The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-08-18 00:01:14

ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

Keywords: ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

ธมั มะในลขิ ิต

รวบรวมไวโ้ ดย ม.ร.ว.เสรมิ ศรี เกษมศรี
Dhammaintrend รว่ มแผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน



คำ�นำ�

หนงั สอื เลม่ นจี้ ะเป็นทน่ี ่าสนใจสำ�หรับผ้ปู ระสงคจ์ ะทราบวา่ พุทธศาสนกิ ชน
ในประเทศองั กฤษมีความรู้ ความสนใจ ความพากเพียรปฏิบตั ธิ รรม ด้วยความ
เขา้ ใจพทุ ธธรรมสงู เพยี งใด และอะไรเป็นสิง่ ส�ำ คัญที่จงู ใจใหช้ าวอังกฤษและ
ชาวตา่ งประเทศอืน่ ๆ หนั มาสนใจในพระพทุ ธศาสนา
เมือ่ ท่านไดอ้ า่ นภาคภาษาไทยโปรดเขา้ ใจวา่ เปน็ ส�ำ นวนของทา่ นอาจารย์
พระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน ทง้ั หมด เวน้ แตต่ อนบรรยายภาพหรือเหตกุ ารณ์
เทา่ นนั้
ส่วนภาคภาษาอังกฤษน้ัน ม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ไดพ้ ยายามแปลเป็น
ภาษาอังกฤษจากคำ�อธบิ ายธรรมและตอบคำ�ถามภาษาไทย ซึง่ ทา่ นอาจารย์
ไดก้ รณุ าตรวจแก้ใหเ้ รียบรอ้ ยแลว้ และไดข้ อให้ทา่ นปญั ญาวฑั โฒ ภิกษชุ าวอังกฤษ
ซ่ึงรูภ้ าษาไทยดแี ละอยู่ศึกษากบั ทา่ นอาจารยม์ ากว่า ๑๒ ปแี ลว้ ชว่ ยตรวจแก้
(ภาษาองั กฤษ) ให้ กับได้ขอให้ ศจ.น.พ.อวย เกตุสงิ ห์ คนไทยซึง่ รูภ้ าษาองั กฤษ
ดี ช่วยตรวจแกอ้ กี ทางหน่งึ ด้วย กอ่ นทจ่ี ะใช้เปน็ ต้นฉบับภาษาองั กฤษ
หนังสือเล่มนสี้ ำ�เร็จไดด้ ้วยความศรัทธา วิริยะ และความรว่ มมือรว่ มใจ
ของผู้ทีม่ ีสว่ นเกีย่ วข้องมากหลาย สมควรทจี่ ะจารกึ ไว้ในหนังสอื นี้ เพือ่ ท่าน
ผูอ้ า่ นจะได้อนโุ มทนากศุ ลด้วย คอื
๑). พระภกิ ษุ ปญั ญาวฑั โฒ (Peter John MORGAN) ผู้ท�ำ หนา้ ที่
เชือ่ มสัมพนั ธไมตรรี ะหวา่ งพุทธศาสนิกชาวองั กฤษกบั ชาวไทย จนกระทงั่ ไดม้ ี
การนมิ นต์ท่านอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสัมปันโน เจา้ อาวาสวัดปา่ บ้านตาด
อุดรธานี ไปอธิบายธรรมและตอบคำ�ถามพุทธศาสนิกชนชาวอังกฤษ ณ
ธัมมปทีปวหิ าร กรงุ ลอนดอน ระหว่างวนั ท่ี ๗–๒๒ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗

(ค.ศ.๑๙๗๔) ณ กรุงลอนดอน ทา่ นท�ำ หนา้ ที่แปล ไทย-องั กฤษ องั กฤษ-ไทย
ตลอดเวลา จงึ ไดข้ ้อความมาเป็นเนอ้ื หานา่ สนใจอยูใ่ นหนังสอื น้ี ครัน้ กลบั มา
ถงึ ประเทศไทย ทา่ นไดก้ รุณาตรวจแกค้ ำ�แปลภาษาองั กฤษใหด้ ว้ ย
๒). มสิ ซิส เชอรร์ ่ี (Mrs.L.G.CHERRY) ชาวคานาดา โยมมารดาของ
พระภกิ ษอุ ภเิ จโต (George Rodney CHERRY) ซ่ึงมาบวชทีว่ ดั บวรนิเวศวิหาร
และไปศึกษาอยู่กับทา่ นอาจารย์ ณ วดั ป่าบ้านตาด มากว่า ๑๐ ปแี ล้ว มสิ ซิส
เชอรร์ ี่ไดเ้ ขา้ มาเย่ียมพระลูกชายในประเทศไทยหลายครัง้ แลว้ มายคุ น้ชี ราภาพ
ลง จงึ ขอมโี อกาสเดินทางแตใ่ กลๆ้ คือจากกรงุ โตรอนโต คานาดา มาเยย่ี ม
พระลกู ชายทจี่ ะตามไปอุปฏั ฐากท่านอาจารย์ ณ ประเทศอังกฤษดว้ ย มิสซสิ
เชอรร์ จ่ี งึ ไดศ้ รทั ธาเป็นอุปัฏฐากสำ�คัญในการเดินทาง แม้ภายในประเทศองั กฤษ
ของภิกษุทั้งสามท่ีไปจากประเทศไทยในคร้งั น้ี
๓). ทา่ นอาจารย์พระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน สเู้ ดนิ ทางไปรวบรวมทกุ ข์
นานปั การของมนุษย์ในประเทศหนาว แม้ในฤดูร้อน ในพ.ศ. ๒๕๑๗ ความ
หนาวในประเทศองั กฤษก็ยงั มากอย่สู ำ�หรับคนไทย แต่ทา่ นกม็ ไิ ดล้ �ำ บากยากใจ
อันใดเลย เปน็ อยงู่ ่ายๆ ทา่ นไมต่ ้องการใหจ้ ดั อะไรเป็นพเิ ศษให้ท่านเลย เชน่
อาหารและทอ่ี ยู่อาศัย ท่านวา่ ทา่ นปัญญาวฑั โฒมาฉนั อาหารในประเทศไทย
ไดอ้ ยา่ งไรตลอดเวลา ๑๒ ปี ท่านก็ฉนั อาหารฝรง่ั ในประเทศองั กฤษเช่นเดยี ว
กับทา่ นปญั ญาวฑั โฒไดอ้ ยา่ งนัน้ ทา่ นมิไดฉ้ นั หมากเลย ทัง้ ๆ ทีม่ ีคนเป็นห่วง
ทา่ นในเรื่องนี้
ในการอธบิ ายธรรมและตอบปญั หานน้ั ท่านตอ้ งพจิ ารณาอย่างรอบคอบ
ทจี่ ะตอบผถู้ ามซง่ึ มตี ง้ั แตพ่ วกทไ่ี ดฝ้ กึ สมาธมิ านานแลว้ ผสู้ นใจเรมิ่ จะฝกึ ผทู้ เ่ี คย
ฝึกสมาธจิ ากอาจารย์อนื่ ๆ นกั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัย (เคมบรดิ จ)์ ตลอดจน
ผู้ซงึ่ เพิ่งจะเริ่มหนั มาสนใจพทุ ธศาสนา นับว่ายากมาก
เมอ่ื กลบั มาถึงประเทศไทยแล้ว ทา่ นยังต้องตรวจแกบ้ นั ทึกการอธบิ ายธรรม

และตอบคำ�ถามภาษาไทย ซงึ่ ม.ร.ว. เสริมศรี เกษมศรี พมิ พ์เสนอตรวจแกถ้ งึ
๒ คร้ัง จึงได้ต้นฉบับภาษาไทย
๔). มสิ ซสิ วินท์ (Mrs.Freda WINT) แห่งออ๊ กฟอรด์ (Oxford) และบตุ ร
คือนายเบน วินท์ (Mr.Benedict WINT) แห่งเคมบรดิ จ์ (Cambridge) ท้ังสอง
เคยมาจ�ำ ศีลภาวนาอยู่ ณ วดั ปา่ บ้านตาด และเคยบวชเปน็ สามเณร (ตอน
อายุ ๑๙ ป)ี ศึกษาที่วดั ปา่ บา้ นตาด ในระหวา่ งทมี่ หาวิทยาลยั เคมบริดจป์ ดิ
เทอม กบั มิสซสิ บราวน์ (Mrs.Jane BROWNE) แหง่ คอรน์ วอลล์ (Corn-
wall) ซึง่ เคยเขา้ มาจำ�ศีลภาวนา และน�ำ ปญั หาธรรมมาให้ท่านอาจารย์แก้ที่
วดั ปา่ บา้ นตาดถึง ๓ คราว กบั น้องสาว คอื มสิ ซิส บราวน์ (Mrs.Griselda
BROWNE) แห่งคานาดา ทา่ นท้งั ๔ นไี้ ด้ศรทั ธาเขา้ มาอยู่ในกรงุ ลอนดอน
ตลอดระยะเวลาที่ท่านอาจารย์ไปพำ�นักในประเทศอังกฤษ ทั้งนี้เพื่อเตรียม
อาหาร เตรียมท่ีใส่บาตร เพราะท่านอาจารยแ์ ละพระภิกษุอกี สองรูปน้นั ท่าน
บิณฑบาตและฉันในบาตรตามพระวนิ ยั ท่ีเคยปฏบิ ัตใิ นประเทศไทย เธอเป็นห่วง
จัดธุระดูแลอุปัฏฐากพระให้เรียบร้อยถูกต้องตามพระวินัยตลอดเวลาท่ีอยู่ใน
ประเทศองั กฤษ
๕). พุทธศาสนิกชนไทยที่อยู่ในกรุงลอนดอนหลายครอบครัว ซึ่งมีทั้ง
นักศกึ ษา ประชาชน ขา้ ราชการ และนักธรุ กจิ ได้ศรทั ธาหมุนเวียนเปลยี่ นหน้ากัน
นำ�อาหารมาใส่บาตรทุกวัน และช่วยเป็นธุระอำ�นวยความสะดวกติดต่อ
สายการบนิ ตลอดจนไปรบั และไปสง่ คณะภกิ ษทุ ่ไี ปจากประเทศไทยโดยเรยี บรอ้ ย
ทุกประการ
ท่านเหล่านั้นไม่ยอมให้ใส่ชื่อ ท่านว่าท่านไปทำ�บุญตามความศรัทธา
ปสาทะของทา่ น มิใชไ่ ปเปน็ ทางการแตอ่ ย่างใด ทา่ นปลม้ื ใจในกศุ ลทท่ี ่านได้
ปฏบิ ัตใิ นโอกาสพเิ ศษเชน่ นีอ้ ยมู่ ากแลว้
๖). ศาสตราจารย์ นายแพทย์อวย เกตสุ ิงห์ ผู้ศรัทธาเดนิ ทางไปทำ�หนา้ ท่ี

ไวยาวัจกรและลูกศิษย์ของพระภิกษุแห่งประเทศไทยนี้ ด้วยทุนทรัพย์ของ
ตนเอง ได้ช่วยในการบันทกึ คำ�สอน และติดตามไปปฏิบตั ทิ ่านอาจารย์ในทีต่ ่างๆ
คร้นั กลับมาถึงประเทศไทย ก็ได้ชว่ ยตรวจแก้คำ�แปลภาษาอังกฤษ ปรบั ปรุง
แกไ้ ขให้ดขี นึ้ ก่อนทจ่ี ะไดต้ ้นฉบบั ภาษาอังกฤษ ตลอดจนชว่ ยหาส�ำ นกั พิมพ์
ทด่ี ีให้ดว้ ย
๗). บุคคลส�ำ คญั ทีส่ ุด ขอนำ�มากลา่ วทา้ ยทีส่ ดุ เพ่ือให้ปรากฏเดน่ ชัดนนั้
คอื องค์การนิติบคุ คล ชอื่ ทรสั ตเ์ พอื่ สงฆอ์ งั กฤษ จำ�กดั (THE ENGLISH SANGHA
TRUST, LTD.) ซ่ึงเปน็ องคก์ ารทส่ี นับสนุนพระสงฆ์ในพุทธศาสนาทีป่ ระเทศ
อังกฤษ ชาวองั กฤษรว่ มกันจดั ตงั้ ขึน้ นานมาแลว้ ทา่ นปัญญาวฑั โฒเปน็ องค์
หนึ่งที่ได้รับการอุปฏั ฐากจากองค์การนม้ี ากอ่ น คณะกรรมการและเจา้ หน้าที่
ขององคก์ ารน้ีดแู ลจัดการ “ธมั มปทีปวิหาร” ในยุคน้ี มีศาสตราจารย์ มอรีซ
วอลซ์ (Prof.Maurice WALSHE) เป็นประธาน และนาย ยอช ชาร์พ (Mr.George
SHARP) เป็นเลขานุการ และนายโรเบติ จอนสนั (Mr.Robert JOHNSON)
เป็นเจา้ หน้าท่ปี ระจำ�ดูแลพระภิกษุ ทีพ่ �ำ นักในธัมมปทปี วหิ าร
หากไมไ่ ดค้ วามชว่ ยเหลือร่วมมอื ของบคุ คลที่สำ�คัญท่สี ดุ นี้ บุคคลจ�ำ นวน
มากจะไม่ได้รับผลดีทางพุทธศาสนาเช่นที่ท่านจะอ่านพบในหนังสือเล่มน้ี
ความเลือ่ มใส ศรัทธา ตลอดจนความเอาจรงิ ขององคก์ ารน้ี ทำ�ใหเ้ หน็ แสง
อันเรืองรองของพระพุทธธรรมที่จะปรากฏในภาคตะวันตกของโลกสืบไป
ในอนาคต
เสรมิ ศรี เกษมศรี
(ม.ร.ว.เสรมิ ศรี เกษมศร)ี

ผู้เรียบเรยี งหนังสอื น้ี
มีนาคม ๒๕๑๘



คำ�ชีแ้ จงของผรู้ วบรวม

ในการพิมพ์บันทึกคำ�อธิบายธรรมและตอบปัญหาของชาวอังกฤษ
ในครงั้ น้ี ผู้รวบรวมได้ใช้เลขแทนช่ือของบุคคลเป็นส่วนมาก เช่นชายถาม
ก็ใส่ ถ.๑–ช.๑ หรือหญงิ ถาม กใ็ ส่ ถ.๓–ญ.๒ ถ้าตวั เลขซ่ึงหมายถึงบุคคล
ซ้�ำ กนั แมเ้ ลขค�ำ ถามจะตา่ งกัน กห็ มายความว่าคำ�ถามคร้ังทีเ่ ท่านนั้ ถาม
โดยบคุ คลเลขน้ันทีเ่ คยถามไว้คร้งั หน่ึงแล้ว
วิธีส่อื ความคดิ ติดต่อกนั ระหว่างอาจารย์และชาวองั กฤษน้นั กระท�ำ
ดงั น้ี
เมือ่ มีคนถามเปน็ ภาษาอังกฤษ ท่านปญั ญาวัฑโฒ ภิกษชุ าวอังกฤษ
ซงึ่ มาฝึกอบรมอยูก่ บั ท่านอาจารย์พระมหาบวั ญาณสัมปนั โน ณ วัดป่า
บา้ นตาด อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั อดุ รธานี เป็นเวลา ๑๒ ปีเศษ เปน็ ผู้แปล
เป็นภาษาไทยให้ท่านอาจารย์ฟัง เม่ือท่านอาจารยต์ อบมา ท่านปัญญาฯ
กแ็ ปลเป็นภาษาองั กฤษใหท้ ีป่ ระชุมฟงั ศาสตราจารย์นายแพทย์ อวย
เกตุสิงห์ บนั ทกึ เทปไว้ ม.ร.ว.เสรมิ ศรี เกษมศรี บันทึกลงสมุดตามไปใน
ขณะถามตอบอีกสว่ นหนึ่งดว้ ย บางครั้งท่านอาจารยห์ รือท่านปญั ญาฯ
เรียกให้ ศจ.นพ.อวย เกตสุ งิ ห์ หรอื ม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ชว่ ยเสรมิ บา้ ง
ม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ได้ถอดเทป และสอบกับสมดุ ทจ่ี ดไวด้ ้วย แล้ว
พิมพ์เอกสารนี้ถวายท่านอาจารย์ตรวจแก้ตามที่ได้บันทึกไว้เป็นวันๆ
เมอ่ื ทา่ นอาจารย์กรณุ าตรวจแก้ครั้งท่ี ๑ ใหแ้ ลว้ ก็มาพิมพ์ตามทแี่ กน้ ั้น
เป็นร่างครัง้ ท่ี ๒ เสนอขอประทานให้ท่านอาจารย์ตรวจแก้อกี ครงั้ เมอื่
ปรากฏวา่ หนา้ ใด เรื่องใด ท่านอาจารยแ์ กม้ าอกี ก็พิมพ์หน้าน้นั ขึ้นมาใหม่
จึงกล่าวได้ว่าต้นฉบับหนังสือน้ีเป็นเรื่องท่ีท่านอาจารย์ได้ตรวจทานในภาค
ภาษาไทยถงึ ๒ ครงั้ แลว้

