The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางรัชฎาภรณ์ ปัญญานวล ได้รับรางวัลคุรุสภา ระดับดีเด่น ประจำปี 2563 นำเสนอบทความในวารสาร 129 ปี กระทรวงศึกษาธิการผลงานปรากฎในหน้าที่ 210 - 211

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by งานวิจัยและพัฒนา, 2021-05-08 03:55:20

วารสาร 129 ปีกระทรวงศึกษาธิการ

นางรัชฎาภรณ์ ปัญญานวล ได้รับรางวัลคุรุสภา ระดับดีเด่น ประจำปี 2563 นำเสนอบทความในวารสาร 129 ปี กระทรวงศึกษาธิการผลงานปรากฎในหน้าที่ 210 - 211

เล่าขานตำ�นาน

สื่อการเรยี นการสอน

ตอนที่ ๒๑ กระดานชนวนและดนิ สอหนิ สอ่ื การเรียนร้ใู นอดีต

๔. เทคโนโลยกี ารพมิ พ์ :
จากการพมิ พแ์ พรว่ รรณกรรม
ไปให้กวา้ งขวาง

การสร้างสรรค์ผลงานของกวี และสื่อการเรียนการสอน
ทเ่ี ปน็ บทเรยี นในอดตี มกั เปน็ ไปเฉพาะผสู้ รา้ งสรรคว์ รรณกรรมกบั
ผู้สนใจใกล้ชิด หรือครูกับผู้ฝากตนเป็นศิษย์เท่านั้น การคัดลอก
มกั เขยี นลงในกระดานชนวน แลว้ จดจำ� หรอื เขยี นลงสมดุ ไทยจาก
คนหนึง่ ไปสคู่ นหนงึ่ ตอ่ ๆ กัน ถือไดว้ ่าแพร่หลายอย่ใู นวงจำ� กดั

ในการซ้ือขายหรอื การจ�ำหน่ายผลงาน ครง้ั สมัยอยธุ ยา
และสมัยต้นรัตนโกสินทร์ไม่ปรากฏหลักฐานชัดแต่อย่างใด
ทราบเพียงว่ากวีคนส�ำคัญบางท่าน เช่น สุนทรภู่ นอกจากแต่ง
วรรณกรรมหรอื วรรณคดถี วายเจา้ นายเชอื้ พระวงศแ์ ลว้ กแ็ ตง่ ขาย
เพ่ือเลย้ี งชพี ในยามตกยาก

“เมื่อแต่งขึ้นแล้ว ใครอยากจะอ่าน
ก็มาขอคัดลอกไป ผู้แต่งคิดเอาค่าแต่งตามแต่
ผู้ต้องการอ่านจะยอมให้ได้ ผู้มีชื่อเสียงเช่น
สนุ ทรภู่ก็เหน็ จะได้ค่าแต่งแรงอยู”่ ๒

๔.๑ การรเิ รมิ่ การพมิ พจ์ ากตา่ งประเทศสปู่ ระเทศไทย

แต่โบราณต�ำราเรียนหรือแบบเรียน และหนังสือต่าง ๆ
มกั อยเู่ พยี งในวดั พระสงฆเ์ ปน็ บคุ คลสำ� คญั ผดู้ แู ล รวบรวม คดั ลอก
และรักษาสรรพวิชาสืบ ๆ กันมา จากคัดลอกฉบับเดียว ก็มี
การคดิ คน้ หาวธิ ที ำ� ซำ�้ เพอื่ ใหไ้ ดอ้ กี ฉบบั รวดเรว็ ขน้ึ โดยแกะตวั อกั ษร
บนกระดานตามข้อความทจ่ี ะคัดลอกใหเ้ ต็มหน้า จากนัน้ น�ำหมกึ
มาทากระดาน แลว้ ใชก้ ระดาษทบั ขอ้ ความทตี่ อ้ งการทง้ั หนา้ จะตดิ
บนกระดาษอา่ นไดช้ ดั เจน ทำ� ไปจนครบเลม่ วธิ นี ส้ี ามารถพมิ พซ์ ำ�้ ๆ
หลายฉบบั แมจ้ ะตอ้ งเสยี เวลาในการแกะตวั อกั ษรกต็ าม

๑ “เลา่ ขานต�ำนานสอื่ การเรยี นการสอน” ตอนที่ ๑ พมิ พ์อยใู่ น พลิกโฉมการเรยี นรู้ ก้าวสู่ยคุ ดจิ ทิ ลั หนงั สอื ทร่ี ะลกึ ๑๒๘ ปี กระทรวงศึกษาธิการ, (กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พร้นิ ต้งิ
แอนด์พับลชิ ชงิ่ , ๒๕๖๓), หนา้ ๕๙ - ๘๑.
๒ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ, “ประวัตสิ ุนทรภู่” ใน ชวี ติ และงานของสนุ ทรภ่,ู (กรุงเทพฯ : องค์การคา้ ของครุ สุ ภา, ๒๕๔๓), หนา้ ๑๔.

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

98 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

การพิมพ์ซ้�ำในอดีตได้พัฒนาไปอีกขั้น มีประวัติเล่าว่า ใน พ.ศ. ๑๙๘๓ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
คแู ตงแบรค์ ศษิ ยว์ ดั ชาวเยอรมนี ไดค้ ดิ นำ� ตะกว่ั มาหลอ่ เปน็ ตวั อกั ษร หลอ่ เปน็ ตวั ๆ พระมหากษัตรยิ ผ์ ทู้ รงริเรม่ิ ตั้งโรงพิมพ์
ตวั ละหลายรอ้ ยชน้ิ แลว้ ใชต้ วั อกั ษรตะกวั่ นนั้ มาเรยี งเปน็ คำ� เปน็ ขอ้ ความทตี่ อ้ งการ และโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระโหราธิบดี แตง่ จนิ ดามณี
ขน้ึ แทน่ แล้วใชห้ มกึ ทา เอากระดาษทับไวอ้ ย่างวธิ ีเดมิ แต่จะพิมพ์หน้าซ�้ำก่ีครัง้ ก็ได้
ท้ังสามารถร้ือตัวอักษรมาเรียงใหม่พมิ พห์ น้าอืน่ เรอ่ื งอ่นื ตอ่ ไปไดอ้ ีกด้วย การพมิ พ์ แบบเรียนเล่มแรกของไทย
ลกั ษณะนไี้ ด้แพร่เรือ่ งครสิ ต์ศาสนาไปยงั เรื่องอนื่ ๆ ในนานาประเทศ

การริเร่ิมการพิมพ์ในประเทศไทย สันนิษฐานว่าคงมีมาแต่สมัยอยุธยา
แผน่ ดินสมเด็จพระนารายณม์ หาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้
ต้งั โรงพมิ พห์ ลวงข้นึ ทีล่ พบุรี ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๑๔ - ๒๒๓๑ บ้างวา่ พ.ศ. ๒๒๐๕
ภายหลงั จากทสี่ งั ฆราช หลยุ ส์ ลาโน (Louis Laneou) ไดร้ เิ รมิ่ แตง่ และพมิ พห์ นงั สอื
ค�ำสอนทางคริสต์ศาสนา รวมทั้งตั้งโรงพิมพ์ที่ต�ำบลเกาะมหาพราหมณ์ เหนือ
กรงุ ศรอี ยธุ ยาขนึ้ กอ่ นแลว้ แตห่ ลกั ฐานการพมิ พใ์ นประเทศไทยไดส้ ญู หาย ไมเ่ หลอื
ถงึ ปจั จุบนั มเี พยี งจดหมายเหตเุ อกสารท่ีปรากฏอยู่ในต่างประเทศ

ในสมยั ธนบรุ ี สงั ฆราชการโ์ นล (Garnault) ไดก้ ลบั เขา้ มาสอนครสิ ตศ์ าสนา
และต้ังโรงพิมพ์ข้ึนที่วัดซางตาครู้ส ชุมชนกุฎีจีน แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี
ในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าครั้งนั้นคงใช้แม่พิมพ์ ท่ีแกะบนกระดานไม้เป็นหน้า ๆ
มากกว่าการใช้เรียงพิมพโ์ ลหะ และมกี ารพมิ พต์ ดิ ต่อมาจนถงึ สมัยต้นรตั นโกสนิ ทร์
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และพระบาทสมเด็จ
พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย สว่ นการใช้สมดุ ไทยเขียนคดั ลอกยังคงเป็นไปโดยปกติ

