168 อาจาริยบูชา พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร
อารมณ์อยใู่ นสนั ดานแล้ว บุคคลผู้น้นั ก็มคี วามยินดีนอ้ ย จัดไดช้ ่อื เปน็ ผูไ้ ม่ประมาท
แลมีอารมณ์อันน้อยลง เป็นผู้ไม่ประมาทมัวเมาไปในอารมณ์ต่างๆ ฉะนี้ ดังมีใน
พระอัปปมาทธรรมท่ีพระองค์ทรงตรัสถามภิกขุบริษัทว่า ท่านทั้งหลายคิดถึง
มรณธรรมวันละเท่าใด ภิกขุองค์หน่ึงจึงทูลว่า ข้าพระองค์คิดถึงความตายในเวลา
เมอ่ื ไปบณิ ฑบาตวา่ เรายงั ไมท่ นั จะกลบั จากบณิ ฑบาต กจ็ ะตายเสยี ในระหวา่ งทเี่ ดนิ
ไปบณิ ฑบาตฉะน้ี สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธะกท็ รงตรสั ตเิ ตยี นวา่ ยงั มคี วามประมาท
อยู่ ฉะนี้ ภกิ ขอุ งคห์ นงึ่ จงึ ทลู วา่ ขา้ พระองคค์ ดิ ถงึ มรณธรรมในเวลาเมอ่ื จะฉนั จงั หนั วา่
เรายังไม่ทันจะกลืนอาหารลงไปในลำ�คอ ก็จะตายเสียในระหว่างกำ�ลังที่จะกลืน
คำ�อาหารลงไปดังนี้ สมเด็จพระพุทธองค์ก็ทรงตรัสติเตียนว่า ยังมีความประมาท
มากอยู่ ฉะน้ี ภิกขุองค์หน่ึงจึงทูลว่า ข้าพระองค์คิดถึงมรณธรรมตามลมอัสสาสะ
ปัสสาสะว่า เราหายใจออกไปแล้วไม่หายใจกลับเข้ามา ก็จะตายเสียในระหว่าง
ลมอัสสาสะปัสสาสะน้ัน ดังนี้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธะก็ทรงตรัสสรรเสริญว่า
ดกู อ่ น ภกิ ขผุ เู้ หน็ ภยั ในชาติ ถา้ ทา่ นปรารถนาจะยงั ความยนิ ดใี หน้ อ้ ยลง กจ็ งมนสกิ าร
ก�ำ หนดถงึ มรณธรรมตามลมอสั สาสะปสั สาสะนเ้ี ถดิ กจ็ ะบงั เกดิ ความสงั เวชสลดใจ
ได้ศรัทธาความเชื่อม่ันในพระคุณรัตนะทั้ง ๓ ประการ อันเป็นเคร่ืองป้องกัน
สรรพภยั ท้ังปวง อนั จะบงั เกิดมมี าถงึ แก่ท่านท้ังหลาย ทั้งภายในแลภายนอก
ดูก่อนภิกขุทั้งหลายผู้เห็นภัยในชาติ เม่ือพระโยคาวจรเจ้าท้ังหลายองค์ใด
มาระลึกถึงมรณธรรมอยู่เป็นนิตย์อย่างนี้แล้ว พระโยคาวจรเจ้าองค์น้ันก็ช่ือว่าเป็น
ผู้ไมป่ ระมาท และกระทำ�อารมณใ์ หน้ อ้ ยลง ดังน้ี เพราะฉะน้นั จึงสมกบั พระบาลวี ่า
ปะรติ ตารมั มะณา ธมั มา ฉะน้ี
๓๘. มะหัคคะตารมั มะณา ธัมมา
ในบทที่ ๓๘ น้ัน โดยพระบาลีว่า มะหัคคะตารัมมะณา ธัมมา แปลว่า
ธรรมท้ังหลายมีอารมณ์มาก ยังอารมณ์ให้ฟุ้งซ่านมากดังน้ี โดยความอธิบายว่า
ความยินดีในรปู ก็มมี าก ความยินดีในเสยี งก็มีมาก ความยนิ ดใี นกลน่ิ ก็มีมาก ความ
ยนิ ดใี นรสกม็ มี าก ความยนิ ดใี นสมั ผสั กม็ มี าก ความยนิ ดใี นธรรมกม็ มี าก เมอื่ บคุ คล
ผ้ใู ดมีความยินดีมากในรปู เสียง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ ธรรมารมณเ์ หล่านแี้ ล้ว บุคคล
ผูน้ ้นั ก็ชือ่ ว่าเปน็ ผู้มีอารมณ์มากฉะนี้
พระอภิธรรมสังคิณีมาติกาบรรยาย 169
พระสกวาทฯี จงึ ถามขน้ึ วา่ บคุ คลมคี วามยนิ ดมี ากในกามคณุ ทง้ั ๕ จะมโี ทษ
อย่างไร จะได้แก่บุคคลผ้ใู ด?
พระปรวาทีฯ จึงวสิ ชั นาว่า บคุ คลมากไปดว้ ยกามคณุ ทัง้ ๕ น้นั ย่อมมโี ทษ
เมื่อภายหลัง ดังมีบุคคลเป็นนิทัศนอุทาหรณ์ว่า พระบรมโพธิสัตว์ของเราได้เสวย
พระชาติเป็นพระเจ้าสักกมันธาตุราช ในกาลครั้งนั้นมีความปรารถนาจะเรียนวิชา
ใหส้ ำ�เร็จ ดว้ ยหวงั พระทัยว่าจะหานางแกว้ ครัน้ ได้นางแกว้ ตามความประสงค์แล้ว
ก็ปรารถนาเปน็ พระบรมจกั รพรรดิราชสืบต่อไป ครนั้ ไดเ้ ปน็ พระบรมจักรพรรดิราช
ดังความประสงค์แล้ว ก็ปรารถนาเป็นใหญ่กว่ามนุษย์ในทวีปท้ังสี่สืบต่อไป
ครั้นได้เป็นใหญ่กว่ามนุษย์ในทวีปท้ังสี่สมความประสงค์แล้ว ก็ปรารถนาเป็นใหญ่
กวา่ เทวดาตอ่ ไป ครนั้ ไดเ้ ปน็ ใหญก่ วา่ เทวดาส�ำ เรจ็ ดงั ความประสงคแ์ ลว้ กป็ รารถนา
เปน็ ใหญก่ วา่ พระอนิ ทรต์ อ่ ไป แตไ่ มส่ มความประสงค์ กลบั ตกลงมาจากสวรรคด์ งั น้ี
เพราะฉะนัน้ จงึ สมกบั พระบาลวี า่ มะหัคคะตารมั มะณา ธมั มา ดงั น้ี
๓๙. อัปปะมาณารมั มะณา ธัมมา
ในล�ำ ดบั นจ้ี ะไดแ้ สดงในบทท่ี ๓๙ สบื ตอ่ ไป โดยนยั พระบาลวี า่ อปั ปะมาณา
รัมมะณา ธัมมา แปลวา่ ธรรมทัง้ หลายมีอารมณ์ไม่มปี ระมาณ กระทำ�ความยนิ ดี
มากไม่มสี นิ้ สุด โดยความอธิบายวา่ จิตของปถุ ุชนน้ัน อารมณ์ไม่มีประมาณ ยินดี
ในลาภไมม่ ปี ระมาณ ยนิ ดใี นยศไมม่ ปี ระมาณ ยนิ ดใี นความสรรเสรญิ กไ็ มม่ ปี ระมาณ
ยินดีในความสุขก็ไม่มีประมาณ เพราะฉะนั้นจึงได้ทรงตรัสว่า อัปปะมาณารัม
มะณา ธัมมา ฉะน้ี เมื่อจะช้ีตัวอย่างให้เป็นพยาน ก็ได้แก่นิทานสุนัขจ้ิงจอก
ท่ีลักมนต์ของพราหมณ์ไป ก็ปรารถนาเป็นใหญ่กว่าสัตว์ในป่าหิมพานต์ คร้ันได้
ส�ำ เรจ็ ดงั ความประสงคข์ องตนแลว้ กป็ รารถนาจะเปน็ ใหญก่ วา่ มนษุ ย์ กห็ าไดส้ ำ�เรจ็
ดงั ความปรารถนานนั้ ไม่ เพราะตนเปน็ สตั วเ์ ดยี รจั ฉานไมร่ จู้ กั ประมาณตน จนแกว้ หู
แตกตายไปฉะน้ัน เพราะฉะนั้นจึงว่าจิตของปุถุชนไม่มีประมาณ สมกับพระบาลี
ว่า อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมา ฉะนี้ แก้ไขมาในติกมาติกาบทที่ ๓๙ ก็ยุติลง
แตเ่ พยี งนี้ฯ
170 อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร
๔๐. หีนา ธมั มา
ในล�ำ ดับนจ้ี ะได้แสดงในติกมาตกิ าบทท่ี ๔๐ ตอ่ ไป โดยนัยพระบาลีว่า หนี า
ธัมมา แปลว่า ธรรมท้งั หลายยังอารมณ์ใหเ้ ลวตํา่ ชา้ โดยความอธบิ ายวา่ กามคณุ
ทั้ง ๕ เป็นธรรมอย่างต่ํา กระทำ�ให้สัตว์เลวทรามตํ่าช้า สมดังพระบาลีว่า หีโน
คมั โม โปถชุ ชะนโิ ก อะนะรโิ ย แปลวา่ ความประกอบในความสขุ หโี น เปน็ ธรรมอนั ตาํ่ ชา้
