The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-08-18 00:01:14

ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

Keywords: ธัมมะในลิขิต - หลวงตาบัว

ตา่ งปุ๋ยหรือเป็นปุ๋ยไม่ได้ แตย่ ังยนิ ดสี ่งเสรมิ ความโกรธอยูก่ เ็ ป็นสง่ิ
ไมส่ มควร
ถ.๓–ช.๒ ถ้าเราไม่ไดร้ บั ความยุติธรรมจะท�ำ อย่างไร เชน่ เขามากล่าว
โทษเราโดยเราไมไ่ ด้ท�ำ ผดิ ?
ตอบ ควรปฏบิ ตั ติ ามเหตุผลอันควร การกระท�ำ ใดๆ ท่เี ป็นไปตามความ
โลภ ความโกรธ ความหลงน้นั ท่านวา่ ไมด่ ี ถา้ อกี ฝา่ ยหน่ึงทำ�ผิด
แตเ่ ราเป็นฝา่ ยถูกฝ่ายดแี ล้ว เราไปปลอ่ ยอารมณบ์ ้าไปกับเขาด้วย
ไมด่ ี เราท่เี คยเป็นคนดอี ยู่แล้วกจ็ ะกลายเป็นคนเลวไปดว้ ย ซงึ่ มใิ ช่
ของดีส�ำ หรับผหู้ วังความดที งั้ หลาย ถ้าเราตอ้ งการเปน็ คนดี เรา
ตอ้ งอดกลน้ั ความโกรธ พจิ ารณาหาทางทีจ่ ะปฏิบตั ิให้เหมาะสมตอ่
ตัวเองและต่อผทู้ ี่ให้รา้ ยแกเ่ ราน้ัน โดยไมท่ ำ�ให้บุคคลอืน่ เหน็ เรา
พลอยเปน็ คนเลวไปด้วยตามฝา่ ยท่ีกระทำ�ผดิ นั้น
ถ.๔–ช.๒ ถ้าเราโกรธแลว้ ไมแ่ สดงออก อีกฝ่ายหนงึ่ ก็ไม่ร้ตู วั วา่ เราโกรธ
เพราะฉะนั้นจึงควรแสดงปฏิกิริยาต่อการกระทำ�ของเขาด้วยความโกรธ
เขาจะไดไ้ มท่ ำ�กับเราอกี ?
ตอบ การแสดงความโกรธไมใ่ ชข่ องดี เราควรจะพจิ ารณาหาทางพูดกัน
ดีๆ ดว้ ยเหตุดว้ ยผลก็จะสำ�เร็จประโยชนไ์ ด้ โดยไม่เกดิ โทษตามมา
ทหี ลงั อกี ถา้ พูดกนั โดยไมใ่ ช้อารมณโ์ กรธ เรากไ็ มเ่ อาความบ้ามา
พูดด้วย อกี ฝา่ ยหนง่ึ จะเข้าใจ และนบั ถือยอมทำ�ตามเราได้ดว้ ย
ความเต็มใจ เร่ืองก็จะดีขน้ึ ไมล่ ุกลาม เหมือนเอาน�ำ้ สะอาดชะล้าง
สิ่งสกปรก สง่ิ น้นั จะมที างสะอาดได้ ไมเ่ พ่มิ ความสกปรกยง่ิ ขน้ึ
การแสดงหนา้ ยกั ษห์ น้าผีใส่กนั เชน่ น้นั ก็ไม่ใชค่ น แตม่ ันกลายเป็น
ยักษไ์ ปดว้ ยกนั แล้ว

๔๙

ถ.๕–ช.๓ ถา้ เราไม่แสดงปฏกิ ริ ยิ า เราจะอดได้อยา่ งไร?
ตอบ ถ้าอดใจตอ้ งอดได้ แตส่ ่วนมากไม่อดกัน และชอบปลอ่ ยตาม

อารมณ์ ไม่ค่อยมใี ครสนใจจะอดทนตอ่ ความโกรธของตน เราตอ้ ง
สังเกตตัวเราวา่ อะไรเราชอบหรือไม่ชอบ สง่ิ ทเ่ี ขาท�ำ แกเ่ ราทำ�ให้
เราโกรธ เราอดกลนั้ ไมแ่ สดงอาการผดิ ปกตอิ ย่างใด เราพจิ ารณา
แกท้ ต่ี ัวเราเอง โดยคดิ ถงึ อกเขาบ้างวา่ เราได้ท�ำ อะไรที่เขานา่ จะ
โกรธหรือเปล่า เราจ�ำ ไวไ้ ม่ท�ำ อกี ถา้ เขาผิดเราไมผ่ ดิ เขาแสดง
ความโกรธออกแตเ่ ราไมแ่ สดง ใจเขากร็ ้อนเอง คนอ่ืนก็เห็นเขา
เลวเอง เรามไิ ดเ้ ลวเพราะความไมแ่ สดงปฏิกิรยิ าตอบเขา ยิ่งกลบั
เป็นบุคคลทน่ี า่ ชมเชยอีก คนทโี่ กรธไม่มีใครชมเชยว่าเขาดเี พราะ
โกรธเก่ง เม่ือเราโกรธใหใ้ ครกต็ าม ใครจะชมวา่ เราดีเพราะโกรธ
เก่ง เพราะความโกรธคนนี้ โกรธไมใ่ ชข่ องดีการดี ใครกก็ ลวั และ
เบ่อื กนั ทว่ั โลก แมแ้ ต่สตั ว์มนั กย็ ังรูแ้ ละรีบหาท่หี ลบซอ่ นตัว กลวั
ความโกรธซง่ึ มพี ิษภัยยิ่งกวา่ ไฟ ฉะนน้ั จงึ เป็นสิ่งไม่ควรส่งเสริม
นอกจากจะหาทางดบั ให้มุดมอดลงถ่ายเดียวจนไมเ่ หลือ
ถ.๖–ญ.๑ ทำ�ไมเราพบคนบางคนใหม่ๆ เราก็รสู้ ึกชอบหรอื ไม่ชอบเขา
แล้ว เขายงั ไมไ่ ดม้ าทำ�อะไรใหเ้ รา?
ตอบ คนทไี่ ม่ใชค่ นตายย่อมมคี วามรสู้ ึกดงั นั้น ฉะน้นั เป็นความรู้สึกธรรมดา
ท่ีเห็นอะไรก็ชอบหรอื ไมช่ อบ ไม่เปน็ การเสยี หายอะไร เพราะนสิ ัย
มนุษย์ทมี่ ีกเิ ลสกม็ กั จะเป็นเชน่ นน้ั แทบทง้ั โลก นอกจากไมแ่ สดง
ออกกร็ าวกับไมม่ ีอะไรเกิดขนึ้
ถ.๗–ช.๒ การสลดั ความไม่ชอบเขาออกทนั ทีจะดกี วา่ แผ่เมตตาไหม?
ตอบ ถา้ สลัดออกไดก้ ็ดี หรือถ้าแผเ่ มตตาได้กด็ ี แต่สว่ นมากมกั ไมท่ ำ�ทง้ั

๕๐

สองอยา่ ง แตไ่ ปทำ�สิ่งไม่นา่ ทำ�นัน่ แล ถา้ เราเกดิ ความรู้สึกโกรธ
ใครไมช่ อบใคร เราเหน็ โทษในตวั เราเองว่ามนั ทำ�ใหเ้ ราไม่สบายใจ
เราก็ระงบั ความรูส้ กึ อนั นน้ั เสียจึงจะตรงจุดท่หี มาย กอ่ นอ่ืนตอ้ ง
พจิ ารณาโทษของตนเอง หรอื โทษที่จะเกดิ หรอื เกิดแกต่ นเอง แล้ว
สลดั ความรู้สกึ อนั น้นั เสีย

เม่ือเริม่ การปฏิบัตธิ รรมะนน้ั ตอนแรกยงั ไม่เข้าใจตนเอง เราไดแ้ ต่
รสู้ กึ ต่อสงิ่ ภายนอก และมชี อบไม่ชอบ เราเรม่ิ สังเกตดคู นอื่น คน
โกรธแสดงกริ ยิ าโกรธอยา่ งน้นั ๆ เราไมช่ อบ เรากพ็ ยายามไมท่ ำ�
อาการอย่างนนั้ ตอ่ คนอื่น ท�ำ เช่นนเี้ ราเร่มิ เขา้ ใจจิตใจของเราเอง
ท�ำ บ่อยๆ ความรู้สึกจะไวขึน้ ความร้จู ักตัวรจู้ กั จิตของเรากจ็ ะเรว็
ขน้ึ พอเราได้รับการแสดงออกจากผู้อืน่ อย่างไรก็รู้ตัวและระงับ
อารมณ์ได้ ท�ำ ดังน้กี จ็ ะถอดถอนกิเลสออกได้ทีละน้อย ระงบั ทุกข์
และความร้อนใจตนเองได้ ความไมพ่ อใจในอะไรๆ นน้ั เป็นความ
ทุกขท์ ัง้ สน้ิ ดงั ธรรมท่านสอน แตค่ นเรามักฝืนธรรมคือความถูก
ตอ้ งดีงาม จึงมักเจอทกุ ข์กันเสมอโดยไมเ่ ข็ดหลาบ ความไมเ่ ข็ด
หลาบจงึ ทำ�ใหเ้ จออยู่บอ่ ยๆ

ถ.๘–ญ.๒ ถ้าเรารูส้ กึ เป็นหว่ งบุคคลอื่นเกินไปจนรสู้ ึกกระวนกระวาย
จะแกอ้ ย่างไร?
ตอบ คนเราทำ�อะไรหรือรู้สกึ อะไรเกนิ ไปนั้นไม่ดีท้ังนนั้ เป็นเหตใุ หเ้ กิดทุกข์

ถ้าเราต้องรับผิดชอบต่อใครในเร่ืองอะไรเราก็คิดให้รอบคอบ
พยายามคดิ พยายามแก้ปญั หาไปตามทม่ี นั จะเกิดข้ึน ตามปกติ
ถ้าไมค่ ิดอะไรให้มากเกนิ กวา่ เหตุ ก็พอจะสงบระงบั ความกระวน
กระวายหรือความห่วงเขาจนเกนิ ไปเสียได้ คำ�ว่าเกนิ ไปโปรดทราบ

๕๑

วา่ มันเลยความพอดี ซงึ่ จะเกิดทุกขถ์ ่ายเดียว ผ้หู วงั ในเหตุผลอรรถ
ธรรมจงึ ควรระวังไว้เสมอ
ถ.๙–ช.๓ ความไมช่ อบเกิดข้นึ เราจะดับได้ด้วยการกระท�ำ เช่นเดยี วกบั
ทที่ า่ นให้ท�ำ ตอ่ ความโกรธหรอื ครับ?
ตอบ ได้ ทำ�ตามอบุ ายวธิ ที ่คี วามไมช่ อบจะระงบั ดบั ไปดว้ ยวธิ ีน้นั ๆ ยอ่ ม
เปน็ ความถกู ต้องกับงานแขนงนั้น
ถ.๑๐–ช.๒ (ถามเชน่ เดยี วกบั ค�ำ ถาม ๙)
ตอบ เวลาน้ีเราพดู เรอ่ื งชอบไม่ชอบกันเพราะความสัมผสั ให้แกไ้ ขกันไป
ในทางที่จะแกไ้ ขได้ แต่ยังไมพ่ ดู ถึงเรอื่ งกรรมและวิบาก
ถ.๑๑–ญ.๓ การทำ�สมาธิโดยเดนิ จงกรมน้นั จะมีวธิ ีเดินอยา่ งไรจงึ จะถกู
ตอ้ ง?
ตอบ ทา่ นอาจารยม์ นั่ เคยแนะนำ�ว่ามี ๒ ทางดว้ ยกนั คือ เดนิ จากตะวนั
ออกไปตะวนั ตก หรือเดนิ เฉียงตะวันออกไปตะวนั ตก (ตะวนั ไม่เข้า
ตา) เราก�ำ หนดจิตให้ทำ�งานอย่างใดอยา่ งหน่งึ ไว้ก็ให้รักษาจิตให้
ทำ�แตส่ ง่ิ นนั้ อย่าวอกแวกไปอน่ื ตอ้ งถืองานนนั้ เป็นอารมณ์ เชน่
บางวธิ ใี หก้ ้าวเทา้ ยกหนอ ยา่ งหนอ ก็ต้องท�ำ อยา่ งน้นั เพราะเป็น
งานท่ีใหจ้ ิตท�ำ ถ้าวิธอี ื่นมีอย่างใด เราก็มอี ารมณจ์ ดจอ่ อยกู่ ับเรือ่ ง
นั้น การพจิ ารณาธรรมกพ็ จิ ารณาไปใหม้ ันเสรจ็ เปน็ เรือ่ งๆ ให้มี
สตสิ บื ตอ่ กันไปทกุ อริ ิยาบถ การปฏบิ ัตธิ รรมน้ันทจ่ี ริงไม่มอี ะไรขัด
กนั แต่ผปู้ ฏบิ ตั ิมกั เข้าขา้ งตวั เห็นวธิ ีของตนเองถูก วธิ ขี องคนอื่น
ไมม่ ีคณุ ค่า แล้วกท็ ะเลาะกนั หรอื ยกตัวว่าใครดีกวา่ กนั วธิ ีเราทำ�
ดกี ว่า คนอืน่ น�ำ ไปใชอ้ าจไม่เหมาะแก่เขา ไม่ถูกไม่พอใจกไ็ ด้ วธิ ี

๕๒

ทคี่ นอ่ืนเขาทำ�ดี เราน�ำ มาท�ำ บา้ งไมเ่ กดิ ผลดีแก่เราก็เป็นได้ การ
ปฏบิ ตั ธิ รรมจงึ แล้วแตอ่ ุปนิสัยของบคุ คลเปน็ รายๆ ไป ท�ำ นองลาง
เนอ้ื ชอบลางยา
ถ.๑๒–ช.๒ ถา้ เราใชว้ ธิ หี นึง่ มานานแลว้ ต่อมาคนมาแนะวิธีอ่นื อีก จะ
ควรท�ำ อย่างเก่าตอ่ ไปหรอื วา่ ไม่เหมาะ?
ตอบ ถ้าเราทำ�อยา่ งไหนถนัด พอใจ ได้ผลเปน็ ความสงบเย็นใจแล้ว กใ็ ช้
วิธนี ้ันได้ การปฏบิ ัตภิ าวนานั้น ช้ันเริ่มแรกอารมณธ์ รรมเปน็ อยา่ ง
หน่ึง ปฏิบัตไิ ปเร่อื ยๆ จิตจะเปลี่ยนแปลงความรู้สกึ ตัวเอง ดงั น้นั
เบอ้ื งแรกต้องให้ใจมีหลักยดึ จติ สงบก่อน ตอ่ ไปกอ็ าจเปลย่ี นวธิ ีได้
แตว่ ิธีที่เคยไดผ้ ลเปน็ สำ�คญั ควรยดึ เป็นหลักในการบ�ำ เพญ็ อยา่ ไป
โยกคลอน หเู บา เชอ่ื ง่าย ใครวา่ อย่างไร อะไรดกี ็ท�ำ ตามทั้งที่ไม่
ได้ผล
ถ.๑๓–ช.๔ การทำ�แบบยบุ หนอ-พองหนอ น้ัน ท�ำ ใหเ้ กดิ ความรู้สกึ
แปลกๆ เพราะอะไร
ตอบ ถ้าจิตต้ังอยู่ทีย่ บุ หนอ-พองหนอก็ไมม่ อี ะไร ทเ่ี กดิ ความรู้สึกแปลกๆ
ขึ้นเพราะจิตเผลอไป จึงไปรเู้ ร่อื งทต่ี ่างออกไป จำ�ตอ้ งให้กลับมา
ทอ่ี ารมณ์เดมิ และให้จติ ท�ำ งานในเรอื่ งนน้ั ถ้าปลอ่ ยจติ ไปเรื่อยๆ
ตามจติ ไป มันกจ็ ะหลอกเจา้ ของตา่ งๆ ไมม่ ที างส้นิ สดุ สุดทา้ ยกห็ า
หลกั เกณฑ์ไม่ได้ กลายเป็นหลักลอย
ถ.๑๔–ญ.๔ การทำ�อานาปานสตนิ ัน้ ใหส้ นใจทีล่ มหายใจเขา้ -ออก แตถ่ า้
ได้ยินเสยี งอะไรข้างนอก การดูลมหายใจเขา้ -ออกกห็ ายไป พดู กนั วา่ ถ้า
ไดย้ ินเสียงอะไร กใ็ ห้นกึ ว่า ไดย้ นิ หนอ แล้วก็ท�ำ ต่อไป แต่ดิฉันรู้สกึ วา่

๕๓

เข้าสมาธิไดย้ าก?
ตอบ วธิ ีแรกนนั้ แหละดี ไม่ต้องเพิ่มภาระมากขน้ึ คือเอาจติ ไวท้ ี่ลม

หายใจเขา้ -ออก วิธีหลังนน้ั เพ่มิ ภาระใหจ้ ติ คือพอไดย้ ินเสยี งจติ
ต้องมา ทราบหนอ แลว้ กก็ ลับมาตง้ั ไวท้ ่เี กา่ ถ้ามอี ะไรมากระทบ
บอ่ ยๆ จติ ของเราก็จะเชอื นแชไป ไมต่ ัง้ อยูใ่ นงานทจ่ี ิตตอ้ งท�ำ ได้
ในตอนเร่มิ ปฏบิ ัตจิ ติ ยงั ไมม่ กี ำ�ลัง ไปเพิม่ ภาระให้จติ มากนักไมด่ ี
เปรียบเหมือนใชเ้ ด็กทำ�งานต้องคอยบอกใหท้ ำ�ทีละอยา่ งๆ ถ้าไป
บอกใหท้ �ำ มากอย่างก็เปน็ การยากเกนิ ไป ก็จะขเี้ กียจขึน้ มา เดก็
อาจเถลไถลไปได้ จิตกเ็ หมือนกัน

ถ.๑๕–ญ.๒ จะพิจารณาสว่ นของร่างกายพรอ้ มกับการเดินจงกรมดว้ ยจะได้
ไหม?
ตอบ ตอนแรกเราต้องการใหใ้ จสงบ ถา้ ใจสงบแล้วเม่ือจิตถอนจากความ

