ทจ่ี รงิ เร่ืองของจิตชนดิ นี้มไี ม่มากนกั มรี าว ๕ เปอร์เซ็นต์เห็นจะ
ได้ ถ้ามีครอู าจารยท์ ีถ่ กู ตอ้ ง พวกนดี้ ี นสิ ัยผาดโผน อาตมากเ็ คยเป็นมา
เหมอื นกนั แต่จิตไมส่ ง่ ไปข้างนอก เรารู้ทนั ความสว่างพงุ่ ขึ้นแบบเหาะ
เหนิ เดินฟ้าตายไมม่ ปี า่ ช้า เรารแู้ ลว้ ถอนจติ มาทฐี่ านเดมิ ของจิต พอจติ
เหน็ แลว้ ก็ดบั ได้ทันทีๆ เจ้าของตอ้ งผ่านเร่ืองบา้ ๆ เชน่ นม้ี ามาก จงึ พอ
ทราบเรื่องต่างๆ ของนกั ปฏบิ ัตไิ ดพ้ อสมควร และแกไ้ ขกนั ไดไ้ มแ่ หวก
แนว หรือเหาะเหินเดินฟา้ ทง้ั ทไี่ ม่มีปีก
คราวหนึ่งกำ�ลังนงั่ ภาวนาอย่ใู นกระโจมในหมบู่ ้านแห่งหนึ่ง ซ่งึ มีปอบ
ดุมาก พระมนั กเ็ ขา้ ไดไ้ ปภาวนาในปา่ เวลาตี ๔ เห็นคนหนง่ึ ท่ชี าวบ้านว่า
เปน็ ปอบน้นั มา ตามันลอกแลก มันเข้ามาทเ่ี ราพกั แล้วเดนิ แยกไปหม่บู ้าน
อนื่ เวลาภาวนาเราไม่รวู้ า่ เราอยู่ท่ีไหน พอผีมาเจอเราในขณะทน่ี ง่ั สมาธิ
ภาวนา เราหลบ ตอนนนั้ กายเราก็หลน่ ต้บุ ลงมา รตู้ วั แลว้ ขบขนั เหลอื
เกนิ เรารวู้ ่าจิตทำ�เรา แต่เราไมไ่ ด้พดู กับใคร เราเหน็ อะไรรู้สกึ อะไร ตอ้ ง
ใช้ปญั ญาพจิ ารณาว่าอะไรแน่ ต้องหาทางแก้ ถา้ อะไรผ่านเขา้ มา หลงว่า
เป็นจรงิ ไปหมดก็จะพลาด เราตอ้ งมคี วามรตู้ ัวและพิจารณาอย่เู สมอ ถา้
ไมร่ ู้ก็สอนคนไม่ได้
จิตบางนิสัยพิสดารมาก ถา้ ไม่มคี รอู าจารย์ก็จะเสียหาย ถ้ามคี รู
อาจารยค์ อยแนะให้ ผู้นน้ั จะได้รับประโยชนเ์ ร็ว ใชไ้ ดด้ ี ตอ้ งอบรมสติ
ปัญญาให้ทัน จิตจึงจะไม่เสียไปได้และเป็นประโยชน์กว้างขวางไม่มี
ประมาณ จติ และอารมณ์ของจติ รูส้ กึ พสิ ดารมาก ยากจะพรรณนาใหถ้ ูก
ตอ้ งกับความจริงท่ีปรากฏน้ันๆ แตถ่ า้ เป็นนักปฏิบัตธิ รรมด้วยกัน มีนิสยั
คลา้ ยคลงึ กัน รูเ้ หน็ สง่ิ ต่างๆ เหมอื นกันกพ็ ดู กันรูเ้ ร่ือง เช่นเดยี วกบั เรา
เรยี นวชิ าแขนงเดยี วกนั ย่อมพดู กันรูเ้ รอื่ ง แมค้ นอืน่ จะไมเ่ ข้าใจ”
๑๔๙
ค�ำ ถาม - ค�ำ ตอบ
ถ.๑–ญ.๑ ในประเทศองั กฤษ ไมม่ อี าจารย์ดีๆ อย่ทู ี่นี่ จะท�ำ อยา่ งไร?
ตอบ ถา้ ไม่มอี าจารย์ เรากต็ ้องปฏบิ ตั ิสมาธิเอาเอง และพจิ ารณาให้
ทันและใหม้ าก จติ ท่มี นี ิสยั ชอบรู้ส่งิ ภายนอกเกิดขน้ึ มาในขณะทำ�
สมาธิ ถ้าปล่อยใหม้ นั ออกไปข้างนอกตัวเรา คอื ออกไปรไู้ ปเหน็
อะไร ก็อาจเข้าใจว่าเราเกดิ มหี ูทพิ ย์ตาทิพยอ์ ะไรขนึ้ ถ้าพจิ ารณา
โดยอย่ารีบเช่อื เชน่ นน้ั ทันที เราจะเข้าใจว่า อนั ใดจิตปรุงแต่งขนึ้
มา และอันใดเปน็ ความจริง ทางทด่ี ีให้หันกลับมาพจิ ารณาตวั เอง
กจ็ ะไมเ่ กิดประสบการณท์ เี่ ป็นปญั หาอะไร ส�ำ คญั ทกี่ ารปฏิบัติตอ่
จิตของตนให้ถกู ข้นั เริ่มแรกควรใหจ้ ิตอยู่กบั ตัว อย่าส่งออกไปขา้ ง
นอก จิตอาจเกิดนิมิตต่างๆ ซง่ึ ตามรไู้ ม่ทนั จะพาใหเ้ สียหลักได้
แตเ่ มอ่ื ช�ำ นาญแลว้ ก็ไม่มปี ญั หาอะไร
ถ.๒–ช.๑ ถ้าไดอ้ ุปจารสมาธิแล้วเกดิ อะไรขึ้น จะแกอ้ ยา่ งไร?
ตอบ ควรรายงานให้ครอู าจารย์ของเราทราบ ตอนน้ียงั ไมค่ ดิ จะตอบ
เพราะจะไมเ่ กดิ ประโยชน์ จึงขอผา่ นไป
ถ.๓–ญ.๒ ในประเทศน้ีมหี นังสือเร่ือง ทุกขงั อนจิ จัง อนัตตา เม่อื เรา
เรยี นสูงๆ ขน้ึ ไป ในทส่ี ดุ ชกั ไม่เขา้ ใจวา่ อะไรกนั แน่
ตอบ การเรยี นสูง รสู้ ูงข้ึนไปมาก ความรู้อาจเขา้ ขั้นอวกาศก็เปน็ ได้ จึง
ไมเ่ ขา้ ใจว่าอะไรเป็นอะไร เพราะมันละเอียดมากไป ความจดจำ�
จากการเรยี นกบั ความจรงิ นั้นตา่ งกัน พวกเรารดู้ ว้ ยความจดจำ�
พระอริยบุคคลท่านรูด้ ว้ ยความจรงิ จงึ ละ อนิจจัง ทกุ ขงั อนัตตา
๑๕๐
ได้ แล้วพ้นทกุ ข์อยา่ งหมดเยือ่ ใย อยา่ งเรอื่ งแมก่ ับลกู ไปเท่ียวจับ
ปลา ต่างคนกค็ ล�ำ ลงไปท่โี คลนหาปลา ลูกจับได้งู ไม่รู้วา่ งู ชขู นึ้ ให้
แม่ดู แม่รู้ แต่มีสติไหวทัน รอ้ งบอกลกู วา่ “ปลาดหี ายาก ให้จับไว้
ให้แนน่ อยา่ ปล่อยเลย แม่จะตามไปช่วย” ลูกก็จบั คองไู ว้แนน่ พอ
แม่เดนิ มาถึงกช็ ่วยตงี ตู าย แล้วจงึ บอกลกู ว่า “นั่นไมใ่ ชป่ ลา เปน็ งู
พษิ แตถ่ ้าแม่บอกเจ้าตอนนน้ั เจา้ อาจกลวั และปลอ่ ยมนั ไป มนั ก็
จะกลบั มากัดเอา แม่จงึ ต้องใชว้ ธิ นี ี้”
เรอ่ื งนเี้ ป็นตวั อยา่ งส�ำ หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ิธรรม คืออา่ นมากแล้ว ก็จะเริม่
ตน้ อตั ตา อนัตตา ไม่ยึด ไมถ่ อื อะไร จนไมม่ หี ลกั จะยึด ตอ้ ง
ถอื อัตตาไว้ ในขณะทเ่ี ราปฏิบัตธิ รรมเปน็ ข้นั ๆ เหมอื นเรายดึ บันได
ก้าวขึ้นไปทีละขนั้ ๆ พน้ ขั้นใดก็ไม่ยดึ ถอื ข้ันน้ัน จนกระท่งั เราขน้ึ ถงึ
หอ้ งชน้ั บนทีเ่ ราต้องการ เรากท็ ิง้ บันได ไมไ่ ปยึดมันไว้อกี เข้าห้อง
พักผ่อนใหม้ คี วามสุข ดงั น้ันเร่ืองอนจิ จัง ทุกขงั อนตั ตา นัน้ เราก็
ปลอ่ ยไดใ้ นท่สี ุด แตจ่ ะปลอ่ ยเสยี ในตอนแรกๆ ไม่ไดก้ อ่ น จำ�ต้อง
อาศัยกนั ไปเปน็ ขน้ั ๆ ตอนๆ ปล่อยไปเป็นข้ันๆ ตอนๆ จนสามารถ
ปลอ่ ยไดไ้ ม่เหลือ
ถ.๔–ญ.๓ จะสง่ จดหมายไปถงึ ทา่ นอาจารย์ได้ที่ไหนดี?
ตอบ ใหจ้ า่ หน้า สง่ ท่รี ้านขายยา ชวลิต ๙๖ ถนนโพศรี อำ�เภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี เขาจะน�ำ ไปส่งได้เรว็ ขน้ึ เพราะเขาเคยปฏิบัตริ ับ
ใช้ทางวัดอยู่แล้ว
(หมายเหตุ : ตอ่ มาร้านน้เี ลิกกิจการ จงึ สง่ ทีร่ ้านสง่ เสริมบรกิ าร
๘๘–๘๙ ถ.โพศรี อ.เมืองอดุ รธานี ๔๑๐๐๐)
ปิดประชุมเวลา ๑๙.๕๐ น. ๑๕๑
๑๕๒
การอธิบายธรรม
วันศุกร์ วนั ที่ ๒๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)
นบั แตว่ ันท่ี ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปนั โน พระปัญญา
วฑั โฒ (Peter John MORGAN) พระอภเิ จโต (George Rodney CHERRY)
เข้าพำ�นักใน ธัมมปทปี วหิ าร ตงั้ แต่วันท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๑๗ จนถึงวนั
ออกเดนิ ทางกลับประเทศไทย ในวนั ท่ี ๒๒ มถิ ุนายน ๒๕๑๗ พระกมั มฏั
ฐานทัง้ ๓ องค์ปฏบิ ตั ิตามพระวินยั เคร่งครัด เช่นเดยี วกับทปี่ ฏบิ ัตอิ ยู่ใน
ประเทศไทย เชน่ รบั บณิ ฑบาต ฉันอาหารมอื้ เดียวในวนั หนึ่งๆ และฉัน
ในบาตร
ฆราวาสทงั้ ชาวองั กฤษและชาวไทยท่ีอยใู่ นกรงุ ลอนดอน ตา่ งก็มา
ใสบ่ าตรกนั อย่างปลม้ื ปีติด้วยศรทั ธาทกุ วัน ในเวลา ๙.๐๐ น. มีลกู ศิษย์
หน่มุ ๆ ๒ คน เป็นชาวองั กฤษ คนหนง่ึ เคยไปบวชเปน็ เณรที่วดั บวรนิเวศ
วหิ าร กรุงเทพฯ แล้วไปฝกึ ปฏบิ ัติธรรม ณ วดั ปา่ บ้านตาด อยู่กบั ท่าน
อาจารยพ์ ระมหาบวั มากอ่ น อีกคนหนงึ่ เปน็ นกั ศกึ ษาชาวอังกฤษ ซ่งึ มา
ฝึกปฏบิ ตั ธิ รรม ณ ธัมมปทีปวหิ ารแหง่ นอี้ ยู่ ลกู ศษิ ยห์ น่มุ ท้งั สองจงึ ปฏบิ ัติ
พระสงฆ์ได้อยา่ งเรียบรอ้ ย คล่องแคลว่ งดงาม คนไทยไดเ้ หน็ แล้วชมเชย
กนั มาก
เชา้ วันนีก้ ็เหมอื นกบั ทกุ ๆ วนั คอื เมอ่ื ฆราวาสใสบ่ าตรแลว้ กน็ ่ังอยู่
รอบๆ หอ้ ง ชาวองั กฤษนั่งน่งิ ทำ�สมาธใิ นระหว่างพระฉนั จงั หัน คนไทย
๑๕๓
โดยมากเพงิ่ มาพบรู้จักกนั บา้ ง มกี ิจธุระตอ้ งปรกึ ษากนั ในเรือ่ งอำ�นวย
ความสะดวกแกพ่ ระสงฆ์ ในตอนท่จี ะส่งทา่ นกลบั ประเทศไทยแตล่ �ำ พัง
บา้ ง ท้ังน้เี พราะ ศจ.นพ. อวย เกตสุ ิงห์ ศิษยไ์ ทยทม่ี าด้วยคนหนงึ่ จะต้อง
เดนิ ทางไปประชุมยังประเทศเยอรมนั ต่อไป และ ม.ร.ว. หญิง เสรมิ ศรี
เกษมศรี ศิษยอ์ ีกคนหนงึ่ จะต้องเดนิ ทางไปสหรัฐอเมรกิ าตอ่ ไป ดังน้นั
ท่านอาจารยจ์ ึงปรารภให้คนไทยสนทนากันได้ตามอัธยาศยั
วันนี้สุภาพสตรีชาวอังกฤษคนหน่ึงมาใส่บาตรแล้วก็น่ังอยู่ข้าง
ม.ร.ว.เสรมิ ศรี ตลอดเวลา เพอ่ื ฟังอธบิ ายว่าท�ำ ไมพระจงึ ทำ�อย่างนั้น
อยา่ งนี้ และหาโอกาสทีจ่ ะเรียนถามอะไรทา่ นอาจารยด์ ้วย
หลงั จากพระสงฆฉ์ นั อาหารแล้ว เช้าวันนท้ี ่านอาจารยพ์ ดู ถงึ วตั ร
ปฏิบัติของพระและฆราวาสทีเ่ ป็นศรทั ธากด็ ี หรือเปน็ เพอื่ นเก่าของพระ
ภกิ ษรุ ปู ใดกด็ ี วา่ ควรจะวางขอบเขตไวใ้ หแ้ นบเนียน อยา่ ประมาท มิฉะนั้น
ทางฝา่ ยพระภิกษุก็คลกุ คลกี บั ฆราวาสเกินไป ฆราวาสกเ็ ขา้ มาคลกุ คลกี ับ
พระภกิ ษเุ กนิ ไป ควรจะกำ�หนดเวลารบั แขกและประเภทของกจิ ธรุ ะทีภ่ กิ ษุ
พงึ เกี่ยวข้องกบั ฆราวาส
เสริมศรีได้แปลเรื่องที่ท่านอาจารย์ปรารภกับพระภิกษุเป็นภาษา
ไทยนน้ั ใหเ้ พอื่ นใหมช่ าวอังกฤษฟงั พอเขาฟงั แลว้ น้ำ�ตาเขาไหลราวกบั
ร้องไห้ เขาบอกว่า “ท่านอาจารยต์ อบเขาเร็วเกนิ ไป ตัง้ แตต่ ี ๔ มาแล้ว
เขาสงสยั อะไร ท่านตอบเร่อื ยๆ จนแมเ้ รื่องยากๆ ท่ีเขาเพ่ิงนึกข้นึ ใน
ระหวา่ งท่เี ดนิ ทางโดยรถไฟจากบ้านมาธัมมปทีปวิหาร ทา่ นกต็ อบทนั ที