เร่ืองก�ำเนิดแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ภาษาไทย มีหลักฐานว่า นางแนนซี่ วัดซางตาครสู้ ธนบรุ ี
จดั สนั (Nancy Judsan) ซงึ่ ดำ� เนนิ กจิ การครสิ ตศ์ าสนาในเมอื งยา่ งกงุ้ ประเทศเมยี นมา
นอกจากสนใจภาษาเมียนมาแลว้ ยงั สนใจภาษาไทย ไดพ้ บพวกลกู หลานเชลยไทย กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี
ที่ถูกกวาดต้อนไปคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งหลัง จึงศึกษาภาษาไทยจนช�ำนาญ
สามารถออกแบบตวั พมิ พโ์ ลหะอกั ษรไทยและหลอ่ ขน้ึ ณ ประเทศน้ี แรก ๆ หนงั สอื ไทย การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 99
ทพ่ี มิ พค์ งเปน็ เร่อื งท่ีแปลค�ำสอนครสิ ต์ศาสนาเป็นภาษาไทย

๔.๒ รากฐานการพิมพ์ครงั้ ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ นายแพทย์ แดน บชี บรดั เลย์
ผรู้ ิเริม่ กจิ การพมิ พค์ รง้ั แรก
ตัวแม่พิมพ์อักษรไทยจากเมียนมาน้ีมีประวัติบันทึกว่า ในสมัยต้นรตั นโกสนิ ทร์
ได้ถูกน�ำไปยังเมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย และมีผู้ซ้ือมาไว้ที่
สงิ คโปร์ ตอ่ มานกั บวชชาวอเมริกันไดซ้ ้อื เขา้ ส่เู มอื งไทย ใชพ้ มิ พ์
เรอื่ งบญั ญตั ิ ๑๐ ประการ เปน็ เลม่ เลก็ ๆ ครง้ั แรกเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๗๙
กจิ การพมิ พใ์ นไทยชว่ งนมี้ กี ารพฒั นา คงตอ้ งเอย่ นามถงึ นายแพทย์
แดน บีช บรัดเลย์ (Dr. Dan Beach Bradley) หรือหมอบรดั เลย์
ชาวอเมรกิ นั ซง่ึ เปน็ คนแรกทดี่ ดั แปลงตวั อกั ษรไทยใหน้ า่ อา่ นและ
หลอ่ ตวั พมิ พข์ นึ้ รวมทงั้ ไดเ้ รม่ิ ตน้ กจิ การพมิ พเ์ ปน็ ครงั้ แรกในไทย
เม่ือ พ.ศ. ๒๓๘๒

หม่อมราชวงศก์ ระตา่ ย อิศรางกูร (หมอ่ มราโชทยั ) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงยอมรับ
ผู้แต่ง นิราศลอนดอน วิทยาการสมัยใหม่ และมีพระบรมราชานุญาตให้พิมพ์เอกสาร
ทางราชการของไทยข้ึนเป็นคร้ังแรก หมอบรัดเลย์ได้ขยับขยาย
และขายลิขสทิ ธิ์หนงั สอื เปน็ คนแรกของไทย กิจการ ออกหนงั สอื พิมพฉ์ บับแรก ชือ่ บางกอกรีคอเดอร์ (The
Bangkok Recorder) แตอ่ ยู่ได้ไมน่ านต้องลม้ เลิกไป นอกจากนี้
กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี ท่านยังสร้างประวัติศาสตร์ลิขสิทธิ์หนังสือเป็นคร้ังแรกในไทย
โดยซอ้ื นริ าศลอนดอน ของหมอ่ มราโชทยั พมิ พจ์ ำ� หนา่ ย รวมทงั้
100 การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ ได้พมิ พว์ รรณคดีเรอ่ื งอ่ืนออกจ�ำหนา่ ยเปน็ ระยะ ๆ

อาจกลา่ วไดว้ า่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว
ทรงเป็นคนไทยพระองค์แรกที่เริ่มต้นกิจการพิมพ์ของไทย
คร้งั ทรงด�ำรงพระอสิ รยิ ยศสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ มงกุฎ
และทรงผนวชอยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร โปรดให้สั่งเคร่ืองพิมพ์
มาไวท้ ว่ี ดั แหง่ นเี้ มอ่ื พ.ศ. ๒๓๙๒ และแกะตวั พมิ พเ์ ปน็ อกั ษรอรยิ กะ
พมิ พห์ นงั สอื สอนศาสนาบา้ ง หนงั สอื สวดมนตบ์ า้ ง โดยมพี ระสงฆ์
ในวดั เปน็ ผูจ้ ัดพิมพ์

ครน้ั พระองคเ์ สดจ็ ขน้ึ ทรงราชยเ์ มอ่ื พ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงจดั ตงั้
โรงพิมพ์หลวงข้ึนในพระบรมมหาราชวัง ชื่อว่า โรงพิมพ์อักษร
พิมพการ ผลงานช้ินแรก คือ หนังสือ ราชกิจจานุเบกษา เม่ือ
พ.ศ. ๒๔๐๑ ความสนพระราชหฤทัยของพระองค์ ประจักษ์ได้
อีกประการหนึ่งคือ เมื่อทรงส่งคณะทูตไปเจริญสัมพันธไมตรี
ณ ประเทศอังกฤษใน พ.ศ. ๒๔๐๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อมให้ขุนมหาสิทธิโวหารไปกับคณะทูต โดย
ทรงมอบหมายใหศ้ กึ ษาดงู านการพมิ พอ์ ยา่ งจรงิ จงั เพอื่ มาปรบั ปรงุ
โรงพมิ พ์หลวงให้ดีขึน้

๔.๓ กจิ การพมิ พ์เจริญขน้ึ รชั สมัยต่อมา

เนอ่ื งดว้ ยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสนพระราชหฤทยั
เรื่องหนังสอื ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีวรรณกรรมหลายเลม่ ทรงก่อต้ังโรงเรียน
และสร้างระบบการศึกษาขึ้นใหม่ การพิมพ์ได้เจริญข้ึน และบางเล่มที่พิมพ์ช่วงนี้
ได้ใช้เป็นแบบเรียนตอ่ มา

กล่าวเฉพาะด้านวรรณคดี เม่ือหมอสมิท (Samuel John Smith)
มชิ ชนั นารชี าวอเมรกิ นั ซงึ่ ตง้ั โรงพมิ พอ์ ยทู่ บี่ างคอแหลม ไดจ้ ดั พมิ พบ์ ทกลอนนริ าศ
และสุภาษิตต่าง ๆ ท่ีส�ำคัญได้จัดพิมพ์เร่ือง พระอภัยมณี ของสุนทรภู่ จ�ำหน่าย
ปรากฏว่าจ�ำหน่ายได้ดีมีก�ำไรอย่างงาม มีผลให้วรรณคดีเอกเรื่องน้ีเผยแพร่อย่าง
กว้างขวาง คร้ันพิมพ์จ�ำหน่ายเร่ืองอื่น ๆ ของสุนทรภู่อีก ก็ได้รับผลตอบแทน
ดมี ากเช่นกนั

สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงเลา่ ถงึ การรเิ รมิ่ พมิ พ์
เรอื่ ง พระอภัยมณี ของสุนทรภู่ ในค�ำน�ำหนังสือ ชวี ิตและงานของสุนทรภู่ ว่า