สงบแล้ว เรากใ็ ห้จติ พจิ ารณา และท�ำ ความเข้าใจใหเ้ กดิ ขึ้นตาม
ล�ำ ดับ อาจมีล�ำ ดบั ทเี่ กินความเขา้ ใจของเรา กไ็ มต่ อ้ งกังวลว่าจิต
จะสงบหรอื ไม่ เร่งพิจารณาตอ่ ไป งานของจิตนั้นมีเพื่อสงบสว่ น
หน่งึ เพื่อถอดถอนกเิ ลสภายในอีกส่วนหนึ่ง แตข่ ณะพิจารณาเพ่อื
ความเขา้ ใจและแยบคายในรา่ งกายสว่ นต่างๆ สติเครอื่ งก�ำ กบั การ
พิจารณาเป็นสิง่ จ�ำ เปน็ เช่นเดียวกับการทำ�สมาธิเพ่ือความสงบ
สติต้องคอยควบคุมงานอยู่เสมอ

ถ.๑๖–ญ.๒ การพิจารณาร่างกายเปน็ งานด้านไหน?
ตอบ การพจิ ารณาถอดถอนกิเลสภายในและภายนอกทำ�เสมอๆ เปน็ งาน

ของจิตตภาวนาเปน็ วิปัสสนา ถ้าพจิ ารณาได้แลว้ จะเกิดความขยัน
พจิ ารณาข้ึนมาเองทำ�มากๆ ตอ้ งหนั มาพกั จิต ท�ำ ใหจ้ ติ สงบอย่ใู น

๕๔

สมาธิบา้ ง เพราะฉะนัน้ จงึ ต้องท�ำ สมาธใิ ห้จิตสงบให้ช�ำ นาญกอ่ น
เพอ่ื เพ่ิมกำ�ลงั ของจติ ไว้ท�ำ วปิ ัสสนาญาณ และใช้สมาธเิ ป็นเคร่อื ง
ทำ�ให้จติ พกั ผ่อนเพื่อท�ำ งานตอ่ ไป จนเกดิ มหาสติ มหาปัญญา จิต
จะมคี วามแกล้วกลา้ สามารถ มีสติปัญญาถอดถอนกเิ ลส นี่เป็น
ตวั มรรค เมอ่ื ถงึ ขั้นนีแ้ ลว้ ความขี้เกยี จหายหมด ทำ�จติ ตภาวนาได้
อย่างลืมเวลา ทำ�ใหน้ ่ังได้นานมาก ได้ผลเป็นคณุ ค่าอนั สงู เม่อื นง่ั
นานแลว้ ก็เดนิ พจิ ารณาเปลีย่ นอิริยาบถ มหาสติ มหาปัญญา ก็
ใชแ้ ก้ปัญหาไป จนไมม่ กี ิเลสเหลอื จะให้แก้ ตนกจ็ ะทราบกบั ตนเอง
วา่ จติ กับธรรมไดเ้ ข้าถึงกันแลว้ ภาคปฏิบัติจึงชว่ ยใหเ้ กิดความรู้
ความเข้าใจในเร่อื งจิตได้ดังน้ี

จิตใจเป็นส่ิงสำ�คัญในตัวของคน เราเกิดมาเป็นคนก็เพราะจติ ใจ
เป็นตวั ทำ�ใหเ้ กิดมาเปน็ คน ดไี มด่ ี สูงหรือต่ำ� เมอื่ จิตใจเปน็ ตน้ เหตุ
เราจงึ ต้องอาศัยเคร่อื งผลักดันจติ ใจ ถ้าเจริญดีขึ้นจนถึงเปน็ สุคโต
คือผู้มคี วามสขุ ดี ถ้าใจสงั่ สมความไมด่ ีไว้โดยทตี่ วั ไม่รวู้ ่าน่ีไม่ดี ผล
ที่ไดร้ บั ก็ไมด่ วี นั ยังคำ่� ถา้ ปฏิบตั ธิ รรมได้ดี ก็เกดิ ความสบายใจ คน
เรามักไมท่ ราบวา่ ทำ�ไมเราจงึ ไดร้ ับทกุ ข์ เม่ือไรจะพน้ ทุกข์ เพราะ
เราไม่ร้ตู วั วา่ ทำ�ไมด่ ไี ว้แต่เม่ือไร ปรากฏแตผ่ ลที่เกิดทุกข์ขึน้ มาใน
ขณะนั้น

แต่บดั นีเ้ ราจึงควรพยายามเลอื กงานให้จิตท�ำ ถ้าเป็นบาปเปน็ อกุศล
เราก็เวน้ เสีย ถ้าเคยท�ำ อยูก่ พ็ ยายามหาทางละเว้น เราควรส่งเสรมิ
ให้มีคุณความดี แม้วา่ จะเปน็ การยากก็ตาม คอ่ ยฝกึ ค่อยท�ำ ไปจน
เคยชนิ ใช้ปัญญาเป็นเครือ่ งบงั คับ คนเกียจคร้าน คนที่ไมช่ อบ
ดีแล้ว ก็ไม่มีประโยชนอ์ ะไร เพราะไม่มีปญั ญาบงั คบั ถ้าคนรักดี

๕๕

ปัญญากบ็ งั คับให้ทำ�ดี จนจิตใจเคยชิน ผลเปน็ ความสงบเย็นใจมี
ความสขุ ก็จะเกดิ ขึ้น อาจมคี วามประหลาดอศั จรรยข์ องจติ อยา่ ง
อืน่ ตามมาเอง เราไม่ร้จู กั ความอัศจรรย์นัน้ กไ็ ด้ แตจ่ ะเกดิ ขนึ้ จาก
การบ�ำ เพ็ญความดี มจี ิตตภาวนาเป็นส�ำ คัญ
ส่วนคนทีไ่ ม่ดีนั้น ก็มแี ตค่ วามไมด่ ี วุ่นวาย มีเรือ่ งปนี เกลยี วกบั
ธรรม กบั ใครๆ ตลอดจนใจของตนเอง เพราะใจไมม่ ีความควบคมุ
ให้ใจ กาย วาจา ดำ�เนนิ ในทางทถ่ี ูกที่ควร อนั เปน็ ผลให้ได้รับ
ความสุข เพราะฉะนน้ั จึงต้องชำ�ระสะสาง พยายามใหจ้ ติ ท�ำ งาน
ด้วยวธิ จี ติ ตภาวนา ทำ�ใหส้ งิ่ ไมด่ ภี ายในตัวสลายไป จิตใจกจ็ ะมี
ความสง่าผา่ เผยขึ้นมา สมกับคณุ ค่าของจติ ท่ีเป็นของมีคณุ คา่ สูง
ตามธรรมชาตอิ ยูแ่ ล้ว
ถ้าอบรมจติ เราก็จะเหน็ จิตของเราก่อนใครๆ ถ้าปฏิบตั ิตามที่
พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ เราก็เป็นคนฉลาด ถ้าเราปฏบิ ัตติ ามคน
ที่ไมร่ จู้ รงิ กเ็ ปรยี บเหมอื นคนตาบอด คนโงจ่ ูงคนตาบอดไม่สามารถ
จะเดินใหถ้ ูกทางถงึ จดุ หมายปลายทางตามประสงคไ์ ด้ถ้าย่ิงไม่ยอม
ให้ผู้รูจ้ ูง ก็ย่ิงโง่ ไมฉ่ ลาด ไม่เกดิ ผลท่ตี อ้ งการ ความฉลาดตอ้ ง
อาศัยสตปิ ัญญาหาเหตุผล คนในโลกไม่ใชเ่ กดิ มาดเี อง ตอ้ งอาศยั
การศึกษาและมีการอบรม อบรมใหจ้ ิตสูงขน้ึ คนทไ่ี มอ่ บรมจิตก็
สูงข้นึ ไมไ่ ด้ กเิ ลสดึงให้จิตต่ำ�ลงจนถอดถอนไม่ได้ แต่จติ ท่ีฝึกดแี ลว้
ถอดถอนกิเลสได้ มีคณุ อยา่ งยิง่

ปดิ ประชมุ เวลา ๒๐.๒๐ น.

๕๖

วนั พฤหัสบดี วนั ที่ ๑๓ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

(ทบ่ี า้ น Mr.Benedict WINT ในเมือง CAMBRIDGE) เชา้ วนั น้ี
Mr.Benedict WINT (เบนเนดคิ วนิ ท)์ นมิ นต์ทา่ นอาจารยแ์ ละคณะผู้ตดิ ตาม
ทั้งพระภกิ ษุและฆราวาสไปฉนั ทบี่ า้ นของเขา ในเมืองมหาวทิ ยาลัยเคมบริดจ์
นายเบนฯ เคยมาบวชเปน็ สามเณรท่วี ดั บวรนเิ วศวหิ าร แลว้ ไปอยู่ฝกึ ปฏบิ ัติ
ธรรม ณ วัดป่าบ้านตาด อำ�เภอเมอื ง จังหวัดอดุ รธานี ในความดแู ลฝกึ
อบรมของทา่ นอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน มาแลว้ ญาติมติ รของ
นายเบนฯ ทีร่ อรับรองท่านอาจารย์และคณะอย่นู ั้นมี ๗ คน รวมทง้ั ภริยา
และบตุ รของเขาดว้ ย หลังจากฉนั แล้ว พระภิกษทุ ัง้ สามองค์ได้ไปหาความ
สงบในสวนหลงั บา้ นนายเบนฯ ส่วนฆราวาสท้งั ปวงรับประทานอาหาร
หลงั จากท่ีทุกคนรับประทานอาหารแล้ว ทง้ั พระภกิ ษแุ ละฆราวาสจงึ
มารวมกันในหอ้ งท่ฉี นั ภัตตาหารในตอนเชา้ ญาติมิตรของนายเบนฯ จึงเร่มิ
กราบเรียนถามทา่ นอาจารย์ ดงั ตอ่ ไปนี้

๕๗

ค�ำ ถาม - ค�ำ ตอบ

ถ.๑–ญ.๑ ดิฉันเคยเรียนทำ�สมาธิแบบเซ็น (Zen) ใหน้ ับลมหายใจ ๑–
๑๐ กลบั ไปกลับมา แล้วให้โกอาน (ปรศิ นาไปคดิ ) คำ�วา่ “ม”ู ซง่ึ แปลว่า
“วา่ ง” ใหเ้ พ่งดูท่ที อ้ ง เลอื ดในท้อง เอาจิตแผเ่ ข้าในทอ้ ง พอท�ำ ไดห้ นอ่ ย
หนึ่ง ดิฉนั ร้สู กึ ตึงตามหนา้ ตาและศรี ษะ แลว้ กป็ วดศีรษะ ระหว่างทำ�
สมาธกิ ม็ ีการทำ�เสยี งดงั ตกี ลอง ตีระฆัง ดิฉนั พยายามจะพักรา่ งกาย
แต่ก็ท�ำ ไม่ได้ เวลาน้ีเพยี งแต่คดิ จะทำ�สมาธกิ ป็ วดศีรษะแล้ว อยากจะ
ทราบว่าเป็นเพราะอะไร?
ท่านถาม กอ่ นที่จะร้สู กึ ตึงท่หี นา้ และที่ศีรษะนัน้ เอาจิตไวท้ เี่ สียงหรอื

ไว้ทีท่ อ้ ง?
ญ.๑ เอาไว้ทีท่ อ้ ง เพราะต้องภาวนา “มู” แลว้ เพ่งก�ำ ลังใสล่ งในทอ้ ง
ตอบ เปน็ เร่อื งของรา่ งกาย และเปน็ ปฏิกิรยิ าของตวั ทา่ นเอง เขา้ ใจวา่

ต้งั ใจมากเกนิ ไป จงึ กระเทือนรา่ งกาย เหมอื นมีการต่อสู้กัน ควร
ถามอาจารย์ของท่านเองที่เป็นผู้สอนว่าเกิดอุปสรรคเช่นนี้จะแก้
อยา่ งไร
ญ.๑ อาจารยจ์ ะชว่ ยเวลาอยทู่ ีว่ ัดเท่านน้ั ถ้าออกจากวดั แลว้ เขาไมต่ ดิ ต่อ
กบั ศษิ ยท์ างจดหมาย เวลานี้ดิฉนั ก็หนั มาทางอานาปานสติแล้ว
ตอบ เราตอ้ งเพียรพิจารณาหาเหตุผล และเปลี่ยนแปลงวิธกี ารไปตาม
เหตผุ ลทส่ี มควรท่จี ะใหจ้ ิตเป็นปัจจุบันอยเู่ สมอ ก็อาจหายได้

๕๘

ถ.๒–ช.๑ สติคอื อะไร?
ตอบ การทีเ่ ราจับอะไรก็รวู้ ่าเราจบั อะไร นนั้ คอื สติ
ถ.๓–ช.๒ ในโรงเรยี น ครูถามวา่ ทางพุทธศาสนากล่าวถึงการสร้างโลก
วา่ อยา่ งไร?
ตอบ พุทธศาสนาสอนใหค้ นแกป้ ัญหา คลายทุกข์เป็นขนั้ ๆ ไป เช่น เราจะ

เขา้ มาในบา้ นน้ี เราก็เปิดประตูก่อน ไมใ่ ชร่ ้ือบ้านทง้ั หลงั หรอื เด็ก
นกั เรยี นเร่มิ เรยี นหนงั สือ กเ็ รียนเปน็ ขั้น เปน็ ช้ัน แลว้ ข้ึนสงู ๆ ขน้ึ
ไปตามล�ำ ดบั ดงั น้นั ถ้าเราเอาเรือ่ งสูงๆ มาสอนนกั เรียนชัน้ ตน้ ก็
ไม่มปี ระโยชนอ์ ันใด การรูเ้ รื่องสร้างโลกจงึ ไม่เป็นประโยชนอ์ ะไร
ถ.๔–ช.๒ การถอื พระรัตนตรยั เปน็ สรณะที่พ่ึงนั้น ส่วนท่ีว่าถงึ พระพทุ ธ
พระธรรมนั้น พอจะเข้าใจได้ แตส่ ว่ นทเี่ ก่ยี วกับ สงั ฆัง สรณัง คัจฉา
มิ นัน้ หมายถึงวา่ ใหเ้ ราถอื พระสงฆน์ เี้ ป็นทพี่ ่งึ หรือ? ประเทศอังกฤษยัง
ไมม่ ีพระสงฆ์ จะท�ำ อย่างไร?
ตอบ พุทธงั สรณัง คจั ฉามิ หมายความวา่ ถือพระพุทธเจ้าทุกพระองค์
เป็นสรณะพงึ่ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ หมายถึง ถอื พระธรรมท่ี
พระพทุ ธเจ้าทกุ พระองคไ์ ดท้ รงสอนแลว้ เป็นทพ่ี ่ึง สังฆัง สรณัง
คัจฉามิ หมายถึง ถอื พระสงฆส์ าวกของพระพทุ ธเจา้ ทุกพระองค์
ที่เปน็ “สปุ ฏปิ ันโน” คือผปู้ ฏิบัตดิ ีแล้ว “อุชปุ ฏิปันโน” คอื ปฏิบัติ
ตรงตามพระวนิ ัยทีพ่ ระพทุ ธเจ้าทรงกำ�หนดไว้ ไมเ่ ลีย่ งพระวนิ ัย
“ญายปฏปิ นั โน” คอื ผูป้ ฏบิ ัติเพือ่ ความรแู้ จ้งเหน็ จรงิ และปล่อยวาง
กบั “สามจี ิปฏิปันโน” คอื ผู้ปฏิบัติธรรมตามสมควรแกธ่ รรม ปฏิบตั ิ
ชอบย่งิ ในหน้าท่ีของพระ ทา่ นให้ถือเหลา่ นีเ้ ป็นท่ีพง่ึ

๕๙

พระสงฆท์ ุกวนั นี้ ปฏบิ ตั ติ ามที่บรรยายนก้ี ถ็ อื เป็นท่ีพงึ่ ได้ อย่างเป็น
ผลพลอยได้ เพราะพระสงฆ์ผูป้ ฏบิ ตั ิถกู ตอ้ งกอ็ ยู่ในพวก “สงั ฆะ”
วิธีที่ท่านจะบอกว่ามีพระสงฆ์ที่จะถือเป็นสรณะท่ีพึ่งได้หรือไม่อยู่
ตรงน้ี

ถ.๕-ช.๒ ทีป่ ระเทศองั กฤษหาพระสงฆย์ ากมาก
ตอบ ถ้าจะคำ�นึงถึงพระสงฆ์ตามลักษณะที่กล่าวแล้วก็หายากไม่ว่าประ

เทศไหนๆ
ถ.๖–ช.๒ ท�ำ ไมเวลาใหศ้ ีลจงึ ตอ้ งพูดภาษาบาล?ี
ตอบ เม่ือพระพทุ ธเจา้ ตรัสสอนพระศาสนา ทา่ นตรัสเป็นภาษาบาลี มี

ความหมายอย่างนัน้ ๆ ถ้าเราจะถอื ความเข้าใจ จะพูดภาษาอะไร
ท่ีเขา้ ใจไดก้ ไ็ ด้ ถ้าเราเห็นว่า “ภาษาใจ” เปน็ สงิ่ สำ�คัญ กิริยาที่
แสดงออกเป็นเรื่องสังคมนิยม เราจะถือภาษาบาลีเป็นภาษาใจ
กล่าวค�ำ น้นั เราคนตา่ งภาษากนั กเ็ ขา้ ใจได้ตามภาษาของตนๆสงั คม
ของตนๆ กเ็ ป็นการดี ไม่ใชห่ รอื
ถ.๗–ช.๓ กฎแห่งกรรมกบั กฎทางวิทยาศาสตร์คา้ นกนั หรือเปล่า?
ตอบ กฎทางวทิ ยาศาสตร์วา่ กระไร ขอให้บอกก่อน เรอื่ งกรรมนัน้ กรรม
คอื การท่คี นคดิ พดู ท�ำ ซงึ่ มดี ี ช่ัว กลางๆ ไม่ดี ไมช่ ่ัว การกระทำ�
ลงไปแล้ว ผลยอ่ มจะตามมา ผลกม็ ีดี ช่วั กลางๆ เหมอื นกนั
ช.๓ วิทยาศาสตร์ไม่เก่ียวกับดชี ั่วหรืออนาคต
ตอบ เรียนวทิ ยาศาสตร์แลว้ แก้หิวขา้ วได้บา้ งไหม? เมื่อหวิ ขา้ ว กินขา้ ว
ก็อิม่ ทางพุทธศาสนามุง่ แก้ทกุ ข์ ถา้ มีอะไรเป็นทุกข์กม็ ุ่งแกอ้ นั นน้ั
หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนามีระดับต่างๆ กนั ตั้งแต่งา่ ยๆ ไปหา
ยากๆ

