิ ปัญญา

พระอภิธรรมสงั คณิ มี าติกาบรรยาย 165

ให้เป็นท่ีพึ่งแก่ตนในกาลก่อน เพราะฉะน้ันจึงได้ประสบแต่อนิฏฐารมณ์ คือ
ความเดอื ดรอ้ น ทง้ั ในอธิ โลก (โลกน)ี้ และปรโลก (โลกหนา้ ) ฉะนี้ บคุ คลทไี่ มเ่ ดอื ดรอ้ น
ย่อมมีแต่ความช่ืนชมในโลกนี้แล้ว มิหนำ�ซํ้าไปชื่นชมในปรโลกอีกนั้น ก็เพราะ
ท่านได้บำ�เพ็ญสจุ ริตไว้ แลไดศ้ กึ ษา ศลี สมาธิ ปญั ญา ไวใ้ ห้เป็นท่พี ึ่งแกต่ นแต่ใน
กาลก่อน เพราะฉะนั้นท่านจึงได้ประสบแต่อิฏฐารมณ์ คือความช่ืนชมยินดีทั้งใน
อิธโลกและปรโลกฉะน้ฯี

๓๓. เนวะเสกขา นาเสกขา ธมั มา

เบือ้ งหนา้ แตน่ จ้ี ะไดแ้ สดงในบทท่ี ๓๓ สืบตอ่ ไป โดยนัยพระบาลวี ่า เนวะ
เสกขา นาเสกขา ธัมมา แปลวา่ ธรรมท้งั หลายจะศึกษากไ็ ม่ใช่ จะไม่ศึกษากไ็ ม่ใช่
โดยความอธิบายวา่ ไม่ต้องศกึ ษาก็ได้ส�ำ เรจ็ เป็นขน้ึ ได้เองตามภมู ิท่ี ดังมบี คุ คลเป็น
นิทศั นอทุ าหรณว์ า่ พระศรธี าตุราชกมุ ารไม่ตอ้ งศกึ ษาก็สำ�เร็จวิชาการได้หมด ไมว่ า่
สรรพวิชาส่ิงใดๆ ก็ได้สำ�เร็จได้ทุกประการฉะน้ัน ถ้ามิฉะน้ันเปรยี บเหตตุ ้นไม้ไมม่ ี
คนปลูก ขึ้นเอง แต่ไม่ข้ึนทั่วไป เฉพาะขึ้นได้แต่ดินที่อันควร ฉันใดก็ดี มรรคผล
ธรรมวเิ ศษจะบงั เกดิ ขนึ้ ไดน้ นั้ กต็ อ้ งอาศยั ภมู อิ นั ควร มกี เิ ลสกไ็ มบ่ งั เกดิ ไมม่ กี เิ ลสก็
ไมบ่ งั เกดิ เฉพาะบงั เกดิ ขน้ึ ไดแ้ ตท่ า่ นทม่ี บี ารมแี กก่ ลา้ ฉะนนั้ โดยเนอ้ื ความวา่ ธรรม
ในทนี่ ้ี ประสงค์บุคคลที่มอี ปุ นสิ ัยเคยได้กระทำ�มาแต่ในกาลกอ่ น เพราะเหตุนัน้ จึง
แปลว่าศึกษากไ็ มใ่ ช่ ไม่ศกึ ษากไ็ ม่ใช่ ฉะนี้ ดงั มบี ุคคลเป็นนทิ ศั นต์ วั อย่าง เม่อื พระ
กุมารกสั สปะไดฟ้ ังพยากรณ์ภาษติ ๑๕ ขอ้ ซง่ึ มีในธมั มกิ ปญั หาสูตรน้นั กอ็ ุตสาหะ
ทรงจำ�ไว้ได้แม่นยำ� บริกรรมภาวนามาสิ้นกาลนานแล้ว ก็ยังไม่ได้สำ�เร็จมรรคผล
อันใด ครั้นมาภายหลัง ท้าวมหาพรหมจึงมาถามปัญหาอันนั้นแก่กุมารกัสสปะ
กุมารกัสสปะจงึ นำ�ปญั หาน้นั ไปทลู ถามพระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจ้าจงึ ทรงพยากรณ์
ภาษติ ปญั หา ๑๕ ขอ้ ตงั้ แตต่ น้ จนอวสานทส่ี ดุ พระกมุ ารกสั สปะกไ็ ดส้ �ำ เรจ็ พระอรหนั ต์
ปฏสิ มั ภทิ าปรากฏในพทุ ธศาสนาดงั นี้ เพราะฉะนน้ั จงึ สมกบั พระบาลวี า่ เนวะเสกขา
นาเสกขา ธัมมา ฉะนีฯ้