สว่ นในภาคภาษาอังกฤษนนั้ ไดถ้ วายรา่ งภาษาไทยทถี่ กู ตอ้ งแลว้ ให้
ทา่ นปัญญาฯ ศึกษา และถวายคำ�แปลเปน็ ภาษาองั กฤษ ซง่ึ ม.ร.ว.เสริมศรี
เกษมศรี ได้พากเพยี รทำ�ขึ้นนัน้ ใหท้ ่านปญั ญาฯ ตรวจแก้ตามทีท่ ่านเห็นว่า
“พอจะไปได”้ แลว้ จงึ น�ำ พมิ พเ์ ปน็ เลม่ ตอ่ ไป

วันอาทติ ย์ วันที่ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๑๗ (ค.ศ. ๑๙๗๔)

การประชุมวันน้ี เร่มิ เวลา ๑๗.๓๐ น. ณ หอพระ (Shrine) อยู่บน
ชนั้ สามของอาคาร”ธมั มปทปี วหิ าร”ไดม้ พี ธิ มี อบ“พระพทุ ธรปู ๒๕ศตวรรษ
รนุ่ พิเศษ” ซึ่งท�ำ ดว้ ยแก้วขาว แตม่ ีสีฉพั พรรณรงั สี ขนาดเลก็ พร้อมด้วย
แท่นรองไมส้ เี ขม้ มีคาดสีทอง ซึ่ง ม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ไดน้ ำ�ไปเพื่อ
ถวายทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ให้ทา่ นมอบให้แก่ “ธมั มปทีปวหิ าร” พรอ้ ม
กับหนงั สอื ภาษาองั กฤษ คอื “ปาฏโิ มกข์” และ “วนิ ยั มุข” และหนงั สือ
ภาษาไทย คอื “ระเบยี บของมหาเถรสมาคมแห่งประเทศไทย”
หนังสอื ดังกล่าวไดไ้ ปจากมหามกุฏราชวทิ ยาลัย หนา้ วัดบวรนเิ วศ
วิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
พธิ มี อบ “พระพุทธรปู ๒๕ ศตวรรษ ร่นุ พเิ ศษ” แก่ “ธมั มปทีปวหิ าร
เม่อื ทา่ นอาจารยแ์ ละภกิ ษฝุ รัง่ คอื ท่านปัญญาวฑั โฒ กับทา่ นอภิเจโต
จากวดั ปา่ บ้านตาด อำ�เภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี ประเทศไทย ขนึ้ มาจากกุฏิ
สู่หอพระหรอื หอ้ งประชุมนี้แลว้ ท่ีประชมุ ยืนขนึ้ ตอ้ นรบั ดว้ ยความเคารพ
และน่ังลงพรอ้ มกบั พระภกิ ษนุ ง่ั แลว้ ฆราวาสทัง้ ปวงจงึ ถวายอภวิ าทอีก
คร้ังหน่งึ
ม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ได้ยืนขนึ้ ขอประทานโอกาสนำ�พระพทุ ธรูป
๒๕ ศตวรรษ รนุ่ พิเศษ ถวายเพอ่ื ทา่ นอาจารย์จะได้มอบใหแ้ ก่คณะกรรมการ
“The English Sangha Trust, Ltd.” ซึง่ เปน็ เจ้าของ ธมั มปทีปวหิ าร น้ี
ท่านอาจารยร์ บั พระพทุ ธรูปและสง่ิ ทง้ั ปวงมา แลว้ เชิญให้ทางคณะกรรมการ
มารับ ท่านศาสตราจารยม์ อรีซ วอลซ์ (Professor Maurice Walshe)
ประธานกรรมการของคณะนี้ ไดก้ า้ วออกมากราบท่านอาจารย์ ๓ คร้ัง
แล้วรบั พระพุทธรปู และส่วนประกอบจากทา่ นอาจารย์ เจ้าหน้าทข่ี อง

๑๐

ธัมมปทีปวิหารได้หาม้ารองอีกตัวหนึ่ง นำ�มาตั้งกลางโต๊ะบูชา หน้า
พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ซึง่ ประจ�ำ อย่ใู นวหิ ารแห่งนี้ แลว้ ทา่ นศาสตราจารย์
จึงเชิญพระพทุ ธรปู นีไ้ ปประดิษฐานบนม้ารองนั้น ท�ำ ให้เห็นพระพทุ ธรปู
แก้วสี “ฉพั พรรณรังสี” องคเ์ ลก็ น้ีอยูก่ ลางพระอุระของพระพุทธรูปเดิม
งดงามน่ารักมาก เสมือนเปน็ ไขม่ ุกเมด็ ใหญ่ฝังอย่กู ลางทอง เบ้ืองหนา้
ม้าทร่ี องน้ันเขาตั้งพานทองเหลอื งใสผ่ ลไม้กบั ทีใ่ สด่ อกไม้บชู าพระ เมือ่ ทำ�
สักการะพระพุทธรูปทั้งสองนี้ จะรู้สึกเสมือนว่ามีพระพุทธเจ้า และ
พระธรรมเจ้าพรอ้ มกัน ณ ทีน่ ้นั
ท่านศาสตราจารย์มอรีซ วอลซ์ ไดถ้ วายอภวิ าท และกล่าวแสดง
ความขอบคณุ ท่านอาจารยแ์ ทนคณะกรรมการ เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี

คำ�ถาม - ค�ำ ตอบ

ตอ่ จากน้นั สมาชิกในท่ีประชุมตา่ งแสดงความปรารถนาจะเรียน
ถามท่านอาจารย์ต่างๆ คำ�ถาม-คำ�ตอบ มีดังนี้
ถ.๑–ญ.๑ การตง้ั สติพจิ ารณาลมเขา้ -ออก นั้น ควรจะดูท่ที ้องหรือที่
จมูก?
ตอบ ก ารก�ำ หนดลมหายใจนั้น ใหพ้ จิ ารณาและตัง้ สตดิ จู ดุ ทส่ี มั ผัสทเ่ี ดยี ว

ไม่จ�ำ ต้องเลอ่ื นขึน้ ลง ให้จิตต้ังอยู่ตรงทส่ี ัมผัสนนั้ ถา้ ลมน้อยลงก็
ไมต่ อ้ งตกใจลมยังอยู่มิไดห้ ายไปการทำ�กรรมฐานนน้ั ตอ้ งแลว้ แต่
อปุ นิสยั ของคน การท�ำ อานาปานสตนิ นั้ มักจะถูกกับจรติ ของคน

๑๑

ส่วนใหญ่ แตส่ ตเิ ป็นส่งิ สำ�คญั ในการภาวนาทกุ วธิ กี าร ความ
เผลอสติคือความขาดวรรคขาดตอนของงาน ผลจะไม่สบื ตอ่ กนั
จึงควรคมุ สติให้อยูก่ บั องค์ภาวนาทุกวิธไี ป

ถ.๒–ญ.๑ เวลาท�ำ สมาธิ ท�ำ ไมจึงรู้สึกเหมอื นมอี ะไรดึงหน้าผากไปหา
หัวสมอง และรู้สกึ ที่หนา้ ผากกล้ามเน้อื ตึงและปวดศีรษะได้ จะมีวิธแี ก้
อย่างไร?
ตอบ ใ ห้ลดความแรงทต่ี ั้งใจท�ำ นน้ั เสีย ให้จติ จดจ่ออยทู่ ล่ี มหายใจเทา่ นนั้

ถ้าท�ำ แรงยอ่ มปวดศรี ษะได้ กระแสจิตมคี วามส�ำ คญั มาก เพ่งให้
แรงก็ได้ ให้เบากไ็ ด้ สิง่ ท่ถี ูกเพ่งยอ่ มแสดงผลหนัก-เบาไปดว้ ย

ถ.๓–ช.๑การนบั ถอื พทุ ธศาสนานน้ั ท�ำ ใหเ้ พอื่ นฝงู นนิ ทาวา่ เคยสนกุ สนาน
ร่าเรงิ กลับเงียบลง เสยี เพือ่ นไปหลายคน และภริยากไ็ ม่เข้าใจ เขาไมเ่ หน็ ด้วย
จะแกไ้ ขอยา่ งไร?
ตอบ การนับถือพทุ ธศาสนาไม่จำ�เปน็ ต้องเงยี บขรมึ เพอ่ื นชวนไปทาง

ไม่ดี เรารักษาศลี เราไม่ทำ� ทำ�ให้เสยี เพอื่ น แต่ตวั เราไม่เสยี ถา้
ใจเรารูส้ ึกพอใจว่าเราไปทางดี กค็ วรนกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ วา่ ท่าน
เปน็ กษตั รยิ ม์ ีบริวารมาก เพื่อนฝูงมาก ท่านออกบวช ละทงิ้ เพื่อน
ทัง้ หลายและทรงอยโู่ ดยไม่มีเพอ่ื นหลายปี เมอื่ ตรัสรู้แล้วเพอื่ นก็
มาหอ้ มลอ้ มเอง พระองคม์ ีพระสาวกจำ�นวนมาก เป็นพระอรหันต์
กม็ าก มีภกิ ษุณสี าวกิ าเป็นอรหันต์กม็ าก มอี บุ าสกอุบาสิกาเปน็
พทุ ธบรษิ ทั มากมายยง่ิ กวา่ คนในโลกเรานบั ถอื พทุ ธศาสนาอนั เปน็
ทีร่ วมแห่งจติ ใจของชาวพุทธทั้งหลาย จึงไม่ควรกลวั จะขาดเพือ่ น
ฝงู ควรคดิ วา่ ตอนแรกเพอ่ื นยงั ไมเ่ ขา้ ใจเรากเ็ ลกิ ราไมค่ บเราตอ่ มา
การปฏบิ ัตใิ นทางดีของเรามีอยู่ ควรจะแลเหน็ และคนผู้หวัง

๑๒

ความดมี อี ยู่ ระหวา่ งคนดีตอ่ คนดีย่อมเข้ากันได้ คนดีนน่ั จะเปน็
เพือ่ นเราในกาลตอ่ ไป ถ้าโลกจะขาดคนดี ไมม่ ใี ครสนใจคบเรา ก็
ควรคบกบั ธรรม คอื พุทโธ ธัมโม สงั โฆ ภายในใจ ซง่ึ ดกี ว่าเพอื่ น
ที่ไม่สนใจความดเี ป็นไหนๆ นีแ่ ลคือเพอ่ื นอนั ประเสริฐแท้ ตาม
ธรรมดาแลว้ เพือ่ นที่เป็นคนดีๆ กจ็ ะหันมาคบกับเรา เราจงึ ควร
วางใจเสยี วา่ ถา้ เราจติ ใจสบายดี รวู้ า่ ไปทางดีกพ็ อแลว้ ไมค่ วร
ไปคดิ กงั วลกับผอู้ นื่ ใหย้ ่งิ กว่าเป็นหว่ งเรา สมกับเรารบั ผดิ ชอบเรา
เอง ท้งั ปัจจุบันและอนาคต ไม่มีใครมายกฐานะความเปน็ อยใู่ ห้ดี
ขนึ้ นอกจากเราเอง
ถ.๔–ญ.๑ ดฉิ นั เองก็ประสบอย่างเดียวกัน แม่รวู้ ่าดฉิ ันนับถอื พทุ ธศาสนา
แม่เสียใจถึงกับสวดมนต์อ้อนวอนพระเจ้าให้ดิฉันกลับมาถือคริสเตียน
ควรจะช่วยแมอ่ ยา่ งไร แมร่ สู้ ึกเปน็ หว่ งลกู มาก
ตอบ โยมมารดาของอาตมาก็เปน็ หว่ งอาตมามากเหมือนกัน ทม่ี าประเทศ
อังกฤษนี้ เหมอื นกลวั วา่ จะไปตายหรือเป็นอันตรายตา่ งๆ แต่
อาตมาเหน็ ว่ามาแลว้ ดี มีเหตผุ ลในการมา แมก่ ็ไม่อาจหา้ มได้
ทงั้ ทไี่ มอ่ ยากให้มาก็จ�ำ ยอมตามเหตผุ ล จงึ ได้มา ขอใหเ้ ขา้ ใจว่า
พทุ ธศาสนาไมส่ อนใหค้ นแตกแยกกนั คริสเตียนและพุทธศาสนา
ต่างก็สอนให้ดี ให้คนมคี วามสุขและไปสวรรค์ทงั้ นนั้ ถา้ จะเปรยี บ
กรุงลอนดอนเป็นสวรรค์ บคุ คลกไ็ ด้รับค�ำ แนะนำ�ใหเ้ ดนิ ทางโดย
วธิ ตี ่างๆ กัน แตเ่ มอื่ ปฏิบัติแลว้ ก็มาถงึ กรงุ ลอนดอนดว้ ยกนั ดงั นนั้
ใครนับถอื ศาสนาไหนกป็ ฏบิ ตั ิตามนน้ั เถดิ แล้วได้ไปพบกันบน
สวรรคเ์ หมือนกนั แต่พทุ ธศาสนาซง่ึ มีวถิ ที างท่ีจะไปถึงพระนิพพาน
ได้ด้วย ถ้าเข้าใจตาม ปฏิบัติตามที่พุทธศาสนาสั่งสอนและ

๑๓

ปรารถนาพระนิพพาน ก็ยงั มีทางไปได้อีก พระนพิ พานคือแดน
พ้นทกุ ขโ์ ดยสน้ิ เชงิ พระพุทธเจ้าและพระอรหนั ตผ์ สู้ ้นิ กิเลสแล้ว
ทา่ นไปนพิ พานกนั ทงั้ ส้นิ จึงไม่นา่ เปน็ หว่ งผ้ดู ำ�เนินตาม ควรจะ
ชแ้ี จงข้อน้ใี หแ้ มท่ ราบจะได้ไมเ่ ปน็ หว่ ง พุทธศาสนาสอนใหส้ งั คม
ม่ันคงและเจรญิ และส่งเสรมิ ใหค้ นดี ขอแมอ่ ยา่ ห่วงเลย เพราะ
พุทธศาสนามใิ ช่แดนแหง่ นรกพอผู้ด�ำ เนนิ ตามจะลม่ จมฉบิ หาย
ถ.๕–ญ.๑ สามีกเ็ หมือนกนั ไม่เขา้ ใจ ไม่พอใจ ดฉิ นั ตอ้ งใช้เวลา ๒๐ ปี
อ้อนวอนขอสามใี ห้ดฉิ นั ท�ำ สมาธิ บดั นย้ี ินยอมแล้ว ท�ำ มาได้ ๕ ปี (สามี
ไม่เข้าใจเรือ่ งทางจิตใจ เพราะฉะนน้ั พอได้พบคนท่ีสนใจเร่อื งเดียวกนั
กห็ ันมาสนทิ สนมดว้ ย จึงทำ�ใหส้ ามีระแวง)
ตอบ เมอ่ื เขาเหน็ ว่าเราท�ำ ดี ไมไ่ ดท้ ำ�ชัว่ เขากย็ อมเอง เปน็ ธรรมดา
ของการท�ำ ดี ซงึ่ เปน็ ของยากอย่แู ล้ว แม้แต่ในใจเราเองกม็ คี วาม
ลังเล เวลาคดิ จะทำ�ความดกี ม็ อี ีกความคดิ หนึ่งชวนท�ำ สิ่งอนื่ เสีย
ต้องต่อสู้กัน จงึ หนั มาทำ�ทางดไี ด้ การที่คนอนื่ ขดั ขวางจึงเปน็
อปุ สรรคธรรมดา แตส่ ูเ้ ราขัดขวางเราเองไม่ได้ ข้อนี้มักจะมดี ว้ ย
กนั ทุกคน เวลาจะท�ำ สิง่ ที่ดมี ีประโยชน์ ใจหนงึ่ มักขัดขวางไว้ไม่
ให้ทำ� จนเสยี เวลาไปเปลา่ ก็มมี าก นอกจากนั้นยงั ชวนใหท้ ำ�ช่ัว
เสยี หายอีกดว้ ย ซง่ึ สว่ นมากก็หลงตามมันจนได้
ถ.๖–ญ.๒ ถ้าเราร้วู า่ สิ่งไหนไม่ดี เรากห็ า้ มใจไมใ่ หท้ �ำ สงิ่ น้นั กบั ถา้ ใจมนั
จะทำ�ก็ใหม้ นั ทำ�จนเกิดผลร้ายข้ึนมา มนั ก็เขด็ เอง เหมือนรู้วา่ กินของ
หวานๆ จะทอ้ งเสยี ก็กินจนท้องเสียแลว้ ก็เลกิ ไปเอง วิธีไหนจะดีกว่ากนั ?
ตอบ วธิ ที รี่ วู้ ่าอะไรไม่ดีกฝ็ ืนใจหา้ มไม่ให้ตัวทำ�ดีกวา่ เพราะไม่มคี วามเสีย
หายเกดิ ขน้ึ ส่วนวิธที ่ปี ล่อยตามใจจนเกิดผลรา้ ยแลว้ เขด็ เองนั้น จะ

