The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางรัชฎาภรณ์ ปัญญานวล ได้รับรางวัลคุรุสภา ระดับดีเด่น ประจำปี 2563 นำเสนอบทความในวารสาร 129 ปี กระทรวงศึกษาธิการผลงานปรากฎในหน้าที่ 210 - 211

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by งานวิจัยและพัฒนา, 2021-05-08 03:55:20

วารสาร 129 ปีกระทรวงศึกษาธิการ

นางรัชฎาภรณ์ ปัญญานวล ได้รับรางวัลคุรุสภา ระดับดีเด่น ประจำปี 2563 นำเสนอบทความในวารสาร 129 ปี กระทรวงศึกษาธิการผลงานปรากฎในหน้าที่ 210 - 211

ตราเสมาธรรมจกั ร

ตราสญั ลกั ษณ์กระทรวงศึกษาธกิ าร

คตธิ รรม
เนอื่ งในวนั คลา้ ยวนั สถาปนากระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นปีท่ี ๑๒๙

๑ เมษายน ๒๕๖๔

สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ทรงพระอนศุ าสนส์ ั่งสอนไวว้ า่
“อตตฺ านเมว ปฐมํ ปฏริ เู ป นิเวสเย

อถญฺ มนสุ าเสยยฺ น กลิ ิสฺเสยฺย ปณฑฺ โิ ตฯ”
แปลความว่า “บณั ฑิตพึงตัง้ ตนไวใ้ นคณุ อนั สมควรก่อน สอนผู้อน่ื ภายหลงั จึงไมม่ ัวหมอง.”
บุคคลผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารและผู้จัดการศึกษาของชาติ จ�ำเป็นต้องอบรมพัฒนาตน
ใหพ้ รง่ั พร้อมดว้ ยความเป็น “บัณฑติ ” ผู้มีเหตผุ ล รู้ถูก รู้ผดิ รู้ดรี ชู้ ั่ว รูค้ วร รไู้ ม่ควร รูอ้ ย่างถูกตอ้ งแมน่ ย�ำและ
ตรงตามหลักวิชาตลอดจนหลักคุณธรรม เพ่ือจะได้ผลิตพลเมืองคุณภาพให้แก่สังคมไทย สามารถน�ำความรู้
ความเขา้ ใจทงั้ ในภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ไิ ปเปน็ มาตรฐานชวี ติ โดยไมย่ อมใหอ้ คตมิ าเปน็ อปุ กรณส์ �ำหรบั ตดั สนิ ใจ
อันอาจน�ำไปสู่ความประพฤติกายทุจริตและวาจาทุจริต ทั้งน้ีหากผู้บริหาร ครูอาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา
สามารถพัฒนาตนให้เป็นบัณฑิตผู้มีคุณธรรมอันสมควรก่อนแล้ว ก็ย่อมไม่อาจมีใครครหาหรือกังขาในระดับ
ความรู้และจรรยาของผู้อยู่ในฐานะที่จะอบรมส่ังสอนสมาชิกของสังคมได้ คุณสมบัติเช่นน้ีเองจักเอื้ออ�ำนวยให้
บังเกิดสัมฤทธิผลทางการศกึ ษาได้สมดงั ใจหมาย
กระทรวงศึกษาธิการท�ำหน้าท่ีสร้างสรรค์สังคมไทยมาอย่างต่อเน่ืองและยาวนานถึง ๑๒๙ ปี เป็นที่
นา่ อนโุ มทนา ผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยพงึ ฝกึ ฝนพฒั นาตนใหเ้ พยี บพรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรมจรยิ ธรรมอยเู่ สมอ เพอื่ ยงั ประโยชน์
แห่งราชการให้ส�ำเรจ็ บังเกดิ ผลเลศิ แกป่ ระชาชาตไิ ทยไดอ้ ยา่ งย่ังยืน
ขออ�ำนวยพรให้กระทรวงศึกษาธิการ จงวัฒนาสถาพร สามารถสร้างสรรค์คุณูปการให้แก่สังคมไทย
สบื ไป ตลอดกาลนาน.




(สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ)
สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

วดั ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔





แนวพระราชด�ำ ริ
และพระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษา

ในพระมหากษตั รยิ ์
แหง่ มหาจักรบี รมราชวงศ์

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงพระบรมราชสมภพ เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๒๗๙ ครง้ั
แผน่ ดนิ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ ทรงเคยรบั ราชการในสมยั ธนบรุ ี การทไี่ ทยตอ้ งสญู เสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาแกพ่ มา่
และการเกิดจลาจลในธนบุรี น�ำมาซึ่งความโศกเศร้าสลดใจยิ่ง พลเมืองไทยย่อมปรารถนาบ้านเมืองท่ีเป็น
ปึกแผน่ มน่ั คงและรม่ เย็นปรกตสิ ุขกลบั คนื เหล่าขา้ ราชการและอาณาประชาราษฎรจงึ พรอ้ มใจอญั เชญิ พระองค์
ครั้งทรงด�ำรงอิสริยยศสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกปราบดาภิเษกข้ึนเป็นพระปฐมบรมกษัตริย์แห่งมหาจักรี
บรมราชวงศ์ เม่ือพุทธศกั ราช ๒๓๒๕

การศึกษาเป็นประการหนึ่งส�ำคัญ ที่พระมหากษัตริย์พระองค์น้ีพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์แต่
เบอื้ งแรกและตอ่ เนือ่ ง เพอื่ ธ�ำรงไว้ซึ่งศลิ ปวทิ ยาการทเ่ี จรญิ รุ่งเรืองแต่สมยั อยุธยา เช่น ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้
โปรดกระหม่อมให้สังคายนาพระไตรปิฎก ทรงส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม การปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม
การท�ำนุบ�ำรุงวิชาช่าง ซึ่งวัดและพระราชวังเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส�ำคัญ นอกจากนี้ยังมีพระบรมราชูปถัมภ์แก่
ราชบัณฑิต ทรงส่งเสริม รวบรวม แปลวรรณคดี และช�ำระพงศาวดาร ทรงฟื้นฟูนาฏกรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ฯลฯ ตลอดรัชกาล

ลักษณะการศึกษา

ลกั ษณะการศกึ ษาของพระราชโอรส พระราชธดิ าพระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ ขา้ ราชบรพิ าร
และบตุ รหลานใกลช้ ดิ ศนู ยก์ ารศกึ ษาอยทู่ พี่ ระบรมมหาราชวงั วงั เจา้ นาย บา้ นขา้ ราชการชนั้ ผใู้ หญ่ แหลง่ ทง้ั ปวง
น้เี ปน็ ทีฝ่ กึ หัดราชการ วชิ าหนงั สอื ศลิ ปวิทยาการช่างและวัฒนธรรม

สว่ นการศกึ ษาของราษฎรสว่ นใหญอ่ ยทู่ วี่ ดั พระเปน็ ครผู สู้ อนแกเ่ ดก็ ชาย เชน่ ภาษาไทยเบอื้ งตน้ อบรม
ศีลธรรมจรรยามารยาท เรียนวิชาช่าง วิชาแพทย์แผนไทย เรื่องท่ีเรียนเป็นไปตามแต่พระผู้เป็นครูมีความรู้
เชยี่ วชาญ ผเู้ รยี นเรยี นรผู้ า่ นการจดจ�ำ ครทู �ำใหด้ ู และการฝกึ ปฏบิ ตั ิ วชิ าสอนหนงั สอื เรยี กวา่ “การตอ่ หนงั สอื ” คอื
เรียงสอนทลี ะคนตามสติปัญญาของศิษย์ ใครเรียนรไู้ วก็ไดต้ ่อเรื่องใหม่ ครูเขียนบนกระดาน ศษิ ยก์ ค็ ัดลอกหรอื
อา่ นจนจ�ำให้แมน่ ย�ำ

เด็กชายที่มาฝากตวั เป็น “ศษิ ยว์ ัด” พอ่ แม่มกั อยู่ในละแวกเดยี วกบั วัด เมอื่ อายคุ รบก็ “บวชเรยี น” โดย
บรรพชาเป็นสามเณร และอุปสมบทเป็นภกิ ษุ ศิษย์วดั สั่งสมความรอู้ ยรู่ ะยะหนงึ่ บา้ งก็ลาสิกขาไปประกอบอาชพี
บา้ งกด็ �ำรงสมณเพศตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ศกึ ษาพระธรรมลกึ ซงึ้ บา้ นและวดั มคี วามสมั พนั ธก์ นั แนบแนน่ ครรู กั และเอาใจใส่
สอนศษิ ย์อย่างลกู หลาน เสมือน “บ�ำเพญ็ บุญ” ศิษย์เคารพย�ำเกรงครู และ “สมคั รใจ” เรียน

เนื่องจากศูนย์กลางการเรียนอยู่ที่วัด ประกอบกับความคิดในอดีตว่า ถ้าเด็กหญิงเรียนอ่านเขียนภาษา
ไทยได้คล่อง ก็อาจเขียนเพลงยาวโต้ตอบกับชาย เด็กหญิงจึงอยู่บ้านเรียนวิชาการบ้านการเรือน งานช่างฝีมือ
เชน่ เยบ็ ปักถักรอ้ ย ลกั ษณะเดียวกับสตรใี นราชส�ำนกั ถา้ จะศกึ ษาอกั ขรวธิ กี ็เพียงอ่านออกเขยี นได้ ไม่มีโอกาส
อยา่ งเดก็ ชาย

การศึกษาในรัชสมัยน้ีเกิดจากพระราชด�ำริเพื่อกอบกู้ฟื้นฟูศิลปวิทยาการที่เคยรุ่งเรืองในอดีต แนวการ
จดั การศึกษาอาจเปรียบไดก้ บั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในปัจจบุ ัน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

6 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช

รัชกาลที่ ๑

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ทรงพระบรมราชสมภพเมื่อ พุทธศักราช ๒๓๑๐ ทรงด�ำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ
ต�ำแหน่งพระมหาอุปราช เมื่อพระชนมายุ ๔๐ พรรษา และเสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๒
เมอื่ พุทธศักราช ๒๓๕๒

ตลอดรชั สมยั พระองคท์ รงด�ำเนนิ พระราชกรณยี กจิ ตามพระราชปณธิ านและตามรอยพระยคุ ลบาทสมเดจ็
พระบรมชนกนาถทท่ี รงฟน้ื ฟบู า้ นเมอื งไวท้ ง้ั ทางโลกและทางธรรม ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหส้ ง่
พระสมณทตู ไปสืบพระพทุ ธศาสนาท่ีลงั กา ทรงสง่ เสริมความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ เพ่อื ประโยชนก์ ารค้าขาย
และการแลกเปลี่ยนวิทยาการใหมๆ่

ในรัชสมัยน้ี ศิลปวิทยาการเจริญรุ่งเรืองมาก สะท้อนความสงบสุขและความม่ันคงของชาติ สมดังท่ี
พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ พทิ ยาลงกรณ ถวายพระราชสดดุ วี า่ “ทรงรบั มรดกบา้ น เมอื งด”ี และประการส�ำคญั ยงิ่
พระองค์มีพระปรีชาสามารถศิลปะหลายแขนง จึงทรงเป็นแบบอย่างในการศึกษาสร้างสรรค์แก่คนรุ่นหลัง
กาลเวลาผา่ นมายาวนาน ศิลปกรรมช้ันเย่ยี มในพระองคเ์ ปน็ ท่ีเชดิ หน้าชูตาแก่ชาวโลกจนบัดน้ี

ลักษณะการศึกษา

ลกั ษณะการศกึ ษาในรชั สมยั นยี้ งั คงมแี บบแผนเชน่ เดยี วกบั ครงั้ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้
จฬุ าโลกมหาราช หากมกี ารปรบั ปรงุ รายละเอยี ดบางประการใหเ้ หมาะสมแกก่ าลโอกาส เมอ่ื พเิ คราะหจ์ ากวรรณคดี
ประกอบ ท�ำใหไ้ ดภ้ าพลกั ษณะการศกึ ษาชดั เจนขน้ึ เชน่ ผชู้ ายตงั้ แตเ่ ชอ้ื พระราชวงศล์ งมาจนถงึ ราษฎร นยิ มศกึ ษา
อกั ขรวธิ ภี าษาทง้ั ไทย บาลี และเขมร บา้ งสนใจศกึ ษาไสยศาสตร์ และต�ำราพชิ ยั สงคราม หากใครตอ้ งการรบั ราชการ
กฝ็ ึกหดั เปน็ มหาดเล็ก เรยี นกฎหมาย ราชาศพั ท์ และสภุ าษติ โบราณ มสี ุภาษติ พระรว่ ง เป็นต้น

ส่วนราษฎรทั่วไปเรียนหนังสือให้พออ่านออกเขียนได้ และวัดยังเป็นสถานที่เรียนท้ังวิชา
หนังสือและอ่ืนๆเช่นรัชกาลก่อน นอกจากพระสงฆ์เป็นผู้สอนแล้ว บางทีก็มีฆราวาสเป็นอาจารย์ด้วย
มีหลักฐานจากพงศาวดารว่า รัชกาลของพระองค์ มีการตั้งโรงเรียนสอนอักขรวิธีแก่เด็กและราษฎรที่โรงทาน
ในพระบรมมหาราชวัง นอกจากน้ีทรงส่งเสริมการเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลีให้ก้าวหน้าและรัดกุมยิ่งข้ึน
โปรดให้มกี ารแปลบทสวดมนตจ์ ากภาษาบาลเี ป็นภาษาไทย และทรงใหจ้ ดั ท�ำคู่มอื หรือต�ำราการศกึ ษาพระธรรม
วนิ ัยเปน็ ภาษาไทยเลม่ แรกของคณะสงฆ์

ดา้ นวชิ าชา่ งเปน็ ทนี่ ยิ มเรยี นกนั อยา่ งกวา้ งขวาง “ใชแ้ บบอยา่ งฝรงั่ แลจนี เขา้ มาปะปนแผลงใหแ้ ปลกออก
ไปกว่าแตก่ ่อน” ทางวรรณคดนี อกจากพระองคท์ รงเป็นกวีแลว้ ยงั มกี วีคนส�ำคญั จ�ำนวนมาก ถือเป็นยคุ ทองแห่ง
วรรณคดี ท่กี วตี า่ งมุ่งสร้างสรรค์วรรณคดีเพอื่ “เฉลิมศรีพระนคร เป็นพิทยาภรณ์ ประดษิ ฐป์ ระดบั สรรพงาม” ทั้ง
นาฏกรรม ดนตรี และการละครในรัชกาลน้ไี ด้เป็นหลกั ส�ำหรบั ศึกษาสืบสานตอ่ ไปภายหน้า

การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในรชั กาลนี้ มพี ระมหากษตั รยิ ผ์ ทู้ รงพระปรีชาสามารถ
ทรงเป็นตน้ แบบแห่งการเรยี นร้ศู ลิ ปกรรมหลายแขนง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

8 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย

รัชกาลที่ ๒

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ทรงพระบรมราชสมภพเมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๓๓๐ ทรงไดร้ บั สถาปนาเปน็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ กรมหมน่ื เจษฎาบดนิ ทร์
เมื่อพุทธศักราช ๒๓๖๕ ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรมชนกนาถให้ทรงก�ำกับ
ดแู ลราชการเปน็ อนั มาก เชน่ กรมทา่ กรมพระคลงั มหาสมบตั ิ กรมพระต�ำรวจวา่ การฎกี า รวมทงั้ แตง่ ส�ำเภาหลวง
ออกไปค้าขายยังเมืองจีน เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต โดยมิได้ตรัส
มอบราชสมบัติแก่พระราชโอรสพระองค์ใด พระบรมวงศานุวงศ์และบรรดาเสนาบดีจึงปรึกษากัน เห็นควร
ถวายราชสมบตั แิ ดพ่ ระเจา้ ลกู ยาเธอ กรมหมน่ื เจษฎาบดนิ ทร์ เสดจ็ ขน้ึ ทรงราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลท่ี ๓
เม่อื พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗

ชว่ งเวลาทพ่ี ระองคเ์ สดจ็ ขน้ึ ทรงราชย์ บา้ นเมอื งไทยสขุ สงบปราศจากขา้ ศกึ ศตั รู เหมาะทจ่ี ะบ�ำรงุ เผยแผ่
พระพทุ ธศาสนา และศลิ ปวทิ ยาการเพอื่ ราษฎรใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขนึ้ อยา่ งไรกต็ าม ทรงเลง็ เหน็ วา่ ไทยตอ้ งเผชญิ กบั
มหาอ�ำนาจตะวนั ตกทกี่ �ำลงั ขยายอทิ ธพิ ลเขา้ มาในภมู ภิ าคนอ้ี ยา่ งเลยี่ งไมไ่ ด้ จงึ มพี ระบรมราโชวาทกอ่ นเสดจ็ สวรรคตวา่
“การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่าก็จะเห็นไม่มีแล้ว มีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝร่ัง ให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีแก่เขาได้
การงานสงิ่ ใดของเขาก็ดี ควรจะเรียนร่ำ� เอาไว้ก็เอาอยา่ งเขา แต่อยา่ ให้นับถือเล่ือมใสไปทีเดียว”