๓๔. ปะริตตา ธัมมา

ในลำ�ดับน้ีจะได้แก้ไขในติกมาติกาบทที่ ๓๔ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลีว่า
ปะรติ ตา ธมั มา แปลวา่ ธรรมมปี ระมาณนอ้ ย โดยความอธบิ ายวา่ บคุ คลผมู้ สี ตปิ ญั ญา

166  อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร

นอ้ ยจะเจรญิ ธรรมทม่ี ากกไ็ มไ่ ด้ ไมเ่ ปน็ ผลส�ำ เรจ็ พาใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ นร�ำ คาญใจ
ดงั มใี นชาดกวา่ พระจฬู ปณั ถกมสี ตปิ ญั ญานอ้ ย ไปเรยี นวชิ าอยใู่ นส�ำ นกั แหง่ ทศิ าปาโมกข์
อาจารย์ กจ็ ำ�อะไรไม่ได้ จ�ำ ได้แต่ ฆะเฏสิ ฆะเฏสิ กิงกะระณา ฆะเฏสิ อะหังปติ ัง
ชานามิ ชานามิ เทา่ นน้ั กย็ งั เกดิ ผลใหส้ �ำ เรจ็ ไดแ้ ละเปน็ นสิ ยั ตดิ ตามมา ครน้ั ถงึ ศาสนา
ของสมเดจ็ พระพทุ ธองคท์ รงพระนามวา่ สมณโคดม โดยความหวงั ตง้ั จติ กไ็ ดไ้ ปบวชอยู่
ในส�ำ นกั แหง่ มหาปณั ถกผเู้ ปน็ พช่ี าย จะเลา่ เรยี นอะไรกไ็ มไ่ ด้ ใหบ้ งั เกดิ ความเดอื ดรอ้ น
ร�ำ คาญใจ จงึ หนไี ปสสู่ �ำ นกั พระพทุ ธเจา้ โดยความหวงั ตง้ั ใจวา่ จะลาสกิ ขา ครนั้ ไปถงึ
ส�ำ นกั พระพทุ ธเจา้ แลว้ พระองคก์ ไ็ ดท้ รงทราบดว้ ยพระปญั ญาญาณวา่ จะไดส้ �ำ เรจ็
แก่พระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณแต่ธรรมมีประมาณน้อย เพราะฉะน้ันพระองค์จึง
ผูกพระคาถาให้เจริญบรกิ รรม ๑๐ อกั ขระว่า ระโช หะระณัง ระชงั หะระติ ดงั น้ี
พระจูฬปณั ถกก็จำ�ได้ อุตสาหะเจรญิ บริกรรมไป ก็เป็นผลใหส้ ำ�เร็จพระอรหันตไ์ ด้
เพราะธรรมมปี ระมาณน้อย แลมีนิสยั น้อยพอควรแก่อารมณ์ ฉะน้ี อกี ประการหนึง่
เม่ือจะได้สำ�เร็จน้ันก็เพราะจิตท่ีน้อยลงๆ ธรรมที่น้อยน้ัน ก็เฉพาะมีอารมณ์
น้อยลงๆ เหมือนกัน เปรียบเหมือนสูปังและพยัญชนังที่มีรสอันอร่อยดี ถึงจะมี
น้อยก็เป็นที่บริโภคมีกำ�ลัง เพราะรสน้ันถูกต้องกันกับอัธยาศัยของผู้ท่ีบริโภค
เพราะฉะนนั้ จงึ สมกบั พระบาลีวา่ ปะริตตา ธมั มา ฉะนฯ้ี

๓๕. มะหัคคะตา ธัมมา

ในบทท่ี ๓๕ นั้น พระบาลีว่า มะหคั คะตา ธมั มา แปลวา่ ธรรมท้ังหลาย
อนั เลศิ ใหญ่ โดยความอธบิ ายวา่ ธรรมทพ่ี ระองคท์ รงตรสั เทศนาเปน็ อทุ เทสวาระนน้ั
ช่ือว่าธรรมอันเลิศ คร้ันพระองค์ทรงจำ�แนกออกไปให้มากเป็นนิทเทสวาระนั้น
ชอ่ื วา่ ธรรมอนั มาก เพราะฉะนน้ั จงึ ไดแ้ ปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอนั เลศิ ใหญฉ่ ะน้ี เพราะ
เหตุว่าพระองค์ทรงอธิบายให้มากออกไปตามวิสัยของบุคคลผู้มีปฏิสัมภิทาญาณ
เชน่ อยา่ งพระสารบี ตุ รไดฟ้ งั แตพ่ ระคาถาบทหนึง่ ว่า เย ธัมมา เหตุปปั ภะวา เท่านี้
กไ็ ดต้ รสั รแู้ ทงตลอดไปไดถ้ งึ ๑,๐๐๐ นยั แลทะลไุ ปในพระอรยิ สจั ทงั้ ๔ ฉะน้ี เพราะ
สตปิ ญั ญาของทา่ นมาก เปน็ วสิ ยั ของพระอคั รสาวกเบอ้ื งขวา เพราะฉะนน้ั จงึ จะสามารถ
จะตรสั รแู้ ทงตลอดถงึ มหคั คตธรรมนน้ั ได้ มหคั คตธรรมกบั ปรติ ตธรรมเปน็ ของคกู่ นั
เพราะมีธรรมน้อยก่อนแล้วบังเกิดธรรมมาก เช่นพระจูฬปัณถกได้เรียนคาถาว่า