เลวทราม คมั โม เปน็ ธรรมของชาวบา้ น โปถชุ ชะนโิ ก เปน็ ธรรมของปถุ ชุ น อะนะรโิ ย
ไมใ่ ช่ธรรมของพระอรยิ เจ้า ดงั นี้ โดยความอธิบายว่า กามคุณท้งั ๕ คือ รปู เสียง
กล่ิน รส โผฏฐัพพะ เหลา่ น้ี เม่ือบุคคลผใู้ ดประพฤติให้เปน็ ไปมากอยใู่ นจิตสันดาน
แลว้ กก็ ระท�ำ ใหบ้ คุ คลผนู้ น้ั ตกตา่ํ อยใู่ นโลก คอื กระท�ำ ใหเ้ วยี นวา่ ยตายเกดิ อยใู่ นภพ
ท้ังสามไม่มกี �ำ หนดชาติ ไมส่ ามารถจะยกตนให้พน้ จากสงั สารทุกข์น้ีได้ เพราะเปน็
โลกียธรรม ยงั สตั ว์ใหห้ มนุ เวยี นไปต่างๆ ไม่อาจจะยงั ตนให้พ้นจากสงั สารทกุ ขน์ ี้ได้
ดังบุรุษที่มจี ิตปฏิพัทธ์รักใคร่ในภรรยาซึ่งเป็นชู้กับบุรุษผู้เป็นน้องชาย คร้ันน้องชาย
ฆา่ ใหต้ ายแลว้ กไ็ ปบงั เกดิ เปน็ งเู หลอื ม ครนั้ ตายจากงเู หลอื มแลว้ กไ็ ปบงั เกดิ เปน็ สนุ ขั
ครน้ั ตายจากสนุ ขั แลว้ กไ็ ปบงั เกดิ เปน็ โค เวยี นวา่ ยตายเกดิ อยใู่ นเรอื นแหง่ ภรรยานน้ั
เพราะโทษแหง่ กามคณุ ดว้ ยเหตฉุ ะนจ้ี งึ เรยี กชอื่ วา่ หนี าธรรม เปน็ ธรรมอนั พระอรยิ เจา้
ทงั้ หลาย อันมสี มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธะเปน็ ประธาน ไม่ได้สรรเสริญวา่ เปน็ ธรรม
อนั ประเสรฐิ ดงั นี้ เพราะฉะนั้นจงึ สมกบั พระบาลีว่า หีนา ธัมมา ฉะนี้
๔๑. มชั ฌิมา ธมั มา
ในบทที่ ๔๑ นั้นมีพระบาลีว่า มัชฌิมา ธัมมา แปลว่า ธรรมท้ังหลายมี
อารมณเ์ ป็นอยา่ งกลาง ไมด่ ีไมช่ ว่ั ไมร่ ้อนไมเ่ ยน็ โดยความอธบิ ายวา่ อารมณ์นัน้ ดี
กไ็ มด่ ี ชว่ั กไ็ มช่ ว่ั เลวกไ็ มเ่ ลว ประณตี กไ็ มป่ ระณตี เปน็ กลางๆ อยู่ เพราะฉะนนั้ สมเดจ็
พระสมั มาสมั พุทธะจงึ ได้ทรงตรสั วา่ เป็นหนทางแหง่ อริยมรรคทั้ง ๘ มสี ัมมาทฏิ ฐิ
เปน็ ตน้ ถา้ จะวา่ เปน็ อเุ บกขากไ็ ดอ้ ยู่ เพราะอารมณน์ น้ั ไมย่ นิ ดยี นิ รา้ ย เปรยี บเหมอื น
เรือข้ามฟากออกจากท่าแล้ว แต่ยังไม่ทันถึงฝ่ัง อยู่แต่ในระหว่าง ธรรมท่ีชื่อว่า
มัชฌิมา นน้ั กไ็ ดแ้ ก่อารมณท์ ่อี อกจากทกุ ข์แลว้ แตย่ งั ไมท่ นั ถึงสุข ฉะนนั้ จึงได้ชือ่ วา่
มัชฌมิ า ธมั มา ดังนฯี้
พระอภธิ รรมสงั คณิ มี าติกาบรรยาย 171
๔๒. ปะณีตา ธมั มา
ในบทที่ ๔๒ นนั้ มพี ระบาลวี า่ ปะณตี า ธมั มา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายประณตี
โดยความอธบิ ายวา่ บคุ คลทต่ี ง้ั อยใู่ นศลี ๕ ศลี ๘ อนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยพระไตรสรณคมน์
นนั้ ประณตี กวา่ บคุ คลทไี่ มไ่ ดต้ งั้ อยใู่ นศลี ๕ ศลี ๘ อนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยพระไตรสรณคมน์
พระสกิทาคาประณีตกว่าพระโสดาบัน พระอนาคาประณีตกว่าพระสกิทาคา
พระอรหันต์ประณีตกว่าพระอนาคา พระอัครสาวกประณีตกว่าพระปกติสาวก
พระปัจเจกพุทธเจ้าประณีตกว่าพระอัครสาวกท้ังปวง พระพุทธเจ้าประณีตกว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้า ปณีตธรรมเป็นธรรมละเอียดกว่ามัชฌิมาธรรม มัชฌิมา
ธรรมละเอียดกว่าหีนาธรรม โดยความอธิบายว่า คนหยาบกับคนละเอียดต่างกัน
ธรรมที่ชื่อว่าปณีตธรรมน้ัน ได้แก่ธรรมของบุคคลผู้มีสติ ดังเร่ืองฉัตตปาณิอุบาสก
ขณะก�ำ ลงั เข้าเฝ้าและฟงั ธรรมพระบรมศาสดาอยนู่ น้ั พระเจา้ ปเสนทโิ กศลไดเ้ สด็จ
มายังที่ประทับของพระพุทธองค์ ฉัตตปาณิอุบาสกจึงคิดว่าเราควรลุกข้ึนต้อนรับ
พระราชาหรือไม่หนอ หากเราไม่ลุกข้ึนต้อนรับ พระเจ้าปเสนทิโกศลก็อาจจะ
ทรงกรว้ิ แตห่ ากเราลกุ ขน้ึ ตอ้ นรบั กจ็ กั ไดช้ อื่ วา่ เปน็ ผใู้ หค้ วามเคารพพระราชา แตห่ า
ไดเ้ คารพพระบรมศาสดาและพระสทั ธรรม (ซงึ่ เปน็ ธรรมอนั ประณตี กวา่ ) ไม่ ครน้ั คดิ
แลว้ ดงั นี้ จงึ ตดั สนิ ใจไมล่ กุ ขน้ึ ตอ้ นรบั พระราชา นงั่ ฟงั ธรรมในทอ่ี นั ควรขา้ งหนงึ่ ตอ่ ไป
แกไ้ ขมาในติกมาตกิ าบทที่ ๔๒ กย็ ุติแต่เพียงนฯี้
๔๓. มิจฉัตตะนยิ ะตา ธัมมา
ในลำ�ดับนีจ้ ะได้วิสัชนาในติกมาตกิ าบทที่ ๔๓ สบื ตอ่ ไป โดยนัยพระบาลีว่า
มัจฉตั ตะนิยะตา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทั้งหลายมที ฏิ ฐิอนั ผดิ เปน็ ธรรมอนั เท่ียงท่จี ะ
ไปสู่ทุคติ โดยความอธบิ ายว่า ทิฏฐิอันเหน็ ผิดนั้นมีอยู่ ๓ ประการคอื อจุ เฉททิฏฐิ ๑
สสั สตทฏิ ฐิ ๑ อกิริยทฏิ ฐิ ๑ ความเหน็ ว่าบุญบาปไมม่ ี หรอื เหน็ วา่ ตายแลว้ ไม่เกดิ
สูญไป ท้ังนี้เรียกว่า อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นของเที่ยงไม่กลับกลอกยักย้าย
แปรผนั เชน่ วา่ เดยี รัจฉานกเ็ ป็นเดียรจั ฉาน เดยี รจั ฉานไมก่ ลับเปน็ มนุษย์ ความเหน็
เชน่ นเ้ี รยี กชอ่ื วา่ สสั สตทฏิ ฐิ ความเหน็ วา่ ไมต่ อ้ งบ�ำ เพญ็ บญุ กศุ ล สงิ่ ใดถงึ ก�ำ หนดแลว้ ก็
ส�ำ เรจ็ ไปเอง ความเหน็ เชน่ นเ้ี รยี กชอ่ื วา่ อกริ ยิ ทฏิ ฐิ ทฏิ ฐทิ ง้ั สามประการเหลา่ นเ้ี ทย่ี งทจ่ี ะ
ไปสูอ่ บายภูมทิ งั้ ๔ เพราะฉะนน้ั จึงสมกับพระบาลวี ่า มจิ ฉตั ตะนิยะตา ธัมมา ดงั น้ี
172 อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร
๔๔. สัมมัตตะนยิ ะตา ธมั มา
ในบทท่ี ๔๔ นั้นมีพระบาลีว่า สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา แปลว่า ธรรม
ทง้ั หลายมที ฏิ ฐอิ นั ชอบ แลเปน็ ธรรมอนั เทย่ี งทจ่ี ะไปสนู่ พิ พาน โดยความอธบิ ายวา่ ทฏิ ฐิ
อนั ชอบนนั้ มอี ยู่ ๔ ประการ ทกุ เข ญาณงั ความเหน็ ในปญั จขนั ธท์ ง้ั ๕ วา่ เปน็ ทกุ ข์ ๑