อกี แล้ว ความคดิ ท่ีเพง่ิ เกิดนีม้ ีวา่ เขาเปน็ คนหน่ึงท่ีมาฝกึ สมาธิ ณ ธัมม
ปทปี วหิ ารน้ัน ตงั้ แต่ ๑๒ ปีทีล่ ่วงมาแลว้ เขาวิตกว่าพระภิกษุท่ีมาอยู่ ณ
๑๕๔
วหิ ารนี้มกั จะติดตอ่ กบั ฆราวาสจนไมม่ ีขอบเขต จงึ ไดม้ อี ันเปน็ อยู่ไมย่ ดื
ด้วยประการตา่ งๆ ใจเขานกึ ถามขน้ึ มาว่า จะมวี ิธีใดทจ่ี ะใหท้ ั้งพระภกิ ษุ
และฆราวาสตา่ งวางขอบเขตการพบปะสงั สรรคก์ ัน ใหเ้ ป็นทางปอ้ งกนั มิ
ให้พระต้องสึกออกไป บดั นยี้ งั ไม่มภี ิกษุอยูป่ ระจ�ำ ณ ธัมมปทีปวหิ ารเลย
ทั้งๆ ท่วี ิหารน้มี ีพร้อมทงั้ กฏุ ิและทนุ ทรัพยท์ ่ีจะบำ�รุงพระสงฆไ์ ด้
คำ�ถาม - คำ�ตอบ
คร้ันถึงตอนที่ท่านอาจารย์เปิดโอกาสให้ฆราวาสถามปัญหาส่วนตัว
ได้ สภุ าพสตรอี ังกฤษผนู้ ีจ้ ึงขอให้เสริมศรแี ปลถวาย
ถ.๑–ญ.๑ เมื่อเวลาตี ๔ ของเชา้ วนั นี้ เขาอยทู่ บ่ี ้าน ได้ยินเสยี งทา่ น
อาจารย์พดู ดว้ ย เขาไม่รคู้ �ำ พูด เขาลกุ ข้ึนดกู ไ็ ม่เห็นใคร ตอ่ มาเขาคดิ
ถามท่านแลว้ มานัง่ ดูกระจก แต่ไมเ่ หน็ ตัวเอง กลบั ได้ความรู้สกึ เหมอื น
ทา่ นอาจารย์ตอบเขาเป็นความวา่ ไมค่ วรคดิ เร่ืองน้ี ไม่ควรคิดเรื่องน้ี
แลว้ ทกุ สิง่ จะเรียบร้อยเอง และเมือ่ น่ังในรถไฟเขากค็ ดิ คำ�ถามข้ึน ซ่งึ
เมอ่ื ตะก้ีน้เี สริมศรไี ดแ้ ปลค�ำ ปรารภของท่านอาจารยใ์ หฟ้ ังแลว้ เขาน�ำ้ ตา
ไหลพราก รู้สึกว่าทา่ นอาจารย์ตอบเขาเรว็ มาก
ตอบ น้ำ�ตานัน้ ออกไดใ้ นกรณีต่างๆ เช่น โดนควันไฟ ดใี จ เสียใจ ส�ำ คญั
ทีน่ ้ำ�ใจ
ถ.๒–ญ.๑ เม่อื ค�่ำ วานนี้ ตอนแรกทา่ นอาจารย์เทศนอ์ ย่างเอาจรงิ เอาจงั
เขาก็รสู้ กึ จริงจงั มาก เขายนิ ดที ไี่ ด้เรียนรเู้ รื่องส�ำ คัญ ตั้งใจรับปฏิบตั ิ
๑๕๕
ตอ่ มาท่านอาจารย์เล่าเรื่องตลก คลายความตงึ เครยี ดลง เขาก็ค่อยๆ
คลายความตงึ เครียดลง เลยรสู้ ึกวา่ ท่านอาจารยก์ ำ�ลังยกเรอ่ื งตลกน้นั
ขน้ึ มาเตือนเขา เขาเลยรูส้ ึกสบายใจขึ้นว่า ทา่ นอาจารย์สนใจและ
เมตตาช่วยระวังจิตของเขา
ตอบ (ทา่ นอาจารยน์ ิง่ มไิ ด้ตอบเขาตอนน้ี แตบ่ อกเสริมศรตี อนหลงั วา่
ท่านเจตนาทำ�เพ่อื ผลอันนี้จริงๆ)
ถ.๓–ญ.๒ ไดท้ ำ�อานาปานสติ เวลาลมออกก็รู้ เขา้ กร็ ู้ ได้พบว่าจิตสงบ
ไมไ่ ด้ มันรู้สกึ คลา้ ยๆ จะเข้าประตูแลว้ ไมเ่ ขา้
ตอบ ถ้าตามลมเข้า ตามลมออก กท็ �ำ ใหผ้ ลเป็นเชน่ นัน้ ควรจะก�ำ หนด
จดุ ท่รี สู้ กึ ชดั ทส่ี ดุ แห่งเดียววา่ ลมเข้าหรอื ออกก็ผ่านจุดนนั้ ทำ�เช่นน้ี
จะไม่รสู้ ึกเหมอื นจะเขา้ ประตู จะออกประตอู ย่างที่ว่านั้น
ถ.๔–ญ.๓ จติ ของดิฉันกบั ญ.๑เหมือนกนั คือเปน็ หว่ งเป็นใยคนอืน่ ยาก
ท่ีจะจบั จิตของตนเองใหอ้ ยู่ทเี่ ดียว จะให้สงบจะควรแก้ไขอยา่ งไร?
ตอบ เวลาท่จี ิตออกไปทอ่ี ื่น เวลาเจา้ ของรู้เช่นนน้ั มันกด็ บั แลว้ จติ ก็ตั้ง
ขึน้ ใหม่อีก พอจะออกไปอกี เรากร็ ู้ มนั ก็ดับ เรากเ็ รยี กมนั เข้าที่
ท�ำ งานตามท่ีเราก�ำ หนดไว้ ท�ำ บ่อยๆ เขา้ มนั ก็ยอมอยู่ท่แี ละสงบได้
ปิดประชุมรอบเชา้ เวลา ๑๐.๓๐ น.
๑๕๖
การอธบิ ายธรรม
เร่มิ ประชมุ ฟังธรรมในตอนเยน็ เวลา ๑๘.๔๐ น.
ตอนแรกทา่ นอาจารย์สนทนากบั คนไทยทีม่ า ถงึ พวกหากนิ กับ
ศาสนา เช่น นำ�รปู พระอาจารยต์ ่างๆ ไปท�ำ จำ�หนา่ ยกัน แล้วท่านจงึ เริ่ม
อธบิ ายธรรมเพอ่ื ใหท้ า่ นปญั ญาฯ แปลให้พทุ ธศาสนกิ ชนชาวองั กฤษฟงั ต่อ
ไป ดังตอ่ ไปน้ี
ท่านอาจารย์ “เมือ่ กน้ี ี้ได้พดู กันถงึ เร่อื งการทำ�ลายพระศาสนา โดย
มเี จตนาหรือไม่ก็ตาม สงิ่ ทผ่ี ดิ พลาดยอ่ มผดิ เสมอไป แตเ่ ปน็ ของท่เี ป็นกัน
มาแล้ว เกิดจากของจริงของปลอม ของแท้ ของเทียม ข้างนอก ขา้ งใน
นแี้ หละ
ทจ่ี ริงมนั ก็เกดิ ขน้ึ ภายในใจดวงเดียวกัน ความปลอมนะ่ มีอยูม่ ากใน
ใจของเราแตล่ ะท่านๆ รวมทงั้ ผู้แสดงอยู่ ณ บัดนีด้ ้วย ทีเ่ คยเป็นมาและ
เคยทราบเรอื่ งของตน เน่ืองจากการส�ำ เหนยี กอบรม หรือการศกึ ษาภาวะ
ความเป็นของจติ เสมอมา จงึ พอทราบได้ว่าส่งิ ใดปลอม สิง่ ใดจรงิ
สว่ นมากมแี ตข่ องปลอมๆ ทง้ั น้นั ปรุงแตง่ ใหเ้ ราหลงไปตาม โดย
ไมร่ ูต้ ัวเลยว่าสงิ่ น้นั เปน็ ของจอมปลอม แต่เข้าใจวา่ เปน็ ของจรงิ ลว้ นๆ
จึงเชอ่ื ตาม โดยไมม่ ปี ฏิกิริยาอะไรเป็นเครอื่ งตา้ นทานหรอื พิสูจนค์ วามคดิ
ประเภทนัน้ ๆ บ้างเลย เชน่ เราน่งั ภาวนาในขณะ ๓ วินาทแี รก รสู้ กึ ว่า
๑๕๗
จะจรงิ เราจะกำ�หนด พุทโธๆๆ กร็ ู้สกึ ว่าเป็นพุทโธจริงๆ พอ ๔ วนิ าที ๕
วนิ าทหี ลังไป จนกระทัง่ ถงึ ๑ นาที ของปลอมทั้งหลายเริ่มหล่งั ไหลขึ้นจาก
จติ เรือ่ ย ออกลกู ออกเตา้ ออกหลานออกเหลน แตกแขนงแผ่กระจาย
ออกไปมีแตข่ องปลอม คำ�วา่ พุทโธ เลยไมท่ ราบหายไปไหน เหลอื แตเ่ ร่ือง
อารมณท์ เี่ คยคิดเคยปรุง เคยหลอกลวงตนเองมาแลว้ น้ันแหละ เปน็
เคร่ืองฉดุ ลากเอาไปโดยไม่รสู้ ึกตวั แล้วคลอ้ ยตามไปด้วย เคลิม้ ตามเขาไป
ด้วย เพลินไปอยา่ งสดๆ ร้อนๆ เพลินไปกับเจ้าของปลอมน้ันๆ
พทุ โธก็หาย อานาปานสตกิ เ็ งียบ ท้งั ๆ ทห่ี ายใจอยู่ แตก่ ็เงียบๆ
ในความจดจ่อ เงียบในทางกำ�หนดจดจ่อด้วยความต้งั ใจด้วยความมีสติ
สตงั เลยหายเงียบไปตามๆ กัน พอระลึกข้นึ มาได้กว็ ่า เราภาวนามาก็
นานพอสมควร ไม่เหน็ ปรากฏผลอยา่ งไรขึ้นบ้างเลย มันเปน็ เพราะเหตุไร
ความคิดข้นึ มาเชน่ น้ีรสู้ กึ ว่าจะถกู ต้อง แตแ่ ลว้ กลบั ผิดไปอีก คอื ที่คิดขึ้น
มาอย่างน้นั เหมือนว่าจะเห็นโทษของตวั แต่ไมไ่ ดค้ ดิ ว่าก็เราไม่ไดภ้ าวนา
เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลอย่างนีน้ ี่นา เราภาวนาให้ไดผ้ ลแบบอะไรไม่ทราบตา่ งหาก
เปน็ ความสะดุดใจว่านา่ จะได้สติ ครนั้ แล้วกลบั เป็นอยา่ งนัน้ อกี ว่าเรานัง่
นานแลว้ เอา้ พักเสียหน่อยเถอะ ต่ืนข้ึนมาแล้วจะเอาใหญล่ ะคราวนี้ แต่
มันไมห่ ลับสกั หน่อยน่นี ะ ไม่หลับสักงบี
พอหลบั แล้วมันไปใหญ่เลยจนกระทง่ั ตะวนั โผลข่ ึ้นฟา้ ต่นื ขึน้ มา โอ
แลว้ กนั วนั หลังเอาใหม่ มนั กโ็ กหกเร่ือยๆ วนั หลังกเ็ ริ่มเอา ๓ วินาทแี รก
อีก ๔ วินาทีหลังๆ ไปกเ็ หลวไปเร่อื ยๆ น่คี ือพวกจอมปลอม นอกจากน้ียงั
ทำ�ลายตนเองวา่ น่เี ราภาวนามากน็ านแล้ว ก็ไม่เหน็ ไดค้ วามดบิ ความดี
อะไร เราจะภาวนาไปหาอะไร เราเปน็ คนอาภัพวาสนา มีบุญน้อยวาสนา
นอ้ ย ไม่สมควรแกอ่ รรถแก่ธรรมของพระพุทธเจา้ มากกวา่ ทำ�ไปก็ไม่เกดิ
๑๕๘
ประโยชน์อะไร เสยี เวล�ำ่ เวลาไปเปลา่ ๆ หยุดเสยี ดกี ว่า โดยไมไ่ ดค้ �ำ นึง
เลยวา่ หยดุ ไปน้นั จะดกี วา่ จรงิ ๆ หรอื หยดุ ภาวนาดจี รงิ หรอื ถ้าดจี ริงคน
ท้งั โลกท่ไี ม่ได้ภาวนาเลยกน็ ่าจะดีกันทัง้ โลกไปนานแล้ว ถา้ เรายอ้ นคิดอีก
ว่า หยุดแล้วจะดกี วา่ ภาวนาได้อยา่ งไร เราทำ�อยู่แลว้ ยงั ไม่ได้เรอ่ื ง ถ้า
เราหยุดแล้วมันจะดกี ว่าท่ีตรงไหน มนั ไม่ได้เรอื่ งมาจากไหน? ก็จากเรา
น่นั เอง มนั ตม้ เราเร่ือยๆ ปลอมนอก ปลอมในจติ อยู่โดยดี
ปลอมอะไรก็ตาม ส�ำ คญั ทป่ี ลอมในตวั เอง หลอกตัวเองน่ีเปน็
ส�ำ คญั มาก ควรจะได้พินจิ พจิ ารณากัน เราทกุ ๆ ท่านได้โดนต้มโดนตนุ๋
โดนหลอกลวงมาพอแลว้ หวั ใจเจ้าของหลอกลวงเจ้าของนนั้ แล โดยไม่
ทราบวา่ เจ้าของหลอกลวงเจา้ ของ ท่ยี กขน้ึ มาเลก็ นอ้ ยน้กี พ็ อจะทราบได้
วา่ ถกู ฝา่ ยต�ำ่ หลอกลวงเราไปมากนอ้ ยเพยี งไร เราอยากจะทราบว่า ๓-๔
วินาทแี รกมนั ดี แต่ ๓-๔ วนิ าทีหลงั มนั ไมด่ ี ก็ตง้ั สติเขา้ อกี ขยับเขา้ ไปอีก
เรือ่ ยๆ ตอ่ มามนั ก็ทราบขณะทจ่ี ิตจะแสดงอะไรออกมาเป็นฝ่ายไม่ดี ฝา่ ย
ผดิ จากเจตนาความมงุ่ หมายของเรา เราจะเรม่ิ ทราบ เร่มิ ทราบกเ็ ริม่ ตง้ั
สติ ต้ังจิตใหม่ ทราบเขา้ ไปเรื่อยๆ ต่อไปกท็ ราบเรือ่ ยๆ เราถงึ จะทราบ
ความเหลวไหลและทราบความไม่เป็นผลของจิตตามความต้องการของ
เรา วา่ ไม่เปน็ ผลเพราะเหตุนีเ้ อง
พอได้ต้ังใจกันเอาจรงิ เอาจังอย่างน้นั พวกปลอมมนั กย็ อมเหมอื นกนั
นะ คอื พวกนี้คอยพยายามเอาตอนเวลาเราเผลอ ถา้ เราตง้ั หนา้ ตง้ั ท่า
ต้งั ทางเขากห็ มอบ แต่ค�ำ วา่ หมอบน้อี ย่าเขา้ ใจวา่ เขาหมอบนอนเหมือน
เรานะ เขาหมอบจ้อง พอจะทำ�เราไดท้ ีไร เขาก็ทำ�ทันที ตะครบุ เราไวยิง่
กวา่ แมวตะครบุ หนเู สียอีก แล้วกห็ ายเงยี บ เขาคอยตบตอ่ ยทบุ ตเี วลาเรา
เผลอ ถา้ ไม่เผลอเขาก็ไมท่ �ำ ตอนท่เี ราไดใ้ จว่าเราไมเ่ ผลอนั้นแหละเปน็
๑๕๙
เวลาท่ีเขาไดใ้ จ นั่นแน่ะถกู ตม้ กันอยู่เร่ือยๆ คงจะมกี นั ทุกราย อาจารย์
ผแู้ สดงอยู่เวลานกี้ เ็ คยเป็นมาแล้ว เพราะฉะนน้ั จึงตอ้ งหาวธิ กี ารหาสถาน
ท่สี ำ�คัญๆ เพื่อดดั สันดานเจา้ ของ ชว่ ยทำ�ความเพียร อกี หลายดา้ นหลาย