ลกั ษณะการศกึ ษา

ศูนย์กลางการศึกษาของบรรดาพระราชโอรส โอรสเจ้านายอยู่ท่ีพระบรมมหาราชวัง วังเจ้านาย และ
บา้ นขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญ่ สว่ นศนู ยก์ ลางการศกึ ษาของราษฎรทวั่ ไปอยทู่ วี่ ดั เชน่ เดยี วกบั การศกึ ษาในสมยั รชั กาลที่ ๑
และรัชกาลที่ ๒ วัดในรัชกาลน้ีมีจ�ำนวนพร้อมส�ำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ ทั้งที่พระองค์ทรงสถาปนาสร้างข้ึนใหม่
ทรงบูรณะพระอารามเดิม และเจา้ นายขุนนาง พอ่ คา้ ราชการไดม้ ีสว่ นสร้างข้นึ อีกมาก

ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มหลายประการใหก้ ารศกึ ษาของสงฆเ์ จรญิ กา้ วหนา้ แตเ่ นอื่ งจาก
ช่วงเวลานี้ชาวต่างชาติที่ไทยมักเรียกกันท่ัวไปว่า “หมอ” ได้เข้ามาเผยแผ่คริสต์ศาสนาเป็นคร้ังแรกในสมัย
รัตนโกสินทร์ การปรับปรุงพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนามิให้ย่อหย่อนจึงเป็นเรื่องจ�ำเป็น สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามงกุฎ
ซึ่งทรงผนวชอยู่ได้ทรงตั้ง “ธรรมยุติกนิกาย” ข้ึน ทรงวางระเบียบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ เป็นเหตุให้พระสงฆ์
“มหานกิ าย” ซงึ่ เปน็ นกิ ายเดมิ ไดป้ รบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ทเ่ี ลอื่ มใสศรทั ธาตาม และสนใจเรยี นพระธรรมวนิ ยั มากขน้ึ เปน็ ตน้

พระองค์มพี ระราชด�ำรถิ ึงลักษณะการศึกษาไวห้ ลายประเด็น เช่น กุลบุตรตอ้ งเรียนร้อู กั ขรวธิ ี นอกจาก
เขยี นหนงั สอื ไดง้ ามอยา่ งอาลกั ษณแ์ ลว้ ตอ้ งฝกึ ฝนฉนั ทลกั ษณอ์ า่ นและสามารถแตง่ บทประพนั ธไ์ ดด้ ว้ ย ทงั้ ทรงเนน้
การคบมติ รทเ่ี ปน็ คนมแี กน่ สาร หมน่ั ฟงั อา่ น เรอ่ื งและสภุ าษติ ทป่ี ระเทอื งปญั ญา ทรงสนบั สนนุ การแตง่ ต�ำราเรยี น
แบ่งเป็น ประถมจินดามณี เล่ม ๑ และเล่ม ๒ รวมท้ังมีพระบรมราชานุญาตให้ชาวต่างชาติพิมพ์หนังสือไทย
เป็นสอ่ื ส�ำคญั ทางการศกึ ษาเป็นครั้งแรก

ในรัชสมัยน้ีมีการถ่ายทอดงานผสมผสานศิลปะระหว่างชาติ ปรากฏในสถาปัตยกรรม แปลกไปจาก
รัชกาลอ่ืน เช่น พระเจดีย์วัดยานนาวา โลหะปราสาทวัดราชนัดดารามวรวิหาร ฯลฯ อีกประการหนึ่งอันแสดง
พระญาณทัศนท์ ี่กวา้ งไกลของพระองค์ ซึ่งตอ่ มาได้รบั ยกย่องเป็นมรดกความทรงจ�ำแหง่ โลก เปน็ หลกั ที่รวมวิชา
ความรู้ตา่ งๆ เปน็ หลักแกป่ ระชาชนทว่ั ไป ไดแ้ ก่ จารกึ วัดพระเชตุพนท้ังจารกึ วรรณคดี การแพทยแ์ ผนไทย

สื่อส�ำคัญทางการศึกษาท่ียั่งยืนจ�ำนวนมากได้เรียนรู้กันจนบัดน้ี มาจากพระวิสัยทัศน์อันกว้างไกล
ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยพระองค์นี้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

10 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว

รัชกาลท่ี ๓

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ทรงพระบรมราชสมภพเมื่อพุทธศักราช ๒๓๔๗ ทรงได้รับเฉลิมพระนามเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า
มงกุฎสมมุติวงศ์ พงศ์อิศวรกระษัตริย์ ขัติยราชกุมาร ในพุทธศักราช ๒๓๕๙ เมื่อพระชนมายุ ๑๔ พรรษา
ทรงผนวชเป็นสามเณร หลังจากทรงลาสิกขา และเมื่อพระชนมายุ ๒๑ พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นภิกษุ
คร้ันสมเด็จพระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคต และพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เสด็จข้ึนทรงราชย์
เป็นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎ “วชิราโณ” ทรงตัดสิน
พระราชหฤทยั ด�ำรงสมณเพศตอ่ ไป

สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎได้เสด็จขึ้นทรงราชย์ต่อจากสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช
เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลที่ ๔ ทรงพระนามวา่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๔
พระราชวริ ยิ อตุ สาหะทที่ รงศกึ ษาสรรพวชิ าตา่ งๆ และการไดเ้ สดจ็ ออกธดุ งคไ์ ปยงั หวั เมอื งตา่ ง ๆ มโี อกาสใกลช้ ดิ กบั
อาณาประชาราษฎร์ พระราชกรณยี กจิ การเจรญิ สมั พนั ธไมตรแี ละคา้ ขายกบั ตา่ งประเทศ รวมทงั้ การทที่ รงศกึ ษา
ภาษาตา่ งประเทศ และวทิ ยาการตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ดา้ นดาราศาสตร์ เปน็ ทศ่ี รทั ธาแกพ่ ระราชอาคันตกุ ะ
ต่างชาติทั้งปวง ถอื เปน็ คุณานคุ ุณท้งั ทางโลกทางธรรมแกป่ ระเทศชาตแิ ละคนไทยอย่างอเนกประการ

ลักษณะการศกึ ษา

นอกจากพระองคท์ รงไดร้ ับการปลกู ฝงั ความรักในศิลปวทิ ยาจากสมเด็จพระบรมชนกนาถแลว้ ยงั โปรด
การพบปะสมาคมกบั ราชบณั ฑติ ศลิ ปนิ และผทู้ รงคณุ วุฒสิ าขาต่างๆทั้งชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ ท�ำให้ทรง
ทนั สมยั รอบรู้ เพยี บพรอ้ มทงั้ โบราณราชประเพณแี ละสากลนยิ ม ทรงเขา้ ใจความเปน็ ปจั เจกบคุ คล มพี ระราชด�ำริ
ให้ขุนนางและราษฎรเรียนรู้ ยอมรบั วทิ ยาการสมัยใหม่ สนใจดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเขา้ ใจความเป็นเหตุเปน็ ผล
อย่างค่อยเป็นค่อยไป การท่ีทรงต้ังโรงพิมพ์อักษรพิมพการ โดยทรงเป็นบรรณาธิการและทรงอ�ำนวยการพิมพ์
ด้วยพระองค์เอง ท�ำใหข้ า่ วสารและความรู้ตา่ งๆ ไดแ้ พร่หลายขน้ึ

ดา้ นการศึกษาของสงฆ์ พระองคท์ รงวางแบบแผนหลักปฏิบัติ และทรงฟื้นฟูการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม
นอกเหนือจากการศึกษาแบบโบราณราชประเพณีแลว้ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้พระราชโอรส
ทรงรับการศึกษาตามแบบตะวันตกเป็นคร้ังแรก เรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เพ่ือเรียนรู้แนวคิด
การปฏิบัติ และวิทยาการต่างๆของชาวต่างประเทศ พระองค์ทรงริเร่ิมสร้างพิพิธภัณฑ์ที่พระท่ีนั่งองค์หนึ่ง
ในพระบรมมหาราชวงั รวบรวมสงิ่ ส�ำคญั ของชาติ มศี ลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามค�ำแหงมหาราช เปน็ ตน้ ทรงสง่ เสรมิ ให้
ข้าราชการไปดูงานที่จ�ำเป็นต่อราชการไทยเป็นคร้ังแรกอย่างเอาใจใส่และน�ำมาประยุกต์ใช้ในประเทศ
ไดแ้ ก่ กิจการพมิ พ์ การแกน้ าฬิกา

ส่วนการศึกษาส�ำหรับราษฎรทั่วไป ทรงเห็นชอบให้อนุรักษ์ศิลปะและปฏิสังขรณ์โบราณสถาน ให้เป็น
แหล่งค้นคว้าหาความรู้ แม้จิตรกรรมฝาผนังก็ให้ใช้เป็นสื่อสอนพระพุทธศาสนาและเร่ืองราวอ่ืน ๆ ได้
มพี ระบรมราชานญุ าตใหม้ ชิ ชนั นารอี เมรกิ นั บกุ เบกิ การศกึ ษาของเดก็ ชายไทย จดั โรงเรยี นทเ่ี รยี กในครง้ั นนั้ วา่ “สกลู ”
ขึน้ ในสว่ นกลาง เม่ือพุทธศักราช ๒๓๙๕ และอีกหลายแห่งหลายจังหวดั ในสว่ นภมู ภิ าค

พระองคท์ รงใหค้ วามส�ำคญั ตอ่ สทิ ธแิ ละความเทา่ เทยี มกนั ทางการศกึ ษา นอกจากทรงใหแ้ กไ้ ขกฎหมายเกา่
อนั ไมเ่ ปน็ ธรรมแกห่ ญงิ แลว้ ยงั มพี ระบรมราชานญุ าตใหภ้ รยิ ามชิ ชนั นารเี ขา้ ไปสอนภาษาองั กฤษแกเ่ จา้ จอมและ
พระเจ้าลูกเธอในพระบรมมหาราชวัง รวมท้ังให้ตั้งโรงเรียนส�ำหรับเด็กหญิงข้ึนท่ีบ้านของมิชชันนารี เช่น
โรงเรียนแฮเรียต เอมเฮาส์ หรือนิยมเรียกกันว่า โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง หรือชื่อโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
เมื่อยา้ ยสถานท่มี าต้ังในปัจจบุ นั

การทรงเปน็ “บคุ คลแหง่ การเรยี นร”ู้ มแี นวพระราชดำ� รกิ า้ วหนา้ และทรงกลา้ ปฏริ ปู เปลยี่ นแปลงสง่ิ ตา่ งๆ
ใหท้ นั สมยั ของพระมหากษตั รยิ พ์ ระองคน์ ้ี เปน็ รากฐานสำ� คญั ยง่ิ ใหก้ ารศกึ ษาของไทยเจรญิ รงุ่ เรอื งมนั่ คงในปจั จบุ นั

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

12 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว

รชั กาลที่ ๔

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระราชสมภพเมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๖ ไดร้ บั พระราชทานนามวา่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ ฯ
สิริวัฒนราชกุมาร ต่อมาทรงได้รับสถาปนาเป็น กรมหม่ืนพิฆเนศวรสุรสังกาศ และกรมขุนพินิตประชานาถ
ตามล�ำดบั เสดจ็ ขนึ้ ทรงราชยต์ อ่ จากสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ในพทุ ธศกั ราช ๒๔๑๑ ขณะพระชนมายุ ๑๕ พรรษา
โดยมกี ารแต่งต้ังสมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาศรสี ุริยวงศ์ (ช่วง บนุ นาค) เป็นผูส้ �ำเร็จราชการแทนพระองค์

พระราชกรณยี กจิ ของพระองคม์ เี ปน็ อเนกอนนั ต์ เนอื่ งดว้ ยพระราชหฤทยั ใฝศ่ กึ ษา พระปรชี าสามารถ และ
ทรงครองสริ ริ าชสมบตั ติ งั้ แตท่ รงพระเยาว์ ทรงปฏริ ปู การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ การพจิ ารณาคดี ในศาลยตุ ธิ รรม
และขนบธรรมเนียมประเพณีให้เหมาะสมทันสมัย ทรงเลิกทาสอย่างคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป มิให้กระทบถึงเจ้าของทาส
และทาส เสรจ็ สน้ิ ใชเ้ วลาถงึ ๓๐ ปี ทรงพฒั นาการศกึ ษาหลากหลายดา้ น ทรงพฒั นาสาธารณปู โภค สาธารณปู การ
และการเสด็จพระราชด�ำเนนิ ต่างประเทศ เพ่อื ทรงศกึ ษาพระราชกจิ นานา อนั น�ำมาประยุกต์ปรับปรงุ ประเทศ

ลกั ษณะการศกึ ษา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชด�ำริเห็นความจ�ำเป็นท่ีประชาชนต้องได้รับ
การศึกษา เรียนวิชาหนังสือให้ดีเป็นเบื้องต้น ด้วยพระญาณทัศน์ว่าจะท�ำให้เฉลียวฉลาด เรียนรู้อะไรต่อไป
ไดเ้ รว็ ไดง้ า่ ยขน้ึ และเพอื่ ใหไ้ ดข้ า้ ราชการทม่ี คี ณุ ภาพตามความตอ้ งการของบา้ นเมอื งครงั้ กระนน้ั จงึ ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดตั้งโรงเรียนด้านต่างๆ เช่น แผนท่ี ฝึกหัดครู กฎหมาย ข้าราชการพลเรือน
รวมทั้งสง่ นักเรียนทุนไปศกึ ษาตอ่ ณ ต่างประเทศ อย่างมรี ะเบียบแบบแผนเปน็ ครง้ั แรก

พระองค์ทรงเน้นแนวการจดั การศกึ ษา ให้ “พัฒนาคนรอบด้าน” ซงึ่ ปจั จุบนั ใชค้ �ำวา่ “ลกั ษณะองคร์ วม”
กล่าวคือนอกจากผู้เรียนควรมีความรู้พ้ืนฐาน และความสามารถในอาชีพการงานแล้ว จ�ำเป็นต้องเข้าใจศิลปะ
การด�ำรงชีวิต การมีศีลธรรมจรรยาเพ่ือความสงบสุขของสังคม ทรงเห็นชอบให้ระดมสรรพก�ำลัง ตั้งแต่บ้าน
วดั โรงเรยี น และพระราชวงั รว่ มกนั กอ่ ตง้ั และวางรากฐานการศกึ ษาของเยาวชนทงั้ ในพระนคร และหวั เมอื งตา่ ง ๆ
เพ่อื ขยายการศึกษาสู่มหาชนอยา่ งกว้างขวางและเทา่ เทียม

โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม เปน็ โรงเรยี นส�ำหรบั ราษฎรแหง่ แรก ไดก้ �ำเนดิ ขน้ึ อยา่ งเตม็ รปู แบบ ในรชั สมยั นี้
และมีอีกหลายโรงได้ทยอยเปิดสอนตามมา เมื่อประชาชนเข้าใจและนิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียนมากขึ้น จึงมี
พระราชด�ำริจัดตัง้ หนว่ ยงาน “กรมศกึ ษาธกิ าร” ดูแลรับผดิ ชอบการศกึ ษาโดยตรง

ส่วนการศึกษาของสงฆ์ นอกจากการสร้างบูรณะวัด การเผยแผ่พระธรรมวินัยสู่ราษฎร โดยการพิมพ์
พระไตรปิฎกเป็นภาษาไทยพระราชทานไปยังส�ำนักการศึกษาที่เก่ียวข้องท้ังในและต่างประเทศแล้วยังทรง
พระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มสถาปนาสถาบนั การศกึ ษาชน้ั สงู ของคณะสงฆข์ น้ึ ไดแ้ ก่ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั
และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวได้ว่าสถาบันการศึกษาทั้งสองแห่งน้ี ได้เกื้อกูลการศึกษาแก่กุลบุตร
อนั เป็นรากฐานระดบั ประถมศึกษาตอ่ มาทัว่ ราชอาณาจักร

พระราชดำ� รริ เิ รม่ิ การวางรากฐานการศกึ ษาไทยใหก้ า้ วหนา้ ในทกุ ระดบั พรอ้ มทจ่ี ะเจรญิ กา้ วหนา้ ทดั เทยี ม
อารยประเทศ มาจากพระราชประสบการณ์ของ “สมเด็จพระปิยมหาราช” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักย่ิง
ของปวงชน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

14 การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั

รชั กาลที่ ๕

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระราชสมภพเม่อื พทุ ธศกั ราช ๒๔๒๓ ไดร้ บั พระราชทานนามว่า สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ วชริ าวุธ 
ทรงไดร้ บั สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ กรมขนุ เทพทวาราวดี เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๓๑
และทรงไดร้ บั สถาปนาขน้ึ เปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกมุ าร สบื แทนพระองคก์ อ่ นซง่ึ สวรรคต
เมอื่ พุทธศกั ราช ๒๔๓๗ เสด็จขนึ้ ทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริยร์ ชั กาลที่ ๖ เมือ่ พทุ ธศักราช ๒๔๕๓

พระองคเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยพระองคแ์ รกทที่ รงไดร้ บั การศกึ ษาดา้ นวชิ าการและโบราณราชประเพณี
ในพระบรมมหาราชวังตามธรรมเนียมเจ้าฟ้าพระราชกุมาร แล้วยังเสด็จไปทรงศึกษาต่อต่างประเทศ
ณ สหราชอาณาจักร ทรงส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ด้วยพระราชหฤทัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน
ทรงหมนั่ เพยี รศกึ ษาอยา่ งสมำ่� เสมอ  พระราชด�ำริ พระราชด�ำรสั และบทพระราชนพิ นธจ์ �ำนวนมากของพระองค์
สะท้อนความเป็นจอมปราชญ์ ซงึ่ ชาวไทยและต่างชาตติ ่างยกย่องเทิดทนู
ลักษณะการศึกษา

หลักคิดในการจัดการศึกษาของประเทศให้ก้าวหน้า ท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาพระราชทานเนือง ๆ แกผ่ ู้เก่ยี วข้องเพื่อผลในการปฏิบตั ิ เช่น

“ ประเทศท่เี จริญแลว้ ก็จ�ำตอ้ งให้พลเมือง คือ ต้องร้หู นังสอื กอ่ น ”
“ การฝกึ สอนเดก็ นน้ั จ�ำจะตอ้ งฝกึ สอนหลายอยา่ ง ไมใ่ ชแ่ ตจ่ ะใหเ้ รยี นวชิ าหนงั สอื อยา่ งเดยี ว ส�ำหรบั เปน็
เสมียนและเข้าท�ำราชการเท่าน้ัน ...จ�ำจะต้องเป็นผู้ท่ีได้รับความฝึกฝนอันดีแล้วรอบตัว คือต้องได้
ฝึกหัดแล้วหลาย ๆ อย่าง ท้งั ส่วนที่เกี่ยวแก่ใจและกายพรอ้ มมลู ด้วย ... ”
ในรัชสมัยนี้เกิดความเปลี่ยนแปลง อันเป็นรากฐานความเจริญก้าวหน้าทางการศึกษาอย่างเห็นได้ชัด
อนั เนอื่ งมาจากพระราชปรารภ พระราชประสงค์ และพระวสิ ัยทัศน์ของพระองค์ ที่ส�ำคัญ เช่น
ทรงจัดต้ังโรงเรียนมหาดเล็กหลวงขึ้นเป็นโรงเรียนในพระองค์แทนการสร้างวัดประจ�ำรัชกาล ต่อมา
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระราชทานนามใหมว่ ่า โรงเรียนวชริ าวุธวิทยาลัย
ทรงตราพระราชบญั ญตั โิ รงเรยี นราษฎร์ และพระราชบญั ญตั ปิ ระถมศกึ ษาขนึ้ เพอื่ ควบคมุ การจดั การศกึ ษา
ให้มปี ระสทิ ธิภาพขึ้น
ทรงยกฐานะโรงเรยี นส�ำหรบั ฝกึ หดั วชิ าขา้ ราชการพลเรอื นในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ขึน้ เป็นจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของไทย
ทรงสถาปนาโรงเรยี นเพาะชา่ ง และทรงสนบั สนนุ การศกึ ษาของสตรี มโี รงเรยี นสตรกี �ำเนดิ ขน้ึ หลายแหง่
รวมทั้งในสว่ นภูมิภาคด้วย
ทรงรเิ รม่ิ จดั ตง้ั กองลกู เสอื เพอ่ื ฝกึ เยาวชนใหม้ คี ณุ สมบตั ทิ ดี่ ี มสี ามคั คี มานะอดทน เสยี สละเพอื่ สว่ นรวม
ทรงจดั ตงั้ เนตบิ ณั ฑิตยสภา ทรงสถาปนากรมมหรสพเพอ่ื บ�ำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ
ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมจ�ำนวนมาก เช่น หัวใจนักรบ พระร่วง พระนลค�ำหลวง มัทนะพาธา
โคลงสยามานุสติ
ทรงพระราชนิพนธ์บทความส�ำคัญๆ ลงในหนังสอื พิมพ์ และเป็นพระมหากษตั รยิ ์พระองค์แรกที่ทรงใช้
หนงั สอื พมิ พเ์ ป็นส่ือท้ังในดา้ นใหข้ ่าวสาร แสดงความคดิ เห็น และปลุกใจใหร้ ักชาติ
รัชสมัยของพระมหากษัตริย์พระองค์นี้ คนไทยตั้งแต่เช้ือพระวงศ์จนถึงสามัญชนท่ัวไป มีความตื่นตัว
ทางการศกึ ษา และการจัดการศกึ ษาไดก้ ระจายสภู่ ูมภิ าคมากขึ้น โดยมีโรงเรยี นทีเ่ ปน็ ต้นแบบในบางจังหวดั ด้วย

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

16 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ วั

รัชกาลที่ ๖

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระบรมราชสมภพเม่ือพุทธศักราช ๒๔๓๖ พระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงศึกษาท่ีประเทศอังกฤษ
คร้ันทรงส�ำเร็จวิชาทหารแล้ว ทรงเข้าประจ�ำการ ณ กรมทหารปืนใหญ่ม้าอังกฤษ ที่เมืองอัลเดอร์ชอต
และเม่ือทรงนิวัตประเทศไทย ทรงสังกัดทหารปืนใหญ่รักษาพระองค์  ต่อมาได้ทรงศึกษาเพ่ิมเติมในโรงเรียน
ฝา่ ยเสนาธกิ ารฝรงั่ เศส เมอ่ื ทรงส�ำเรจ็ การศกึ ษาและเสดจ็ กลบั ไดท้ รงรบั ราชการในต�ำแหนง่ ปลดั กรมเสนาธกิ ารทหารบก
ทรงได้รับพระราชทานพระอิสริยยศข้ึนเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา
และไดเ้ สดจ็ ขนึ้ ทรงราชย์สืบจากสมเดจ็ พระบรมเชษฐาธริ าช เม่อื พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘

ลักษณะการศึกษา

พระองค์ได้พระราชทานแนวพระราชด�ำรกิ ารด�ำเนนิ การพฒั นาการศึกษาชว่ งเวลานบี้ างประการ เช่น
“(๑) จะต้องเพาะและอบรมครูดี ๆ ข้ึนไว้อีกมาก ๆ ดังได้ลงมือจัดการเปล่ียนแปลงระเบียบฝึกหัด
ครปู ระถม และจะเปดิ แผนกครูมธั ยมในมหาวิทยาลัยในไม่ช้า
(๒) จะตอ้ งหาต�ำราเรยี นภาษาไทยใหเ้ พยี งพอ แกไ้ ขวธิ กี ารตรวจต�ำรา เพอ่ื อดุ หนนุ ผมู้ คี วามรใู้ หแ้ ตง่ ต�ำรา
ไดด้ ว้ ยความสะดวกและปราศจากความสน้ิ เปลอื งยงิ่ ขนึ้ และยงั จะวางระเบยี บบ�ำเหนจ็ รางวลั ผแู้ ตง่
ต่อไปอีก
(๓) การแกห้ ลกั สตู รใหก้ วา้ งขวางและมงุ่ ใหอ้ ยใู่ นความนบั ถอื ตวั และชาตขิ องตวั สามารถทจี่ ะประกอบการ
อาชพี ใหเ้ ปน็ คณุ ประโยชน์ เลย้ี งตวั เองตอ่ ไปในเมอ่ื เตบิ โตขนึ้ และเปน็ ก�ำลงั แกช่ าตบิ า้ นเมอื งของเรา
ความมน่ั คงสมบรู ณ์และม่งั คง่ั ยง่ิ ข้นึ สบื ไป การนี้ก�ำลงั ท�ำอย่แู ล้ว หวงั ว่าจะโฆษณาไดใ้ นไม่ช้า...”
การท�ำนบุ �ำรงุ การศกึ ษาของประเทศในรชั สมยั ของพระองค ์ มคี วามเปน็ สากลตอ่ ยอดจากทรี่ ชั กาลกอ่ น
ไดท้ รงวางรากฐานไว้ เชน่
โปรดใหส้ รา้ งหอพระสมดุ ส�ำหรบั พระนคร เพอื่ ประชาชนทวั่ ไปเขา้ ศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งเสร ี และสรา้ งหนงั สอื
พระไตรปิฎกฉบบั สมบูรณ์ ซง่ึ ใช้มาจนปจั จบุ นั
ทรงตง้ั ราชบณั ฑติ ยสภา เพอื่ เผยแพรว่ ชิ าการดา้ นวรรณคดี โบราณคดี และศลิ ปกรรม รวมทงั้ โปรดใหจ้ ดั
ประกวดหนงั สอื สอนพระพทุ ธศาสนาแกเ่ ดก็ เพอ่ื ปลกู ฝงั เยาวชนใหม้ คี ณุ ธรรมตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา
โปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มให้ตราพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองวรรณกรรมและศลิ ปกรรม
พระราชทานเงินส่วนพระองค์เป็นรางวัลแก่ผู้แต่งหนังสือยอดเย่ียม และพระราชทานทุนแก่นักเรียน
ไปศกึ ษาวิชาวิทยาศาสตรใ์ นต่างประเทศ
เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงเยยี่ มคณะรฐั ประศาสนศาสตร์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ต่อมาได้ทรงตราพระราชก�ำหนดเสื้อครุยของบัณฑิตเพ่ือมอบแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา และเสด็จพระราชด�ำเนินไป
พระราชทานปรญิ ญาบัตรครั้งแรกของไทย ณ มหาวิทยาลยั แห่งนี้
จดุ เรม่ิ ตน้ ของการศกึ ษาไทยกา้ วไปเทยี บนานาอารยประเทศ ดว้ ยพระราชหฤทยั ทมี่ งุ่ มนั่ ของพระมหากษตั รยิ ์
พระองคน์ แี้ ละแตล่ ะพระองค์สืบเนอ่ื งมาเป็นลำ� ดบั

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

18 การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว

รัชกาลท่ี ๗

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระโอรสในสมเด็จ
พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก พระราชนดั ดาในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ทรงพระบรมราชสมภพเมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลเบิร์ก ประเทศเยอรมนี เม่ือทรงพระเยาว์
ได้ตามเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไปยังประเทศต่างๆ ได้แก่
ฝรั่งเศส สวติ เซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา แลว้ เสดจ็ กลบั ประเทศไทยเป็นครัง้ แรกเม่ือพระชนมายุ ๓ พรรษา
จากนน้ั มนิ าน ทรงตอ้ งอยใู่ นความดแู ลของสมเดจ็ พระบรมราชชนนเี พยี งพระองคเ์ ดยี ว ดว้ ยสมเดจ็ พระบรมราชชนก
ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต

ช่วงท่ีประทับประเทศไทยครั้งทรงพระเยาว์ พระองค์ได้ทรงศึกษาเบ้ืองต้นเป็นระยะเวลาส้ันๆ 
ด้วยราชสกุลมหิดลจ�ำเป็นต้องไปพ�ำนัก ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์จึงทรงศึกษา
ณ เมอื งน ้ี ขณะทรงด�ำรงพระอสิ รยิ ยศพระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ อานนั ทมหดิ ล พระชนมายุ ๘ พรรษา ทรงไดร้ บั
อญั เชญิ ใหเ้ สดจ็ ขน้ึ ทรงราชยส์ บื ราชสนั ตตวิ งศต์ อ่ จากพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ ทรงสละราชสมบตั  ิ
โดยมีการแต่งตง้ั ผสู้ �ำเร็จราชการแทนพระองค์

ภายหลงั เมอื่ สงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ สงบ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร
ได้เสด็จนิวัตพระนครอีกครั้ง ในพุทธศักราช ๒๔๘๘ และเน่ืองจากทรงบรรลุราชนิติภาวะแล้ว ทรงเป็นประมุข
ของประเทศโดยมติ อ้ งมผี ู้ส�ำเรจ็ ราชการแผ่นดินอีกตอ่ ไป

ระหวา่ งประทบั ประเทศไทย แมเ้ ปน็ ชว่ งเวลาสนั้ ๆ ไมก่ เ่ี ดอื น กอ่ นเสดจ็ สวรรคต พระองคไ์ ดม้ พี ระราชด�ำริ
และพระราชด�ำรัสเก่ียวกับการศึกษาในโอกาสที่เสด็จพระราชด�ำเนินไปเยือนสถานศึกษาและสถาบันการศึกษา
หลายแหง่ ซึ่งไดม้ ีการบันทกึ ไว้เป็นพระราชอนุสรณ์ใหค้ �ำนึงถงึ มริ ูค้ ลาย เชน่

เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรกจิ การของหอสมดุ แหง่ ชาติ
เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
เสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปทรงเย่ียมโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ ซง่ึ เปน็ โรงเรียนทท่ี รงศึกษาครัง้ ทรงพระเยาว์
เสด็จพระราชด�ำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตรเป็นคร้ังแรกของพระองค์ ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั
เสด็จพระราชด�ำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตรท่ีหอประชุมราชแพทยาลัย ศิริราชพยาบาล 
มหาวทิ ยาลัยแพทยศาสตร์ การพระราชทานปรญิ ญาบตั รครงั้ น้มี ีพระราชปรารภใหม้ กี ารผลติ แพทย์เพิ่มมากข้ึน
เพอ่ื ใหเ้ พียงพอแก่ประชาชน โรงพยาบาลแพทยแ์ ห่งท่ี ๒ จงึ ไดถ้ ือก�ำเนดิ ข้นึ
พระองค์ทรงให้ความส�ำคัญกับการศึกษาตลอดชีวิต ดังพระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่นิสิต
ในโอกาสเสด็จพระราชด�ำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปี ๒๔๘๗ วันท่ี ๑๓ เมษายน พุทธศักราช
๒๔๘๗  ณ หอประชุมจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ความตอนหน่งึ วา่

“ ...นิสิตท่ีส�ำเร็จหลักสูตรซึ่งได้รับปริญญาในวันน้ี อย่าพึงเข้าใจว่า
ท่านเรียนจบสน้ิ การศึกษาแล้ว การศึกษาย่อมไม่มที ่สี ้นิ สดุ ทา่ นตอ้ งหมน่ั แสวงหา
วิชาความรูเ้ พมิ่ เตมิ ไว้ให้ทันสมัยอย่เู สมอ... ”
พระราชกรณยี กจิ อนั เปน็ ทปี่ ลาบปลม้ื แกพ่ สกนกิ รไทย สะทอ้ นพระราชหฤทยั ทที่ รงรกั ถนิ่ ฐาน ทรงมงุ่ มน่ั
รับผิดชอบ และทรงนำ� ศาสตรส์ ูก่ ารพฒั นาประเทศชาติอยา่ งแท้จรงิ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

20 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล
พระอฐั มรามาธบิ ดินทร

รัชกาลที่ ๘

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระโอรสในสมเดจ็
พระมหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก พระราชนดั ดาในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ทรงพระบรมราชสมภพเมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๐ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออเบอรน์ รฐั แมสซาชเู ซตส์ สหรฐั อเมรกิ า
ทรงเคยศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี กรุงเทพมหานคร โรงเรียนในเมืองโลซานน์ และมหาวิทยาลัยโลซานน์
ตามล�ำดบั คณะรฐั มนตรโี ดยความเหน็ ชอบของรฐั สภาไดม้ มี ตกิ ราบบงั คมทลู เชญิ พระองคข์ ณะด�ำรงพระอสิ รยิ ยศ
สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ ภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระอสิ รยิ ยศเดมิ คอื พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ภมู พิ ลอดลุ ยเดช
เสดจ็ ขน้ึ ทรงราชยส์ บื ตอ่ จากสมเดจ็ พระบรมเชษฐาธริ าช เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ พระนามของพระองคข์ านโดยยอ่
ภายหลังพระราชพิธีบรมราชาภิเษกว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ครั้นพระองค์
เสดจ็ สวรรคตในพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ ทรงไดร้ ับการถวายพระเกียรติยศเฉลมิ พระปรมาภไิ ธย ตอ่ มา ตามทีจ่ ารึก
ในพระสพุ รรณบฏั วา่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์นี้ ครั้งทรงพระเยาว์ได้มีโอกาสทรงศึกษา
ในประเทศทอี่ ารยะ เมอื่ แรกเสดจ็ ขน้ึ ทรงราชยท์ รงรบั พระราชภารกจิ อนั หนกั เออื้ อ�ำนวยแกป่ ระเทศไทยภายหลงั
สงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ ในการเสดจ็ พระราชด�ำเนินไปทรงเจริญพระราชไมตรีกบั ตา่ งประเทศทง้ั ทวีปยุโรป อเมรกิ า
ออสเตรเลยี เเละเอเชยี พระเมตตาธคิ ณุ อนั หาทสี่ ดุ มไิ ดแ้ กร่ าษฎรในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ทรงพระกรณุ าเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ
ไปทรงเยยี่ มบ�ำบดั ทกุ ขบ์ �ำรงุ สขุ ทกุ ภมู ภิ าคทวั่ ประเทศ ทง้ั ปวงกอ่ ใหเ้ กดิ พระราชกรณยี กจิ นานาประการ มโี ครงการ
ในพระบรมราชานุเคราะห์กว่า ๒๐๐๐ โครงการ เป็นต้น ยังประโยชน์แก่ประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าภายใต้
ร่มพระบารมี