๑๔

แน่ใจได้อย่างไรวา่ จะไมต่ ายไปเสียก่อนท่จี ะกลบั ตวั ได้บางทอี าจไมร่ ู้
ช่องทางจะกลบั เสยี ดว้ ย (เปน็ การเสยี หายของชีวติ ตนเอง)
ถ.๗–ช.๒ ผมภาวนา ยุบหนอ-พองหนอ แลว้ รสู้ กึ เหมอื นมอี ะไรถไู ถไป
ตามทอ้ ง เป็นเพราะเหตุใด?
ตอบ ความรู้สกึ นน้ั เป็นทีเ่ ราพอใจหรอื เปลา่ เมอ่ื ทำ�ภาวนาแล้วจิตใจ

สงบเย็นสบายก็ใชไ้ ด้ ถงึ จะมีความรสู้ ึกเหมอื นมีแรงอะไรมาถู
แตเ่ มอ่ื รสู้ กึ จติ ใจสงบดี เปน็ ท่ีพอใจ นีส้ ำ�คญั กวา่ ความรสู้ กึ น้ี
เป็นเพยี งอารมณข์ องจิต ไมใ่ ช่ผลให้เราเป็นอะไร เม่ือมอี ะไรมา
ถูไปตามทอ้ งก็ควรท�ำ ความเขา้ ใจกบั มนั ว่า นัน่ คอื อาการของจติ
แสดงตา่ งหาก มไิ ดเ้ ป็นจรงิ ดังทใ่ี จเกิดความส�ำ คัญ และตั้งสติ
ก�ำ หนดความ ยุบหนอ-พองหนอ ไมส่ ง่ ใจไปสำ�คัญกับส่ิงนน้ั
อาการนน้ั กส็ งบไปเอง
ถ.๘–ญ.๓ เวลาท�ำ สมาธิใกล้จะได้สมถะ จิตจะสงบ แตแ่ ล้วมกั ไมส่ งบ
มนั เข้าๆ ออกๆ เหมอื นจะเข้าประตแู ล้วไมเ่ ข้า จะแก้อยา่ งไร?
ตอบ เ ม่ือท�ำ สมาธิ ก�ำ หนดลมหายใจเขา้ -ออกหรือเปล่า ถา้ กำ�หนดแล้ว
ตามลมเข้า ตามลมออก จงึ เปน็ อยา่ งนี้ ควรจะต้งั จิตก�ำ หนดแต่
เพยี งจดุ ทลี่ มหายใจสมั ผัสแห่งเดยี ว แล้วจะรู้สกึ วา่ มันนอ้ ยเขา้ ๆ
จนหยุดไป จติ ก็เขา้ สมถะไปโดยไม่เขา้ ๆ ออกๆ อย่างท่วี ่านนั้
ถ.๙–ญ.๑ การฝกึ สมาธิ ท�ำ คนเดยี วดหี รอื ท�ำ กับหมพู่ วกดี? ดิฉนั เรยี น
สมาธิกับเจ้าคณุ ท่ีวัดพทุ ธปทีปที่สึกไปแลว้ มเี พือ่ น ๔ คน ดฉิ ันน่งั คน
เดยี วรสู้ ึกว่าดี พอนง่ั กับเพื่อน ๔ คน รสู้ กึ ใจมีกังวล ทำ�สมาธิไมค่ อ่ ยดี
เพือ่ นทยี่ ังออ่ นจะช่วยกันไดห้ รอื ไม่?

๑๕

ตอบ คณุ เคยท�ำ แลว้ รสู้ กึ อยา่ งไร พอใจหรอื ไมพ่ อใจ ถ้ารู้สกึ ว่าเปน็ การ
ใหก้ �ำ ลงั ใจแก่กนั และกันกด็ ี ถงึ คุณจะรสู้ ึกไม่สงบ มีกงั วลใจ แต่
เพอื่ นอาจได้ก�ำ ลังใจท�ำ สมาธิจากคณุ กไ็ ด้ แตส่ ว่ นมากท่านท�ำ
โดยล�ำ พงั คนเดียว เวน้ แตข่ ณะฟังการอบรมกนั อยใู่ นส�ำ นักอาจารย์
เดยี วกัน จากนน้ั ต่างท่านตา่ งทำ�เฉพาะตัวไมก่ งั วลกับใคร จติ ใจ
ก็สะดวกและสงบไดเ้ รว็ กว่าการทำ�งานรวมกนั เพราะไม่มีเครือ่ ง
กังวลกวนใจ

ถ.๑๐–ญ.๑ เวลาท�ำ สมาธดิ ีๆ รู้สึกเหมือนมีเส้นอะไรออกจากตวั ไปสัก ๑
ฟุต แตก่ ็ร้สู กึ ว่ามีอะไรมาตีเส้นน้ัน ทำ�ให้เกิดความเจ็บปวด
ตอบ เดีย๋ วน้เี ปน็ อย่างไร ยังเป็นอยู่หรือเปลา่ ?
ญ.๑ เดยี๋ วน้ีไม่เป็นแล้ว เพราะรูส้ กึ ว่าความเจบ็ ปวดเปน็ ทุกข์ ก็ต่อสู้
อดทนแล้วมันก็หายไปเอง
ตอบ ความรสู้ กึ นน้ั เป็นอารมณ์ของจิต ไม่ใชก่ ารภาวนาท�ำ ใหเ้ กดิ อยา่ ง

นน้ั จติ สร้างขนึ้ มาเอง ถา้ รสู้ ึกกถ็ อยจติ กลบั มาไวท้ ่หี ัวใจ ทอ่ี ก
แล้วต้งั แน่วแน่อยตู่ รงนี้ มนั กจ็ ะหายเอง
ถ.๑๑–ญ๑. บางทรี สู้ กึ ว่าตนส่งกระแสจิตไปหาเพ่อื น หรือรูส้ ึกวา่ เพื่อน
สง่ มาหาตน
ตอบ น่นั เป็นการส่งจติ ออกขา้ งนอก ไมเ่ หมาะกับผเู้ รม่ิ ฝึกหดั ใหม่ๆ
นอกจากผชู้ �ำ นาญเทา่ นนั้ จะสง่ เขา้ หรอื สง่ ออกกไ็ มม่ ปี ญั หาเพราะ
รจู้ กั วธิ ีปฏิบัติอยู่แลว้
ทา่ นปญั ญาวฑั โฒ พูดช้ีแจงเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ “เม่อื แรกเรา
มานง่ั อยู่ทน่ี ี่ ทา่ นอาจารยไ์ ด้บอกแลว้ ว่า การท�ำ อานาปานสติ

๑๖

นั้น ก�ำ หนดจติ ไว้ทีล่ มหายใจเขา้ -ออก จนกระท่ังลมหายใจอ่อน
ลงทุกที กใ็ หจ้ ิตจับจดุ เดยี วที่สัมผสั จนกระท่งั ไมร่ ูส้ ึกลม จิตก็
จะสงบ ไมต่ อ้ งตกใจวา่ จะหยุดหายใจ ลมยงั มอี ยู่ แตจ่ ะประสบ
ความเย็นใจในเวลาทลี่ มหายใจอ่อนลง บางครง้ั ลมหายใจดับไป
กับความรู้สึก และใจกล็ ะเอียดมาก”
ญ.๑ ขอให้ทา่ นปญั ญาฯ ชว่ ยแสดงให้ทา่ นอาจารยท์ ราบความสำ�นกึ ใน
พระคณุ ของท่านอาจารย์เป็นอย่างสงู ท่ีท่านกรณุ ามาท่ีนี่ พวกเรายินดีมาก

๑๗

การอธบิ ายธรรม

การซกั ถามในทีป่ ระชุมน้ี เร่มิ ภายหลังพธิ ีมอบพระพุทธรูป คอื เวลา
ราว ๑๗.๔๕ น. ยุตลิ งเมือ่ เวลา ๑๙.๐๐ น. ท่านอาจารยจ์ ึงปรารภถึงการจะ
อธบิ ายธรรมใหแ้ กท่ ีป่ ระชุมฟังอยา่ งยอ่ ๆทุกๆวนั กอ่ นทีจ่ ะมกี ารถาม-ตอบ
ดงั นั้นเม่ือท่านปัญญาวัฑโฒ แปลให้ท่ปี ระชุมฟังแล้ว ต่างแสดงความยินดี
ท่จี ะฟังตอ่ ไป ท่านอาจารยจ์ ึงได้เรม่ิ อธิบายธรรมเปน็ ครั้งแรก เมื่อเวลา
๑๙.๐๕ น. เรอ่ื ง “การเรียนศาสนา” โดยสงั เขป ดังต่อไปน้ี
ท่านอาจารย์ “พทุ ธศาสนาเกิดจากการปฏิบตั ิ เพราะพระพุทธเจ้า
ทรงปฏบิ ตั แิ ลว้ จนทรงรู้ ทรงเห็น และทรงทำ�ไดด้ ว้ ยพระองคเ์ องแลว้
จงึ ทรงเริม่ สอนผ้อู ื่นต่อไป ฉะน้ันศาสนาจึงสำ�คญั ที่การฝึกตนปฏิบตั ติ าม
คำ�สอนทางศาสนาเปน็ สำ�คญั การเรยี นพอเข้าใจ พอรู้ได้ แตม่ ิได้น�ำ มา
ปฏิบตั ิเป็นประจำ� ผลจงึ ไม่เกิดขึ้นตามทค่ี วร ดงั น้ันจึงควรศึกษาแลว้
ปฏิบตั ิศลี จนถึงขนั้ อธิศีล เรียนขัน้ ปัญญา จนถงึ ปัญญาระดบั ตา่ งๆ และถงึ
ขั้นอธิปัญญา เรยี นวิมุตติกต็ ้องปฏิบัติให้ถงึ วมิ ุตตหิ ลดุ พ้นได้จรงิ ๆ ดงั นน้ั
การปฏิบตั จิ ึงเป็นส่ิงสำ�คัญยง่ิ ในพุทธศาสนา เมอ่ื ใครปฏบิ ัตถิ ึงขนั้ ใดนนั้
ตนเองจะรู้ด้วยตนเอง เช่น การปฏิบตั อิ านาปานสติ กำ�หนดลมหายใจ ก็
รวู้ า่ ลมเป็นอยา่ งไร จติ สงบนง่ิ สบายอยา่ งไรก็ทราบ แตต่ ้องมสี ติ อย่าส่ง
จิตออกไปขา้ งนอก
ผู้ปฏบิ ตั ขิ ้ันต้นน้ัน สำ�คญั ท่จี ติ กบั สติ จิตจะดีขึ้นถา้ มสี ตคิ อยควบคมุ
อยู่ จติ จะสงบ เบกิ บานใจ ได้แสงสวา่ ง ความสขุ ก็เกิดมมี าเอง ถ้าจิตไม่มสี ติ
ควบคุม ปลอ่ ยให้มีอารมณ์ต่างๆ แทรกเข้ามากส็ งบไม่ได้ ความสขุ ก็เกดิ

๑๘

๑๙

ไม่ได้ เพราะฉะนนั้ หลกั สำ�คัญอยู่ท่ีอย่าปรุงแตง่ ให้เกดิ อารมณ์ อบรม
จติ ให้สงบจรงิ ๆ ความสุขก็ตามมาตามล�ำ ดับแห่งความสงบ สงบมาก
ก็เกิดความสขุ มาก จนเป็นความสุขอัศจรรย์ได้แมแ้ ตข่ ัน้ สมาธอิ นั ละเอียด
ส�ำ หรับอาจารย์เอง วันนี้รสู้ กึ เปน็ วันโชคดที ี่ไดม้ าพบทา่ นพุทธศาสนิก
ชาวองั กฤษอาจารยเ์ สยี ใจทไ่ี มส่ ามารถพดู องั กฤษได้ตอ้ งอาศยั ทา่ นปญั ญา
วฑั โฒ ช่วยในโอกาสอันเป็นมงคลน้ี ขอใหเ้ รามาน่ังสมาธริ ่วมกนั ตามก�ำ ลัง
ของแต่ละทา่ น บางท่านอาจท�ำ ไดน้ าน บางท่านเหนือ่ ยเร็ว ขอใหต้ า่ ง
คนตา่ งตัดสนิ ใจตัวเองวา่ จะนง่ั ได้นานเท่าไร จนกวา่ เกดิ ความเจบ็ ปวดขน้ึ
มาจงึ ค่อยออกจากสมาธิ แต่กค็ วรฝืนเอาบ้าง เพราะอยากดี มีความสขุ
ทางใจ ความสขุ ทางอ่ืนเราเคยผา่ นมาแลว้ ไม่สงสยั พอใหต้ ิดใจในความ
สขุ น้นั ๆ
เมอื่ อาจารยน์ ่งั ได้นานตงั้ ๑๒–๑๓ ชว่ั โมง เกิดความเจ็บปวดขน้ึ มา
ก็พิจารณาตรงท่ปี วด วา่ อะไรปวด? ๑ นว้ิ ๑ กระดูก ฯลฯ ถ้ามนั ปวด
เวลาตายแลว้ ท�ำ ไมไมป่ วด เพราะอะไรกนั แนท่ ป่ี วด ถ้าปวดท่จี ิต ก็ถ้า
ไม่มีร่างกายแลว้ จติ ตายไปด้วยหรอื เปล่า?…ฯลฯ เช่นนจ้ี นพบสจั ธรรม-
ความจริง แตก่ ารพิจารณาทกุ ขเวทนากล้า ต้องมีความอาจหาญตอ่ ความ
จริง อยากรู้ความจรงิ มากกว่าความเจ็บปวดและความตาย สตปิ ัญญา
ต้องหมุนตัวเหมอื นจกั รท�ำ งาน จงึ รไู้ ด”้
ทัง้ พระภิกษแุ ละฆราวาสจะน่ังสมาธกิ นั เป็นเวลานานเท่าใด ยังไม่มี
ใครใหค้ วามเห็นอยา่ งไร ก็มีผูต้ ้ังค�ำ ถามเรยี นถามทา่ นอาจารยด์ งั ต่อไปนี้
ข้ึนก่อน

๒๐

ค�ำ ถาม - ค�ำ ตอบ

ถ.๑๒–ช.๒ (หนุม่ ) นง่ั สมาธนิ านๆ ดีอยา่ งไร?
ตอบ เพยี งแตน่ ง่ั นานไมด่ ีตอ้ งนงั่ ใหไ้ ดผ้ ลแลว้ มนั เพลนิ ในการพจิ ารณา