ทาง ตามทไ่ี ดเ้ ขียนมาแล้วในประวัติท่านพระอาจารยม์ นั่ หรอื ในปฏปิ ทา
พระกัมมฏั ฐานสายท่านอาจารยม์ ัน่ หรอื ในทีเ่ รียกวา่ “Forest Dhamma
ธรรมะป่า”
แต่พระไม่เหมือนฆราวาส ไปอยูท่ ่ไี หนกส็ ะดวกสบาย สถานที่ท่จี ะ
บ�ำ เพ็ญกส็ ะดวกสบาย เพราะมหี น้าที่อนั เดียว เชน่ ท่ีเขา้ ไปอยู่ตามป่า
ตามเขา สถานทน่ี า่ กลัว เพราะสถานทนี่ ัน้ มีจริงๆ เรอื่ งสัตว์รา้ ยต่างๆ
เชน่ เสอื หมี งู เป็นต้น เวลาไปอยูใ่ นสถานท่ีเช่นน้ันความรู้สึกของเรา
จะเปลยี่ นแปลง เช่น ความขเ้ี กียจในการประกอบความเพียรนีก้ ล็ ดลงไป
เป็นล�ำ ดับ ความขเี้ กยี จมนี อ้ ย พอเข้าไปถึงตาจนจริงๆ ความขเ้ี กยี จหาย
ไปหมด ไม่ทราบวา่ มนั หายไปไหน เหลอื แต่ความจนตรอกจนมมุ สติมา
เองทเี ดียว เวลาต้งั หน้าตัง้ ตาบ�ำ เพ็ญความพากเพยี ร เหงอื่ มันมาจากไหน
เหงอื่ มาเพราะความกลวั ตายบังคบั มันออกมา ตอนนั้นสติดี ดไี มด่ ี เสอื
มนั กระหม่ึ ๆ อย่ขู า้ งๆ ทางจงกรมดว้ ยซำ้� นเ่ี คยโดนมาแล้ว ไม่ใช่มาคุย
เฉยๆ เคยโดนมาไมร่ กู้ ี่ครงั้ เสอื กระหม่ึ อยูข่ า้ งท่อี ยู่ ไมใ่ ชเ่ สอื ธรรมดาเสีย
ด้วย แตเ่ ปน็ เสือใหญ่ เสอื โคร่ง ขณะน้นั ปรากฏวา่ ผมบนศีรษะปลิวขน้ึ ไป
บนเมฆเสยี หมด ไมท่ ราบว่าเปน็ อย่างไร ตวั สัน่ ทง้ั ทไี่ ม่หนาว
แตจ่ ิตไมย่ อมถอย หมุนตวั ลงไปน่ี (ทา่ นชีท้ ห่ี ัวใจ) จะเปน็ จะตาย
เวลาน้ีเราไดม้ อบถวายพระพทุ ธเจา้ แลว้ เวลาน้มี พี ระพทุ ธเจ้า พระธรรม
และพระสงฆ์เท่าน้ัน ทจ่ี ะรักษาจิตใจของเราไว้ได้ หากวา่ จะถงึ กาลจรงิ ๆ
แล้ว จติ ของเราก็ไม่เผลอ เราไดม้ อบจติ ของเราไวท้ ่ีพระพทุ ธเจ้า พระ
๑๖๐
ธรรม พระสงฆ์ ทุกประการแลว้ จะไปเวลาใดเรากพ็ ร้อมแลว้ ทจี่ ะไป อยู่
กข็ อใหม้ ีสติสตงั อย่าใหเ้ สียทา่ เสียที อะไรจะมาเอาไปกินก็มาเถิด แต่เรา
จะไมป่ ลอ่ ยวางเร่ืองพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ จติ มอบเลย พอ
จติ มอบกบั พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์แลว้ หมดอาลยั เรอ่ื งอาลยั
ตายอยากในชวี ิตจติ ใจไมม่ ี ความรกั ความสงวนในร่างกายน้หี มดไปเลย
เหลือแต่จิตที่แน่วแน่ต่ออรรถต่อธรรม ความกลัวหายหมดในขณะนั้น
ความกลัวไมม่ เี หลือเลย จิตรวมดงิ่ ลงสูพ่ ระพุทธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์
ภายในใจหมด ไมป่ รากฏอะไรมารบกวนอกี เลยขณะนน้ั
เม่ือจิตด่งิ ลงแลว้ เปน็ พลงั เตม็ ที่แลว้ ความกลัวหายหมด หลงั จาก
นั้นไม่วา่ เสอื จะร้องกระห่มึ ๆ ขอให้เสือเดินมาเถิด เดนิ มาตรงหน้าเรา
เราสามารถจะเดินเข้าไปลูบคลำ�หลังเสือได้อย่างสบายด้วยความเมตตา
สงสาร ดว้ ยความเปน็ มติ รอนั เดยี วกนั ด้วยความสนทิ สนมกันวา่ เปน็
เพ่ือนเกิดแกเ่ จ็บตายดว้ ยกัน ในความรู้สึกนนั้ ไมไ่ ด้คดิ แม้นิดหนึง่ วา่ เสือ
น้ันเปน็ อนั ตราย และจะท�ำ อนั ตรายแกต่ นไดใ้ นขณะเขา้ ไปลกู คล�ำ หลงั
เขา เช่นนเ้ี ป็นตน้ มแี ตค่ วามสนิทสนม ความอ่อนโยนดว้ ยเมตตาตอ่ เขา
อยา่ งเดยี วความกลวั จึงหาย
อุบายวิธีที่เราจะฝึกฝนทรมานจิตมหี ลายดา้ นหลายทาง พอเราได้
หลกั ดี ไดส้ งิ่ เปน็ เคร่อื งระลกึ ในเวลานแ้ี ล้ว เวลาตอ่ ไปเราน�ำ หลักนีแ้ หละ
ไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ไปอยู่ในสถานทีเ่ ช่นไร เวลาจนตรอกจนมุม เรอ่ื งทเ่ี รา
เคยทำ�และเคยได้ผลมาแล้วจะวง่ิ เข้าถงึ กนั ทันที
การเผชญิ อันตราย หรือเผชิญกบั เหตกุ ารณแ์ ตล่ ะครั้ง ถ้าเป็น
นกั ตอ่ สแู้ ล้ว จะต้องได้คตอิ นั สำ�คญั ๆ กับเหตกุ ารณ์น้ันๆ ทุกครงั้ ไป
๑๖๑
นอกจากว่าจะไปแหล่มไิ ปแหล่นัน้ เอาแนไ่ ม่ได้ เดยี๋ วเป็นบ้าไปเพราะจิต
ไม่แนน่ อน ไมว่ างลงเปน็ หลักเป็นเกณฑ์ จะมอบกับสง่ิ ใดก็ไม่ยอมมอบ
ลังเลสงสยั อาจเปน็ บ้าก็ได้ ถ้าจติ ได้มอบลงไปจรงิ ๆ แลว้ ไม่มีอะไรทจี่ ะ
มีอำ�นาจเหนือจิตกับธรรมท่ีเข้าสัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ไปได้ และแนใ่ จดว้ ยวา่ ในเวลาน้ันไม่มอี ะไรท่ีจะสามารถท�ำ อนั ตรายเรา
ได้เลย ไมว่ า่ จะเป็นสัตว์เสอื หรืออะไร ท่จี ะท�ำ อันตรายเราได้ในโลกนี้ ไม่
ไดก้ ลวั อะไรทั้งส้นิ ในบรรดาสง่ิ ทีเ่ คยเปน็ ภยั และเคยกลวั มาแล้ว ฉะนัน้ จติ
กับธรรมเม่ือไดเ้ ขา้ เปน็ อันหนึง่ อนั เดียวกนั แล้ว จึงมีอำ�นาจมากเหนือสงิ่
ใดๆ ในโลก เพราะเหตุนธ้ี รรมจึงเหนือโลกท้งั สาม
อำ�นาจของจติ รู้สกึ วา่ เหนืออะไรทัง้ หมดในโลกน้ี นี่เป็นอบุ ายวิธี
ฝกึ ทรมานความจอมปลอมของตน อันเก่ยี วกับท่ีมนั เคยจอมปลอมอยู่
ภายในจิต ถ้าอยู่ตามล�ำ พงั ไม่เข้าไปในสถานที่จนตรอกจนมุม มนั กย็ �ำ่ ยี
เราแหลกหมด พอเข้าท่ีจนตรอกจนมมุ เรากข็ ยำ�มนั เหมือนกัน แตส่ ่วน
มากมแี ตม่ ันขยำ�เรา เราไม่ไดข้ ยำ�มัน ถา้ เราได้ขย�ำ มันสกั หนหนงึ่ กค็ ยุ กัน
จนปากเปียก คุยตัง้ ปีก็ไมจ่ บ จนกระท่ังตายกไ็ ม่จบ เวลามันขย�ำ เราจน
ราบ เราไม่เคยพดู เลย มนุษย์เรานี้กอ็ วดเก่งเกินไปนะ มนั เป็นอยา่ งนั้น
จรงิ ๆ คือ เวลาธรรมเข้าถงึ ใจเพราะการทรมานเช่นนน้ั เราจึงพูดได้อยา่ ง
เต็มปาก เพราะความรู้เห็นอยา่ งถงึ ใจในขณะน้ันที่เราได้ฝกึ ฝนอบรมเต็ม
ที่ เราไดม้ อบชวี ติ จิตใจกบั อรรถกบั ธรรม กับเหตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเต็มใจ
แล้ว ผลมนั ถงึ ใจจริงๆ ชนะก็ชนะอยา่ งเห็นได้ชดั เจน ผลแห่งความชนะ
เปน็ อยา่ งไรบา้ ง ก็แสดงความอศั จรรย์อยา่ งถึงใจเหมือนกนั เหตุใดจะลมื
ได้ ลืมไม่ได้จนกระทงั่ วันตาย
๑๖๒
วนั น้ีอธบิ ายเพยี งเท่าน้กี อ่ น ตอ่ ไปมอี ะไรคอ่ ยพดู กัน”
(ยตุ ิในตอนท่ีหน่งึ )
(หลงั จากแปลแล้ว เม่อื ทป่ี ระชมุ นิง่ เงยี บสงบ ไมม่ ีผ้ใู ดตง้ั คำ�ถามอนั ใด
ท่านอาจารย์จงึ ไดอ้ ธบิ ายธรรมตอ่ ไปดงั นี้)
“จิต ถ้ายงั ไมเ่ หน็ อะไรจากตัวเองในเวลาจำ�เปน็ แลว้ กย็ งั ไมเ่ ห็น
ความสำ�คญั ของตวั ก็จะหวงั พ่งึ ผู้อืน่ ไปเร่อื ยๆ ในธรรมทท่ี า่ นว่า “อตฺตา
หิ อตตฺ โน นาโถ” คือ ตนเปน็ ท่พี ึ่งของตน กย็ ังไม่สนิทใจ ตอ่ เมอื่ ได้ไปเจอ
เหตุการณ์ทส่ี ามารถแก้ไขได้โดยลำ�พงั เราเอง จนเหตุการณ์น้ันลลุ ่วงไปได้
ดว้ ยความมีชัย เราจงึ จะเชื่อในธรรมบททวี่ า่ “อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ”
อย่างฝังใจจรงิ ๆ
จิตที่ได้รู้ไดเ้ หน็ ความจรงิ ในขณะท่จี นตรอก เช่น ทุกขเวทนา
ครอบงำ�ในขณะทีเ่ ราเป็นไข้หรือนัง่ นาน หรือไปเจอเหตุการณอ์ ะไรกต็ าม
เป็นสิง่ รนุ แรงอาจถงึ กบั ชีวติ กไ็ ด้ ถ้าเปน็ นกั ต่อสูจ้ รงิ ๆ จิตหมนุ รอบตวั
ไม่คิดเพอ่ื หวงั อะไรจากสิ่งภายนอกแล้ว นนั่ ละจิตจะไดเ้ หน็ ความส�ำ คญั
ของตนแตล่ ะครัง้ ๆ เป็นสง่ิ ทอี่ ศั จรรยม์ าก ถา้ ได้เคยผ่านส่งิ เหล่าน้ันมาแล้ว
ย่อมไมม่ ีความวิตกวิจารณ์ถึงความเปน็ อยู่ ความตายไป ทุกขเวทนา
จะเกิดขึ้นด้วยอาการใดบ้าง หรือเกิดด้วยวิธีใดบ้าง เราจะต่อสู้กับ
ทกุ ขเวทนาไดห้ รอื ไม่ หรือตายแล้วเราจะไปเกิดท่ไี หน ความกลวั ว่าเรา
จะเสยี ชาติเสยี ทเี ม่ือทุกขเวทนาครอบง�ำ จติ ใจ จติ ถึงกบั ไมไ่ ดส้ ตปิ ระคอง
ใจเราเป็นอยา่ งไร เร่อื งทำ�นองน้ีจะไมม่ ีในจิตเลย คอื เวลาถึงความจ�ำ เป็น
อย่างนั้น จิตและสตจิ ะวง่ิ เข้าหากันทนั ทีเพื่อเข้าสแู่ นวรบ วา่ อย่างนัน้
เถอะ เพราะมนั เคยรบมาแล้วเคยชนะมาแลว้
๑๖๓
พอจวนแจจริงๆ สติกับปญั ญาจะวงิ่ เขา้ หากัน เม่ือมเี หตุการณ์
อยา่ งน้ี สตปิ ญั ญาจะว่ิงเข้าประสานกนั จะไม่ยอมหนี ไมย่ อมถอย แต่
จะหมนุ ติว้ เขา้ สู่เหตุการณท์ นั ที ในเรอ่ื งนีเ้ ปน็ กับตายนน้ั ไมย่ อมเปน็ ทาส
นอกจากจะให้รู้ความจริงในเหตุการณ์ท่ีกำ�ลังปรากฏอยู่กับจิตน้ีเท่าน้ัน
เพราะความเชอ่ื ธรรม เชอ่ื ตัวเอง เชอ่ื ธรรมตรงนแ้ี ลจะเช่ือตรงไหน
ตำ�รบั ตำ�ราท่านไดพ้ ูดไวโ้ ดยถูกตอ้ ง แตค่ วามจริงคอื ธรรมภายในใจยงั ไม่
ปรากฏก็ไมม่ อี ะไรเป็นเคร่อื งยืนยนั เป็นสกั ขีพยาน ใหเ้ ปน็ ความม่ันใจขน้ึ
มาได้ พอใจกบั เหตกุ ารณไ์ ดป้ ระสบกนั เข้า และไดร้ ้ไู ดเ้ ห็นกนั อยา่ งถนัด
ชัดเจนแล้ว กับธรรมทีท่ ่านแสดงไวใ้ นตำ�รบั ต�ำ รา กไ็ ม่มีอะไรขดั กัน
นักปราชญ์ทั้งหลายเวลาท่านจ�ำ เปน็ จริงๆ ท่านจงึ ไม่คอ่ ยจะชอบ
อยู่ในทเี่ กลอ่ื นกล่นวุ่นวาย ท่านชอบหาทีเ่ หมาะสมของทา่ น ใหส้ มกับที่
ท่านเคยได้เหตไุ ด้ผลอยา่ งนั้นมาในสถานท่ีเปลี่ยวๆ หรอื สถานที่โดดเดี่ยว
เปลยี่ วกายเปลย่ี วใจ
พวกเราไมเ่ ปน็ อย่างนั้น พอเริ่มไม่สบายละก็ “โอ๊ย ลกู อยู่ทไี่ หน?