พระอภิธรรมสังคิณีมาตกิ าบรรยาย 167

ระโช หะระณงั ระชงั หะระติ และพระสารบี ตุ รไดฟ้ งั คาถาวา่ เย ธมั มา เหตปุ ปั ภะวา
เทา่ น้ี แลว้ กส็ ามารถตรสั ร้แู ทงตลอดไปในธรรมที่มากนน้ั ได้ เพราะฉะนนั้ จึงสมกบั
พระบาลีว่า มะหคั คะตา ธมั มา ฉะนี้ฯ

๓๖. อัปปะมาณา ธัมมา

ในบทท่ี ๓๖ นัน้ พระบาลวี ่า อปั ปะมาณา ธัมมา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลาย
ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้น้ันไม่มีประมาณ ญาณปัญญาท่ีพระองค์ทรงตรัสรู้ธรรมน้ัน
ก็ไม่มีประมาณ เมื่อจะมีอุปมาเหมือนอย่างพระพุทธเจ้า แลพระปัจเจกพุทธเจ้า
และพระอรหันตขีณาสพท้ังหลายท่ีล่วงไปแล้วนั้น แลยังจะมาในเบื้องหน้าน้ัน
กป็ ระมาณไม่ได้ ฉันใดกด็ ี ธรรมที่แสดงมาท้งั นีก้ ม็ อี ปุ ไมยเหมือนกันฉะน้นั ทท่ี ่าน
ประมาณไวว้ า่ แปดหมน่ื สพ่ี นั พระธรรมขนั ธด์ งั นี้ กป็ ระมาณไดโ้ ดยสงั ขติ ตนยั เพราะ
เหตุว่าธรรมท้งั หลายทีไ่ ดแ้ สดงมา ต้งั แต่กสุ ลาเปน็ ต้นเหลา่ น้ี เมือ่ จะแจกออกไปแต่
บทใดบทหนึ่ง กไ็ ม่มีทจ่ี ะจบลงไปได้ ทีไ่ ด้แสดงมาทงั้ นีแ้ ตโ่ ดยสงั ขิตตนยั พอควรแก่
ความเขา้ ใจ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธะทรงตรสั เทศนาเปน็ อทุ เทสวาระแตโ่ ดยยอ่ ๆ
ฉะน้ี กก็ �ำ หนดไดถ้ งึ สหี่ มน่ื สองพนั พระธรรมขนั ธ์ เพราะฉะนน้ั จงึ สมกบั พระบาลวี า่
อปั ปะมาณา ธมั มา ฉะนีฯ้

๓๗. ปะรติ ตารมั มะณา ธมั มา

ในบทท่ี ๓๗ นน้ั พระบาลวี า่ ปะรติ ตารมั มะณา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลาย
มีอารมณ์น้อย โดยความอธิบายว่า ธรรมท้ังหลายกระทำ�ความยินดีให้น้อยลง
หรือกระทำ�ความยนิ ดใี หห้ มดไป ไม่มีอารมณ์คอื วา่ อารมณ์ฟงุ้ ซ่านดงั นี้

พระสกวาทีฯ จึงถามขึ้นว่า ธรรมทั้งหลายอย่างไรท่ีว่ากระทำ�ให้อารมณ์
นอ้ ยลง ไมก่ ระท�ำ ให้อารมณฟ์ งุ้ ซ่านไป ขอทา่ นจงได้แสดงเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเลอ่ื มใส
ตอ่ ไป ณ กาลบดั น้ี

พระปรวาทีฯ จงึ วสิ ชั นาว่า มรณธรรมน้แี ลเปน็ ธรรมท่ยี งั อารมณใ์ หน้ ้อยลง
แลไม่กระทำ�อารมณ์ให้ฟุ้งซ่านไป อารมณ์จะฟุ้งซ่านไปก็เพราะเหตุที่ได้เห็นรูป
ฟังเสียง เป็นต้น เพราะฉะน้ันอารมณ์จึงฟุ้งซ่านไป เมื่อบุคคลผู้ใดมีธรรมเป็น


Click to View FlipBook Version