เวลาก็ล่วงเลยไปนานเอง ผลที่สดุ ไดพ้ บกับความสุข ความพ้น
จากเจ็บปวดเอง อยา่ งน้ีจงึ จะดี เกดิ ปญั ญา เมอ่ื เกดิ ปัญญาแล้ว
จิตกส็ ว่างไสวเบิกบาน และเกิดความอาจหาญขน้ึ มาเอง คราวต่อไป
กไ็ ม่ย่อท้อในเวลาเกดิ ความทุกข์มากขณะน่ังภาวนานานๆ
ถ.๑๓–ช.๒ จะควรรแู้ ต่เพยี งปวดท่ีกระดกู นว้ิ มอื ว่าเปน็ ทุกขห์ รอื ?
ตอบ ไ ม่เพียงแตร่ แู้ ค่นน้ั ต้องพจิ ารณาไลเ่ ลียงกันไปจนเข้าใจด้วยปญั ญา
อย่างรอบตวั ถึงจะร้ทู ุกข์ชัดเจน เชน่ พจิ ารณาวา่ ทุกขอ์ ยทู่ ไี่ หน
แน่ คนตายแล้วทำ�ไมไม่เจ็บ คนตายไมม่ คี วามรอู้ ะไร เขาน�ำ ไป
เผาไฟก็ไมร่ ้อน ความรู้วา่ เจบ็ น้ันคืออะไร คอื จิตหรอื กายตาย
แลว้ จิตไมต่ ายหรือ ค้นคว้าหามลู ความจรงิ เมอื่ พบสจั ธรรมแลว้
กเ็ ขา้ ใจแจม่ แจ้ง รจู้ รงิ เหน็ จรงิ ตลอด ใจก็ปล่อยวาง ถา้ ไมร่ ูจ้ ริง
ก็ยังยึดถือกนั อยู่ ย่งิ อยากให้ทุกข์หายไป ก็ย่งิ เพิ่มทุกข์และสมทุ ยั
มากข้นึ ภายในใจ แทนทจี่ ะแกส้ มุทัย ก็กลบั เพิม่ สมทุ ัยให้มากขนึ้
อกี
ถ.๑๔–ช.๒ การร้สู ภาวธรรมอย่างรแู้ จง้ แทงตลอด เรากเ็ หน็ ทกุ ข์เป็น
ของธรรมดา ธรรมชาตใิ ช่ไหม?
ตอบ รทู้ กุ ข์ รสู้ ภาวธรรมของรา่ งกาย มีกายเปน็ ทกุ ข์ กายมนั กท็ ุกข์

๒๑

ของมนั รสู้ ภาวธรรมของจิต กร็ ้วู า่ จิตมธี รรมชาติเปน็ อยา่ งไร
ล�ำ พงั จิตเองไมม่ ีทุกข์ ท่มี ีทกุ ขม์ เี พราะเหตใุ ด ถา้ รู้จริงเรอื่ งนด้ี ้วย
แลว้ สจั ธรรมจงึ จะชว่ ยใหพ้ น้ ทุกข์ ไมม่ ีความทุกขใ์ ดจะมากระ
ทบกระเทือนจิตใจได้ ถ้าตา่ งฝ่ายตา่ งรจู้ ริงซ่งึ กนั และกันแล้ว
ถ.๑๕–ญ.๔ ยนิ ดีที่ไดท้ ราบวา่ ความเจบ็ ปวดทไี่ ด้รับเกิดข้ึนและดับไปได้
อย่างไร และฝกึ จติ ให้ถอนถอนจนกระทั่งถึงวมิ ตุ ตหิ ลุดพน้ ได้อยา่ งไร
ตอบ การปฏบิ ัติธรรม แตล่ ะคนมีประสบการณต์ ่างๆ กัน เม่อื น�ำ มา
ซักถามได้ฟังเรื่องของกันและกันก็ค่อยเข้าใจกว้างขวางขึ้น
ช่วยส่งเสริมก�ำ ลังใจกันไดม้ าก
ท่านอาจารย์ไดพ้ านงั่ สมาธิชวั่ ระยะหนึ่ง ทา่ นก็ลากลบั ปล่อยให้
ฆราวาสนัง่ อยู่ตามชอบใจของแต่ละคน

ปิดประชมุ เวลา ๑๘.๓๐ น.

๒๒

วันจนั ทร์ วนั ท่ี ๑๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

เริม่ ประชมุ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ หอ้ งประชุม ซ่ึงมีท่บี ชู า พระพทุ ธรปู
สัมฤทธ์ิองคข์ นาดหน้าตกั ราว ๑ ศอก ต้งั อยู่ ณ ทห่ี ลงั สุดตรงกลาง
โตะ๊ บชู า เบือ้ งหนา้ พระพทุ ธรปู องคน์ ้ัน มีพระพทุ ธรปู แกว้ ขาวมีแวว
ฉพั พรรณรังสี องค์ขนาดเลก็ ซงึ่ เม่อื มมี า้ สีเข้มคาดทองรองพร้อมกบั โตะ๊
เล็กพอรองให้สูงขึ้นด้วยแล้ว พระพุทธรูปแก้วองค์นี้จะดูประหนึ่งลอย
อยู่ระหว่างกลางพระอุระของพระพุทธรูปสัมฤทธิ์พอดี ทำ�ให้ผู้มาถวาย
สักการะ ระลึกถึงว่าพระพุทธเจ้าทรงมีพระธรรมอยู่กลางพระอุระแต่
ยงั ขาดพระสงฆ์อยู่ ทที่ ราบดงั น้กี ็เพราะว่านอกจากพทุ ธศาสนิกคนไทย
จะนกึ แล้ว รุ่งข้นึ จากวนั นี้ได้มสี ุภาพสตรชี าวองั กฤษผู้หน่งึ ซึง่ เคยเข้ามา
จ�ำ ศลี ภาวนาอยู่ ณ วัดปา่ บ้านตาด อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั อุดรธานี
ประเทศไทย ได้น�ำ รูปทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตั ตเถระ เป็นรูปถ่าย
ขนาดย่อม มาขอประดิษฐานเบือ้ งหนา้ พระพทุ ธรูปแกว้ นนั้ แตต่ ำ่�กวา่
พระพทุ ธรูป พองามไดส้ ว่ นกันพอดี พทุ ธศาสนิกทัง้ ปวงทม่ี าถวายสักการะ
ณ ห้องประชมุ นจ้ี งึ มีความปลม้ื ปตี ทิ ไี่ ด้บูชา พระพุทธเจา้ พระธรรม
พระสงฆ์ พรอ้ มกัน ณ หอพระแหง่ “ธมั มปทปี วิหาร” “DHAMMA PA-
DIPA VIHARA,” 131 Haverstock Hill, Hampstead, London N.W.3,
ENGLAND
เบือ้ งขวาของโตะ๊ บูชาพระพุทธรปู มเี กา้ อ้ตี วั ใหญ่ใชแ้ ทนธรรมาสน์
ตงั้ อยู่บนยกพน้ื อันเดยี วกบั โต๊ะบูชาพระพุทธรูป ลดชั้นลงมาทางเบือ้ งขวา
ของโต๊ะบูชานน้ั มเี ตยี งไมแ้ บบไทยยาวเลยี บไปตามฝาห้องด้านน้นั ขนาด
กว้างยาวพอสำ�หรบั ท่านปญั ญาวฑั โฒ (Peter John MORGAN)

๒๓

ชาวอังกฤษ กบั ท่านอภเิ จโต (George Rodney CHERRY) ชาว
แคนาดา นัง่ พบั เพียบฟงั ธรรมพอสบาย เบื้องซา้ ยของโตะ๊ ทบ่ี ชู า มแี จกนั
ใบใหญ่ปกั ดอกไม้ และมีโตะ๊ วางไมโครโฟนของเคร่ืองบันทกึ เสียงประจ�ำ
“ธมั มปทปี วิหาร” แห่งน้ี
ห่างจากยกพ้นื ทบ่ี ชู าดงั กล่าวออกมาประมาณ ๒ เมตร เบ้ืองหนา้
ของที่บูชานั้นมเี ก้าอี้เดย่ี วๆ ตง้ั เรียงแถวหนา้ กระดานเรยี งกันไปเป็นแถวๆ
ได้ ๓๐ ตัว ถา้ อยูเ่ พียงพอดีกับสง่ิ ทกี่ ล่าวมาแลว้ นนั้ แต่ยงั มีเกา้ อี้สำ�หรบั
เพม่ิ ได้อกี ตั้งไวอ้ ีกริมหน่งึ ของหอ้ งนน้ั เมือ่ มีผู้มารว่ มประชุมมากข้ึน ก็พอ
มีเน้ือท่ขี ยายออกไปตามความกว้างของหอ้ งถงึ หนา้ บนั ไดได้อีก หอพระนี้
ต้งั อยู่บนชนั้ สามของอาคาร “ธมั มปทปี วหิ าร” กรุงลอนดอน
เม่อื ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสมั ปันโน ท่านปัญญาวฑั โฒ และ
ทา่ นอภิเจโต แห่งวัดปา่ บา้ นตาด จังหวดั อุดรธานี ประเทศไทย ผู้พำ�นกั
อยู่ในกฏุ ิช้นั เดยี ว ซึง่ มีเครอ่ื งทำ�ความอบอนุ่ อยู่ท่ีพ้ืนหอ้ งท้งั ๓ ห้อง พร้อม
เคร่ืองใช้ทจ่ี �ำ เปน็ ส�ำ หรับสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ไดข้ ้นึ มาบนหอพระน้ี
ฆราวาสชายหญิงทนี่ ่ังท�ำ สมาธอิ ยูก่ อ่ นแลว้ หรือทม่ี ิได้ทำ�สมาธแิ ต่จะมา
ฟังธรรม กย็ ืนข้ึนดว้ ยความเคารพ จนกระทัง่ พระสงฆ์นงั่ ลงตามที่ของ
ทา่ นแลว้ ฆราวาสทง้ั ปวงจงึ น่งั ลงและพนมมอื ไหว้อยา่ งนอบน้อม ลูกศษิ ย์
ชาวอังกฤษเข้ามาถวายน�้ำ หวาน ถาดนำ้�หวานวางอยู่ระหวา่ งเตียงและ
เกา้ อ้ีทีพ่ ระสงฆ์นงั่

๒๔

การอธบิ ายธรรม

วนั นที้ ่านอาจารยเ์ ริม่ ดว้ ยการถามวา่ “วนั น้มี ีความมุ่งหมายในการ
ทีจ่ ะรบั ประโยชนใ์ นเรื่องใดบ้าง? เพราะอาจมีได้หลายทาง” เมือ่ มแี ต่
ความสงบเงยี บ ท่านอาจารย์จึงพดู ตอ่ ไปวา่
“การท�ำ สมาธิภาวนาในขณะทฟ่ี งั การอธบิ ายธรรมะนนั้ จะช่วยให้ใจ
สงบได้เปน็ อย่างดี ดงั น้ันจะเรมิ่ ด้วยอธบิ ายธรรมกอ่ น ในขณะที่ฟงั นน้ั
ใครเคยทำ�สมาธิแบบใดก็โปรดทำ�ไปดว้ ย เม่อื จติ สงบยอ่ มจะไดร้ ับรสของ
พระธรรม ตามภูมิตามชน้ั ของตนๆ
พระพุทธศาสนาที่เราได้นับถืออยู่ทุกวันน้ีเป็นธรรมที่สำ�เร็จมาได้ด้วย
พระพุทธเจา้ พระนามว่า “สมณโคดม” เปน็ ผู้ค้นคว้า ปฏบิ ัติตน ในทาง
ที่เหน็ วา่ จะประสบสจั ธรรมตามทที่ รงปรารถนา
ค�ำ วา่ “ธรรม” ก็คอื คำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้า ทีเ่ ป็นธรรมใหม่ มี
เปน็ ยุคๆ ตามที่แต่ละพระองค์ตรสั รู้และสั่งสอนโลก ความจริงธรรมแท้
เคยมปี ระจ�ำ โลกมาแลว้ แตด่ งั้ เดมิ ธรรมแทธ้ รรมเดมิ นัน้ สมมตุ ิไม่คอ่ ยถูก
แม้สมั ผสั กบั ใจอยูต่ ลอดเวลา ธรรมเหล่านม้ี อี ยูป่ ระจ�ำ โลก เป็นแตเ่ ราไม่
สามารถจะพบเหน็ ได้
“ธรรม” คอื อะไรบา้ ง? ธรรมมีท้ังฝ่ายเหตแุ ละฝา่ ยผล จึงเป็นเหตุให้
คดิ ไปในทางตา่ งๆ จนประมาณไม่ได้เกี่ยวกับธรรมและศาสนา
ค�ำ ว่า “ศาสนา” หมายถงึ พระโอวาท ค�ำ สง่ั สอนทเ่ี กิดข้ึนตามที่

๒๕

พระพทุ ธเจา้ ทรงปฏิบัติค้นควา้ หาความรคู้ วามจรงิ จนพบ เพราะการ
คน้ ควา้ ถกู ตอ้ งและไดร้ บั ผลเปน็ ทพี่ อพระทยั จงึ ไดป้ ระกาศเปน็ ศาสนธรรม
ข้นึ มาแก่โลกผูค้ วรแกศ่ าสนธรรม คอื การอบรมสง่ั สอน
การสอนธรรมแกโ่ ลกทเ่ี ตม็ ไปด้วยความมืดบอด ทีจ่ ะใหร้ ู้ความจรงิ
ตาม จึงเป็นการล�ำ บากแกผ่ ้สู ั่งสอนไม่เบาเลย เพราะก่อนทปี่ ระกาศธรรม
สอนโลกน้นั มนุษยม์ คี วามคิดเหน็ ตา่ งๆ กัน ซงึ่ สว่ นมากกข็ ัดกับศาสนธรรม
จงึ เป็นความลำ�บากในการอบรมสัง่ สอนอยูไ่ ม่น้อย ความเปน็ ศาสดาของ
โลกจึงจัดวา่ เป็นผู้รับภาระอันหนัก ฉะน้ันใครจึงไม่คอ่ ยปรารถนาเปน็
พระพทุ ธเจ้ากัน เพราะไม่อยากล�ำ บากด้วยการรบั ภาระในการส่งั สอนโลก
เหมอื นพระพุทธเจ้า
พระโอวาทของพระพทุ ธเจา้ ที่ทรงสอนประชาชนในโลกนน้ั ไมม่ ใี คร
สอนได้ถูกต้องแม่นย�ำ อยา่ งพระองค์ จงึ มีผู้เสริมพระนามวา่ “เป็นศาสดา
เอกในโลก” ไม่มีใครเสมอเหมือนได้ เพราะทรงฉลาดแหลมคมเหนอื มนุษย์
มีทั้งเหตุและผลครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่ขาดตกบกพร่องในการประกาศ
ศาสนธรรมแกม่ วลสัตว์
“ธรรม” กท็ รงชแ้ี จงทงั้ ทางกศุ ล อกุศล และอพั ยากตธรรม คือ
เป็นกลางๆ ไมด่ ี ไมช่ ว่ั เป็น “สวากขาตธรรม” ทีต่ รสั ชอบแลว้ คอื ถกู ตอ้ ง
และสงเคราะหล์ งในองค์แหง่ มรรค ๘ อนั เปน็ ทางสายกลาง ถา้ เปรยี บกับ
อาหารกม็ ีรสอรอ่ ย ไมเ่ ค็ม จดื เผด็ เกนิ ไป ถ้าเป็นเส้ือกางเกงกว็ ดั ตดั ใส่
เหมาะสมพอดพี องามแก่ผู้สวมใส่ ไม่เหมอื นใสเ่ สื้อโหลท่ีตัดเย็บแบบขาย
สง่ มากๆ ศาสนธรรมจงึ เปน็ ธรรมสายกลาง เหมาะสมทงั้ เหตแุ ละผลแต่
ต้นจนอวสาน