๖๐

ถ.๘–ญ.๑ สมยั นดี้ ฉิ นั อยากจะเรียนทำ�สมาธบิ า้ ง อยากจะรจู้ ักตัวเอง
อย่างใหม่ แตก่ ม็ อี ปุ สรรคทางใจดังได้เรียนแลว้ จะแกอ้ ยา่ งไร?
ตอบ ขอ้ นี้เหน็ ใจ แตจ่ ะบอกวธิ ีแกก้ ล็ ำ�บาก เพราะการปฏบิ ตั ิมีทางแตก

ตา่ งกัน ถา้ ครสู อนอยา่ งไร ผเู้ รยี นก็ทำ�ตามไปอย่างนั้น จะแน่ใจ
ได้อยา่ งไร วา่ ทางทผี่ ู้นัน้ ให้เปน็ ทางทถ่ี กู ต้อง จึงควรหาหลกั ท่จี ะ
ใหแ้ นใ่ จได้ว่าเป็นจุดหมายปลายทางอนั เดยี วกัน หลักท่ีจะให้ได้
กลางๆ เชน่ นกี้ ็คือ “ขออย่าให้สง่ จติ ออกไปข้างนอก” จิตออกขา้ ง
นอก บางอย่างทำ�ให้จติ เพลิดเพลิน เราเพิ่งฝึกใหม่ๆ ไม่ทราบวา่
ส่ิงนั้นมาจากใจเรา หรอื มาจากไหน ถา้ เป็นส่ิงนา่ รักสวยงามเราก็
รัก ถา้ เป็นสงิ่ นา่ เกลยี ด และส�ำ คญั ที่สงิ่ นา่ กลวั เราจะกลัว เพราะ
ฉะนนั้ เพื่อปอ้ งกันมิใหก้ ลัว ต้องรักษาให้จิตอยูภ่ ายใน ใหเ้ กิดความ
สงบภายใจ เยน็ ใจ
ถ.๙–ญ.๑ เวลาน้โี ลกเรามแี ตค่ วามยุ่งเหยงิ ตกตำ่� สังคมมกี าร
เปลีย่ นแปลง ทา่ นคิดว่าจะเปลีย่ นแปลงไปในทางดีไดอ้ ย่างไรบา้ ง?
ตอบ เรอื่ งโลกเราเปลีย่ นแปลงก็เปน็ ธรรมดาอยู่ เรื่องสงั คมเปล่ยี นแปลง
ก็เหมอื นกัน สงั คมประกอบด้วยคนในสังคม คนในสังคมน้ันๆ ตอ้ ง
พจิ ารณาตรวจสอบวา่ อะไรดีอะไรไมพ่ งึ ปรารถนาในสงั คมควรจะแกไ้ ข
อยา่ งไรจงึ จะถกู จะควรคนอยภู่ ายนอกสงั คมนน้ั ไมม่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
พอจะไปคดิ เปลีย่ นใหไ้ ด้

ปดิ ประชุมเวลา ๑๓.๓๐ น.

๖๑

๖๒

ณ ธัมมปทปี วหิ าร กรงุ ลอนดอน

ท่านอาจารย์ลงมา ณ ห้องพระ เวลา ๑๘.๒๕ น. ทา่ นปัญญา
วฑั โฒ มาไล่ๆ กันน้ัน ทา่ นอภเิ จโต ลาไปเยี่ยมโยมมารดา มาช้าหน่อย
มพี ุทธศาสนิกชาวอังกฤษนงั่ ทำ�สมาธิอย่ใู นห้องพระแล้ว ๑๔ คน ต่อมามี
ฆราวาสมาเต็มห้อง (น่ังเกา้ อี้ ๓๐ คน นง่ั กับพ้ืนหอ้ งอกี ๓ คน รวมเปน็
๓๓ คน เตม็ ห้อง)
ทา่ นอาจารยถ์ ามเราวา่ อธิบายธรรมก่อนดไี หม เสรมิ ศรแี ปลให้
ผู้มาประชุมฟัง คนส่วนใหญ่ขอให้อธบิ ายธรรมกอ่ น ท่านอาจารย์จงึ เริ่ม
อธิบายธรรม เวลา ๑๘.๓๕ น. จนถงึ เวลา ๑๙.๐๕ น. จงึ จบ รวม ๓๐
นาที

การอธิบายธรรม

ท่านอาจารย์ “เท่าทเี่ ราสนใจในพระพุทธศาสนา ก็เพราะเราสนใจ
ในตวั เราและผเู้ กยี่ วขอ้ งมากนอ้ ยรอบตวั เราวา่ จะควรปฏบิ ตั ติ อ่ ตนและสง่ิ
เหลา่ นนั้ อย่างไรบา้ ง สำ�หรับศาสนาแล้วเปน็ ธรรมกลางๆ ถ้าเราเฉย
เสียไม่สนใจ ก็กลายเปน็ สมบัตกิ ลางๆ เพราะพระพทุ ธเจ้าไดป้ ระทานไว้
กลางๆ แก่มนุษย์ แกพ่ ทุ ธบรษิ ัท คือ เราทั้งหลายน้ี
ศาสนาจะกลายมาเป็นสมบตั ิของคนแต่ละระดบั ได้ ขึ้นอย่กู ับการ
สนใจและการรับไปปฏบิ ตั ิ ดดั กาย ใชเ้ ป็นอาหารใจ ให้ถูกตามทที่ ่าน

๖๓

ทรงสอน ผลจะเปน็ ความสงบเย็นใจตามเพศ ตามวยั เป็นขน้ั ๆ ศาสนา
กบั เราจงึ แยกกันไม่ออก เชน่ เดยี วกบั ทางเดนิ ไปสู่จดุ ต่างๆ ทางเปน็ ส่ิง
จ�ำ เปน็ ส�ำ หรบั เรา เราจะไปจดุ ไหนต้องศกึ ษาว่าทางนีจ้ ะน�ำ ไปอย่างไร มี
ทห่ี มายอะไร ถา้ ไปไมถ่ ูกทางก็เสียเวลา ศาสนาก็เปน็ เชน่ นน้ั
ทางพระพทุ ธศาสนาเป็นทางสงบ เปน็ “นิยยานิกธรรม” นำ�ผู้
ปฏิบตั ิให้พน้ ทุกข์กนั ไปได้ ตามระดับแหง่ ภูมิธรรม ภมู ิจิตของบุคคล ผทู้ ี่
อยู่ในความวุ่นวาย ไมส่ บายใจ ไม่รูจ้ ะปฏบิ ตั ิอย่างไร ไมร่ ้จู ะกำ�จดั ส่ิงท่ี
ไมพ่ อใจอยา่ งไร เม่อื ได้ศาสนาเป็นทางเดินแล้ว การประพฤตปิ ฏิบัติก็ถกู
ตอ้ งดีงาม ศาสนาจึงจ�ำ เป็นส�ำ หรับเรา ผู้ตอ้ งการความถูกตอ้ งดีงามนน้ั อยู่
ปัญหาระหว่างเรากบั ศาสนา มกี บั ตัวเราเอง คือ ตวั เราตอ้ งเกดิ
ต้องประสบความทกุ ข์ ลำ�บาก และตาย ปัญหาของเราคือเกิดขนึ้ มาแล้ว
ทำ�อยา่ งไรจะสะดวกสบาย ไมส่ ะสมความทกุ ข์ ความเดอื ดร้อนใหต้ ัวเอง
หรอื ท�ำ ความเดอื ดร้อนใหค้ นอ่ืนและสงั คม เพราะความรูเ้ ท่าไมถ่ ึงการณ์
ความตายนัน้ ไมม่ ีใครตอ้ งการ เพราะกลวั วา่ จะล่มจมฉิบหาย ได้
รบั ความทกุ ขล์ ำ�บาก ซ่ึงอาจเกิดขน้ึ ในตอนทต่ี ายแล้วก็ได้ ถ้ายงั มีชวี ติ
อยู่ ลม่ จมอยา่ งไรบ้าง ตัวเองก็รู้อย่แู ล้ว โลกจงึ ไมอ่ ยากตาย ถ้าทราบวา่
ตายแล้วจะไดร้ ับความสุขสบาย ใครๆ ก็อยากจะตายในบดั นี้ เพราะมสี ่ิง
ทหี่ วงั ว่าจะได้ มีคุณคา่ มากกวา่ นรี้ อเราอยู่แลว้ ถา้ เราปลอ่ ยภาชนะคือ
ร่างกายน้ี ความเปน็ อยอู่ ันนี้เปน็ เครอ่ื งกดี ขวางสมบัตทิ ี่จะไดเ้ ม่ือตายอยู่
แต่ถ้าคนยังไม่แน่ใจว่าตายแล้วจะได้รับความล่มจมหรือความสุขสบาย
คนจึงไม่อยากตายกนั
เคร่ืองยืนยันตวั เองคือหลักธรรม ซึง่ เปน็ ความแนน่ อนเชอ่ื ถือได้

๖๔

พระวาจาของพระพุทธเจา้ ถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำ ตรสั ออกมาจากพระทัยบริสุทธิ์
ธรรมทกุ บทกอ่ นทจ่ี ะทรงนำ�มาสอนประชาชนนัน้ พระพุทธเจ้าทรงรูท้ รง
ปฏิบัติและไดร้ บั ผลเปน็ ทพ่ี อพระทยั แล้ว และทรงสอนดว้ ยพระทยั บริสทุ ธิ์
และเปย่ี มดว้ ยพระเมตตาแกส่ ตั วท์ ัง้ หลาย
เพราะฉะนั้นพระธรรมจึงเป็นธรรมที่ให้ความหวังแก่ผู้ปฏิบัติอย่าง
เตม็ ใจ เมื่อเราได้ปฏบิ ัตอิ ย่างจรงิ ใจแล้ว ความหวังจะประจักษแ์ ก่ตวั เรา
เอง ผู้ปฏิบัติธรรม คอื ปฏิบตั ิต่อจติ ใจของตนถูกตอ้ งตามหลักธรรม ปรากฏ
ผลแก่ตนเองเป็นที่แน่ใจได้
ความร้ทู ่ีล่มุ ๆ ดอนๆ แตก่ อ่ น จะถกู หลกั ธรรมท่ีน�ำ ไปปฏบิ ตั แิ ล้ว
ล้มลา้ งหมดสน้ิ ไมป่ รากฏแก่ใจ จะมชี ีวติ นานเท่าไรกไ็ ม่หวน่ั ไหวพร่นั พรงึ
เพราะตนทราบว่าปฏิบัติอย่างไร ใหผ้ ล อย่างไรเป็นระยะๆ เมือ่ ชีวิตตาย
จะไปเกดิ ในทใ่ี ด เป็นทไ่ี ดร้ บั ความทกุ ข์หรอื ความสขุ อย่างไร ก็ประจักษ์
แกต่ นแลว้ ไม่ตอ้ งสงสยั เพราะฉะน้ันผู้ปฏิบัตติ ามพระพทุ ธเจ้ากต็ ัดความ
หวาดหว่ันพร่ันพรงึ ตัดความสงสัยใดๆ ได้ เหลือแตค่ วามจรงิ เต็มใจ มี
ชวี ติ อยา่ งสขุ สบายไม่เดือดร้อน จึงวา่ ควรเรยี นปญั หาของตนเองให้จบสิน้
แลว้ ศาสนาชว่ ยให้เกิดความหวงั แกต่ น”

๖๕

คำ�ถาม - คำ�ตอบ

ถ.๑–ช.๑ ขอทราบเร่อื งปฏบิ ัติธรรมแล้วเมื่อแก่ลงจะไม่เดือดร้อนว่นุ วาย
ตอบ เ ราไดเ้ ห็นอะไรตามถนนหนทาง เราไปไหน เราไปถงึ ไหน เราจึง

ทราบ ไปถูกทหี่ รอื ผดิ ที่ เราแกไ้ ขขณะนั้นไม่ได้ เลยเสียเวลา ถา้
เราตัง้ จดุ หมายวา่ จะไปไหน เราศกึ ษาทางทีจ่ ะไปก่อน แล้วเดนิ
ไปตามทางนัน้ ก็ไปถกู ท่ี ไมม่ ปี ัญหาอะไร ศาสนาก็สอนใหเ้ ราหลบ
หลีกส่ิงเป็นภยั ใหจ้ ติ ใจมีหลกั ของตน แล้วกไ็ มม่ ีความหว่นั ไหว
สะทกสะทา้ น หรือสงสัยวา่ ตายไปจะเป็นอย่างไร ไมส่ นใจจะคดิ
อะไรนอกตัวเรา อยา่ ง “ตะครุบเงา”
ถา้ ท่านจะไปสถานท่หี น่งึ ไมแ่ น่ใจว่าจะได้รบั ความสะดวก เรา
กเ็ ตรียมเอาเครือ่ งใชใ้ หค้ วามสะดวกแก่เราไปด้วยให้ครบ เราก็
แน่ใจได้ว่าเราจะได้รบั ความสะดวก ไม่อดอยาก เม่ือเราไมแ่ นใ่ จ
ว่าทนี่ ่นั มอี าหารแลว้ เราก็มีอาหารไปดว้ ย เรากไ็ มพ่ รน่ั พรงึ ความ
ดเี ปรยี บเหมือนอาหาร อาหารเปน็ อาหารของรา่ งกาย ความดเี ปน็
อาหารของจติ การบ�ำ เพ็ญธรรมจะเปน็ อาหารจติ ติดตัวเราไป ใจ
เราจะสบาย ตายเมอ่ื ไรก็ไม่เป็นทกุ ข์
เราทราบวา่ ร่างกายต้องการอาหาร ขาดอาหารชนดิ ใดก็รบั ประทาน
จติ ใจเราตอ้ งการความดี ต้องการธรรม ถ้าขาดอาหารน้กี เ็ กดิ
อาการว่นุ วาย ใจไมส่ บายเดือดร้อน เราจงึ ควรทราบว่าอะไร
บกพร่องและรีบจดั การแก้ไข และสง่ั สมความดีเสียแต่บัดนี้
ท่านอาจารย์อธิบายธรรมตอ่ ไปว่า

๖๖

“บญุ น้นั คอื ความสุข กศุ ลนน้ั คอื ความฉลาดหาส่งิ ทีจ่ ะให้ความสขุ
แกต่ น ทา่ นท่ีมานี้แสวงหาความดอี นั เป็นอาหารของใจ เชน่ มาทำ�
สมาธิภาวนา ใจบ�ำ เพ็ญความดสี มำ�่ เสมอ จิตกม็ ีความสามารถ
กล้าหาญ อบอุน่ และม่ันใจในทางขา้ งหน้า เหมือนคนเดินทางท่ี
เตรยี มส่งิ จ�ำ เป็นทใี่ ช้ในการเดนิ ทางไปพร้อมแล้ว เราจะเดนิ ทาง
มาจากภพไหนไม่ทราบ แต่เราเปน็ มนุษยค์ อื คนอยเู่ วลานี้ ไม่ว่า
จะเป็นหญิงหรอื ชาย คนกฉ็ ลาดกวา่ สัตว์ดริ ัจฉาน ในโลกน้ีเรา
พบวา่ เกิดเป็นมนุษยแ์ ล้ว ตง้ั แตเ่ กิดกม็ ที ุกข์ สุข ล�ำ บากว่นุ วาย
เราก็ทราบมาเป็นล�ำ ดับๆ เราศึกษาความเป็นมาของเรา ตอ่ ไป
ขา้ งหน้าเราก็ต้องตายสกั วนั หน่งึ ตายแล้วจะเป็นอยา่ งไร ถา้ เรา
บ�ำ เพญ็ จิตใจของตนให้ชดั เจนแล้ว ปญั หานกี้ ็แก้ไดเ้ อง เรากแ็ นใ่ จ
สบายใจ รสู้ ึกมน่ั ใจในตนเอง”

ถ.๒–ช.๒ วิธีทำ�สมาธินั้น ทา่ นอาจารย์สอนสำ�หรับทกุ คน หรือมวี ิธีต่างๆ กัน?
ตอบ สอนวธิ ีกลางๆ ซึง่ ใครจะทำ�ก็ได้ในเบื้องต้น เมือ่ ปฏบิ ัตไิ ปจริงจัง

แล้วผลท่แี ตล่ ะคนได้รับจะไมเ่ หมือนกนั ตามระดบั ของภมู จิ ติ และ
ตอนนน้ั จึงจะแนะวธิ ที ่เี หมาะแก่จรติ ใหแ้ ตล่ ะคน เพราะวิธที �ำ สมาธิ
มีหลายวิธีเหมาะแก่จริตและนิสัยของบุคคล เปรียบเหมือนยา
ต้องใหย้ าถกู กบั โรคจงึ จะหาย

ถ.๓–ช.๓ การทำ�สมาธนิ น้ั อาจารยผ์ ู้แนะน�ำ เปน็ สำ�คัญใช่ไหม?
ตอบ เมอื่ จิตละเอียดขน้ึ ๆ ก็ต้องการอาจารย์เป็นลำ�ดับ เพอ่ื ใหช้ ้ีแจง

ว่าทางใดถูกหรือผิด เพราะว่าการทำ�สมาธินี้เราจะได้รู้สิ่งที่ใหม่
ไมเ่ คยรไู้ มเ่ คยเหน็ ถ้าเราปล่อยไปตามนนั้ จะหลงไป จึงตอ้ งการ
ครูอาจารย์มากย่ิงขึ้น

๖๗

ถ.๔–ญ.๑ วานนี้ท่านอาจารย์พูดถงึ เร่อื งฝึกสมาธแิ ล้วต้องพจิ ารณา การ
พจิ ารณาท�ำ อย่างไร?
ตอบ การพิจารณาแยกแยะสง่ิ ตา่ งๆ ว่ามอี ะไรประกอบกันบ้าง เช่น