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ ทรงเลง็ เหน็ ความส�ำคญั อยา่ งยง่ิ ของการศกึ ษา มพี ระราชปรารภ
ว่าการศึกษาเป็นพื้นฐานการประกอบอาชีพ มีบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพและคุณธรรม
เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในการพัฒนาประเทศ ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงพระราชอุตสาหะในการขยาย
โอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงคนทุกกลุ่ม และสามารถน�ำหลักวิชามาใช้อย่างมีเหตุผลสอดคล้องกับภูมิสังคม
และบรบิ ทของประเทศ

พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระองคจ์ ากทไี่ ดท้ อดพระเนตรเดก็ เยาวชน ประชาชนจ�ำนวนไมน่ อ้ ย ขาดโอกาสทางการศกึ ษา
ขาดปจั จัยความพรอ้ ม จึงได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ รา้ ง ท�ำนบุ �ำรุงสถานศึกษา แหล่งเรยี นรู้ให้มัน่ คงยงั่ ยืน ส�ำหรบั ผ้เู รียน
ที่อย่หู า่ งไกลในถ่นิ ทรุ กันดาร กล่มุ ชาติพนั ธุ์ และกลุม่ ผเู้ รยี นพเิ ศษลกั ษณะต่างๆ

พระมหากรุณาธิคุณแก่เยาวชนทั่วไปให้เห็นความส�ำคัญของการเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่ามีคุณภาพ จึงทรง
พระวิริยอุตสาหะเสด็จพระราชด�ำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตรและพระบรมราโชวาทแก่นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ
แก่นักเรียนโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ ฯลฯ
อย่างตอ่ เน่ืองหลายสบิ ปี

พระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานการสนบั สนนุ ใหผ้ มู้ สี ตปิ ญั ญาดไี ปศกึ ษาตอ่ วชิ าการชน้ั สงู ในตา่ งประเทศ เพอ่ื เปน็ ขวญั
ก�ำลังใจแก่ผู้เรยี นดี แตข่ าดทนุ ทรพั ย์ กลบั มาเป็นก�ำลงั ส�ำคญั ในการพฒั นาวชิ าการต่าง ๆ ในประเทศ เช่น ทรงกอ่ ต้งั ทุนภมู ิพล
ทุนอานนั ทมหดิ ล ทนุ เลา่ เรียนหลวง รวมท้ังพระราชทานทนุ เรม่ิ ต้นกอ่ ต้ังมลู นิธิช่วยนกั เรยี นทีข่ าดแคลนในพระบรมราชูปถัมภ์
เพือ่ การศกึ ษาที่สูงขน้ึ ในประเทศส�ำหรับนกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษา ระดับอาชีวศกึ ษาและระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชัน้ สูง

พระมหากรณุ าธิคณุ สง่ เสรมิ ด้านอาชวี ศึกษา เชน่ เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปงานแสดงศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ทรงก่อต้ัง
โครงการพระดาบส สร้างคนให้มีสัมมาชีพ ยืนหยัดด้วยความสามารถของตนเอง ทรงพระราชด�ำริสร้างแหล่งเรียนรู้ท่ีมีชีวิต
คอื ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ เพอ่ื ศกึ ษา ทดลอง วจิ ยั แสวงหาแนวทางพฒั นาตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสม
กับสภาพแวดลอ้ ม และการประกอบอาชพี ของประชาชนบริเวณนัน้

ฯลฯ

พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐหลากหลายด้านพระองค์น้ี ไม่เพียงแต่ประชาชนชาวไทย
ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ องค์กรนานาประเทศจ�ำนวนมากยังทูลเกล้าทูลกระหม่อม
ถวายราชสดุดีพระเกยี รติคุณแดพ่ ระองค์

“บารมีพระมากพ้น ร�ำพัน” มหาราชผ้ทู รงเป็น “พลงั แหง่ แผน่ ดิน” สมพระนามโดยแท้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

22 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

รัชกาลท่ี ๙

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชโอรส
ในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ทรงพระบรมราชสมภพเมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๕ ณ พระทน่ี งั่ อมั พรสถาน
พระราชวังดุสิต พระนามเดิม คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ ฯ บรมขัตติยราชกุมาร
ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
สยามมกุฎราชกุมาร เม่ือพุทธศักราช ๒๕๑๕ และเสด็จข้ึนทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์ต่อจากสมเด็จ
พระบรมชนกนาถ เมือ่ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

พระองคท์ รงศกึ ษาระดบั อนบุ าล เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๙ จนถงึ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ณ โรงเรยี นจติ รลดา
พระราชวงั ดุสิต แลว้ เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงศึกษาต่อทีโ่ รงเรยี นคิงส์มดี เมืองซีฟอร์ด และโรงเรียนมลิ ฟลิ ด์
เมอื งสตรีท ประเทศอังกฤษ ตามล�ำดับ ทรงส�ำเร็จการศกึ ษาเม่ือพทุ ธศักราช ๒๕๑๓

เนอ่ื งจากทรงสนพระราชหฤทยั ในกจิ การทหารตงั้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์ จงึ ทรงศกึ ษา ณ โรงเรยี นเตรยี มทหาร
คิงสกูล นครซดิ นยี ์ และวทิ ยาลัยการทหารดนั ทรูน กรุงแคนเบอรร์ า ประเทศออสเตรเลีย ตามล�ำดับ ทรงส�ำเร็จ
การศึกษาเม่ือพุทธศักราช ๒๕๑๘ หลังจากนั้นได้มีพระวิริยอุตสาหะเพิ่มพูนความรู้ และพระประสบการณ์
ทางการทหารหลกั สตู รพิเศษอยา่ งตอ่ เนื่องทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ เชน่ สหราชอาณาจกั ร สหรัฐอเมริกา
เบลเยยี ม เยอรมนี ฝรั่งเศส

การบินเป็นอีกหลักสูตรที่ทรงสนพระราชหฤทัย จึงทรงศึกษาการบินขับไล่ทั้งขั้นพ้ืนฐานและข้ันสูง
ณ ฐานทพั วลิ เลยี ม สหรฐั อเมรกิ า ทรงศกึ ษาหลกั สตู รนกั บนิ พาณชิ ยเ์ อกจากบรษิ ทั การบนิ ไทย ทรงส�ำเรจ็ การศกึ ษา
และทรงไดร้ บั ใบอนญุ าตเปน็ กัปตันเครือ่ งบินโดยสารโบอ้ิง ๗๒๗

นอกจากน้ียังทรงศึกษาด้านกฎหมาย และทรงได้รับปริญญาบัตรจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รวมทั้งหลักสูตรอื่นๆอีกตามพระราชอัธยาศัยจากสถาบันการศึกษาในประเทศ เพ่ือประโยชน์แก่การทรงงาน
ทางราชการทหาร เชน่ ทรงแปลต�ำราจากตา่ งประเทศเปน็ ภาษาไทย ทรงปฏบิ ตั ิหน้าที่ครกู ารบนิ ทรงถา่ ยทอด
วิชาการบนิ สมัยใหม่แก่นกั บินกองทัพอากาศ ฯลฯ

พระราชกรณียกิจด้านการศึกษาและพัฒนาเยาวชน พระองค์ได้ทรงเจริญตามรอยพระยุคลบาทสมเด็จ
พระบรมชนกนาถ และสมเดจ็ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ตงั้ แตย่ ังทรงพระเยาว์ ตลอดทรงด�ำรงพระอิสรยิ ยศ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกุมาร และจวบจนปัจจุบัน เช่น

ทรงสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั สรา้ งโรงเรียนส�ำหรบั บตุ รหลานข้าราชบรพิ ารและประชาชนท่วั ไป รวมท้งั
ท่ีหน่วยงานได้น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเพ่ือเทิดพระเกียรติ ทั้งในส่วนกลางย่านชุมชนชานพระนคร
และส่วนภูมิภาคซ่ึงอยู่ห่างไกล ท�ำให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาที่ได้มาตรฐาน
และโรงเรยี นทท่ี รงสง่ เสรมิ สนบั สนุนเหลา่ นจ้ี ะได้เป็นแบบอยา่ งการจดั การศึกษาทกุ ระดบั

ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชด�ำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย
ต่างๆ สืบเน่ืองมานานหลายสิบปี โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยราชภัฏ รวม ๓๘ แห่งท่ัวประเทศ ทรงติดตาม
ความก้าวหน้าการพัฒนาการศึกษาและกิจการของมหาวิทยาลัยอย่างสม่�ำเสมอด้วย ท้ังโดยพระองค์เอง
และทรงมอบหมายองคมนตรีเปน็ ผู้แทนพระองคไ์ ปตรวจเยย่ี มสรา้ งขวัญก�ำลงั ใจแกค่ ณาจารย์และผู้บริหาร

อีกประการหน่ึงจากหลายประการด้านการศึกษา กล่าวเฉพาะท่ีนักเรียนนักศึกษาได้รับ
พระมหากรุณาธิคุณโดยตรงคือ การพระราชทานทุนที่สร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนไทยท่ีมีฐานะ
ยากจน มีความประพฤติดีให้ได้ศึกษาต่อเนื่องจนส�ำเร็จระดับปริญญาตรี ซ่ึงเดิมด�ำเนินงานอยู่ในโครงการ
ทนุ การศกึ ษาสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร และจดั ตงั้ เปน็ มลู นธิ ทิ นุ การศกึ ษาพระราชทาน ฯ
ตามพระราชด�ำริในปจั จบุ ัน

พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสนองพระราชปณิธานในสมเด็จพระบรมชนกนาถ และสมเด็จพระบรมราชชนนี
พันปหี ลวง เพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนชาวไทยท้ังปวงมาอย่างยาวนาน ใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ย่ังยืนสืบไป

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

24 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี นิ ทร
มหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว

รัชกาลท่ี ๑๐



ค�ำนำ�

ปี ๒๕๖๓ เปน็ ปที กี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร มงุ่ เนน้ การ “ปลดลอ็ ก ปรบั เปลย่ี น เปดิ กวา้ ง” เพอ่ื ให้
ระบบการศึกษาไทย มุ่งทิศทางไปสู่การพัฒนาและสร้างทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ
ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภายในประเทศและตลาดโลก ซ่ึงเป็นผลมาจาก
การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยใี นโลกศตวรรษท่ี ๒๑ ประกอบกบั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั
โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ท่ีก�ำลังแพร่ระบาดอย่างมากในขณะน้ี อันส่งผลกระทบต่อประชาชน
ในวงกวา้ งในทกุ ดา้ น โดยเฉพาะดา้ นการศกึ ษา ซงึ่ ครอบคลมุ ผคู้ นเปน็ จ�ำนวนมาก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จงึ จ�ำเป็นต้องปรับรปู แบบการจัดการศึกษาเพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณด์ ังกลา่ ว

การจดั การศกึ ษาในรอบปี ๒๕๖๓ ของทกุ หนว่ ยงานในประเทศไทย และพลงั ความรว่ มมอื รว่ มใจ
ของข้าราชการและบุคลากรในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้น�ำมาสรุปรายงานในหนังสือที่ระลึก
วันคล้ายวันสถาปนากระทรวงศึกษาธิการ ครบรอบ ๑๒๙ ปี ๑ เมษายน ๒๕๖๔ เพื่อให้เห็นถึง
ความก้าวหน้าในการจัดการศึกษาภายใต้โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือร่วมกันขับเคลื่อนไปสู่จุดเน้นใน
๖ ด้าน คือ ๑) การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๒) การพัฒนาการศึกษาเพ่ือ
ความมั่นคง ๓) การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ๔) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง
การศกึ ษา ๕) การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม และ ๖) การปรบั
สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด โรคไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
ที่จะต้องมกี ารปรับตัวใหส้ อดรบั กับชวี ติ วิถใี หม่ (New Normal)

ในนามของคณะกรรมการด�ำเนินงานและคณะบรรณาธิการจัดพิมพ์หนังสือท่ีระลึก
วันคลา้ ยวนั สถาปนากระทรวงศกึ ษาธิการ ครบรอบ ๑๒๙ ปี ขอขอบคณุ ในความกรณุ าของทกุ ท่าน
ท่ีได้ให้ข้อเขียนท่ีทรงคุณค่าอย่างยิ่ง รวมท้ังคณะกรรมการ คณะท�ำงาน คณะบรรณาธิการ
และผูใ้ ห้ความชว่ ยเหลอื ในการด�ำเนินการจดั พมิ พท์ ุกท่าน ทที่ �ำให้หนงั สือที่ระลึกเลม่ นีเ้ ป็นผลส�ำเร็จ
หวงั วา่ สาระความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากหนงั สอื เลม่ น้ี จะเปน็ ขอ้ มลู สารสนเทศ เปน็ หลกั ฐานอา้ งองิ และกอ่ ใหเ้ กดิ
ประโยชนต์ อ่ ผอู้ า่ นอย่างกว้างขวางตอ่ ไป


นายสภุ ัทร จ�ำปาทอง
ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร



สารบญั ๒

คติธรรม
แนวพระราชด�ำรแิ ละพระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษา ๒๗
ในพระมหากษัตรยิ ์แห่งมหาจักรบี รมราชวงศ์ ๓๐
ค�ำน�ำ ๔๒
พระมหากรุณาธิคุณต่อการศึกษา ๕๒
• เสยี งสะท้อนจากผ้บู ริหาร ๗๗
• ทุนพระราชทาน ทุนการศกึ ษาภายใตม้ ลู นิธิทุนการศึกษา ๗๘
สารนายกรัฐมนตรี ๘๒
สารรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ๙๗
ท�ำเนยี บผ้บู รหิ ารกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๒๐
เล่าขานต�ำนานส่ือการเรียนการสอน ๑๙๓
กระทรวงศึกษาธกิ ารกบั การศกึ ษาไทยในชวี ิตวิถใี หม่ ๑๙๗
ขอ้ มลู สถิติ ๑๙๙
บรรณานกุ รม ๒๑๙
ความภาคภูมใิ จในอาชพี การศกึ ษาสูร่ างวลั คุรุสภา ปี ๒๕๖๓ ๒๖๗
เชิดชูเกยี รตผิ ูท้ �ำคณุ ประโยชนใ์ หแ้ กก่ ระทรวงศึกษาธกิ าร
ภาคผนวก

พระมหากรณุ าธิคณุ ตอ่ การศกึ ษา

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี นิ ทร
มหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว

รัชกาลท่ี ๑๐

พระมหากรุณาธคิ ุณ

ตอ่ การศึกษา

พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงตระหนกั ถงึ ๑. มีทศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ งตอ่ บ้านเมือง
ความส�ำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของประเทศให้มี ๒. มีพนื้ ฐานชวี ติ ทมี่ ั่นคง - มีคณุ ธรรม
คุณภาพด้วยการให้การศึกษาแก่เด็กและเยาวชน เพราะ ๓. มงี านท�ำ - มอี าชพี
การศึกษาจะสร้างโอกาสได้เรียนรู้วิทยาการต่าง ๆ ท่ีจะน�ำมาใช้ ๔. เปน็ พลเมืองดี
ในการประกอบอาชีพพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถ ๑. มที ัศนคตทิ ่ถี กู ตอ้ งตอ่ บ้านเมอื ง
อันเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ ๑. ความรคู้ วามเขา้ ใจตอ่ ชาติบ้านเมอื ง
ชาติจะเจริญรุ่งเรืองได้น้ันย่อมเป็นผลมาจากประชาชนในชาติ ๒. ยดึ ม่ันในศาสนา
เปน็ ผมู้ กี ารศกึ ษา มคี วามรคู้ วามสามารถทจ่ี ะชว่ ยพฒั นาบา้ นเมอื ง ๓. มนั่ คงในสถาบันกษตั ริย์
ใหเ้ จริญก้าวหน้า พระองคท์ รงเล็งเหน็ ความส�ำคญั ของการศึกษา ๔. มีความเออ้ื อาทรต่อครอบครวั และชมุ ชนของตน
ทุกระดับทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจและมีพระราชปณิธาน ๒. มีพ้ืนฐานชวี ิตท่มี นั่ คง - มีคณุ ธรรม
อันแน่วแน่ในการสร้างความม่ันคงด้าน “การศึกษาของเยาวชน” ๑. รู้จักแยกแยะสงิ่ ท่ผี ดิ -ชอบ / ช่วั -ดี
ทรงตระหนกั ถงึ ความจ�ำเปน็ ความเทา่ เทยี มของโรงเรยี นทกุ พนื้ ที่ ๒. ปฏบิ ัตแิ ต่สงิ่ ท่ชี อบ สิ่งท่ดี ีงาม
ซ่ึงเป็นกลไกส�ำคัญของการพัฒนาเยาวชน จึงเกิดมีโรงเรียน ๓. ปฏิเสธสิ่งที่ผดิ สง่ิ ทีช่ ่วั
ในพระราชปู ถมั ภท์ กี่ ระจายอยทู่ วั่ ประเทศ พระราชทานทนุ การศกึ ษา ๔. ชว่ ยกันสร้างคนดีให้แกบ่ ้านเมอื ง
อุปกรณ์การศึกษาท่ีทันสมัยเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ทางวิชาการ ๓. มีงานทำ� - มีอาชพี
และเทคโนโลยี ตลอดจนอุปกรณ์การกีฬาแก่เยาวชนไทยอย่าง ๑. การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝน
ตอ่ เนอ่ื ง ทงั้ นเี้ พอื่ สรา้ งเยาวชนใหม้ คี วามพรอ้ มทงั้ รา่ งกายและจติ ใจ อบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและเยาวชน รักงาน สู้งาน
ในการพัฒนาศักยภาพเปน็ พลเมอื งทม่ี คี ณุ ภาพของชาติ นับเปน็ ท�ำจนงานส�ำเร็จ
พระคุณอันประเสริฐของประชาชนชาวไทยท่ีมีพระมหากษัตริย์ ๒. การฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตร และนอกหลักสูตร
เป็นท่ีเคารพสักการะด้วยพระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงมีต่อคนไทย ต้องมีจุดมุ่งหมายใหผ้ ู้เรยี นท�ำงานเปน็ และมีงานท�ำในทส่ี ุด
ทกุ หมเู่ หลา่ มีพระเมตตาต่อประชาชน ทุกเช้อื ชาติ ศาสนา ๓. ต้องสนับสนุนผู้ส�ำเร็จหลักสูตร มีอาชีพ มีงานท�ำ
จนสามารถเลย้ี งตวั เองและครอบครวั
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทที่ รงมตี อ่ การศกึ ษาของประเทศนน้ั ๔. เป็นพลเมืองดี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยการศึกษา ๑. การเป็นพลเมอื งดี เป็นหน้าท่ีของทุกคน
ของเยาวชนและทรงส่งเสริมด้านการศึกษานับแต่ทรงด�ำรง ๒. ครอบครัว - สถานศึกษาและสถานประกอบการ
พระราชอิสริยยศท่ีสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎ ต้องส่งเสริมให้ทกุ คนมีโอกาสท�ำหนา้ ท่เี ป็นพลเมืองดี
ราชกมุ าร นอกจากนพี้ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงใหค้ วามส�ำคญั ๓. การเปน็ พลเมอื งดี คอื “เหน็ อะไรทจ่ี ะท�ำเพอ่ื บา้ นเมอื งได้
ในการบ�ำพ็ญพระราชกรณียกิจโดยเสด็จพระราชด�ำเนินเป็น กต็ อ้ งท�ำ”เชน่ งานอาสาสมคั รงานบ�ำเพญ็ ประโยชน์งานสาธารณกศุ ล
ประธานในงานทเ่ี ก่ียวกบั การศึกษาอย่างสม�ำ่ เสมอ ให้ท�ำดว้ ยความมีน้�ำใจ และความเอือ้ อาทร

พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทที่ รงมตี อ่ การศกึ ษานนั้ นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ตอ่ ประเทศชาติ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน
พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ตอ้ งมงุ่ สรา้ งพน้ื ฐานใหแ้ กผ่ เู้ รยี น
โดยให้ผู้เก่ียวข้องน้อมน�ำไปปฏิบัติให้บังเกิดผล ประกอบด้วย
พระบรมราโชบาย ๔ ด้าน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

32 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

กระทรวงศึกษาธิการขอน้อมน�ำพระบรมราโชบาย ทรงมคี ณุ ปู การยง่ิ แกก่ ารศกึ ษาไทย
ด้านการศึกษามาเป็นหลักในการสร้างพลเมืองให้เป็นคนดี ระดับต่าง ๆ
และพฒั นาใหเ้ ปน็ คนเกง่ สู่การปฏบิ ัติตามรอยเบ้ืองพระยคุ ลบาท
ระดับอนุบาลและประถมศึกษา พระราชทานสถานที่
หลักการทรงงาน ทหารมหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร เปน็ ทตี่ งั้
ตามแนวพระราชดำ�ริ โรงเรยี นอนบุ าลทหารมหาดเลก็ ราชวัลลภ
โรงเรยี นอนุราชประสิทธ์ิ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบ�ำเพ็ญพระราช
กรณียกิจท่ีท�ำนุบ�ำรุงและเก้ือกูลการศึกษาของชาติทุกรูปแบบ โรงเรยี นอนรุ าชประสทิ ธ์ิ เดมิ ชอ่ื “โรงเรยี นอนบุ าลทหาร
ทุกระดับ ต้ังแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มหาดเล็กราชวัลลภ” เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ “สมเด็จ
อดุ มศึกษาและการศกึ ษาสายอาชพี ด้านการแพทย์ สาธารณสขุ พระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร” เปิดท�ำการสอน
การเกษตร หรืออื่น ๆ นอกจากจะทรงสร้างสถานศึกษา ระดับช้ันอนุบาล ได้รับพระราชานุญาตให้ตั้งอยู่ในบริเวณ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงรับโรงเรียนไว้ใน กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์” ถนนราชวิถี
พระบรมราชูปถัมภ์ พระราชทานพระราชทรัพย์ พระราชทาน กรุงเทพมหานคร จัดการศึกษาให้บุตรหลานทหารมหาดเล็ก
ค�ำแนะน�ำ พระบรมราโชวาทสนับสนุน และเป็นก�ำลังใจแก่ครู และบรรดาข้าราชบริพารท้ังหลาย ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติ
และนกั เรยี นในพระบรมราชปู ถมั ภ์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เหน็ ชอบใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารรบั โอนกจิ การมาสงั กดั ส�ำนกั งาน
พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์งานการศึกษาของชาติ คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑ พฤษภาคม
อย่างต่อเน่ือง ทรงห่วงใยเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาส พุทธศักราช ๒๕๓๔ และได้ย้ายมาต้ังใหม่ในท่ีดินของ
ทางการศึกษา ทั้งทรงแก้ปัญหาตามความจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วน “วัดกลางบางซ่ือ” ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี
มีพระเมตตาให้รับนักเรียนโดยไม่เลือกช้ัน วรรณะ รวมท้ัง จงั หวดั นนทบรุ ี บนเนอื้ ที่ จ�ำนวน ๑๖ ไรเ่ ศษ โรงเรยี นไดจ้ ดั หาเงนิ
พระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยแก่ครู อาจารย์ เพื่อพัฒนา ซอื้ เพมิ่ อกี ๑ ไร่ ๒ งาน เม่อื พุทธศกั ราช ๒๕๔๖
การเรียนรู้แก่นักเรียน ทรงสืบต่อพระราชปณิธานตามแนว
พ ร ะ ร า ช ด�ำ ริ ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ช น ก า ธิ เ บ ศ ร ตอ่ มา เมอื่ วนั ที่ ๒๙ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔ ไดร้ บั
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ดว้ ยมพี ระราชประสงค์ พระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
กระจายการศกึ ษาไปสพู่ น้ื ทหี่ า่ งไกล ถนิ่ ทรุ กนั ดาร สง่ เสรมิ เยาวชน ครั้งทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศที่ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ
ของชาตใิ หม้ โี อกาสศกึ ษาเลา่ เรยี นอยา่ งเทา่ เทยี ม เพอื่ ใหม้ พี น้ื ฐาน สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด�ำเนินมาเป็นประธาน
ความรเู้ หมาะสมทจ่ี ะด�ำรงชวี ติ อยอู่ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ทรงน�ำเทคโนโลยี ประกอบพธิ วี างศลิ าฤกษก์ อ่ สรา้ งอาคารเรยี นระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา
มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การพฒั นาการศกึ ษา ทรงน�ำสอื่ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานช่ือโรงเรียนใหม่ว่า
คอื โครงการการเรยี นการสอนทางไกลผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ “โรงเรียนอนุราชประสิทธ์ิ” พร้อมท้ังพระราชทานให้ใช้
มาใช้ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ทรงอุปถัมภ์ พระราชทาน พระนามาภไิ ธยยอ่ ม.ว.ก. เปน็ เครอื่ งหมายประจ�ำโรงเรยี น ทรงปลกู
วัสดุอุปกรณ์การศึกษาที่ทันสมัย ต้ังแต่คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ ต้นประดู่ไว้เป็นอนุสรณ์และมิ่งขวัญแก่โรงเรียนอนุราชประสิทธ์ิ
วีดิทัศน์และส่งเสริมให้โรงเรียนด�ำเนินโครงการอาชีพอิสระ
อนั เปน็ ประโยชนแ์ กน่ กั เรยี นทง้ั ระหวา่ งศกึ ษาเลา่ เรยี น และเมอ่ื จบ
การศึกษา จดั การสอนวชิ าชีพต่าง ๆ และการเลือกใชเ้ ทคโนโลยี
ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น ท�ำให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
อนั เปน็ ทรพั ยากรมคี า่ สงู สดุ ในการพฒั นาประเทศ พระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยู่หัว มีพระอัจฉริยภาพในการบริหารเทคโนโลยี
ให้เกดิ ประโยชน์แกก่ ารศึกษาสูงสดุ อย่างกวา้ งขวาง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่ 33

ภายหลังสร้างอาคารเรียนเสร็จ สามารถรับบุตรหลานของ
ข้าราชบริพารในพระองค์และประชาชนเข้าเรียนตั้งแต่ระดับ
ก่อนประถมศึกษา (อนุบาลปฐมวัย ๓ ขวบ และอนุบาล ๑-๒)
ระดับประถมศึกษา (ประถมศึกษา ปีที่ ๑-๖) และได้รับอนุญาต
ใหเ้ ปดิ ท�ำการสอนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓)
ตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๔๑ เปดิ ท�ำการสอนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔-๖) เมือ่ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ ปจั จบุ นั โรงเรยี น
อนรุ าชประสทิ ธิเ์ ปน็ โรงเรียนมธั ยมขนาดใหญพ่ ิเศษ

ดอกไม้ประจ�ำโรงเรียน คือ ดอกรวงผ้ึง ต้นรวงผึ้ง
เป็นพรรณไม้ประจ�ำพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ด้วยมีดอกสีเหลือง ซ่ึงเป็นสีวันเสด็จพระราชสมภพและ
ด อ ก ร ว ง ผึ้ ง จ ะ ผ ลิ ด อ ก สี เ ห ลื อ ง บ า น ส ะ พ รั่ ง ใ น ช ่ ว ง เ ดื อ น
กรกฎาคม-สิงหาคม ซ่ึงตรงกับวันเสด็จพระราชสมภพของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว
โรงเรยี นราชปิโยรสา ยพุ ราชานสุ รณ์

โรงเรียนราชปิโยรสา ยุพราชานุสรณ์ เดิมชื่อโรงเรียน
ริมป่าคาประชานุเคราะห์ ตัง้ อยู่ ณ อ�ำเภอทา่ วงั ผา จังหวัดน่าน
เปิดท�ำการสอนต้ังแต่พุทธศักราช ๒๕๐๓ ปัจจุบันสังกัด
ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษานา่ น เขต ๒ ส�ำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มรบั
โรงเรยี นราชปโิ ยรสา ยพุ ราชานสุ รณ์ ไวใ้ นพระราชปู ถมั ภ์ ปจั จบุ นั
เปิดท�ำการสอนต้ังแต่อนุบาลถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียน
ได้รับการพัฒนามาโดยล�ำดับ สร้างโอกาสให้แก่นักเรียนในเขต
บรกิ ารและชมุ ชนใกลเ้ คยี ง เพอ่ื เปน็ การเฉลมิ พระเกยี รตใิ นโอกาส
มหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา วนั ที่ ๒๘ กรกฎาคม
พุทธศักราช ๒๕๕๙ ทรงพระกรุณาพระราชทานนามโรงเรียน
ว่า “ราชปิโยรสา ยุพราชานุสรณ์” ทรงพระมหากรุณาธิคุณ
พระราชทาน พระนามาภิไธยย่อ ม.ว.ก. เป็นตราเครื่องหมาย
ประจ�ำโรงเรยี น พรอ้ มทง้ั พระราชทานชอ่ื อาคารเรยี น “วชริ ะปญั ญา”
และชอื่ หอประชมุ “วชริ าประสทิ ธ”์ิ ตลอดจนทรงสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
การพัฒนาด้านต่าง ๆ ของโรงเรียนอย่างต่อเน่ือง นับเป็น
พระมหากรุณาธคิ ณุ เปน็ ลน้ พน้ อย่างหาท่ีสุดมิได้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

34 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

โรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ คณะกรรมการมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวกได้เสนอเปล่ียนช่ือ
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียน โรงเรยี นสอนคนหูหนวกดสุ ิตเป็นโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร เพื่อเป็น
อนุสรณ์แด่มูลนิธิเศรษฐเสถียรท่ียุบเลิกไป โรงเรียนจึงใช้ชื่อ
รัฐบาล สังกัดส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงาน โรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ นบั แต่นัน้ มาจวบจนปัจจบุ นั
เป็นโรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งแรกของประเทศไทย
ซ่ึงพัฒนาข้ึนมาจากหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกโรงเรียน เม่ือวันที่ ๒๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๕ สมเด็จ
เทศบาล ๑๗ (วัดโสมนัสวรวิหาร) กรุงเทพมหานคร ซึ่งต้ังข้ึน พระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระกรุณา
เม่ือวันท่ี ๑๐ ธนั วาคม ๒๔๙๔ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับโรงเรียนเศรษฐเสถียรไว้ใน
พระราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งแรกของ
เมอ่ื พทุ ธศักราช ๒๔๙๕ คณุ หญิงโต๊ะ นรเนติบญั ชากิจ ประเทศไทยที่ได้รับพระราชทาน นับแต่พุทธศักราช ๒๕๔๕
ได้มีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย์สิน มีเงินสด ท่ีดินและบ้านส่วนตัว พระราชทานอุปกรณ์การเรียนการสอน ของเล่น เคร่ืองอุปโภค
ของท่านตั้งเป็นมูลนิธิให้ช่ือว่า “มูลนิธิเศรษฐเสถียร” เพ่ือเป็น บริโภค และพระราชทานเลี้ยงอาหารแก่นักเรียนของโรงเรียน
อนุสรณ์แห่งตระกูล “เศรษฐบุตร” ซ่ึงเป็นตระกูลของพระยา เศรษฐเสถียรอย่างสม่�ำเสมอ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ
นรเนติบญั ชากจิ สามขี องท่าน กบั ตระกลู “โชตกิ เสถยี ร” ซ่งึ เป็น อย่างหาทีส่ ดุ มิได้
ตระกลู ของคณุ หญงิ มลู นธิ เิ ศรษฐเสถยี รมวี ตั ถปุ ระสงคท์ จี่ ะรว่ มมอื
กับกระทรวงศึกษาธิการในการสร้างโรงเรียนสอนคนหูหนวก พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๖ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม
ขน้ึ ในทดี่ นิ แห่งนี้ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใช้ตราสัญลักษณ์ของโรงเรียน
ตอ่ มาพทุ ธศกั ราชเดยี วกนั โรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์
พุทธศักราช ๒๔๙๖ กระทรวงศึกษาธิการ จัดสรร ได้รับงบประมาณในการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๔ ชั้น
งบประมาณในการก่อสร้างอาคารโรงเรียนสอนคนหูหนวก เพ่ือใช้เป็นหอพักนักเรียนประจ�ำส�ำหรับนักเรียนหูหนวกท่ีมี
และงบประมาณส�ำหรับครุภัณฑ์และการด�ำเนินงานของโรงเรียน บ้านพักอยู่ไกลไม่สะดวกในการเดินทาง เพื่อเป็นเกียรติประวัติ
ในปีที่ครบปีที่ ๒ แห่งการจัดการศึกษาส�ำหรับคนหูหนวก และเป็นสิริมงคล โรงเรียนเศรษฐเสถียรได้รับพระราชทานนาม
ในประเทศไทย ซง่ึ ตรงกบั วันท่ี ๑๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๖ อาคารอเนกประสงคข์ องโรงเรียนเศรษฐเสถียรว่า “เศรษฐมงคล”
ได้มีพิธีเปิดโรงเรียนสอนคนหูหนวกในประเทศไทยอย่างเป็น (เสด-ถะ-มง-คน) ยอดแหง่ ความเป็นมงคล
ทางการ พุทธศักราช ๒๕๐๔ โรงเรียนแห่งน้ีได้เปลี่ยนช่ือเป็น
โรงเรียนสอนคนหูหนวกดุสิต เน่ืองจากกระทรวงศึกษาธิการ ระดับมัธยมศึกษา พระราชทานพระราชทรัพย์
ได้จัดต้ังโรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งใหม่ข้ึนที่บริเวณ ส่วนพระองค์เป็นค่าก่อสร้างโรงเรียนมัธยมในถ่ินทุรกันดาร
อาคารสงเคราะห์ทุ่งมหาเมฆ ต่อมาเม่ือพุทธศักราช ๒๕๑๘ ๖ แห่ง คือ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา จังหวัดนครพนม
กระทรวงศึกษามีนโยบายให้โรงเรียนสอนคนหูหนวกทั่วประเทศ ก�ำแพงเพชร และสุราษฎร์ธานี โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี
เปล่ียนชื่อจากโรงเรียนสอนคนหูหนวกเป็นโรงเรียนโสตศึกษา จงั หวดั อุดรธานี สงขลา และฉะเชงิ เทรา ไดเ้ สด็จพระราชด�ำเนนิ
ไปทรงวางศิลาฤกษ์ และทรงรับโรงเรียนท้ัง ๖ แห่งไว้ใน
พระราชูปถัมภ์ พระราชทานวัสดุอุปกรณ์การศึกษาที่ทันสมัย
ทง้ั สง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นด�ำเนนิ โครงการอนั เปน็ ประโยชนแ์ กน่ กั เรยี น
ได้แก่ โครงการอาชีพอสิ ระ เพอ่ื เยาวชนใชค้ วามรปู้ ระกอบอาชพี
เล้ียงตนและครอบครัว เมื่อจบการศึกษาพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเย่ียมโรงเรียน
และนักเรียนในพระราชูปถัมภ์ติดตามผลการจัดการศึกษา
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระราชธิดาทั้งสองพระองค์
เป็นผู้แทนพระองค์ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนเป็นการสร้าง
ขวญั ก�ำลงั ใจใหแ้ ก่ครูและนกั เรยี น