๒๖

ไม่เพยี งแตธ่ รรมเปน็ มชั ฌิมาเทา่ นน้ั แม้สงิ่ อาศัยในโลก ถ้าพยายาม
ทำ�ใหเ้ ป็นมัชฌมิ า ย่อมจะเปน็ สงิ่ ที่น่าดนู ่าชมนา่ อยู่น่าใชส้ อย เปน็ ผคู้ น
หญิง ชาย พระ เณร ที่ประพฤตใิ นหลักธรรมท่ีเป็นมัชฌิมา ย่อมจะ
นา่ เอน็ ดสู งสารน่าเคารพเลื่อมใสไม่จดื จาง โลกและธรรมย่อมมคี วามสงบ
เยน็ เป็นโลกทีน่ า่ อยอู่ าศยั ไมไ่ ดบ้ ่นกนั ว่า “โลกรอ้ น, เรารอ้ น, เขารอ้ น”
ดงั ที่เป็นอยู่ ความทอี่ ะไรก็เปน็ ไฟไปตามๆ กันแทบจะไมม่ โี ลกอย่กู เ็ พราะ
ความไม่ค�ำ นงึ ถึงหลักธรรมอันถกู ตอ้ งดงี ามน้นั แล โลกทีป่ ราศจากธรรม
คอื ความดีงาม จึงเปน็ โลกทต่ี รงกันข้าม บุคคลตรงกนั ข้าม ความตรงขา้ ม
กับธรรม จึงมีอ�ำ นาจผลิตความเดอื ดรอ้ นวนุ่ วายใหแ้ กก่ ันไม่มสี นิ้ สดุ ยุติ
ถา้ ไม่ยอมเห็นโทษและยุตคิ วามปีนเกลยี วแหง่ ธรรมเสีย โลกจะพึงรับทกุ ข์
กนั ตอ่ ไป
“มรรค” คอื ทางด�ำ เนนิ พระพุทธเจา้ ทรงประกาศดว้ ยหลักมชั ฌิมา
ลว้ นๆ จึงเปน็ ทางด�ำ เนนิ ท่ตี รงแนว่ ต่อแดนวมิ ุตติหลดุ พน้ โดยถา่ ยเดียว
ตลอดกาล ไม่มลี า้ สมัยทคี่ วรเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุการณต์ ่างๆ แมอ้ ะไร
จะเปลีย่ นแปลงไป จนกลายเป็นร้อยสันพนั คมก็ตาม แต่มัชฌมิ าธรรมย่อม
เปน็ ธรรมคงเส้นคงวาอยเู่ สมอ ถา้ เปน็ ยากเ็ ทา่ กบั ยาท่แี พทยไ์ ด้ทดลอง
แล้วจงึ นำ�มาใชใ้ นการรกั ษาโรค ธรรมทั้งปวงก็ไดร้ ับการพสิ จู นแ์ ละทดลอง
จากพระพทุ ธเจ้าแล้วโดยสมบูรณ์ ไม่มที างสงสยั ผลที่เกดิ จากการพิสูจน์
ก็คอื พระองค์ไดต้ รัสร้ดู ้วยธรรมเหลา่ นี้ และพระสาวกทง้ั ปวงก็ได้บรรลุถงึ
แดนแหง่ วมิ ตุ ตดิ ้วยธรรมเหล่าน้ีเชน่ กัน
วนั น้ีเราพากันมาอบรมจติ ใจเพื่อความสงบเย็น ปกตขิ องใจไมม่ มี ชั ฌิมา
ยอ่ มจะเลยเถิดอยู่เรอ่ื ย ความคดิ ความปรุง อารมณย์ ุง่ เหยงิ เกยี่ วกับหนา้ ที่
การงาน หรอื ความเคยชนิ ชอบใจพาให้เป็นไป เพราะฉะนนั้ ตอ้ งอาศัย

๒๗

หลักธรรมของพระพทุ ธเจา้ เป็นเคร่อื งอบรมใหจ้ ติ สงบ ไมม่ ากกน็ ้อย ไม่
เสียผล ใครจะก�ำ หนดอารมณ์ใด เช่น อานาปานสติ หรือบริกรรม
“พุทโธ ธมั โม สงั โฆ” ควรมีสตคิ วบคุมใจ อยา่ ปล่อยใหส้ ง่ ไปที่อ่นื ๆ ผลจะ
ไม่ปรากฏ ใจจะไมส่ งบ ธรรมท่านว่า “นัตถิ สันติ ปรงั สขุ ัง” ความสุข
อื่นยงิ่ กว่าความสงบไม่มี นแ่ี สดงว่าใจตอ้ งสงบถงึ จะมคี วามสุข เราควร
พยายามทำ�ใจใหส้ งบ ใจไมส่ งบมักมเี ร่อื งกอ่ กวนมากไม่มีประมาณ แม้
ขณะนอนหลบั ยังฝนั ไปต่างๆ จิตคิดมากทำ�ใหฝ้ นั เพ้อละเมอ ถ้าลงภวังค์
แหง่ ความหลบั อย่างสนทิ ก็ไมฝ่ นั ถา้ หลบั ไมส่ นทิ ก็ฝันไปตา่ งๆ

การอบรมก็เพือ่ ใจสงบลงได้ จะสงบมากน้อยแลว้ แตค่ วามสามารถ
ของแตล่ ะคน ถ้าสงบมากกม็ คี วามสุขมาก นี่คอื ขั้นแรกแหง่ การอบรม
คุณค่าของใจจะไดป้ รากฏใหเ้ จา้ ของไดช้ มบ้างขณะใจสงบ เพราะไม่มี
อะไรมคี ณุ ค่ามากเหมือนใจสงบ กรุณาทำ�ใจใหผ้ ่องใสเปน็ ลำ�ดบั ๆ ถึงจะ
ยากกค็ วรพยายามเอาชนะความยากและความขเี้ กียจใหไ้ ด้บ้าง สว่ นมาก
มีแต่มนั ชนะเราตลอดกาล คดิ ว่าพวกเราคงไมค่ ดิ สู้กบั มนั บา้ งพอเหน็ ฤทธ์ิ
กัน ถ้าคิดสแู้ ละสู้กันจรงิ ควรจะมเี วลาชนะกนั จนได้ ชนิดอ่นื ๆ ยงั เคย
ไดย้ ินว่ามกี ารชนะกัน เช่น การกีฬาเปน็ ต้น แตก่ ิเลสกับพวกเราได้ยินแต่
แพ้มันอยา่ งหลดุ ล่ยุ ทงั้ นีค้ งเปน็ เพราะความหมอบราบใหม้ นั ไตไ่ ปบนหลัง
เอาเลยกระมัง

ศาสนาน้กี ระเทือนโลก กเ็ พราะผา่ นการทดลองของทา่ นผู้มีพระทัย
บริสทุ ธิ์มาแล้ว การตรัสรูก้ ระเทอื นพระทัย คอื กระเทือนกิเลสในพระทยั
ของพระพุทธเจา้ เหมือนโลกธาตุสะเทอื น แมว้ า่ เราจะไม่เคยเหน็ ผลจาก
พระพทุ ธศาสนา แต่เราจะสะดุดใจเราเองเมอ่ื จติ ไดร้ บั ความสงบ เพราะ
การอบรมเบ้ืองต้นจะมีความสะเทอื นใจเรามาก เมือ่ จิตกับธรรมเข้าถึงกนั

๒๘

อย่างเต็มภูมิของจติ ของธรรม
คำ�วา่ “ศาสนา” ไม่เปน็ เรอื่ งเลก็ นอ้ ย มอี ย่กู บั เราทุกคน ไม่ใช่เป็น
ของคนนน้ั คนน้โี ดยเฉพาะ ไมใ่ ชเ่ ปน็ ของพระพทุ ธเจ้าโดยเฉพาะ พระองค์
สงั่ สอนเราเพ่อื เป็นคนดีมีคณุ คา่ สมความเป็นมนุษย์ ได้ทรงความดงี าม
จากศาสนาไวเ้ ป็นสมบัตขิ องตน ตลอดมรรคผลนิพพานกอ็ ยู่ในเงอ้ื มมอื ของ
ชาวพทุ ธผู้ตั้งใจปฏบิ ตั นิ ่แี ลจะเปน็ ผทู้ รงไวแ้ ละเสวยผลไปตลอดอนนั ตกาล
ไม่มหี มด ไมม่ สี น้ิ เหมือนสมบตั ิอน่ื ๆ ท่มี ี อนจิ จัง ทุกขัง อนตั ตา เปน็
ผูจ้ ับจอง
ฉะนนั้ ศาสนาจึงเปน็ ของท่านทุกคน ไมเ่ ป็นของเฉพาะของชาตชิ ้ัน
วรรณะใด วนั นี้อธิบายยอ่ ๆ กอ่ น ต่อไปนี้ขอให้ทา่ นปัญญาวัฑโฒ อธบิ าย
เทา่ ทจ่ี ำ�ได้”

๒๙

ค�ำ ถาม - ค�ำ ตอบ

ถ.๑–ช.๑ อะไรเปน็ จิต? จะเป็นความเอาใจใสใ่ ชไ่ หม?
ตอบ จิตในอทิ ธิบาท ๔ เป็นความเอาใจใส่ ประกอบกบั ความระลึกได้

เป็นสติ จิตชอบไปโนน่ น่ี จะทำ�อะไรไม่กลัวผิด กลัวภัย ถ้าไมม่ สี ติ
ยับยัง้ กห็ ลงระเริงไปได้ ถา้ จะเปรยี บจติ เป็นสัตว์ สตเิ ปน็ ผ้บู ังคับ
สตั ว์ จติ ท่มี กี เิ ลสครอบงำ� ถา้ ฝึกให้มสี ตกิ �ำ กับ จะคอ่ ยเรยี บรอ้ ย
ขึน้ และขจัดกเิ ลสลงไปได้ เม่อื ประกอบกับปญั ญาพจิ ารณา
ถอดถอนกเิ ลสด้วย จิตกม็ คี วามผ่องใสขน้ึ เมือ่ จิตผ่องใสขนึ้ โดย
ลำ�ดับ จะพบวา่ จติ ละเอียดยิ่งขนึ้ และมพี ลงั อำ�นาจมากขนึ้ จติ จะ
บริสุทธไิ์ ดเ้ พราะการปฏิบัติ จะเขา้ ใจโดยเพียงอ่านหนังสือไม่ได้
จะรู้จักตัว “จติ ” ได้กแ็ ตก่ ารปฏิบัติ แล้วค่อยๆ เห็นตัวจรงิ ของ
จติ ขน้ึ ทกุ ที จนเห็นไดอ้ ย่างชดั เจนหายสงสัย
ฉะนน้ั ภาคปฏบิ ตั ิจึงส�ำ คัญมากในการอยากรู้จัก “จิต” และจะรู้
จิตแทไ้ ดอ้ ยา่ งชัดเจน หายสงสยั ดว้ ยการปฏบิ ัตเิ ท่าน้นั อย่างอืน่
ไม่ใชว่ ่าจะรู้ได้
ถ.๒–ญ.๑คนในองั กฤษเรยี นพทุ ธศาสนาจากหนงั สอื ไมร่ วู้ า่ มจี ติ การสอน
พทุ ธศาสนาทน่ี ่ีกม็ ไิ ด้สอนอยา่ งในสติปัฏฐานสตู ร เลยทำ�ใหเ้ ขา้ ใจว่าจติ
เป็นสติปัญญา ฉะนั้นจำ�เป็นที่จะขอให้ท่านปัญญาวัฑโฒเรียนท่าน
อาจารยใ์ หส้ ร้างความเขา้ ใจเรื่องจิต
ทา่ นปัญญาวัฑโฒ กราบเรยี นท่านอาจารย์เป็นภาษาไทยว่า

๓๐

“คนในประเทศน้ีเขา้ ใจว่าจิตเป็นความคิด จติ แยกเปน็ จิตทมี่ าจาก หู
ตา กาย ฯลฯ ซึง่ เป็นวิญญาณ”
ตอบ จติ ตอนทีเ่ กิดเม่อื มอี ะไรมาสัมผัส ตา หู จมกู ฯลฯ เกดิ ความรู้

รบั สมั ผสั เรียกวา่ วิญญาณ มคี วามเกดิ และดบั ตามความสัมผสั
นั้นๆ สว่ นจติ ทเ่ี ป็นผคู้ อยรู้เร่อื งเหล่านั้น จติ ไมไ่ ด้ดับไปพร้อมกบั
วิญญาณทีด่ ับไป จติ ไม่ดับไปแมร้ า่ งกายจะดบั ไป จติ นีจ่ ะไปสบื
ภพสืบชาตใิ หมต่ ่อไปไม่มที ่ีสิ้นสดุ ถ้ายางใจคอื กิเลสอวชิ ชามีอยู่
ในจิต จนกว่ายางใจคือกเิ ลสสนิ้ ไปจากจิตถึงจะหมดการสืบตอ่
ภพชาติ ดงั พระพทุ ธเจ้าและพระสาวกอรหนั ต์ เปน็ ตวั อยา่ ง

ถ.๓–ช.๑ ตวั ผ้รู ู้นี้ ทีเ่ ราเรียกว่าตัวเราเอง อัตตาใช่ไหม? หรือจะเป็น
ไมใ่ ชต่ วั ตน?
ตอบ ถ้าจะเปรยี บตวั ผรู้ เู้ หมือนบันไดที่พาเราข้นึ มายงั หอ้ งน้ี เรายงั ตอ้ ง

ยดึ เป็นตัวเราอยู่ และปล่อยวางไปเป็นขัน้ ๆ จนเราถึงห้องที่
ประสงคฉ์ ันใด ถ้าเรม่ิ ตน้ โดยไมย่ ึดตัวตนเสยี เลยแลว้ จะเขวกนั
ไปใหญ่ เพราะไมม่ ีหลักอะไรจะยดึ เราตอ้ งใช้ตัวตนนีเ้ ป็นทาง
นำ�เราไปให้ถึงท่ซี ง่ึ ไม่ตอ้ งยดึ ตวั ตน ดงั นน้ั ในขนั้ นี้ยงั ไมค่ วรไปคดิ
เร่อื งอัตตา-อนัตตา จ�ำ ต้องอาศัยเขาไปก่อนจนกว่าจะถึงจุดทีห่ มาย
ระหว่างอตั ตา-อนัตตากบั จติ ก็ปล่อยวางกนั เอง เชน่ เดียวกับเรา
ขนึ้ บันไดไปจนถึงทีแ่ ลว้ บันไดกับเราก็หมดปญั หากนั ไปเองฉะนน้ั

ถ.๔–ช.๒ เมื่ออุปมากบั บนั ได เมอื่ เราข้ึนไปถึงข้ันสดุ ท้าย เราตอ้ งปลอ่ ย
วางบันไดหรือจติ เช่นนั้นหรอื ?
ตอบ เมื่อฝกึ จิตแล้ว เราประสบผลเปน็ ขน้ั ๆ เราก็ปลอ่ ยวางอะไรได้

เป็นขั้นๆ ไป จนขัน้ สุดท้ายก็เลิกได้เอง ไมต่ ้องไปบงั คับอะไร จะ

๓๑

ทำ�ได้ก็ต้องถึงขั้น “มหาสติ มหาปัญญา” เพราะเปน็ ขนั้ ที่จะควร
ปล่อยวางสมมตุ ิโดยประการทัง้ ปวง ไม่ยึดถอื ไวใ้ หเ้ ปน็ ภัยแก่ใจ
ต่อไป

ถ.๕–ญ.๒ การทำ�สมาธิจะทำ�ให้เกดิ ผลดีอยา่ งไรบา้ ง?
ตอบ ไ ดค้ วามสงบเยน็ ใจ เต็มไปด้วยเหตผุ ลและการควบคุมตนเอง ไม่ทำ�

อะไรตามใจตัวและขาดเหตผุ ล คิดให้เห็นคณุ และโทษตอ่ ผูอ้ ื่น
และตนเองอยเู่ สมอ ท�ำ ให้เปน็ ผู้ไมม่ ีความรสู้ กึ ทกุ ข์หม่นหมอง
ประจำ�ใจ ใจก็มหี ลกั ไม่เล่ือนลอยดังท่ีเคยเปน็ มา เหมอื นมีอาชพี
เปน็ หลักหรือมีอาคารบ้านเรอื นเป็นที่อยู่อาศยั ไม่เดือดรอ้ น

