แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ฟิสิกส์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) จัดท าโดย พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด ต าแหน่ง ครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ แผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2 ม. 5
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว32204 ฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง การได้ยินเสียง ความเข้มเสียง คุณภาพเสียง มลพิษทางเสียง คลื่นนิ่งของเสียง การสั่นพ้องของ เสียง การเกิดบีต ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง ธรรมชาติของไฟฟ้าสถิต การเหนี่ยวนำ ไฟฟ้าสถิต กฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์ ความจุและพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ การต่อตัวเก็บประจุ กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ กฎของโอห์ม สภาพต้านทาน การต่อตัวต้านทาน อีเอ็มเอฟ ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า การต่อแบตเตอรี่ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า กระแสตรง การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยีด้านพลังงาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ คลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. ทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้งสังเกตและ อธิบายการเกิดบีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4. ทดลอง และอธิบายการทำวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการ เหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต
5. อธิบาย และคำนวณแรงไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์ 6. อธิบาย และคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ใน สนามไฟฟ้า รวมทั้งหาสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร์ 7. อธิบาย และคำนวณพลังงานศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า และ ความต่างศักย์ระหว่างสองตำแหน่งใด ๆ 8. อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธ์ระหว่างประจุไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความจุ ของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง 9. นำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ใน ชีวิตประจำวัน 10. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในลวด ตัวนำและพื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 11. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว พื้นที่หน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อธิบายและคำนวณความต้านทานสมมูลเมื่อนำตัวต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน 12. ทดลอง อธิบาย และคำนวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งอธิบายและ คำนวณพลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้า 13. ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้ง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งประกอบด้วยแบตเตอรี่และตัวต้านทาน 14. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงาน โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความ คุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย รวม 14 ผลการเรียนรู้
ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ วิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ลำดับที่ ผลการเรียนรู้ ปรากฎใน แผนการเรียนรู้ 1 อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจัดของ อนุภาคกับคลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับ อุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1,2,8 2 อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และ มลพิษทางเสียงรวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3,8 3 ทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้ง สังเกตและอธิบายการเกิดบีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของ เสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4,5,6,7,8 4 ทดลอง และอธิบายการทำวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกัน และการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต 9,10,11,12,23,24 5 อธิบาย และคำนวณแรงไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์ 13,14,23,24 6 อธิบาย และคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ ในสนามไฟฟ้า รวมทั้งหาสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบ เวกเตอร์ 15,16,23,24 7 อธิบาย และคำนวณพลังงานศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า และ ความต่างศักย์ระหว่างสอง ตำแหน่งใด ๆ 17,18,23,24 8 อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธ์ระหว่างประจุไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความจุของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 19,20,23,24 9 นำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และ ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน 21,22,23,24
ลำดับที่ ผลการเรียนรู้ ปรากฎใน แผนการเรียนรู้ 10 อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์ ระหว่างกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในลวดตัวนำและพื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ และ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 25,26 11 ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความ ยาวพื้นที่หน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณ ปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อธิบายและคำนวณความต้านทานสมมูลเมื่อนำตัว ต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน 27,28,29,30 12 ทดลอง อธิบาย และคำนวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้ง อธิบายและคำนวณพลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้า 31,34,35 13 ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งประกอบด้วย แบตเตอรี่และตัวต้านทาน 32,33 14 อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปราย เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงาน โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย 36,37,38,339,40
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม วิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ลำดับ ที่ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (Key Concept) หน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 1 - 3 • ธรรมชาติของเสียง • การได้ยินเสียง • ปรากฎการณ์เกี่ยวกับเสียง • การประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องเสียง เสียง 16 10 2 4 - 9 • ประจุไฟฟ้าและกฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า • การเหนี่ยวนำไฟฟ้า • แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ • สนามไฟฟ้า • ศักย์ไฟฟ้า • ตัวเก็บประจุและความจุ • การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ ไฟฟ้าสถิต 32 20 ประเมินผล (สอบกลางภาคเรียน) 20 3 10 -14 • กระแสไฟฟ้า • ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความ ต่างศักย์ • ตัวต้านทานไฟฟ้า • สภาพต้านทานไฟฟ้าและสภาพนำไฟฟ้า • พลังงานในวงจรไฟฟ้า • เครื่องวัดไฟฟ้า • การคำนวณหาพลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน • การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย • ไฟฟ้าในจากพลังงานทดแทน ไฟฟ้ากระแส 32 30 ประเมินผล (สอบปลายภาคเรียน) 20 รวม 80 100