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 35

โรงเรยี นมกฎุ เมืองราชวิทยาลยั
จงั หวัดระยอง

พระราชทานของท่รี ะลึกเน่ืองในโอกาสครูและนกั เรยี น
ถวายพระพรชัยมงคลเน่ืองในวนั คล้ายวนั เสดจ็ พระราชสมภพ

ปัจจุบันมีโรงเรียนมัธยมศึกษาที่อยู่ในพระราชูปถัมภ์ โรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย พระมหากรุณาธิคุณ
๑๓ แห่ง ได้แก่ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครง้ั ทรงด�ำรงพระอสิ รยิ ยศ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสน
๑. โรงเรียนมกฎุ เมอื งราชวทิ ยาลัย จังหวดั ระยอง พระราชหฤทัยด้านการศึกษาของชาติ และมีพระราชประสงค์
๒. โรงเรียนอนรุ าชประสิทธ์ิ จังหวัดนนทบรุ ี ท่ีจะกระจายการศึกษาไปสู่ท้องถิ่นทุรกันดารห่างไกล ให้เด็ก
๓. โรงเรยี นมธั ยมพัชรกิตยิ าภา ๑ นครพนม และเยาวชนมีโอกาสได้รับการศึกษาทัดเทียมกัน ทั้งมี
๔. โรงเรียนมธั ยมพัชรกติ ิยาภา ๒ ก�ำแพงเพชร พระราชด�ำริส่งเสริมการจัดการศึกษามัธยมศึกษาให้มีคุณภาพ
๕. โรงเรยี นมัธยมพัชรกติ ิยาภา ๓ สุราษฎร์ธานี ด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ ให้กว้างขวาง โรงเรียนมกุฎเมือง
๖. โรงเรยี นมัธยมสิริวณั วรี ๑ อดุ รธานี ราชวิทยาลัยน้อมส�ำนึกถึงพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น
๗. โรงเรยี นมธั ยมสิริวัณวรี ๒ สงขลา เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ
๘. โรงเรียนมัธยมสริ วิ ัณวรี ๓ ฉะเชิงเทรา สยามมกฎุ ราชกมุ าร ในโอกาสทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๔๒ พรรษา
๙. โรงเรียนทปี ังกรวทิ ยาพัฒน์ (วัดโบสถ)์ โดยน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ในพระราชูปถัมภฯ์ กรุงเทพมหานคร ระยอง ต�ำบลบา้ นนา อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง เม่ือวนั ท่ี ๑๕
๑๐. โรงเรียนทีปงั กรวทิ ยาพฒั น์ (วดั นอ้ ยใน) กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
ในพระราชูปถมั ภ์ฯ กรงุ เทพมหานคร โปรดกระหม่อมพระราชทานนามโรงเรียนว่า “มกุฎเมือง
๑๑. โรงเรียนทปี ังกรวิทยาพฒั น์ (ทวีวัฒนา) ราชวทิ ยาลัย” มคี วามหมายวา่ ราชวิทยาลยั สูงสุดแหง่ เมืองและ
ในพระราชปู ถมั ภฯ์ กรุงเทพมหานคร เม่ือวันที่ ๒๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๗ สมเด็จพระบรม
๑๒. โรงเรียนทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (วดั ประดู่)
ในพระราชูปถัมภ์ฯ จังหวดั สมทุ รสงคราม
๑๓. โรงเรยี นทปี งั กรวทิ ยาพฒั น์ (มธั ยมวดั หตั ถสารเกษตร)
ในพระราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

36 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

โอรสาธริ าช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ ารเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงวาง
ศลิ าฤกษโ์ รงเรยี น และทรงเยยี่ มชมการเรยี นการสอนของโรงเรยี น
ณ สถานที่เรียนช่ัวคราว มีพระราชกระแสรับส่ังเกี่ยวกับ
การด�ำเนนิ งานของโรงเรยี นมกฎุ เมอื งราชวทิ ยาลยั วา่ “ใหด้ �ำเนนิ ไป
ตามแนวทางของโครงการโรงเรยี นทจ่ี ดั ตงั้ ไว้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๓๗
โรงเรียนเปิดรับสมัครนักเรียนคร้ังแรก ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑
และมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ปัจจุบันโรงเรียนเปิดท�ำการสอนระดับ
มธั ยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักในคุณค่า
และความส�ำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
ให้มีคุณภาพ จึงสนับสนุนด้านการศึกษาให้กับประชาชนได้
เรียนรู้สามารถน�ำมาใช้ประกอบอาชีพเล้ียงตนเองและครอบครัว
รวมถึงสามารถน�ำความรู้มาพัฒนาประเทศชาติได้ จึง
ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรบั โรงเรยี นมธั ยมศึกษา
ในถิน่ ทุรกันดาร ๖ แหง่ ไวใ้ นพระบรมราชปู ถัมภ์ ได้แก่

๑. โรงเรียนมธั ยมพัชรกติ ิยาภา ๑ นครพนม
๒. โรงเรียนมัธยมพชั รกติ ยิ าภา ๒ ก�ำแพงเพชร
๓. โรงเรยี นมธั ยมพชั รกติ ยิ าภา ๓ สรุ าษฎร์ธานี
๔. โรงเรียนมธั ยมสิรวิ ณั วรี ๑ อดุ รธานี
๕. โรงเรียนมัธยมสิรวิ ณั วรี ๒ สงขลา
๖. โรงเรยี นมัธยมสิริวัณวรี ๓ ฉะเชิงเทรา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักว่าเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารยังด้อยโอกาสด้านการศึกษา ซ่ึงท้ัง ๖ โรงเรียน
ดงั กลา่ วเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงวางศลิ าฤกษ์ พรอ้ มพระราชทาน
ค�ำแนะน�ำและทรงส่งเสริมให้โรงเรียนด�ำเนินโครงการอันเป็น
ประโยชนแ์ กน่ กั เรยี น อาทิ โครงการอาชพี อสิ ระ พระราชทานวสั ดุ
อุปกรณ์การศึกษาท่ีทันสมัยต่าง ๆ รวมถึงเสด็จพระราชด�ำเนิน
ไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ทรงติดตามผลการศึกษาและโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา
นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสารณิ ีสิรพิ ัชร มหาวัชรราชธิดา
และสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้าสิรวิ ัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา
ทั้งสองพระองคท์ รงร่วมกจิ กรรมของโรงเรยี นอยา่ งสม่ำ� เสมอ
พระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารักขา แก่
ประชาชนชาวไทย ความว่า “เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด
และครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎร
ตลอดไป”
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงสบื สานการศกึ ษาใหแ้ ก่
เด็กและเยาวชนสบื ตอ่ จนถึงปจั จบุ นั

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่ 37

การพัฒนาคณุ ภาพ โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล อ�ำเภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม จดั ตง้ั ขน้ึ โดยพระบรมราชานญุ าต ในพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร
อย่างต่อเน่อื ง และยัง่ ยืน มหาอานันทมหิดล รัชกาลท่ี ๘ เม่ือวันท่ี ๒๒ มิถุนายน
พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๑ เพอ่ื ใหก้ ารศกึ ษาแกบ่ ตุ รหลานของเจา้ หนา้ ท่ี
การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ผรู้ กั ษาวงั ไกลกงั วล เปดิ สอน เดก็ เลก็ ไปจนถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
ด้วยพระราชวิสัยทัศน์ของพระบาทสมเด็จพระบรม และเปิดสอนหลักสูตรวิชาระยะสั้นเพ่ิมเติมด้วย ต่อมา
โรงเรียนวังไกลกังวลได้อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาท
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
ทกี่ วา้ งไกลและลกึ ซ้งึ ในการแก้ปัญหาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี น บรมนาถบพิตร พุทธศักราช ๒๔๙๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
ขนาดเลก็ ทว่ั ประเทศ เร่อื งการขาดแคลนครู ครูผสู้ อนไมค่ รบช้นั โปรดกระหม่อมพระราชทานอาคารที่พักกองรักษาการณ์
และไม่ครบวิชา ซ่ึงเป็นปัญหามาอย่างยาวนานจวบจนปัจจุบัน วงั ไกลกงั วล ใหเ้ ปน็ อาคารเรยี นแทนอาคารไมเ้ กา่ ทชี่ �ำรดุ ทรดุ โทรม
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช ตอ่ มาทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหส้ รา้ งเปน็ อาคาร
มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเห็นความส�ำคัญของการศึกษา โรงเรียนเพ่ิมขึ้น บริหารงานโดยคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
ในหลายรูปแบบและรูปแบบหน่ึงท่ีทรงเล็งเห็นว่าสามารถ วังไกลกังวล ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหาร
แกป้ ญั หาการเขา้ ถงึ การศกึ ษาของราษฎร ในถนิ่ ทรุ กนั ดารหา่ งไกล โรงเรียน และด้านวิชาการจากกระทรวงศึกษาธิการและฝ่าย
ความเจริญขาดแคลนครูและอุปกรณ์การเรียนการสอน คือ ส�ำนกั พระราชวงั โรงเรยี นวงั ไกลกงั วลมสี ถาบนั การศกึ ษารว่ มกนั
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ช่วยให้การเรียนการสอน จัดการศึกษาอยู่ในพ้ืนท่ีเดียวกัน ต่อมาเม่ือพุทธศักราช ๒๕๓๘
มมี าตรฐานเดยี วกนั ห้องเรียนท่ีเคยขาดแคลนครูก็สามารถจัดการเรียนการสอน
โรงเรียนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ให้มีคุณภาพไปพร้อมกับโรงเรียนวังไกลกังวล ขณะเดียวกัน
โรงเรียนที่ออกอากาศผ่านทางสถานีโทรทัศน์การศึกษาทางไกล
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล ผา่ นดาวเทยี มทัง้ ๑๕ ช่อง ครผู บู้ ริหาร นกั เรียน และผูป้ กครอง
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระบรมราโชบายส่งเสริม สามารถใช้ในการเตรียมการสอน พัฒนาการเรียนการสอน
และสนับสนุนการศึกษาทุกประเภททั้งการจัดการศึกษาในระบบ และเปน็ แหล่งเรียนรไู้ ด้ตลอดเวลาเป็นเวลากว่า ๒๓ ปีจวบจนถึง
โรงเรยี น นอกระบบโรงเรยี น การศกึ ษาพเิ ศษ การศกึ ษาสงเคราะห์ ปัจจุบนั
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาวิชาการและวิจัย
รวมทั้งพระราชทานทุนให้แก่นักเรียน พระราชกรณียกิจ เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ พระบาสมเดจ็
ทางการศึกษาแสดงถึงพระปรีชาสามารถพระบรมราโชบาย พระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
อันล้�ำลึกและสายพระเนตรอันกว้างไกลในการให้ความส�ำคัญกับ ให้ปรับภารกิจของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
การพัฒนาคน ให้ด�ำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานการจัด
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและสื่ออื่น ๆ จัดการเรียนรู้
การเรยี นทางไกลผ่านจอโทรทศั น์​ ในส่วนของการศึกษาส�ำหรับผู้ด้อยโอกาสและบุคคลท่ีมี
กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี ความต้องการพิเศษ รวมทั้งส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษา
38 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ ของประชาชนทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย พร้อมท้ังเผยแพร่องค์ความรู้
ด้านการศึกษา การมีงานท�ำ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต นับเป็น
พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อเด็กด้อยโอกาสและเด็กท่ีมี
ความตอ้ งการพเิ ศษ อกี ทง้ั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม
แต่งตั้งคณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ชุดใหม่เข้ามาบริหารสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกล
ผา่ นดาวเทยี มและโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ดงั นนั้ จงึ มกี ารปรบั เปลย่ี น
รปู แบบการออกอากาศเปน็ ระบบความคมชดั สงู (High Definition

หรอื HD) การจัดการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นต้นทางมรี ปู แบบ พระราชด�ำริ “การศึกษาคือความมั่นคงของประเทศ” โดยเน้น
Active Learning มากข้ึน เน้นการลงมือปฏิบัติและมีการวัด ด้านการพัฒนาท้องถ่ิน เป็นพิเศษให้ทุกสถาบันท�ำงานเข้าถึง
และประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพจริง (Authentic ประชาชนพรอ้ มรบั ทราบปญั หาความตอ้ งการ เพอื่ น�ำมาวเิ คราะห์
Assessment) มีการยุติการออกอากาศการถ่ายทอดการเรียน หาทางชว่ ยเหลือแกไ้ ข และปรับตัวให้เหมาะสมตามสภาพบรบิ ท
การสอนในช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย และปรับเปลี่ยนช่อง และประเพณขี องทอ้ งถิ่นโดยซึ่งมี ๔ ยุทธศาสตร์ ดงั นี้
ออกอากาศมาเป็นการถ่ายทอดตัวอย่างการจัดประสบการณ์
ของการศึกษาปฐมวัย รายการเพื่อการพัฒนาครู การฝึกอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาท้องถิ่น มีเป้าหมายที่จะ
และการศึกษาตลอดชีวิตแทน การด�ำ เนินงานดังกล่าว พฒั นาทอ้ งถน่ิ ในดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม
มีการออกอากาศวีดิทัศน์บันทึกการสอนแทนการออกอากาศสด
ทง้ั ในระบบโทรทศั น์ เวบ็ ไซต์ DLTV.ac.th และแอปพลเิ คชนั DLTV ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนาครู ผลิตครูท่ีได้
เพื่อให้การเตรียมการสอนของครู การศึกษาบทเรียนล่วงหน้า มาตรฐานวิชาชีพ และมจี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครู และสอดคล้อง
และการเรียนซ่อมเสริมของนักเรีย นให้มีความยืดหยุ่นและ กับความต้องการของท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพของครู ครูและ
สามารถปรับประยุกต์ได้โดยสอคคล้องกับความต้องการ ต่อมา บุคลากรทางการศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ รวมท้ังสร้าง
ปัจจุบัน มีการด�ำเนินการโรงเรียนวังไกลกังวลและมหาวิทยาลัย นวตั กรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
เทคโนโลยีราชมงคลวังไกลกังวล รับนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น ตอนปลาย วิทยาลัย และ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การยกระดับคุณภาพการศึกษา
มหาวิทยาลัยครบถ้วนสมบูรณ์ ด้วยการยกระดับความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พฒั นาอาจารย์และคณุ ภาพบัณฑติ
การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
พระมหากรณุ าธคิ ุณตอ่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ดว้ ยการแบง่ พนื้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะราชภฏั พฒั นาระบบ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินไป ฐานขอ้ มลู การใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั พฒั นาเครอื ขา่ ย จดั ระบบงาน
สคู่ วามเปน็ เลศิ และเสรมิ สรา้ งธรรมาภบิ าล
พระราชทานปรญิ ญาบตั รแกผ่ สู้ �ำเรจ็ การศกึ ษา จากมหาวทิ ยาลยั
ต่าง ๆ โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓๘ แห่งท่ัวประเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทง้ั ๓๘ แหง่ ซงึ่ ตงั้ ครอบคลมุ ทว่ั ทกุ
ซึ่งพระราชทานปริญญาบัตร วันละกว่า ๒,๐๐๐ คน เป็นเวลา ภูมภิ าคของประเทศ ตา่ งด�ำเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ และท�ำงาน
ต่อเน่ืองกันเกินกว่าคร่ึงเดือน พร้อมท้ังพระราชทาน สนองพระบรมราโชบายอย่างเป็นรูปธรรม ปฏิบัติหน้าท่ีตาม
พระบรมราโชวาทให้แก่บัณฑิตผู้ส�ำเร็จการศึกษาทั้งหลาย พันธกิจได้สมบูรณ์ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยที่จะเป็น
เพื่อสร้างขวัญและก�ำลังใจในการสร้างสรรค์พัฒนาความเจริญ สถาบันอุดมศึกษาที่สมบูรณ์ช่วยสร้างคุณค่าให้กับสังคมเป็นที่
ของประเทศชาติ และให้มีคุณธรรมในการด�ำเนินชีวิตนับเป็น ประจักษ์ โดยมีมติ ิของมหาวทิ ยาลัยเพอ่ื พลงั แผน่ ดินในสามดา้ น
พระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งหาทส่ี ดุ มไิ ด้ การสนองพระบรมราโชบาย คอื ทอ้ งถน่ิ มพี ลงั ครมู พี ลงั และคนมพี ลงั “สบื สาน รกั ษา ตอ่ ยอด”
“สบื สาน รกั ษา ตอ่ ยอด” มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทงั้ ประเทศไดด้ �ำเนนิ แนวพระราชด�ำรติ า่ ง ๆ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
โครงการพัฒนาท้องถิ่น จ�ำนวนทั้งส้ิน ๓๗๙ โครงการ ภายใต้ มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาท้องถิ่น นับเป็นพระบรมราโชบายที่ การสง่ เสริมอาชีวศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นอ้ มน�ำมาปฏบิ ตั ติ ามโดยจดั ท�ำ “ยทุ ธศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ” ทมี่ สี ว่ นรว่ มในการสรา้ งความมน่ั คงของชาติ ทรงสร้างประโยชน์สุขสู่ปวงประชา : อาชีวะอาสา...
ด้วยการยกระดับคุณภาพการศึกษา และพัฒนาท้องถิ่นในท้องที่ สนองพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว น้อมน�ำ
ตลอดจนพัฒนาครู อาจารย์และโรงเรียน ให้มีคุณภาพตาม ศาสตรพ์ ระราชาพฒั นาเดก็ เปน็ คนดีมงี านท�ำ