หนังสือบทกลอนของสุนทรภู่ได้เร่ิมพิมพ์ในรัชกาลที่ ๕
เมอื่ ปมี ะเมยี พ.ศ. ๒๔๑๓ หมอสมทิ เจา้ ของโรงพมิ พท์ บี่ างคอแหลม
พมิ พเ์ รอ่ื ง พระอภยั มณี กอ่ นเรอ่ื งอน่ื พมิ พข์ ายคราวละเลม่ สมดุ ไทย
เรยี กราคาเลม่ ละสลงึ (๒๕ สตางค)์ คนตน่ื ซอื้ หมอสมทิ ไดก้ ำ� ไรมาก
นยั วา่ สรา้ งตกึ ไดห้ ลงั หนงึ่ จนหมอสมทิ คดิ ถงึ คณุ สนุ ทรภู่ เทย่ี วสบื ถาม
เช้ือสายหวังจะใหบ้ ำ� เหน็จ เวลาน้นั นายพัดกับนายตาบบตุ รสุนทรภู่
ยงั อยู่ แตจ่ ะไดบ้ ำ� เหนจ็ เทา่ ใดหาปรากฏไม่ ตงั้ แตห่ มอสมทิ รวยดว้ ย
พิมพห์ นังสอื พระอภัยมณี ต่อมาทงั้ หมอสมทิ และเจา้ ของโรงพิมพ์
อ่ืน ๆ ก็ค้นคว้าหาหนังสือบทกลอนของสุนทรภู่พิมพ์ข้ึนขายเป็น
ลำ� ดบั มา บางเรื่องได้พิมพถ์ ึง ๓ คร้งั ๔ ครัง้ หนงั สอื บทกลอนของ
สนุ ทรภไู่ ด้พมิ พ์เมอ่ื ในรชั กาลที่ ๕ หมดทุกเรอ่ื ง เว้นแต่ เสภาเรอื่ ง
พระราชพงศาวดาร หอพระสมุดฯ ก็ได้พิมพ์แต่ในรัชกาลที่ ๕ แต่
พมิ พเ์ พยี งเทา่ ทจ่ี ำ� กนั ไวไ้ ด้ เพราะฉบบั สญู หายเพง่ิ หาไดฉ้ บบั บรบิ รู ณ์
จึงมาพิมพ์ตลอดเร่ืองต่อในรัชกาล ๖ เพลงยาวถวายโอวาท ก็เพิ่ง
หาฉบับได้ และไดพ้ มิ พต์ ่อในรัชกาลที่ ๖ นเ้ี หมอื นกัน๓

๓ ชวี ติ และงานของสุนทรภ่,ู (กรงุ เทพฯ : องค์การค้าของครุ สุ ภา, ๒๕๔๓), หนา้ ๓๙ หนังสอื ชีวิตและงานของสนุ ทรภู่
ซึ่งตอนต้นมี “ประวตั สิ นุ ทรภ่”ู พระนพิ นธ์

สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ
กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 101

หลังจากมีผู้สนใจอ่านวรรณคดี เร่ือง พระอภยั มณี จาก
โรงพมิ พข์ องหมอสมทิ อยา่ งแพรห่ ลาย โรงพมิ พอ์ นื่ ๆ กแ็ ตง่ นทิ าน
จกั ร ๆ วงศ์ ๆ เนื้อเรือ่ งและบางลีลาสำ� นวนท�ำนองเดียวกับ เร่อื ง
พระอภัยมณี หรือนิทานค�ำกลอนอ่ืน ๆ ของสุนทรภู่ จ�ำหน่าย
จ�ำนวนมาก ทก่ี ล่าวถึงกันมากท่สี ุดคือโรงพมิ พ์ราษฎร์เจริญ หรือ
เรยี กกนั ทว่ั ไปวา่ “โรงพมิ พว์ ดั เกาะ” เพราะอยใู่ กลว้ ดั เกาะแกว้ ลงั การาม
(ปัจจุบันคือวัดสัมพันธวงศ์) ต้ังเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๒ และมักเรียก
นิทานทพ่ี ิมพ์ที่โรงพมิ พ์แหง่ นีว้ า่ “นิทานวัดเกาะ”

พระอภัยมณี ภาพ พระอภัยมณเี ปา่ ปี่
จากแบบเรียนภาษาไทย ชั้นประถมปีท่ี ๖
๑) พสิ จู นค์ ณุ ค่าเหนอื กาลเวลา “ถงึ มนุษย์ครฑุ าเทวราช จตั ุบาทกลางปา่ พนาสนิ
แม้นปเ่ี ราเป่าไปใหไ้ ดย้ นิ ก็สุดส้นิ โทโสทีโ่ กรธา
สงิ่ ใดหรอื อยา่ งใดมคี ณุ คา่ จรงิ แท้ มกั ยดึ ถอื กนั วา่ กาลเวลา ใหใ้ จออ่ นนอนหลับลืมสติ อนั ลัทธิดนตรดี หี นกั หนา
จะเปน็ เครอ่ื งพสิ จู นแ์ สดงคณุ คา่ นน้ั ไดอ้ ยา่ งดี นทิ านคำ� กลอน เรอื่ ง ซ่งึ สงสัยไม่สน้ิ ในวญิ ญาณ์ จงนิทราเถดิ จะเปา่ ให้เจา้ ฟงั ”
พระอภยั มณี กเ็ ชน่ กนั เปน็ เรอื่ งหนงึ่ ทสี่ ะทอ้ นสจั ธรรมดงั กลา่ วนน้ั

สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ
ทรงสนั นิษฐานว่า สนุ ทรภเู่ ริ่มแต่งเร่ือง พระอภัยมณี คราวตดิ คุก
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒
แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ซงึ่ เสดจ็ เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั ิ พ.ศ. ๒๓๕๒
และเสดจ็ สวรรคต พ.ศ. ๒๓๖๗ วรรณคดเี อกของไทยเรอ่ื งนจ้ี งึ นา่ จะ
ถือก�ำเนิดมากวา่ ๒๐๐ ปแี ล้ว

สมัยที่สุนทรภู่แต่งหนังสือ เป็นสมัยที่นิยมตัวละครเอก
เปน็ กษตั รยิ น์ กั รบ แตส่ นุ ทรภกู่ ลบั ใหพ้ ระอภยั มณตี วั เอกของเรอื่ ง
เปน็ กษตั รยิ ศ์ ลิ ปนิ นกั ดนตรี ตวั ละครหลายตวั มคี วามแปลก แตก่ ม็ ี
อารมณ์และชีวิตโลดแล่นอย่างมนุษย์ สร้างให้เร่ืองชวนต่ืนเต้น
เร้าใจทุกตอน ลักษณะกลอนโดยปกติของสุนทรภู่เด่นเป็นพิเศษ
คอื มสี มั ผสั ในทงั้ สมั ผสั สระและสมั ผสั พยญั ชนะ ใชศ้ พั ทเ์ ขา้ ใจงา่ ย
แม้นิทานเรื่อง พระอภัยมณี จะยาว แต่ก็อ่านได้ราบรื่นตลอด
โดยเฉพาะการสอดแทรกสุภาษิตคติอันประทับใจในเหตุการณ์
ยามวกิ ฤต ท�ำให้ตดิ ปากและเป็นท่จี บั ใจยิ่ง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

102 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่

๒) อา่ นคลอ่ ง ทำ� นองสนุก พ.ศ. ๒๕๐๓

หลักสูตรการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๐๓ และก่อนหน้านี้ ปรากฏหลักฐาน
ก�ำหนดให้เรียนเรื่อง พระอภัยมณี ในช้ันมัธยมปีท่ี ๒ (คร้ังนั้นระดับประถมเรียน ๔ ปี
ชั้นมัธยมปีที่ ๒ คือชั้นประถมปีที่ ๖ ตามหลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนปลาย
พุทธศักราช ๒๕๐๓ เทยี บชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ตามหลกั สตู รในปจั จบุ นั ) บทเรยี นมถี งึ
๓ ตอน รวม ๒๙๖ บท คอื

ตอนที่ ๑ พระอภัยมณกี บั ศรสี ุวรรณเรียนวชิ า
ตอนที่ ๒ นางผเี ส้ือลกั พระอภัยมณี
ตอนท่ี ๓ ศรสี วุ รรณเขา้ เมอื งรมจกั ร