โครงสร้างการจัดเวลาเรียน วิชา ฟิสิกส์รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ เวลาเรียน(ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 พฤติกรรมของเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง ระดับเสียง คุณภาพสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 คลื่นนิ่ง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การสั่นพ้องของสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 บีตส์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องเสียง 16 2 2 2 2 2 2 2 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไฟฟ้าสถิต แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ประจุไฟฟ้าและกฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ประจุไฟฟ้าและกฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การเหนี่ยวนำไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 การเหนี่ยวนำไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 สนามไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 สนามไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 ศักย์ไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 ศักย์ไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 ตัวเก็บประจุไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 ตัวเก็บประจุไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 Project ไฟฟ้าสถิต 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 Project ไฟฟ้าสถิต 2 32 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ เวลาเรียน(ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ไฟฟ้ากระแส แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25 กระแสไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26 กระแสไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29 ตัวต้านทานไฟฟ้า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30 สภาพต้านทานไฟฟ้าและการนำไฟฟ้า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31 พลังงานในวงจรไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32 พลังงานในวงจรไฟฟ้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33 เครื่องวัดไฟฟ้า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34 การคำนวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35 การคำนวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36 การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37 ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38 ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 39 เรื่อง Project ไฟฟ้ากระแส 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40 เรื่อง Project ไฟฟ้ากระแส 2 32 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 รวม 80
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ธรรมชาติของเสียง จำนวน 2 คาบ/ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจัดของอนุภาค กับคลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระดับการคิด / พฤติกรรม 4.วิเคราะห์ สาระสำคัญ เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ โดยเสียงสามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็งของเหลว และแก๊สได้ด้วยอัตราเร็วต่าง ๆ กัน แต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศได้และเสียงประกอบด้วยสมบัติ ต่าง ๆ ได้แก่การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด ซึ่งสมบัติทั้งสี่นี้พบเห็นได้จากเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลักการเกิดเสียงและความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศกับอุณหภูมิในหน่วย องศาเซลเซียสได้ (K) 2. คำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเสียงได้ (P) 3. มีความใฝ่เรียนรู้และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่ม (A)
สาระการเรียนรู้/เนื้อหาสาระ อัตราเร็วของเสียง อัตราเร็วของเสียง คือ ระยะทางที่เสียงเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยที่ความเร็วของ เสียงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่าง ดังต่อไปนี้ 1. ความเร็วของเสียงขึ้นอยู่กับชนิดของตัวกลาง เมื่อเสียงเคลื่อนที่ในตัวกลางที่เป็นของ แข็ง ของเหลวและอากาศ พบว่าความเร็วของเสียงใน ของแข็ง > ของเหลว > อากาศ เนื่องจากเสียงเป็นคลื่น จะได้ว่า = = s v f t ………(1) โดยที่ v คือ ความเร็วของเสียง ( / ) m s s คือ ระยะทาง ( ) m t คือ เวลา ( )t f คือ ความถี่ของเสียง ( ) Hz คือ ความยาวคลื่น ( ) m 2. ความเร็วของเสียงในอากาศจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ จากการทดลองพบว่าอัตราเร็วของ เสียงในอากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของอากาศโดยประมาณ ตามสมการ ............(2) เมื่อ t คืออุณหภูมิของอากาศ ในหน่วยองศาเซลเซียส ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร : อธิบายหลักการเกิดเสียงและความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว ของเสียงในอากาศกับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส ความสามารถในการคิด : วางแผนและออกแบบการศึกษาธรรมชาติของเสียง ความสามารถในการแก้ปัญหา : สามารถแก้ไขที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกิจกรรมได้ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : เชื่อมโยงเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล ด้านจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน 1. ด้านความสามารถและทักษะ ตามระดับชั้น ชั้น ม.1-3 : แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามวัย ชั้น ม.4-6 : แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 2. ด้านคุณลักษณะตามช่วงวัย ม.1-3 : เน้นอยู่อย่างพอเพียง ม.4-6 : เน้นมุ่งมั่นในการศึกษาและการทำงาน บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : ใช้กระบวนการกลุ่ม/ กระบวนการปฏิบัติที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการเรียนรู้และวัยของผู้เรียน 2. หลักความมีเหตุผล : ผู้เรียนเกิดกระบวนการทำงานกลุ่ม/ กระบวนการปฏิบัติส่งเสริมการคิด วิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : วางแผนอย่างรอบคอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ เต็มตาม ศักยภาพของตนเอง 4. เงื่อนไขความรู้ : รอบรู้ เรื่องหลักสูตร เนื้อหาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ นักเรียน โดยใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลายตรงตามสภาพจริง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : ใช้หลักความยุติธรรม ความรับผิดชอบ การมีวินัยในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ จากนั้นครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนของ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เสียง เป็นข้อสอบแบบปรนัยจำนวน 10 ข้อ เพื่อวิเคราะห์พื้นฐานความรู้ของนักเรียน เป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่กิจกรรม 2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนเอามือจับที่ลำคอขณะที่เปล่งเสียงหรือพูด และให้ นักเรียนสังเกตการสั่นของลำคอ แล้วร่วมกันอภิปรายผลการสังเกตของนักเรียน 3. ครูใช้คำถามท้ายทายความคิดของนักเรียนว่า “ถ้านักเรียนตะโกนเรียกเพื่อนในห้องสุญญากาศ เพื่อนของนักเรียนจะได้ยินเสียงหรือไม่อย่างไร” (ไม่ได้ยิน เพราะคลื่นเกิดจากการที่แหล่งกำเนิดถูกรบกวนและส่งพลังงานของอนุภาคตัวกลางจาก บริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง ในห้องสุญญากาศไม่มีตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงานเสียง จึงทำให้เพื่อนที่ อยู่ข้างในไม่สามารถได้ยินเสียงเรียก ) 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 4. ใช้ระบบวงล้อสุ่ม เพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์ของ กิจกรรม ให้นักเรียนทราบเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากิจกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 4 แต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน 6. ครูแจกกระดาษฟลิปชาร์ตให้กลุ่มละ 1 แผ่นแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้ที่ศึกษาได้ โดยเขียนเป็นแผนที่ความคิด (Mind Mapping) เรื่อง อัตราเร็วของเสียง 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 7. ครูให้แต่ละกลุ่มนำแผนที่ความคิดของกลุ่มตนเองมาติดรอบห้องเรียน แล้วครูให้นักเรียนเดินชม ผลงานของเพื่อนร่วมชั้นเรียน โดยให้จัดในลักษณะของ Gallery Walk หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป ศึกษาพร้อม ๆ กัน เมื่อศึกษาข้อมูลกลุ่มใดให้ประเมินความถูกต้องของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล แล้วให้คะแนนเวียนไปจนครบทุกกลุ่ม (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอผลงาน) 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 8. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบของกลุ่มตนเองเรียบร้อยแล้ว ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม จาก เรื่อง เสียงคืออะไร ? ที่มา https://www.twig-aksorn.com/fifilm/what-is-sound-8229/