“...การด�ำเนนิ ชวี ติ โดยใชว้ ชิ าการอยา่ งเดยี วไมเ่ พยี งพอ
จะต้องอาศัยความรู้รอบตัวและหลักศีลธรรมประกอบด้วย ผู้ท่ีมี
ความรดู้ แี ตข่ าดความยง้ั คดิ น�ำความรไู้ ปใชใ้ นทางทม่ี ชิ อบกเ็ ทา่ กบั
เปน็ บคุ คลทเ่ี ปน็ ภัยแก่สงั คมของมนุษย์...”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่ 39

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร เป็นหลักคิดหลักปฏิบัติตนในชีวิตประจ�ำวันเพื่อประโยชน์สุข
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทาน ท้ังแก่ตนเองและส่วนรวมส่วนของเยาวชนอาชีวะที่มาร่วม
เม่อื วันที่ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๐๔ ณ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาแห่งหนง่ึ ให้บริการนอกจากความสุขใจแล้วยังได้ประโยชน์ด้านการเพ่ิม
ซึ่งนักศึกษาวิทยาลัยสังกัดอาชีวศึกษาได้ร่วมแรงร่วมใจท�ำงาน ความรู้ความเช่ียวชาญทักษะในวิชาชีพที่เรียนมา จากการลงมือ
“โครงการอาชีวะอาสา” ท่ีได้สืบสานนโยบายด�ำเนินโครงการ ตรวจเช็คซ่อมสร้างเครื่องยนต์ของประชาชนที่เดินทางไปในช่วง
ดังกล่าวมาเป็นเวลาหลายปีแล้วเป็นการอาสามาท�ำประโยชน์ เทศกาลดังกล่าว พร้อมท่ีจะจบการศึกษาออกไปปฏิบัติงาน
ให้กับผู้อื่นในฐานะคนของสถานศึกษาอาชีวะท่ีส่วนใหญ่ ในสายอาชพี ที่เรียนมาไดท้ ันทอี ยา่ งผู้เชีย่ วชาญ
จากวิทยาลัยเทคนิคที่มีความรู้ทางด้านช่างยนต์ เป็นครูอาจารย์
และนกั ศกึ ษาซง่ึ เสยี สละความสขุ ในชว่ งการพกั เทยี่ วชว่ งเทศกาล ด�ำเนินโครงการเพื่อหล่อหลอมปลูกฝังอบรมบ่มนิสัย
ปีใหม่มาใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และจากการสนทนากับครู เยาวชน ท้ังด้วยมุ่งให้ได้ศึกษาซึมซับการด�ำเนินชีวิตตาม
อาจารย์ และนักศึกษาล้วนมีความคิดเห็นตรงกันว่าถึงแม้ไม่ได้ ศาสตร์พระราชาแล้วก็ด้วยต้ังใจสนองพระมหากรุณาธิคุณ
เทีย่ วเตร่กับเพ่ือนฝงู แต่ขอใช้ช่วงเวลาดังกลา่ ว ท�ำประโยชน์ต่อ ตามพระราโชบายพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ส่วนรวมกลับมีความสุข สุขท่ีเกิดจากรอยยิ้มของผู้มาใช้บริการ ท่ีพระราชทานแกช่ าวอาชีวศึกษา ครอู าจารยแ์ ละเยาวชนใหเ้ ป็น
สุขที่เกิดจากค�ำขอบคุณ สุขท่ีท�ำให้เกิดความรู้ความเช่ียวชาญ คนดีมคี วามรู้เปน็ คนเกง่ มีงานท�ำตามพระบรมราโชบาย นับเปน็
ในสายอาชีพท่ีได้ศึกษาเล่าเรียนเพ่ิมข้ึน ความสุขท่ีได้รับจาก พระมหากรุณาธิคุณอยา่ งหาทสี่ ดุ มไิ ด้
การท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืน ความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจกัน พระมหากรุณาธิคุณตอ่ เยาวชน
รจู้ กั ผอ่ นหนกั ผอ่ นเบา ใหอ้ ภยั มเี มตตากรณุ า ความสขุ ลกั ษณะน้ี ของชาติ และทนุ พระราชทาน
เปน็ ความสขุ ท่อี ิ่มเอมหวั ใจยิง่ นกั ยากท่จี ะมีโอกาสเช่นนบ้ี ่อยนัก
คือการได้ซึมซับหลักการด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงตระหนกั วา่ ทกุ ทอ้ งถนิ่ นน้ั
เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร เด็กและเยาวชนมีความส�ำคัญต่อประเทศชาติมาก เพราะจะท�ำ
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ศึกษาเรียนรู้ หนา้ ทพี่ ฒั นาทอ้ งถนิ่ ของตนใหบ้ งั เกดิ ผลทเ่ี ปน็ ประโยชนท์ งั้ แกต่ น
แนวพระราชด�ำรเิ รอื่ งความเพยี ร ความอดทน เฉกเชน่ พระมหาชนก ส่วนรวม และประเทศชาติในอนาคตได้อย่างแท้จริง ทรงใส่
ท่ีได้พระราชนิพนธ์ไว้เป็นเครื่องเตือนใจ ได้ซึมซับความสามัคคี พระราชหฤทัยในกิจกรรมของศูนย์เยาวชนต�ำบลท่ัวประเทศ
ซมึ ซบั ความกตญั ญู และไดต้ ระหนกั เหน็ ความส�ำคญั ของการมสี ติ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้น�ำเยาวชนต�ำบลท้ังหลาย
เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับพระราชทานธงประจ�ำศูนย์
หัวใจโครงการอาชีวะอาสาคือการสร้างจิตส�ำนึก เยาวชนต�ำบล เสด็จพระราชด�ำเนนิ ในงาน “วันเยาวชนแหง่ ชาต”ิ
ให้เกิดขึ้นในหัวใจแล้วน�ำปฏิบัติให้เคยชินเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน วนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน ทกุ ปี พระราชทานเกยี รตบิ ตั รแกเ่ ยาวชนดเี ดน่
อันได้แก่ “การระลึกถึงสติอยู่ทุกเม่ือในการด�ำเนินชีวิต ไม่ว่าจะ เข้าเฝ้าที่สร้างช่ือเสียงให้ประเทศ ทั้งระดับชาติ และนานาชาติ
ตรวจสภาพรถ หรอื ก�ำลงั ขบั รถกต็ ามทจี่ ะน�ำไปสคู่ วามไมป่ ระมาท” ท ร ง เ ป ็ น ผู ้ แ ท น พ ร ะ อ ง ค ์ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ช น ก า ธิ เ บ ศ ร
ผลคือก่อเกิดความสุขแก่ทุกคน และสังคมโดยรวม ไม่ว่าจะเป็น มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปใน
กลุ่มจิตอาสาจากสถานศึกษาสังกัดอาชีวะที่ต้องท�ำการตรวจเช็ค พิธีปฏิญาณตนและสวนสนามของลูกเสอื เนตรนารี และสมาชิก
สภาพรถอยา่ งมสี ตโิ ดยไมป่ ระมาท นคี่ อื การนอ้ มน�ำศาสตรพ์ ระราชา ผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์ พระราชทานเหรียญลูกเสือสรรเสริญแก่
หรือพระราชด�ำรัสพระบรมราโชวาทที่พระราชทานไว้ให้ไปสู่ ลูกเสือที่ประกอบคุณงามความดีที่สมควรยกย่องเป็นแบบอย่าง
การปฏิบตั ิ การท�ำความดี

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีการอบรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยสุขภาพ
บ่มนิสัยครูอาจารย์ นักเรียนนักศึกษาจิตอาสา ผู้ให้บริการโดย และอนามัยของเยาวชน ทรงสนับสนุนการกีฬาเยาวชนอย่าง
การเน้นย้�ำให้ส�ำนึกสนองพระราชปณิธานท�ำดีท�ำประโยชน์ ตอ่ เนอ่ื ง พระราชทานรางวลั ในการแขง่ ขนั ฟตุ บอลและมวยสากล
เพ่ือส่วนรวม ปลูกฝัง ความรักความเมตตาสามัคคีความไม่โลภ พระราชทานไฟพระฤกษ์และเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเปิด
เอ้ือเฟื้อเกื้อกูลกัน ตามที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร การแขง่ ขนั กฬี าระดบั ตา่ ง ๆ และพระราชทานพระบรมราชวโรกาส
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน ใหเ้ ยาวชนทจี่ ะเดนิ ทางไปแขง่ ขนั ในตา่ งประเทศ เขา้ เฝา้ ทลู ละออง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

40 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่

ธุลีพระบาทรับพระราชทานพระบรมราโชวาทเป็นส่ิงเตือนใจ “...เม่ือท�ำโครงการมาแล้ว จ�ำเป็นต้องศึกษา ติดตาม
อันเปน็ ขวัญ ก�ำลงั ใจในการแข่งขนั ทกุ ครง้ั และพัฒนาแผนในการช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง การท�ำงาน
ที่ได้ผลต้องศึกษาข้อมูล มีการปรับแผนให้ทันสมัยและ
ด้วยพระราชปณิธานท่ีทรงมุ่งมั่นจะสร้างโอกาสให้แก่ มคี วามใส่ใจท่จี ะท�ำงานตอ่ เนื่อง...”
เยาวชนให้เติบโตเป็นก�ำลังส�ำคัญของชาติ พระบาทสมเด็จ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำริน�ำพระราชทรัพย์ การรบั ทนุ พระราชทานจงั หวดั ละ ๒ ทนุ ชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ส่วนพระองค์และทรัพย์ท่ีผู้บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลมาใช้ ตอนปลายสายสามัญ ทุนละ ๑๘,๐๐๐ บาท ต่อปี สายอาชีพ
ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการเสรมิ สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาแกเ่ ยาวชน ทนุ ละ ๒๒,๐๐๐ บาท ตอ่ ปี ตอ่ เนอ่ื งจนจบปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเทา่
ที่ยากจนให้ได้รับการศึกษาอย่างต่อเน่ือง พุทธศักราช ๒๕๕๓ ครอบคลมุ คา่ เลา่ เรยี น คา่ หอพกั อปุ กรณก์ ารเรยี น จดั สรรใหค้ นละ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ๕๘,๐๐๐ บาท ตอ่ ปี พระราชทานพระบรมราโชวาท ความวา่
ให้จัดท�ำ “โครงการทนุ การศึกษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ
สยามมกุฎราชกุมาร” ต่อมาในวันพฤหัสบดีที่ ๔ กุมภาพันธ์ “...นกั เรยี นทนุ ทกุ คน เมอ่ื ไดร้ บั โอกาสในการศกึ ษาสมดงั
พุทธศักราช ๒๕๕๓ ทรงจัดต้ังเป็นมูลนิธิให้ชื่อว่า “มูลนิธิ ท่ีต้ังใจแล้ว ก็ขอให้ใช้โอกาสอันดีน้ีพัฒนาตนเองในทุก ๆ ด้าน
ทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ ให้เป็นผู้ท่ีสมบูรณ์พร้อมด้วยวิชาความรู้ ความฉลาด สามารถ
สยามมกุฎราชกุมาร” (ม.ท.ศ.) ทรงเป็นประธานกรรมการ และคุณธรรมความประพฤติ จะได้น�ำคุณสมบัติท้ังน้ันไปใช้เป็น
มีหน่วยงานที่เก่ียวข้องประกอบด้วย ส�ำนักราชเลขานุการ เครื่องมือสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่ตนแก่บ้านเมืองได้
ในพระองค์ ฯ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ ในอนาคต...”
สังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการพฒั นา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัย
สงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ รว่ มกนั ด�ำเนนิ การมวี ตั ถปุ ระสงค์ การพัฒนาคุณภาพของประชากร โดยเฉพาะการเสริมสร้าง
เพอื่ สง่ เสรมิ เยาวชนทเ่ี รยี นดี ขยนั หมนั่ เพยี ร ประพฤตดิ มี คี ณุ ธรรม ความรู้แก่เยาวชน พระราชกรณียกิจน้ีเป็นที่ซาบซ้ึงแก่เยาวชน
มฐี านะยากจน ขณะทก่ี �ำลงั จะจบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ใหส้ ามารถ และครอบครัวของผู้ได้รับพระราชทานทุนสุดจะพรรณนา
ศึกษาต่อในช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายถึงระดับปริญญาตรี พระองค์ประดุจดวงประทีปส่องความรุ่งเรืองให้อนาคตก้าวไป
หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาตามต้องการ โดยไม่ผูกพันใช้ทุนคืน อยา่ งมั่นคง
เม่ือจบการศึกษาเปิดโอกาสให้เข้าท�ำงานเป็นข้าราชบริพาร ทนุ พระราชทานแก่สายอาชีพอน่ื ๆ
ในพระองค์ตามความต้องการ ตามความสมัครใจ ทรงวางหลกั
การกระจายทนุ ครอบคลมุ ทวั่ ทกุ จงั หวดั มพี ระราชด�ำรสั ณ วงั ศโุ ขทยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานทนุ การศกึ ษา
ในโอกาสทน่ี กั เรยี นทนุ เเฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท รบั พระราชทาน แก่นกั ศกึ ษายากจนท่ีเรยี นดี มคี วามประพฤตดิ ี เพอื่ สนบั สนนุ ให้
ทุนการศึกษาและโลเ่ ชิดชเู กียรติ เมื่อวันเสาร์ ท่ี ๒๘ กรกฎาคม กลับมาเป็นผู้น�ำชุมชนที่เป็นประโยชน์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม
พุทธศักราช ๒๕๕๕ เกีย่ วกับความส�ำคัญของโครงการ ความวา่ อาทิ นักศึกษาด้านการเกษตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พยาบาลในหลักสูตรปริญญาตรี เพื่อเป็นพยาบาลในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ๕ จังหวัด จ�ำนวนกว่า ๙๙ ทุน และทุนนิสิต
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

อรอร ฤทธ์กิ ลาง
เรียบเรยี ง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่ 41