แบบเรียนภาษาไทย ชัน้ ประถมปีที่ ๖ ผู้ใหญ่ซึ่งขณะน้ีอยู่ในวัยใกล้ ๗๐ ปี หรือกว่า ๗๐ ปี คงหวนคิดถึงบรรยากาศ
พิมพ์เผยแพรต่ ้งั แต่หรือก่อน พ.ศ. ๒๕๐๓ การเรยี นภาษาไทยครั้งวยั เด็ก ช้นั ประถมปีท่ี ๖ ไดอ้ ยา่ งดี นกึ ถึงภาพตนเองและเพื่อน ๆ
อ่านเรื่อง พระอภัยมณี เสียงเจ้ือยแจ้ว เป็นกลุ่มบ้าง เด่ียวบ้าง เสียงสัมผัสคล้องจอง
ใช้มาไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี กระทบโสตประสาท รื่นไหลชวนจดจ�ำ รู้สึกต่ืนเต้นอยากติดตามเรื่องที่ด�ำเนินรวดเร็ว
ก�ำหนดใหเ้ รยี นเรอ่ื ง พระอภยั มณี ทง้ั นกึ เอาใจชว่ ยตวั ละครเอกซง่ึ อายเุ พยี ง ๑๓ - ๑๕ ปี ตอ้ งซดั เซพเนจรหาแหลง่ เรยี นวชิ า
คา่ เรยี นมเี พยี งธำ� มรงคว์ งนอ้ ยตดิ ตวั พลนั ทไ่ี ดท้ ลู พระบดิ าถงึ วชิ าทต่ี นเรยี นสำ� เรจ็ ในเวลา
จ�ำนวนตอนมากท่สี ดุ ๗ เดือน และภูมิใจนักหนา ชะตาชีวิตของโอรสกษัตริย์ท้ังสองก็ต้องพลิกผัน เมื่อถูก
พระบดิ าบรภิ าษอย่างรนุ แรง

“ลกู กาลมี แี ตจ่ ะขายหนา้ ชา่ งชวั่ ชา้ ทุจรติ ผิดวิสัย
จะให้อยเู่ วียงวังกจ็ ังไร ชอบแต่ไสคอส่งเสียจากเมือง”
๓) คิดวเิ คราะห์ เหมาะแก่วัย

๓) คดิ วิเคราะห์ เหมาะแก่วัย

เม่อื เราเป็นผู้ใหญใ่ นขณะน้ี และน�ำทฤษฎีใหม่แนวคดิ ใหม่มาวิเคราะห์เรอื่ งตอน
ที่เรียนคร้ังกระน้ัน ดูจะมีรสชาติย่ิงข้ึนหรือไม่ และมีแง่มุมความคิดต่างออกไปมากขึ้น
หรอื อยา่ งไร เช่น

• ครูอาจารย์สมัยก่อนหวงวิชาความรู้มาก เกรงจะไปตกกับคนท่ีไม่สมควร จึง
คัดกรองผู้มาเป็นศิษย์ และมักคิดค่าเรียนแพงลิบลิ่ว แท้ที่จริงจากเรื่องสะท้อนว่าผู้เป็น
อาจารยส์ มยั โบราณ มไิ ดเ้ หน็ แกเ่ งนิ คา่ จา้ ง ถงึ กระนนั้ ถา้ มองจากสงั คมโลกของคนปจั จบุ นั
อาจรู้สกึ ไมช่ อบใจ ทค่ี รูกดี กนั จ�ำกดั ผู้เรียน ไม่เปดิ กวา้ งทางการศกึ ษา ดังคำ� กลอนว่า

“ซ่งึ ดนตรีตีค่าไวถ้ งึ แสน เพราะหวงแหนก�ำชบั ไวข้ ับขัน
ใชป่ ระสงคต์ รงทรัพย์ส่งิ สุวรรณ จะปอ้ งกนั มิใหไ้ พร่ได้วชิ า
ตอ่ กษตั รยิ ์เศรษฐีที่มีทรพั ย์ มาคำ� นับจึงไดด้ ังปรารถนา
จงคืนเข้าบุรีรักษ์นัครา ใหช้ ืน่ จติ พระบดิ าและมารดร”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 103

ภาพ ศรสี วุ รรณเรยี นวชิ า
แบบเรยี นในอดีตมีภาพประกอบขาวดำ� จ�ำนวนไม่มาก

หากอยู่ในความทรงจำ� ของเด็กคร้ังกระนน้ั
ซงึ่ ส่ือการเรียนมไี ม่มากนกั

• ตัวละครรนุ่ พอ่ เปน็ กษัตริยด์ ูถกู ดแู คลนคนวชิ าชพี ดนตรวี ่า
“อันดนตรปี ีพ่ าทย์ตะโพนเพลง เป็นนกั เลงเหลา่ โลนเล่นโขนหนัง”

หรอื หม่นิ คนท่ีเรียนวชิ ากระบก่ี ระบองว่า
“เปน็ กษัตรยิ จ์ ักรพรรดพิ ิสดาร มาเรียนการเช่นนนั้ ดว้ ยอนั ใด”
หากเป็นปจั จบุ นั คนทีม่ ที ัศนะเชน่ นค้ี งถกู ตฉิ นิ ดว้ ยคนรนุ่ ใหมถ่ ือวา่ อาชพี ใด ๆ

ย่อมมีความสำ� คญั เทา่ เทยี มกนั
บางท่านอาจคิดเลยเถิดโดยไม่ยุติธรรมกับคนและสังคมในอดีตว่า วรรณคดี

ปลกู ฝงั ใหย้ อมรบั ความเหลอื่ มลำ้� กไ็ ด้ แตเ่ ชอื่ มนั่ วา่ ทงั้ ครทู งั้ ศษิ ยส์ มยั นน้ั คงไมค่ ดิ เชน่ นน้ั
คดิ แต่วา่ ไดเ้ รียน ไดท้ อ่ งจำ� และจดจำ� แตส่ ิ่งดียอดเยยี่ มจากเรอื่ ง เช่น
• คนเปน็ ครูกต็ อ้ งสอนอยา่ ง “สน้ิ ความรู้ครูประสิทธ์ไิ มป่ ดิ บงั ”
• ผู้รักดนตรี กม็ องวชิ าชพี ศิลปะนอี้ ยา่ งเข้าใจวา่

“อันดนตรีมีคุณทุกอยา่ งไป ยอ่ มใชไ้ ด้ดงั จินดาคา่ บุรินทร”์
• คนที่ประสบความยากล�ำบากในชีวิต ก็มีเครื่องยึดเหน่ียวประคองให้ชีวิต
ดำ� เนนิ ไดต้ ่อไป จากคติในเรอื่ งวา่

“พระอนุชาว่าพน่ี ้ขี ขี้ ลาด เปน็ ชายชาตชิ ้างงาไมก่ ล้าหาญ
แมน้ ชีวันยังไม่บรรลยั ลาญ กเ็ ซซานซอกซอนสญั จรไป
เผื่อพบพานบา้ นเมอื งทีไ่ หนมั่ง พอประทังกายาอยอู่ าศัย
มีความรู้อยู่กบั ตวั กลวั อะไร ชีวิตไมป่ ลดปลงคงไดด้ ”ี
อ่านคล่อง ท่องสนุก คดิ วเิ คราะห์ เหมาะแก่วยั ปลกุ ใจให้ด�ำเนนิ ชีวิตทถ่ี ูกท่ีควร
จากเรอ่ื ง พระอภยั มณี กอ่ นหลกั สตู รพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓ และหลกั สตู รพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓
ก็ได้ดำ� เนนิ มากว่า ๒๐ ปี แลว้ กม็ ีการเปล่ียนหลกั สูตรใหม่