รา่ งกายมีส่วนตา่ งๆ อะไรรวมกนั อยู่ ตอ้ งใชป้ ญั ญาแยกแยะออก

ถ.๕–ญ.๑ นอกจากพิจารณาร่างกายแล้ว ใช้พิจารณาเรื่องอน่ื ๆ ได้ไหม?
ตอบ ไดพ้ จิ ารณาจากข้างนอกเข้าหาขา้ งใน หรือพจิ ารณาจากขา้ งในไป

หาข้างนอก ถา้ เขา้ ใจอาการของร่างกายและอาการของใจแลว้

ถ.๖–ช.๔ วธิ ที ำ�สมาธขิ องพระเยซู (Jesus Christ) กับของพระพทุ ธเจา้
ตา่ งกนั หรอื เหมือนกนั อยา่ งไร?
ตอบ ศาสนาทกุ ศาสนาสอนให้คนเปน็ คนดี อาจารย์ไมอ่ าจเออ้ื มเอาพระ

เยซูกับพระพทุ ธเจา้ มาชกมวยแชมเป้ยี นกนั บนเวที เพราะศาสนา
ไม่มีอะไรจะทะเลาะและตีกนั แต่คนเราทเี่ ปน็ บรษิ ัทของครสิ ตแ์ ละ
พุทธต่างหากชอบทะเลาะตกี ันดว้ ยฝีปาก เพราะดอ้ื ไมป่ ฏบิ ตั ิตาม
ศาสนาน้นั ๆ ศาสดาองคใ์ ดสอนไวอ้ ย่างไรก็เหมือนท่านให้ทางเรา
เดนิ ดีแล้วด้วยเมตตา เราควรจะระลึกถึงคุณของทา่ น เปรียบ
เหมอื นเราจะเดินทางไปสจู่ ุดหนึง่ เราตั้งต้นเดินทางท่เี รารู้ แลว้ ไป
ถงึ ทีเ่ ราไมร่ ้เู รากถ็ ามผ้รู ้ๆู กบ็ อกทางให้ เราก็เดนิ ไปอีก พอถงึ ท่ี
ไม่รู้ กถ็ ามไปอกี จนกระทง่ั ถึงจุดหมายปลายทาง ผู้ท่ีบอกทางใหเ้ รา
ทกุ คนมีบญุ คุณแกเ่ รา เราควรจะระลกึ ถงึ คุณทา่ น
พระพุทธเจ้าท่านเห็นประจักษ์ในธรรมและวิธีการฝึกของท่าน
ดงั น้นั ท่านจงึ ไม่จนมุมแกพ่ ุทธบริษัท ทา่ นพรอ้ มทจ่ี ะช่วยโลกให้พ้น
จากอันตรายต่างๆ ได้ด้วยพระอบุ ายท่ีเตม็ ไปด้วยพระเมตตา รวม
ความแล้วท้ังสองศาสนาท่านสั่งสอนคนให้ดีด้วยเมตตาเหมือนกัน

๖๘

จะตา่ งกนั อยู่บ้างกค็ วามสามารถทอ่ี าจแหลมคมต่างกนั ศาสนาจึง
อาจมีความหยาบละเอยี ดตา่ งกนั ไปตามผู้เปน็ เจ้าของศาสนา
ถ.๗–ช.๕ การท่อง “พทุ โธ” นน้ั ทอ่ งไปเฉยๆ หรือตอ้ งท่องพรอ้ มกบั
หายใจเข้า-ออกด้วย?
ตอบ แล้วแตเ่ จา้ ของจะชอบ ทำ�ไดเ้ ป็น ๓ ทาง คือ
๑. เราภาวนา “พทุ โธ”ๆ ๆ ๆ ถ่ี ๆ จนจิตนิ่งกบั พุทโธกไ็ ด้
๒. เราทอ่ ง “พุทโธ” ตามลมหายใจเขา้ หายใจออกก็ได้
๓. เราจะภาวนา “พุท” พร้อมกบั ลมหายใจเข้า “โธ” พร้อมกบั

ลมหายใจออกก็ได้
สำ�คัญอยู่ทสี่ ตใิ หร้ ู้อยู่กับงานทที่ ่านต้ังให้จิตทำ� และไมต่ อ้ งคาดจะ

เอาผลในขณะที่ทำ� เมอ่ื สติกบั งานสบื ต่อกัน ผลจะเกดิ ขึ้นเอง โดย
ล�ำ ดบั ของการทำ�ภาวนา
ถ.๘–ญ.๒ ขอให้ท่านอธบิ ายสตใิ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
ตอบ สตเิ ป็นธรรมจำ�เป็นในทีท่ ั้งปวง ระลกึ รตู้ ัวอยูเ่ สมอ ไม่วา่ จะทำ�
อะไรอยทู่ ไ่ี หนกริ ยิ าทง้ั ปวงเราจะปฏบิ ตั ไิ ดแ้ คไ่ หนพระพทุ ธเจา้ มพี ระ
ประสงคใ์ หเ้ รามเี งนิ เปน็ ลา้ นๆแตต่ วั เราเองจะมไี ดแ้ คไ่ หนนนั้ เกย่ี วกบั
ความสามารถของแตล่ ะคนความมสี ตอิ ยกู่ บั ตวั ท�ำ งานไมพ่ ลาดวธิ นี ง่ั
สมาธจิ ะนั่งแบบไหนกไ็ ด้ สำ�คัญที่สติจดจอ่ อย่ใู นงานอนั เดยี วนนั้

ปิดประชมุ เวลา ๑๙.๕๕ น.

๖๙

๗๐

วันศกุ ร์ วนั ท่ี ๑๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

ณ ธัมมปทีปวิหาร วนั นไี้ มม่ กี ารประชุมฟงั ธรรมซกั ถามปัญหา
แต่ประการใด เพราะทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสมั ปนั โน กับทา่ น
ปัญญาวัฑโฒ ไดร้ ับนิมนตเ์ ข้ารว่ มประชมุ กบั คณะกรรมการบริหาร THE
ENGLISH SANGHA TRUST, LTD.;DHAMMAPADIPA VIHARA ซ่ึง
ประกอบดว้ ยกรรมการ ๕ คน แต่ปจั จุบันนคี้ งเหลอื เพยี ง ๓ คน คอื
๑. Professor Maurice WALSHE Essex, England
๒. Mr.George SHARP
The Secretary, Dhammapadipa Vihara, Hamstead, London
๓. Mr.Alan JAMES
ค่�ำ นี้ ศจ.นพ.อวย เกตุสงิ ห์ และม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ไป
สนทนากับ Mrs.Freda WINT มารดาของ Mr.Benedict WINT, ท่านอภิเจ
โต (George R.CHERRY) กับโยมมารดาของท่าน คือ Mrs. L.G. CHERRY,
Toronto, CANADA
ครน้ั เวลา ๒๐.๐๐ น. ศจ.นพ.อวย เกตสุ งิ ห์ และ ม.ร.ว.เสรมิ ศรี
เกษมศรี เดินข้ามฟากจากธัมมปทปี วิหาร ไปรับประทานอาหารรา้ นแขก
สักครู่ PROF.WALSHE ไดเ้ ดินเข้ามานง่ั รบั ประทานอาหารด้วย และเลา่
ว่า วนั นีค้ ณะกรรมการของ THE ENGLISH SANGHA TRUST, LTD. มีมติ
วา่ ธมั มปทปี วิหารจะไม่รับพระภิกษอุ นื่ ใดตงั้ แต่วนั น้เี ปน็ ตน้ ไป นอกจาก
ภิกษุที่ท่านอาจารย์พระมหาบัวกับท่านปัญญาวัฑโฒแนะนำ�มาเท่าน้ัน
โปรเฟสเซอรม์ อรีซ วอลช์ (Maurice WALSHE) ผู้นี้เคยไปจำ�ศีลภาวนาท่ี
วดั ปา่ บ้านตาด อ�ำ เภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี อยู่กับทา่ นอาจารยพ์ ระมหา
บวั ญาณสมั ปนั โน มาแล้ว ไดแ้ สดงความปรารถนาจะไปกรงุ เทพฯ เพือ่
ไปวดั ปา่ บ้านตาดอีก

๗๑

การอธบิ ายธรรม

วันเสาร์ วันท่ี ๑๕ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

เรม่ิ เวลา ๑๘.๑๕ น.
ท่านอาจารย์ “ในพระพุทธศาสนา ท่านแสดงธรรมไวเ้ ป็น ๓ ภาค
คือ
๑. ภ าคปรยิ ัติ ได้แก่ การศึกษาเพอ่ื ความรู้ ความเข้าใจ ในวิธี

ปฏิบตั ิ
๒. ภาคปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ เม่ือไดร้ ับการศกึ ษาแลว้ กต็ ง้ั หน้าปฏบิ ัตติ าม

ที่ทรงสอนไว้
๓. ภาคปฏิเวธ ไดแ้ ก่ ความรู้ ผลส�ำ เร็จจากการปฏบิ ัติ รู้แจ้งแทง

ตลอด
ในครั้งพทุ ธกาล พระพทุ ธเขา้ ไมไ่ ด้สอนสาวกมากถงึ กบั สอบชน้ั
ตรี ชั้นโท เป็นเปรียญ กันอยา่ งสมยั น้ี แตเ่ ปน็ เรยี นเพื่อปฏิบตั ิ ผทู้ รง
พระไตรปิฎกไดก้ ม็ อี ย่ไู ม่นอ้ ย แตไ่ มไ่ ดร้ ับใบประกาศนียบัตรเพ่อื เชิดชูตน
ข้นึ แตเ่ ป็นความรู้ความเขา้ ใจทีเ่ รยี นไปเพอื่ ท�ำ ใหย้ งิ่ ๆ ข้นึ ในวาระตอ่ ไป
พระพทุ ธเจ้าทรงสอนสาวกทุกคนใหพ้ ิจารณา “เกศา โลมา นขา ทนั ตา
ตโจ” คอื ผม ขน เล็บ ฟนั หนัง อันเปน็ ส่งิ ทมี่ ีในตวั เราแล้ว แต่เรา
เองไมส่ ามารถจะทราบวา่ ส่งิ เหลา่ น้ีเกดิ -ดับๆ แปรปรวนไปตามความ
จริงของเขา เพื่อไดท้ ราบความทเี่ ปน็ จรงิ ท่ีเขาประกาศตวั เมื่อสิง่ เหลา่ นี้
แสดงตัวขนึ้ มาในสภาพที่ไม่ชอบใจกเ็ กิดความไมส่ บายใจ ถงึ กระนน้ั คนก็
ยดึ ถอื ว่ามันเป็นสมบตั ขิ องตน จนปจั จุบันน้ตี อ้ งมีการตกแตง่ บ�ำ รุงรกั ษา

๗๒

กนั ตอ่ ไปอีกไมม่ ีประมาณ ที่ทรงสอนอยา่ งนกี้ เ็ พือ่ ให้เราไม่รูส้ ึกเดือดร้อน
ในเม่ือส่ิงเหล่านแ้ี สดงผิดปกตขิ ้นึ มา
เกศา โลมา นขา ทนั ตา ตโจ นี้มีปรมิ าณ อาการแปรสภาพ
ไปเร่อื ยๆ ไม่เลือกชาติ ชัน้ วรรณะ ผ้ศู กึ ษายอ่ มรู้จริงได้เพราะตดิ อยู่
ทีต่ วั เรา การเกิด แก่ ปรวนแปร มที กุ ข์ ลำ�บาก และทุกขใ์ นจติ ใจคน
พระพทุ ธเจา้ กท็ รงสอนพระสงฆ์สาวกทุกรูปดว้ ยกรรมฐาน ๕ นี้ แลว้ ก็
สง่ ไปบำ�เพ็ญในปา่ ใหศ้ กึ ษา “เกศา โลมา นขา ทันตา ตโจ” น้ีโดย
อนโุ ลม คือพิจารณาเรยี งไปตามลำ�ดับ แล้ว ปฏิโลมคอื พิจารณาย้อนทวน
ข้ึนมาตามล�ำ ดบั พระสงฆ์สาวกไปปฏบิ ตั ิตามภเู ขา ในถ้ำ� ในเหว ตามแต่
จะสะดวกสบายแก่ทา่ นผู้บ�ำ เพญ็ โดยยดึ กรรมฐาน ๕ เป็นต้นน้เี ป็นหลัก
บำ�เพญ็ เพียร จนเกดิ ความรแู้ จง้ ท้งั กายและจติ
ที่ไดเ้ รยี นกบั พระพทุ ธเจ้านัน้ เป็นภาคปรยิ ตั ิ กำ�จดั ความโง่เขลา
เกยี่ วกบั สิ่งท่ตี ัวเรามีอยู่ในสกลกายของเราเอง ภาคปฏบิ ตั ิก็ได้แก่ การน่ัง
สมาธิ เดินจงกรม พิจารณาสิ่งทัง้ ห้าน้เี ปน็ ประหน่งึ หินลบั ปัญญาใหค้ ม
กล้าจนรคู้ วามจรงิ ต่างๆ ก็เกิดความฉลาดข้ึนมาในใจ แม้สมาธิเกดิ ข้นึ
ท�ำ ให้ใจสงบ เยน็ กช็ อื่ ว่าผลปรากฏ
ภาคปฏิเวธธรรมนั้น คือความรแู้ จ้งแทงทะลุในสจั ธรรมทัง้ หลาย
จนถึงวมิ ตุ ติหลดุ พ้นโดยสิ้นเชิง ธรรมทงั้ สามมีความจ�ำ เป็นต่อเนื่องกนั
อยา่ งแยกกันไมอ่ อกมาตลอดสาย ผู้มุ่งผลจากธรรมจงึ ควรปฏบิ ตั ติ ามไม่
ใหบ้ กพร่อง ผลจะเป็นที่ประจักษ์อยา่ งพึงใจไปทุกสมัย
สิง่ ท่ที า่ นสอนครงั้ พุทธกาลจนถึงปัจจบุ นั น้ไี ม่มเี ปลยี่ นแปลง ผ้เู รียน
และปฏิบัตจิ งึ ควรทราบว่า คือค�ำ สอนให้เราทราบว่าจะปฏิบตั ติ อ่ ร่างกาย

๗๓

จติ ใจ ของเราอยา่ งไร ตอนท่ีเกิดเกลยี ด โลภ โกรธ หลง เพราะมนั ยอ่ ม
จะเกดิ ไม่ทราบกพ่ี นั คร้ังในชีวติ ทำ�ใหเ้ รารสู้ กึ วา่ เป็นทกุ ข์ เป็นภยั เพราะ
ความไม่รอบคอบ ไมร่ ะวังความคดิ ความปรงุ ของใจ เราต้องศกึ ษาให้รู้วา่
ปฏิบัตอิ ยา่ งไรจงึ เกิดใหโ้ ทษหรอื ให้คณุ ปฏิบัติศาสนาก็คอื ปฏิบตั ิท่ีตวั เรา
น่ีเอง ใหเ้ ป็นไปในทางทีใ่ หค้ วามสงบเยน็ ใจ ให้คุณแก่ตนๆ มากขน้ึ สม
กับศาสนาสอนคนให้ฉลาดในการรกั ษาตนใหพ้ ้นภัย”

ค�ำ ถาม - ค�ำ ตอบ

ถ.๑–ช.๑ เร่อื งจิตไม่ตาย อยู่ถาวร ที่ท่านอธิบายวานนี้ ท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจ
ว่า ยนื ยนั ว่าจิตเหมือนกบั SOUL วิญญาณในครสิ ตศาสนา ขอให้ท่าน
ชแี้ จงเพ่ิมเตมิ จุดนอี้ กี สกั หน่อย?
ทา่ นถาม SOUL เป็นอะไร?
ช.๑ SOUL ต้องสัมพันธ์กับพระเจา้ คนหนง่ึ มี SOUL หนง่ึ ตายแลว้
SOUL ไปรออยจู่ นพระเจ้าพิพากษา แลว้ กไ็ ปสวรรคห์ รือไปนรก
ตอบ จติ มโน วญิ ญาณ ในขนั ธ์ ๕ ไดแ้ ก่ ตวั รู้ คอื จติ ใจ วิญญาณ

ความร้สู ึก จากการรสู้ ัมผัสของตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ สง่ิ เหลา่ นี้
เกิด-ดบั ๆ ๆ แต่ปฏิสนธิวิญญาณ เป็นจติ ทีไ่ ปเกดิ ในทีต่ า่ งๆ ใน
ลักษณะต่างๆ ไม่เหมอื นกัน เพราะจติ นี้มพี ืชพันธตุ์ ิดไปคอื กรรมท่ี
ท�ำ ไว้ สง่ ให้ไปเกดิ ตา่ งๆ กนั ได้ ในพระพทุ ธศาสนาอธบิ ายวา่ สตั ว์
เกดิ มาไม่เหมือนกันเพราะปฏสิ นธวิ ิญญาณหรอื จติ ในวิญญาณ