ถ.๖–ญ.๒ จะฝึกท�ำ สมาธิไดอ้ ย่างไร?
ตอบ จะใช้อานาปานสติ หรือภาวนา “พุทโธ ธัมโม สังโฆ” ก็ได้

แลว้ แตน่ ิสยั และอปุ นสิ ัยของแต่ละคน วิธตี ่างๆ กน็ ำ�ไปสูค่ วาม
สงบของใจทง้ั สิ้น แม้กำ�หนดวา่ “ตายๆ ๆ” เป็นคำ�บริกรรมก็
เป็นการฝกึ จิตได้เชน่ กนั ส�ำ คัญทใี่ ห้จติ เกดิ ความสลดสังเวชตวั
เองได้ ย่อมจะเห็นโทษในสิ่งทตี่ ิดใจรกั ชอบได้ ท�ำ ไมในวธิ ฝี กึ จติ
จึงให้ก�ำ หนดจติ อยู่ตรงนั้นตรงน้ี การก�ำ หนดลมใหร้ ้วู า่ ลมเข้า
ลมออกท่จี มกู อยูเ่ รื่อยน้ัน ไมใ่ ชฝ่ กึ หายใจ มนั เปน็ เหมือนเบ็ดตก
ปลา สง่ิ ทต่ี อ้ งการคือปลา หรือถ้าจะเปรยี บจติ ของคนทยี่ งั ไม่ได้
รบั การฝึกอบรม จติ กระจายไปตามทีต่ ่างๆ เหมอื นอย่างแหท่โี ยน
ลงในน้ำ�แล้วมนั แผ่ไปไกล จนไม่เห็นว่ามนั เป็นอยา่ งไร ถ้าจะรูจ้ ัก
จิต ตวั จติ เราก็ตอ้ งจบั “จอมแห” คอื ตรงจุดรวมเสน้ ของแหที่
มเี ชือกผูกไวแ้ ลว้ ดึงข้นึ มา แหกจ็ ะคอ่ ยๆ มารวมกนั จนเห็นได้
และเอามาอยู่ในก�ำ มือของเราได้ จติ อยู่ที่ตัวเรา เราเป็นเจ้าของ

๓๒

จติ แตไ่ ม่สามารถบังคบั จติ ใหเ้ ป็นอะไรตามใจเราได้ เราเหมา
เอารูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปน็ จิตเปน็ ใจของเรา
ความจรงิ มนั แยกกันได้ จะเรม่ิ เห็นได้เม่อื ปฏบิ ตั ิ และจะสามารถ
ส่งเสรมิ จติ ให้เจริญข้ึนหรือต�ำ่ ลงกไ็ ด้ เมอ่ื ปฏบิ ัติไปแลว้ จะคอ่ ยๆ
พบวา่ จติ นเ้ี ปน็ เจ้าแห่งความเกิดความตาย ถ้าเราท�ำ บญุ ใหท้ าน
รักษาศีล ทำ�สมาธิ เราก็ส่งเสรมิ ฝึกจิตให้ดีขึ้น ให้ผอ่ งใสขึ้น ยก
ระดับของจิตขึ้น แต่ถา้ เราปล่อยตามใจ ไม่กลัวเกรงบาปอกุศล
จติ จะทำ�อะไรก็ทำ�ไป ไมม่ คี วามควบคุมแล้ว จติ กจ็ ะตกต่�ำ ลง
และประสบแตค่ วามทุกข์ แม้ในปจั จบุ ันน้ี เมื่อมีความกลมุ้ ใจไมร่ ู้
จะท�ำ อยา่ งไร กป็ ลอ่ ยให้ทุกข์กลุ้มรุมทั้งท่รี อู้ ย่นู ่ัน และเพราะไม่
ทราบวธิ แี ก้ไขเปลยี่ นจากทุกข์กลับเปน็ สุขได้ โลกจงึ ยอมรับทกุ ข์
ทางใจกันท้ังๆ ทีไ่ มอ่ ยากรบั
จิตนน้ั ถ้าฝึกแล้ว กเิ ลสตา่ งๆ หมดไปแล้ว จติ ทบี่ ริสุทธ์ินี้ก็ยังตอ้ ง
อาศัยธาตขุ นั ธอ์ นั นีอ้ ย่ไู ป ดำ�เนนิ ไปกอ่ น แตก่ จิ การงานท่ที �ำ ของ
ผูม้ ีจติ บรสิ ทุ ธิน์ ัน้ จะเปน็ คณุ แกส่ ่วนรวมแกโ่ ลกเทา่ นัน้ จติ บริสทุ ธิ์
นีเ้ รยี กว่า “อรหัตหรอื อรหันต”์ ผู้เป็นอรหนั ต์ จิตบรสิ ุทธิ์เต็มที่
เตม็ ภูมิหมดเหตทุ ่ีจะท�ำ ให้มาเกดิ อีก ประสบความสุขอย่างพงึ ใจ
ในขณะท่ียังไมต่ าย เม่ือตายแล้วก็เป็นบรมสุข ไม่มที ุกขห์ รือสม
มุติใดๆ เข้ามาเกย่ี วข้อง จงึ มพี ระพุทธพจนว์ า่ “นพิ พานงั ปรมงั
สุญญัง” นิพพานคือการสูญสิ้นความทุกข์อย่างยิ่ง แต่มิได้
หมายความวา่ นิพพานแล้วจะหายไปเลย ดงั ท่โี ลกเข้าใจกนั แต่
มไิ ดม้ อี ยแู่ บบทโ่ี ลกมกี ัน คือ สุขแบบนพิ พานมอี ยู่แบบนิพพานท่ี
สน้ิ สมมุตแิ ลว้ (จติ บรสิ ุทธ์ยิ งั อย)ู่ ถา้ จิตยังครองขนั ธ์อยู่ กิเลสดบั

๓๓

ไป กแ็ สดงวา่ ได้ไปถึง “วมิ ตุ ต”ิ แล้ว
“วมิ ุตติ” กับ “สมมุต”ิ น้นั ตา่ งกนั มาก ยากทจ่ี ะเอาเร่อื งของ

โลกทีม่ สี มมุติมาเปรยี บกบั ความไมม่ สี มมตุ ิ คือ “วิมตุ ต”ิ ได้
พระพทุ ธศาสนามุง่ สอนใหเ้ ราท�ำ จิตของเราให้บรสิ ทุ ธิ์ เพ่ือความ
สุขอันประเสรฐิ ที่สุดของ “วิมตุ ต”ิ
ถ.๗–ญ.๓ เมื่อวานน้ีท่านปัญญาวฑั โฒวา่ ตอ้ งใช้แรงงานในการท�ำ สมาธิ
มากไป วันน้ีก็พดู กนั เรอื่ งความจ�ำ ซงึ่ เป็นเรอื่ งของสมอง ดิฉันเข้าใจว่า
จิตใจคอื แรงงานและสมอง ใชไ่ หมคะ?
ทา่ นปญั ญาวัฑโฒ กราบเรียนท่านอาจารยเ์ ปน็ ภาษาไทยว่า เม่อื
๒–๓ วนั น้ี ได้อธิบายวา่ ตอ้ งพยายามใช้แรงงานในการทำ�สมาธิ ได้
ชแี้ จงด้วยว่าถ้าเร่งมากไปใจจะวนุ่ วายตอ้ งใชส้ มองเพอื่ จดจ�ำ
ตอบ การเรยี นและปฏิบตั ธิ รรมของพระพทุ ธเจ้า ตอ้ งใชส้ ตปิ ญั ญามาก
ข้ึนไปโดยล�ำ ดบั นับแตช่ ้นั เรม่ิ ตน้ ทีละน้อยๆ จนถงึ มหาสติ มหา
ปัญญา การศกึ ษาและฝกึ สมาธกิ เ็ พ่ือต้องการให้จติ สงบ จติ สงบ
มคี ณุ มาก แม้แตข่ ณะนอนหลบั สนิท เม่ือตื่นข้ึนจติ ก็แจม่ ใส แต่
เวลาหลบั มใิ ชว่ ่าจะพักจติ ใจได้สนิทเสมอไป สว่ นใหญม่ ักพักไมไ่ ด้
สนทิ ดี จงึ เกดิ ฝนั และละเมอเพอ้ พก ตน่ื ข้ึนกไ็ ม่แจ่มใสสบายใจ
การหลับสนิทดี จติ ลงภวงั คแ์ ห่งความหลบั อยา่ งสนิทย่อมไมฝ่ นั
ธาตขุ นั ธ์ก็มกี �ำ ลัง จิตใจกแ็ จ่มใส การเขา้ สมาธิจติ สงบได้สนทิ ก็
ยอ่ มจะมคี วามสุขและเกดิ ก�ำ ลังทางใจ จะคดิ อา่ นการงานต่างๆ
ย่อมปลอดโปร่งโลง่ ใจ คิดได้ทะลุปรุโปรง่ ผดิ ธรรมดา ฉะนัน้ การ
ฝกึ จติ ทางสมาธกิ ด็ ี ทางปัญญากด็ ี ตามหลักพระพุทธศาสนา จึง
เป็นเคร่ืองสนบั สนนุ การงานไดด้ ี ไมท่ �ำ งานใดๆ ใหเ้ สียไปดังทม่ี ัก

๓๔

เขา้ ใจกนั อยู่เสมอ แม้ชาวพทุ ธท่สี ักแต่ชอ่ื วา่ ถอื พุทธ ไม่รูเ้ รื่อง
ของพทุ ธ
ฉะน้ัน การพากเพียรทำ�งานให้ไดผ้ ลตอ้ งใช้แรงงานและความ
บากบ่ัน แตก่ ใ็ ช้ในกรณีต่างกัน เชน่ ถ้าตอ้ งการความสงบก็
ตอ้ งใชค้ วามบากบัน่ เพื่อมุง่ จดุ เดียว คอื ระงบั ความฟ้งุ ซ่าน ถ้า
จะพิจารณาให้รู้สัจธรรมกต็ ้องใช้แรงงาน ความบากบนั่ ใน
การสังเกตและท�ำ ความเขา้ ใจในธรรมแงต่ า่ งๆ ถา้ จะมุ่งใหเ้ กดิ
ปัญญา กต็ อ้ งใช้ท้งั แรงงาน ความบากบนั่ ในการพิจารณาเหตผุ ล
ตา่ งๆ
ถ.๘–ญ.๔ ถา้ ท�ำ งานเหนือ่ ย จิตวุ่นวายมากๆ จะควรนอนหลับหรอื ควร
ปฏิบัต?ิ
ตอบ ควรนอนหลบั กม็ ี ตามกรณี ถ้าจะช่วยทางจิตใจใหส้ งบและหลับ
ไดด้ ีกค็ วรปฏบิ ตั ภิ าวนาไปดว้ ยเมอ่ื ภาวนาจนหลบั ไปจติ กส็ งบได้กาย
กไ็ ดพ้ กั แตไ่ มค่ วรจะวา่ งเวน้ การปฏบิ ตั ติ ามวธิ ที เ่ี คยท�ำ ถา้ มเี วลาพอจะ
ทำ�ได้

ปิดประชุม เวลา ๒๐.๐๘ น.

๓๕

วนั องั คาร วันท่ี ๑๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ. ๑๙๗๔)

เวลา ๑๗.๔๕ น. นายกพทุ ธสมาคมแหง่ ประเทศอังกฤษ Mr.Christmas
HUMPHREYS มานมัสการทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน
พรอ้ มกับนำ�ผลไม้มาถวายด้วย
ท่านอาจารย์ลงมาที่ห้องพระซึ่งเป็นที่ประชุมทำ�สมาธิด้วย เวลา
๑๘.๐๐ น. เพราะนัดกันวา่ เริม่ งาน ๑๘.๓๐ น.
การสนทนาโต้ตอบระหว่างท่านอาจารย์กับนายกพุทธสมาคมแห่ง
ประเทศอังกฤษ มีดงั ต่อไปนี้
นายกฯ กระผมมานมัสการ กระผมเป็นนายกพทุ ธสมาคมในประเทศ

องั กฤษ ซ่งึ เป็นสมาคมเก่าแกม่ าก
ทา่ นอาจารย์ ยินดีมากทีไ่ ดม้ าพบกนั สมาคมของทา่ นอย่ทู ่ไี หน?
นายกฯ ห่างจากท่นี ้ี ๕ ไมล์ สมาคมน้กี ่อตง้ั เม่ือเดอื นพฤศจิกายน ๕๐

ปมี าแลว้ ภรยิ าและกระผมเป็นผรู้ ่วมกอ่ ตัง้ สมาคมนี้ เม่อื คร้งั
น้นั ประเทศอังกฤษมชี าวพทุ ธเพยี ง ๒๐ คนเทา่ น้ัน
ท่านอาจารย์ ปัจจบุ นั นม้ี เี ทา่ ไร?
นายกฯ ไม่ทราบ ทราบแตว่ ่าเขยี นและพมิ พ์หนงั สือเก่ยี วกับพระพทุ ธ
ศาสนาขนึ้ ทไี ร ต้องพมิ พ์ถงึ ครงึ่ ล้านเลม่ เพราะคนสนใจกัน
มาก ทีส่ มาคมของกระผมมสี มาชกิ ๒,๐๐๐ กวา่ คน คนสนใจ
มมี าก ต้งั กนั เปน็ กลุ่มข้นึ กบั พทุ ธสมาคมนี้ถงึ ๓๐ กลมุ่ และ
กระผมได้รูจ้ กั กับศูนยช์ าวพทุ ธ ๗ แหง่ ท่านอาจารย์สนใจใน
องค์การพทุ ธศาสนกิ สัมพันธ์โลก/พ.ส.ล. หรอื เปล่า?
ท่านอาจารย์ องคก์ ารพ.ส.ล.นำ�เทศน์ของอาตมาไปแปล ลงพิมพใ์ น

๓๖

หนังสือของพ.ส.ล.อยเู่ สมอ
นายกฯ เมือ่ ไมน่ านมานี้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวและสมเด็จ

พระบรมราชินีนาถของไทยเสด็จมาเยี่ยมพุทธสมาคมท่ี
องั กฤษ ทา่ นอาจารย์ไปเยี่ยมทีพ่ ุทธปทีปหรอื เปล่า?
ท่านอาจารย์ คิดอยู่มาก และไม่ใช่แต่น่ีแหง่ เดยี ว คิดถงึ ท่ีอืน่ ๆ ด้วย ถา้
มโี อกาสก็อยากจะไป
นายกพทุ ธสมาคมแห่งประเทศองั กฤษ นมสั การลากลบั เวลา ๑๘.๑๐ น.

ค�ำ ถาม - ค�ำ ตอบ

หลังจากที่นายกพุทธสมาคมแห่งประเทศอังกฤษกลับไปแล้ว ท่าน
อาจารย์ถามทีป่ ระชุมวา่ ท่ีพดู เมือ่ วานนีใ้ ครมขี ้อข้องใจอย่างไร โปรดถามได้
ถ.๑–ญ.๑ ได้อ่านหนังสือของท่านอาจารย์เหน็ มคี �ำ วา่ “จิตตวิมุตติ” กับ
“พทุ โธวมิ ุตต”ิ หมายความวา่ กระไร?
ตอบ “จติ ตวิมุตติ” เปน็ ค�ำ ใช้ทัว่ ไปส�ำ หรับจิตใครๆ ทีห่ ลดุ พน้ เปน็ พระ

อรหันต์ “พทุ โธวมิ ุตติ” เปน็ ค�ำ ใช้สำ�หรับพระจิตของพระพทุ ธเจ้า
เทา่ นั้น รวมแล้วกเ็ ปน็ จิตบริสุทธิด์ ว้ ยกนั
ถ.๒–ช.๑ ได้อ่านหนงั สือพบวา่ มีวญิ ญาณ ๖ คือการสัมผัสกันของ
อายตนะภายนอกกับอายตนะภายใน แลว้ มีวิญญาณที่ ๗ อีกหนงึ่ คือ
อะไร?