หลานอยทู่ ไี่ หน นีล่ กู ไมด่ ูแล หลานไม่เหลยี วแล หนีไปไหนกัน ญาตมิ ติ ร
หายไปไหนหมด อะไรๆ ก็ไม่ดไี ปหมด ทอดอาลยั กับเราไปหมด ใครก็
รงั เกยี จเรา ไมม่ ีใครเหน็ อกเหน็ ใจเรา ทกุ ข์จะเป็นจะตายกไ็ ม่มใี ครเหลียว
แล” จติ ก็ยุ่งกนั ไปใหญ่ หาหลกั ยดึ เพอื่ ลดหยอ่ นผอ่ นคลายด้วยตวั เองไม่
ได้เลย “ผัวแต่ก่อนที่อยู่ด้วยกนั ก็ดี เวลาเราจะตายเขา้ จรงิ ๆ ไม่เห็นมา
มองหน้าบ้างเลย ผัวก็ไม่ดี ลกู ก็ไมด่ ี หลานกไ็ ม่ดี ไมด่ ีไปหมด” เพราะ
ความไมด่ ีภายในใจจึงเอาความสกปรกภายในใจไปเที่ยวสาดไปข้างนอกให้
สกปรกไปหมด
๑๖๔
เพราะน้�ำ สกปรกภายในใจคือความกลัวตาย ความไม่เป็นทา่ ของ
ตวั เรานีแ่ หละ เท่ียวสาดคนอ่นื ใหพ้ ลอยไม่สบายไปด้วย น่ีคอื ความไม่มี
อะไรเป็นหลักใจ คำ�ว่า “อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ” ไม่ค�ำ นึง มีแตห่ วงั พงึ่ ผู้
อน่ื ถา่ ยเดียว เกิดมาเราก็พ่งึ ผอู้ ืน่ มานานแล้ว ใครเกดิ มากต็ ้องเคยพึ่งผู้อ่ืน
มาก่อนทง้ั นน้ั พ่งึ พ่อพง่ึ แม่ พ่ึงพีเ่ ลยี้ งใครตอ่ ใคร พึ่งครูพึ่งอาจารย์เรอ่ื ย
มา แลว้ สุดทา้ ยเรายังจะพ่งึ คนอน่ื อกี จนกระทง่ั ถึงวนั ตาย ไม่คำ�นงึ วา่ จะ
พง่ึ ตนเองแมแ้ ต่นิดหนง่ึ เรื่องมนั จึงลำ�บาก และล�ำ บากไปกระท่ังวันตาย
ต้งั หลักตงั้ ฐานภายในใจไม่ได้เลย
พระพทุ ธเจา้ ท่านสอนให้พึง่ ตนเอง “อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ” พึง่
คนอ่นื กพ็ ึ่งมาพอสมควรแลว้ เอาผลประโยชน์จากคนอนื่ มาพอเปน็ พลงั
ส�ำ หรับตน เพอ่ื ท�ำ ความพงึ่ ตนเองในวาระต่อไป นน่ั เป็นหลักสำ�คญั ท่ีชาว
พทุ ธควรค�ำ นึงเสมอ กิจการอะไรพ่อแมก่ ็สอน ครอู าจารยก์ ็สอน พระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ ท่านกส็ อน ควรเอาวิธกี ารจากความรู้ความเขา้ ใจท่ี
เราได้เล่าเรียนศึกษามาประกอบกันเป็นองค์ความเพียรเพื่อช่วยตนเองได้
เมอ่ื เราเห็นความส�ำ คัญในตัวเราแลว้ อย่างอืน่ ไม่ส�ำ คัญ มนั ปล่อยไปหมด
นัน่ แหละ จติ ของผ้ไู ด้รับการอบรม เวลาเข้าตาจนจรงิ ๆ แลว้ มนั จะสลัด
หมด จะเป็นญาติมติ รเพอ่ื นฝงู ใครต่อใครกต็ าม ไม่อยากให้มายุ่งเลย
เราจะทำ�หนา้ ทเ่ี ฉพาะนี้เท่าน้ัน ใหจ้ ติ หมนุ ติ้วลงไปเลย เพราะไมม่ อี าลัย
อาวรณ์อะไรในโลกน้ี
ดินนำ�้ ลมไฟเราก็พิจารณาได้ชัดเจนแล้ว มันเปน็ ดนิ เป็นนำ้�เป็นลม
เป็นไฟ แมแ้ ตผ่ สมกันอยู่มนั ก็คอื สว่ นผสมของดนิ น�้ำ ลมไฟน่ันเอง เราให้
ชอื่ มันว่า เปน็ กาย เป็นเรา เป็นของเรา วา่ มนั เปน็ นน่ั เป็นน่ี ไม่มีสิ้น
๑๖๕
สดุ แตธ่ รรมชาติมันไม่ได้เปน็ ถึงคราวมนั จะตายมนั กไ็ มเ่ ป็น มันจะตาย
ทา่ เดียว มนั จะแตกทา่ เดียว สตปิ ญั ญาท่เี ราไดเ้ คยอบรมมา แยกธาตุ
แยกขนั ธไ์ ว้อยา่ งชัดเจน ทกุ ส่ิงทกุ อยา่ งพิจารณาลงในความจรงิ หมดแล้ว
จติ ก็จรงิ ธาตุก็จรงิ เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ หรอื อะไรก็จริง
จรงิ ทุกสง่ิ ทุกอยา่ ง ไม่มีเร่ืองยงุ่ ผา่ นไปไดอ้ ยา่ งสบายๆ เปน็ สคุ โต ไป
อยา่ งดี ไม่มีเรอ่ื งราวยุ่งเหยิงวนุ่ วาย ไม่ก่อความทกุ ข์ล�ำ บากให้ตนและผู้
อื่น แสนสขุ แสนสบาย ตายแลว้ ไม่ตอ้ ง กสุ ลา ธมมฺ า อกุสลา ธมมฺ า
ไปนมิ นต์พระมายงุ่ ไป ว่าอย่างนัน้ แหละ ขรัวตาบวั วดั ป่าบา้ นตาด พดู
อย่างน้ีพูดอย่างแน่ใจ
ตัดสินใจนะ เราเคยพูดเสมอ เคยเทศนส์ อนญาตสิ อนโยม น่เี รา
สร้างตนอบรมตนมา เราบวชมากพ่ี รรษาแล้ว เรากย็ ังสรา้ งแต่ กุสลา ธมฺ
มา พยายามสร้างกุศล ใครอยากได้ กสุ ลา ธมมฺ า ให้สรา้ งเอา เวลาตาย
ไปแลว้ ผู้ยังอยู่ไปเทยี่ วกว้านเอาพระมาให้บุญ กุสลา ธมฺมา ไล่พระเขา้
ตามป่าตามรกยุง่ กันไปหมด เราไมอ่ ยากให้เป็นอย่างนั้น ได้ กุสลา ความ
ฉลาดใส่ในจติ ใจ กสุ ลาแปลว่าความฉลาดน้ี จงหาเอาให้พอ อบุ ายที่จะ
ท�ำ ความสขุ ความสบายแกต่ น ใหพ้ ยายามทำ�กนั เสียแตบ่ ดั นี้ เวลาตาย
แล้วไปนมิ นต์พระมา กุสลา ธมฺมา ให้พระทา่ นมายุง่ ไปด้วย ไม่ดี ผดิ
ความประสงค์ของศาสนาทส่ี ่ังสอนคนใหฉ้ ลาด หาความดใี ส่ตนแตเ่ วลา
ท่ยี ังไมต่ าย เม่อื ถงึ กาลแลว้ เป็น สุคโต ไปเลยอย่างหายหว่ ง ถึงตอน
สุดทา้ ยแลว้ เวลาเราตาย คอื เวลาหลวงตาบวั ตาย อย่าไปนิมนตพ์ ระมา
ทำ�ใหย้ ุ่งไปด้วยนะ หลวงตาบวั กสุ ลา ธมฺมา ตั้งแต่วนั ปฏบิ ตั ิมาจนกระทง่ั
ปา่ นนี้ ถา้ ยังจะโงอ่ ยอู่ ย่างสิ้นท่าแลว้ กใ็ ห้ตาย ลม่ จมไปแตห่ ลวงตาบัวคน
เดยี ว อยา่ ใหค้ นอื่นมาโง่ไปดว้ ยอกี เลย พูดตรงๆ อยา่ งนี้แหละ พูดกบั ลูก
๑๖๖
ศิษยล์ กู หา และเปน็ ความจริงอย่างน้นั ดว้ ย เราไม่เคยวติ กวจิ ารกับอะไร
ถึงเวลาปล่อยแลว้ กป็ ลอ่ ยอยา่ งสนกุ ตายอยา่ งสบายหายห่วงไปเลย
โลกท้ังหลายกอดธาตกุ อดขนั ธ์ เวลาจะตายละก็ โอย๊ เศรา้ โศก
โศกา ขา้ งหน้า ข้างหลงั ไมอ่ ยากให้ตาย ตวั จะตายแล้วก็อยากให้เป็น
อยู่ ถึงคราวจะตายแลว้ กย็ งั ไมย่ อมจะไป ยุ่งไปหมด ไม่ให้มนั เปน็ เชน่ ว่านี้
พระพุทธเจ้าทา่ นจึงให้ร้ตู ามความเป็นจริง ถึงเวลาไปแลว้ เหรอ เอ้า ไปก็
ไป ถึงเวลาไม่ไปเหรอ อยกู่ ็อยซู่ ิ มีน�ำ้ สม้ น�ำ้ หวานเอามาเวลามันยงั ฉนั
หมดน่นั แหละ เวลาจะตายอย่ามายุ่ง เวลานัน้ จะปล่อย มันหนักเหลอื
เกิน “ภารา หเว ปญจฺ กฺขนธฺ า” น่ีปลอ่ ยตามความจรงิ แลว้ ผา่ นไปอยา่ ง
สบาย นนั่ เตม็ ยศของนกั ปฏิบัติ พระพทุ ธเจา้ ท่านเปน็ อย่างน้ัน สาวก
ทา่ นเปน็ อยา่ งนั้น เราก็เดินตามรอ่ งรอยของพระพทุ ธเจา้ แลว้ ไมน่ ่าจะ
เปน็ อยา่ งอน่ื ไปได้เลย ต้องเปน็ อยา่ งนนั้ แนๆ่ ไม่สงสัย เอาละ เพยี งเทา่
นี้ เทศนเ์ ป็น ๒ กณั ฑ์แลว้ นะ
พรุง่ น้ีก็จะไมไ่ ดอ้ ย่เู สียแลว้ จะกลบั เมอื งไทย ให้คิดถึงพน่ี ้องท้งั
หลายทไ่ี ด้มา เวลานีก้ ต็ ง้ั ใจมาจรงิ ๆ เพราะเห็นแกน่ ้�ำ ใจน่ีแหละ อาจารย์
มาองั กฤษน้ี ไม่ได้มาเพือ่ อามสิ อะไรทงั้ หมด ไมว่ ่าจะอยู่ในวัดเจา้ ของ ไม่
ว่าจะไปในวัดใด ไปสถานทใี่ ดในเมอื งไทย ไมเ่ คยมีจติ ใจคิดไปเพอื่ อามิส
ว่าไปเพ่อื วตั ถสุ ิง่ ของ เพื่อเงินเพอื่ ทอง เพือ่ รำ�่ เพอ่ื รวย ไม่เคยมีในจิต
แต่ไปเพือ่ จิตใจของประชาชน ใหเ้ ขาได้รบั ประโยชน์ แมม้ าองั กฤษนกี้ ็
มีความรู้สกึ เตม็ เปย่ี มภายในใจอยา่ งน้นั เหมือนกัน เรือ่ งน้�ำ ใจเป็นสิ่งทม่ี ี
น้ำ�หนักมากยง่ิ กวา่ สง่ิ ใดท้ังหมด ถา้ น�ำ้ ใจดีแล้ว ทกุ สิง่ ทกุ อย่างก็ดีไปตาม
ถา้ น�ำ้ ใจไม่ดแี ล้ว เสียไปตามกนั หมด ฉะนัน้ มาเยีย่ มพน่ี อ้ งทงั้ หลายชาว
อังกฤษเราทีล่ อนดอน จงึ มาด้วยน้ำ�ใจ เวลาจะจากไปกค็ ิดถงึ น�ำ้ ใจท่านทัง้
๑๖๗
หลาย หากว่าโอกาสวาสนาของเรายงั มเี หลอ่ื มลำ�้ กันอยู่ กาลเวลาผา่ นไป
เราอาจจะผ่านมา หรือทางน้อี าจได้ผ่านไป คอื ไปเยี่ยมกันก็ได้ ทางโนน้
มาเยย่ี มกไ็ ด้ เพราะโลกนม้ี ันกลม ใจของสตั วโ์ ลกกเ็ ป็นวัฏวนด้วยกเิ ลสทัง้
หลาย พาให้เวียนเกิดเวียนตายไม่เลกิ แลว้ สกั ที จงึ กรุณาพากนั ทำ�จติ ให้
เป็นวิวัฏฏะเสยี จะแสนสบาย ไมต่ ้องวกเวียน
การแสดงธรรมวันนี้ก็เห็นว่าพอดี ขอยุติ ท่านผูใ้ ดมีข้อขอ้ งใจอะไร
จะปรกึ ษาปรารภก็ปรกึ ษาได้ ส�ำ หรับพรุ่งนี้ไมม่ เี วลาแล้ว ตอนเชา้ ฉันแต่
เชา้ แล้วกอ็ อกเดินทาง ท่านปญั ญาฯ อธิบายต่อไปได้
การอธิบายธรรมตอนนี้ จบเวลา ๑๙.๒๕ น
๑๖๘
๑๖๙
คำ�ถาม - คำ�ตอบ
ถ.๑–ช.๑ ถา้ ฝกึ หดั ปฏิบัติธรรม กร็ ู้วา่ ตนเองมที ุกขอ์ ย่เู ร่อื ยๆ ผลจะเป็น
อยา่ งไร?
ตอบ ปกติคนเราเห็นทุกข์ในเรื่องที่ตนลำ�บากมากๆ ส่วนที่เป็นความ
พอใจของตนก็เห็นว่าเป็นสุข พอมีการเปลี่ยนแปลงไปจากที่ตน
พอใจก็เห็นว่านน่ั เปน็ ความทุกข์ และไม่มีปัญญาแก้ทุกขน์ ้ัน สุดทา้ ย
ก็นอนจมอยู่ด้วยกันโดยไม่สนใจหาทางออก เพราะการพยายาม
หาทางออกจากทุกขก์ ็ถอื ว่าล�ำ บาก จึงต้องยอมเอาทุกขเ์ ป็นเพ่อื น
เสมอไป
การฝกึ หัดปฏบิ ตั ิธรรม ให้รู้จกั ทุกข์ตามความเป็นจรงิ ใช้สตปิ ญั ญา
พิจารณาฝึกจิตให้ถอดถอนกิเลสจนกระทั่งประสบรสของความสุข
ภายในจติ ยอ่ มเปน็ การช่วยให้ได้พบความสขุ แทจ้ รงิ และได้หลัก
ยดึ มั่นทางใจ ไม่ว่ากรณีจะเป็นเชน่ ใด
ถ.๒–ญ.๑ เม่ือภาวนาพุทโธจ�ำ เป็นตอ้ งนั่งภาวนาไหม?
ตอบ ท�ำ ไดท้ ุกอริ ิยาบถ พระพทุ ธเจา้ มไิ ดส้ อนให้คนจนตรอกจนมมุ ในกา
รตอ่ สู้กับสิง่ ไมด่ ีทงั้ หลาย แตส่ อนใหม้ คี วามฉลาดเพื่อชัยชนะเสมอ
ไป พวกเราจงึ ควรคดิ หาช่องทางเพ่อื ความฉลาดและชยั ชนะ ตาม
ทา่ นที่แสดงธรรมมาแล้วน้ัน ๙๕ เปอรเ์ ซ็นตเ์ ปน็ ธรรมะป่า แสดง
ความสำ�คัญของจติ ตภาวนา เพอ่ื ชว่ ยใหจ้ ิตอยใู่ นตัว อย่าปล่อยจิต
๑๗๐
ออกไปขา้ งนอก สำ�หรับจิตท่มี นี สิ ัยชอบออกขา้ งนอกนนั้ การภาว
นาพุทโธไวน้ จ้ี ะชว่ ยแกป้ ญั หาไดม้ าก
สภุ าพสตรอี ว้ นทมี่ ักมีคำ�ถามท่านอาจารย์มากๆ ขอขอบคณุ ท่านอาจารย์
เป็นอย่างสูงที่กรุณามาช่วยเหลือพวกเราให้ได้ความรู้ความเข้าใจอะไรย่ิง
ขน้ึ
ตอบ เสยี ใจทไ่ี ม่สามารถพูดภาษาองั กฤษใหท้ ่านเข้าใจโดยตรงได้ การพูด
โดยมีผแู้ ปลนนั้ ยอ่ มท�ำ ใหน้ า่ สนใจน้อยลงไปเปน็ ธรรมดา เพราะ
อาจไมเ่ ต็มเมด็ เตม็ หนว่ ยเหมอื นท่อี ธบิ ายเป็นภาษาเดยี วกัน
ปิดประชุม เวลา ๒๐.๐๐ น.