๗๔

หรอื จติ นมี้ ีสภาพเป็นอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตาอยู่ กรรมเปน็ เครอื่ ง
บงั คับใหเ้ ป็นไป ต่อเมอ่ื ได้ชำ�ระฟอกจติ ดวงนีใ้ ห้บริสทุ ธิ์ ปราศจาก
กิเลส ปราศจากกรรม อันจะตดิ ไปกับจิตดวงน้ี จติ นน้ั ก็บรสิ ทุ ธ์ิ
รู้ตัวเองว่าไมไ่ ปเกิดอีก และเป็นวิมุตติพน้ จากกฎอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา อย่างเด็ดขาด
ถ้าจติ หรอื ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ ยังไมบ่ ริสทุ ธอิ์ ยตู่ ราบใด ยังตอ้ งอยู่ใน
กฎของอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา จติ นล้ี ะเอยี ดยิ่งนกั จะเป็นอนตั ตา
ไดอ้ ยา่ งไรนนั้ ขอเปรียบกับการหาความวา่ ง ดังนี้
สมมุติว่ามผี ู้บอกชายคนหนง่ึ ให้ไปดูหอ้ งนซี้ วิ ่างไหม? ในห้องน้ไี ม่มี
ของอะไรอยูเ่ ลย ชายคนนก้ี เ็ ข้าไปในห้องน้นั แลว้ บอกว่า หอ้ งว่าง
แตผ่ ้สู ั่งบอกว่า จะว่างได้อย่างไร กท็ ่านไปยนื ขวางอยู่กลางหอ้ ง
ทงั้ คน เชน่ นี้ ชายน้ันก็รู้สึกตวั ถอยออกมาอยู่นอกห้อง ห้องจงึ วา่ ง
จริงๆ
จิตทถ่ี อนอตั ตานุทิฏฐิออกโดยส้ินเชิง ไม่มีสมมุติเหลอื อยู่แมน้ ดิ จงึ
เรยี กว่าจติ ว่าง หรือจิตบริสทุ ธิ์ ไดเ้ ต็มภูมิ เพราะอตั ตาและอนัตตา
ไมม่ ีในจิต จิตพน้ จากธรรมทง้ั สอง คอื อัตตาและอนัตตาอย่าง
ตายตวั แลว้
ถ.๒–ญ.๑ ทุกขังเปน็ อะไร?
ตอบ ทกุ ข์มีอยู่กับทกุ คน ถ้าพดู ตามหลกั ธรรม ทุกขเ์ ปน็ ของจริง ทุก
คนมที กุ ข์ ใจเราไม่เห็นตามความจริงกแ็ ย้งกับทุกข์เสมอ จิตหลง
ไม่รู้ความจรงิ ก็ทกุ ข์ ต้องหาทางแก้ ตวั เองหาทางแกไ้ มไ่ ดเ้ พราะ
ไม่รูต้ ้นเหตขุ องทกุ ข์ ทกุ ขก์ ก็ ลายเป็นเรา เราก็เป็นทุกขอ์ ย่รู �่ำ ไป

๗๕

ท้ังทที่ ราบหรือไม่ทราบว่าทุกข์คืออะไร เปน็ อะไร ทีว่ า่ ทกุ ข์เปน็
อะไรน้นั กรณุ าสังเกตดขู ณะเราเปน็ ทุกข์น้นั ทุกขเ์ ป็นอะไร และ
จะไปถามใครใหร้ ู้ ถา้ เราผู้เปน็ ทุกขไ์ มร่ ู้ทุกขเ์ สียเอง เพราะสง่ิ
เหลา่ นมี้ อี ยกู่ บั ทุกคนไม่ล�ำ เอยี ง ถ้าอยากทราบกป็ ฏิบตั ิตามทาง
ของพระพุทธเจา้ ทท่ี รงสอนไว้ นั่นถงึ ทางทราบทุกข์แนน่ อน ไม่
เป็นอน่ื

ถ.๓–ช.๒ Intuition เป็นอะไร เช่น เวลามปี ญั หาอะไร คดิ แกเ้ ทา่ ไรๆ
กไ็ มอ่ อก พอนอนหลับแล้ว ตน่ื เช้าข้นึ มาความคดิ แก้ปญั หาเกดิ ข้ึนเอง
และเป็นทางแกท้ ่ถี กู ตอ้ งด้วย
ตอบ อย่างน้ใี นวงผ้ปู ฏิบตั ิมเี สมอ แตเ่ ป็นเรอ่ื งภายในจ�ำ เพาะตน ไม่อาจ

พดู ใหใ้ ครฟงั ได้

ถ.๔–ช.๓ สังสาระ ก็คอื ความรู้ใช่ไหม? อนจิ จัง ทุกขงั อนัตตา ก็คอื
ความรู้ เวลาฝันตัวความร้นู ้ันก็ทำ�งาน
ตอบ ในวงของนกั ปฏิบัติ สังสาระคอื ความรู้ เป็นการถกู ตอ้ งแลว้ จิต

ไมห่ ลง จะปลดเปล้ืองปล่อยวางกต็ ัวนี้ แต่ขอเตอื นว่าที่ใชป้ ญั ญา
พจิ ารณาจนเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งนี้ อยา่ เพง่ิ พอใจ เพราะอาจนำ�เขวไป
ทีหลงั ได้ ตอ้ งใช้ปญั ญานี้อย่างมีด คือให้ใช้ทกุ ดา้ น ดา้ นคมใชก้ ับ
ตนเอง ตดั ถอดถอน ด้านสันใช้กบั คนอ่ืน แตม่ นษุ ยเ์ รามกั ใชด้ ้าน
คมกับคนอ่นื พอถงึ เรอ่ื งของตัวเองใชด้ ้ามหรอื สนั ก่อนที่ทราบวา่
จติ เปน็ ตัวสังสาระ ปัญญาย่อมพิจารณาสง่ิ ภายนอกจนรู้แจง้ และ
ปล่อยวางไปแลว้ จงึ มาเห็นภยั ในตวั การแห่งสงั สาระแทค้ อื จิต
เม่อื เห็นจติ เป็นสงั สาระกเ็ รียกว่าเห็นแบบปฏโิ ลม คอื ยอ้ นกลับเขา้
มารู้ตวั เอง และหมดปญั หาในขณะนน้ั

๗๖

ต้องพจิ ารณาทัง้ ข้างนอกและข้างใน ข้างนอกน้ันมสี ภาพแวดล้อม
ดนิ น้�ำ ลม ไฟ ขา้ งในนนั้ คอื ภายในจิตของเรา จะถอดถอนอะไร
ให้ทราบ เปรียบเหมือนแกว้ นำ�้ ตกแตก ตอ้ งดูตามเร่ืองของมัน ถ้า
เราไปปรุงวา่ เปน็ ความผิดของใครท่ที �ำ ตกแตกกร็ ้อนใจ ถ้าเราเหน็
ว่ามนั ก็ไปตามสภาพของมัน ปลดปล่อยใจเสีย ก็ไมต่ อ้ งร้อนใจ มัน
กแ็ ตกไปตามเรือ่ งของมัน ส�ำ คัญจติ ต้องหมนุ ใหท้ ัน

สดุ ท้ายก็รู้ตวั ผปู้ รุงคือสงั ขารนแ่ี ล คือตัวกอ่ เรือ่ ง เร่ืองกย็ ตุ ิลงทนั ที
ไมส่ ืบตอ่ กอ่ แขนงออกไปให้ยืดยาว

การสนทนาธรรมวนั นีเ้ ตม็ อรรถเต็มธรรม มคี วามรื่นเริงเป็นล�ำ ดับ
ทงั้ ผ้ถู ามและผู้ตอบ และผูฟ้ ัง ควรจะมภี าคปฏิบตั ิดว้ ย การปฏิบัติ
เปน็ อย่างไร ก็นำ�ผลมาสู่ตนเอง ให้ไดร้ ู้ ได้เหน็ เต็มท่ี ถา้ น�ำ ผล
ทีเ่ ราปฏิบัตมิ าเลา่ สู่กันฟงั และรายงานครูอาจารย์ จะแกไ้ ขหรอื ให้
ความกระจา่ ง ความมน่ั ใจแก่ผ้ปู ฏบิ ตั ิ เพราะวา่ แตล่ ะคนปฏบิ ตั แิ ล้ว
ได้ผลตามภูมิจติ ภมู ธิ รรมของตนๆ ไม่เหมือนกนั จึงทำ�ให้ครูอาจารย์
อธบิ ายไปเรื่อยๆ ช่วยใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิมีก�ำ ลังใจขึ้นได้ เพราะไดร้ ถู้ งึ
ผลปฏบิ ัตขิ องตนและเพอ่ื นผปู้ ฏบิ ัติดว้ ยกนั น้ันอย่างหนึ่ง และเพราะ
ครูอาจารย์ทร่ี ู้แจ้งแทงตลอดแล้ว ทา่ นจะสามารถพูดให้ทะลปุ รุ
โปร่งจนลกู ศิษยก์ ็ไดท้ ะลไุ ด้หลดุ พ้นไปดว้ ย ศาสนาไม่ใช่ โมฆราช
เป็นของจริงแท้ สามารถท�ำ ให้ปลดเปลอื้ งทุกขไ์ ด้ แต่คนเราทำ�
ศาสนาให้กลายเป็นเครือ่ งมอื ทะเลาะวิวาทกันไปกม็ าก อาจารย์
อยากอธิบายใหเ้ ขา้ ใจด้วยเหตดุ ้วยผลเตม็ ที่ แตส่ ดุ วิสยั เพราะ
ภาษาองั กฤษของอาจารยไ์ ม่ได้เรื่อง ตอ้ งพดู โดยอาศยั ผู้แปล

๗๗

เรอื่ งวมิ ตุ ตนิ ้พี ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงไวเ้ ตม็ ท่ีเพราะพระองคไ์ ดท้ รงรู้
จริงๆ พระอรหนั ตสาวกกไ็ ด้รอู้ ยา่ งเดียวกนั เลยไมค่ ัดคา้ นกนั
และกัน และยกมาแสดงอยา่ งเดยี วกนั แต่พวกเรารมุ กันสงสยั หมด
พระอรหันตท์ ง้ั ปวงท่านไม่สงสยั เลย ท่านเห็นแลว้ วา่ “นิพพานงั
ปรมัง สุขัง”

“นพิ พานงั ปรมัง สุญญัง” ซง่ึ เราท้ังหลายเคยทราบอย่างโลกๆ
คอื “สญู ” น้ัน เราเขา้ ใจวา่ หายไปหมด เช่น แกว้ นี้มีอยู่ ถา้ ใคร
เอาไปหรอื แตกเสยี เราก็สูญแก้วนีไ้ ป นีเ่ ปน็ เรื่องของโลกสมมตุ ิ
แต่ “สูญ” แบบวิมุตติ อย่างทพ่ี ระพทุ ธเจา้ และพระอรหันต์สาวก
รู้นน้ั เปน็ คนละอยา่ ง ความสุขจากความสูญ คนธรรมดาก็ไม่เคย
เห็น เรากต็ ้องสงสยั และปฏเิ สธทง้ั ๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงนำ�ของ
จรงิ มาเสนอ แตจ่ ติ ของเราซง่ึ ยังไม่บรสิ ทุ ธ์กิ ็ยงั รับไมไ่ ด้ เข้าใจไม่
ถึง เพราะจติ ยงั ปลอมจึงยงั ไม่ยอมรบั อารมณ์ของจริงได้

เปรียบเหมอื นอาหารท่ีทำ�มาอยา่ งวิเศษ พลดั ตกลงไปท่ดี ินกไ็ มน่ า่
รับประทานแลว้ ธรรมของพระพทุ ธเจ้าบริสทุ ธิ์ จิตคนสกปรกกร็ ับ
กันไม่ได้ ไมด่ ี เม่อื ใดจิตกับธรรมบรสิ ทุ ธิด์ ้วยกันก็กลมเกลยี วกันได้
พระอรหันต์ทั้งหลายท่านจึงไม่มีข้อข้องใจในวิมุตติท่ีพระพุทธเจ้า
ทรงสอนเลย

ถ.๕–ช.๔ ทถ่ี อื ตวั ตน นั้นมาจากอะไร?
ตอบ มาจากตัวเอง สมมตุ วิ ่าถ้าเราจะตามหามา้ เราไปพบมา้ ทงั้ ตัวแลว้

เรายังไมจ่ ับ กลับต้องย้อนตามรอยมนั ไปว่า จะเป็นม้าทม่ี าจากท่ี
นนั่ ใชไ่ หม จะได้ประโยชนอ์ ะไร หรืออกี นัยหน่งึ วา่ ถ้าเราเดนิ ไปถูก

๗๘

หนามต�ำ เราจะควรจะปฏบิ ัติอยา่ งไร เอาหนามออก ใสย่ ารักษาดี
หรือต้องคน้ คว้าว่าหนามอะไร มาจากไหน ถา้ เป็นอยา่ งหลัง แผล
กอ็ าจเน่าลามจนตอ้ งตดั ขาก็ได้ ถา้ เสยี ดายขากเ็ อาแบบต้น ถ้าไม่
เสยี ดายขากเ็ อาแบบหลงั
ถ.๖–ญ.๒ หนามมคี วามเจบ็ ปวดดว้ ยหรอื เรอื่ งอัตตานน้ั ยากจะเขา้ ใจ
ดิฉันกไ็ มเ่ ข้าใจวา่ อะไรทีจ่ ะน�ำ ไปบอกให้คนรู้
ตอบ (ทา่ นน่ิง ไมต่ อบเพราะไม่เกดิ ประโยชน์)

ปดิ ประชมุ เวลา ๑๙.๕๐ น.

๗๙

การอธิบายธรรม

วนั อาทิตย์ วันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

การนดั ประชมุ วันน้ี นดั เวลา ๑๘.๓๐ น. ศจ.นพ.อวย เกตุสงิ ห์ และ
ม.ร.ว.เสริมศรี เกษมศรี ไปถงึ ธัมมปทปี วหิ าร เวลา ๑๗.๐๐ น. ไดพ้ บ
คนอังกฤษและคนไทยมาทำ�สมาธอิ ยู่ในวหิ ารแลว้ ท่านอาจารย์และพระ
ฝรั่งอกี ๒ รูปนัน้ ลงมาเวลา ๑๗.๔๕ น. วันน้ีสงั เกตเห็นมีผหู้ ญิงมากกวา่
ผู้ชาย คนเตม็ ห้อง ถึงนั่งกบั พ้นื กันบ้าง
ทา่ นอาจารย์ “วันน้ีจะอธิบายก่อน ตอบคำ�ถามทหี ลัง จะไม่อธบิ ายยาว

เกรงผ้แู ปลจะจ�ำ ไม่ได้
ค�ำ วา่ ศาสนา นัน้ ถา้ จะเปรียบกับวตั ถกุ เ็ หมือนน้�ำ สะอาดบรสิ ุทธ์ิ
จิตใจของเราเหมอื นวตั ถุสิง่ หน่ึงทีใ่ ชส้ อยเป็นประจ�ำ ยอ่ มจะกระทบกบั
ความสกปรกอยู่เสมอ ต้องชำ�ระซกั ฟอกอยู่เสมอ มฉิ ะน้ันก็ไม่ควรใชส้ อย
ตอ่ ไปไดอ้ ีก จิตใจทำ�งานทั้งกลางวันกลางคืน คิด พดู และกระท�ำ ตลอด
ไป จิตจงึ สำ�คญั สำ�หรับคน-สตั ว์ การคิดการปรงุ เสมอ โดยไมค่ ิดว่าอะไรดี
หรือไม่ดี ก็เปน็ ภยั แกต่ วั เองหรอื ผอู้ นื่ ทม่ี สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งดว้ ย
ศาสนาเปน็ เสมือนนำ้�ซกั ฟอกช�ำ ระจติ ใจให้สะอาดอยู่เสมอ ถ้าเปน็ ผ้า
กใ็ ชน้ ุ่งห่มได้ ถา้ เป็นบา้ นเรือนเครอ่ื งใช้ก็ใชไ้ ดด้ ี ไม่น่ารงั เกยี จ ถ้าไม่ลา้ ง
ท�ำ ความสะอาดเสมอๆ กใ็ ช้ไมด่ ฉี ันใด จติ ใจท่ีไมด่ กี ็ฉันน้นั จติ ใจทีซ่ ักฟอก
อบรมอยเู่ สมอ ย่อมเป็นจิตใจที่ผ่องใส สะอาด สงบ เย็นใจ มคี วามเจริญ
สมควรแกธ่ รรม ไม่มีสิ่งใดในโลกทีจ่ ะรองรับธรรมได้ดเี หมอื นจติ ใจ จิตใจ
เปน็ ภาชนะรองรับธรรม พระพทุ ธเจ้าทรงบ�ำ เพ็ญจนพระทัยบรสิ ทุ ธ์ิ ธรรม

๘๐

กส็ ะอาด พระทัยกส็ ะอาด ปราศจากมลทินทห่ี มองมวั หรือเมาไปกบั โลก
แล้ว ไมว่ า่ ชาตชิ ้นั วรรณะใด ทา่ นก็ทรงสอนเหมือนกันหมด ศาสนาจงึ ไม่
เปน็ ภยั แกใ่ คร เชน่ เดียวกบั นำ้�สะอาดใช้ไดท้ ุกชาติ ชั้น วรรณะ ไมม่ ใี คร
รงั เกยี จ

ศาสนาออกมาจากท่านผบู้ รสิ ุทธิ์จรงิ ๆ พระพุทธเจา้ เป็นมือแรกท่ี
สะอาด พระสาวกของพระพทุ ธเจ้าก็มอื สะอาด มอื ที่ ๑ มอื ท่ี ๒ สะอาด
เพราะพระสงฆส์ าวกถึงความบรสิ ทุ ธิ์เป็นพระอรหันตก์ นั แล้วทั้งนน้ั ธรรม
ท่ปี ระกาศสอนในสมัยน้ันจึงสะอาดและมผี ลแกผ่ ้ฟู ังเต็มเม็ดเตม็ หน่วย

จากนั้นมาก็เริ่มมัวหมองเรื่อยๆ มัวหมองเกี่ยวกับผู้เกี่ยวข้องกับ
ศาสนา ศาสนาก็กลายเป็นท่จี ้องมองไป โดยเห็นวา่ เปน็ ขา้ ศึกระหวา่ ง
ศาสนาทต่ี นไมช่ อบ คนเกิดชอบศาสนาน้ี รังเกียจศาสนานนั้ ขนึ้ มา ซ่งึ
มิใช่ความมุ่งหมายของศาสนาหรือศาสดาผู้สอนต้องการให้เป็นเช่นนั้น
ศาสดาทุกศาสนาไมต่ อ้ งการใหค้ นเสยี ความสามคั คี การแตกแยกขดั ต่อ
ศาสนธรรม ท่านสอนให้มีความกลมเกลียวกนั ไม่สอนใหแ้ ตกแยกความ
สามคั คี การแตกแยกขัดต่อศาสนา แต่เพราะใจมโี ลกอยู่ภายใน โลกท่ี
แฝงอย่ภู ายในมอี ำ�นาจท�ำ ให้คนเปน็ ไปตามส่งิ ท่แี ฝงอย่นู ้นั ศาสนาจึงเป็น
ภัยแก่ผู้ไม่ชอบ และเป็นคุณแกผ่ ชู้ อบ ระหว่างผู้ถือศาสนาต่างกันเลยเกิด
ขัดแยง้ กนั ขนึ้ และดูถูกเหยียดหยามศาสนาของกันและกัน ศาสนาเลย
กลายเปน็ เครอื่ งมือ เปน็ ค่ทู ะเลาะววิ าทกันไดด้ ้วยใจโสมมทีพ่ าใหเ้ ป็นไป