เสียงสะทอ้ นจากผู้บรหิ าร

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

42 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

นางสาวมณฑาทพิ ย์ เสาวคนธ์

ผูอ้ ำ�นวยการโรงเรียนมกุฎเมอื งราชวทิ ยาลัย
จงั หวดั ระยอง

นับแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร สถาบันพระมหากษัตริย์ จะพัฒนาโรงเรียนทุกด้านโดยเฉพาะ
มหาภมู พิ ลดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ดฉิ นั ไดป้ รบั น�ำหลกั การพัฒนาครู ซ่ึงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการพัฒนา มุ่งเน้นพัฒนา
ปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต คุณภาพของนักเรียนให้มีศักยภาพและผลักดันครูทุกคน
พรอ้ มทง้ั น�ำมาจดั ท�ำเปน็ นโยบายส�ำคญั ของหลกั สตู รในการจดั การ ในโรงเรยี นให้เปน็ ครยู คุ ใหม่ กา้ วทนั ความเปลย่ี นไปของโลก
กระบวนการเรยี นรขู้ องโรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย

เม่ือพุทธศักราช ๒๕๖๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ได้พระราชทาน
พระปฐมบรมราชโองการแกป่ วงชนชาวไทยความวา่ “เราจะสบื สาน
รักษา และตอ่ ยอด และครองแผน่ ดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชนส์ ขุ
แห่งอาณาราษฎรตลอดไป” แสดงให้เห็นว่ามีพระราชปณิธาน
อันแน่วแน่ในการทรงงานเพ่ือประโยชน์แก่ราษฎรอย่างแท้จริง
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ดา้ นการศกึ ษา พระราชทานพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษา ซึ่งเป็นแนวพระราชด�ำริทรงเน้นความม่ันคง
ของชีวิต มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตม่ันคง
มคี ณุ ธรรมมงี านมอี าชพี เปน็ พลเมอื งดีนบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ
ตอ่ การศึกษาของชาติ

ดิฉันรับราชการมา ๑๘ ปี และเป็นศิษย์เก่ารุ่นท่ี ๒
ของโรงเรยี นมกฎุ เมอื งราชวทิ ยาลยั แหง่ นี้ เมอื่ ไดก้ ลบั มารบั ราชการ
ในฐานะผอู้ �ำนวยการโรงเรยี น จงึ เสมอื นวา่ ไดก้ ลบั บา้ น และมาดแู ลครู
อาจารยท์ เ่ี คยสงั่ สอน ซง่ึ มคี รหู ลายทา่ นทจ่ี �ำไดว้ า่ ดฉิ นั เคยเปน็ ศษิ ย์
มีค�ำสอนหน่ึงของครูที่เคยสอนไว้ว่า “ถ้าตัวเราไม่ดี ให้ไปตี
ครขู องหน”ู น่นั หมายถงึ ถ้าตัวเราดกี เ็ พราะวา่ มีครูดี

ดิฉันรู้สึกปลาบปลื้มเป็นอย่างยิ่งที่มาเป็นผู้บริหาร
โรงเรยี นไดด้ แู ลโรงเรยี นแหง่ น้ี จะท�ำหนา้ ทใ่ี หด้ ที สี่ ดุ เพอื่ ใหส้ มเกยี รติ
ที่พระราชทานนามให้โรงเรียนว่า “มกุฎเมืองราชวิทยาลัย”
ซ่ึงแปลว่า ราชวิทยาลัยสูงสุดแห่งเมือง จึงตั้งใจอย่างสูงยิ่ง
ว่าจะสอนใหน้ กั เรียนทกุ คน ศรัทธา ยดึ ม่นั ในศาสนาและเทิดทูน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ 43

นายกษดิ เ์ิ ดช พรมทอง

ผ้อู ำ�นวยการโรงเรยี นทีปังกรวิทยาพฒั น์
(วัดสุนทรสถิต) ในพระราชูปถัมภ์
อำ�เภอบ้านแพว้ จังหวัดสมุทรสาคร

โรงเรยี นวดั สนุ ทรสถิตสามคั คีวทิ ยาคม สงั กดั ส�ำนักงาน ต่อมาเม่ือปี พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผมได้รับต�ำแหน่ง
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จัดตั้งข้ึนโดย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดสุนทรสถิตสามัคคีวิทยาคม ซึ่งปัจจุบัน
หลวงอนรุ ฐั นฤผดงุ อ�ำเภอเมอื งสมทุ รสาคร เมอื่ วนั ที่ ๑๖ สงิ หาคม คอื โรงเรยี นทปี งั กรวทิ ยาพฒั น์ (วดั สนุ ทรสถติ ) ในพระราชปู ถมั ภ์
พุทธศักราช ๒๔๖๕ โดยใช้ศาลาการเปรียญของวัดสุนทรสถิต ทรงให้ความส�ำคัญแก่โรงเรียน ท้ัง ๑๕ แห่ง ซึ่งเป็นโรงเรียน
เป็นสถานที่เรียน โดยได้รับการสนับสนุนและความอุปถัมภ์ ท่ีห่างไกล ขาดแคลนครู บุคลากร และทุนทรัพย์ ทรงห่วงใย
ของพระสมุหโ์ ฉม สุนทรวโร เจ้าอาวาสวดั สนุ ทรสถติ ท้ังด้านความเสมอภาค ด้านโอกาสทางการศึกษา และเด็ก
ด้อยโอกาสทางการศึกษา โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีห่างไกลทุกแห่ง
เมอื่ วนั ท่ี ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๕ พระบาทสมเดจ็ หลงั จากทรงรบั โรงเรยี นเหลา่ นไ้ี วใ้ นพระราชปู ถมั ภ์ โรงเรยี นไดร้ บั
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว คร้ังทรงด�ำรงพระอิสริยยศสมเด็จ การพัฒนาข้ึนโดยล�ำดับและกระทรวงศึกษาธิการ โดยส�ำนักงาน
พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ความส�ำคัญสนับสนุน
เป็นการส่วนพระองค์ที่โรงเรียนและพระราชทานพระราชทรัพย์ งบประมาณ บุคลากรและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ด้วยดี
ส่วนพระองค์เพื่อสนับสนุนการศึกษาของโรงเรียน นับเป็น ตลอดมา
พระมหากรุณาธคิ ณุ อยา่ งหาทส่ี ุดมิได้
ตลอดเวลา ๑๒ ปี กระผมได้น้อมน�ำหลักปรัชญาของ
โรงเรยี นทปี งั กรวทิ ยาพฒั น์(วดั สนุ ทรสถติ )ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
เดมิ ชอื่ วา่ โรงเรยี นวดั สนุ ทรสถติ สามคั ควี ทิ ยาคม ตอ่ มา เมอื่ วนั ที่ ๓ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาใช้เป็นหลัก
กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕ ทรงรบั โรงเรยี นไวใ้ นพระราชปู ถมั ภ์ ในการบรหิ ารโรงเรยี น ทกุ โรงเรยี นในกลมุ่ โรงเรยี นในพระราชปู ถมั ภ์
และพระราชทานนามวา่ “โรงเรยี นทปี งั กรวทิ ยาพฒั น์ (วดั สนุ ทรสถติ ) โดยมุ่งเน้นยกระดับคุณภาพการศึกษา สร้างเด็กและเยาวชน
ในพระราชปู ถมั ภ์ ฯ” ของชาติให้มีคุณภาพ ด้านวิชาการ วิชาชีพ และทักษะชีวิต
เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งการปลูกฝัง
กระผมนายกษิดิ์เดช พรมทอง ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน จติ ส�ำนกึ ใหม้ คี วามรกั ชาติ เทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ รวมถงึ
ทปี งั กรวทิ ยาพฒั น์ (วดั สนุ ทรสถติ ) ในพระราชปู ถมั ภ์ อ�ำเภอบา้ นแพว้ เผยแพรพ่ ระราชกรณยี กิจและงานจติ อาสาท่ีท�ำประโยชน์ร่วมกบั
จังหวัดสมุทรสาคร และด�ำรงต�ำแหน่งประธานกลุ่มในโรงเรียน ชุมชนและสังคม อย่างสมพระเกียรติที่ทรงรับโรงเรียนทีปังกร
พระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร วิทยาพฒั น์ (วดั สนุ ทรสถติ ) ไวใ้ นพระราชปู ถัมภ์
ซ่ึงมีท้ังหมด ๑๕ โรงเรียน ทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้
กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

44 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

ดร.ปนดั ดา วงคจ์ นั ตา

ผูอ้ ำ�นวยการโรงเรยี นเศรษฐเสถยี รในพระราชปู ถมั ภ์

ดิฉันด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงเรียนเศรษฐเสถียร ดิฉันจะต้ังใจท�ำงานถวายพระองค์อย่างเต็มศักยภาพ
ในพระราชปู ถมั ภ์ เปน็ เวลา ๖ ปี แตถ่ า้ นบั รวมจากการเปน็ ผบู้ รหิ าร จะสอนให้นักเรียนท่ีน่ี ให้มีระเบียบวินัย สืบสาน รักษา ต่อยอด
สถานศกึ ษา เปน็ เวลา ๑๑ ปี ตง้ั แตว่ นั แรกทกี่ า้ วเขา้ มา ณ โรงเรยี น มีความเป็นจิตอาสาและเป็นพลเมืองที่ดี ให้สมอย่างที่พระองค์
แหง่ นี้ ดฉิ นั รบั รวู้ า่ โรงเรยี นนม้ี คี ณุ ภาพดอี ยแู่ ลว้ แตเ่ รากต็ อ้ งพฒั นา ได้ตัง้ พระราชหฤทยั ไว้
ยกระดบั ทกุ ดา้ นใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ โรงเรยี นนเ้ี ปน็ โรงเรยี นส�ำหรบั เดก็ พกิ าร
ทางการไดย้ นิ พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงรบั โรงเรยี น กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี
ไว้ในพระราชูปถัมภ์ บุคลากรทุกคนในโรงเรียนรู้สึกอบอุ่นใจ
พระองค์ทรงห่วงใย ดูแลเราทุกคนและนักเรียนอย่างสม่�ำเสมอ การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 45
เราจึงรู้สึกพิเศษกว่าโรงเรียนอื่น ต้ังใจจะพัฒนานักเรียนเและ
บคุ ลากรทกุ คนในโรงเรยี นใหม้ ศี กั ยภาพมากยงิ่ ขนึ้ เราตอ้ งการให้
นกั เรยี นทกุ คนเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง รสู้ กึ เทา่ เทยี มกบั เดก็ คนอน่ื ๆ
ที่มีร่างกายปกติไม่ต้องการให้รู้สึกว่าตนเองพิการทางการได้ยิน
ถึงแม้นักเรียนจะพิการทางการได้ยินแต่เราไม่ได้พิการทาง
สติปัญญา โรงเรียนจึงได้เพ่ิมสื่อดิจิทัลเข้ามาใช้ในกิจกรรม
การเรียนการสอน ให้นักเรียนและครูทุกคนเข้าถึงนวัตกรรม
และเทคโนโลยี และสามารถเรยี นออนไลนไ์ ด้ สง่ิ ทหี่ วงั เปน็ อยา่ งยง่ิ
คอื อยากใหน้ กั เรยี นทกุ คนทจ่ี บการศกึ ษาจากโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร
ในพระราชูปถัมภ์ เป็นคนดีและมคี ุณคา่ ของสงั คม

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวพระราชทานนามโรงเรยี น
อาคารเรยี น คอื อาคารวชริ ารศั มท์ิ ปี งั กร และอาคารเศรษฐมงคล
รวมถึงตราสัญลักษณ์ของโรงรียน ซ่ึงตราสัญลักษณ์น้ีจะติดอยู่ท่ี
เส้ือนักเรียนด้วย เราทุกคนจึงส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
รู้สึกปลาบปล้ืมใจทุกครั้งท่ีพระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินมาเยี่ยม
ทน่ี เี่ ปน็ การสว่ นพระองค์ เสมอื นวา่ เราทกุ คนคอื ลกู ๆ ของพระองค์
และอยู่ในสายพระเนตรพระกรรณของพระองค์จริง ๆ ซึ่งตลอด
ระยะเวลาท่ีผ่านมา โรงเรียนของเราได้รับพระมหากรุณาธิคุณ
จากพระองค์ในทุกดา้ น ทรงห่วงใยและพระราชทานสงิ่ ของให้แก่
นกั เรยี นอยา่ งมเิ คยขาด จงึ นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งหาทส่ี ดุ
มิได้

มหาวิทยาลยั
ราชภัฏสวนสนุ ันทา

เดิมมหาวิทยาลัยเป็นส่วนหนึ่งของวังสวนสุนันทา อีกครั้ง โดยคณะรัฐมนตรีมีมติให้ใช้พื้นที่ของวังสวนสุนันทา
ซึ่งถือเป็นเขตพระราชฐานและเป็นสถานที่ประทับ พักผ่อน ให้เกิดประโยชน์ แปรจากราชส�ำนักฝ่ายในเป็นสถานศึกษา
พระอริยาบถของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้จัดต้ังเป็นสถานศึกษาของชาติ อันก่อเกิดพัฒนาการ
โดยมีพระราชประสงค์ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มีการจัดหา ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา มาเป็นล�ำดับ
ดอกไมน้ านาพรรณและจดั ตัง้ เป็น “สวนสนุ ันทาอุทยาน” อนั มีช่อื
มาจากสวนของพระอนิ ทรบ์ นสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ สแ์ ละพระนามของ มหาวิทยาลัยราชภัฏในฐานะสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือ
สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี ต่อมา การพฒั นาทอ้ งถน่ิ เปน็ หนว่ ยงานทท่ี างการศกึ ษา ทพี่ ระบาทสมเดจ็
ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดม้ กี ารสรา้ ง พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลปจั จบุ นั ใหค้ วามสนพระราชหฤทยั
พระต�ำหนกั เพม่ิ เตมิ เพอื่ ไวส้ �ำหรบั เปน็ ทป่ี ระทบั ใหแ้ กเ่ จา้ นายฝา่ ยใน พระราชกรณียกิจด้านการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏได้รับ
รวมทง้ั เปน็ อาคารทพี่ กั ส�ำหรบั ขา้ ราชบรพิ าร จ�ำนวน ๓๒ ต�ำหนกั พระราชทานพระมหากรณุ าธคิ ณุ ใหน้ อ้ มน�ำแนวพระบรมราโชบาย
โดยพระวมิ าดาเธอ พระองคเ์ จา้ สายสวลภี ริ มย์ กรมพระสทุ ธาสนิ นี าฏ ไปปฏิบัติ ยกระดับมหาวิทยาลัยราชภัฏในการท�ำงานให้บรรลุ
ปิยมหาราชปดิวรัดา ได้โปรดให้จัดต้ัง “โรงเรียนนิภาคาร” เปา้ หมาย มงุ่ สกู่ ารยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและพฒั นาทอ้ งถน่ิ
ขึ้นภายในสวนสุนันทาเพื่อเป็นโรงเรียนส�ำหรับกุลสตรี โดยต้องวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชน
ให้การศึกษาแก่บุตรีของขุนนาง ข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์ ในทอ้ งถน่ิ ดว้ ย น�ำยทุ ธศาสตรใ์ หม่ มาพฒั นาและปรบั ใหเ้ หมาะสม
และข้าหลวงจากต�ำหนักต่าง ๆ ให้ตามสภาพและวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นด้วย ดังนั้น
มพี ระบรมราโชบายให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓๘ แหง่ ทั่วประเทศ
พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ มเี ปลย่ี นแปลงระบอบการปกครอง ผลิตครูที่มีคุณภาพและพัฒนาการศึกษารวมทั้งการพัฒนา
ที่ส่งผลกระทบต่อระบบเจ้านายเป็นอย่างมากท�ำให้บรรดา ท้องถิน่ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
พระบรมวงศานุวงศ์ในสวนสุนันทาหว่ันเกรงต่อภัยทางการเมือง
จึงต่างพากันทยอยออกจากสวนสุนันทาจนหมดสิ้น ส่งผลให้ สง่ิ ทชี่ าวราชภฏั สวนสนุ นั ทานอ้ มส�ำนกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ
วังสวนสุนันทาท่ีเคยงดงามถูกปล่อยให้รกร้างขาดการดูแล อย่างหาท่ีสุดมิได้ ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และท�ำให้โรงเรียนนิภาคารถูกยกเลิกด�ำเนินการไปโดยปริยาย พระราชทานโฉนดท่ีดินให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
คร้ันในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล โฉนดทด่ี นิ ๖๐ไร่๑งาน๘๐ตารางวาเมอื่ วนั ที่๒๒พฤศจกิ ายน๒๕๖๓
วังสวนสุนันทา ท่ีเคยทรุดโทรมก็ได้รับการฟื้นฟูกลับมาสวยงาม ทผี่ า่ นมาณพระทน่ี งั่ อมั พรสถานพระราชวงั ดสุ ติ โดยมพี ระราชประสงค์
พระราชทานเพอ่ื การศกึ ษา นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ เป็นล้นพ้น
กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี อนั หาท่ีสุดมิได้

46 การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่


Click to View FlipBook Version