ทกุ ขสมทุ เย ญาณงั ความเหน็ ในตนวา่ เปน็ ทบ่ี งั เกดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข์ ๑ ทกุ ขนโิ รเธ ญาณงั
ความเหน็ ในธรรมวา่ เปน็ เครอื่ งดบั ทกุ ขไ์ ดจ้ รงิ ๑ ทกุ ขนโิ รธคามนิ ยิ า ปฏปิ ทายะ ญาณงั
ความเหน็ ในพระนิพพานวา่ เป็นหนทางดับทกุ ข์ได้ ๑ ความเหน็ ทงั้ ๔ ประการนีแ้ ล
ทา่ นเรียกชือ่ วา่ สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาทิฏฐนิ ัน้ แปลว่า ความเห็นดีเหน็ ชอบ ความเหน็ ดี
เห็นชอบน้ีแลเท่ียงที่จะไปสู่สุคติ โดยความอธิบายว่า ความเห็นธรรมของจริงเป็น
ความเห็นชอบ ความเห็นชอบน้ันก็คือ ความเห็นสมมุติว่าเป็นธรรมไม่จริง ธรรม
ที่โลกสมมุติตามใจน้ันแล เป็นธรรมไม่จริง เม่ือเห็นตามสมมุติถอนสมมุติเสียได้
แล้วเรียกว่า วิมุตติธรรม ท่ีเป็นวิมุตติธรรมนี้แล เรียกว่า ความเห็นจริงเห็นชอบ
เพราะฉะนั้นจึงสมกบั พระบาลวี ่า สัมมตั ตะนิยะตา ธัมมา ดังน้ี
๔๕. อะนยิ ะตา ธัมมา
ในบทท่ี ๔๕ นั้นมีพระบาลีว่า อะนิยะตา ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลาย
ไม่เทย่ี ง บญุ ก็ไมเ่ ท่ียง บาปก็ไม่เท่ียง โดยความอธบิ ายว่า ปุถชุ นนน้ั บญุ กก็ ระทำ�
บาปกส็ รา้ ง แตไ่ มเ่ ทย่ี งทจ่ี ะไปสสู่ วรรค์ และไมเ่ ทย่ี งทจี่ ะไปสนู่ รก เพราะไมเ่ ปน็ ใหญ่
เมื่อเวลาใกลจ้ ะตาย ถ้าบญุ สง่ ให้กไ็ ปสวรรค์ ถ้าบาปส่งใหก้ ็ไปนรก เพราะเหตุฉะน้ี
จึงแปลวา่ เปน็ ธรรมไม่เที่ยง ในเวลาอาสญั กรรมใกล้จะตาย เพราะฉะน้นั จึงสมกบั
พระบาลวี า่ อะนยิ ะตา ธัมมา ฉะน้ีฯ แก้ไขมาในตกิ มาติกาบทท่ี ๔๕ ก็ยตุ แิ ต่เพยี ง
เทา่ น้ี
๔๖. มัคคารมั มะณา ธัมมา
ในลำ�ดบั น้จี ะได้วิสชั นาในติกมาติกาบทที่ ๔๖ สืบต่อไป โดยนยั พระบาลวี า่
มคั คารมั มะณา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายมพี ระอรยิ มรรคเปน็ อารมณ์ โดยความ
อธบิ ายวา่ ธรรมดาว่าพระอรยิ เจา้ กย็ ่อมยนิ ดแี ตใ่ นหนทางของพระอรยิ เจา้ เหมอื น
หนึ่งพระโสดาบันท่านก็ยินดีในธรรมท่ีท่านละไว้แล้ว ๓ อย่าง คือ สักกายทิฏฐิ
พระอภธิ รรมสังคณิ มี าติกาบรรยาย 173
ความถือตัวถือตน ๑ วิจิกิจฉา ความสงสัยในธรรมทั้งหลาย ๑ สีลัพพตปรามาส
ความลูบคล�ำ ในวตั รปฏบิ ัติอย่างอน่ื ๆ ๑ การละธรรมทงั้ สามประการนีเ้ ป็นอารมณ์
แห่งพระโสดาบันบุคคล พระสกทิ าคาละธรรม ๓ ประการนี้ และท�ำ กามราคะและ
ปฏิฆะใหเ้ บาบางลง พระอนาคาละธรรมทง้ั ๕ ประการนเ้ี ปน็ อารมณ์ พระอรหนั ต์
ละสังโยชน์ได้ทั้ง ๑๐ ประการเป็นอารมณ์ เพราะฉะน้ันจึงสมกับพระบาลีว่า
มัคคารัมมะณา ธัมมา ฉะน้ีฯ
๔๗. มคั คะเหตกุ า ธัมมา
ในบทท่ี ๔๗ นั้นมีพระบาลีว่า มัคคะเหตกุ า ธมั มา แปลวา่ ธรรมท้งั หลาย
อันเป็นเคร่ืองอุดหนุนแก่พระอริยมรรค โดยความอธิบายว่า ธรรมทั้งหลายท่ีเป็น
หิตานุหิตประโยชน์แก่พระอรยิ มรรคน้นั มอี ยู่ ๓ ประการ ธรรมทัง้ ๓ ประการนน้ั
ก็คอื ศีล สมาธิ ปัญญา ศลี นน้ั แปลว่า ละเสียจากบาป สมาธนิ ัน้ แปลวา่ จิตถอน
จากบาป ตั้งอยู่ในท่ีชอบ ไม่ตกไปในบาป ปัญญาน้ันแปลว่า รู้จักกิเลส เคร่ือง
เศร้าหมองไม่มีในจิต จิตไม่ตกไปในกิเลส ความท่ีรู้ว่ากิเลสเครื่องเศร้าหมองไม่มี
ในจิต ดังน้ี เรยี กชื่อวา่ ปัญญา ธรรมท้งั ๓ ประการ คอื ศลี สมาธิ ปญั ญานีแ้ ล
เป็นหิตานุหิตประโยชน์แก่พระอริยมรรค หรืออีกประการหน่ึง ความเห็นเป็น
พระไตรลกั ษณญาณกจ็ ดั วา่ ปญั ญาในทนี่ เี้ หมอื นกนั เพราะฉะนนั้ จงึ สมกบั พระบาลี
ว่า มัคคะเหตุกา ธัมมา ฉะน้ฯี
๔๘. มคั คาธิปะตโิ น ธัมมา
ในบทที่ ๔๘ นั้นมพี ระบาลีว่า มัคคาธิปะตโิ น ธมั มา แปลว่า ธรรมท้ังหลาย
ทเี่ ปน็ ใหญใ่ นทางทจ่ี ะด�ำ เนนิ ไปสพู่ ระนพิ พานนนั้ กไ็ ดแ้ กน่ สิ ยั ทแี่ กก่ ลา้ จงึ จะด�ำ เนนิ
ไปสพู่ ระนิพพานได้ ถ้านสิ ยั ไมแ่ ก่กลา้ แล้ว ก็ดำ�เนินไปไม่ได้ ธรรมทเี่ ป็นใหญใ่ นทน่ี ี้
ก็ได้แกท่ น่ี สิ ัยอยา่ งตา่ํ เพยี งแสนมหากปั ป์ อย่างยิง่ เพียง ๑๖ อสงไขย ถา้ ยงั ไมค่ รบ
กย็ ังเปน็ ไปไม่ได้ บุคคลทีม่ ีบารมีออ่ นแอ มนี ิสยั อ่อนแออยู่นน้ั กไ็ ดแ้ ก่พระจลุ กาล
ได้บรรพชาแลว้ กต็ ้องสึกออกไปเป็นฆราวาสอกี ดงั น้ี บุคคลผูม้ ีนสิ ยั บารมีเปน็ ใหญ่
ในทจ่ี ะด�ำ เนนิ ไปสู่พระนิพพานไดน้ นั้ ก็ไดแ้ กพ่ ระมหากาลผ้พู ี่ชายของจุลกาล ฉะน้ี
แก้ไขมาในตกิ มาติกาบทท่ี ๔๘ กย็ ุติลงแตเ่ พยี งเทา่ นีฯ้
174 อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร
๔๙. อปุ ปันนา ธัมมา
เบื้องหน้าแต่น้ีจะได้วิสัชนาในติกมาติกาบทท่ี ๔๙ สืบต่อไป โดยนัย
พระบาลีว่า อุปปันนา ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลายบังเกิดขึ้นแล้ว โดยความ
อธบิ ายวา่ ธรรมทงั้ หลายทเี่ ปน็ สมมตกิ จิ หรอื วมิ ตุ ตกิ จิ ถา้ บงั เกดิ ขนึ้ แลว้ กเ็ รยี กวา่ ชอื่
อุปปันนา ธัมมา ทั้งสน้ิ
พระสกวาทีฯ จึงถามข้ึนว่า อย่างไรจึงเรียกว่าสมมติธรรม อย่างไรจึง
เรยี กวา่ วิมุตต?ิ
พระปรวาทฯี จึงวสิ ัชนาว่า ธรรมเหลา่ ใดท่เี ปน็ อนิจจงั ทุกขัง อนัตตา ธรรม
เหล่านั้นช่ือว่าเป็นธรรมสมมติท้ังส้ิน ธรรมเหล่าใดท่ีเป็นพุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ
สังฆรัตนะ ธรรมเหลา่ น้ันชื่อวา่ เป็นวมิ ตุ ติทั้งสิ้น หรืออีกนัยหน่งึ โลกเรียกวา่ สมมติ
พระนพิ พานเรียกวา่ วมิ ตุ ติ ฉะนี้
พระสกวาทฯี จึงถามข้นึ ว่า สมมติน้ันบงั เกดิ ข้ึนแก่ใคร วิมตุ ตนิ ั้นบงั เกิดข้ึน
แก่ใคร?