9. ครูขยายความรู้เพิ่มเติมเรื่องการคำนวณหาอัตราเร็วของเสียง โดยสาธิตการแก้โจทย์ปัญหา ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 ในห้องเรียนที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน เสียงเคลื่อนที่ในอากาศด้วยอัตราเร็วเท่าใด วิธีทำ อุณภูมิ 300 K = 300 - 273 = 27 ๐C จากสมการ v = 331 + 0.6TC v = 331 + 0.6(27) v = 347.2 m/s ดังนั้น ในห้องเรียนที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน เสียงเคลื่อนที่ในอากาศด้วยอัตราเร็ว 347.2 เมตรต่อวินาที ตัวอย่างที่ 2 ในงานสงกรานต์แมสซี่ได้พลัดหลงกับเพื่อนจึงตะโกนเรียกเพื่อนด้วยเสียงที่มีความถี่ 1,100 เฮิรตซ์จงหาว่า เสียงที่แมสซี่ตะโกนจะมีความยาวคลื่นเท่าไร เมื่อวัดอุณหภูมิอากาศบริเวณที่ตะโกนได้ 40 องศาเซลเซียส วิธีทำ คำนวณหาความเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ40 องศาเซลเซียส จากสมการ v = 331 + 0.6TC v = 331 + 0.6(40) = 355 m/s คำนวณหาความยาวคลื่นเสียง จากสมการ v = fλ λ = 335 1,100 λ = 0.323 m ดังนั้น เสียงที่แมสซี่ตะโกนจะมีความยาวคลื่น 0.323 เมตร 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 10. นักเรียนคิดว่าในชีวิตประจำวันมีเหตุการณ์ใดบ้างที่เกี่ยวกับกับอัตราเร็วเสียง หรือใช้ประโยชน์ จากเรื่องอัตราเร็วเสียง 11. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ครูได้มอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเรื่องอัตราเร็ว ของเสียงรายบุคคล สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อวัสดุ อุปกรณ์ มัลติมิเดีย 1. หนังสือเรียนรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักพิมพ์ สสวท. 2. แบบฝึกหัด เรื่อง อัตราเร็วของเสียง 1. สื่อประกอบการสอน Power Point 2. สื่อ เรื่อง เสียงคืออะไร ? ที่มา https://www.twigaksorn.com/fifilm/what-is-sound-8229/ 3. กระดาษฟลิปชาร์ต
การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายหลักการเกิด เสียงและความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราเร็วของ เสียงในอากาศกับ อุณหภูมิในหน่วยองศา เซลเซียสได้ (K) - ตรวจจากการตอบ คำถามในแบบฝึกหัด - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. คำนวณหาปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เสียงได้ (P) - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความใฝ่เรียนรู้และ ให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรมกลุ่ม (A) - การปฏิบัติกิจกรรมใน ห้องเรียน - แบบประเมินพฤติกรรม การเรียนของนักเรียน ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินการทำแบบฝึกหัด ตามเกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาของ โพลยา จะมี 4 ขั้นตอนใหญ่ ในแต่ละขั้นตอนจะมีขั้นตอนย่อยในการตรวจแบบฝึกทักษะแบบวิธีทำจึงได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังตารางข้างนี้ให้นักเรียนหรือครูผู้ตรวจดูเกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับแบบเฉลย แบบฝึกทักษะจะสามารถตรวจให้คะแนนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจเกณฑ์การให้คะแนนมากยิ่งขึ้น รายการประเมิน ระดับคะแนน 0.0 0.5 1.0 ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจ โจทย์ ไม่ตอบ หรือระบุสิ่งที่ โจทย์ให้มา และสิ่งที่ โจทย์ถาม เขียนเป็น สัญลักษณ์ไม่ถูกต้องเลย ระบุสิ่งที่โจทย์ให้มา และ สิ่งที่โจทย์ถามพร้อม เขียนเป็น สัญลักษณ์ได้ บางตัว ระบุสิ่งที่โจทย์ให้มา และ สิ่งที่โจทย์ถามพร้อม เขียนเป็น สัญลักษณ์ได้ ถูกต้องครบถ้วน ขั้นที่ 2 วางแผน การแก้ปัญหา ไม่ตอบ หรือเลือกสมการ เพื่อใช้ในการหาคำตอบ จากสิ่งที่โจทย์ให้มาไม่ ถูกต้อง เลือกสมการเพื่อใช้ใน การหาคำตอบจากสิ่งที่ โจทย์ให้มาได้ถูกต้อง แต่ ไม่ครบถ้วน เลือกสมการเพื่อใช้ใน การหาคำตอบจากสิ่งที่ โจทย์ให้มาได้ถูกต้อง และครบถ้วน ขั้นที่ 3 ปฏิบัติตามแผน ไม่ตอบ หรือไม่สามารถ แทนตัวเลขลงในตัวแปร และคิดคำนวณหา คำตอบที่เป็นสากลได้ สามารถแทนตัวเลขลงใน ตัวแปรและคิด คำนวณหาคำตอบที่เป็น สากลได้ แต่ไม่ครบถ้วน สามารถแทนตัวเลขลงใน ตัวแปรและคิด คำนวณหาคำตอบที่เป็น สากลได้ครบถ้วน ถูกต้อง ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ ไม่ตอบ หรือไม่สามารถ ตรวจทานคำตอบ ตรวจสอบ หน่วยเป็น สากลและสรุปคำตอบได้ สามารถตรวจทาน คำตอบ ตรวจสอบ แต่ ไม่สามารถ ระบุหน่วย เป็นสากล และ สรุป คำตอบได้ครบถ้วน สามารถตรวจทาน คำตอบ ตรวจสอบหน่วย เป็นสากล และสรุป คำตอบได้ครบถ้วน ถูกต้อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พฤติกรรมของเสียง จำนวน 2 คาบ/ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจัดของอนุภาค กับคลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระดับการคิด / พฤติกรรม 4.วิเคราะห์ สาระสำคัญ เสียงมีสมบัติ4 ประการ เช่นเดียวกับคลื่นทั่วไป คือ การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการ แทรกสอด โดยปรากฏการณ์ที่เป็นผลมาจากสมบัติเหล่านี้ สามารถพบได้ในชีวิตประจำเช่น การเกิดเสียงก้อง การเห็นฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินฟ้าร้อง การได้ยินเสียงเพื่อนบ้านทั้ง ๆ ที่มีกำแพงทึบกั้นอยู่และการได้ยินเสียงดังค่อย สลับกันเมื่อเดินเข้าใกล้ลำโพง เป็นต้น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายหลักการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการแทรกสอดของเสียงได้ (K) 2. ทดลองและคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ของเสียงได้ (P) 3. มีความใฝ่เรียนรู้และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่ม (A)
สาระการเรียนรู้/เนื้อหาสาระ สมบัติการสะท้อน : คลื่นเสียงตกกระทบผิวรอยต่อระหว่างตัวกลาง หรือตัวกลางชนิดเดียวกัน แต่ อุณหภูมิต่างกัน สมบัติการหักเห : คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง โดยคลื่นเสียงที่เคลื่อน ผ่านตัวกลางใหม่จะมีความถี่คงเดิม สมบัติเลี้ยวเบน : คลื่นเสียงเดินทางอ้อมสิ่งกีดขวาง โดยคลื่นจะแผ่จากขอบของสิ่งกีดขวางไปยัง ด้านหลังของสิ่งกีดขวาง สมบัติการแทรกสอด : คลื่นเสียงสองขบวนเคลื่อนที่มาซ้อนทับกัน ทำให้เกิดเสียงดัง-ค่อย สลับกันไป ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร : การอธิบายเกี่ยวกับหลักการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และ การแทรกสอดของเสียง ความสามารถในการคิด : วางแผน ออกแบบและบันทึกผลการทดลอง ความสามารถในการแก้ปัญหา : สามารถแก้ปัญหาที่เกิดจากการทำกิจกรรมได้ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : เชื่อมโยง/ยกตัวอย่างเรื่องเสียงในชีวิตประจำวันได้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : ใช้เทคโนโลยีในการทำกิจกรรม
ด้านจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน 1. ด้านความสามารถและทักษะ ตามระดับชั้น ชั้น ม.1-3 : แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามวัย ชั้น ม.4-6 : แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 2. ด้านคุณลักษณะตามช่วงวัย ม.1-3 : เน้นอยู่อย่างพอเพียง ม.4-6 : เน้นมุ่งมั่นในการศึกษาและการทำงาน บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : ใช้กระบวนการกลุ่ม/ กระบวนการปฏิบัติที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและวัยของผู้เรียน 2. หลักความมีเหตุผล : ผู้เรียนเกิดกระบวนการทำงานกลุ่ม/ กระบวนการปฏิบัติส่งเสริมการคิด วิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : วางแผนอย่างรอบคอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ เต็มตาม ศักยภาพของตนเอง 4. เงื่อนไขความรู้ : รอบรู้ เรื่องหลักสูตร เนื้อหาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ นักเรียน โดยใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลายตรงตามสภาพจริง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : ใช้หลักความยุติธรรม ความรับผิดชอบ การมีวินัยในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้ “การเห็นฟ้าแลบโดยไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้องเป็นผลจากอะไร” 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3. ใช้ระบบจับสลากแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ 6 คน จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรม ให้ นักเรียนทราบเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากิจกรรม เรื่อง พฤติกรรมของเสียง โดยจับฉลาก ดังนี้ • การสะท้อน • การหักเห • การเลี้ยวเบน • การแทรกสอด 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 5. นักเรียนออกแบบชิ้นงานของกลุ่ม โดยสามารถออกแบบผลงานในการนำเสนอได้อย่างอิสระ กำหนดระยะเวลในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน 20 นาที หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงาน ของกลุ่ม และร่วมกันประเมินความถูกต้องของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล พร้อมให้คะแนนเวียน ไปจนครบทุกกลุ่ม (นำเสนอผลงานกลุ่มละ 5 นาที)