๑๗๑
ธัมมะในลิขติ
จากฉบับที่ ๑ ถงึ ฉบับท่ี ๕๗
รวบรวมไวโ้ ดย คุณเอี๋ยน ธัมมัญญู จังหวัดจันทบรุ ี
ฉบับท่ี ๑ ๙ มนี าคม ๒๔๙๙
วัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี
เรื่องพระไตรลักษณ์ย่อมมีประจักษ์อยู่ท้ังภายนอกและภายใน
จติ แมเ้ ราจะพิจารณาเฉพาะจิต ก็ไมผ่ ิดจากสจั ธรรม ไตรลกั ษณเ์ ป็น
สจั ธรรมด้วย มอี ยปู่ ระจ�ำ จิตเราทุกทา่ นด้วย ข้อสำ�คัญก็คือใหร้ ้ดู ว้ ยปัญญา
สังขารธรรมทีเ่ กิด (ปรงุ ) ขึน้ จากจติ ยอ่ มมีลกั ษณะเป็นสาม คือไม่เทย่ี ง
เปน็ ทกุ ข์ เป็นอนตั ตา อริยสัจส่ี รวมลงท่จี ิต ขันธ์ห้าเปน็ อรยิ สจั ด้วย
เป็นไตรลักษณด์ ้วย ในบรรดาขันธห์ า้ ขันธ์ใดถกู จริต พึงพจิ ารณาขันธ์
น้นั ใหม้ าก แม้เราตง้ั ความระวงั ส�ำ รวมอยูเ่ ฉพาะจิต กไ็ มผ่ ดิ จากองค์มรรค
อยา่ งทโี่ ยมทองแดงบอกวา่ ไมผ่ ดิ นน้ั อาตมากเ็ หน็ ดว้ ยฉะนน้ั ขอใหพ้ ยายาม
เป็นลำ�ดับ คนเราถา้ มคี วามสงบแล้วก็เปน็ สุข ถ้าไมม่ คี วามสงบแลว้ กไ็ มม่ ี
สขุ ดงั น้นั เราควรหาความสุขเพอื่ เรา การพิจารณาก็เพ่อื ท�ำ จิตใหส้ งบ
และเกดิ ปญั ญาฉลาดสามารถเปลอื้ งตัวออกจากเครอ่ื งผูกพัน การกำ�หนด
เฉพาะจติ ก็เพอ่ื ความสงบของจิต เม่อื จติ สงบแล้วก็ค่อยเกิดปัญญาหาทาง
แกต้ น เหมอื นบุคคลมีทนุ ทรพั ย์แล้วก็จะเปน็ เหตุให้คดิ ค้าหาก�ำ ไร เพ่ือ
เปลอื้ งตนออกจากทุกขย์ ากฉะนั้น เอวัง
บัว
๑๗๓
ฉบับที่ ๒ ๒๕ เมษายน ๒๔๙๙
วดั ป่าบา้ นตาด อุดรธานี
การภาวนาโปรดไดพ้ ากันบ�ำ เพญ็ ประจ�ำ วนั การจะพยายามแกท้ กุ ข์
ออกจากใจเป็นสิ่งสำ�คัญมาก และพึงทราบสมฏุ ฐานทเ่ี กดิ ของทกุ ข์เสีย
ก่อน สมฏุ ฐานของทกุ ขท์ า่ นก็กล่าววา่ กเิ ลส สมุฏฐานของกิเลสกค็ ือ จติ
อีกเหมอื นกนั (เป็นวัฏวน) ดังนัน้ ทกุ ข์จึงต้องมที จี่ ิตเป็นส�ำ คัญ เมื่อฝึกฝน
อบรมใหก้ ิเลสหมดไปจากจิตแล้ว จิตจงึ หาทุกขบ์ ีบคน้ั ไม่ได้ แม้จะทกุ ข์
ทางกาย กเ็ ปน็ แตส่ กั วา่ กริ ยิ าของขันธ์ ซึ่งยงั อยจู่ ะต้องแสดงอาการตาม
หนา้ ท่ีของเขา ความรตู้ ามเปน็ จรงิ ของจิตที่ไดร้ รู้ อบแล้วในขนั ธท์ ้งั หลาย
ก็เป็นแตเ่ พยี งร้คู วามจรงิ ของขันธ์อยู่เท่านัน้ หาได้ไปปรับโทษยกคุณขนั ธ์
แตป่ ระการใดไม่ เมื่อจิตไมไ่ ปควา้ เอาทกุ ข์ทเ่ี กดิ ขึ้นในขนั ธ์ ซ่ึงเรยี กว่า
ทุกขเวทนาแลว้ ทกุ ข์ทีป่ รากฏในขันธก์ ไ็ มซ่ ึมซาบถงึ จติ จติ ก็ไมเ่ ปน็ ทุกข์
เดือดรอ้ นไปตาม ต่างก็ทำ�งานแลอยตู่ ามความเป็นจริงของตน ไมร่ ะคน
ซง่ึ กนั และกนั เรียกว่าหมดทางน้�ำ ไหลเข้าไหลออก ก็เลยกลายเป็นนำ�้ นงิ่
น�้ำ ใสบริสทุ ธ์ิไป จติ ทห่ี มดทางไหลเขา้ ไหลออกของกิเลส กก็ ลายเปน็ จติ
บรสิ ุทธ์ิ หมดความหวัน่ ไหวเชน่ เดียวกบั น�ำ้ น้นั
ขอไดพ้ ากนั บ�ำ เพ็ญตามกำ�ลงั ชีวิตของเราทุกๆ คนในโลกจะอยู่
ก็ไมก่ วี่ นั เที่ยงแทจ้ ะแตกดบั อยู่แลว้ รบี ขวนขวายหาคุณงามความดใี น
เม่ือมีชวี ิตอยู่ หาไดม้ ากนอ้ ยเป็นของเรา เม่ือมีคุณงามความดซี ึง่ เราได้
สัง่ สมไวม้ ากแลว้ หากวา่ เราไมส่ ้ินกิเลส ยงั จะกลับมาเกดิ ในโลกอีก ก็จะ
เป็นผ้ไู ม่ผิดหวงั ในสถานที่เกิดและส่ิงทเ่ี ราตอ้ งประสงค์ บุญเปน็ เครือ่ งแก้
๑๗๔
ความขาดเขนิ บกพร่อง ความทกุ ขท์ รมาน ทา่ นต้องแก้เราได้แนๆ่ สิง่ ท่ี
จะใหส้ มหวังคอื บุญนเ้ี อง ท่านผสู้ มหวงั ได้ผ่านทกุ ขพ์ น้ ไปแล้ว คือ
พระพทุ ธเจา้ ของเรา ทา่ นกอ็ าศัยบุญนี้เองเป็นคณุ ชว่ ยท่าน ผู้ที่จะให้
สมหวังในกาลข้างหนา้ ก็บุญนี้เอง โปรดจ�ำ ใหแ้ ม่น เพียรอยา่ ถอย ยังมี
ชวี ติ อยู่กไ็ มเ่ สียท่า ตายไปแลว้ ก็ไมเ่ สยี ที จงท�ำ ดใี ห้มาก เอว.ํ
บวั
๑๗๕
ฉบับที่ ๓ ๑ มถิ ุนายน ๒๔๙๙
วดั ปา่ บา้ นตาด อุดรธานี
เร่ืองคณุ โยมจวน หากท่านอุตสา่ ห์พิจารณาคน้ คว้าในกองขนั ธ์
๕ เข้าให้มาก ก็จะเห็นโทษคุณมากขน้ึ ทีเดยี ว จุดใดปมใดซ่งึ เป็นเครือ่ ง
ขดั ขอ้ ง ในเม่อื เราพิจารณาขนั ธ์ ๕ เข้าใหม้ ากแลว้ ต้องเห็นจุดเหน็ ปมน้นั
แน่นอน การพิจารณาขนั ธ์ ๕ น้ีพิสดารมาก ทั้งเป็นบอ่ เกดิ แห่งปญั ญา
วชิ ชา อนั เปน็ เคร่อื งถอดถอนกเิ ลสดว้ ย ค�ำ ว่าจดุ ว่าปมนัน้ ก็คอื ตวั กเิ ลส
น้ันเอง เม่อื ปัญญายังไม่ละเอยี ดพอๆ กบั กเิ ลสชนดิ น้ี ก็ยังมองไมเ่ หน็ แก้
ไม่ตก ถอนไม่ขน้ึ กิเลสชนิดที่มองไม่เหน็ นี้กเ็ ลยกลายเป็นภยั แก่ท่านเอง
อีกหลายภพหลายชาติ ถา้ จะคดิ ไปหนา้ เดียว ไม่พจิ ารณาด้วยปัญญาให้
ทั่วถงึ กอ็ าจสำ�คัญตนวา่ เป็นอยา่ งนั้นอย่างน้ีกไ็ ด้ ซ่งึ เหมอื นหนทางเดนิ ที่
เราเข้าใจว่าเปน็ ทางเตียนโดยถา่ ยเดียว ก็ไม่ค่อยจะระวังอนั ตราย แตว่ ่า
เส้ยี นหนามหรือเศษแกว้ แตกอาจแทรกอยู่ในหนทางน้ันกไ็ ด้ ในเมื่อเดนิ
ไปไมร่ ะวงั ก็ตำ�เทา้ ให้ไดร้ บั ความเจ็บปวดเดือดร้อนแกต่ ัวเอง น่โี ทษเกิด
ข้นึ เพราะความตายใจเกินไป ไมม่ องดว้ ยสายตาให้ทัว่ ถึง อน่งึ จิตนีเ้ มอ่ื อยู่
ตามธรรมดาของตนก็เป็นของละเอียดอยู่แลว้ เมื่อได้รบั อบรมในทางที่ถูก
ย่งิ ละเอียดข้ึนไป ส่วนกิเลสเลา่ กล็ ะเอยี ดไปตามกนั อาศยั ปัญญาเทา่ นนั้
จะแกก้ เิ ลสส่วนน้ไี ด้ ความส�ำ คัญวา่ อยา่ งนน้ั อยา่ งนี้ อนั น้ีเป็นตวั สัญญา
จะแกก้ เิ ลสอย่างละเอียดไมไ่ ด้ แก้ไดแ้ ต่สว่ นหยาบเทา่ น้ัน
ดังนน้ั ทา่ นจงึ สอนให้อบรมปญั ญา การอบรมปญั ญากไ็ ด้แกก่ ารคน้
คดิ ในขนั ธ์ ๕ เอาขนั ธ์ ๕ เปน็ หนิ ลับ ปัญญาก็กลา้ สามารถตดั กเิ ลสอย่าง
๑๗๖
ละเอยี ดได้ ก็พ้นทกุ ข์ได้โดยไมต่ อ้ งส�ำ คัญตน เมื่อพอแกเ่ หตุแกผ่ ลแลว้
คำ�ว่า “อมตํ หรือวสิ ุทธธิ รรม” กเ็ ป็นขึน้ เองโดยไม่ต้องเสกสรรหรอื ส�ำ คัญ
ใดๆ ใครๆ จะแต่งผลไม่ได้ แตง่ ได้แตต่ วั เหตุเท่าน้นั
อนึง่ การพิจารณาขันธ์ ๕ คอื รูป เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ
กค็ อื การพิจารณาเรื่องความเกดิ ความดับของขนั ธ์ ๕ นนั้ เอง ทงั้ ที่เปน็
ส่วนอดีต อนาคต และปจั จุบัน มคี วามเกิดความดบั เปน็ อนั เดียวกนั
พจิ ารณาใหเ้ หน็ เป็นของไม่น่าไว้ใจหรือนอนใจ ซ่ึงเรยี กวา่ เป็นอนจิ จัง ทกุ
ขงั อนัตตา เหมือนกนั หมด ตอ่ จากน้ันก็ทวนเขา้ มาพจิ ารณาจติ ซ่งึ เป็น
ท่เี กิดแหง่ อารมณ์ทงั้ หลายอีก ไมอ่ ยา่ งน้ันก็จะกลายเปน็ มหาโจร ผสู้ ่งั สม
กิเลสไวใ้ นตวั อกี เหมือนกัน จงึ ควรพจิ ารณาจติ ผ้รู ูซ้ ้ึงธรรมทั้งหลาย ให้
เห็นเป็นความจริงเสมอกบั ธรรมท้งั หลายอกี ไมอ่ ย่างนัน้ จิตกจ็ ะสำ�คญั
ว่าตนฉลาดเพราะไปรธู้ รรมทง้ั หลาย เลยลมื ทวนกระแสเข้ามาพจิ ารณา
และรู้เท่าตัวของตวั เอง
ประการหน่ึง เม่อื จิตยงั เพลินไปรู้หรอื ตำ�หนิตชิ มธรรมส่วนอน่ื วา่ ดี
วา่ ชั่วอยตู่ ราบใด พงึ ทราบเถดิ วา่ จิตนน้ั ยังเปน็ อวิชชาอย่ตู ราบนน้ั จดั วา่
ยังไม่ฉลาดพอ และจดั วา่ ยงั พ้นทุกข์ไม่ได้ เพราะยังหลงตวั คือจิตอยู่
การพิจารณาที่จะใหร้ อบคอบในขันธ์ทั้งหลาย ท้งั ที่เปน็ ขนั ธ์นอก
ขันธใ์ น และจิตเราซ่ึงนอกจากขนั ธ์ทงั้ สองประเภทนนั้ เป็นของสำ�คญั ไม่
น้อย จิตนจี้ ะใชใ้ หพ้ ิจารณาธรรมประเภทใด ท้งั ใกล้ทง้ั ไกล ทั้งหยาบทั้ง
ละเอยี ด ทัง้ ภายนอกภายใน พอรูไ้ ด้เห็นได้ไมย่ ากนัก แตจ่ ะทวนเข้ามา
พจิ ารณาจติ น้ซี ิส�ำ คญั ย่งิ เมือ่ กลับเขา้ มาพิจารณาตรงน้ีไดแ้ ล้ว รู้ตรงนแ้ี ลว้
ว่าเป็นความจรงิ ชนิดหน่ึง ซึง่ ต่างจากความจรงิ ใดๆ ทง้ั หมด พรอ้ มทงั้
๑๗๗
ความไม่ยึดมั่นถอื มั่นเสมอธรรมทง้ั หลายแล้ว นั่นแหละจึงจะหมดอวชิ ชา
และอปุ าทาน จะปฏิญาณตนวา่ หลุดพ้นหรือไม่ ก็หมดปัญหาไปในตวั
ดังนั้น ท่านผูส้ ิ้นจากความส�ำ คัญไรๆ แลว้ จึงเปน็ เหมือนปดิ ปาก
ไม่อยากพูดสุ่มสส่ี ุ่มหา้ ไม่อยากอวดตัว ไมอ่ ยากทดลอง เมือ่ ปรากฏ
เฉพาะหนา้ กด็ ูไปฟังไป ไมอ่ าลัยในความอยากดอู ยากฟงั อีก ในเมอ่ื รปู
เสยี ง เป็นต้นผ่านพ้นไป หมดค�ำ ว่าตัวดี ตวั ช่วั อยู่กลางๆ ตามความจรงิ
เพราะค�ำ ว่าดหี รือช่วั เปน็ เหมอื นสีย้อม เมื่อจิตบรสิ ทุ ธิแ์ ล้ว หมดเรอื่ ง
เสกสรรซึง่ เหมือนน�ำ้ ทีบ่ รสิ ทุ ธแิ์ ท้ไม่มีสีฉะน้นั เอวํ
บัว
๑๗๘
ฉบับที่ ๔ ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๔๙๙
วดั ปา่ บา้ นตาด อดุ รธานี
การปฏบิ ตั ธิ รรมทางจติ โปรดไดค้ น้ คดิ ในขนั ธใ์ หม้ ากเรอ่ื งมคั คสมงั คี
หรืออรยิ มรรคท่ีกล่าวถึงในฉบบั ก่อนนั้น เปน็ ผลของงานซง่ึ ตดั กิเลสขาดไป
เปน็ ตอนๆ ขอยกไว้ จะกล่าวถึงเรือ่ งงาน คือการดำ�เนินปฏิปทา ซึง่
เราควรหยบิ ยกมาปฏบิ ัตใิ หพ้ อดีแก่นิสัยวาสนาของเรา นิสัยของคุณ
ไม่ใชน่ สิ ยั ทจี่ ะอย่นู ง่ิ ๆ โดยอาการบังคับจติ ไม่ใหค้ ดิ นกึ ที่ถกู ควรคน้ คว้า
พจิ ารณาในขันธภ์ ายนอกภายในด้วยปญั ญาอยเู่ สมอ แตร่ ะวงั ความหมาย
รลู้ ว่ งหน้าไปกอ่ น จะเปน็ การมกั ง่ายเกินไป จะเสยี ทางปญั ญา เร่ือง