พระปรวาทีฯ จึงวิสัชนาว่า สมมตินั้นก็เกิดข้ึนแก่นันทมาณพที่ไปกระทำ�
สมัครสังวาสกับนางอุบลวรรณาเถรี จนธรณีสูบเอาไปดังนี้ จึงชื่อว่าสมมติบังเกิด
ขึ้นแลว้ วิมุตตินนั้ กบ็ ังเกิดขน้ึ แกพ่ ระยสกุลบุตรเม่ือเวลาไปดูอาการฟ้อนรำ�แลว้ เกิด
ความเบือ่ หน่าย ฉะนน้ั แสดงมาท้งั นโ้ี ดยย่อๆ พอใหส้ มกบั พระบาลีว่า อปุ ปนั นา
ธมั มา ฉะนฯี้
๕๐. อะนุปปนั นา ธมั มา
ในบทที่ ๕๐ น้ันมีพระบาลวี า่ อะนุปปนั นา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทั้งหลาย
ไม่บังเกดิ ข้นึ แล้ว โดยความอธิบายว่า บคุ คลท่ีไม่มีศีลไมม่ ีธรรมแลว้ ธรรมท่ีจะนำ�
ความสขุ มาให้น้ัน ก็ไม่บังเกิดขึน้ แกบ่ ุคคลผ้นู ้นั ครน้ั ดบั ขนั ธ์ลงกค็ งไปบังเกิดในนรก
เชน่ อยา่ งนายจนุ ทสกุ รเปน็ ตน้ ฉะนน้ั อกี นยั หนงึ่ โดยพทุ ธประสงคว์ า่ อนนั ตรยิ กรรม ๕
และ นิวรณธรรม ๕ อย่างน้ี ถ้ามีอยู่ในบุคคลผู้ใดแล้ว มรรคผลธรรมวิเศษสิ่งใด
พระอภธิ รรมสังคิณีมาตกิ าบรรยาย 175
ก็ไมบ่ งั เกดิ แก่บคุ คลผู้นนั้ จดั เปน็ สัคคาวรณ์ (ห้ามสวรรค์) มัคคาวรณ์ (หา้ มมรรค)
ไปดังนี้ เพราะฉะน้ันจึงสมกับพระบาลวี ่า อะนุปปันนา ธมั มา ดงั นี้
๕๑. อปุ ปาทโิ น ธมั มา
ในบทท่ี ๕๑ นนั้ โดยนยั พระบาลวี า่ อปุ ปาทโิ น ธมั มา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลาย
อันบงั เกดิ ขึน้ แล้ว โดยความอธบิ ายว่า อปุ ปาทนิ ธรรม น้ี เปน็ ธรรมของพระอริยเจา้
เมอื่ บงั เกดิ ในบคุ คลผใู้ ด กย็ งั บคุ คลผนู้ น้ั ใหเ้ ปน็ พระอรยิ เจา้ ธรรมของพระอรยิ เจา้ นนั้
ก็คอื มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ ธรรมทัง้ ๙ เหล่าน้ี ถ้าบงั เกดิ ข้นึ แล้วก็เปน็ ของแท้
ของจริง และเป็นของไม่เส่ือมส้ินไป อีกนัยหน่ึงท่านประสงค์ว่า พระพุทธเจ้า
พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันตขีณาสพท้ังหลายท่ีล่วงลับไปแล้วนั้น ก็เรียก
ชอื่ ว่า อุปปาทิโน ธัมมา สดุ แต่เปน็ ธรรมบงั เกดิ ข้นึ แล้ว กจ็ ดั ได้ช่อื ว่าอุปปาทนิ ธรรม
ทั้งส้ิน เพราะฉะน้ันจึงสมกับพระบาลีว่า อุปปาทิโน ธัมมา ฉะน้ี แก้ไขมาใน
ติกมาตกิ าบทที่ ๕๑ โดยสังขิตตกถาเพยี งเท่าน้ฯี
๕๒. อะตีตา ธมั มา
ในล�ำ ดับน้ีจะไดว้ ิสชั นาในตกิ มาตกิ าบทที่ ๕๒ สืบตอ่ ไป โดยนยั พระบาลีวา่
อะตีตา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายทล่ี ว่ งไปแลว้ ท่จี ัดเปน็ กสุ ลา กศุ ลกด็ ี หรอื
ร่างกายทีจ่ ดั เป็นธาตุทงั้ ๔ หรือจดั เปน็ อายตนะภายใน ๖ ภายนอก ๖ ที่เกดิ ขนึ้ แล้ว
และดับสูญไปนัน้ ก็ดี เรยี กชอ่ื ว่า อะตีตา ธมั มา ทงั้ สิน้
๕๓. อะนาคะตา ธมั มา
ในบทที่ ๕๓ นั้น พระบาลีว่า อะนาคะตา ธัมมา แปลว่า ธรรมท้ังหลาย
ทยี่ งั มาไมถ่ งึ โดยความอธบิ ายวา่ บญุ กด็ ี บาปกด็ ี ทบ่ี คุ คลไดก้ ระท�ำ โดยกายวาจาใจ
แลว้ แลยงั ไมเ่ ห็นผลนนั้ ก็ชื่อว่าอนาคตธรรม หรอื อกี นัยหนง่ึ ว่า สตั ว์ท่บี งั เกิดแลว้
และยงั ไม่ถึงแกค่ วามตายน้ัน กเ็ รยี กชือ่ วา่ อนาคตธรรม หรืออกี ประการหนง่ึ บคุ คล
ทส่ี รา้ งบารมยี งั ไมเ่ ตม็ ทแ่ี ละมรรคผลธรรมวเิ ศษกย็ งั ไมเ่ กดิ มนี น้ั กเ็ รยี กชอื่ วา่ อนาคต
ธรรมเหมือนกนั เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลวี า่ อะนาคะตา ธัมมา ฉะน้ีฯ
176 อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร
๕๔. ปัจจปุ ปันนา ธมั มา
ในบทที่ ๕๔ นัน้ โดยพระบาลวี า่ ปัจจุปปนั นา ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลาย
อันบังเกิดขึ้นเฉพาะหน้า โดยความอธิบายว่า ธรรมท่ีเป็นปัจจุบันนั้นก็คือ รูป
เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ ท่เี หน็ อยู่เฉพาะหน้าน้แี ลชือ่ วา่ ปจั จบุ ันธรรม โดย
ความเปน็ จรงิ กค็ อื ไมเ่ ทยี่ ง มคี วามเกดิ ขน้ึ แลว้ กต็ อ้ งมคี วามดบั ไปเปน็ ธรรมดา และ
เป็นทุกข์เหลือที่จะทน จนตั้งอยู่ไม่ได้ต้องดับไป ไม่มีวิสัยท่ีจะฝ่าฝืน และไม่เป็น
ไปตามอำ�นาจของทา่ นผู้ใด อนจิ จงั ทุกขัง อนตั ตา นแี้ ลเป็นปจั จุบันธรรม แลเป็น
วปิ สั สนาปญั ญา เปน็ ธรรมท่ีคงทนตอ่ ความเพียร เมอื่ บคุ คลผู้ใดเหน็ ปจั จุบนั ธรรม
คอื อนิจจงั ทกุ ขัง อนัตตา นใี้ ห้แจ้งชัดแล้ว บคุ คลผู้น้ันกจ็ ัดเป็นผู้สามารถจะยังศลี
สมาธิ ปญั ญา ใหบ้ รสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณข์ นึ้ ในตนได้ เพราะอารมณข์ องปจั จบุ นั ธรรมนน้ั นอ้ ย
ยอ่ มเปน็ อารมณอ์ นั สะดวกดี ปจั จบุ นั ธรรมนี้ เมอื่ บคุ คลผใู้ ดมารแู้ จง้ เหน็ ชดั ตามความ
เปน็ จรงิ อยา่ งไรแลว้ บคุ คลผนู้ นั้ กเ็ ปน็ ผไู้ มฝ่ า่ ฝนื และไมต่ อ้ งแกไ้ ขยกั ยา้ ย เมอ่ื เปน็ อยู่
อย่างไรก็รู้ตามเห็นตามไปอย่างน้ัน ก็เป็นทางสัมมาทิฏฐิปฏิบัติอยู่เอง เพราะมา
รู้เห็นตามความเป็นจริงอย่างไร ย่อมถูกต้องตามพระพุทธประสงค์ ซ่ึงพระองค์
ทรงบณั ฑรู เทศนาไวว้ า่ อะสงั หริ งั อะสงั กปุ ปงั แปลวา่ ธรรมไมง่ อ่ นแงน่ คลอนแคลน
และเป็นธรรมไม่กำ�เริบจลาจล เป็นธรรมทนต่อความเพียรจริงดังนี้ ปัจจุบันธรรม
น้ีแล เป็นมัชฌิมาปฏิปทา หนทางปฏิบัติอย่างกลาง เม่ือจะสันนิษฐานตามนัย
พระสุตตันตโวหารแลวนิ ยั บัญญัติ ปรมัตถ์ ๔ ธรรมทั้ง ๓ ปฎิ ก ทพี่ ระองคท์ รงตรัส
สอนพระปัญจวัคคีย์ภิกขุน้ัน ก็มีพระพุทธประสงค์จะให้เห็นตามความที่เป็นจริง
โดยสภาพอันเป็นปัจจุบันนี้เอง เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า ปัจจุปปันนา
ธัมมา ฉะน้ี แก้ไขมาในตกิ มาติกาบทท่ี ๕๔ กย็ ุตลิ งแต่เพยี งเทา่ นีฯ้
๕๕. อะตตี ารมั มะณา ธมั มา
เบอ้ื งหนา้ แตน่ จี้ ะไดว้ สิ ชั นาในตกิ มาตกิ าบทที่ ๕๕ สบื ตอ่ ไป โดยนยั พระบาลวี า่
อะตตี ารมั มะณา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายมอี ดตี เปน็ อารมณ์ โดยเนอ้ื ความวา่
บคุ คลมาระลกึ ถงึ ทานศลี ทตี่ นไดบ้ �ำ เพญ็ ไวแ้ ลว้ ใหเ้ ปน็ อารมณว์ า่ ทานทเ่ี ราไดใ้ หแ้ ลว้
ดว้ ยตดั รากมจั ฉรยิ ะตระหนเี่ สยี ได้ แลจติ ของเรากเ็ ปน็ จติ บรสิ ทุ ธิ์ สะอาด ปราศจาก
พระอภธิ รรมสงั คณิ ีมาติกาบรรยาย 177
โลภมจั ฉรยิ ธรรมแลว้ แลจดั เปน็ จาคานสุ ติ แปลวา่ ระลกึ ถงึ กเิ ลสทต่ี นละไดแ้ ลว้ ดงั นี้
ก็ดี หรือ สีลานุสติ แปลวา่ ระลกึ ถึงศลี ทร่ี กั ษาแลว้ ดว้ ยละโลภะ โทสะ โมหะ เสยี
ได้ แลจติ ของเราก็เป็นจติ ผอ่ งใส สะอาด ปราศจากอภชิ ฌาพยาบาทไดแ้ ล้วดงั น้กี ็ดี
บคุ คลมาระลึกถงึ คุณแห่งทาน ศีล เปน็ ตน้ ท่ตี นได้บำ�เพ็ญไวแ้ ล้วก็ดี ก็จัดได้ชื่อวา่
อตตี ารมณ์ทั้งสิน้ เพราะฉะนัน้ จงึ สมกบั พระบาลวี า่ อะตีตารมั มะณา ธมั มา ฉะน้ฯี
๕๖. อะนาคะตารัมมะณา ธมั มา
ในบทท่ี ๕๖ น้นั มีพระบาลีว่า อะนาคะตารมั มะณา ธัมมา แปลวา่ ธรรม