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 6. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบของกลุ่มตนเองเรียบร้อยแล้ว ครูขยายความรู้เพิ่มเติมเรื่องการ คำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ของเสียง โดยสาธิตการแก้โจทย์ปัญหา ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 อัตราเร็วของเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ 57 0C ต่อ 1047 0C มีค่าเท่าใด วิธีทำ จาก 1 1 2 2 v T v T = 57 273 1047 273 + = + 330 1320 = 1 4 = 1 2 v 1 v 2 = ตอบ ก. ตัวอย่างที่ 2 เมื่อเคาะเหล็ก 1 ครั้งที่ปลายด้านหนึ่ง ผู้ฟังยืนอยู่ที่ปลายอีกด้านหนึ่งของท่อ เหล็กได้ยิน ข. เสียงสองครั้ง หลังจากเคาะเหล็กแล้วเป็นเวลา 2 s และ 5s ตามลำดับ ถ้าอุณหภูมิขณะทำการ ทดลอง 25 0C จงหาความยาวของท่อและอัตราเร็วเสียงในเหล็ก วิธีทำ จาก v 331 0.6t = + = + 331 0.6 25 ( ) = + 331 15 = 346 นั่นคือ อัตราเร็วเสียงในอากาศ เท่ากับ 346 m/s จาก S vt = จะได้ S 346 5 = ( ) =1.78 S 1730 = ดังนั้น ความยาวของท่อเท่ากับ 1,730 เมตร ตอบ หาอัตราเร็วเสียงในเหล็ก S v t = 1730 v 2 = = 865 ดังนั้น อัตราเร็วเสียงในเหล็กเท่ากับ 865 m/s ตอบ
ตัวอย่างที่ 2 ชนกันต์ยืนห่างจากลำโพงตัวที่หนึ่งและลำโพงตัวที่สองเป็นระยะ 10 เมตร และ 7 เมตร ตามลำดับ ชนกันต์จะได้ยินเสียงเพลงเบาที่สุดที่ความถี่ตํ่าสุดเท่าใด ถ้าหากลำโพงสองตัวนี้อยู่ห่างกันเป็นระยะ 4 เมตร และในขณะนั้นอัตราเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ350 เมตรต่อวินาที วิธีทำ เสียงมีความถี่ตํ่าที่สุด แสดงว่า n = 1 จากสมการ ดังนั้น ชนกันต์จะได้ยินเสียงเพลงเบาที่สุดที่ความถี่ตํ่าสุดเท่าใด58.33 เฮิรตซ์ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 7. นักเรียนทำแบบฝึกหัดเพื่อตรวจสอบความเข้าใจในบทเรียน โดยมอบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรม ร่วมกันเป็นคู่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ตลอดจนนักเรียนจะได้มีกำลังใจในการทำกิจกรรม สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อวัสดุ อุปกรณ์ มัลติมิเดีย 1. หนังสือเรียนรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักพิมพ์ สสวท. 2. แบบฝึกหัด เรื่อง พฤติกรรมของคลื่น 1. สื่อประกอบการสอน Power Point 2. รูปภาพ 3. กระดาษฟลิปชาร์ต ปากกาเคมี
การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายหลักการ สะท้อน การหักเห การ เลี้ยวเบน และการแทรก สอดของเสียงได้ (K) - ตรวจจากการตอบ คำถามในแบบฝึกหัด - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. ทดลองและคำนวณหา ปริมาณต่าง ๆ ของเสียง ได้ (P) - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความใฝ่เรียนรู้และ ให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรมกลุ่ม (A) - การปฏิบัติกิจกรรม ในห้องเรียน - แบบประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักเรียน ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินการทำแบบฝึกหัด ตามเกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาของ โพลยา จะมี 4 ขั้นตอนใหญ่ ในแต่ละขั้นตอนจะมีขั้นตอนย่อยในการตรวจแบบฝึกทักษะแบบวิธีทำจึงได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังตารางข้างนี้ให้นักเรียนหรือครูผู้ตรวจดูเกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับแบบเฉลย แบบฝึกทักษะจะสามารถตรวจให้คะแนนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจเกณฑ์การให้คะแนนมากยิ่งขึ้น รายการประเมิน ระดับคะแนน 0.0 0.5 1.0 ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจ โจทย์ ไม่ตอบ หรือระบุสิ่งที่ โจทย์ให้มา และสิ่งที่ โจทย์ถาม เขียนเป็น สัญลักษณ์ไม่ถูกต้องเลย ระบุสิ่งที่โจทย์ให้มา และ สิ่งที่โจทย์ถามพร้อม เขียนเป็น สัญลักษณ์ได้ บางตัว ระบุสิ่งที่โจทย์ให้มา และ สิ่งที่โจทย์ถามพร้อม เขียนเป็น สัญลักษณ์ได้ ถูกต้องครบถ้วน ขั้นที่ 2 วางแผน การแก้ปัญหา ไม่ตอบ หรือเลือกสมการ เพื่อใช้ในการหาคำตอบ จากสิ่งที่โจทย์ให้มาไม่ ถูกต้อง เลือกสมการเพื่อใช้ใน การหาคำตอบจากสิ่งที่ โจทย์ให้มาได้ถูกต้อง แต่ ไม่ครบถ้วน เลือกสมการเพื่อใช้ใน การหาคำตอบจากสิ่งที่ โจทย์ให้มาได้ถูกต้อง และครบถ้วน ขั้นที่ 3 ปฏิบัติตามแผน ไม่ตอบ หรือไม่สามารถ แทนตัวเลขลงในตัวแปร และคิดคำนวณหา คำตอบที่เป็นสากลได้ สามารถแทนตัวเลขลงใน ตัวแปรและคิด คำนวณหาคำตอบที่เป็น สากลได้ แต่ไม่ครบถ้วน สามารถแทนตัวเลขลงใน ตัวแปรและคิด คำนวณหาคำตอบที่เป็น สากลได้ครบถ้วน ถูกต้อง ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ ไม่ตอบ หรือไม่สามารถ ตรวจทานคำตอบ ตรวจสอบ หน่วยเป็น สากลและสรุปคำตอบได้ สามารถตรวจทาน คำตอบ ตรวจสอบ แต่ ไม่สามารถ ระบุหน่วย เป็นสากล และ สรุป คำตอบได้ครบถ้วน สามารถตรวจทาน คำตอบ ตรวจสอบหน่วย เป็นสากล และสรุป คำตอบได้ครบถ้วน ถูกต้อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง ระดับเสียง จำนวน 2 คาบ/ชั่วโมง คุณภาพสียง ผู้สอน นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 2. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระดับการคิด / พฤติกรรม 4.วิเคราะห์ สาระสำคัญ พลังงานเสียงถูกถ่ายโอนผ่านโมเลกุลของอากาศถึงหูผู้ฟังโดยประสาทหูของมนุษย์สามารถได้ยินเสียง ที่มีความถี่อยู่ในช่วง 20 - 20,000 เฮิรตซ์และมีความดังที่พอเหมาะ ซึ่งความดังของเสียงนั้นพิจารณาได้จากค่า ความเข้มเสียง และระดับเสียง หากได้รับเสียงดังเกินปกติหรือเสียงดังต่อเนื่องยาวนาน จะทำให้เกิดความ รำคาญหรือเกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลักการความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง ระดับเสียง คุณภาพสียงได้ (K) 2. คำนวณหาความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียงได้อย่างถูกต้องและเป็นลำดับขั้นตอน (P) 3. มีความใฝ่เรียนรู้และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่ม (A)
สาระการเรียนรู้/เนื้อหาสาระ • กำลังเสียง คือ ปริมาณพลังงานเสียงที่ส่งออกจากแหล่งกำเนิดในหนึ่งหน่วยเวลา • ความเข้มเสียง คือ กำลังเสียงที่แหล่งกำเนิดส่งออกไปต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ • ระดับเสียง คือ ปริมาณที่ใช้ในการบอกความดังของเสียงแทนความเข้มเสียง โดยระดับเสียงที่หูมนุษย์ปกติ สามารถรับฟังได้อยู่ในช่วง 0-120 เดซิเบล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร : ผู้เรียนสามารถสื่อสารด้วยการอธิบายเกี่ยวกับหลักการความเข้ม เสียง ระดับความเข้มเสียง ระดับเสียง คุณภาพสียงได้ ความสามารถในการคิด : ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ข้อคำถาม แสดงความคิดเห็ได้ ความสามารถในการแก้ปัญหา : ผู้เรียนสามารถระบุคำตอบและแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ที่ กำหนด หรือปัญหาที่เกิดจากการทดลองได้อย่างเหมาะสม ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนรู้กับชีวิตประจำวันได้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การใช้อุปกรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบการเรียนรู้ ด้านจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน 1. ด้านความสามารถและทักษะ ตามระดับชั้น ชั้น ม.1-3 : แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามวัย ชั้น ม.4-6 : แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 2. ด้านคุณลักษณะตามช่วงวัย ม.1-3 : เน้นอยู่อย่างพอเพียง ม.4-6 : เน้นมุ่งมั่นในการศึกษาและการทำงาน
บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : บริหารจัดการเวลาในการทำกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมกับเวลาที่กำหนด 2. หลักความมีเหตุผล : แสดงความคิดเห็นหรือตอบคำถามด้วยเหตุและผล มีหลักฐานสนันสนุน 3. หลักภูมิคุ้มกัน : มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกในทางที่สร้างสรรค์ 4. เงื่อนไขความรู้ : มีความรู้พื้นฐานการใช้เทคโนโลยี ความรู้พื้นฐานเรื่องธรรมชาติของเสียง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : มีความซื่อสัตย์ในการทำกิจกรรม ตลอดจนมีความรับผิดชอบในภาระงาน ที่ได้รับมอบหมาย กิจกรรมการเรียนการสอน 1.ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูกำหนดประเด็นปัญหาให้นักเรียนชวนคิดและร่วมกันอภิปราย เพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจ และตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน โดยเปิดเสียงดนตรีให้นักเรียนฟัง แล้วทำการลดและเพิ่มความดัง ของเสียง พร้อมทั้งตั้งคำถามให้นักเรียนอภิปรายว่าการได้ยินเสียงดังค่อยขึ้นกับปริมาณใดบ้าง โดยเปิดโอกาส ให้นักเรียนตอบอภิปรายอย่างอิสระ 2. ครูตั้งประเด็นคำถามว่า “การได้ยินเสียงดังค่อยขึ้นกับพลังงานของคลื่นเสียงอย่างไร” โดยให้ นักเรียนคนหนึ่งออกมาหน้าชั้นเรียนส่งเสียงเบากับเสียงดัง แล้วให้นักเรียนในห้องพิจารณาความดังของเสียงที่ ได้ยิน จากนั้นอภิปรายจนได้ข้อสรุป การได้ยินเสียงดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับกำลังเสียงจากแหล่งกำเนิด ถ้าระยะห่างจากแหล่งกำเนิดเท่ากัน 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมให้ นักเรียนทราบเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากิจกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 4 แต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน 5. ครูแจกกระดาษฟลิปชาร์ตให้กลุ่มละ 1 แผ่นแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้ที่ศึกษาได้ โดยเขียนเป็นแผนที่ความคิด (Mind Mapping) 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 7. ครูให้แต่ละกลุ่มนำแผนที่ความคิดของกลุ่มตนเองมาติดรอบห้องเรียน แล้วครูให้นักเรียนเดินชม ผลงานของเพื่อนร่วมชั้นเรียนเรียน โดยให้จัดในลักษณะของ Gallery Walk หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ไปศึกษาพร้อม ๆ กัน เมื่อศึกษาข้อมูลกลุ่มใดให้ประเมินความถูกต้องของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือของ แหล่งข้อมูลแล้วให้คะแนนเวียนไปจนครบทุกกลุ่ม (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 7. นักเรียนนำผลงานของกลุ่มติดไว้รอบ ๆ ห้องเรียน โดยให้จัดในลักษณะของ Gallery Walk หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาพร้อม ๆ กัน เมื่อศึกษาข้อมูลกลุ่มใดให้ประเมินความถูกต้องของ เนื้อหา ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลแล้วให้คะแนนเวียนไปจนครบทุกกลุ่ม 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 8. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบของกลุ่มตนเองเรียบร้อยแล้ว ครูขยายความรู้เพิ่มเติมเรื่อง การคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ของเสียง โดยสาธิตการแก้โจทย์ปัญหา ดังนี้ ตัวอย่าง 1 ถังบรรจุก๊าซหุงต้มไม่ได้มาตรฐานเกิดเหตุระเบิดดังสนั่นวัดกำลังอัดอากาศ ได้ 10 วัตต์ ก. จงหาความเข้มเสียงที่ระยะ 100 เมตร ข. จงหาระยะที่ไม่ได้ยินเสียงระเบิด ค. จงหาระยะที่ทนฟังเสียงระเบิดไม่ได้ วิธีทำ ก. จาก 2 R4 P = ( )2 1004 10 = = 8 x 10-5 วัตต์/ตารางเมตร นั่นคือ ความเข้มเสียงที่ระยะ 100 เมตรมีค่า 8 x 10-5 วัตต์ต่อตารางเมตร ตอบ ข. ความเข้มเสียงที่ฟังไม่ได้ยินมีค่า 10-12W/m2ดังนั้นได้ 10-12 = 2 R4 10 R = 12 4 10 10 − = 8.92 X 105m นั่นคือ เราต้องอยู่ไกลจากถังก๊าซ 8.92x105 เมตรจึงจะไม่ได้ยิน ตอบ ค. ความเข้มเสียงที่ทนฟังไม่ได้มีค่า 1 W/m2 ดังนั้นได้ 1 = 2 4 10 R R = 4 10 = 0.89 m นั่นคือ เราอยู่ห่างถังก๊าซ 0.89 เมตร จึงจะทนได้ ตอบ
ตัวอย่างที่ 2 วิทยุให้กำลังเสียง 250 w กระทบประตูกว้าง 0.5 m สูง 1 m จงหาความเข้มของเสียงที่ ประตู วิธีทำ จากสูตร P I A = 2 250 0.5 500 / ... I I w m = = ความเข้มของเสียงที่ประตูมีค่าเท่ากับ 2 500 / ...w m ตอบ ตัวอย่างที่ 3 กำลังเสียง 50 w ระยะห่างจากแหล่งกำเนิดเสียง 7 m มีความเข้มเสียงเท่าใด วิธีทำ จากสูตร 2 2 2 4 50 4 ( 7 ) 0.5 / 7... P I R I I w m = = = ความเข้มเสียงมีค่าเท่ากับ 2 0 57 . / ...w m ตอบ ตัวอย่างที่ 4 เสียงไวโอลีน 1 ตัว มีระดับความเข้มเสียง 60 dB ถ้าสีพร้อมกัน 10 ตัว จะได้ยินเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงเท่าใด วิธีทำ จาก 2 1 0 0 2 0 2 2 2 10log 10 60 10log 60 10log10 10(1) 60 70... I I I I dB − = − = − = = + = ระดับความเข้มเสียงมีค่าเท่ากับ 70...dB ตอบ จากโจทย์ P = 250 w A = 0.5x1 = 0.5 m จากโจทย์ P = 50 w R = m จากโจทย์ = 60 dB
ตัวอย่างที่ 5 แหล่งกำเนิดเสียงวัดความดังได้ 60 dB ที่ระยะ 10 cm ถ้ายืนอยู่ห่างจากแหล่งกำเนิด เสียง 2 m จะวัดความดังที่สุดเท่าใด วิธีทำ จาก 1 2 1 2 2 2 2 2 2 2 2 2 20log 0.1 60 20log( ) 2 20log(0.05) 60 20log(5 10 ) 60 20(log 5 2log10) 60 20(0.7 2) 60 60 26 34 R R x − − = − = = + = + = − + = − + = − = นั่นคือ วัดความดังที่ตำแหน่ง 2 m มีค่าเท่ากับ 34...dB ตอบ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 9. ครูมอบหมายให้นักเรียนสะท้อนคิดความรู้จากการเรียน โดยใช้ชื่อกิจกรรมว่า “กิจกรรม I KNOW … YOU KNOW …” ด้วยการให้นักเรียนสะท้อนความรู้ที่ได้จากการเรียนด้วยการพูดสื่อสารคนละหนึ่ง ประโยค (กิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรับเปลี่ยนจากการ ตอบคำถามในใบงานหรือแบบฝึกหัดมาเป็นการสะท้อนคิดสิ่งที่ได้เรียนรู้ ซึ่งจะช่วยให้ครูผู้สอนสามารถ ประเมินผู้เรียนได้เป็นรายบุคคลอย่างชัดเจน) สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อวัสดุ อุปกรณ์ มัลติมิเดีย 1. หนังสือเรียนรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักพิมพ์ สสวท. 2. แบบฝึกหัด 1. สื่อประกอบการสอน Power Point 2. สื่อเพลง 3. กระดาษฟลิปชาร์ต
การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายหลักการความ เข้มเสียง ระดับความเข้ม เสียง ระดับเสียง คุณภาพสียงได้ (K) - ตรวจจากการตอบ คำถามในแบบฝึกหัด - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. คำนวณหาความเข้ม เสียง ระดับความเข้ม เสียงได้อย่างถูกต้องและ เป็นลำดับขั้นตอน (P) - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความใฝ่เรียนรู้และ ให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรมกลุ่ม (A) - การปฏิบัติกิจกรรม ในห้องเรียน - แบบประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักเรียน ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินการทำแบบฝึกหัด ตามเกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาของ โพลยา จะมี 4 ขั้นตอนใหญ่ ในแต่ละขั้นตอนจะมีขั้นตอนย่อยในการตรวจแบบฝึกทักษะแบบวิธีทำจึงได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังตารางข้างนี้ให้นักเรียนหรือครูผู้ตรวจดูเกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับแบบเฉลย แบบฝึกทักษะจะสามารถตรวจให้คะแนนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจเกณฑ์การให้คะแนนมากยิ่งขึ้น รายการประเมิน ระดับคะแนน 0.0 0.5 1.0 ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจ โจทย์ ไม่ตอบ หรือระบุสิ่งที่ โจทย์ให้มา และสิ่งที่ โจทย์ถาม เขียนเป็น สัญลักษณ์ไม่ถูกต้องเลย ระบุสิ่งที่โจทย์ให้มา และ สิ่งที่โจทย์ถามพร้อม เขียนเป็น สัญลักษณ์ได้ บางตัว ระบุสิ่งที่โจทย์ให้มา และ สิ่งที่โจทย์ถามพร้อม เขียนเป็น สัญลักษณ์ได้ ถูกต้องครบถ้วน ขั้นที่ 2 วางแผน การแก้ปัญหา ไม่ตอบ หรือเลือกสมการ เพื่อใช้ในการหาคำตอบ จากสิ่งที่โจทย์ให้มาไม่ ถูกต้อง เลือกสมการเพื่อใช้ใน การหาคำตอบจากสิ่งที่ โจทย์ให้มาได้ถูกต้อง แต่ ไม่ครบถ้วน เลือกสมการเพื่อใช้ใน การหาคำตอบจากสิ่งที่ โจทย์ให้มาได้ถูกต้อง และครบถ้วน ขั้นที่ 3 ปฏิบัติตามแผน ไม่ตอบ หรือไม่สามารถ แทนตัวเลขลงในตัวแปร และคิดคำนวณหา คำตอบที่เป็นสากลได้ สามารถแทนตัวเลขลงใน ตัวแปรและคิด คำนวณหาคำตอบที่เป็น สากลได้ แต่ไม่ครบถ้วน สามารถแทนตัวเลขลงใน ตัวแปรและคิด คำนวณหาคำตอบที่เป็น สากลได้ครบถ้วน ถูกต้อง ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ ไม่ตอบ หรือไม่สามารถ ตรวจทานคำตอบ ตรวจสอบ หน่วยเป็น สากลและสรุปคำตอบได้ สามารถตรวจทาน คำตอบ ตรวจสอบ แต่ ไม่สามารถ ระบุหน่วย เป็นสากล และ สรุป คำตอบได้ครบถ้วน สามารถตรวจทาน คำตอบ ตรวจสอบหน่วย เป็นสากล และสรุป คำตอบได้ครบถ้วน ถูกต้อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นนิ่ง จำนวน 2 คาบ/ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 3. ทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้งสังเกตและ อธิบายการเกิดบีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ นำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับการคิด / พฤติกรรม 4.