ศาสนานน้ั ดอี ยู่ เพราะสอนใหเ้ ปน็ คนดดี ้วยกนั ตามความรคู้ วาม
สามารถและเจตนาดีดว้ ยกัน เชน่ เดยี วกบั เราส�ำ เรจ็ วิชาแขนงตา่ งๆ ไมใ่ ช่
จากผู้สอนคนเดียวกนั เราเรียนวชิ านั้นจากครคู นนั้น วชิ านจ้ี ากครูคนนี้
จะให้เหมือนกันย่อมเป็นไปไม่ได้ พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เป็นได้ถึงขั้น

๘๑

พระอรหตั -อรหนั ต์ ถึงขัน้ วสิ ทุ ธิคณุ เปน็ วสิ ทุ ธิบุคคลและวสิ ทุ ธจิ ิต ใครมี
ภมู ิเทา่ ใดก็สอนไว้เทา่ น้นั ตามสมรรถภาพของผู้สอน ผู้เรยี นก็รบั ไว้ไดต้ าม
สมรรถภาพาของผู้เรียนด้วยเหมือนกัน ดังนั้นเราจะสามารถประพฤติ
ปฏิบตั ศิ าสนาได้เพียงไรกแ็ ล้วแต่ความสามารถของเราดว้ ย จะใหย้ ิง่ กว่า
ความสามารถของผ้สู อนและผปู้ ฏบิ ตั ยิ อ่ มไม่ได้ ถ้าใครจะยึดเอาเนือ้ ธรรม
วันน้ีเป็นบทสนทนาธรรม ก็ยินดชี แี้ จงตามสตปิ ญั ญาที่จะท�ำ ได้
ในตัวเราทกุ คนต่างก็มีความหวังอย่กู บั ใจของเราแลว้ ไมใ่ ช่คนสนิ้
หวงั แต่ยังไมแ่ สดงออกให้ทราบ ความหวงั เคยส�ำ เร็จมาบา้ ง ไม่สำ�เร็จ
บ้าง ยงั ไม่ส�ำ เร็จบริบูรณ์บา้ ง หลักธรรมในพทุ ธศาสนาท�ำ ใหค้ นส�ำ เรจ็ เต็ม
ตามความหวังอยา่ งเต็มภาคภมู ิมาแล้ว ไม่ต้องพดู ถงึ คนสิน้ หวงั เพราะ
เปน็ คนไมต่ ้ังความประสงคไ์ วใ้ ห้ดี กย็ ่อมพลาดหวงั ไป ฉะนั้นเราจงึ ควร
ประพฤติตนให้มคี วามหวงั ไว้เสมอ หวงั ท�ำ ตนให้เป็นคนดี มีการท�ำ ทาน
ศลี ภาวนา ต้งั แตบ่ ดั นี้ วนั นี้ วนั หน้า ชาตนิ ้ี ชาตหิ น้าตอ่ ไป เราไมใ่ ชค่ น
หมดที่พง่ึ ท่ีอาศยั เรามีพระธรรมท่ีสบื ต่อกันมา ธรรมชาตคิ อื ใจ มีทง้ั ส่ิงดี
ชั่ว กลางๆ อนั มีความเสอ่ื มความเจรญิ ได้ นกั ปราชญจ์ งึ ได้พยายามฝึก
จิตใจให้เป็นคนดี ถงึ ลำ�บากกจ็ ะสามารถเอาชนะส่ิงทไี่ ม่ดที ัง้ หลาย เพ่อื
ยดึ ธรรมเปน็ ทพ่ี ึง่ เป็นหลักของใจ ความหวังของใจจะได้สมบูรณ์เต็มท่ีใน
กาลต่อไป
ท่านผูใ้ ดขอ้ งใจไหม ถามได้ จะเป็นธรรมทีแ่ สดงวันน้ี หรือวนั อ่ืนก็
ถามได้ จติ ใจคนเราน้นั ไม่สญู สิน้ เจริญได้ เสอื่ มได้ ทำ�ให้บริสทุ ธ์ไิ ด้ จิต
บริสุทธ์ิแลว้ ความสุขซึง่ ไม่ใช่อย่างโลกๆ ผ้ปู ฏบิ ัตจิ ะได้รับกบั ตนเองวา่
เป็นความสุขอย่างไร แค่ไหน”

๘๒

ค�ำ ถาม - คำ�ตอบ

ถ.๑–ญ.๑ จติ เป็นความรู้สกึ ผิดชอบของคน จิตพกั อยทู่ ่ีหัวใจ ใช่หรอื ไม่?
ตอบ ใช่ เปน็ ธรรมชาตริ สู้ ึกประจ�ำ ตน รู้สกึ ผดิ ชอบของคน ของสตั ว์

ท่านว่าจิตอาศัยอยู่ทหี่ ทยั วัตถุอนั เป็นศนู ยก์ ลางของรา่ งกาย แต่พงึ
ทราบว่าจิตเป็นนามธรรม สักแตร่ ู้ ไมใ่ ชว่ ตั ถุ แมอ้ ยใู่ นหทยั วตั ถกุ ็
ไม่เหมอื นไขห่ รือผลไมอ้ ยู่ในกระป๋อง จึงเป็นสกั วา่ อยู่เทา่ นั้น คาด
ได้ยาก เดาลำ�บาก
ถ.๒–ช.๑ นงั่ สมาธแิ ลว้ มคี วามเจ็บปวด จะแก้อยา่ งไร?
ตอบ วิธีแก้มีหลายอย่าง เชน่
๑. นอนดีกว่า หันเข้าพงึ่ หมอนเป็นสรณะ
๒. เมอื่ ปวดเจบ็ เพราะนงั่ ก็ลุกขึ้นเดินจงกรม เปลี่ยนอริ ิยาบถ

ความเจ็บปวดกห็ ายไป
๓. พอเจบ็ ปวดขึ้นมาก็เพ่งพิจารณาวา่ ทุกขท์ ่ีตรงไหน ดูอาการของ

กาย ของจติ ของเวทนา จนเหน็ ตามความจรงิ เสมอกัน
ทกุ ขเวทนาก็ดบั หมด หรอื จะเหน็ ความจริงว่า รา่ งกายส่วน
นั้นๆ ของตนเป็นทุกข์ แต่จิตไม่ทกุ ข์ เพราะฉะน้ันทกุ ข์จึงไม่
สามารถบังคบั จิตได้ จติ ต้ังมน่ั คง อาการก็ถงึ ที่สุด ยุตลิ งเอง
ถ้าเชื่อตนเองได้ว่าวิธีที่ต่อสู้กับทุกข์ด้วยการพิจารณาเป็นวิธี
ยอดเย่ียม เราควรแยกแยะทุกขอ์ อกเป็นภายนอกภายใน แตก่ าร
บำ�เพญ็ เพยี รนัน้ มีความเจบ็ ปวดจรงิ ๆ ราวกบั กระดูกทกุ ช้ินจะหลุด
จากกนั หรือร้อนราวกับไฟทงั้ กองเผาลน เราตอ้ งการทราบความ

๘๓

สามารถของตน แต่กต็ อ้ งต่อสกู้ อ่ นจึงจะรวู้ ่าจิตของเราสามารถ
แคไ่ หน ทุกขเวทนาไมร่ ู้วา่ มนั เป็นอะไรกันแน่ เปน็ ทุกข์ สมทุ ัย
นิโรธ หรอื มรรค สตปิ ญั ญาต้องคิดคน้ คน้ ไดส้ �ำ เร็จก็ดบั ทุกขไ์ ด้
เหมือนไฟไหม้ดนิ ปืน แล้วกด็ ับพ่บึ ไป เหลอื จติ ใจ ฉะนน้ั ใหเ้ อา
ทุกขเวทนามาพิจารณาว่าทุกข์ในขณะจะแตกดับนั้นคือทุกข์ตัว
ไหน ความจริงทุกข์ เกดิ -ดบั ๆ ๆ ไป จิตใจไม่ปรากฏว่าตัวตาย
จติ ย่งิ เดน่ และสงบลงอยา่ งผดิ คาดหมาย แต่พวกกลวั ตายจะยิ่งได้
ตาย จงึ ควรเอาจิตตภาวนานไี้ ปปฏบิ ัติ แต่เปน็ เรอื่ งยากมากกว่าวธิ ี
ธรรมดาแบบหลบั ๆ ตน่ื ๆ ซึ่งผลไม่ค่อยมีเท่าที่ควร
ถ.๓–ช.๒ วธิ อี ย่างนีใ้ ช้แกป้ ญั หาอน่ื เช่น ความฟ้งุ ซา่ น ไดห้ รอื ไม?่
ตอบ ความทุกข์จากการเจ็บปวดเป็นทุกข์ของธาตุขันธ์ ความฟุ้งซ่าน
เป็นทุกขเ์ หมือนกนั แตเ่ ป็นความทุกข์ท่ีเกิดจากใจ เพราะสมุทัย
เปน็ เหตุ จะระงับด้วยวธิ ีดงั กลา่ วกไ็ ด้ นักปฏิบตั ิทา่ นเคยปฏบิ ตั จิ น
ไดผ้ ลอย่างพึงใจมาแลว้ ผ้ตู ้องการผลอนั เยยี่ มจึงไม่ควรขยะแขยง
ตอ่ วธิ ีน้ี ซ่ึงเปน็ วธิ ีทีต่ า้ นกับกลมายาของกเิ ลสไดด้ ีกว่าวธิ ีอน่ื ๆ
ถ.๔–ช.๒ ตัณหาเปน็ ท่ีเกดิ ของทุกข์ใช่ไหม?
ตอบ ทุกขอ์ ยา่ งไรเป็นตัณหา อยา่ งไหนไม่เป็นตัณหา ต้องพจิ ารณาอีก
คือความอยากใหท้ กุ ข์หายไปเฉยๆ เปน็ ตัณหา แตถ่ ้าอยากรูเ้ หตุผล
วา่ ทุกขเ์ ป็นอะไร มีอะไรเป็นเหตุ จะดับทกุ ข์ไดอ้ ย่างไร น่เี ป็นมรรค
ความอยากในทางท่ีจะปลดเปลอื้ งทกุ ข์ หนั ไปหาทางสนั ติสุข ไมใ่ ช่
ตณั หาเป็นมรรค
ถ.๕–ช.๓ สตกิ บั สมาธิเปน็ ๒ ขน้ั ของมรรค ๘ ดเู หมือนจะเปน็ ขน้ั ที่

๘๔

๗-๘ สติกบั สมาธิในมรรค ๘ ตา่ งกันอย่างไร?
ตอบ สตเิ ปน็ ตวั กำ�กบั จติ สมาธิอาศยั สตคิ วบคมุ จนจิตตง้ั ตรงอยู่ได้ เกิดเป็น

ความสงบข้ึนหลายครั้ง คอื คร้ังแรกเป็นขณกิ สมาธิ สงบชัว่ ครูแ่ ล้ว
กถ็ อน ตอ่ มาสงบลึกข้นึ หน่อย เปน็ อุปจารสมาธิ ต้องอาศยั สติ
ควบคมุ จนกระท่ังปัญญาเข้ามาพจิ ารณา ปัญญาก็ตอ้ งอาศยั สติ
จึงจะพจิ ารณาส่ิงต่างๆ ได้ตลอด และสติกเ็ ปน็ มหาสติ ปญั ญาก็
เป็นมหาปัญญา ได้ถา้ มสี ตเิ ขา้ ควบคุม จิตทมี่ ีโทษอยู่ อาศยั สติเป็น
เครื่องปอ้ งกันแกไ้ ขโทษในจิต ถา้ จติ สงบเป็นอิสระ ไม่มีกิเลสฟุง้
แล้ว กไ็ ม่ต้องแก้ไขในขณะนน้ั จิตก็สงบอย่างแนบแน่น เป็นอัป
ปนาสมาธิ พูดตามภาคปฏิบตั ิเป็นอย่างนี้

การฝึกหดั เบ้ืองต้นลำ�บาก ประการหนึ่งยังไมเ่ คยท�ำ ไม่เคยเหน็
ผลของการท�ำ มาบ้าง ตอ้ งอาศยั สตบิ งั คบั เป็นการฝืนใจเราดว้ ย
เหตุผล พอผลเร่มิ ปรากฏในจิตแลว้ ความสนใจ ความมีแก่ใจ
ความพยายามจะคอ่ ยตามมา ยง่ิ ปรากฏผลมากนอ้ ยเพยี งไร กย็ ่ิง
อยากเหน็ ผลท่แี ปลกประหลาดยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป ความเพียรกต็ ามมา
เอง ธรรมเครอ่ื งใหถ้ ึงความสำ�เรจ็ คอื อิทธิบาท ๔ มีฉนั ทะ-ความ
พอใจ, วริ ยิ ะ-ความเพียร. จติ ตะ-ความชอบใจ ฝกั ใฝ่, และวมิ ังสา-
คือการใครค่ รวญ ตา่ งมีกำ�ลงั มากขึ้นตามๆ กัน จนสามารถยังผู้
บำ�เพญ็ ให้ถงึ จดุ ทม่ี ุง่ หมายไดโ้ ดยไม่มอี ุปสรรคมากดี ขวางได้

ถ.๖–ญ.๑ เมอื่ ทำ�สมาธิไดแ้ ล้ว จะถงึ เวลาท่ผี ูป้ ฏิบัติไมต่ ้องนั่งภาวนอีก
ต่อไปหรือคะ?
ตอบ กอ่ นท่เี ราจะอ่านหนงั สอื ออก เราตอ้ งพากเพยี รเรียนและสะกด

เป็นคำ�หดั เขียนใช่ไหม? พอเราจะเขยี นค�ำ ว่า “ทา่ น” ก็ต้องว่า

๘๕

“ทา่ น”ต่อมาเขียนไดไ้ วพอนึกถงึ ทา่ นกเ็ ขยี นได้โดยไม่ต้องทอ่ งท่าน
เม่ืออ่านเขียนไดแ้ ล้ว ผูน้ ัน้ เลยหยดุ อ่านหยดุ เขยี นกระน้ันหรือ?

การฝึกสมาธกิ ็เหมือนกัน ตอนแรกตอ้ งใชส้ ติคอยควบคุม บังคบั
ให้ตอ้ งทำ� ท�ำ ไปๆ ผู้ปฏบิ ตั จิ ะไดผ้ ล พบผลตา่ งๆ เอง และเกิด
ความคลอ่ งแคล่วชำ�นิชำ�นาญขน้ึ เม่ือทำ�สมาธิและพยายามถอด
ถอนกิเลสจนหลุดพ้นแล้วเมื่อไร ท่านผู้หลุดพ้นก็ยังทำ�สมาธิอยู่
ตอ่ ไป แตไ่ ม่ใช่ทำ�ความเพยี รเพ่อื ปลดเปล้ืองกเิ ลสกนั อกี เพราะ
กิเลสหมดไปแลว้ เวลาพักนอนหลบั ทา่ นกห็ ยุด เวลาตนื่ ขน้ึ สติกบั
ปัญญาก็ใชใ้ นกจิ การตา่ งๆ ตลอดการท�ำ สมาธิภาวนาต่อไปไม่ทอด
ทิ้งงานท่เี คยท�ำ เหมือนผู้รหู้ นงั สืออ่านเขียนไดม้ าก กอ็ ่านเขียนไป
เพอื่ เป็นประโยชน์ตา่ งๆ ย่งิ ข้นึ มิได้หยุดไปเลยเพราะความทีเ่ ขียน
ไดอ้ ่านออกเพียงเท่านั้น การทำ�สมาธิภาวนาของผู้สน้ิ กเิ ลสแลว้ ก็
เชน่ กนั จ�ำ ต้องทำ�ไปเพอ่ื วิหารธรรม ความอย่สู บายในทฏิ ฐธรรมท่ี
ธาตุขันธ์ยงั ครองตวั อยู่

ถ.๗–ญ.๑ เวลาไม่สงบใจ ขอท่านให้ค�ำ แนะน�ำ ว่าจะแกอ้ ยา่ งไร?
ตอบ ธรรมดาของผูป้ ฏิบตั ิ กเ็ หมอื นท่อี ธบิ ายมาแลว้ จะตอ้ งใชว้ ริ ิยะมาก

จนเกิดความสงบ และใช้สติปญั ญาแกส้ ง่ิ ขดั ข้องตามความเหมาะสม
ของการปฏิบตั ิ จนกระทัง่ ผปู้ ฏบิ ัติทราบดว้ ยตนเองว่า พร้อมที่จะ
หลุดพน้ ไป ไมต่ อ้ งเกิดอกี แล้ว เพราะธรรมเป็นความเสมอภาค
และพร้อมที่จะแสดงผลมากน้อยแก่ผู้ปฏิบัติอย่างแท้จริงอยู่
เสมอ พระพุทธเจา้ และพระสาวก ในพระไตรปฎิ กก็บอกว่าท่าน
ต้องบังคับพระองค์ต้ังความเพียรเป็นอันมากจนกระทั่งได้ตรัสรู้
นับแต่นนั้ จนเสด็จเขา้ ปรินิพพาน พระพุทธเจ้าและพระสาวกท่าน