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

104 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

หลักสูตรประถมศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ ๔) หลกั สูตรเปลี่ยน ตอนทเี่ รยี นเปลีย่ น
ก�ำหนดแบง่ การจัดหลกั สูตรเป็น ป.๑ - ๒ , ป.๓ - ๔ และ ป.๕ - ๖
หนงั สือเรยี นภาษาไทยในอดตี หรอื ชุด “มานะมานี” รวม ๑๒ เล่ม เมอื่ ประกาศใชห้ ลกั สตู รประถมศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑
ค�ำว่า แบบเรียน ได้เปล่ียนมาใช้ค�ำ หนังสือเรียน ตามด�ำริของ
หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิคนส�ำคัญใน
วงการศกึ ษา ด้วยความเห็นพอ้ งตอ้ งกนั ของคณะผจู้ ัดท�ำหนังสอื
เรียนท้ังระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพ่ือให้การเรียน
การสอนไมย่ ดึ ตำ� ราเรยี นหรอื แบบเรยี นอยา่ งเหนยี วแนน่ จนเกนิ ไป
สิ่งควรเป็น คือ การออกแบบการเรียนการสอนของครูควรยึด
นกั เรยี นเปน็ หลกั สำ� คญั องิ หลกั สตู ร และใชส้ อื่ นำ� ทางจากบทเรยี น
ในหนงั สอื เรยี น

หนังสือเรียนภาษาไทย ประถมศึกษา (เรียกกันอย่าง
ไม่เป็นทางการว่า ชดุ มานะมาน)ี ซึ่งจดั ท�ำตามหลกั สตู รประถม
ศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ กไ็ ดเ้ ขา้ มาครองใจนกั เรยี น แมเ้ ปลยี่ น
หลักสูตรใหม่อีก ๓ คร้ัง หรือการเรียนโดยใช้หนังสือเรียนชุดน้ี
จะลว่ งเลยมากวา่ ๔๐ ปแี ล้วก็ตาม อาจเปน็ เพราะกลวธิ ีการแตง่
ด�ำเนินเร่ืองให้ต่อเนื่อง ตัวละครอยู่ในวัยเดียวกันกับนักเรียน
เติบโตมาด้วยกัน เน้ือเรื่องมีทั้งสุข สนุก โศกเศร้า สะเทือนใจ
ประทับใจ ท่ีส�ำคัญคือ ถือว่านักเรียนมีฐาน “รากร่วม” เดียวกัน
เน่ืองจากกระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดให้ใช้หนังสือเรียนฉบับ
เดียวกันท่วั ประเทศ อนั เป็นหลกั การมาชา้ นานตา่ งจากวิชาอ่ืน ๆ

หนงั สืออา่ นเพิม่ เตมิ ชุด “มานะมาน”ี ในปจั จุบนั รวม ๖ เล่ม

กระแสความสนใจหนงั สอื เรยี นชดุ นมี้ ตี อ่ เนอื่ งจนปจั จบุ นั
จึงเกิดประวัติศาสตร์ในวงการหนังสือเรียน ท่ีส�ำนักงานคณะ
กรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบการจดั ทำ� หนงั สอื ทใี่ ช้
ในการเรียนการสอน จดั พมิ พ์หนงั สือเรยี นในอดตี ชดุ มานะมานี
จากหลกั สตู รเดมิ ปรงุ โฉมมาเปน็ หนงั สอื อา่ นเพม่ิ เตมิ จำ� นวน ๖ เลม่
ใหอ้ ่านกนั อีกไมจ่ �ำกดั หลกั สูตร ไมจ่ �ำกัดกาลเวลา

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 105

เรอ่ื ง พระอภัยมณี ตอนทน่ี �ำมาใหเ้ รยี นใน ชดุ มานะมานี คอื จากหนังสือเรยี น ชดุ “มานะมานี”
ตอน สดุ สาครกบั ม้านลิ มังกร ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ จากหนังสอื เรียน ชดุ พืน้ ฐานภาษา
ตอน พระอภัยมณีและสนิ สมทุ รหนีนางผเี ส้อื ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ จากหนงั สอื เรยี น ชดุ วรรณคดลี �ำน�ำ
แมม้ กี ารเปลยี่ นหนังสอื เรยี นประถมศึกษาจนถงึ ปจั จบุ ัน ตามหลักสูตรตอ่ มาอีก
๓ หลกั สตู ร เปลย่ี นแนวการนำ� เสนอบทเรยี นอยา่ งไร เรอ่ื ง พระอภยั มณี ตอน ตวั ละครเอก
รนุ่ ลกู คอื สดุ สาคร เดก็ นอ้ ยนา่ สงสารผมู้ พี ลงั สผู้ จญภยั ในดนิ แดนแปลกใหม่ อยา่ งตนื่ เตน้ เรา้ ใจ
ก็ได้รับเลือก เป็นบทเรียนช้ันประถมศึกษา ช่ือตอนต่างกันไปบ้าง แต่เน้ือเรื่องเดียวกัน
ยาวบ้างสั้นบา้ ง ตามล�ำดบั หลักสตู ร ดังน้ี
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๓๓)
ตอน สดุ สาครตามหาพระบดิ าและเขา้ เมอื งผดี ิบ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔
หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตอน ก�ำเนิดสดุ สาคร ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔
เชน่ เดียวกัน

๕) ท่องอาขยาน สบื สานสมบัติกวี : ประถมศึกษา

บทอาขยานจัดเป็นส่ือส่งเสริมจิตส�ำนึกทางวัฒนธรรมของคนในชาติ การเรียน
การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย หน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบในอดีต และสถานศึกษาได้ก�ำหนดให้นักเรียนท่องจ�ำบทอาขยานมาช้านาน
การทอ่ งจำ� บทอาขยานไมว่ า่ ทอ่ งพรอ้ มกนั ทงั้ ชนั้ และทอ่ งเปน็ รายบคุ คล ครจู ะใหท้ ำ� ความ
เข้าใจก่อนท่อง เพอื่ ใหเ้ กิดความซาบซึง้ เหน็ คุณคา่ ในความงามของภาษา และนำ� ขอ้ คดิ
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิต
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ และหลักสูตรฉบับต่อมาอีก
๓ หลักสูตร นักเรียนมีโอกาสท่องจ�ำบทอาขยานค�ำประพันธ์เดียวกันจ�ำนวน ๕ บท
ตอนที่พระดาบสสอนสดุ สาคร ซ่งึ สามารถนำ� ไปใช้ไดท้ ุกวยั ในเร่ืองของความไม่ประมาท
บัดเด๋ียวดังหงัง่ เหง่งวงั เวงแวว่ สะดุ้งแล้วเหลยี วแลชะแงห้ า
เหน็ โยคีข่รี ุ้งพ่งุ ออกมา ประคองพาขึน้ ไปจนบนบรรพต
แล้วสอนว่าอย่าไวใ้ จมนุษย์ มันแสนสดุ ลึกลำ�้ เหลอื ก�ำหนด
ถึงเถาวลั ยพ์ นั เก่ียวทีเ่ ล้ียวลด กไ็ มค่ ดเหมอื นหนึ่งในน้ำ� ใจคน
มนุษยน์ ้ที ่รี กั อยู่สองสถาน บิดามารดารกั มกั เป็นผล
ท่พี ึ่งหนึง่ พึง่ ได้แต่กายตน เกิดเปน็ คนคิดเห็นจงึ เจรจา
แม้นใครรักรักมง่ั ชงั ชังตอบ ให้รอบคอบคดิ อ่านนะหลานหนา
รสู้ ิ่งใดไม่สูร้ ู้วิชา ร้รู ักษาตัวรอดเป็นยอดดี
จงตดิ ตามไปเอาไม้เทา้ เถิด จะประเสริฐสมรกั เป็นศกั ด์ศิ รี
พอเสรจ็ คำ� สำ� แดงแจง้ คดี รูปโยคีหายวับไปกบั ตา”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