อารมณอ์ ดตี อนาคต ไมค่ วรโน้มนา้ วมาสใู่ จที่บรสิ ุทธ์ิอยูใ่ นปัจจุบนั จะทำ�
จิตซ่งึ ต้งั อยใู่ นปัจจุบนั อนั บริสุทธิ์ให้ขุ่นมัว อดตี อนาคตไม่ใชต่ ัวกิเลสและ
บาปธรรม ไม่ใช่ตัวนรก สวรรค์ และนิพพาน ดวงจิตที่รู้อยู่ในปัจจุบันนี้
เองจะเปน็ ดเี ป็นชั่ว ในเม่อื เราปล่อยไปคว้าอารมณ์ทำ�ให้เป็นอดีตอนาคต
ข้ึน ตัวปจั จบุ ันเลยหลงหลกั ทีถ่ กู แท้ จติ ซงึ่ รูอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั ไม่ไดไ้ ปท�ำ เสีย
หายชว่ั ร้ายอะไร มแี ต่การช�ำ ระตนอยู่ด้วยปญั ญา แมว้ ่าท่านพระอรยิ
เจา้ ในคราวท่านหลงท่านก็ทำ�บาป แต่เมือ่ รตู้ วั แล้วทา่ นพยายามละโดย
ปัจจุบัน ก็หลดุ พน้ ได้อย่างทันตา
ภพกอ่ นเราจะเคยทำ�ดีทำ�ชวั่ แตเ่ ราจ�ำ ไม่ไดก้ ไ็ ม่เดอื ดรอ้ น ตกลง
คนเรารอ้ นกเ็ พราะสญั ญาความจ�ำ ของตนเอง หากวา่ ขณะใดเราลมื มไิ ด้
เอาใจใสท่ เ่ี ราเคยเดือดร้อน ขณะนนั้ เรากส็ บายเป็นธรรมดาของจิตไปเสยี
ทเ่ี ล่ามาน้ีคอื โทษของอดีตทเ่ี ราไมส่ ำ�รวมแลว้ ปล่อยให้คดิ ตามอำ�เภอใจ ดัง
น้ันความผิดหรอื ถกู มที ุกคน แตเ่ วลาน้ีเราไมท่ ำ�และไม่ตงั้ ใจจะสง่ั สมเกบ็
๑๗๙
เอาไว้ เราต้ังใจจะบ�ำ เพญ็ หรอื สั่งสมเก็บเอาไวเ้ ฉพาะธรรมที่เปน็ ปจั จุบนั
อนั สมั ปยุตด้วยปญั ญาเครือ่ งแกไ้ ขกเิ ลสและบาปธรรม อันเปน็ ทางพน้
ทกุ ข์เท่าน้ัน
ดงั นัน้ สิ่งใดท่เี กิดขนึ้ ในจิตซง่ึ เป็นฝา่ ยนวิ รณ์ เราพึงทราบดว้ ยปัญญา
ทันทวี า่ สิ่งนน้ั คือมายาของจติ เอง ไมใ่ ช่บาปกรรมมาจากอืน่ ทไ่ี หนเลย
การอบรมจิตจึงต้องรู้มายาของจิต ไม่อยา่ งนนั้ จะหลงกลมายาของจิต
หาความบรสิ ทุ ธิ์ไม่ได้เลย เมอื่ เรารมู้ ายาของจติ ที่หลอกลวงเราทุกอย่าง
ดว้ ยปัญญาแลว้ จติ จะไปหามายามาจากไหนอกี เหมอื นเรารกู้ ลอุบาย
ของคนทีจ่ ะมาหลอกลวงเรา เราไม่เชอื่ เขาแลว้ เขาจะตม้ เราได้ท่ไี หน
อันนีก้ ็ฉันนน้ั เมือ่ ก�ำ ลงั สตปิ ญั ญาร้ทู นั ความปรุงความคดิ หรือความหมาย
อยแู่ ล้ว อาการเหล่านก้ี ค็ อ่ ยหมดมายาไปเอง จิตเมอื่ ได้สติกับปัญญาเปน็
พ่เี ลีย้ ง คอยสอดสอ่ งความชั่วรา้ ยหมายโทษมิให้เกิดข้ึนได้ จติ กจ็ ะนบั วัน
ผอ่ งใสบรสิ ทุ ธิ์ไปเอง
นแ่ี หละคณุ ทั้งสอง อบุ ายเครื่องแกท้ กุ ขใ์ ห้พน้ ได้ในปัจจุบนั ไมต่ อ้ ง
ไปค�ำ นงึ ค�ำ นวณถงึ อำ�นาจวาสนาท่ีไหน การช�ำ ระใจใหบ้ ริสทุ ธ์อิ ยู่ทุกเมอื่
ดว้ ยสตปิ ัญญามไิ ด้ขาดวนั ขาดคนื ห้วงน้�ำ ในมหาสมทุ รก็นบั วันจะต้นื ข้ึน
ทุกที ความดีนับวันมากล้น กพ็ ้นไดต้ ามใจหวงั เอวํ โปรดไดพ้ ิจารณาดว้ ย
ปัญญา
ขอให้พากนั สนใจ สมบัตใิ หญ่ไดแ้ ล้วกินไมร่ ู้จกั หมดสิน้ แม้แผ่น
ดินหนาสองแสนส่ีหมืน่ โยชน์จะหมดไป สมบัตใิ หญเ่ รายงั คงทไ่ี มแ่ ปรผนั
เปน็ ของอัศจรรย์เหลือโลก โชคเรามีจึงไดเ้ กดิ มาพบศาสนา มีศรัทธาได้
หวา่ นพืชอย่าให้จืดจาง จงพยายามปล่อยวางด้วยปญั ญา
บัว
๑๘๐
ฉบบั ที่ ๕ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๙
วดั ป่าบา้ นตาด อดุ รธานี
ขอให้ตั้งใจปฏิบัติตามแนวท่ีได้อธิบายให้ฟังแล้วในจดหมายทุกๆ
ฉบับ อย่าสง่ จิตใจไปอนื่ นอกจากกายกบั จติ ให้เกนิ กว่าเหตุ จะเสียเวลา
ท้ังจะนำ�ความกงั วลเดอื ดร้อนมาเผาผลาญเราเปลา่ ๆ และขอแนะนำ�ยำ้�
อกี ว่า อยา่ แสวงหาสนั ตธิ รรมคอื พระนิพพานนอกไปจากกายกับจิต ปจั จบุ นั
เปน็ บ่อเกดิ แหง่ บุญแลบาป อดีตอนาคตไม่ใช่บญุ แลบาป และมใิ ช่บอ่ เกิด
แหง่ บุญแลบาป ปจั จบุ นั น้ีเองเป็นตวั บญุ ตวั บาป เมือ่ เรารักษาจิตใหอ้ ยู่ใน
ปัจจบุ ันด้วยความมสี ตแิ ล้ว กิเลสบาปธรรมท่ไี หนจะเล่อื นลอยมาครอบง�ำ
จิตให้เราไดร้ บั ความเดือดรอ้ นเลา่ เหตุทเ่ี ราจะเดอื ดร้อนขนุ่ มวั กเ็ พราะ
ปลอ่ ยจิตให้คว้าโนน่ ควา้ นีไ่ ม่อยูเ่ ปน็ สุข คือคว้าอดตี อนาคต ซึง่ เหมอื น
นำ�้ ลายถม่ ท้ิงแลว้ คว้ากลับเขา้ มาใส่ปากอีก ยอ่ มน่าสะอิดสะเอียนตอ่ ลิ้น
ไม่นอ้ ยเลย อารมณห์ รือสง่ิ ท่ชี ั่วอะไรกต็ ามทผ่ี า่ นพน้ ไปแลว้ เรากร็ ้แู ล้ววา่
ไม่ดี ยังคว้ากลับคืนมาเผาจิต อนั น้ยี ิง่ รา้ ยกว่าน้ำ�ลายที่ถม่ ทิง้ เสียอีก เลย
หาความเย็นไมไ่ ด้เลย เราอย่ดู กี นิ ดี อยา่ หาเรอ่ื งใส่เรา เราต้องการจะให้
ไฟดับ ตอ้ งไสฟืนออกแล้วไฟจะค่อยดบั เอง จติ ถา้ ไดเ้ ชอ้ื คืออดีตอนาคต
เป็นปัจจุบนั หนุนหรือสง่ เสริมอย่แู ล้วก็จะไปกนั ใหญ่ เหมอื นไฟได้เชือ้
ฉะนั้น ดังนนั้ จงึ ควรรักษาจติ ใหม้ ีอารมณท์ ่ดี ีเปน็ เครื่องดืม่ อยโู่ ดยปัจจุบัน
ก็นับวันจะสงบสบายคลายจากสิ่งที่เป็นข้าศึก จะมีแต่ความสงบสุขทุก
อิรยิ าบถ จึงจะสมนามว่าผฉู้ ลาดทรมานจติ ให้หายพยศได้
๑๘๑
อน่งึ สตั วพ์ ยศเขายงั ทรมานได้ ธรรมดาจิตเม่ือมกี เิ ลสก็ตอ้ งมีพยศ
เราจะหักห้ามหรอื ทรมานให้จติ หายพยศไมไ่ ด้ จะเรยี กว่าคนฉลาดทตี่ รง
ไหน เมอ่ื เราทรมานจิตไดม้ ากนอ้ ยก็ชื่อว่าเปน็ คนฉลาดโดยลำ�ดับ จนถึง
เรียกวา่ เป็นคนฉลาดได้ (ยอดนกั ปราชญ์) เอวํ สวสั ดี
บัว
๑๘๒
ฉบับท่ี ๖ ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๐
วัดปา่ บ้านตาด อุดรธานี
แมท่ องแดง เมือ่ มีคนสง่ เสริมมากเท่าไร ก็พึงทราบว่าจะมคี นนินทา
มากเท่าเทียมกนั ดังนั้นความเคลื่อนไหวในกิริยาใดๆ ผ้ทู ี่ได้เห็นหรือไดย้ นิ
ในกิรยิ านน้ั ๆ จงึ เก็บไวภ้ ายในใจ พระพทุ ธเจ้าผเู้ ปน็ เจ้าของศาสนายังถกู
โลกธรรมรมุ ตี แตก่ ็คงเป็นพระพุทธเจา้ ตามเดิมจนวันเขา้ นพิ พาน เราทุก
คนมพี ทุ ธประจำ�ตัว เมอื่ ช�ำ ระใหบ้ ริสุทธ์แิ ล้ว แม้โลกธรรมจะรวมหวั กนั หมด
ท้งั โลกมาโจมตี ก็คงบริสทุ ธอ์ิ ยตู่ ามเดมิ เพราะความบรสิ ทุ ธน์ิ ้ันไม่ใชโ่ ลก
ธรรมๆ จงึ ไมส่ ามารถแทรกซึมหรือลบลา้ งความบรสิ ุทธิน์ ้นั ได้ ความจรงิ
แท้ๆ (แกน่ แท)้ มีอยู่กับทา่ นผู้ใด จะเปน็ หญิงชาย หรอื นักบวชใดๆ เพียง
ว่าผนู้ ัน้ แยม้ ออกมาเทา่ นน้ั เรากพ็ อรหู้ รอื เขา้ ใจได้ เราอย่าหลงกระพี้คอื เหา่
หอนของโลก หูตาเรามี ใจเรามี ดใู หด้ ี ฟังใหด้ ี คดิ ให้ดี จะเห็นของดี (นัก
ปราชญ์ภายนอกภายใน) หนีจากตาหูและใจ ปญั ญาของเราไปไม่พน้ ต้นไม้
บางชนิดมีแก่นอยขู่ ้างนอก เชน่ ต้นตาลเปน็ ต้น บางชนดิ มีแกน่ อย่ขู ้างใน มี
ไมพ้ ะยงู เปน็ ต้น คนเราก็ฉันนน้ั ดนี อกก็มี เชน่ มีแตก่ ิรยิ ามารยาทคำ�พูด
ถกู กาละ ส�ำ นวนโวหารไพเราะ ภายในเหมือนถา่ นไฟ ดีในกม็ ี เช่น สมัยน้ี
ดใี นมนี อ้ ย สว่ นดีนอกตามสัญญาจะเหลือโลกอยแู่ ลว้ เราสมาคมคบหาใคร ดู
ให้ถงึ ตา ถึงหู ถึงใจ อยา่ หลงตามใคร เมื่อถึงใจแลว้ จับใหม้ ั่น ใครจะเห่าหอน
แทะกดั ไปอย่างไรไมต่ อ้ งหวัน่ ไหว น่ันแลท่านวา่ ใจนกั ปราชญ์
อนึ่ง สมัยนนี้ กั วทิ ยาศาสตร์เจริญ สนุ ัขบา้ กช็ ุมไปตามๆ กนั เรารบี
เตรียมยาไว้ตดิ ตัว ไมอ่ ยา่ งน้ันจะแย่
บวั
๑๘๓
ฉบับที่ ๗
วดั ป่าบา้ นตาด อดุ รธานี
๘ กรกฎาคม ๒๕๐๐
การเจ็บปว่ ยเป็นเทวทูตประจ�ำ ตัว ขออย่าได้ประมาทนอนใจ โปรด
พิจารณาตามบริเวณที่เจ็บป่วยนั้นแล ให้เห็นด้วยปัญญาประจักษ์ว่า
อวัยวะท้ังหมดนี้เป็นของแน่เหลือเกินท่ีจะเป็นเครื่องทับถมเราให้ได้รับ
ความทุกข์ และไม่ตั้งอยู่นาน ทง้ั หาสาระอะไรไม่ได้ ท้งั จะต้ังหน้าไปสู่
ความแตกสลายโดยถ่ายเดยี วเทา่ น้นั ตา่ งก็มีอย่เู ปน็ ไปอยูด่ ้วยกันอย่างน้ี
ทัว่ โลก หาทีห่ ลบภัยไม่ได้เลย แม้พระพุทธเจา้ กต็ อ้ งเป็นอย่างนเ้ี หมือน
สามัญชนธรรมดา ภยั อย่างอื่นๆ เราพอหลบหลีกไดบ้ ้าง ภัยอยา่ งน้ีตอ้ ง
หลบหลกี ดว้ ยปัญญา คอื หยงั่ ทราบตามความเป็นจรงิ พระพุทธเจา้ เปน็
เขา้ ท่านมยี าแก้ เราทง้ั หลายไมค่ ่อยมียาแก้ ตา่ งกันที่ตรงน้ี
บัว
๑๘๔
ฉบบั ที่ ๘ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๐๐
วดั ปา่ บ้านตาด อดุ รธานี
การพจิ ารณากาย-จิต ใหถ้ ือวา่ เปน็ กจิ ส�ำ คญั ประจ�ำ อิรยิ าบถ และ
โปรดระวังอย่าปล่อยใหจ้ ิตไปสำ�คัญหมายรูไ้ วก้ ่อน จะทำ�ความต้งั ใจใน
ปัจจุบนั ท่มี ตี อ่ กาย-จติ ใหเ้ คล่อื นไหวไปตาม จะไมเ่ หน็ ความจริงทม่ี ปี ระจ�ำ
กาย-จติ พึงท�ำ เหมือนเราเปิดหีบส่ิงของ ซง่ึ ส่งมาจากทางอนื่ ที่เราไม่เคย
รูส้ ิ่งของภายในหีบมาก่อน ตั้งเจตนาไวเ้ พือ่ จะดูเฉพาะส่งิ ของภายในหบี
เทา่ น้ัน จนกว่าเราเปดิ ออกดู จะรวู้ า่ มีอะไรบ้างในหีบนน้ั การพิจารณา
กายก็พงึ ตง้ั เจตนาไว้วา่ กาย-จติ เราน้ีก็เทา่ กับหบี อนั หน่งึ แล้วพึงต้ังจิตไว้
เฉพาะหนา้ อย่าส่งไปตามสญั ญาอดีตอนาคต กำ�หนดกาย-จิตไวจ้ �ำ เพาะ
หน้าจนกว่าจะเห็นความเป็นอยู่ของอาการท้ังหลายท่ีเป็นไปอยู่ในปัจจุบัน
และจะเปลีย่ นแปลงไปข้างหนา้ จนถึงความแตกดบั พงึ พิจารณาใหเ้ ป็น
ปัจจบุ นั จริงๆ อย่าคาดหมายไปก่อน จะกลายเป็นความสะเพรา่ ของจิต