๓๗

ตอบ วิญญาณ ๖ เปน็ เรื่องสิ่งภายนอกมากระทบ หู ตา จมูก ฯลฯ
กร็ ู้สึก คือรู้ว่าเปน็ สง่ิ นั้นสง่ิ น้มี ากระทบ น้เี ป็นอาการของจติ
วญิ ญาณท่ี ๗ ได้แก่ ปฏสิ นธวิ ิญญาณ เป็นส่วนทไ่ี มร่ บั ทราบ
อะไร แต่ไปปฏสิ นธิในทีต่ ่างๆ ถือกำ�เนิด ณ ที่สงู ตำ�่ กาล
สถานท่ี แล้วแตส่ าเหตุท่จี ะน�ำ ไปซงึ่ อยใู่ นจิต จงึ มีการเกิดใหม่
พระพทุ ธเจา้ ทรงกำ�หนดวญิ ญาณทง้ั ๖ ก็เพือ่ ให้เราไม่ติดอย่ใู น
ส่งิ ทเี่ หน็ ท่รี ู้ ให้รู้แตว่ ่ามนั เกิดๆ ดบั ๆ ไม่มแี กน่ สารอะไร เมื่อ
ควบคมุ มันไดจ้ ะไดเ้ หน็ วญิ ญาณท่ี ๗ เดน่ ขึ้น วิญญาณน้มี ีดวง
เดียวเป็นเอกวิญญาณ ถ้าจะเปรียบก็เหมือนตน้ ไม้ ซงึ่ มสี ว่ น
สำ�คญั ทใ่ี ชท้ ำ�ประโยชน์ได้ ส่วนอกี ๖ วญิ ญาณนน้ั ได้แก่ กิ่ง
กา้ นสาขา ท�ำ ประโยชน์สำ�คญั ๆ ไม่คอ่ ยไดด้ ี ดงั น้นั จึงควรสังวร
และมุ่งไปสนใจพิจารณาจิตอันเป็นเอกจิตท่ีจะไปถือกำ�เนิดเป็น
อะไรตอ่ ไป และสมควรท่ีจะพยายามรกั ษาจติ ให้สะอาด ส่งเสรมิ
ใหส้ ูงข้นึ ตามภูมขิ องตนๆ ทีจ่ ะควรไดร้ บั จากการปฏบิ ัติ

ถ.๓–ช.๑ วิญญาณคอื ผ้รู ู้ และปฏิสนธิวิญญาณคอื จติ เอง ซ่ึงหมุ้ ห่อด้วย
กุศลและอกุศลจงึ นำ�ไปสู่การเกิดใหม่ ตัวอย่างเช่น การสร้างบ้าน จะให้
แกน่ สำ�คญั ดหี รือไม่อย่างไร ให้สนใจอนั น้ี แทนท่ีจะไปสนใจเรื่องเลก็ ๆ
นอ้ ยๆ ทอี่ ยู่ข้างนอก ใช่หรอื ไม?่
ตอบ เข้าใจถกู แล้ว แตก่ จ็ ำ�ตอ้ งพจิ ารณาส่ิงเกีย่ วขอ้ งจนเป็นที่เขา้ ใจ

แลว้ ปลอ่ ยวาง พจิ ารณาประสานกันกบั จิตซ่งึ เปน็ ตัวการสำ�คัญ
จนเข้าใจทัง้ สว่ นยอ่ ยสว่ นใหญ่ จึงจัดว่าพจิ ารณารอบคอบ

ถ.๔–ช.๒ จติ คอื ทรี่ ู้ท่ัวไป เมอ่ื คดิ โน่นคิดนเี่ อามารวมกนั เปน็ สังขาร
สังขารเปน็ อนิจจงั แตเ่ มอ่ื วานน้ีทา่ นบอกว่า จติ มีอยู่ ตั้งอยูถ่ าวร โปรด

๓๘

อธบิ าย
ตอบ จิตใจท่ัวไปของสามญั ชนเป็นอนิจจัง มสี มมุตแิ ทรกอยู่ สิง่ ใดใน

โลกทเี่ ป็นสมมุติแล้วยอ่ มอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คอื อนิจจัง
ทกุ ขัง อนตั ตา จิตของปถุ ุชนกย็ ังอยูใ่ นกฎน้ี คือต้องเปลี่ยนแปลง
ไปตามกุศลและอกศุ ลสง่ ไปเกิดใหม่ จติ ท่ไี มเ่ ปล่ยี นแปลง อยู่
ถาวรนนั้ คอื จติ ท่บี รสิ ทุ ธิ์ ทบ่ี รรลุอรหันต์แล้ว ไม่มอี นจิ จงั ทุก
ขงั อนตั ตา เขา้ แทรกเหมอื นจิตสามญั ท่ัวไป ทอ่ี ธิบายนี้เป็นภาค
ปริยัติ อาจเอาไปถกเถยี งกันได้ไมจ่ บ ถ้าบุคคลไม่ปฏิบัติแล้วพดู
กันไปกไ็ มเ่ กดิ ประโยชนอ์ ะไรข้ึนมา ถา้ ปฏบิ ัติจะได้เหน็ สจั ธรรม
ดว้ ยตนเอง การอ่าน พดู ฟงั เข้าใจกัน แต่ยังไมป่ ฏบิ ัตนิ ัน้ มี
แตท่ างโตเ้ ถยี งกนั เพราะธรรมของพระพทุ ธเจา้ มีอย่างหยาบ-
กลาง-ละเอยี ด ดังน้ันจึงควรพดู ในเรอ่ื งทจี่ ะใหป้ ระโยชน์แก่กนั ดี
กว่า สง่ิ ทไ่ี ด้จากหนงั สือกับสิง่ ที่ได้จากการปฏิบตั เิ องนนั้ ยอ่ มตา่ ง
กนั อยมู่ าก เพราะความจำ�กับความจรงิ ท่รี ู้เหน็ จากการปฏิบัติตา่ ง
กันอยู่มาก เพียงจำ�ได้โดยมิไดป้ ฏบิ ัติ แม้จะพูดผลแห่การปฏิบตั ิ
ใหฟ้ ังเพียงใดก็ยังเข้าใจได้ยากอยู่นัน่ เอง จนกว่าไดป้ ฏบิ ตั แิ ละรู้
เห็นขึ้นกบั ใจก็คอ่ ยหายสงสัยไปเอง
ถ.๕–ช.๒ จะมวี ธิ ีถอดถอนความโกรธภายในตัวของเราได้อยา่ งไร?
ตอบ ในพระอภธิ รรมเรียกตวั โกรธเปน็ มูลรากของโทสะ พดู ใหฟ้ ังก็พอ
เข้าใจได้ แตถ่ า้ จะถอดถอนรากมูลของความโกรธจรงิ ๆ แล้ว
ถอนยาก ตอ้ งอาศัยการปฏบิ ตั เิ ปน็ ส�ำ คญั เพราะการถอดถอน
กิเลสต้องถอดถอนดว้ ยความจรงิ จากการปฏิบัตจิ รงิ มไิ ดถ้ อดถอน
จากความจ�ำ ได้ตามทเ่ี รียนมา ซึ่งใครๆ ท่เี รียนกพ็ อจ�ำ ได้ แต่กิเลส

๓๙

ไมก่ ลวั ยงั อยู่อยา่ งเดิม สง่ิ ใดทีเ่ ข้ามาเกี่ยวข้องกับเรา นิสัยใดๆ
ทีบ่ ุคคลมี มันเปน็ เรอื่ งสบื เนื่องกนั มา ถา้ ปฏิบัติพยายามถอดถอน
กถ็ อดถอนได้ พระอรหนั ต์ที่มาจากผู้มีความโกรธมากก็ยงั มี เรา
เป็นมนษุ ยป์ ถุ ชุ น เพียงแตร่ ้แู ละเขา้ ใจน้ัน ไมส่ ามารถจะถอดถอน
รากมลู ของโทสะได้ ตอ้ งอบรมจิตใจดว้ ยการรู้โทษของโทสะกย็ อ่ ม
ละกนั ไปเอง สว่ นจะละตามความต้องการเฉยๆ นัน้ ย่อมไม่สำ�เร็จ
ต้องอาศัยการปฏิบัติจึงจะเห็นผลไปโดยลำ�ดับ ที่เรียกว่าการ
ภาวนาอยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมกับที่จะถอดถอนกเิ ลสชนดิ นั้นๆ
กรุณาทราบว่า กเิ ลสมไิ ด้กลัวความจ�ำ ช่อื ของมนั ได้เพียงเทา่ นนั้
แม้จะจ�ำ ไดก้ ระทงั่ โคตรแซ่ของมัน มันกค็ ือกิเลสทนี่ ่งั นอน ขบั
ถ่าย อย่บู นหวั ใจสตั วโลกอย่นู ้นั เอง มไิ ดค้ ดิ จะโยกย้ายถ่ายเทไป
ไหน นอกจากการปฏบิ ัตจิ ติ ตภาวนา อบรมสติปญั ญา ให้แก่กลา้
สามารถขับไลม่ นั ออกไดเ้ ท่าน้ัน มนั ถงึ จะกลวั และแตกกระจาย
ออกจากใจอยา่ งไม่มปี ัญหา ดงั พระพุทธเจ้าและสาวกท้งั หลาย
ท่านทรงขับไล่ด้วยการปฏบิ ตั มิ าแล้ว จงึ ได้น�ำ วิธนี นั้ มาสอนโลก
เรอ่ื ยมาจนปัจจุบันนี้
จะบอกวิธีน่งั สมาธใิ ห้ ว่าทำ�ไมพระพุทธเจา้ ท่านจงึ ทรงน่ังขดั
สมาธิ ดเู ผินๆ กด็ ไู มส่ �ำ คัญ จะนั่งอยา่ งไรกไ็ ด้ แต่ถา้ จะนัง่ เปน็
ชวั่ โมงๆ กค็ วรจะนัง่ ขดั สมาธบิ า้ ง เพราะทุกส่วนของรา่ งกาย
นำ�้ หนักลงเท่ากัน เมื่อมีความปวดเจ็บ กจ็ ะปวดเจบ็ ไปท่วั ๆ
กนั ไม่เจ็บปวดหนกั ในส่วนใดสว่ นหนึง่ นั่งนานๆ อาจเจบ็ ปวด
มาก เพราะการทำ�สมาธภิ าวนาเป็นงานส�ำ คัญมากสำ�หรับผมู้ งุ่
ผลจริงจัง การน่ังกน็ านเป็นช่วั โมงๆ ถ้าจะมากังวลกับร่างกาย

๔๐

มากนกั ทางด้านจิตใจก็อ่อนแอแล้วแตท่ กุ ข์ทางกาย เราต้องม่งุ
ไปที่จิตเปน็ ส�ำ คัญ ใหจ้ ติ ท�ำ งานตามท่กี �ำ หนดไวแ้ ละมสี ตคิ วบคุม
ในขณะทำ�สมาธิ ไมใ่ ชเ่ ทยี่ วออกไปข้างนอก คดิ เร่ืองน้นั เรอ่ื งน้ี
จติ ทมี่ สี ตบิ งั คับเสมอจะอยู่กบั ตวั สงบ รตู้ วั ไดช้ ัด ย่ิงมสี ติสบื ตอ่
กนั ดเี พียงไร จิตก็ยิ่งเดน่ ดังนน้ั ต้องอยา่ ใหจ้ ิตวอกแวก

ถ.๖–ช.๓ ครูสอนสมาธชิ ือ่ อลกมาลา (Alakamala) ว่า การเอาจติ ไว้
ที่สงิ่ ของไมไ่ ดว้ ิมุตติ ทำ�ไม่จึงไมถ่ ึงวิมุตติจิต?
ตอบ กเ็ พราะสง่ิ ของเป็นส่งิ ของ มใิ ชว่ มิ ตุ ติ จะให้จติ ถงึ วมิ ุตตไิ ดอ้ ยา่ งไร

การพิจารณาสงิ่ น้นั ก็มไิ ด้เพ่ือจะเอาส่ิงนั้น แต่เพอ่ื รู้จกั ปล่อยวาง
ต่างหาก ในเรอ่ื งอรหตั มรรค-อรหัตผลนนั้ พูดเรอ่ื งสตปิ ัญญาดว้ ย
ถ้าใชส้ ติอย่างเดยี วไมใ่ ชป้ ญั ญากไ็ ม่ได้ผลตามที่ปรารถนา จะถอด
ถอนกิเลสได้โดยสิน้ เชิงก็ตอ้ งเอาสตกิ บั ปัญญาไปใชใ้ ห้เตม็ ท่ี สติ
ปญั ญาเปรยี บเสมอื นเคร่ืองมือ การใช้เครอื่ งมือก็ต้องรวู้ า่ อะไร
จะใช้กบั อะไร วิธใี ชเ้ คร่ืองมอื นน้ั ๆ ทำ�อย่างไร สติมีมากกจ็ รงิ แต่
บุคคลทำ�หน้าท่ีของตนบกพร่องเพราะไม่ได้ใช้ปัญญาตามที่ควร
แล้ว ผลสำ�เรจ็ ในเร่อื งนัน้ ๆ ย่อมไมเ่ กดิ เต็มภูมทิ ี่ควรจะเกดิ ความ
บกพร่องต่อหนา้ ทไ่ี ม่ใช่ของดี ผลจึงไมส่ มบูรณ์ ถ้ามเี คร่ืองมอื ดี
เวลาเจา้ ของใชผ้ ดิ ทีก่ ็ไมไ่ ด้ผลดีตอบแทนความตอ้ งการ ฉะน้นั
ที่เรียนมัชฌิมาจึงควรคำ�นึงถึงความพอดีเสมอ จะสมชื่อของ
ธรรมคือมัชฌมิ าทเี่ คยเรยี นมา

ถ.๗–ช.๓ จะต้องฝกึ ให้เกดิ ดุลใช่ไหม?
ตอบ ท�ำ สมาธเิ ป็นตาชง่ั ตาเต็ง ดวู ่าอะไรบกพรอ่ งก็ตอ้ งท�ำ ให้เจรญิ ขึน้

อนิ ทรีย์ ๕ มีศรัทธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา เกีย่ วกบั ของ

๔๑

เราทั้งนนั้ อยา่ งกบั แสงสวา่ งทส่ี อ่ งลงบนวัตถุอันหน่ึง ยอ่ มสว่าง
ตอนบน มเี งามดื ตอนล่าง ปญั ญาเป็นแสงสวา่ งท่แี ทงทะลไุ ด้
จรงิ แต่ต้องสอ่ งผา่ นกองกเิ ลสที่หมุ้ ห่อดวงใจให้ทะลุ ไมม่ ีเงาของ
กเิ ลสแอบซอ่ นอยใู่ นดา้ นใดของจติ ใจไดเ้ ลย ก็แปลวา่ ปญั ญาแก่
กล้าสามารถพจิ ารณารอบคอบ ลอดความมดื แหง่ กเิ ลสท้ังมวล
ไปไดอ้ ย่างสบายหายหว่ ง ถึงวมิ ุตตหิ ลุดพ้นโดยสิน้ เชิง

ถ.๘– ทา่ นปญั ญาฯ แปลว่าอนิ ทรยี ท์ ้ัง ๕ นั้น ตอ้ งดไู วใ้ หด้ ี ถ้าปญั ญา
แก่กล้าก็แทงตลอดเหมือนแสงสว่างส่องจากข้างบนทะลุถึงข้างล่าง
ไม่มเี งาคืออวิชชาเหลอื อยู่เลย ใชไ่ หม?
ตอบ จติ วิมุตติคอื จิตบริสุทธ์ิจริงๆ ไมม่ เี งา สวา่ งรอบดา้ น ถ้ายงั มีเงา

อยู่จะว่าเงาเปน็ อวชิ ชากไ็ ด้ ขอ้ ส�ำ คัญ จิตจะบรสิ ุทธ์ิไดต้ อ้ งกเิ ลส
ทั้งมวลหมดสน้ิ ไปแล้ว

ถ.๙–ญ.๒ ขอทราบวา่ จิตคืออะไร?
ตอบ คือผ้รู ู้ จติ แทค้ ือรอู้ ยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไว้วา่ จติ