ทง้ั หลายมีอนาคตเปน็ อารมณ์ โดยเน้อื ความวา่ บคุ คลมาคิดถึงตนวา่ นัตถิ ญาณัง
อะปญั ญสั สะ คณุ ะสมั ปตั ติ สงิ่ หนงึ่ สง่ิ ใดเปน็ ตน้ วา่ ญาณหรอื ปญั ญากด็ ยี งั ไมม่ แี กเ่ รา
เราก็ยงั ไมไ่ ด้ไมถ่ ึงซึ่งคณุ ธรรมอะไร ยัมหิ ญาณญั จะ ถ้าเรามีญาณมปี ัญญาแลว้ ไซร้
นพิ พานงั สนั ตเิ กกจ็ ะไดช้ อื่ วา่ เราเปน็ ผนู้ งั่ ใกลก้ บั พระนพิ พานดงั นี้เมอ่ื บคุ คลมาคดิ ถงึ
แตค่ วามโงข่ องตนขน้ึ แลว้ แลมาอตุ สาหะบ�ำ เพญ็ ฌานสมาบตั ิ แลวมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ
คอื ความรแู้ จง้ เหน็ ชดั ในพระนพิ พานธรรม เพอ่ื จะใหบ้ งั เกดิ ในตน ดงั น้ี กจ็ ดั ไดช้ อ่ื วา่
อนาคตารมณ์ สมกับพระบาลีว่า อะนาคะตารมั มะณา ธมั มา ฉะนีฯ้
๕๗. ปัจจปุ ปนั นารัมมะณา ธมั มา
ในบทท่ี ๕๗ นนั้ โดยนัยพระบาลีวา่ ปัจจปุ ปันนารมั มะณา ธัมมา แปลวา่
ธรรมทั้งหลายมีปัจจุบันเป็นอารมณ์แห่งจิต โดยเน้ือความว่า บุคคลผู้มาพิจารณา
ตนว่า ในเวลานี้เรามคี วามสุขเพราะกศุ ลวิบาก คือผลแห่งสุจรติ ทัง้ ๓ ในเวลานี้เรา
มคี วามทกุ ขเ์ พราะอกศุ ลวบิ าก คอื ผลแหง่ ทจุ รติ ทงั้ ๓ ดงั น้ี โดยความอธบิ ายวา่ บคุ คล
ผู้มสี ตไิ มเ่ ผลอไปในเวลาเมอ่ื ได้เสวยสขุ ทกุ ขอ์ ันบังเกดิ ข้ึนเฉพาะหนา้ แลว้ เอาวบิ าก
แหง่ สจุ รติ นน้ั ใหเ้ ปน็ อารมณ์ ไมต่ อ้ งไปแสวงหาทอี่ น่ื ไกล โดยพระพทุ ธประสงคน์ นั้ ก็
คือ ให้พิจารณาในสตปิ ัฏฐานท้ัง ๔ น้ันเอง เรียกช่อื วา่ ปจั จปุ ปันนารัมมะณะธรรม
เพราะเป็นธรรมบังเกิดอยู่ที่เฉพาะหน้า ตามอิริยาบถทั้ง ๔ เพราะฉะนั้นจึง
สมกบั พระบาลวี า่ ปจั จปุ ปนั นารมั มะณา ธมั มา ฉะน้ี แกไ้ ขมาในตกิ มาตกิ าบทที่ ๕๗
แตโ่ ดยสงั ขติ ตกถาเพยี งเทา่ น้ีฯ
178 อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร
๕๘. อชั ฌัตตา ธมั มา
ในลำ�ดับนี้จะได้วิสัชนาในติกมาติกาบทที่ ๕๘ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลี
ว่า อัชฌัตตา ธัมมา แปลว่า ธรรมท้ังหลายอันเป็นภายใน โดยเนื้อความวา่ ธรรม
ท่เี ป็นภายในนน้ั ท่านประสงคธ์ รรม ๒ ประการ คือ ธรรมท่เี ปน็ ฝ่ายกศุ ล ๑ ธรรม
ท่เี ปน็ ฝ่ายอกศุ ล ๑
ธรรมท่ีเป็นฝ่ายกุศลนั้นคือฌานท้ัง ๕ ธรรมท่ีเป็นฝ่ายอกุศลนั้นคือนิวรณ์
๕ ธรรมทั้งสองน้ี ก็จัดเป็นอัชฌัตตธรรม บังเกิดข้ึนในภายในอย่างหน่ึง หรืออีก
นัยหนงึ่ อาการ ๓๒ ซงึ่ จดั เปน็ ดนิ ๒๐ นํา้ ๑๒ ลม ๖ ไฟ ๔ เหลา่ นก้ี ็ดี หรอื จัดเป็น
อายตนะ ๖ คอื จกั ขุ โสตะ ฆานะ ชวิ หา กาย ใจ เหลา่ นกี้ ด็ ี จะเรยี กชอื่ วา่ อชั ฌตั ตกิ ธรรม
ทงั้ สน้ิ เพราะฉะน้ันจงึ สมกับพระบาลีว่า อัชฌตั ตา ธมั มา ฉะน้ฯี
๕๙. พะหิทธา ธัมมา
ในบทที่ ๕๙ นน้ั มพี ระบาลวี า่ พะหทิ ธา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอนั เปน็
ภายนอก โดยเน้อื ความวา่ ดนิ น้าํ ไฟ ลม อันเปน็ ที่อาศยั ของหมสู่ ตั วท์ ว่ั ไป อันเป็น
ตะวนั ดวงพระอาทติ ยก์ ด็ ี จะเรยี กวา่ เตโชธาตกุ ด็ ี หรอื พน้ื แผน่ ดนิ เรยี กวา่ ปฐวธี าตุ
กด็ ี หรอื ลมพดั ท่วั ไปให้ใบไมไ้ หว แลลมพายุใหญ่พัดใหต้ ้นไม้หักลม้ ลง หรอื ลมพายุ
พัดให้นา้ํ ฝนตกลงมาทเี่ รียกวา่ วาโยธาตกุ ็ดี หรอื น้ําทัว่ ไปซ่งึ มใี นบึงบางห้วยหนอง
เป็นตน้ ทเี่ รยี กว่า อาโปธาตกุ ด็ ี หรอื อายตนะภายนอก ๖ คือ รูป เสยี ง กลน่ิ รส
โผฏฐพั พะ ธรรมารมณ์ เหลา่ นกี้ ็จัดเป็น พาหริ ะกะธรรม ทง้ั ส้นิ ดังน้ี เพราะฉะนน้ั
จงึ สมกับพระบาลวี า่ พะหทิ ธา ธมั มา ฉะนฯ้ี
๖๐. อชั ฌัตตะพะหิทธา ธัมมา
ในบทท่ี ๖๐ นน้ั มพี ระบาลวี า่ อชั ฌตั ตะพะหทิ ธา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลาย
อันมีท้ังภายในและภายนอก โดยเนื้อความว่า ธรรมที่จัดเป็นภายในภายนอกนั้น
ก็เป็นเหตุอาศัยซ่ึงกันและกันไป ธรรมภายในก็เป็นเหตุให้ละกิเลสภายนอกได้
ธรรมภายนอกกเ็ ป็นเหตุให้ละกเิ ลสภายในได้ เปรียบเหมอื นหนง่ึ พระปทุมกุมารได้
ทัศนาการเห็นดอกปทุมชาติบัวหลวงแล้ว ก็บังเกิดโยนิโสมนสิการ พิจารณาเห็น
พระอภิธรรมสงั คิณีมาติกาบรรยาย 179
โดยพระไตรลักษณญาณแล้ว ก็ได้สำ�เร็จเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วยอำ�นาจพระ
ไตรลกั ษณญาณ แตต่ อ้ งอาศยั ธรรมภายนอก คอื ดอกปทมุ ชาตบิ วั หลวงเปน็ เหตกุ อ่ น
จงึ สำ�เร็จได้ เพราะเหตนุ ั้นจึงสมกับพระบาลวี า่ อัชฌตั ตะพะหิทธา ธมั มา ดงั น้ี
อกี ประการหนึ่งความเกดิ แก่ เจ็บ ตาย กจ็ ดั เป็น พาหิระกะธรรม เพราะ
เป็นธรรมเกิดข้ึนเป็นสัตว์ เป็นบุคคล ต้องอาศัยเหตุภายนอกคือมารดาบิดาก่อน
จงึ จะบังเกิดขนึ้ ได้ วญิ ญาณน้นั ไซรเ้ ปน็ ธรรมภายใน มารดาบดิ าเป็นธรรมภายนอก
ความแกน่ น้ั กม็ ี ๒ ประการ คอื ปฏจิ ฉนั นะชรา ความแกภ่ ายใน ๑ อปั ปฏจิ ฉนั นะชรา
ความแกภ่ ายนอก ๑ พยาธิ ความเจ็บกายไมส่ บายใจก็มอี ยู่ ๒ คือ ความเจบ็ ปวด
บงั เกดิ ขนึ้ ความไมส่ บายในใจ เจบ็ ใจ แคน้ ใจ จดั เปน็ อชั ฌตั ตกิ ธรรมภายใน ความตาย
เป็นพาหิรกธรรมภายนอก ความตายกม็ ีอยู่ ๒ ประการ คือ ตายด้วยโรค บังเกดิ ขนึ้
ภายในกาย เรยี กวา่ อชั ฌตั ตมรณธรรมภายใน ๑ ตายดว้ ยเครอ่ื งศาสตราวธุ เปน็ ตน้
อันเกิดข้ึนด้วยความเพียรของท่านผู้อื่น เรียกว่า พาหิรกมรณธรรมภายนอก ๑
เพราะเหตนุ นั้ ความเกดิ แก่ เจบ็ ตาย เปน็ ตน้ เหลา่ นี้ เมอ่ื จะกลา่ วถงึ โสกปรเิ ทวทกุ ข์
ตา่ งๆ นน้ั แล้ว ก็มนี ยั เชน่ เดยี วอยา่ งเดยี วกนั บางทีบังเกดิ แต่เหตุภายในอาศัยเหตุ
ภายนอกก็มี บางทีบังเกิดแต่เหตุภายนอกอาศัยเหตุภายในก็มี เพราะฉะน้ันจึงได้
ช่ือว่า อัชฌตั ตะพะหิทธา ธมั มา นี้ แก้ไขมาในตกิ มาติกาบทที่ ๖๐ แต่โดยสงั เขป
เพยี งเท่านฯี้
๖๑. อัชฌตั ตารมั มะณา ธัมมา
ในลำ�ดับน้ีจะได้วิสัชนาในติกมาติกาบทท่ี ๖๑ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลี
ว่า อชั ฌตั ตารัมมะณา ธัมมา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายอนั มอี ารมณ์เป็นภายใน โดย
เน้ือความว่า พระโยคาวจรเจ้าผู้แสวงหาซึ่งความสุขสำ�ราญใจ แลมาเจริญฌาน
สมาบัติให้บังเกิดข้ึนในตน เพราะฌานสมาบัติน้ันเป็นธรรมบังเกิดข้ึนในภายใน
ท่านท้ังหลายเหล่าน้ีย่อมแสวงหาแต่ความระงับ เพ่งเอาแต่สมาบัติให้เป็นอารมณ์
เช่นเดียวกับสัทธิวิหาริกของพระสารีบุตร เมื่อเวลาเขาจะเอาไปฆ่า พระสารีบุตร
จึงไปเตือนให้สติ ก็ระลึกถึงฌานที่ตนเคยได้เจริญนั้นได้ ก็เพ่งฌานความระงับน้ัน
ใหเ้ ปน็ อารมณแ์ ล้ว ก็เหาะหนีรอดความตายไปได้
180 อาจาริยบชู า พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร
โดยความอธบิ ายวา่ ก็ไดแ้ กธ่ รรมท่เี ย็นใจ ความบริสุทธ์ิใจเย็นใจนีแ้ ล เป็น