๘๖

ก็ยงั เขา้ สมาธแิ ละนิโรธสมาบัติซ่ึงเป็นการอยู่สะดวกสบายระหว่าง
ขนั ธก์ บั จติ ทเี่ รียกว่าเป็น วหิ ารธรรม จนถึงเวลาทีจ่ ติ จะแยกออก
จากรา่ งกาย ซึง่ จะทนอยูต่ ่อไปไมไ่ ด้อีกแลว้ เขา้ สู่นพิ พานอันเป็น
บรมสุข สิน้ กังวลโดยประการทั้งปวง
ตอนทพ่ี ระพทุ ธเจา้ จะเสด็จเข้าปรินิพพานท่านก็ท�ำ สมาธิ คือ เขา้
ปฐมฌานไปโดยลำ�ดบั ถึงสัญญาเวทยิตนโิ รธสมาบตั ิ แล้วถอย
กลับลงมาปฐมฌาน แลว้ ทรงเขา้ ปฐมฌานจนถงึ จตตุ ถฌาน จงึ
ปรินิพพาน ระหวา่ งรปู ฌานกับอรูปฌานตอ่ กัน
เพราะพระพุทธเจา้ ทา่ นทรงทำ�และรู้เห็นได้ถงึ ข้นั สูงสุด ดงั นีพ้ ระสาวก
ทงั้ หลายก็ได้พากเพียรท�ำ ตาม จนได้บรรลุผลเป็นพระอรหนั ตต์ าม
พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงคน้ พบพระธรรมจนไดต้ รัสรแู้ ละทรง
ถือเป็นธรรมเครื่องพรำ่�สอนหมู่ชนจนวันเสด็จเข้าสู่พระนิพพาน
เราทัง้ หลายจงึ ได้ลงใจนับถอื
“พทุ ธัง สรณงั คจั ฉามิ” ถึงพระพุทธเจ้าเปน็ ทีพ่ ึ่ง
“ธมั มงั สรณงั คจั ฉาม”ิ ถึงพระธรรมเปน็ ท่พี งึ่
“สงั ฆงั สรณงั คจั ฉาม”ิ ถึงพระสงฆเ์ ป็นทพี่ ึง่
เรื่อยมาในฐานะเปน็ พทุ ธบริษัท มิได้ยกเอาบคุ คลใดมาเปน็ สรณะ
อย่างสนทิ ใจเหมือนพระพทุ ธเจ้า พระธรรม และพระสงฆอ์ งค์
วิเศษเหล่าน้เี ลย
ถ.๘–ญ.๑ วิปัสสนาไมเ่ ขา้ ถึงฌาน จรงิ ไหม?
ตอบ พระพุทธเจา้ ก็ทรงเข้าฌานสมาบตั ิ พระสาวกกเ็ พยี รชำ�ระกิเลส
จนถึงความบริสุทธ์ิ เปน็ พระอรหตั อรหันต์ ๔ ประเภท ซ่ึงความ

๘๗

บรสิ ทุ ธ์ขิ องพระอรหนั ต์ ๔ ประเภทน้ไี มย่ ิ่งหย่อนกวา่ กนั แต่จติ
ทา่ นมคี ณุ พเิ ศษไปตามนิสยั วาสนา ดงั ทีไ่ ด้รับความยกยอ่ งทาง
เอตทคั คะต่างๆ กัน เมอื่ ขนั ธก์ บั จิตยงั ไม่แยกจากกนั ท่านกเ็ ข้า
สมาธสิ มาบัติไปตามอธั ยาศัยทถี่ นัดตา่ งๆ กันจนถงึ วาระสดุ ทา้ ย
“ฌาน” เป็นสถานทพ่ี กั ใจ สว่ น “วปิ ัสสนา” เป็นการพิจารณา
สภาวธรรมเพอื่ รู้แจ้งตามความเป็นจริง และปลอ่ ยวางไปโดยลำ�ดบั
กระทั่งหมดสิ้นส่งิ ท่คี วรปลอ่ ยวาง จงึ ถึงความบรสิ ทุ ธห์ิ ลดุ พ้น สว่ น
การที่วิปัสสนาจะเข้าถงึ ฌานหรือไมน่ ั้น เปน็ เรอื่ งของโมฆบรุ ุษจะ
ลบู คล�ำ กันไปตามวิสยั จึงไม่ขอเกี่ยวขอ้ ง
ถ.๙–ญ.๑ ไม่ทราบวา่ อาการเขา้ ฌานนนั้ เปน็ อย่างไร
ตอบ อ ยา่ ไปกังวลกับฌาน ฌานเปน็ เพยี งผลพลอยไดใ้ นการปฏบิ ัติ ไม่
ควรเอามาเป็นอารมณ์ การมงุ่ ฝึกหัดเพ่ือตดั กเิ ลสใหข้ าดจากใจเป็น
สิง่ ท่คี วรสนใจอยา่ งยง่ิ
ถ.๑๐–ช.๔ จติ หมายความว่ากระไร?
ตอบ ๑. วญิ ญาณในขันธ์ ๕ นน้ั เป็นความรทู้ เ่ี กดิ ขึน้ เม่ือมสี ่ิงภายนอก

มาสัมผสั กับตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจเรา เมอ่ื สัมผัสจติ กร็ ู้ แลว้
กด็ ับไป อันเปน็ เรอ่ื งเกดิ ๆ ดับๆ
๒. ความรู้เปน็ พน้ื ๆ น้เี ป็นจติ จะไปก่อภพกอ่ ชาติ ไปเกิด ณ ทใี่ ด
ก็แลว้ แตส่ ิ่งทแ่ี ทรกอยใู่ นจติ
ถ.๑๑–ช.๔ จิต กับ ปัญญา เปน็ อันเดยี วกันใชไ่ หม?
ตอบ จติ กบั ปญั ญาเปน็ คนละอนั แตส่ มั พนั ธก์ นั มที างทจ่ี ะเปน็ อนั เดยี วกนั
ได้ ส�ำ หรบั ผู้ปฏบิ ัติจะพงึ รู้โดยธรรมชาติตามลำ�พงั ในขณะปฏบิ ตั ิ

๘๘

ตามหลักท่ัวไป สติ กบั ปญั ญา เปน็ ธรรมเกดิ และดับได้เช่นสิ่ง
ท่ัวไป จงึ เป็นอันเดยี วกบั ใจยงั ไม่ถนัด แต่เปน็ ของ “มรรค” หรอื
เครื่องมอื แกก้ ิเลสเพ่ือความบริสุทธแิ์ ห่งใจต่างหาก
ถ.๑๒–ญ.๒ จะขอนงั่ สมาธพิ รอ้ มกบั ทา่ นอาจารยน์ านๆ ได้ไหม?
ตอบ การนง่ั สมาธินานๆ ส�ำ หรบั ผูท้ เี่ คยปฏิบตั ิแล้วก็ไมเ่ ป็นปญั หา แตผ่ ู้
ท่มี าเร่ิมเรียนใหม่ๆ จะให้นัง่ นานๆ ไมไ่ ด้ ดงั น้ันตอ้ งก�ำ หนดเวลา
ตามควรแก่ความสามารถของตนๆ ส่วนจะน่ังพร้อมใครหรอื ไม่น้นั
ย่อมเปน็ ไปตามโอกาส ทีส่ �ำ คญั ควรน่งั ตามอธั ยาศัยโดยล�ำ พงั จะ
ได้นานหรอื ไม่เปน็ อธั ยาศัยของเจา้ ของเอง
ถ.๑๓–ช.๕ อนตั ตาต่างกับการไปเกิดใหมอ่ ยา่ งไร?
ตอบ อตั ตา-อนัตตา เป็นธรรมคู่กนั ตลอดจนสดุ สายสมมตุ ิ กระทงั่ จิต
พน้ กเิ ลสแลว้ เปน็ จติ เปน็ บคุ คลพเิ ศษไปแลว้ อตั ตาและอนตั ตากห็ ายไป
เองไมต่ อ้ งถกู ขบั ไลไ่ สสง่ ใดๆทง้ั สน้ิ มเี ฉพาะความบรสิ ทุ ธข์ิ องจติ ลว้ นๆ
เปน็ เอกจติ เอกธรรมไมม่ สี องกบั สง่ิ ใดอกี แลว้ ค�ำ วา่ อนตั ตาเปน็ ธรรม
ไตรลกั ษณ์ผปู้ ระสงคค์ วามบรสิ ทุ ธว์ิ มิ ตุ ตพิ ระนพิ พานจ�ำ ตอ้ งพจิ ารณา
“อนิจจัง ทกุ ขงั อนัตตา” จนรู้แจง้ เห็นจรงิ ในไตรลักษณน์ แี้ ล้ว จงึ ชือ่
วา่ จติ หลดุ พน้ แลว้ ดว้ ยดีเพราะพระนพิ พานมใิ ชอ่ นตั ตาจะบงั คบั ใหม้ า
อยกู่ บั อนตั ตาซงึ่ เปน็ ไตรลกั ษณ์และเปน็ ทางเดนิ เพอื่ พระนพิ พานได้
อย่างไร

ปดิ ประชุมเวลา ๒๐.๑๐ น.

๘๙

๙๐

การอธบิ ายธรรม

วนั จันทร์ วันท่ี ๑๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.๑๙๗๔)

เริ่มเวลา ๑๘.๑๕ น.
ท่านอาจารย์ “ขณะจติ สงบมันก็อยากหลับเหมือนกัน ชอบกล คือ
ขณะจิตสงบมนั สบาย จติ ไม่สงบไม่สบาย คดิ โน้นคิดนี้ ไม่มีความสบายก็
ไมอ่ ยากหลับ พอจติ เริม่ สงบเขา้ สงบเข้า กอ็ ยากหลับ คือจะไดค้ วามสขุ
เพ่ิมข้ึน เมอื่ ตะกน้ี ี้นั่งท�ำ ความสงบมันรสู้ กึ อยากหลบั เหมอื นกนั เป็นเพยี ง
เราไม่ใหม้ นั หลบั เพราะการหลับเปน็ การพักจติ ดว้ ย พกั รา่ งกายด้วย
เวลาเรานง่ั ฟงั เทศน์ขณะทา่ นเทศนฟ์ งั มนั เพลนิ ในธรรมแลว้ จติ จดจอ่
ในค�ำ เทศนม์ อี ารมณ์อนั เดียว จิตคอ่ ยสงบตัวลงไป ตอนนนั้ ชักง่วงๆ จะ
เคลิม้ หลับไปก็มี บางคนกต็ ำ�หนติ นเองวา่ “เอ นเ่ี วลาอยลู่ �ำ พงั คนเดยี ว
หรือพดู คุยกบั เพือ่ นฝูง ไม่เห็นมนั อยากหลบั อยากนอน เวลามาฟงั เทศน์
ทำ�ไมถงึ อยากหลบั อยากนอน นัง่ สปั หงกงกงัน มนั มารมาจากไหนกนั น”ี่
กจ็ ะมารอะไร จติ ไม่เคยไดร้ ับความสขุ ความสบาย พอได้รับกระแส
ของธรรมกล่อมใหม้ คี วามสขุ สงบสบายมันกอ็ ยากหลบั เท่านั้น จะมีมาร
มาจากไหน ความจริงเจา้ ของเป็นมารก่อกวนเจา้ ของเองทงั้ วันท้งั คนื ไม่
ได้รบั ความสะดวกสบาย จนกระท่งั จิตหลับไม่ได้เพราะไมส่ งบ เราไม่
ทราบ เหตนุ พี้ อฟังธรรมในขณะท่ีทา่ นแสดง จติ มคี วามสงบในขณะนน้ั
จงึ อยากหลับ เราก็ว่ามันเปน็ มาร ความจริงมันไม่ใชม่ าร พอสบายเข้าก็
อยากหลบั กันทกุ คน น่หี มายถงึ ผลขัน้ ที่จิตพอให้สบายๆ แลว้ อยากหลบั

๙๑

หมายถึงข้นั เรมิ่ แรกที่ได้รับการอบรม
ถา้ จติ มหี ลักฐานแห่งความสงบ แล้วมีงานท�ำ ในขณะท่ฟี ังเทศนต์ าม
ฐานะหรอื ตามชั้นภมู ขิ องจติ แล้วจะไมง่ ่วง ถ้าทำ�สมาธิก็จะเพลนิ ไปทาง
สมาธิ ข้นั ของปญั ญากจ็ ะเพลินไปตาม เวลาท่านเทศนใ์ จเราจะคลอ้ ยไป
ตาม ทำ�ให้เพลดิ เพลินกับอารมณแ์ หง่ ธรรม เหมือนกับท่านช่วยบุกเบกิ ให้
เรากก็ า้ วตามหลังไปเรอื่ ยๆ นีห่ มายถึงขัน้ วิปสั สนา ได้แก่ การไตร่ตรอง
จติ กเ็ พลนิ ไปตาม อย่างน้ันกไ็ ม่มีความโงกง่วง นก่ี ล่าวถึงความโงกงว่ งใน
เวลาเร่มิ แรกปฏบิ ัติ คือจติ ของเราไมอ่ ยากลงสูค่ วามสงบ พอจติ เรมิ่ สงบ
จงึ เปน็ เหตใุ หอ้ ยากหลับอยากนอน เพราะเป็นความสบาย
การทดสอบหรือการพสิ ูจน์เร่ืองศาสนา เฉพาะอยา่ งยงิ่ เร่ืองพทุ ธศาสนา
ซึง่ เปน็ คำ�สงั่ สอนของพระพุทธเจา้ ควรจะทดสอบกับใจของตนเอง ท่านสอน
อย่างไรแล้วให้นำ�วิธีของท่านไปปฏิบัติหรือน้อมวิธีท่ีท่านสอนนั้นเข้ามา
ปฏิบตั สิ �ำ หรับใจเราเอง คอื ปฏบิ ัตติ ่อใจเราเอง ถ้าใจเราดำ�เนนิ ไปตาม
แนวทางทท่ี า่ นส่ังสอนไว้นน้ั ผลจะปรากฏเป็นอยา่ งไรเราจะทราบเอง
เปน็ ลำ�ดับ นเ่ี ป็นการพิสูจนเ์ รือ่ งศาสนธรรมกบั ใจเราเองว่า อันใดจะ
เป็นของดขี องจรงิ อนั ใดจะเปน็ ของปลอม เราจะทราบไดโ้ ดยลำ�ดบั
โดยถอื หลกั คำ�ส่งั สอนเปน็ เคร่ืองพสิ จู น์เพอ่ื ทราบของจรงิ และของปลอม
ทีม่ อี ย่ใู นใจเราเอง ไม่ได้มอี ยู่ทอี่ น่ื นอกจากใจเท่านัน้
สว่ นมากเราไม่ทราบวา่ เปน็ ของปลอม ปลอมมาตัง้ แต่ไหนแตไ่ รเรา
ไม่ทราบได้ ขณะท่ีเราไม่ทราบนั้นเราเข้าใจวา่ เราดี เราเขา้ ใจว่าเราฉลาด
ฉลาดกว่าคำ�สอนใดๆ ฉลาดกว่าศาสนา ฉลาดกวา่ พระพทุ ธเจา้ ฉลาด
กว่าศาสดาองคใ์ ดๆ ทน่ี ำ�ศาสนามาสอนโลก นเ่ี ป็นความสำ�คัญตนทั้งๆ ท่ี

๙๒

เวลานั้นก�ำ ลังโง่เตม็ ที่ เรากำ�ลงั โงเ่ ตม็ ท่ีจึงทำ�ให้สำ�คญั ตนวา่ ฉลาดเตม็ ภูมิ
เม่อื เราไดน้ ำ�หลกั ศาสนาเข้ามาประพฤติปฏิบตั ิ เป็นการทดสอบดวู า่ อันใด
จะจรงิ เพยี งใด ปลอมแคไ่ หน นัน่ เราจะทราบไดต้ ามหลักธรรมทที่ า่ นสอนไว้
เบ้ืองตน้ เรายังไมส่ ามารถกเ็ อาเพียงย่อๆ กอ่ น หรือเอาวธิ ีสั้นๆ
ง่ายๆ ดงั ทที่ า่ นสอนให้ภาวนา ก�ำ หนดอยา่ งไรทเ่ี รียกว่า “ภาวนา”
ตามหลักที่ศาสนาท่านสอนไว้ มอี ุบายวิธตี ่างๆ กนั ตามความถนัดของ
ผจู้ ะปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ับความสงบเยน็ ใจอนั เป็นผลข้ึนมาจากการปฏบิ ัติ
เชน่ กำ�หนดอานาปานสติ ก�ำ หนดลมหายใจเขา้ ออก ให้มคี วามรสู้ ึก
ลมที่สัมผสั เข้าออกโดยสมำ่�เสมอ ไม่พลัง้ เผลอสติ ไม่ปล่อยจติ ให้สง่ ไป
ทอ่ี น่ื ท�ำ ความเข้าใจทำ�ความรู้อยู่กับลมเท่าน้ัน นเี่ ปน็ วิธีหน่ึงทจี่ ะทราบ
เรอ่ื งความจรงิ ความปลอมของใจตนเอง เม่ือใจสงบเข้ามาก็จะเหน็ ความ
ปลอมของใจตนด้วย จะเหน็ ความจริงของตนด้วยในขณะเดยี วกนั เห็นโทษ
ทั้งความฟงุ้ ซ่านของใจทกี่ อ่ กวนตนเองใหไ้ ดร้ บั ทุกข์ดว้ ย เห็นคุณของความ
สงบเยน็ ใจ อันเป็นความสขุ แกต่ นในขณะทใี่ จสงบด้วย นเ่ี ป็นอนั วา่ เหน็
ทง้ั โทษทั้งคณุ ไปในขณะเดียวกนั ส�ำ หรับผทู้ ต่ี ั้งใจปฏิบัติจรงิ ๆ ตอ้ งเหน็
อย่างน้ี เพราะหลักพุทธศาสนาเปน็ เคร่ืองรับรองเหตวุ ่าถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำ
และผลเปน็ ทีพ่ งึ ใจมาแลว้ แตพ่ ระพุทธเจา้ พระองคแ์ รก
น่ีเปน็ วิธีหนงึ่ เพียงวธิ ีหนึ่งในบรรดาวิธีท้ังหลายทีจ่ ะทดสอบดูเร่อื ง
ของจติ ให้เหน็ ผลข้ึนมาโดยลำ�ดบั จากการปฏิบตั ิ เชน่ ให้มสี ติ ใหม้ ี
สัมปชญั ญะ ทำ�ความรูส้ ึกตวั อยู่เสมอ นก้ี ็คือการระมดั ระวังจิตให้ร้อู ยใู่ น
วงท่ีกำ�หนดไว้ ให้มีขอบเขตเปน็ ทร่ี ู้ ไมใ่ ห้รแู้ บบเตลิดเปิดเปงิ ท่ีไม่มีเขต
มแี ดน ตามความรสู้ ึกทง้ั หลายทีเ่ ป็นไปอยู่ท่ัวโลก ความร้คู วามเหน็