ติดสันดาน เลยจะไมไ่ ดอ้ ุบายอะไรจากการพิจารณากายกบั จิต ทั้งจิตเอง
กจ็ ะไม่มกี �ำ ลังความสงบ ตลอดถงึ ความแยบคายคอื ปญั ญา จะรู้หรอื ไม่รกู้ ็
ไมต่ อ้ งเดอื ดรอ้ นไปก่อน
การพิจารณากายกับจิตซ่ึงเป็นสถานที่เกิดปัญญาและความ
หลุดพน้ แท้ จะเปน็ ไปไม่ไดอ้ ย่างไรเลา่ นักปราชญ์ท่านได้ชยั ชนะจาก
สมรภูมนิ ้แี ท้ (จากกายกับจติ ) นอกจากจิตจะไม่เอาเร่อื งกาย-จิตมาเป็น
อารมณแ์ ห่งกรรมฐานเสยี จรงิ ๆ ความรูใ้ นกายทกุ สว่ นซง่ึ เกดิ จากการคาด
คะเน จะไม่เป็นผลที่พึงใจของเรา ในเมอ่ื เราไม่ผลกั ดันความรชู้ นิดคาดไป
๑๘๕
กอ่ นออกใหห้ า่ งไกล ทรงไว้เฉพาะความรทู้ ่เี ก่ยี วพนั กนั กบั กายในปจั จบุ นั
น่ันแลจึงจะเปน็ ความรู้ใหม่เกิดข้ึนมาแทนตัว จงึ จะเปน็ ความรู้สามารถ
รักษาจติ ใหเ้ ทยี่ งตรงตอ่ ธรรมท้ังหลาย ท้งั ท่เี ป็นฝา่ ยดี ชั่ว และกลางๆ
เราเรมิ่ พจิ ารณาคราวใดกพ็ งึ ต้ังจิตไว้ทำ�นองนี้ อย่าปล่อยให้จติ รหู้ ลอกไป
กอ่ น
ส่วนผลคอื ความสงบสขุ น้ัน เป็นของเกดิ เองจากการพิจารณาถกู
เราไม่ตอ้ งเดือดร้อนวา่ จะไมพ่ ้นทุกข์ ทกุ ข์มันอย่ทู ่กี าย-จิตนเี้ ทา่ น้นั เพราะ
กิเลสอยูท่ ่ีนจ่ี งึ ต้องพจิ ารณาทน่ี ี่ เรียกว่าแกท้ ุกขห์ รือแก้กเิ ลส เราอย่าสง่
จิตไปสวรรค์ นิพพาน นรกท่ีไหน นรกคือความเดือดรอ้ นอันวุน่ วาย
นิพพานคอื ความสงบสุข เมอื่ ชำ�ระใจของเราไดด้ แี ล้ว ดว้ ยสตปิ ญั ญาและ
ความเพียรจริงๆ เราจะรู้ไดท้ ัง้ นรก ทงั้ สวรรค์ และนพิ พาน ณ ภายใน
จติ ของเรานีเ้ ท่านัน้ หาไปรทู้ อ่ี ื่นไม่
คนทงั้ หลายรธู้ รรมทง้ั หลายแลว้ ไมพ่ น้ ทกุ ข์ ทง้ั กลับเป็นเส้ยี นหนาม
ยอกแทงตนและผู้อื่นเข้าด้วยซ้ำ� แต่พระพุทธเจ้าแลสาวกรู้ธรรมแล้ว
พน้ ทุกข์ไปเลย พร้อมๆ กบั ความรธู้ รรมเกดิ ข้นึ เพราะเหตุใดระหวา่ ง
คนทง้ั สองสามจ�ำ พวกนจ้ี งึ ตา่ งกนั เล่า ก็เพราะความร้เู กิดจากปัจจบุ ันจติ
อนั กลายเป็นปัญญาไปในตวั กับความรู้คาดคะเน (สญั ญา) มันต่างกัน
ราวฟา้ กบั แผ่นดนิ น่นั เอง จงึ สามารถแปรคนทง้ั สองจ�ำ พวกใหต้ ่างกัน
เหตุทค่ี วามรูท้ ีเ่ ปน็ ปัจจุบนั จติ จะเกิดได้ ก็ตอ้ งพิจารณาปจั จุบันธรรมคือ
กายกบั จิตนี้เอง เพราะกาย-จิต เปน็ สถานท่ีสงั่ สมกิเลสและเป็นสถานท่ี
ถอดถอนกิเลสแลกองทุกขท์ ง้ั มวล ฉะน้ันเราควรตง้ั จิตไวโ้ ดยท�ำ นองทว่ี า่
ให้จิตอยูก่ ับกายจิตจริงๆ จนเรียกปจั จุบนั ได้เต็มท่ี แลว้ กระแสของปจั จุบัน
๑๘๖
จติ จะกระจายแสงสว่าง คือ ปญั ญาออกตามอาการของกายแลอาการของ
จิตโดยรอบคอบ จากนัน้ ก็จะไดเ้ ห็นทกุ สิ่งท้งั ทเี่ ปน็ คณุ เป็นโทษ ปรากฏ
ด้วยปัญญาอนั ชอบแท้ ตลอดกลางวนั กลางคนื ยนื เดนิ น่ัง นอน จะ
เรยี กวา่ ฟงั ธรรมทุกเวลาก็ได้
ความเกดิ แกเ่ จ็บตาย เราเคยได้ยินจนชินหู แต่ยงั ไมซ่ ึ้งถงึ ปัญญา
แลว้ ส่งิ เหลา่ นกี้ ย็ ังไม่มรี สชาติพอท่จี ะใหเ้ กิดความเบื่อหนา่ ยได้ ทง้ั น้ี
ก็เพราะสญั ญาหมายกนั ไปเท่านนั้ หาได้เปน็ ปัญญาหย่งั ทราบความเกดิ
แก่เจ็บตายอย่างแท้จรงิ ไม่ ฉะนน้ั สัตว์ท้ังหลายซ่ึงรธู้ รรมของพระองค์
ด้วยสญั ญา จงึ กลายเปน็ เจ้าแหง่ ทุกข์ แห่งกงจักรสงั สารวฏั อกี ดว้ ย
ค�ำ วา่ กงจกั ร เปน็ ตน้ พงึ ทราบใกล้ๆ และยอ่ ด้วยวา่ กาย-จติ และ
อาการของจติ นีเ้ อง หมุนตัวเองให้หลงรัก-ชังในวัตถแุ ละอารมณท์ ั้งทีเ่ ปน็
ภายนอกและภายในอยู่ไม่มีเวลาหยุดยั้งได้ ฉะนั้นจึงควรพิจารณาตัว
กงจักรเปน็ ตน้ นี้ ให้แยบคายดว้ ยปัญญาอยเู่ ฉพาะหนา้ นกั ปราชญ์ทา่ นไม่
หนจี ากกายกบั จิต ถอื เป็นนมิ ติ ประจกั ษ์ใจทกุ เวลา ใชป้ ัญญาสอดสอ่ งอยู่
เสมอ จงึ สามารถพ้นจากสมมุติถึงวิมุตติ คือสภาพท่หี าสมมตุ ิบญั ญัตไิ ม่
ไดแ้ ม้แตน่ ้อย น่ีแหละเรียกวา่ พน้ จากกงจกั รตวั หมุนเวยี น เราพึงทราบ
กงจกั รหรอื สังสารวัฏว่าอยู่ทไี่ หนแน่ โดยนยั ท่อี ธบิ ายมาน้ี จะไดห้ าย
สงสัยกันเสยี ที
พระมหาบัว
๑๘๗
ฉบบั ที่ ๙ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๐๐
วัดป่าบา้ นตาด อดุ รธานี
ขอให้พรอ้ มกันตง้ั ใจบำ�เพ็ญ อยา่ ท้อถอย เพราะเราเป็นศิษย์
พระพทุ ธเจา้ ด้วยกนั ความทกุ ข์-ลำ�บากเพราะการทำ�ความดีพออดพอทน
ทา่ นท่พี น้ ทุกขไ์ ปได้แล้ว ทา่ นกต็ ้องผ่านความทกุ ข์-ล�ำ บากเพราะความ
พากเพยี รเหมอื นเราน่ีเอง ถา้ ปลกี จากทางนี้แลว้ กห็ าความพน้ ทุกขไ์ ดย้ าก
นักปราชญ์ท่านเห็นงานสำ�คัญกว่าเงิน เพราะใครมงี านผนู้ น้ั กม็ เี งนิ ฉะน้ัน
พึงทราบว่า บญุ กศุ ลท้ังมวลเกิดจากงานคือความพากเพยี ร ความเพยี ร
ในความดีทุกประเภทจัดว่าเป็นต้นทุนหนุนกำ�ไรให้เราก้าวไปสู่ความดี
นบั แต่ช้ันต�่ำ จนกระทงั่ ถงึ ชนั้ สงู สดุ คือพระนพิ พาน ดงั นนั้ ควรยนิ ดใี นกศุ ล
ทเ่ี ราได้อุตส่าหบ์ ำ�เพญ็ มาแลว้ จนถงึ วนั นี้ และพงึ พากเพยี รต่อไปเพือ่ ความ
เพมิ่ พนู แหง่ บารมขี องเราใหแ้ ก่กลา้ สามารถพน้ ไปไดด้ งั ใจหมาย
บวั
๑๘๘
ฉบบั ท่ี ๑๐ ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๐๐
วดั ป่าบา้ นตาด อดุ รธานี
การเร่งทางด้านจิตตภาวนานั้นแลจะได้เห็นภัยของโลกท้ังมวล
สังขารเราแกเ่ ขา้ ทกุ วนั เปลี่ยนไปทุกขณะลมหายใจ
ความหมายของจิตซง่ึ ปรุงไปกอ่ น เปน็ อุปสรรคแก่ปัญญาซ่งึ จะเกิด
ขึน้ เฉพาะหนา้ ปญั ญาท่ีเกดิ ขน้ึ จากปจั จบุ นั จติ เปน็ ปญั ญาที่จะเปลอ้ื ง
ความสงสัยได้โดยลำ�ดับ ดงั นนั้ เราควรรักษาจติ ให้เปน็ ปจั จบุ ัน ตง้ั อยู่กบั
กายกับอารมณ์ทเ่ี กิดจากจติ โดยเฉพาะ เรื่องของอนจิ จัง ทกุ ขัง อนตั ตา
และอสุภธรรมทงั้ หลาย จะปรากฏข้นึ เองดว้ ยปญั ญาอนั ละเอียดออ่ น ซ่ึง
อาศยั ปจั จบุ ันจติ เป็นภาคพืน้
ความทค่ี าดคะเนนน้ั ทำ�ได้ทุกคน เพราะไมใ่ ช่ของจรงิ ท�ำ ไปๆ เลย
เกดิ ด้านหรอื ชินไปเสียอยา่ งดอ้ื ๆ ยกตวั อยา่ งคนเรยี นปริยตั ิมากๆ จ�ำ ได้
มากๆ ซ่ึงไม่ใช่ปญั ญาแลว้ จะรูส้ กึ วา่ มีทฐิ ิมานะมาก เพราะสำ�คัญว่าตน
รู้มาก ใครจะสอน คนเช่นน้นั เขายังไมฟ่ งั เสียง เพราะเขาส�ำ คญั วา่ ความ
รู้ของเขาท่เี รียนมาสงู จดท้องฟา้ เสียแลว้ ดังนี้เปน็ ตน้
ความท�ำ จริงมงุ่ ตอ่ ความหลดุ พน้ จรงิ ๆ แมจ้ ะเรยี นเฉพาะกรรมฐาน
๕ เทา่ น้นั สาวกของพระพทุ ธเจา้ กป็ รากฏในต�ำ ราวา่ หลดุ พน้ ได้หลายองค์
การเรียนมากเรยี นนอ้ ยอาจเป็นอปุ นิสยั ซง่ึ เคยส่งั สอนปริยตั ิมาแตช่ าติ
ปางก่อนก็ได้ สรุปความแล้วเรียนมากเรียนน้อยจะต้องไหลลงรวมใน
ขอ้ ปฏบิ ัติ คือหลกั จติ ตภาวนาท้ังน้ัน ซงึ่ เป็นหลักมงุ่ ประสงคข์ องพระองค์
๑๘๙
โดยแทท้ เี ดยี ว อนึ่ง ความรู้ท้งั หมด จะเป็นสุตมยปัญญา จนิ ตามยปัญญา
หรอื ปัญญาเกดิ จากการศกึ ษามากนอ้ ยทง้ั หลายเหลา่ นี้ จะต้องกลบั มา
ฟักตัวอยู่ที่ภาวนามยปัญญา อันเป็นส่วนรวมของปัญญาทั้งหลาย
เหมือนแม่น้ำ�ทั้งหลายไหลมารวมมหาสมุทรฉะนั้น
ภาวนาปญั ญานี้ เบือ้ งตน้ ต้องเขา้ อาศัยจติ ทีต่ ง้ั ม่นั (ปัจจุบันจติ )
เสยี ก่อน เพราะปจั จบุ นั จติ ดงั ทีอ่ ธบิ ายแล้วข้างตน้ ยอ่ มเปน็ ภาคพ้ืนหรอื
บอ่ เกดิ แห่งปัญญาทุกประเภท หรอื เหมอื นพนื้ ดนิ เปน็ ทอี่ าศยั เกดิ แห่งพืช
ทกุ ชนดิ น้นั ดังน้นั อุบายท้ังปวงเม่อื เราพยายามรกั ษาจิตให้ต้งั อยู่เฉพาะ
ในวงแห่งกายแลจติ แลว้ จะเกดิ ขึ้นเองและจะตัดความสงสยั ภายในจิต
ไดเ้ ปน็ ลำ�ดับ ตัง้ แต่ต้นจนตลอดอวสาน จะหนจี ากหลักปจั จุบันจติ ซงึ่
สมั พนั ธเ์ ก่ียวเน่อื งกันกับกายแลจิตอนั เป็นตวั เหตสุ �ำ คญั ไปไมไ่ ดเ้ ลย
ผเู้ รียนมากก็ดี ผ้เู รียนนอ้ ยกด็ ี ที่จะถอดถอนความสงสัยอนั มี
อยู่ภายในจติ ไมไ่ ด้ ก็เพราะหนีจากหลกั ความจริง คอื กายกบั จติ ซึ่งเปน็
รากฐานของปจั จบุ ันจติ น้ันเอง เมอ่ื บงั คับจติ ใหต้ ้งั อยูใ่ นรากฐานอันนี้แลว้
เรอ่ื งปัจจบุ ันจิตจะปรากฏตัวขน้ึ เอง โดยไม่ตอ้ งไปคว้าหาท่ีไหน เมอ่ื
ปจั จบุ ันต้งั มัน่ แล้ว ปัญญานับแตช่ น้ั ต�ำ่ -กลาง และปัญญาส่วนละเอยี ด
สูงสดุ กจ็ ะแตกแขนงกิ่งก้านข้ึนมาจากนั้นเปน็ ล�ำ ดบั เหมือนบุคคลกอ่ ไฟ
ใหต้ ิดเช้อื ด้วยดีแลว้ ควนั ซ่งึ อาศัยไฟเปน็ เหตุน้ันจะตงั้ ขึ้นตั้งแตค่ วนั หยาบ
ควันปานกลาง และควนั ทล่ี ะเอียดสุดจากเปลวไฟนนั้ เปน็ ล�ำ ดับ ฉะนัน้
พึงทราบเรือ่ งของปัญญาทุกประเภท จะต้องเกดิ จากปจั จุบันจติ เชน่ เดยี ว
กับควันไฟเกิดจากเปลวไฟนัน้ เถิด
ยาแกโ้ รคทกุ ประเภทจะมแี ตต่ ำ�รา หาผูฉ้ ลาดปรงุ ยาและหาคนไข้
๑๙๐
จะมารบั ประทานยาไม่ไดแ้ ล้ว พยานท่ีเราจะพงึ อา้ งวา่ ยาดเี พราะถกู กบั โรค
กไ็ ม่ปรากฏแกโ่ ลกอย่างเด่นชดั ต่อเมอ่ื มีผู้ฉลาดปรงุ ยาตามต�ำ รา พร้อมทัง้
คนไข้กม็ ีความพอใจรับประทานยาจนหายป่วยแลว้ นัน่ แหละ จะพงึ อ้างวา่
ยาดีแท้ เพราะอาศัยแพทย์ผู้ฉลาด และคนไข้ได้รับการรักษาจากหมอ