106 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

๖) หลกั สูตรเปล่ยี น ตอนที่เรยี นไมเ่ ปลีย่ น :
มธั ยมศกึ ษา

ส่วนระดับมัธยมศึกษา คณะกรรมการจัดท�ำหนังสือเรียนภาษาไทย
หลกั สตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน้ พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ม.ศ.๑)
และอีก ๒ หลกั สตู รเป็นตน้ มา คอื พทุ ธศักราช ๒๕๒๑ และพทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ (ม.๒) พิจารณาคัดเลือก
ตอนเดยี วกนั เปน็ บทเรยี น คอื ตอน พระอภยั มณพี บศรสี วุ รรณกบั สนิ สมทุ ร เปน็ ตอนที่
ตวั ละครหลายตวั ซง่ึ ระหกระเหนิ พลดั พรากจากกนั ไดม้ โี อกาสพบเจอกนั แตก่ ลบั เกดิ ปม
ขดั แยง้ ทต่ี วั ละครเดก็ คอื สนิ สมทุ ร ไมอ่ ยากคนื ผเู้ ปน็ ทรี่ กั ใหแ้ กผ่ ทู้ มี่ สี ทิ ธิ์ บทเรยี นนี้
นอกจากสนุกแล้ว ยังใหแ้ นวคดิ เร่ืองความซื่อสัตย์ซึง่ ควรปลูกฝงั แตเ่ ยาว์วัย

ช่วง พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นต้นมา กระทรวงศึกษาธิการ โดยส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานมนี โยบายเปดิ กวา้ งการผลติ หนงั สอื เรยี นภาษาไทย
อนุญาตให้ส�ำนักพิมพ์เอกชนจัดท�ำจ�ำหน่ายเผยแพร่ในโรงเรียนได้ อย่างไรก็ตาม
ด้วยความห่วงใยการเรียนการสอนวรรณคดีของชาติ จึงได้มีประกาศลงวันท่ี ๑๘
ตลุ าคม ๒๕๔๕ เรอ่ื ง วรรณคดสี ำ� หรบั จดั การเรยี นการสอนภาษาไทย ตามหลกั สตู ร
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๕ และต่อมาเปล่ียนแปลงเป็นประกาศ
ลงวนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑ เรื่อง พระอภัยมณี เป็นเร่ืองหน่ึงท่ีก�ำหนดให้เรียนในชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ ๔ - ๖ และเสนอให้เลือกเรียนในช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๓ รวมท้งั เสนอตอนที่
ควรเรียนไวด้ ้วย แต่ส�ำนกั พิมพ์จะเลือกตอนใดก็ได้ทีเ่ หน็ สมควรวา่ เหมาะสมกับวยั

ฉบับของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ
จดั ทำ� เลอื ก ตอน พระอภยั มณหี นนี างผเี สอ้ื สมทุ ร ทงั้ หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ และหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ใหน้ ักเรียนเรียนในช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ซ่ึงอยใู่ นวัยท่คี วรมพี ้ืนฐานเข้าใจความรัก
ความดงี ามหลายรปู แบบ เชน่ ความรกั ระหวา่ งพอ่ กบั ลกู แมก่ บั ลกู ความรกั ระหวา่ ง
ชายหญงิ ทอ่ี าจลงรอยไดไ้ มง่ า่ ย เมอื่ ฝา่ ยหนง่ึ หรอื สองฝา่ ยจำ� ตอ้ งใชช้ วี ติ คอู่ ยรู่ ว่ มกนั
และความเสียสละเพื่อผู้อื่น เสียสละเพื่อผู้ที่จงรักภักดี ล้วนสร้างรสความที่ลึกซ้ึง
กินใจมากมาย

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ 107

๗) ท่องอาขยาน สบื สานสมบัตกิ วี : มัธยมศกึ ษา

หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ทงั้ หลกั สตู ร พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓ หลักสูตร พทุ ธศักราช ๒๕๒๑ และหลักสูตร
พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓) ได้ก�ำหนดท่องบทอาขยาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบทเรียนตอน
พระอภัยมณีพบศรีสุวรรณกับสินสมทุ ร ดังนี้
“พระฟงั คำ� อ�้ำอึง้ ตะลึงคิด จะเบือนบดิ ปอ้ งปดั กข็ ดั ขวาง
สงสารลูกเจา้ ลงั กาจึงว่าพลาง เราเหมือนช้างงางอกไมห่ ลอกลวง
ถึงเลือดเนื้อเม่อื นอ้ งตอ้ งประสงค์ พกี่ ็คงยอมใหม้ ไิ ด้หวง
แตล่ กู เต้าเขาไมเ่ หมือนคนทงั้ ปวง จะไดช้ ว่ งชงิ ให้ไปกระนน้ั
พ่วี ่าเขาเขากว็ า่ มากระน ี้ มิใชพ่ น่ี จี้ ะแกลง้ แสรง้ เสกสรร
เพราะเหตเุ ขารักใครอ่ าลยั กัน ค่อยผ่อนผนั พูดจาอย่าราคี
แลว้ ตรสั บอกลกู นอ้ ยกลอยสวาท เจ้าหน่อเน้ือเช้ือชาติดังราชสหี ์
อนั รักษาศลี สตั ย์กตั เวที ย่อมเปน็ ที่สรรเสริญเจรญิ คน
ทรลักษณ์อักตัญญตุ าเขา เทพเจา้ กจ็ ะแช่งทุกแหง่ หน
ใหท้ กุ ขร์ ้อนงอนหง่อทรพล พระเวทมนตร์เสอ่ื มคลายท�ำลายยศ
เพราะบิดามาดว้ ยอุศเรนนี้ คณุ เขามมี ากลน้ พ้นก�ำหนด
เจ้าทำ� ผิดก็เหมือนพ่อทรยศ จงออมอดเอน็ ดูพ่อแต่พองาม”

เมอ่ื อา่ นเขา้ ใจจะซาบซงึ้ วา่ ผใู้ หญใ่ หเ้ ราสำ� นกึ ในความถกู ตอ้ ง ไมท่ ำ� อะไรตามใจตน ไมย่ ดึ สงิ่ ทไ่ี มใ่ ชข่ องตน
แม้จะรักผูกพันมากเพียงใด หากให้นักเรียนฝึกคิดอาจได้ความเห็นแตกต่างกันอีกมาก ซึ่งเหมาะแก่เด็กวัยนี้
อยา่ งไรกต็ าม บทอาขยานนอ้ี าจไมม่ ีการทอ่ งจำ� ในปัจจบุ นั ถ้าโรงเรยี นไม่ไดก้ �ำหนดให้ทอ่ ง

บทอาขยาน (บทเลือก) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๓
คณะกรรมการกำ� หนดแนวทางและพจิ ารณาคดั เลอื กบทอาขยานภาษาไทย ซง่ึ สำ� นกั งานคณะ
กรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ แต่งตัง้ ขึ้น ได้ก�ำหนดบทประพนั ธ์ ซ่งึ อยู่ในบทเรยี นและที่
มิได้อย่ใู นบทเรียน ใหเ้ ปน็ บทอาขยาน รวม ๓ บท
(๑) จากตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือ พรรณนาหมู่ปลาในทะเล ด้วยภาษาสละสลวยแพรวพราว
สอ่ื อารมณ์ใหเ้ พลดิ เพลิน สดุ ท้ายพลิกผนั มาเป็นความวา้ เหว่ เศรา้ สะเทือนใจ
“พระโฉมยงองค์อภัยมณนี าถ เพลินประพาสพศิ ดูหมมู่ ัจฉา
เหลา่ ฉลามลว้ นฉลามตามกันมา ค่อยเคล่อื นคลาคล้ายคลา้ ยในสายชล
ฉนากอยูค่ ฉู่ นากไมจ่ ากคู่ ขน้ึ ฟอ่ งฟพู น่ ฟองละอองฝน
ฝูงพิมพาพาฝูงเขา้ แฝงวน บา้ งผดุ พน่ ฟองน้�ำบ้างดำ� จร
กระโห้เรียงเคียงกระโหข้ ้นึ โบกหาง ลองสลา้ งกลางกระแสแลสลอน
มงั กรเกี่ยวเลีย้ วลอดกอดมังกร ประชมุ ซอ่ นแฝงชลขน้ึ วนเวยี น
ฝูงมา้ นำ้� ทำ� ทา่ เหมอื นมา้ เผน่ ข้ึนลอยเลน่ เลย้ี วลดั ฉวดั เฉวียน
ตะเพียนทองทอ่ งน�้ำน�ำตะเพยี น ดาษเดียรดเู พลนิ จนเกินมา
เหน็ ละเมาะเกาะเขาเขยี วชอ่มุ โขดตะคมุ่ เคียงเคยี งเรยี งรกุ ขา
จะเหลยี วซ้ายสายสมทุ รสดุ สายตา จะแลขวาควนั คลุ้มกล้มุ โพยม
จะเหลยี วดูสุริยแ์ สงเขา้ แฝงเมฆ ใหว้ เิ วกหวาดองค์พระทรงโฉม
ฟงั สำ� เนียงเสียงคลืน่ ดงั ครื้นโครม ยง่ิ ทกุ ข์โทมนัสในฤทยั ทวี”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