ธรรมภายในแผ่ซ่านออกไปให้เป็นอารมณ์ในภายนอก บุคคลจะได้ประสบซึ่ง
ความสุขกายสบายจิตท้ังภายในแลภายนอกนั้น ก็ต้องอาศัยธรรมภายในดวงเดียว
มคี วามบรสิ ทุ ธใ์ิ จแผซ่ า่ นออกไปเปน็ อารมณภ์ ายนอก ธรรมภายในคอื ความบรสิ ทุ ธ์ิ
ภายในใจดวงเดียวนี้แล ย่อมสามารถจะยังสรรพทุกข์ภัยอุปัทวันตรายทั้งปวง
ให้เข้าไประงับดับเสียได้ สมดังนัยพระพุทธสุภาษิตว่า ปะริตตัง พุทธะมันตานัง
ปะวะรงั สพั พะมันตานงั อัชฌตั ติกะพาหเิ รชาตัง อันตะรายงั วสิ าสะนงั ปะริตตา
นภุ าเวนะ ละภนั ติ สัพพะมังคะลงั ดังนี้
โดยความอธิบายว่า ธรรมภายในคือใจบริสุทธ์ิ ใจบริสุทธ์ินั้นเรียกว่าธรรม
มปี ระมาณนอ้ ย ปะรติ ตงั แปลวา่ พระนพิ พาน เปน็ ธรรมมปี ระมาณนอ้ ย ธรรมนอ้ ย
ดวงเดียวนแี้ ล พทุ ธะมันตานงั เป็นมนต์ของพระพทุ ธเจ้า ปะวะรัง สัพพะมนั ตานัง
และเป็นมนต์อันประเสริฐกว่ามนต์ทั้งปวง อัชฌัตติกะพาหิเรชาตัง อันตะรายัง
วสิ าสะนงั อันตรายอนั หนงึ่ อันใดซ่งึ บังเกดิ มีภายในแลภายนอก ก็ย่อมเส่ือมสญู ไป
โดยอำ�นาจแหง่ พระปรติ ร คือพระนิพพานเป็นธรรมมปี ระมาณน้อยนเ่ี อง ปะรติ ตา
นุภาเวนะ ละภันติ สัพพะมังคะลัง สรรพสัตว์ท้ังหลายจะได้ประสบซึ่งความสุข
ส�ำ ราญใจกไ็ ดเ้ พราะอานภุ าพแหง่ พระปรติ รอนั เปน็ ธรรมมอี ารมณภ์ ายในอยา่ งเดยี ว
เพราะฉะนนั้ จงึ ได้ช่ือวา่ อชั ฌัตตารัมมะณา ธัมมา ฉะนี้ฯ
๖๒. พะหิทธารัมมะณา ธัมมา
ในบทท่ี ๖๒ นน้ั มพี ระบาลวี า่ พะหทิ ธารมั มะณา ธมั มา แปลวา่ ธรรมทงั้ หลาย
อันมีอารมณ์เป็นภายนอก โดยเน้อื ความว่า บุคคลท้ังหลายเมื่อได้ประสบซ่งึ เวทนา
อนั ใดอนั หนง่ึ แลว้ กย็ อ่ มเอารปู เปน็ อารมณ์ เพราะรปู นน้ั เปน็ พาหริ กธรรมภายนอก
สว่ นเวทนานั้นก็หาได้ระงบั ลงไม่ กลับได้เสวยซ่ึงเวทนากล้าย่ิงๆ ยิง่ ข้ึนไป เปรยี บ
เหมอื นจนั ทคหาบณั ฑติ ทไ่ี ดป้ ระสบซง่ึ ความทกุ ขเวทนาแลว้ แลเพง่ เอารปู ภายนอก
เปน็ อารมณ์ จนถึงแก่ความตายไปด้วยพวกโจรน้ัน
โดยความอธิบายว่า ความไม่สงบระงับใจ คือความเดือดร้อนข้ึนในใจ
แต่ใจน้ันก็เป็นธรรมชาติด้ินรนเดือดร้อนอยู่โดยปกติธรรมดาของตนแล้ว มิหนำ�ซ้ํา
พระอภธิ รรมสังคิณีมาตกิ าบรรยาย 181
ยังเอาธรรมภายนอก ซึ่งมิใช่ธรรมเคร่ืองระงับเข้ามาเป็นอารมณ์อีกเล่า ก็ยิ่งร้อน
หนกั ทวขี น้ึ ไป เพราะเหตนุ น้ั สมเดจ็ พระบรมศาสดาจงึ ไดท้ รงตรสั เทศนาสง่ั สอนแก่
พุทธบริษัททั่วไปว่า ธรรมภายนอกไม่ใช่ธรรมเครื่องระงับ และไม่ใช่ธรรมของเรา
ตถาคต ดงั นี้ เพราะฉะน้นั จงึ สมกับพระบาลวี า่ พะหทิ ธารัมมะณา ธมั มา ฉะน้ี
๖๓. อัชฌตั ตะพะหทิ ธารัมมะณา ธมั มา
ในบทท่ี ๖๓ นั้นโดยนัยพระบาลีว่า อัชฌัตตะพะหิทธารัมมะณา ธัมมา
แปลว่า ธรรมท้ังหลายมีภายในแลภายนอกเป็นอารมณ์ โดยเนื้อความว่า ธรรม
ทง้ั หลายมอี ารมณเ์ ปน็ ๒ บงั เกดิ ขน้ึ พรอ้ มกนั แลว้ แลถอื เอาเปน็ อารมณ์ เพราะเหตนุ นั้
จงึ ชอื่ วา่ อชั ฌตั ตะพะหทิ ธารมั มะณา ธมั มา ดงั น้ี เมอ่ื จะชบ้ี คุ คลทไี่ ดส้ �ำ เรจ็ มรรคผล
ธรรมวิเศษให้เห็นเป็นตัวอย่างด้วยอำ�นาจแห่งธรรมท้ัง ๒ ประการน้ี ก็มีที่มามาก
เป็นอเนกประการ
ดงั พระภกิ ษุ ๓๐ รปู ไดเ้ หน็ พยบั แดดแลว้ กน็ กึ เปรยี บเทยี บกบั กายของตนวา่
ธรรมในกายของเราน้ีกเ็ ช่นเดียวกับพยับแดดฉะน้ี ในทนั ใดนนั้ สมเด็จพระศาสดา
กท็ รงเปลง่ พระรศั มไี ปใหต้ อ้ งกายของพระภกิ ษุ ๓๐ รปู นน้ั แลว้ จงึ ทรงตรสั เทศนาวา่
เอสะธมั โม สะนนั ตะโน ธรรมดวงเดยี วนแ้ี ลเปน็ ธรรมของเกา่ เปน็ ธรรมของพระอรยิ เจา้
ธรรมดวงเดียวเป็นธรรมของเก่าน้ันคือพระนิพพานนี้เอง พระภิกษุทั้ง ๓๐ รูปนั้น
ก็ได้บรรลุอาสวักขัยเป็นพระอรหันตขีณาสพ เหาะลอยมาสู่สำ�นักสมเด็จพระบรม
ศาสดา แลว้ จงึ กลา่ วสรรเสรญิ ซงึ่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆโ์ ดยอเนกปรยิ าย
โดยความอธิบายว่า พระอริยเจ้าท่านเอาธรรมภายนอกเปรียบกับธรรมภายใน
เอาธรรมภายในออกเป็นอารมณ์ภายนอกดังนี้ เพราะฉะนั้นจึงสมกับพระบาลีว่า
อชั ฌตั ตะพะหิทธารมั มะณา ธมั มา ฉะน้ี แสดงมาในตกิ มาตกิ าบทที่ ๖๓ แต่โดย
สงั เขปกถาก็ยุตลิ งเพยี งเทา่ นฯ้ี
๖๔. สะนิทสั สะนะสปั ปะฏิฆา ธัมมา
ในลำ�ดับนี้จะได้วิสัชนาในติกมาติกาบทที่ ๖๔ สืบต่อไป โดยนัยพระบาลี
ว่า สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลายเป็นไปกับด้วยความ
182 อาจารยิ บูชา พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร
คบั แคน้ นน้ั กเ็ พราะความทไี่ ดเ้ หน็ ซงึ่ อนฏิ ฐารมณ์ อนั ไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ทป่ี รารถนาของตน
เป็นต้นว่า ได้เห็นโจรผู้ร้ายหรือได้เห็นสัตว์ดุร้ายต่างๆ มี เสือ หมี เป็นต้น หรือ
บางทีได้เห็นบุคคลต่างๆ มีเจ้าหนี้และบุคคลผู้ประทุษร้ายแก่ตน เป็นต้น เช่นกับ
พระอานนท์ถึงซ่ึงความคับแค้นข้ึนในใจ เพราะได้เห็นช้างนาฬาคิรีวิ่งเข้ามาจะ
ประทุษร้ายแก่ตนกับพระพุทธเจ้า ในกาลคร้ังนั้น พระอานนท์ก็บังเกิดความ
เดอื ดรอ้ นคบั แค้นขึ้นในใจ เพราะความที่ได้เหน็ ฉะนี้ฯ
๖๕. อะนิทัสสะนะสัปปะฏฆิ า ธมั มา
ในบทที่ ๖๕ นนั้ มพี ระบาลวี า่ อะนทิ สั สะนะสปั ปะฏฆิ า ธมั มา แปลวา่ ธรรม
ท้ังหลายบังเกิดคับแค้นขึ้นในใจเพราะความที่ไม่ได้เห็น โดยเน้ือความว่าบุคคล
ท้ังหลายในโลกน้ี เม่ือเวลาได้ประสบซึ่งความพลัดพรากจากสัตว์แลสังขารอันเป็น
ท่ีรักที่เจริญใจ หรือเมื่อเวลาทรัพย์แลสมบัติฉิบหายไปด้วยภัยอันใดอันหนึ่งก็ดี
ย่อมบังเกดิ ความคบั แคน้ ขึน้ ในใจเพราะความท่ไี ม่ได้เห็น
ดังมีบุคคลเป็นนิทัศนอุทาหรณ์ว่า ยังมีบุรุษผู้หนึ่งไปเรียนมนต์ปลาอยู่ใน
สำ�นักของอาจารย์แห่งหน่ึง ครั้นจำ�ได้จนชำ�นิชำ�นาญแล้ว จึงลาอาจารย์ไปกระทำ�
บริกรรมอยู่ที่หาดทรายริมฝั่งแม่น้ําแห่งหน่ึง ตั้งความเพียรบริกรรมไปๆ ก็ไม่เห็น
ปลามา ตัวเองบังเกิดความคับแค้นข้ึนในใจ คร้ันรู้ถึงอาจารย์ อาจารย์จึงบอกว่า
ท่านอย่าบริกรรมลืมตาขึ้น ปลามันกลัว บุรุษน้ันก็กระทำ�ตามลัทธิของอาจารย์
นงั่ หลบั ตาบรกิ รรมไป อาจารยก์ จ็ บั ปลามาใสล่ งในบอ่ ทบ่ี รุ ษุ นนั้ บรกิ รรมอยู่ ครนั้ บรุ ษุ
น้ันลมื ตาข้ึนก็ไดเ้ ห็นปลา ก็บงั เกิดความดีใจ สิ้นความคับแคน้ ในใจ ดงั น้ี เพราะเหตุ
นัน้ จึงไดช้ อ่ื วา่ อะนทิ สั สะนะสปั ปะฏิฆา ธมั มา ฉะนฯ้ี
๖๖. อะนทิ สั สะนาปปะฏิฆา ธมั มา
ในบทที่ ๖๖ นั้น โดยมีนัยพระบาลีว่า อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา
แปลวา่ ธรรมท้ังหลายจะมีความคบั แคน้ ในใจก็ไม่ใช่ จะไมเ่ หน็ กไ็ มใ่ ช่ แตด่ บั กเิ ลส
ได้โดยอาศัยอำ�นาจของตนเอง โดยเน้ือความ อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา นี้ก็