วิเคราะห์ สาระสำคัญ คลื่นนิ่งของเสียงนั้นเป็นพื้นฐานของเครื่องดนตรีเสียงจากเครื่องดนตรีที่มีชุดฮาร์มอนิกต่าง ๆ กัน ซึ่ง ก็คือความถี่ต่าง ๆ กันเมื่อบรรเลงพร้อมกันจะผสมผสานกันทำให้เกิดท่วงทำนอง (melody) ที่ไพเราะของ เสียงดนตรี โดยบีตส์และคลื่นนิ่งของเสียงนั้นเป็นผลมาจากการแทรกสอดของเสียง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลักการเกิดคลื่นนิ่งได้ (K) 2. ปฏิบัติกิจกรรมการเกิดคลื่นนิ่งได้อย่างถูกต้องและเป็นลำดับขั้นตอน (P) 3. มีความใฝ่เรียนรู้และรับผิดชอบส่งงานตรงเวลา (A) สาระการเรียนรู้/เนื้อหาสาระ คลื่นนิ่งของเสียงเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเสียงสองขบวนที่มีความถี่และอัตราเร็วเท่ากัน เคลื่อนที่สวนทางกัน แล้วเกิดการแทรกสอดหรือรวมกันเป็นคลื่นที่มีรูปแบบการสั่นคงตัวแบบหนึ่ง โดยมีบางตำแหน่งอยู่กับที่ ขณะที่ตำแหน่งอื่น ๆ สั่นไปพร้อม ๆ กันด้วยความถี่เดียวกัน ตำแหน่งที่อยู่กับที่ซึ่งเรียกว่า บัพ จะเกิดการสลับ กับตำแหน่งที่สั่นด้วยการกระจัดสูงสุดซึ่งเรียกว่า ปฏิบัพ คล้ายกับการเกิดคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่ได้ศึกษาผ่าน มาแล้วในหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คลื่นนิ่งจึงเกิดขึ้นได้ไม่ว่าคลื่นนั้นจะเป็นคลื่นตามยาวหรือคลื่นตามขวาง
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร : ผู้เรียนสามารถสื่อสารด้วยการอธิบายเกี่ยวกับหลักการเกิดคลื่นนิ่ง ให้เพื่อนร่วมห้องเข้าใจได้ ความสามารถในการคิด : ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ข้อคำถาม แสดงความคิดเห็นและวาง แผนการทำกิจกรรมได้ ความสามารถในการแก้ปัญหา : ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติกิจกรรมได้ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนรู้กับชีวิตประจำวันได้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์การทดลอง ด้านจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน 1. ด้านความสามารถและทักษะ ตามระดับชั้น ชั้น ม.1-3 : แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามวัย ชั้น ม.4-6 : แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 2. ด้านคุณลักษณะตามช่วงวัย ม.1-3 : เน้นอยู่อย่างพอเพียง ม.4-6 : เน้นมุ่งมั่นในการศึกษาและการทำงาน
บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : บริหารจัดการเวลาในการทำกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมกับเวลาที่กำหนด 2. หลักความมีเหตุผล : แสดงความคิดเห็นหรือตอบคำถามด้วยเหตุและผล มีหลักฐานสนันสนุน 3. หลักภูมิคุ้มกัน : มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกในทางที่สร้างสรรค์ 4. เงื่อนไขความรู้ : มีความรู้พื้นฐานการใช้เทคโนโลยี ความรู้พื้นฐานเรื่องธรรมชาติของเสียง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : มีความซื่อสัตย์ในการบันทึกผลการทดลองและตอบคำถามท้ายกิจกรรม ตลอดจนมีความรับผิดชอบในภาระงานที่ได้รับมอบหมาย กิจกรรมการเรียนการสอน 1.ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูสร้างความสนใจนักเรียน โดยการเปิดวีดิทัศน์เกี่ยวกับ “การทำอัลตราซาวด์” ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=9bRJyh53WVo ในการตรวจความสมบูรณ์ของทารกในครรภ์ จากนั้นครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับคลื่นเสียงที่ใช้ในกระบวนการนี้และการได้รับรู้เกี่ยวกับคลื่นเสียง อื่น ๆ ของมนุษย์ตั้งแต่เกิดมา ว่ามีอะไรบ้าง โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ 2. จากนั้น ครูตั้งคำถามว่า การที่เราได้ยินเสียงดนตรีจากเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ เช่น กีตาร์ขลุ่ย กลอง เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ของเสียงอย่างไรบ้าง โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมให้ นักเรียนทราบเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากิจกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 4 แต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 5. นักเรียนและกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม โดยมีการอภิปรายและลงข้อสรุปร่วมกัน 4. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 6. เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ครูได้เปิดวิดีโอ เรื่อง วิชาฟิสิกส์- บทเรียน บีตส์และ คลื่นนิ่งของเสียง ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=De4RISkS9t0 พร้อมอธิบายประกอบ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 7. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ครูได้มอบหมายให้นักเรียนเขียนสะท้อนการเรียนใน กระดานสนทนา Padlet
สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อวัสดุ อุปกรณ์ มัลติมิเดีย 1.หนังสือเรียนรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักพิมพ์ สสวท. 2.แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง คลื่นนิ่ง 1. สื่อประกอบการสอน Power Point 2. อุปกรณ์การทดลอง 3. วิดีโอการทำอัลตราซาวด์” ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=9 bRJyh53WVo 4. วิดีโอ เรื่อง วิชาฟิสิกส์- บทเรียน บีตส์ และคลื่นนิ่งของเสียง ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=D e4RISkS9t0 การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายหลักการเกิด คลื่นนิ่งได้ (K) - ตรวจจากการตอบ คำถามในแบบบันทึก กิจกรรม - แบบบันทึกกิจกรรมที่ เรื่อง คลื่นนิ่ง -แบบประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. ปฏิบัติกิจกรรมการ เกิดคลื่นนิ่งได้อย่าง ถูกต้องและเป็นลำดับ ขั้นตอน (P) - สังเกตจากการปฏิบัติ กิจกรรมการทดลอง - แบบประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความใฝ่เรียนรู้และ รับผิดชอบส่งงานตรง เวลา (A) - การปฏิบัติกิจกรรม ในห้องเรียน - แบบประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักเรียน ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง คลื่นนิ่ง คำชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกผลการทำกิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม 1. การทดลอง เรื่อง......................................................................................................................................... วันที่ .................. เดือน ......................................... พ.ศ. .......................... เวลา ........................................ น. 2. สมาชิกในกลุ่ม 1) ..................................................................................... เลขที่ .............. หน้าที่......................................... 2) ......................................................................................เลขที่ ............... หน้าที่......................................... 3) ......................................................................................เลขที่ ................ หน้าที่......................................... 4) ......................................................................................เลขที่ ................ หน้าที่......................................... 5) ......................................................................................เลขที่ ................หน้าที่......................................... 6) ......................................................................................เลขที่ ................หน้าที่......................................... 3. สมมติฐานการทดลอง ....................................................................................................................................................................... 4. วัสดุอุปกรณ์การทดลอง .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. วิธีการทดลอง .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