108 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่

(๒) จากตอน อศุ เรนตเี มอื งผลกึ สะทอ้ นภาพพระเอกทม่ี ใิ ชน่ กั รบ แตเ่ ปน็ นกั พดู ใชว้ าทศลิ ป์ กลวธิ โี นม้ นา้ วใจ
ฝ่ายตรงขา้ ม
“สงสารสดุ อศุ เรนเมอ่ื รสู้ ึก ทรวงสะทึกแทบจะแยกแตกสลาย
พอเห็นองค์พระอภัยยง่ิ ให้อาย จะใคร่ตายเสยี ให้พน้ ก็จนใจ
คลำ� พระแสงแฝงองค์ท่ีทรงเหน็บ เขากเ็ ก็บเสียเมอ่ื พบสลบไสล
ใหอ้ ัดอัน้ ตันตึงตะลงึ ตะไล พระอภัยพิศดูกร็ ูท้ ี
จึงสนุ ทรอ่อนหวานชาญฉลาด เราเหมอื นญาติกันดอกนอ้ งอย่าหมองศรี
เมอื่ แรกเรม่ิ เดมิ กไ็ ดเ้ ป็นไมตร ี เจา้ กับพ่เี ลา่ กร็ ักกนั หนักครนั
มาขดั ขอ้ งหมองหมางเพราะนางหนง่ึ จนไดถ้ ึงรบสเู้ ปน็ คขู่ นั
อนั วสิ ยั ในพิภพแม้รบกนั ก็หมายม่นั จะใคร่ไดช้ ยั ชนะ
ซ่ึงคร้งั น้พี ่พี าเจา้ มาไว ้ หวังจะได้สนทนาวสิ าสะ
ใหน้ ้องหายคลายเคอื งเร่ืองธรุ ะ แล้วกจ็ ะรกั กันจนวันตาย
ทงั้ กำ� ปน่ั บรรดาโยธาทพั จะคืนกลับให้ไปเหมือนใจหมาย
ทงั้ สองข้างอยตู่ ามความสบาย เชิญภิปรายโปรดตรสั สตั ย์สัญญา”

(๓) จากตอน พระอภยั มณตี เี มอื งใหม่ แสดงปฏภิ าณของตนเองในการแกป้ ญั หาเฉพาะตวั ใชเ้ สยี งดนตรี
เป็นภาษาสากลสอื่ กบั ขา้ ศกึ ต่างชาตติ า่ งภาษา ใหห้ วนระลกึ ถงึ บ้านเมืองทีจ่ ากมา ดเี ดน่ ทั้งรสคำ� และรสความ
“วเิ วกหวดี กรีดเสียงส�ำเนยี งสนน่ั คนขยัน้ ยนื ขงึ ตะลงึ หลง
ให้หววิ วาบซาบทรวงต่างง่วงงง ลืมณรงค์รบสูเ้ ง่ยี หฟู งั
พระโหยหวนครวญเพลงวงั เวงจติ ใหค้ นคดิ ถึงถน่ิ ถวิลหวงั
ว่าจากเรือนเหมือนนกมาจากรัง อยู่ข้างหลังก็จะแลชะแงค้ อย
ถงึ ยามคำ่� ย่�ำฆอ้ งจะรอ้ งไห้ ร่�ำพไิ รรญั จวนหวนละห้อย
โอ้ยามดึกดาวก็เคล่ือนเดอื นก็คล้อย น้�ำค้างย้อยเยน็ ฉำ�่ ทีอ่ มั พร
หนาวอารมณล์ มเรอ่ื ยเฉื่อยเฉือ่ ยช่ืน ระรวยร่นื รินรินกลน่ิ เกสร
แสนสงสารบา้ นเรอื นเพอ่ื นทนี่ อน จะอาวรณอ์ า้ งว้างอยวู่ งั เวง”

เชื่อม่ันว่า สังคมไทยวัฒนธรรมไทยแม้เปล่ียนแปลงไปเช่นไร หลักสูตรจะเปลี่ยนอีกกี่หลักสูตร เรื่อง
พระอภัยมณี ก็น่าจะยังเป็นบทเรียน และก�ำหนดให้ท่องจ�ำบางตอนด้วยตราบนานเท่านาน การจัดกิจกรรม
วันสุนทรภู่ ในวันที่ ๒๖ มิถุนายน อันเป็นวันคล้ายวันเกิดสุนทรภู่ โรงเรียนทั่วไปก็คงนิยมจัดนิทรรศการ
และจดั กจิ กรรมการแสดงตอ่ ไป

พสิ ูจนจ์ ากกาลเวลาทเี่ รื่อง พระอภยั มณี ก�ำเนิดข้ึน จากความนิยมการอ่าน จากเลอื กบทเรยี นตอนท่ี
สนกุ ตนื่ เตน้ เรา้ ใจ ไดค้ ตคิ ำ� คม สำ� นวนชวนจดจำ� และมกี ารผลติ สอื่ รปู แบบหลากหลายเผยแพร่ เรอื่ งพระอภยั มณี
เปน็ วรรณคดเี อกเรอ่ื งหนง่ึ ทคี่ นไทยกลา่ วถงึ รบั รแู้ ละรว่ มความรสู้ กึ นกึ คดิ มแี นวคดิ ไดเ้ หมอื นกนั หรอื ใกลเ้ คยี งกนั
ทว่ั ประเทศ

ปราณี ปราบริปู
เรยี บเรียง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 109

ยอ้ นเกา่

เลา่ เรอ่ื งสือ่ การเรยี นยุคใหม่

การสื่อสารเป็นส่ิงจ�ำเป็นส�ำหรับทุกยุคทุกสมัย กล่าวเฉพาะในยุคปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่า ยุคดิจิทัล๑
(digital) ทร่ี ะบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต๒ เข้ามาเปลี่ยนวถิ ีชีวติ เดิมเป็นวถิ ีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ทุกคนจำ� ต้อง
เข้าถึงส่ืออินเทอร์เน็ตมากขึ้นด้วยอุปกรณ์การส่ือสาร เม่ือการสื่อสารเปลี่ยนแปลงรูปแบบไป ส่ือท่ีใช้ในการจัด
การเรียนการสอนจึงพัฒนาตามไปด้วย การจัดการศึกษาของประเทศไทยก็มีวิวัฒนาการเรื่อยมาจนถึงปจั จบุ นั
พรอ้ มดว้ ยสอ่ื เทคโนโลยที นี่ ำ� มาปรบั ใชใ้ นโรงเรยี น วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั หรอื งานราชการ ซง่ึ ในแตล่ ะยคุ แต่ละสมัย
ท่เี ปล่ียนไปนัน้ ย่อมมคี วามแตกต่างกันทั้งด้านทศั นคติ พฤติกรรม และรูปแบบการใช้ชวี ิต
สอื่ อุปกรณ์ใช้ประกอบการสอน
จากอดีตสู่ปัจจุบนั

ก่อนจะมาเป็นสื่อการเรียนในยุคดิจิทัลอย่างทุกวันน้ี
การใช้สื่อไม่มีความซับซ้อนมากนัก และการสื่อสารหลักคือ
การพบเหน็ หนา้ และโทรศพั ทม์ อื ถอื แบบสญั ญาณวทิ ยสุ ง่ คลน่ื เสยี ง
ใชง้ านโทรออก - รับสายเทา่ น้นั