เดมิ แท้ผอ่ งใส แตม่ ีกิเลสมาคลุกเคล้า จึงเป็นไปตามกิเลส จิต
จงึ ขุน่ มัว การชำ�ระจิตจงึ ต้องอาศยั สตปิ ัญญา ความเพยี ร เมอื่
จิตผ่านพ้นความผอ่ งใสไปแลว้ ก็บริสุทธ์ิ ซ่งึ ได้แกจ่ ิตเป็นวมิ ตุ ติ
น่ันเอง คำ�ว่า “ผ่องใส” ประภสั สร เป็นภาวะของ “วัฏจิต” ตา่ ง
กบั “วิวัฏจิต” หมายความวา่ ประภสั สรคอื ความผอ่ งใส แต่ยงั
ไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ ความผ่องใสทปี่ รากฏจากภาคปฏิบตั กิ ็คอื กิเลสรวม
ตวั เข้าไปอยจู่ ดุ เดยี วนน่ั แล เมื่อความผ่องใสอนั เปน็ กเิ ลสชนดิ
ละเอยี ดสุด ผา่ นไปแล้วด้วยการชำ�ระของมหาสติมหาปญั ญา
จิตกบ็ รสิ ุทธ์ิ

๔๒

ถ.๑๐–ช.๔ การรกั ษาจติ ให้อยู่แตภ่ ายในตนเองนนั้ คือท�ำ อย่างไร?
ตอบ อยากจะทราบเรอื่ งจติ เรากภ็ าวนาให้จติ สงบ ปญั ญานนั้ ใชอ้ อก

ขา้ งนอกกไ็ ด้ เข้าข้างในก็ได้ แตป่ ญั ญาจะเกดิ และคลอ่ งแคลว่
ต้องให้มจี ิตสงบบ้าง ถา้ จติ สงบดี ก็ทราบลักษณะจิตของเราได้
การสงบของจิตควรให้ทรงตัวอยู่ได้นาน จึงจะสร้างฐานความ
มั่นคงให้แก่ตนเองและเกิดความช�ำ นาญ จะท�ำ ให้จติ สงบเมอื่ ไร
ก็ได้ จิตสงบย่อมผ่องใสไปเรอ่ื ยๆ รวู้ า่ ตนมีกิเลสอะไรอยู่บา้ ง
มีปัญญาแก้ไข ถอดถอนกเิ ลส จติ ก็ยิ่งผอ่ งใสข้นึ จนกำ�จัดกิเลส
ออกได้ด้วยปัญญา นีเ่ ปน็ ข้นั ท่ี ๑
กิเลสกม็ ีอย่างหยาบ-กลาง-ละเอยี ด เราต้องใช้ปัญญาตามถอด
ถอนทกุ ระดับ ความรทู้ ่ีประกอบดว้ ยกิเลสน้นั ไมใ่ ช่จติ แท้ แต่เปน็
อาการของจติ เมอื่ ทำ�จนจติ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง ไมเ่ ศร้าหมอง ไม่มี
อาการอันใดของจติ ท่ีมีกเิ ลสคลุมทั้งหมด จติ นีจ้ ะร้วู า่ ไม่มสี าเหตุ
อะไรใหไ้ ปเกิดปฏิสนธิตอ่ ไปแล้ว จิตบรสิ ุทธิ์ไมต่ ้องปฏิสนธแิ ลว้
จิตท่ีมีเชอื้ ความดีความช่วั อยู่ เปรยี บเหมือนเมลด็ ท่ีจะเกดิ ได้ ซึง่
มเี ชอ้ื หรอื พชื อย่ใู นเมลด็ น้นั จิตอย่างน้จี ึงมีเกิดแลว้ ตาย แล้วเกดิ
อกี ตามผลทต่ี นสร้างสมไว้ ดชี ว่ั ต่างๆ กนั สว่ นจิตทบี่ ริสทุ ธ์ิ จงึ
เปน็ จิตคงท่ี ไม่มีเชื้อไปเกดิ อีก ไมว่ า่ ใครจะเชอ่ื วา่ ตายแลว้ สูญ
ตายแล้วไม่สูญ ถ้าจิตมีเช้อื ของความดคี วามชั่วอยู่ มันกเ็ กิดอีก
วนั ยงั ค�่ำ ถา้ จติ บรสิ ทุ ธไ์ิ ม่มีเช้อื จติ กไ็ มเ่ กิด คงท่อี ยู่อย่างนั้น แต่
ความคงที่ของจิตทีบ่ รสิ ุทธิ์ผดิ กบั ความคงทีท่ ีโ่ ลกเข้าใจกนั จงึ ไม่มี
ใครเขา้ ใจความคงที่ของจิตทีบ่ รสิ ทุ ธิไ์ ดถ้ กู ต้อง นอกจากพระอรหนั ต์
เทา่ น้นั

๔๓

พระพทุ ธเจ้าท่านทรงท�ำ จนเห็นจรงิ แลว้ ไมใ่ ชเ่ ดาสุ่ม คาดคดิ
กันอยา่ งพวกเราๆ ดังนนั้ ธรรมของทา่ นจงึ ถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำ จริงๆ
เปน็ ที่เชือ่ ถอื ไดอ้ ยา่ งตายใจ

ถ้าเราทำ�ใหถ้ ึงขั้นจติ บริสุทธ์ไิ ม่ได้ ก็ควรพากเพียรท�ำ ความดีให้
จติ ดวงนี้ ซ่ึงจะเกิดเปน็ อะไรก็ตาม ใหเ้ ปน็ ไปในทางที่ดีทเ่ี จรญิ
เถดิ ดีกว่ากอดความลงั เลสงสยั ไวข้ วางทางเดนิ ของตนอย่เู ปลา่ ๆ
โดยไม่เกดิ ประโยชน์อะไร นอกจากขวางไว้เพอื่ ปัดหรือผลักลง
กองวัฏทกุ ขเ์ ท่าน้นั

ถ.๑๑–ช. ๕ การจะตรัสรูไ้ ด้นั้นตอ้ งมาเกดิ เป็นมนษุ ย์เทา่ น้ันหรือ?
ตอบ สัตวอ์ ื่นๆ ไมม่ สี ติปัญญา มนุษย์มสี ตปิ ญั ญามาก แตก่ ็ต้อง

ประกอบด้วยความพากเพยี รมากเป็นพิเศษจงึ จะตรัสร้ไู ด้ ดังนั้น
มนษุ ย์จึงไม่ใชท่ กุ คนที่จะตรัสร้ไู ด้ พรหมโลกชน้ั สทุ ธาวาสเป็นภูมิ
จะบรรลุธรรมข้ันสูงสุดได้อย่างแน่นอนกว่ามนุษย์จำ�นวนมาก
เสยี อกี มนษุ ยถ์ า้ ไมพ่ ากเพียรทำ�ความดี ย่อมจะท�ำ ใหร้ ะดบั ของ
ตนตกต�ำ่ ลงไปได้ มนุษยเ์ ราก็มี ๔ จ�ำ พวก เหมือนบัว ๔ เหล่า
คือ
๑. พวกมีภมู ิวาสนาเต็มที่แล้ว พร้อมจะก้าวเขา้ ถงึ ขั้นสำ�เรจ็ ในไมช่ า้
เมอื่ ไดร้ ับอบุ ายแห่งธรรมอย่างถูกตอ้ ง
๒. พ วกท่รี องกันลงมา และพร้อมทจี่ ะบรรลธุ รรมในลำ�ดับตอ่ ไป ถา้
เปน็ โรคกพ็ รอ้ มทจ่ี ะหายเมือ่ ถกู กบั ยา
๓. พวกทพ่ี อแนะนำ�สงั่ สอนได้ หลายครง้ั หลายหนจึงมีทางเข้าใจ
ปฏิบตั ิโดยสมำ่�เสมอกม็ ที างบรรลุได้ ถา้ เป็นโรคกม็ ที างจะหายถา้
ถูกกบั ยา และมที างจะตายได้ ถา้ เจา้ ตวั ประมาทชอบรบั ประทาน

๔๔

ของแสลงซึ่งขัดกับยา
๔. พวกสดุ ทา้ ยนี้ สดุ เสียทกุ อยา่ งขน้ึ ชอ่ื วา่ ความดี แต่ถา้ เป็นความ

ชวั่ กส็ ไู้ ดก้ ระทง่ั หมดลมหายใจไมม่ ถี อยเพราะเปน็ จ�ำ พวกมดื แปดทศิ จงึ
ไม่รจู้ ักกลัวทุกข์
จิตก็เหมอื นส่ิงทั้งหลาย มีต้นไมแ้ ละเด็ก เป็นตน้ ตอ้ งไดร้ บั การ
บำ�รงุ สง่ เสริมจึงจะเจริญขน้ึ แต่จิตนั้นต้องแล้วแตเ่ จ้าของเองจะ
บ�ำ รงุ อยา่ งไร กเ็ ปน็ ไปตามนนั้

๔๕

สมั โมทนียกถาของทา่ นอาจารย์

ยินดีท่ไี ดม้ าชว่ ยตอบปญั หาทา่ นในที่น้ี การมาน้เี ป็นการช่ัวคราว อยู่
นานไม่ได้ เน่ืองจากมกี ิจธรุ ะมากในประเทศไทย เพราะเป็นประเทศพทุ ธ
ศาสนา มีคน ๘๐–๙๐% นับถอื พทุ ธศาสนา ต้องติดต่อกบั ประชาชนลูก
ศษิ ยล์ กู หา จะมาประเทศอังกฤษตอ้ งเตรยี มทำ�ไว้ตัง้ ๓-๔ เดอื นจึงมาได้
สำ�เรจ็ แต่กต็ อ้ งรีบกลับเพราะทางโน้นคอยอยู่ มาไดร้ ับความเออื้ เฟอื้ จาก
พีน่ อ้ งชาวอังกฤษท้งั หลายกย็ นิ ดคี ดิ อยากจะมาอกี แต่ก็อนิจจงั -ทุกขัง-
อนัตตา ท�ำ ใหเ้ ราแน่ใจไมไ่ ด้ว่าจะมโี อกาสมาได้อีกเมอ่ื ไร
เช่ือว่าธรรมะที่พูดกันในวันน้ีคงจะทำ�ให้ท่านได้สาระอันสำ�คัญนำ�ไป
ปฏิบตั ิตอ่ ไป
อาตมาเสียดายทท่ี ่านปญั ญาฯ ท่านอยูเ่ มืองไทย ๑๒ ปี พูดไทยเขา้ ใจ
ภาษาไทยได้ อาตมาก็พยายามเรียนภาษาอังกฤษจากท่านปญั ญาฯ ใน
ระยะนเี้ หมือนกัน แตเ่ รยี นไม่ไดจ้ รงิ ๆ จังๆ มาคร้ังนจ้ี ึงไมส่ ามารถจะพูด
กับท่านเป็นภาษาอังกฤษได้ ต้องพ่ึงการแปลของทา่ นปญั ญาฯ
ถ.๑๒–ช.๓ บัดน้ีทา่ นอาจารยไ์ ด้มาเห็นกรงุ ลอนดอน เมืองใหญท่ ี่คน
ท�ำ งานชุลมนุ วุน่ วายเช่นน้ี ใครจ่ ะเรยี นถามว่าในบา้ นเมอื งเชน่ นี้คนจะ
ฝกึ สมาธไิ ด้หรือ?
ตอบ ถา้ คนตายแลว้ กฝ็ ึกสมาธิไม่ได้ แตถ่ า้ ยังมชี วี ติ อย่กู ฝ็ กึ ได้ เพราะ

มีเวลาว่นุ เวลาว่าง ไม่ได้ยงุ่ เสมอไป พดู ถึงเมอื งมนษุ ย์แล้ว
เมอื งไหนกค็ อื เมืองของคนท่มี ปี ากมีท้อง ซง่ึ จำ�ตอ้ งว่ิงเต้นขวน
ขวายหามาเยียวยาความบกพร่องต้องการของธาตุขันธ์

๔๖

เช่นเดียวกัน จำ�ต้องมีความชุลมุนวนุ่ วายเหมือนๆ กนั ไปบ้านใด
เมืองใด กม็ แี ตบ่ ้านเมอื งทวี่ นุ่ วายดว้ ยกันทั่วโลก เพราะอาชพี
บังคับ เหน็ ไมว่ นุ่ แต่ปา่ ช้าคือบ้านคนตายเท่านัน้ แต่ใครเล่าจะ
อยากไปบ้านที่ไม่วุ่นวายแบบนั้น แม้แต่สัตว์ยังไม่อยากไปกัน
ฉะนน้ั เมอ่ื พวกเราอยากอยเู่ มอื งชุลมุนวนุ่ วายดงั ท่เี ปน็ กันอยกู่ ็
จ�ำ ต้องทนเอา เพราะความจำ�เปน็ บังคบั ดังท่รี ู้ๆ เหน็ ๆ กนั อยูท่ ัว่ ไป
ในโลกมนุษย์และสตั วท์ ีม่ ีปากมีท้องด้วยกัน จะพึงขวนขวายเพ่อื
ความอย่รู อด

ปดิ ประชมุ เวลา ๒๐.๓๐ น.

๔๗

คำ�ถาม - คำ�ตอบ

วันพธุ วนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

ถ.๑–ช.๑ วานนที้ ่านบอกว่า การกำ�จัดความโกรธนนั้ ยาก แต่พอพูด
เข้าใจได้ ขอใหท้ ่านอธิบายวนั นีบ้ ้างไดไ้ หม?
ตอบ พยายามมองใหเ้ ห็นโทษของความโกรธแลว้ จะขจัดมันไปได้ ความ

โกรธทคี่ นอน่ื แสดงตอ่ เรา เราไม่ชอบ เราเห็นว่าไมด่ ี เวลาเราโกรธ
คนอนื่ กเ็ ปน็ อาการทไ่ี มด่ ี และท�ำ ให้เกิดผลร้ายตามมา แตเ่ รา
มกั ไม่รูส้ ึกตวั ว่านน่ั ไมด่ ีธรรมดาถา้ เรารวู้ ่าอะไรไมด่ เี ป็นภัยภายหลงั
เราก็ไม่ท�ำ ถ้าเราคิดวา่ ดี หรือไม่คดิ เหน็ โทษของมนั และทำ�ตาม
อารมณ์แห่งความโกรธ เรากข็ จดั ความโกรธไม่ได้ นอกจากจะ
เปน็ การสง่ เสริมความโกรธใหม้ ีก�ำ ลงั มากข้นึ เพื่อรังควานตนเอง
และเผาผลาญผู้อื่นอยรู่ �ำ่ ไปเทา่ น้ัน
ถ.๒–ช.๒ การแสดงความโกรธมบี างคราวมนั ก็สมควรไดบ้ า้ งไหม?
ตอบ ความโกรธนน้ั ร้อน แตค่ นมกั คิดวา่ ดี ชอบแสดงออกมา ใครท�ำ
อะไรไม่ได้อย่างใจเราก็โกรธ ถา้ เราไม่ควบคมุ อารมณ์ มนั ก็มแี ตจ่ ะ
รนุ แรงยิง่ ข้ึน เคยรสู้ ึกหรอื ไม่ว่า บางทเี รากโ็ กรธตวั เอง เพราะทำ�
อะไรไมท่ นั ใจตัวเอง ความรูส้ กึ โกรธทำ�ใหร้ อ้ น ไม่สงบเย็นใจ กริ ยิ า
แสดงความโกรธไม่นา่ ดู การปล่อยใหเ้ กดิ ความโกรธอยู่เร่อื ยๆ โดย
ไมพ่ ยายามระงับดับเสยี บา้ ง ก็เกิดเปน็ นสิ ยั เพราะเปน็ การสง่
เสริมมนั แลว้ ท่านจะเอาความสบายใจมาจากไหน ถ้าความโกรธ
เปน็ ปุ๋ยพอใสต่ น้ ไมไ้ ด้ กค็ วรโกรธเวลาต้องการปยุ๋ ใส่ต้นไม้ ถ้าใช้

๔๘


Click to View FlipBook Version