ได้แก่ นโิ รธธรรม ดว้ ยอรรถว่าดว้ ยความเหน็ และความไมเ่ หน็ ไดแ้ ก่เม่อื นิโรธธรรม
พระอภธิ รรมสงั คณิ ีมาตกิ าบรรยาย 183
บังเกิดขึ้นแล้ว นิวรณ์ธรรมท้ัง ๕ ก็ดับไป โอวาทคำ�ส่ังสอนอันใดอันหนึ่งก็ดับไป
วติ ก วจิ าร ปีติ สขุ กไ็ มม่ ีในนิโรธธรรม เพราะฉะนั้นจึงแปลวา่ จะคบั แค้นก็ไม่ใช่
จะเหน็ ก็ไมใ่ ช่ แตล่ ะกิเลสไดด้ ว้ ยความไม่ต้องเหน็ นัน้ กไ็ ด้แกพ่ ระอรยิ มรรค ไมเ่ หน็
ก็จริงอยู่ แต่รู้ว่าตัณหาราคะ โทสะ โมหะ ไม่มี เปรียบเหมือนบุคคลนอนหลับ
ฝันไปได้เห็นรูปสัตว์ต่างๆ มีเสือและช้างเป็นต้น บุคคลนอนหลับแลฝันไปนั้น
จะเห็นก็ไม่ใช่ ถ้าจะว่าเห็นหรือ เสือช้างก็ไม่มี ถ้าจะว่าไม่เห็นหรือ ก็เห็นในฝัน
ไปแลว้ ฉนั ใดก็ดี พระธรรมทีช่ ื่อว่า อะนทิ ัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา ก็มอี ปุ มาอปุ ไมย
เหมอื นกนั กบั บุคคลท่นี อนหลบั ฝันไป ฉะนัน้ ฯ
อาตมารบั ประทานวสิ ชั นามาในพระอภธิ รรมมาตกิ า ๒๒ ตกิ ะ ๖๖ มาตกิ า
แต่โดยสังเขปกถาพอเป็นธรรมสวนานิสงส์ก็ยุติลงโดยสมควรแก่กาลเพียงเท่านี้
เอวงั ฯ
(จตั ตาโร ธัมมา วฑั ฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พลัง)
รายชื่อหนังสือของชมรมพุทธศาสน์
การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย ซึง่ จัดพมิ พเ์ ผยแพรแ่ ล้ว
*๑. พุทธศาสนปฏิบตั อิ ย่างไร
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว รชั กาลปจั จบุ ัน
พมิ พ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๖ ๘,๐๐๐ เล่ม
พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๒๖ ๘,๐๐๐ เล่ม
*๒. โสฬสธรรม ๘,๐๐๐ เล่ม
ธรรมเทศนา สมเด็จพระญาณสังวร ๘,๐๐๐ เล่ม
พิมพค์ ร้ังท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๒๖
พมิ พค์ รั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๒๖
*๓. พระอาจารย์มั่น ภูรทิ ัตตเถระ
ชีวประวัติ ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๗ ๒๐,๐๐๐ เลม่
*๔. อัตตโนประวตั ิ
อัตตโนประวัติ พระนิโรธรังสีคัมภรี ปญั ญาจารย์
พมิ พค์ รั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๗ ๑๐,๐๐๐ เลม่
พิมพ์คร้งั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑๐,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ครั้งท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๒๗ ๑๐,๐๐๐ เล่ม
*๕. อนาลโยบชู า
พระธรรมเทศนา พระอาจารย์ขาว อนาลโย และประวตั วิ ดั ถ้ำ�กลองเพล
พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๗ ๑๐,๐๐๐ เลม่
185
*๖. ประทปี ในตา่ งแดน ๑๒,๐๐๐ เล่ม
พระธรรมเทศนา พระอาจารย์สุวัจน์ สวุ โจ
พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๘
*๗. สตั ตรัตน์ ๑๒,๐๐๐ เลม่
พระธรรมเทศนา พระอาจารยห์ ลยุ จันทสาโร ๑๒,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ครงั้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๒๘
พิมพค์ รั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๓
*๘. บทสวดมนต์ฉบับกัลยาณชน พร้อมคำ�แปล ๒๐,๐๐๐ เลม่
พิมพค์ ร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๘
*๙. ธัมมวโรวาท
พระธรรมเทศนา พระอาจารย์สงิ หท์ อง ธมั มวโร
พิมพค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๘ ๘,๐๐๐ เลม่
* ๑๐. ประวัติทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภูริทตั ตเถระ ๕,๐๐๐ เล่ม
ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสมั ปันโน
พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๙
* ๑๑. ประทปี แห่งทวีปเอเชยี ๑๐,๐๐๐ เลม่
โดย เซอร์ เอดวนิ อารโ์ นลด์
พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๐
* ๑๒. พระพุทธเจ้าทรงส่ังสอนอะไร ๑๕,๐๐๐ เลม่
โดย สมเดจ็ พระญาณสังวร
พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๐
* ๑๓. พระราชวฒุ าจารย์ (หลวงปู่ดลู ย์ อตโุ ล) ๒๐,๐๐๐ เลม่
ประวตั ชิ วี ิต - คตธิ รรม - ธรรมเทศนา
โดย พระครูนันทปญั ญาภรณ์
พมิ พค์ รั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๑
186 อาจาริยบูชา พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
* ๑๔. พระอุบาสีคุณูปมาจารย์ (สริ จิ นโฺ ท จันทร์)
อัตตโนประวัติ ธรรมบรรยาย และคริ มิ านนทสตู ร
พิมพค์ ร้ังท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๑ ๑๕,๐๐๐ เล่ม
*๑๕. แสงสอ่ งใจให้เพียงพรหม
พระธรรมนพิ นธ์
สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก
พมิ พค์ รั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๒ ๒๐,๐๐๐ เลม่
*๑๖. พทุ ธศาสนสุภาษติ
พระธรรมนพิ นธ์
สมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑๐,๐๐๐ เลม่
*๑๗. ปฏิบตั ธิ รรมใหถ้ ูกทาง ๑๐,๐๐๐ เลม่
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต)
พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๕
* ๑๘. ชีวประวัติ หลวงพ่อเกษม เขมโก ๑๕,๐๐๐ เล่ม
พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๕
*๑๙. พทุ ธวธิ แี ก้ปญั หาเพื่อศตวรรษท่ี ๒๑ ๑๐,๐๐๐ เล่ม
พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตฺโต)
พมิ พ์ครัง้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๗
*๒๐. สมุ งคลปชู า ๑๒,๐๐๐ เล่ม
พระปัญญาพิศาลเถระ (ไพบูลย์ สุมงคโล)
พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๓๗
*๒๑. ราชสังวรญาณปชู า ๒๐,๐๐๐ เล่ม
พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อพธุ ฐานโิ ย)
พิมพค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๘
187
* ๒๒. ชวี ติ และสังคมที่สมบูรณ์ ๑๐,๐๐๐ เลม่
พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต)
พิมพ์ครง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๘
*๒๓. ธรรมะหลวงปหู่ ลา้ เขมปัตโต ๑๕,๐๐๐ เลม่
พิมพ์ครงั้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๙
*๒๔. หลวงปูแ่ หวน สุจณิ ฺโณ ๑๕,๐๐๐ เลม่
พมิ พ์คร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๐
*๒๕. พระโพธิญาณเถร (หลวงพอ่ ชา สภุ ทโฺ ท) ๑๕,๐๐๐ เลม่
พมิ พค์ รั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๐
*๒๖. มรดกธรรม ๑๕,๐๐๐ เลม่
พทุ ธทาส อินทปญั โญ
พมิ พ์คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๑
*๒๗. พระครูบาเจา้ ศรีวิชยั นักบญุ แหง่ ลา้ นนาไทย
พมิ พ์คร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ ๑๕,๐๐๐ เลม่
*๒๘. สมาธิ ๑๕,๐๐๐ เล่ม
อาจารยเ์ สฐยี รพงษ์ วรรณปก
พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๒