6.ผลการทดลอง 7. อภิปรายผลการทดลอง ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 8. สรุปผลการทดลอง ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรม เรื่อง คลื่นนิ่ง จุดประสงค์ ศึกษาคลื่นนิ่งของเสียง วัสดุและอุปกรณ์ 1. เครื่องกำเนิดสัญญาณเสียง 1 เครื่อง 2. ชุดขาตั้งพร้อมตัวยึด 1 ชุด 3. ชุดท่อรับฟังเสียง 1 ชุด 4. ลำโพง 1 ตัว 5. สายไฟ 4 เส้น แนะนำก่อนทำกิจกรรม 1. ให้ลำโพงเสียงอยู่ห่างจากพื้นโต๊ะประมาณ 50–70 เซนติเมตร และต้องจับลำโพงให้อยู่นิ่ง 2. พื้นโต๊ะควรแข็งและเรียบ 3. ถ้ารับฟังเสียงระหว่างลำโพงกับพื้นโต๊ะไม่ชัดเจนควรปรับตำแหน่งลำโพง
แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. การทำกิจกรรม ตามแผนที่กำหนด ทำกิจกรรมตามวิธีการและ ขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่าง ถูกต้องด้วยตนเองมีการ ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ ทำกิจกรรมตามวิธีการ และขั้นตอนที่กำหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการ ปรับปรุงแก้ไขบ้าง ทำกิจกรรมตามวิธีการ และขั้นตอนที่กำหนดไว้ โดยมีครู หรือผู้อื่นเป็น ผู้แนะนำ ทำกิจกรรมไม่ถูกต้องตาม วิธีการและขั้นตอน ที่ กำหนดไว้ ไม่มีการ ปรับปรุงแก้ไข 2. การบันทึกผลการทำ กิจกรรม บันทึกผลเป็นระยะอย่าง ถูกต้อง มีระเบียบ มีการ ระบุหน่วย มีการอธิบาย ข้อมูลให้เห็นความ เชื่อมโยงเป็นภาพรวม เป็นเหตุเป็นผล และ เป็นไปตามการทำกิจกรรม บันทึกผลเป็นระยะ อย่างถูกต้อง มีระเบียบ มี การระบุหน่วย มีการ อธิบายข้อมูลให้เห็นถึง ความสัมพันธ์เป็นไปตาม การทำกิจกรรม บันทึกผลเป็นระยะ แต่ไม่เป็นระเบียบ ไม่มีการระบุหน่วย และไม่มีการอธิบาย ข้อมูลให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของการทำ กิจกรรม บันทึกผลไม่ครบ ไม่มีการระบุหน่วย และ ไม่เป็นไปตามการทำ กิจกรรม 3. การจัดกระทำข้อมูล และการนำเสนอ จัดกระทำข้อมูลอย่างเป็น ระบบ มีการเชื่อมโยงให้ เห็นเป็นภาพรวม และ นำเสนอด้วยแบบต่าง ๆ อย่างชัดเจน ถูกต้อง จัดกระทำข้อมูล อย่างเป็นระบบ มีการจำแนกข้อมูล ให้เห็นความสัมพันธ์ นำเสนอด้วยแบบ ต่าง ๆ ได้ แต่ยัง ไม่ชัดเจน จัดกระทำข้อมูลอย่าง เป็นระบบ มีการยกตัวอย่าง เพิ่มเติมให้เข้าใจง่าย และนำเสนอด้วยแบบ ต่าง ๆ แต่ยังไม่ชัดเจน และไม่ถูกต้อง จัดกระทำข้อมูลอย่าง ไม่ เป็นระบบ และมีการ นำเสนอ ไม่สื่อ ความหมายและไม่ชัดเจน 4. การสรุปผล การทำกิจกรรม สรุปผลการทำกิจกรรมได้ อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจน แลครอบคลุมข้อมูล จากการวิเคราะห์ทั้งหมด สรุปผลการทำกิจกรรม ได้ถูกต้อง แต่ยังไม่ ครอบคลุมข้อมูลจากการ วิเคราะห์ทั้งหมด สรุปผลการทำกิจกรรม ได้ โดยมีครูหรือผู้อื่น แนะนำบ้าง จึงสามารถ สรุปได้ถูกต้อง สรุปผลการทำกิจกรรม ตามความรู้ที่พอมีอยู่ โดยไม่ใช้ข้อมูลจากการ ทำกิจกรรม 5. การเขียนรายงาน เขียนรายงานตรงตาม จุดประสงค์ ถูกต้องและ ชัดเจน และมีการ เชื่อมโยงให้เห็นเป็น ภาพรวม เขียนรายงานตรงตาม จุดประสงค์อย่าง ถูกต้อง และชัดเจน แต่ ขาดการเรียบเรียง เขียนรายงานโดยสื่อ ความหมายได้ โดยมีครูหรือผู้อื่น แนะนำ เขียนรายงานได้ตาม ตัวอย่าง แต่ใช้ภาษา ไม่ถูกต้อง และไม่ชัดเจน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การสั่นพ้องของสียง จำนวน 2 คาบ/ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 3. ทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้งสังเกต และอธิบายการเกิดบีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง และนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับการคิด / พฤติกรรม 4.วิเคราะห์ สาระสำคัญ เมื่อระบบทางเสียงถูกกระตุ้นให้สั่นด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติในการสั่นของระบบระบบ ทางเสียงนั้นมีแนวโน้มที่จะดูดกลืนพลังงานไว้มากกว่าการถูกกระตุ้นด้วยความถี่ค่าอื่น ทำให้ระบบสั่นด้วย แอมพลิจูดที่มากขึ้นหรือเกิดการสั่นที่รุนแรงขึ้น ถ้าความถี่ในการสั่นของระบบอยู่ในย่านของความถี่เสียงที่ได้ ยิน จะได้ยินเสียงที่มีความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบทางเสียงดังขึ้น ภาวะที่เกิดขึ้นกับระบบขณะนั้น เรียกว่า การสั่นพ้องของเสียง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลักการสั่นพ้องของเสียงได้ (K) 2. ปฏิบัติกิจกรรมและคำนวณหาค่าการสั่นพ้องของเสียงได้อย่างถูกต้องและเป็นลำดับขั้นตอน (P) 3. มีความใฝ่เรียนรู้และรับผิดชอบส่งงานตรงเวลา (A)
สาระการเรียนรู้/เนื้อหาสาระ การสั่นพ้อง (Resonance) เป็นปรากฏการณ์ที่มีแรงมากระทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่งโดยที่ความถี่ของแรง ที่กระทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่งนั้นมีค่าเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ ผลที่ตามมาคือแอมพลิจูดของการสั่นมี ค่ามากขึ้นทุกครั้งที่ออกแรงผลัก การเกิด Resonance พิจารณา 2 กรณี ดังนี้ 1. หลอดปลายปิดด้านหนึ่ง L จากรูปที่ 1 4 L = ดังนั้น = 4L จากรูปที่ 2 3 4 L = ดังนั้น 4 3 L = จากรูปที่ 3 5 4 L = ดังนั้น 4 5 L = จะได้ 4 2 1 n L n = − จาก n n v f v f = = จะได้ เมื่อ n เท่ากับ จำนวนบัพ รูปที่ 1 เรียกว่า ความถี่มูลฐาน (fundamental) (ฮาร์โมนิกส์ที่ 1) รูปที่ 2 เรียกว่า Overtone ที่ 1 (ฮาร์โมนิกส์ที่ 3) รูปที่ 3 เรียกว่า Overtone ที่ 2 (ฮาร์โมนิกส์ที่ 5) ( ) 2 1 4 n n v f L − =
2. ปลายเปิดทั้งสองข้าง จากรูปที่ 4 1 2 v f L = จากรูปที่ 5 2 2 2 v f L = จากรูปที่ 6 3 3 2 v f L = ดังนั้น เมื่อ n = จำนวนบัพ L = ความยาวของท่อ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก รูปที่ 4 เรียกว่า ความถี่มูลฐาน (fundamental) (ฮาร์โมนิกส์ที่ 1) รูปที่ 5 เรียกว่า Overtone ที่ 1 (ฮาร์โมนิกส์ที่ 2) รูปที่ 6 เรียกว่า Overtone ที่ 2 (ฮาร์โมนิกส์ที่ 2) 2 n nv f L =
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร : การอธิบายเกี่ยวกับหลักการสั่นพ้องของเสียงได้ ความสามารถในการคิด : ปฏิบัติกิจกรรมได้เป็นลำดับขั้นตอน และวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ความสามารถในการแก้ปัญหา : สามารถแก้ไขที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมได้ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : ยกตัวอย่างการสั่นพ้องในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การใช้อุปกรณ์การทดลอง ด้านจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน 1. ด้านความสามารถและทักษะ ตามระดับชั้น ชั้น ม.1-3 : แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามวัย ชั้น ม.4-6 : แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 2. ด้านคุณลักษณะตามช่วงวัย ม.1-3 : เน้นอยู่อย่างพอเพียง ม.4-6 : เน้นมุ่งมั่นในการศึกษาและการทำงาน บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : ใช้กระบวนการกลุ่ม/ กระบวนการปฏิบัติที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและวัยของผู้เรียน 2. หลักความมีเหตุผล : ผู้เรียนเกิดกระบวนการทำงานกลุ่ม/ กระบวนการปฏิบัติส่งเสริมการคิด วิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : วางแผนอย่างรอบคอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ เต็มตาม ศักยภาพของตนเอง 4. เงื่อนไขความรู้ : รอบรู้ เรื่องหลักสูตร เนื้อหาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ นักเรียน โดยใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลายตรงตามสภาพจริง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : ใช้หลักความยุติธรรม ความรับผิดชอบ การมีวินัยในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.ครูตั้งประเด็นปัญหาให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบผ่านกิจกรรม ความถี่ธรรมชาติ ดังรูป จากนั้นครูตั้งคำถามว่า เมื่อแกว่งลูกตุ้มขนาดใหญ่การแกว่งของลูกตุ้มขนาดเล็กเป็นอย่างไร แล้วให้ นักเรียนอภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่า ลูกตุ้มขนาดเล็กทุกลูกมีการแกว่ง โดยลูกตุ้มขนาดเล็กที่ผูกด้วยเชือกที่มี ความยาวเท่ากับความยาวของเชือกที่ผูกลูกตุ้มขนาดใหญ่ มีแอมพลิจูดกว้างกว่าลูกตุ้มลูกอื่น ๆ ปรากฏการณ์นี้ เรียกว่า การสั่นพ้อง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวัตถุถูกกระตุ้นให้สั่นหรือแกว่งด้วยความถี่ที่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ นั้น ความถี่นี้เรียกว่า ความถี่สั่นพ้อง 2. ครูตั้งคำถามว่า จากความรู้ที่ว่าวัตถุต่าง ๆ มีความถี่ธรรมชาติและเกิดการสั่นพ้องได้อากาศซึ่งเป็น ตัวกลางของคลื่นเสียงจะมีความถี่ธรรมชาติและเกิดการสั่นพ้องได้หรือไม่ และการสั่นพ้องของอากาศแสดงให้ เราทราบในรูปแบบอย่างไร 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมให้ นักเรียนทราบเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง 4. ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทำกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ วิธีปฏิบัติกิจกรรม วิธีการทดลองและ แนวทางการออกแบบบตารางบันทึกผลการทดลอง ตลอดจนการตอบคำถามท้ายกิจกรรม พร้อมทั้งแจกใบ บันทึกกิจกรรมให้กับนักเรียนแต่ละกลุ่ม 5. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการใช้งานและจุดประสงค์ของการเรียน ครูผู้สอนมอบหมายให้นักเรียนใช้ เวลาในการทำกิจกรรม 30 นาที 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 6. เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาที่กำหนด นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง เรื่อง การสั่นพ้องของ เสียง (ในขั้นตอนนี้อาจใช้วิธีการสุ่มตัวแทนในการนำเสนอ) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จากนั้นครู และนักเรียนร่วมกันอภิปรายชักถามเกี่ยวกับกิจกรรม 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถามท้ายกิจกรรม โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ จากนั้นครูสุ่มนักเรียนจำนวน 2-3 กลุ่ม ออกมานำเสนอคำตอบของกลุ่มตนเอง หน้าชั้นเรียน
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 8. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลองเรียบร้อยแล้ว ครูได้ขยายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ การคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ของการสั่นพ้อง ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 ความถี่ต่ำสุดของคลื่นนิ่งของเสียงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเทน้ำลงในท่อลำ 4 เมตรเป็น เท่าใด ถ้าความเร็วของเสียงอากาศมีค่าเท่ากับ 320 เมตรต่อวินาที วิธีทำ เกิดเสียงดังครั้งแรกจะให้ความถี่ต่ำ จะได้ว่า ... 4 4 ; .. 4 (4)(4) 16 . L L L m = = = = = หาความยาวคลื่นต่ำสุด 320 16 20... v f f f Hz = = = ตอบ ความถี่ต่ำสุดของคลื่นนิ่งของเสียงมีค่าเท่ากับ 20 Hz ตัวอย่างที่ 2 ในการทดลองเรื่องกำทอนโดยใช้ลำโพงที่ปลายด้านหนึ่งของหลอดเป็นลูกสูบที่ เคลื่อนที่ ไปมาได้ ปรากฏว่าตำแหน่งของลูกสูบที่เกิดเสียงดังเพิ่มขึ้นจากครั้งแรกและครั้งที่ 2 ห่างกัน 10 เซนติเมตร จงหาความถี่ของลำโพง ถ้าความเร็วของเสียงในอากาศมีค่าเท่ากับ 345 เมตรต่อวินาที วิธีทำ จากระระห่างของตำแหน่งที่เกิดการสั่นพ้องสองครั้งห่างกัน L โดยที่ 2 L = จากโจทย์ L = 0.1 m = (10)(2) = 20 cm จาก v f = แทนค่าจะได้ f = 345/0.2 f = 1725 Hz ตอบ ความถี่ของลำโพงมีค่าเท่ากับ 1725 Hz
ตัวอย่างที่ 3 การทดลองเรื่องกำทอนโดยใช้ความถี่ 1,000 Hz ปรากฏว่ากำทอนครั้งแรก ห่างจากปากหลอด 10 cm เกิดครั้งที่สองห่างจากปากหลอด 25 cm จงหาความเร็วเสียง วิธีทำ หาความยาวคลื่นที่เกิดการกำทอนครั้งที่ 1 ที่ระยะ 10 cm และครั้งที่สองเป็น 25 cm แสดงว่า 25 10 2 30..cm = − = หาความเร็วของเสียงจาก (1,000)(0.30) 300 / ... v f v v m s = = = ตอบ ความเร็วของเสียงมีค่าเท่ากับ 300 m s/ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 9. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำการบ้านโดยให้ตอบคำถามในหนังสือเรียน และจะนำมาเฉลยร่วมกับ นักเรียนในห้องในโอกาสต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และทราบประโยชน์ของการสั่นพ้องดียิ่งขึ้น สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อวัสดุ อุปกรณ์ มัลติมิเดีย 1. หนังสือเรียนรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักพิมพ์ สสวท. 2. แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง การสั่นพ้องของเสียง 1. อุปกรณ์การทดลอง เรื่อง การสั่นพ้องของเสียง 2. สื่อประกอบการสอน Power Point
วัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายหลักการสั่น พ้องของเสียงได้ (K) - ตรวจจากการตอบ คำถามในแบบบันทึก กิจกรรม - แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง การสั่นพ้องของเสียง -แบบประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. ปฏิบัติกิจกรรมและ คำนวณหาค่าการสั่นพ้อง ของเสียงได้อย่างถูกต้อง และเป็นลำดับขั้นตอน (P) - สังเกตจากการปฏิบัติ กิจกรรมการทดลอง -ตวจสอบจากการทำ แบบฝึกหัด - แบบประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - แบบประเมินการทำ แบบฝึกหัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความใฝ่เรียนรู้และ รับผิดชอบส่งงานตรง เวลา (A) - การปฏิบัติกิจกรรม ในห้องเรียน - แบบประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักเรียน ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง การสั่นพ้องของเสียง คำชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกผลการทำกิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม 1. การทดลอง เรื่อง......................................................................................................................................... วันที่ .................. เดือน ......................................... พ.ศ. .......................... เวลา ........................................ น. 2. สมาชิกในกลุ่ม 1) ..................................................................................... เลขที่ .............. หน้าที่......................................... 2) ......................................................................................เลขที่ ............... หน้าที่......................................... 3) ......................................................................................เลขที่ ................ หน้าที่......................................... 4) ......................................................................................เลขที่ ................ หน้าที่......................................... 5) ......................................................................................เลขที่ ................หน้าที่......................................... 6) ......................................................................................เลขที่ ................หน้าที่......................................... 3. สมมติฐานการทดลอง ....................................................................................................................................................................... 4. วัสดุอุปกรณ์การทดลอง .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. วิธีการทดลอง .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
6.ผลการทดลอง 7. อภิปรายผลการทดลอง ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 8. สรุปผลการทดลอง ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรม เรื่อง การสั่นพ้องของเสียง จุดประสงค์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความถี่กับตำแหน่งของการสั่นพ้องของเสียงที่เกิดจากท่อปลายปิด หนึ่งด้าน วัสดุและอุปกรณ์ 1. เครื่องกำเนิดสัญญาณเสียง 1 เครื่อง 2. ลำโพง 1 ตัว 3. หลอดเรโซแนนซ์ 1 ชุด (ท่อปลายปิดหนึ่งด้านที่ปรับความยาวของลำอากาศในท่อ) 4. สายไฟ 4 เส้น แนะนำก่อนทำกิจกรรม 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องกำเนิดเสียงและลำโพงว่า ให้เสียงที่มีความดังและความถี่สม่ำเสมอ หรือไม่ถ้าไม่สม่ำเสมอ ควรตรวจหัวเสียบหรือรอยต่อของสายไฟว่าแน่นหรือไม่ ปุ่มปรับความดังอยู่ที่ตำแหน่งเหมาะสมหรือไม่ 2. ตรวจสอบหลอดสั่นพ้องว่า ลูกสูบกับตัวหลอดสั่นพ้องกระชับพอดีหรือไม่ ถ้ามีช่องว่างระหว่าง ลูกสูบกับตัวหลอดมากให้เปลี่ยนลูกสูบหรือเสริมลูกสูบโดยตัดกระดาษแข็งเป็นวงกลมให้มีเส้นผ่านศูนย์กลาง เท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของหลอด มาปิดที่ลูกสูบแทน 3. การวางลำโพงที่ปากหลอดสั่นพ้อง ครูแนะนำว่าควรวางห่างจากปากหลอดประมาณ 1–3 เซนติเมตร