ผู้ถือตำ�รายาด้วยความฉลาด ขอ้ นฉ้ี ันใด ศาสนาจะมแี ตต่ �ำ รา (คมั ภรี )์
หาผปู้ ฏิบตั ิตามคำ�สอนท่ีแทจ้ รงิ จนเกดิ ความฉลาด สามารถถอนตนให้พน้
จากทกุ ขไ์ มไ่ ด้ จะพึงอ้างว่าศาสนาดเี พราะยังบุคคลใหห้ ลดุ พ้นจากกองทุกข์
ได้ดังน้ี ก็ไม่เป็นหลักฐานท่จี ะพอฟังได้ เพราะคนทง้ั ๆ ท่เี ขาไมเ่ คย
ลิม้ รสจากการปฏบิ ตั ิเลยเขากพ็ ูดได้ ต่อเม่อื มีผูป้ ฏบิ ตั ิตามค�ำ สอนโดยถกู ตอ้ ง
จนเกดิ ผลประโยชนเ์ ฉพาะตนเปน็ ล�ำ ดบั แตช่ น้ั ต�่ำ จนถงึ ชนั้ สงู สดุ คอื วมิ ตุ ติ
พระนพิ พานประจักษ์ใจ โดยนัยท่ที า่ นกลา่ วไว้ว่า “ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพโฺ พ
วญิ ฺญูหิ” ดงั นี้ ผนู้ ัน้ จะพงึ อา้ งว่าศาสนาของพระพุทธเจ้าดีจริงๆ ดังนี้ได้
ข้อนี้เป็นหลักฐานจะพึงฟังได้เต็มร้อยเปอร์เซ็นตฉ์ ันนัน้ การอธิบายให้
คุณฟงั ทัง้ ดนุ้ นี้ ก็เพอื่ จะใหร้ สของยาซึมซาบเข้าในกาย จะได้หายจากโรค
ไดแ้ ก่ให้ศาสนาซมึ ซาบเข้าถึงใจ สมกบั วา่ ใจเป็นผทู้ รงศาสนาจรงิ ๆ สมยั
น้ีตำ�ราท่านกล่าวไว้มีมากจนไม่สามารถหยิบยกเอามาเป็นหลักใจอย่าง
แทจ้ ริงได้
ฉะน้ันพึงยอ้ นกลบั เขา้ มาในวงแคบของอรยิ สัจส่ี คือกายกับจติ น้ี
นยี้ ังร้อนๆ อ่นุ ๆ อยู่ ไมเ่ คยลา้ สมยั ตลอดกาล แปดหม่นื ส่ีพนั พระธรรมขันธ์
พึงทราบว่านำ�ออกไปจากนี้ เราพึงนำ�แปดหมื่นสี่พันย้อนกลับเข้ามา
ขัดเกลาภายในใจใหจ้ งได้ โดยทว่ี ่าให้จติ ตัง้ มน่ั อยภู่ ายในกายกบั จติ ใหไ้ ด้
อยา่ วิตกวา่ จะเสียเวลา หรอื ปว่ ยการเปล่า ข้อนน้ั เปน็ ความคาดหมาย
๑๙๑
เป็นธรรมหลอกลวง กิริยาจิตที่ส่งออกนอกตัวด้วยความอยากหรือ
ทะเยอทะยานน้ัน หากเปน็ ธรรมเครือ่ งถอดถอนกิเลสแลว้ ไซร้ คนท้ังโลก
คงพน้ ทกุ ข์ไปนานแลว้ ไมจ่ �ำ เป็นต้องสอนกนั เข้ามาในวงแหง่ อริยสัจ คือ
กายกบั จติ ก็เพราะกิรยิ าจติ ท่สี ง่ เชน่ นน้ั เป็นการด�ำ เนินผดิ ทางน่นั เอง
เอาละ ขอใหค้ ุณพยายามตามทแ่ี นะน้ี อย่าวุ่นวายโดยประการ
ทั้งปวง พึงยึดหลกั ภายในใหด้ ี นิพพานหนจี ากหลักภายในไปไม่พน้ จะ
รหู้ รือไม่รอู้ ย่าถอื เปน็ ประมาณ เดย๋ี วจะเขวหลกั รบั ประทานลงไปตาม
ชอ่ งทวารปาก ไม่ไหลลงสูท่ ้องและกระจายไปเลย้ี งอวยั วะทุกสว่ นมีอยา่ ง
ทไี่ หน
การปฏิบัติจิตเมื่อไม่ปล่อยให้หนีหลักแล้วจะไม่ยังความสงบให้เกิด
เปน็ ล�ำ ดบั ทา่ นคงไมก่ ลา่ วไวว้ า่ “สวฺ ากขฺ าโตภควตาธมโฺ ม”ธรรมอนั พระผมู้ ี
พระภาคกล่าวดแี ล้ว
สวัสดี
บัว
๑๙๒
ฉบับที่ ๑๑
วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี
๑๘ มีนาคม ๒๕๐๑
ยาเป็นเครื่องเยียวยารักษาธาตุขันธ์ ซ่งึ แสดงอาการแตกร้าวรวั่
ไหลอยตู่ ลอดเวลา ทง้ั เป็นส่งิ รบกวนใจให้วนุ่ วายไปด้วย ยาจึงเป็นส่ิง
สำ�คัญต่อมนุษย์และสัตว์ที่จะพึงเยียวยาให้มีความสุขไปบ้างในวันหนึ่งคืน
หนึ่ง ไมเ่ ช่นนนั้ ธาตขุ นั ธจ์ ะทนอยู่ไมไ่ ดก้ ี่วันต้องแตก
ธรรมเปน็ เครอื่ งเยียวยาทง้ั ธาตุขันธแ์ ละจิตดว้ ย จติ ไม่มีธรรมเปน็
เครือ่ งหล่อเล้ยี งกายกก็ ระสบั กระสา่ ย จติ กย็ ิง่ ลอยลม โลกกว้างหาทสี่ ดุ
มิได้ ก็ไม่มที ี่ปลงกายปลงใจ ปลงลงท่ีไหนถกู แต่กองเพลงิ คอื ความทกุ ข์
กายทรมานใจ ดังนนั้ ธรรมเปน็ เคร่ืองระงับทกุ ข์ทางกายทางใจ จึงควร
พจิ ารณาเปน็ ประจำ� เพ่ือเปน็ เคร่ืองยึดเหนย่ี วหรือยบั ยง้ั ของจิต แม้ถึง
กาลขนั ธ์จะพงึ แตก จิตก็ไม่ฟุง้ ซา่ น ดับไปโดยความสงบสุข
ย้อนกลับเขา้ มาดูขันธโลก จะเหน็ ทางส้ินสดุ โลกอันนแี้ คบนดิ เดียว
เมอื่ พจิ ารณาไม่รอบ จะเห็นโลกอันนีเ้ ต็มไปดว้ ยความสุข ความทุกข์
ความรักความชงั เม่ือพิจารณารอบดว้ ยปัญญาแลว้ จะเห็นขันธโลกอัน
นีเ้ ตม็ ไปดว้ ยอริยสัจ คอื ธรรมตายตวั ของพระอริยเจา้ ทง้ั นน้ั และจะไม่มี
ทางตำ�หนติ ชิ มและปรารถนาโลกอันนี้อกี ในเม่อื เหน็ ชัดด้วยปัญญาแลว้
“โลกวิท”ู พึงทราบว่ารแู้ จ้งในขันธน์ ้ีเป็นส�ำ คญั กว่าอืน่ เมอื่ พจิ ารณาไม่
รอบคอบเลา่ ความหลงในขันธ์นีย้ ่ิงร้ายกว่าอะไรเสยี อกี โปรดน้อมเอา
นสิ ยั ของนกั ปราชญม์ าประดับตวั ของเรา จะได้มีความอาจหาญตอ่ ความ
๑๙๓
จรงิ คอื ทุกข์ ซงึ่ โลกเคยกลวั และแพ้มาแล้วอย่างหลดุ ลุย่ อาจกลา่ วได้ใน
สมยั น้วี า่ แทบจะไมม่ ีใครเหน็ อริยสจั ๔ คือทุกข์ ฯลฯ มรรค วา่ เปน็ อรยิ
ธรรมคอื ธรรมอันประเสริฐด้วยความจรงิ ใจแท้ ทง้ั น้เี พราะไมน่ ้อมความ
จริงของท่านเขา้ มาพิจารณาดว้ ยปญั ญาอยา่ งแท้จริงน้ันเอง จงึ เปน็ แต่
เพยี งพูดกนั ตามท่านไปเฉยๆ ทั้งๆ ท่ไี มเ่ ชอ่ื ตอ่ ความจริงนน้ั ๆ ว่าจะเป็น
ความจรงิ แกอ่ นชุ นผปู้ ฏบิ ตั ิตามอย่างจริงจงั ได้
พึงทราบว่าอรยิ สัจ ๔ นไ้ี มใ่ ช่ธรรมเก่าและไม่ใช่ธรรมใหม่ด้วย
เปน็ ปจั จบุ ันธรรม ใครเกดิ มาต้องประสบทกุ คน เวน้ เสียแต่จะไม่เอาหู
ใส่ใจพจิ ารณาเท่านน้ั ไมเ่ คยขาดคราวขาดสมัยแตก่ าลไหนๆ มาจนถึง
ปจั จบุ นั และยงั จะมอี ย่างน้ีไปตลอดอนันตกาล ผ้มู ีปญั ญาพิจารณาไดไ้ ม่
เลือกกาล และรู้เหน็ ไดไ้ ม่เลอื กเวลาอกาลิโก เราเป็นศิษย์ตถาคต อย่า
ส�ำ คัญว่าทกุ ขท์ ่มี ใี นกายในจิตเป็นศัตรูคู่เวรแกเ่ รา ในขณะเดียวกนั ให้
พจิ ารณาจนเห็นทกุ ข์นั้นๆ ว่าเปน็ ความจรงิ ตามความจริงของทุกขท์ ่ตี ั้งอยู่
นน่ั แหละเราจะอยสู่ บาย แมก้ ายจะเต็มไปด้วยทกุ ข์ แตใ่ จจะเห็นไปวา่
ทุกข์เป็นเครื่องลับปัญญาให้คมกลา้ ทงั้ สามารถขา้ มพ้นไปได้ดว้ ยการเหน็
ทกุ ขด์ ้วย ใครยงั ไม่เห็นทุกขว์ ่าเป็นความจรงิ ประจักษใ์ จกอ่ น ผู้น้ันจะ
ปฏญิ าณตนวา่ บริสุทธ์แิ ลว้ อยา่ งนี้ ไม่เป็นฐานะอันจะพึงมไี ด้ โปรด
พจิ ารณาใหด้ ี
บัว
๑๙๔
ฉบบั ท่ี ๑๒ ๒๖ เมษายน ๒๕๐๑
วดั ป่าบา้ นตาด อุดรธานี
ให้พิจารณาทางจิตให้มาก การจวนตายไม่ว่าแต่คุณหรือใครๆ
เตรียมกันอยแู่ ล้วทกุ ตัวสัตว์ เพราะการเตรียมเกดิ ไดผ้ า่ นมาแลว้ ท้ังนั้น
เวลานเ้ี ป็นเวลาเตรยี มจะตายเทา่ นน้ั ฉะนน้ั รีบพิจารณาเรือ่ งสงั ขาร เขา
จะทำ�หน้าที่ของเขาจนถึงจุดจบแห่งชีวิตโดยความไม่นอนใจ รีบตั้งสติ
พิจารณาด้วยปญั ญา เพยี งแตว่ า่ ตายจริงๆ เทา่ นี้ดว้ ยปัญญา จิตก็จะหนั
เขา้ สคู่ วามไม่วุ่นวายในสงั ขารแลวัตถุอะไรทัง้ หมด กำ�หนดลงในความ
ตาย อย่านอนใจ เอาละ ยุติ
บัว
๑๙๕
ฉบับที่ ๑๓ ๒๙ เมษายน ๒๕๐๑
วัดปา่ บา้ นตาด อุดรธานี
สัตว์ทกุ ประเภททีถ่ ูกขงั ไว้ในกรง แมก้ ว้างขวางปลอดโปร่ง กค็ งจะ
ได้รบั ความครูดสี และความทกุ ขท์ รมานจากกรงเป็นธรรมดาหนไี ม่พ้น
คนเราทกุ ชนั้ มีกรรมวิบากเป็นกรงขังอยู่ตลอดเวลา จะหนคี วามทุกขอ์ ัน
เกิดจากกรรมท้งั นีไ้ ปไม่พน้ ต้องทนสู้กรรมวิบากตามแตจ่ ะใหผ้ ลประการ
ใด ดว้ ยความพิจารณาในกรรมน้นั ๆ ซึง่ ปรากฏข้นึ มาไม่ขาดระยะ ไมค่ วร
ตืน่ เต้นเกนิ กว่าเหตุ จะเสยี หลกั ธรรมประจ�ำ ใจ
ใครไม่หนีพน้ จากความแปรปรวนของขันธ์ ซ่ึงมีอำ�นาจเหนือเราอยู่
แลว้ เราพึงทราบสงครามระหว่างจติ กบั ขันธ์กำ�ลังแสดงความรา้ วรานจะ
แตกแยกจากกันอยูท่ กุ ขณะ ด้วยปญั ญาอนั มพี ระไตรลกั ษณเ์ ปน็ จดุ ที่รวม
ลง จะเกดิ ความสงบและปลอ่ ยวางความกงั วลในขันธ์เสยี ได้ มากน้อย
ตามกำ�ลังความเพยี ร โรคภายในจิตก็จะไม่ฟุ้งตวั ขนึ้ รบั โรคกายให้มีกำ�ลัง
กล้า ขนั ธ์กจ็ ะพอประทังๆ ไปได้ แม้ขันธท์ นไมไ่ หวจะแตกไป ใจก็มหี ลัก
ยึดได้ ไมเ่ สียที
บัว
๑๙๖
ฉบบั ท่ี ๑๔ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๐๑
วัดปา่ บา้ นตาด อุดรธานี
ตะวันนับแตก่ า้ วขนึ้ สทู่ อ้ งฟา้ เรว็ ที่จะอสั ดงคตคอื ก้าวลงสูค่ วามดับ
สังขารธรรมทัง้ หลายภายนอกภายในก็เชน่ เดียวกัน นบั วนั จะกา้ วหน้า
เข้าสู่ความแตกดับ พึงพิจารณาด้วยปัญญาให้รู้เท่าทันสังขาร เพื่อ
ปล่อยวางไว้ตามสภาพ จะหมดกังวลในภาระใดๆ ประจักษ์ใจก่อน
สงั ขารธรรมจะแตกดับลว่ งลบั ไป สง่ิ ใดปรากฏขดั ขอ้ งในใจ สิง่ น้ันคือธรรม
เครอื่ งสอนเรา รีบหยิบยกข้ึนพจิ ารณาทนั ทที ป่ี รากฏ อยา่ ปล่อยไว้ให้เป็น
ข้าศกึ แกเ่ รา ส่ิงท่ปี รากฏเฉพาะหนา้ น้ันแล เรียกว่าปัจจบุ นั ความรสู้ ึกตัว
ทนั ทที สี่ ิง่ น้ันๆ มาปรากฏ แลว้ รบี พจิ ารณาแก้ไข นีก้ ็เรยี กวา่ ปจั จุบัน
ปจั จุบันแก้ปจั จบุ ัน จึงจะเหน็ ความบรสิ ุทธิ์ไปเปน็ ขน้ั ๆ จนถงึ ความ
บรสิ ุทธอ์ิ ย่างสมบรู ณ์
บวั
๑๙๗
ฉบบั ที่ ๑๕ ๕ กนั ยายน ๒๕๐๑
วัดป่าบ้านตาด อดุ รธานี
ข้อสำ�คัญจะพิจารณากว้างแคบรวมลงในไตรลักษณ์ด้วยปัญญา
ปรากฏเป็นความสงบสุขประจำ�ใจเราแล้วจดั วา่ ถูก หรอื มีทัง้ ความสงบ
และความฉลาด เหน็ โทษในส่งิ ทเี่ ปน็ ขา้ ศกึ ไปเป็นล�ำ ดบั กจ็ ัดว่าถกู
แม่เจตก็โปรดเดินปัญญาความแยบคายในขันธ์และจิตเข้าอย่า
ลดละ ความสงบแตอ่ ย่างเดยี วไม่เกยี่ วกบั ปัญญา กเ็ นนิ่ ช้าแต่จุดทีม่ ุ่งหวงั
บัว
๑๙๘