๙๓

ชนิดน้ันไม่เป็นความรู้ความเห็นท่ีเข้าสู่ระดับที่จะทำ�ให้เกิดความสุข
ความสบายให้เหน็ เหตุเหน็ ผลได้ ท่านจึงต้องมีวงจ�ำ กัดในการปฏิบัติต่อ
จิตใจ โดยถอื หลักธรรมคือหลักศาสนาเปน็ เสน้ ทางเดินของจติ หรือเปน็
เสน้ ทางเดินเพื่อจิตใจจะได้ดำ�เนินตามวถิ นี น้ั ๆ ซ่งึ หลกั ศาสนาสอนไว้ อัน
เป็นทางถูกโดยฝา่ ยเดียวไม่เปน็ อื่น
ถา้ ก�ำ หนดค�ำ บริกรรมคำ�ใดคำ�หนึง่ กใ็ หม้ คี วามรสู้ ึกอยูก่ ับคำ�บรกิ รรม
น้นั ๆ หากจะเผลอคิดในแง่ตา่ งๆ ก็ให้ทำ�ความเข้าใจหรอื หาอุบายวธิ ฝี ึก
ดว้ ยวธิ ตี ่างๆ เช่น บริกรรมใหถ้ เี่ ขา้ ไป อบุ ายใดกต็ าม วธิ ีใดกต็ ามทจี่ ะ
ทำ�ใหใ้ จของเราใหไ้ ดร้ ับผลคือความสงบเยน็ ใจ ใหไ้ ด้เกดิ อุบายตา่ งๆ ข้ึน
มาภายในใจ นจ้ี ดั วา่ เป็นวธิ ที ถ่ี กู ตอ้ งในการฝึกฝนอบรมตนเอง
ถา้ จิตไดส้ งบลงไปมากน้อย ความกงั วลวนุ่ วาย กาลสถานท่ีไมเ่ ขา้ มา
เกยี่ วขอ้ ง มีแตค่ วามรูอ้ ยู่อนั เดียว เพียงเทา่ นน้ั ก็เปน็ สขุ น่งั นานหรอื ไม่
นานไมม่ ีอะไรมารบกวน น่งั อย่ใู นทเ่ี ช่นไร น่งั เป็นเวลานานเท่าใด ไมม่ ี
อะไรมาเก่ยี วขอ้ ง ถ้าจติ ไม่ย่งุ ออกไปเกย่ี วกับสิ่งเหล่านี้ มีธรรมเป็น
อารมณข์ องใจ มีความสงบอยู่โดยล�ำ พัง รตู้ วั อยเู่ ฉพาะหนา้ นี้เรียกว่า
ความรู้ในการภาวนา หรือความรใู้ นการรักษาจติ มีขอบเขตเป็นท่ีรูท้ ่ีเหน็
น่ีคือวธิ ดี ำ�เนินเบ้ืองต้น
จะปฏิบตั ิไปนานเพียงใดก็ตาม วิธีที่เราเคยด�ำ เนนิ ทเ่ี ราเคยปฏิบัติมา
ไม่ควรลดละปล่อยวาง ควรยดึ หลกั นนั้ ไว้ เช่น เราเคยก�ำ หนดอานาปานสติ
เราก็ยดึ ลมนัน้ แหละเปน็ หลกั ขณะเริ่มต้น แตค่ วามช�ำ นาญของจิตทเี่ คย
ท�ำ ไปอยู่โดยสม�่ำ เสมอและจติ สงบบ่อยๆ จะมคี วามรู้เร็วต่างกนั มาก เพียง
ขณะเดียวเท่านน้ั ก็ผ่านไป ผ่านไป ละเอยี ดหายเงยี บไปเลย ไมท่ ราบ

๙๔

ลมไปไหน นน่ั หมายถึงความคล่องแคลว่ ของจิต เหมอื นอย่างเราเขยี น
หนงั สือ เขียนเป็นภาษาไทยก็เขียน “ท่าน” อย่างนี้ ผู้ฝกึ หดั เขียนจะตอ้ ง
ระลึกถึงตวั หน่ึง แลว้ อีกตวั หนึง่ ๆ จนกว่าจะครบ ถา้ ฝกึ ไปนานๆ แล้ว
“ท่าน” ผดุ ข้ึนมาพร้อมกนั ไปหมดทั้งสระพยญั ชนะ ความชำ�นาญของ
จิตจะเปน็ สมาธกิ ็ตาม จะเปน็ ปัญญาก็ตาม กม็ ลี ักษณะนน้ั ดงั ทที่ า่ นวา่
“ฌาน ฌานส่ี ปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน” ที่เรยี กวา่
รูปฌาน และยงั มี อรปู ฌาน อกี ๔ รวมกันเป็น “สมาบตั ิ ๘“ และ
สัญญาเวทยิตนิโรธ ซ่ึงดบั สัญญาและเวทนา แต่สมาบัตนิ ้เี ปน็ ธรรมปลีก
ยอ่ ย หรอื เกี่ยวขอ้ งกบั นสิ ยั วาสนาของผู้จะควรเปน็ ไปก็เป็นไปเอง ไม่ใช่
ธรรมจำ�เป็นในมรรคในผลที่จะถอดถอนกิเลสถึงชั้นภูมิแห่งความบริสุทธ์ิ
ของใจ เช่นพระอรหนั ต์ เป็นตน้
แตจ่ ะอยา่ งไรก็ตาม ถา้ ผู้ช�ำ นาญในฌาน ก็เป็นลกั ษณะเชน่ เดยี วกบั
ผูช้ ำ�นาญในการเขยี นหนงั สอื นนั่ เอง อย่างปฐมฌาน ทุตยิ ฌาน เป็นต้น
วิง่ ถึงกนั หมดเพราะความรวดเร็วของจิต อาการของจติ เทา่ นน้ั ที่จะเปล่ยี น
แปลงไปโดยล�ำ ดบั ๆ ไมใ่ ช่จะก้าวขึ้นไปเหมือนเราก้าวขน้ึ บันได จากข้นั นี้
กา้ วขึ้นขน้ั นนั้ ก้าวจากขั้นน้นั ถึงขัน้ โน้น แม้การข้นึ บันได ถึงจะช�ำ นาญ
เทา่ ใดกต็ ้องก้าวไปทีละข้นั ๆ มิไดโ้ ดดข้ามขน้ั ไป ความชำ�นาญของจติ
เพยี งขณะเดียวเท่านั้นกถ็ งึ จดุ หมายรวดเร็วทีส่ ดุ ไมม่ อี ะไรทจ่ี ะรวดเร็ว
ยิ่งกว่าใจ ใจน้รี วดเรว็ ทส่ี ดุ ยง่ิ มคี วามช�ำ นาญในหนา้ ที่ของตนดว้ ยแล้วก็
ย่ิงรวดเร็วมาก ผดิ คาดผิดหมายสำ�หรับผู้ที่ยังไมเ่ คยเหน็ อำ�นาจของจติ ท่ี
เคยชินต่อการรกู้ ารเหน็ ต่างๆ ทางดา้ นธรรมปฏิบัติ
สมาธิก็เหมือนกนั นงั่ อยู่เฉยๆ เราไมจ่ �ำ เป็นต้องหาค�ำ บริกรรมใด
มาก�ำ หนดมาเป็นเคร่ืองบงั คบั ผกู มัดจิตใจให้เขา้ สู่ความสงบ เมอื่ ใจเคยมี

๙๕

ความสงบด้วยความช�ำ นชิ ำ�นาญของตนอยู่แล้ว เพียงกำ�หนดจติ ดว้ ยสติ
เทา่ นน้ั ก็สงบลงไปเลยทเี ดียว ชวั่ ขณะครงึ่ วนิ าทเี ท่านั้นกส็ งบลงถึงฐาน
อย่างราบคาบ ไมม่ ีอะไรขดั ขอ้ ง ลงถึงฐานของสมาธิแล้ว นหี่ มายถึง
ผูม้ คี วามช�ำ นาญในสมาธิ เพยี งก�ำ หนดขณะเดียวกันเทา่ น้นั ก็ทะลไุ ปเลย
เหมือนกบั เราเขยี นหนังสือว่า “ท่าน” อยา่ งน้ี มาพร้อมกนั อา่ นไดค้ วามที
เดียว ไมต่ ้องมัวไปนึกหาสระพยัญชนะนน้ั ให้เสยี เวลาเหมือนขั้นเร่มิ แรก

พดู ถงึ สมาธิเปน็ ข้ันๆ เม่อื มีความชำ�นาญแล้วเป็นอย่างนี้ แต่กรณุ า
อย่าไปยึดวา่ ช�ำ นาญหรือไมช่ �ำ นาญ มนั เปน็ ความคาดหมายท่อี อกไปจาก
ตัว แลว้ กลับมาหลอกตัวเองใหเ้ สยี เวลา จะไมป่ รากฏผลเทา่ ท่คี วร จะ
ช�ำ นาญหรอื ไมช่ ำ�นาญกต็ าม ให้เราฝกึ อย่ใู นธรรมทเ่ี คยฝกึ อย่ใู นหนา้ ท่ีท่ี
เคยทำ� นเ่ี ปน็ หลกั ส�ำ คญั เหมอื นเราเขยี นหนงั สือ เขยี นอยนู่ ้นั แหละจน
ช�ำ นาญ ไมต่ ้องไปคาดตัวนัน้ ตัวนี้ ตอ่ ไปมันกช็ ำ�นาญเอง วธิ ีการฝึกใจก็
เป็นเช่นนน้ั จะเกดิ ความชำ�นาญขนึ้ ในตวั ของเราเอง

“ปัญญา” ปัญญาคอื ความแบคายของจติ ความคดิ ปรุง ความไตร่
ตรองในเหตผุ ล ในแงอ่ รรถแงธ่ รรมตา่ งๆ ท่านเรยี กวา่ “ปญั ญา”
คอื การสอดส่อง การไตร่ตรอง พจิ ารณาเร่อื งธาตุ เร่ืองขนั ธ์ ความ
แปรสภาพทงั้ ภายนอกภายในเปน็ ไปอยู่ทัง้ วนั ทง้ั คนื เปน็ ไปอยูท่ ุกแหง่ หน
ถ้าผูม้ สี ติปัญญากำ�หนดไปทีไ่ หนจะเป็นธรรมท้ังนั้น สิ่งเหล่าน้นั เป็นเสมือน
หนิ ลับปญั ญาอยโู่ ดยสมำ่�เสมอ ไม่ว่ากลางวันกลางคนื ยืน เดนิ นง่ั นอน
จะเห็นสภาพทั้งหลายเหล่านี้แสดงอาการให้เราทราบทางปัญญาอยู่ทุก
ระยะ เปน็ หนิ ลบั ของปัญญาอยตู่ ลอดเวลา ธรรมจงึ มอี ยทู่ วั่ ไป ไม่ใช่จะ
มอี ยูแ่ ต่เฉพาะตวั ของเรา ไม่ใชจ่ ะมอี ยเู่ ฉพาะเวลานัง่ ภาวนา เฉพาะเวลา
เดินจงกรม มอี ยทู่ ุกเวลาถา้ จะท�ำ ใหม้ ี และมอี ยทู่ ุกอริ ยิ าบถ เรื่องความ

๙๖

ช�ำ นิช�ำ นาญของสมาธกิ ด็ ี ของสตปิ ัญญากด็ ี ยอ่ มเป็นในทำ�นองเดยี วกนั
ดังทก่ี ลา่ วแลว้ แตจ่ ะไมอ่ ธิบายมาก เพราะจะฟั่นเฝอื มากไป เรื่องปัญญา
น้กี ว้างขวางมาก พิสดารมาก ถา้ จะให้เหมาะจรงิ ๆ ก็ควรอธิบายให้ฟัง
เฉพาะผู้ที่มีความจำ�เป็นในปัญญาขั้นนั้นๆ นั่นแหละเป็นเหมาะที่สุด
นอกจากน้ันก็อธิบายพอเป็นบาทหรือเป็นแนวทางให้ผู้ท่ีเริ่มฝึกหัดได้พินิจ
พิจารณาตาม ดังทอี่ ธิบายผา่ นมาแล้วเมอ่ื ก้นี ้ี
จิตเปน็ สิง่ ทีฝ่ กึ หดั ได้ อาการของจิตเปน็ สงิ่ ทีเ่ ปล่ยี นแปลงไปไดโ้ ดย
ล�ำ ดบั เปลีย่ นแปลงจากความหยาบเขา้ สู่ความละเอียดได้ แล้วเปล่ียน
แปลงจากความละเอียดลงสคู่ วามหยาบกไ็ ด้ ตามแต่เราผู้เปน็ เจ้าของจะ
พาด�ำ เนินไปในทางใด เชน่ เรามาอบรมศลี ธรรม ฝกึ หัดสมาธิภาวนาเวลา
น้ี เปน็ การฝึกหัดจิตอบรมใจของเราให้ขนึ้ สู่ระดบั สงู ถา้ พดู ถึงกระแสจิตก็
คดิ ในแงเ่ หตุแง่ผล แงด่ แี ง่ร้ายทั้งหลาย อันเป็นทางที่จะทำ�ใหเ้ ราบ�ำ เพ็ญ
ให้มขี น้ึ และเปน็ สงิ่ ที่เราจะถอดถอนออกจากตวั ของเรา คอื มที ัง้ ส่วนที่
ควรละที่เหน็ ว่าไมด่ ี มีท้งั สว่ นทคี่ วรบำ�เพญ็ ทเี่ ห็นว่าถกู แล้วใหย้ ิง่ ๆ ขนึ้ ไป
เรียกว่าเปน็ การบำ�เพ็ญหรอื อบรมจติ ใหม้ รี ะดับความรคู้ วามเห็น มเี หตมุ ี
ผลสูงขึน้ ไปเปน็ ล�ำ ดับ ถา้ จติ เส่ือมกเ็ ปล่ียนความรูค้ วามเห็นลงเร่อื ยๆ ถ้า
จติ ถงึ ความบริสุทธิห์ มดจดเต็มทแ่ี ล้ว ความเสือ่ มกไ็ มป่ รากฏ ความเจริญ
ก็ไม่ปรากฏ เพราะอาการที่ทำ�ให้เกิดความเสื่อมหรือความเจริญนั้นได้
หมดส้นิ ไปจากใจแลว้ เหลือแตค่ วามบรสิ ทุ ธิล์ ้วนๆ ใจเปน็ ธรรม ธรรม
เปน็ ใจ ใจกับธรรมเป็นอนั เดยี วกันแล้ว ไมม่ คี วามเปลยี่ นแปลงอีกต่อไป
เป็นผู้สนิ้ สดุ ในการประพฤติพรตพรหมจรรยเ์ พอ่ื ธรรมชั้นสงู และเสรจ็ กิจ
ในการละกิเลสทุกประเภท
เมื่อเสรจ็ กจิ ในการละ และในการบำ�เพ็ญท้ังสองประเภทนน้ั แล้ว

๙๗

จะละอะไรอีก กไ็ มม่ ีอันละน่ี เพราะได้ละหมดแล้ว จะทำ�อะไรใหเ้ จรญิ
ยิ่งกว่านนั้ ก็ท�ำ ไม่ได้ เพราะไดเ้ จริญขน้ึ ถึงทีส่ ดุ แล้ว จะเสื่อมลงไปกม็ ิใช่
ฐานะจะเปน็ ได้ เพราะเป็น ”อกปุ ปธรรม” แล้ว ไมม่ ที างก�ำ เริบ กิจ
ท่คี วรทำ� ไดแ้ กก่ ารละและการบ�ำ เพ็ญ ได้ทำ�ให้สมบูรณเ์ ตม็ ทีแ่ ล้ว จิต
ประเภทนีไ้ มม่ ีสมมุตเิ ขา้ เคลอื บแฝง ไม่มกี าล ไม่มสี ถานท่ี ไม่มีอดตี
อนาคต เกยี่ วโยงปัจจุบัน เชน่ บดั นเ้ี ปน็ อย่างน้ี ต่อไปจะเป็นอย่างไรอีก
อย่างนี้ไม่มี ชาตินี้เป็นอยา่ งน้ี ชาตหิ น้าจะเปน็ อยา่ งนัน้ ไม่มี เพราะอดตี
อนาคตรวมเข้าสคู่ วามเปน็ ปัจจบุ ันอันเดยี ว มาบริสุทธิอ์ ยู่ทใ่ี จอนั เดยี ว
นีแ้ ล อดตี อนาคตท่ีเคยเก่ียวข้องอยูก่ ับใจจงึ ไมม่ คี วามหมายอันใดทัง้ ส้นิ
เพราะใจปราศจากความหมายที่จะทำ�ให้ลุ่มหลงโดยประการทั้งปวงแล้ว
จะเรยี กวา่ สุดจิต สดุ วิถที างเดินของใจกไ็ ม่ผิด

ท่ีกล่าวมาทงั้ นี้ กล่าวด้วยหลักปฏิบตั ิอนั เปน็ ผลของการปฏิบตั ธิ รรม
มหี ลกั ตามพระพทุ ธศาสนาเปน็ ทางเดินอันถกู ต้องตายตัว เปน็ ทแ่ี น่ใจได้
สำ�หรบั ชาวพุทธท้ังหลาย ไม่มที างสงสัยว่าธรรมของพระพุทธเจา้ นมี้ แี ง่
ใดบ้างที่จะท�ำ โลกใหล้ ม่ จม จะท�ำ เราใหผ้ ดิ หวงั ให้เชื่อไม่ได้ มตี รงไหน
บ้างในบรรดาธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ ไม่มี จงึ หมดปัญหาส�ำ หรบั ผู้
จะปฏบิ ตั ดิ �ำ เนนิ ตาม

มีแตว่ า่ เราจะพึงประพฤติปฏบิ ัติตนอย่างไรบา้ ง ใหเ้ ป็นไปตามหลกั
ธรรมของพระพทุ ธเจา้ ที่เรียกวา่ “สวากขาตธรรม” คอื ตรสั ไวช้ อบ
แล้ว เปน็ นิยยานิกธรรม น�ำ ผูป้ ฏบิ ัตถิ ูกตอ้ งแมน่ ยำ�นใ้ี ห้พน้ จากอปุ สรรค
ความกีดขวางภายในจิตไปโดยลำ�ดับ จนทะลปุ รโุ ปร่งถึงวิมตุ ตหิ ลุดพ้น
โดยส้ินเชิง ไม่มีสิ่งใดเหลือหลออยูภ่ ายในใจ อนั เป็นผลสุดยอดจากการ
ปฏบิ ัติธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เมื่อถงึ ขั้นนี้แล้ว ใจกับศาสนาก็เปน็ อนั

๙๘


Click to View FlipBook Version