*๒๙. หยดน�ำ้ บนใบบัว ๘,๐๐๐ เล่ม
พระราชญาณวิสุทธโิ สภณ
พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๒
* ๓๐. เศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดำ�ริ
ดร. สุเมธ ตนั ติเวชกุล
พิมพ์ครงั้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๓ ๗,๐๐๐ เลม่
* ๓๑. ทา่ นพ่อลี ธมมฺ ธโร ๑๒,๐๐๐ เลม่
พมิ พ์ครั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๓
188 อาจาริยบูชา พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร ๑๕,๐๐๐ เลม่
* ๓๒. ธรรมะส�ำ หรับผู้บริหาร ๖,๐๐๐ เลม่
พระเทพบณั ฑิต
พมิ พ์คร้ังท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๑๒,๐๐๐ เล่ม
* ๓๓. อาจารยส์ ุชพี ปญุ ญานุภาพ ๑๒,๐๐๐ เล่ม
พิมพค์ รั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๔
๑๒,๐๐๐ เลม่
*๓๔. พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร
พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๘,๐๐๐ เล่ม
๓,๐๐๐ เล่ม
*๓๕. ธมั มานุธัมมปฏบิ ัติ
พมิ พ์ครั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๒,๐๐๐ เลม่
๓๖. พระอาจารย์วนั อุตฺตโม ๑๐,๐๐๐ เล่ม
พมิ พ์คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๔,๕๐๐ เล่ม
*๓๗. เทสโกวาท ๑๒,๐๐๐ เลม่
พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๕
พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๕,๐๐๐ เล่ม
๓,๐๐๐ เล่ม
* ๓๘. หลวงปอู่ อ่ น ญาณสริ ิ
พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๖
๓๙. พระอาจารยเ์ สาร์ กนฺตสโี ล
พิมพ์คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๖
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
๔๐. วัณณาภมหาเถรบูชา
พิมพค์ รั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗
๔๑. คำ�พอ่ แม่
พิมพค์ รงั้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗
พิมพค์ ร้งั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๗
189
๔๒. มณรี ตั น์ อญั มณีแหง่ ไพรสณฑ์ ๘,๐๐๐ เลม่
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗
*๔๓ ตำ�รายาสมุนไพร ๘,๐๐๐ เลม่
พิมพค์ รง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗
*๔๔. หลวงปเู่ จย๊ี ะ จนุ ฺโท ๘,๐๐๐ เล่ม
พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๘
๔๕. สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว กับการพระศาสนา ๑๐,๐๐๐ เลม่
พระราชประวตั ิ พระธรรมเทศนา
พิมพค์ ร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๘
* ๔๖. ประวตั พิ ระพุทธสริ สิ ตั ตราช (หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย)์
พระครูภาวนากจิ โกศล (หลวงปู่สอ พนั ธุโล)
พิมพค์ รัง้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑๐,๐๐๐ เล่ม
* ๔๗. ประวตั ิและธรรมค�ำ สอน
พระครวู ิจติ รกติ ติคณุ (หลวงปเู่ ปลือ้ ง ปญั ญวันโต)
พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖,๐๐๐ เล่ม
*๔๘. ตามรอยพระพทุ ธองค์ ๖,๐๐๐ เลม่
หลวงป่แู ฟบ๊ สุภทั โท
พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๐
๔๙. ๘๖ ปี หลวงปูจ่ นั ทา ถาวโร ๖,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๑
*๕๐. ฐานสโมบูชา ๖,๐๐๐ เล่ม
หลวงปชู่ อบ ฐานสโม
พิมพ์คร้งั ท่ี ๑๐ พ.ศ. ๒๕๕๒
190 อาจาริยบชู า พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร
* ๕๑. ธรรมประวตั ิ หลวงปู่จาม มหาปญุ โฺ ญ ผูม้ ากมบี ุญ
พมิ พค์ รั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๐,๐๐๐ เลม่
* ๕๒. รำ�ลกึ วนั วาน ๑๐,๐๐๐ เลม่
พมิ พค์ รั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๕
๕๓. กุลเชฏฐาภวิ าท ฉบบั สมบูรณ์ ๘,๐๐๐ เล่ม
พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
๕๔. ใตจ้ ิตสำ�นึก หลวงปู่ขาว อนาลโย ๑๐,๐๐๐ เล่ม
พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
*๕๕. ๑๐๑ ญาณทรรศน์ ๘,๐๐๐ เลม่
พระธรรมนิพนธ์ สมเด็จพระญาณสงั วร
สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก
พิมพ์ครง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๗
* ๕๖. ๑๐๒ ญาณสงั วรธรรม ๘,๐๐๐ เลม่
สารธรรมในสมเดจ็ พระญาณสงั วร
สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก
พิมพค์ ร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๘
*๕๗. หลวงปู่แหวน สจุ ิณโน ๘,๐๐๐ เล่ม
ปฏปิ ทา จรยิ าวตั ร และธมั โมวาท
พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๙
๕๘. อาจารยิ บชู า พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร
ประวัติ พระธรรมเทศนา และพระอภิธรรมสังคณิ ีมาติกาบรรยาย
พิมพ์คร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๘,๐๐๐ เลม่
*หนงั สอื หมดแลว้
191
ชมรมพุทธศาสน์ การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย
วตั ถุประสงค์
๑. เพอื่ เผยแพรห่ ลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาใหแ้ พรห่ ลายและเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจ
อย่างถกู ต้อง
๒. เพื่อส่งเสรมิ และเผยแพรก่ ิจกรรมทางพุทธศาสนาให้กว้างขวางยิ่งข้นึ
๓. เพื่อสง่ เสริมการปฏบิ ัติธรรมแกส่ มาชกิ และผสู้ นใจ
แนวทางปฏบิ ัติ
๑. เผยแพร่ธรรมะให้แก่สมาชิกและผู้สนใจ โดยการจัดเทศน์หรือปาฐกถา
ธรรมตามโอกาสอันควร
๒. เผยแพรธ่ รรมะใหแ้ กส่ มาชกิ และผสู้ นใจ โดยการจดั หาหนงั สอื หรอื วารสาร
ต่างๆ ท่ีเก่ยี วกับพระพุทธศาสนาให้แก่สมาชิกได้ศึกษา
๓. สง่ เสริมใหส้ มาชิกผูส้ นใจไดม้ ีการฝกึ อบรมทางดา้ นสมาธภิ าวนา
๔. ส่งเสริมให้สมาชิกและผู้สนใจไปคารวะครูบาอาจารย์ และบำ�เพ็ญ
ธรรมปฏบิ ตั ิ
๕. เป็นศูนย์กลางให้สมาชิกได้แลกเปล่ียน ยืม หนังสือธรรมะอันมีคุณค่า
ระหวา่ งสมาชกิ ด้วยกนั
๖. ชักชวนให้สมาชิกและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมในวาระอันสำ�คัญตาม
ประเพณนี ยิ มของพทุ ธศาสนกิ ชน
๗. เผยแพร่ธรรมะให้แก่สมาชิกและผู้สนใจ โดยการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ
ท่ีน่าสนใจ
บญุ คือความสุข ใหพ้ ากันเขา้ วัดนะ
บุญคอื ความเจริญ วัดดจู ติ ใจของเรา ตอ้ งวดั เสมอ
บุญคอื คุณงามความด.ี .. นง่ั ก็วดั นอนกว็ ัด เดนิ ยนื กว็ ัด
ถ้าใจเราไม่สงบ มันกไ็ มม่ ีความสุข
วดั เพราะเหตใุ ด
ให้มันร้ไู ว้วา่ จิตเรามันดหี รือไม่ดี
ไม่ดจี ะไดแ้ ก้ไข ตอ้ งวดั ทกุ วนั
ตัดเสอื้ ตัดผ้ากย็ งั ตอ้ งวดั ไมใ่ ชเ่ รอะ
ไม่วดั จะใช้ไดอ้ ะไรล่ะ