สอื่ การเรยี นการสอนกเ็ ชน่ กนั มหี นา้ ทเ่ี ปน็ เพยี งอปุ กรณ์
ชว่ ยในการเรยี นการสอน ครแู ละนกั เรยี นยงั ตอ้ งอาศยั ปฏสิ มั พนั ธ์
ซ่ึงกันและกันเพ่ือการสื่อสารที่สมบูรณ์แบบ ส่ือช่วยเร้าความ
สนใจของนักเรียนท่ีพบในห้องเรียนจากอดีตสู่ปัจจุบันพอสังเขป
มดี งั น้ี

ตลับเทป (Compact Cassette) ตลับเทปเป็นสื่อ

เสียงในรูปแบบเทปคาสเซต็ ต์ หรือตลับเทป ใช้บันทกึ ขอ้ มูลเสยี ง
เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้จากเรื่องนั้น ๆ ในรูปแบบหนังสือเสียง
นทิ าน บทสนทนา หรือตัวอยา่ งการอ่านออกเสียง ทัง้ ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง การฟังที่ดจี ะส่งผลให้
เกดิ ความเข้าใจในการเรียนรู้

๑. หมายถึง สญั ญาณทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู แบบไมต่ ่อเน่อื ง (Discrete Data) ท่ีมขี นาดแน่นอนซงึ่ ขนาดดงั กลา่ วอาจกระโดดไปมาระหว่างค่าสองค่า
คือ สญั ญาณระดับสูงสุดและสัญญาณระดบั ต�่ำสุด ซ่งึ สัญญาณดิจิทัลน้เี ปน็ สญั ญาณทค่ี อมพิวเตอร์ใชใ้ นการทำ� งานและตดิ ต่อส่ือสารกนั
๒. หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่าง
คอมพวิ เตอรท์ เี่ รยี กวา่ โพรโทคอล (protocol) ผใู้ ชเ้ ครอื ขา่ ยนสี้ ามารถสอื่ สารถงึ กนั ไดใ้ นหลาย ๆ ทาง อาทิ อเี มล เวบ็ บอรด์ และ โซเชยี ลเนต็ เวริ ค์

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

110 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

แผ่นเสียง (Vinyl record)

แผน่ เสียง หรือท่คี นไทยเรยี กวา่ แผ่นด�ำ คอื วัสดทุ มี่ ีรอ่ ง
เพื่อก่อใหเ้ กิดเสียงแลว้ ใชเ้ ลน่ ซ้�ำได้ตามทต่ี อ้ งการ แผน่ เสยี งส่วน
ใหญใ่ ชบ้ นั ทกึ เสยี งเพลง การใชเ้ ปน็ สอื่ สำ� หรบั การเรยี นการสอนไม่
เป็นที่นยิ มนกั ตอ่ มา เมอื่ มี CD (Compact Disc) ในชว่ งตน้ ปี
๑๙๘๐ แผ่นเสียงก็ลดความนิยมลง

วดิ ีโอ (Video)

วดิ โี อ คอื สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ส่ี ามารถแสดงภาพเคลอื่ นไหว
พร้อมเสียงบรรยายได้อย่างภาพยนตร์ เป็นการเล่าเร่ืองด้วย
ภาพและเสียง การน�ำเสนอบทเรียนด้วยวิดีโอจึงมีความน่าสนใจ
ใช้ได้ทัง้ ผู้เรียนกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ และสามารถน�ำมาเผยแพร่
ได้หลายครั้ง การน�ำเสนอวิดีโอมีหลายรูปแบบ เช่น วิดีโอ
เพ่อื การศกึ ษา วิดีโอเพอื่ ความบนั เทิง

แผน่ ดสิ ก์ (Disk) หรอื ทม่ี กั เรยี กกนั วา่ แผน่ ดสิ กเ์ กต็ หรอื

ฟลอบบ้ดี ิสก์ เป็นจานแม่เหลก็ ขนาดเลก็ ชนดิ ออ่ น จัดเก็บข้อมลู
โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวน�ำของสนามแม่เหล็ก การใช้งาน
จะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้อุปกรณ์ในการขับเคล่ือนแผ่นดิสก์
เปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั เกบ็ ขอ้ มลู ท่ีมขี นาดโดยทว่ั ไปคอื ๘นวิ้ ๕.๒๕นวิ้
และ ๓.๕ น้วิ ปจั จบุ นั ไม่มีการน�ำมาใชง้ านแล้ว เพราะมีอปุ กรณ์
เก็บขอ้ มลู ชนิดอนื่ ทีจ่ ไุ ดม้ ากกวา่ เชน่ ซีดี ดีวีดี เขา้ มาแทนที่

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 111

ซดี รี อม (CD-ROM)

CD-ROM ยอ่ มาจาก Compact disc Read Only Memory
คือ ส่ือส�ำหรับเก็บข้อมูลชนิดอ่านได้อย่างเดียว มีลักษณะเป็น
แผน่ จานกลม ๆ ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง ๑๒ เซนติเมตร คลา้ ย
แผน่ เสยี ง ใชเ้ ปน็ ทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู สำ� รอง (Secondary Storage Media)
เป็นส่ือบันทึกข้อมูลชนิดหน่วยเก็บข้อมูล ข้อดีคือ เก็บข้อมูล
ได้ปริมาณมากกว่าดิสก์เก็ต ซีดีรอม ๑ แผ่นสามารถเก็บข้อมูล
เทียบเท่ากับดิสก์เก็ตความจุ ๑.๔๔ MB จ�ำนวน ๖๐๐ แผ่น
หรือเท่ากับฮาร์ดดิสก์ขนาดความจุ ๖๐๐ MB สามารถใช้บันทึก
เนื้อหาการเรียน แลว้ น�ำมาเป็นสื่อประกอบกับการเรยี นการสอน
ในห้องเรยี น ปัจจุบันมีส่ือการเรียนรแู้ บบ CD-ROM เพ่ือพฒั นา
ทักษะต่าง ๆ มากมาย เช่น แบบฝึกอ่าน เขียน โดยใช้เกม
แบบฝกึ อา่ นจบั ใจความ สอนคณติ ศาสตรผ์ า่ นเกม เปน็ ตน้

ดวี ดี ี (DVD)

DVD ในช่อื เตม็ วา่ Digital Video Disc เป็นแผน่ ขอ้ มลู
แบบบนั ทกึ ดว้ ยแสง ลกั ษณะภายนอกของแผน่ DVD นนั้ มลี กั ษณะ
เช่นเดียวกันกับแผ่นซีดี DVD เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล
ท่ีสามารถเก็บข้อมูลได้ท้ังภาพเสียง และข้อความ โดยมีขนาด
เทา่ กบั แผน่ ซดี ี DVD ทใ่ี ชส้ ำ� หรบั เกบ็ ขอ้ มลู บนเครอื่ งคอมพวิ เตอร์
จะเรยี กวา่ DVD-ROM สว่ นทใ่ี ชใ้ นการดหู นงั ฟงั เพลงกจ็ ะเรยี กวา่
DVD หรอื DVD-Video กไ็ ด้ สามารถใช้บนั ทึกเนื้อหาการเรียน
และน�ำมาเป็นสื่อประกอบกับการเรียนการสอนในห้องเรียนได้
เช่นเดียวกับ CD-ROM แต่คุณภาพท้ังภาพและเสียงท่ีดีกว่า
ซึ่ง (DVD) มีความจุในการเก็บข้อมูลได้มากกว่า CD-ROM
ถงึ ๗ เทา่

เครอ่ื งฉายข้ามศีรษะ หรอื เครอื่ งฉายภาพโปรง่ ใส
(Overhead)

เคร่ืองฉายข้ามศีรษะ (Overhead Projector) เรียก
ทับศัพท์ว่า โอเวอร์เฮดโปรเจคเตอร์ (Overhead Projector)
เปน็ เครอ่ื งฉายภาพนง่ิ ทใี่ ชก้ ารนำ� เสนอดว้ ยแผน่ โปรง่ ใส ใชฉ้ ายภาพ
หรือข้อมูลในการเรียนการสอน การประชุมฝึกอบรม หรือ
การให้ความรู้ทั่ว ๆ ไปห้องที่ใช้ควรมีแสงสว่างไม่มากจนเกินไป
เนอ่ื งจากจะท�ำใหก้ ารมองเหน็ ลดลง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

112 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

แผน่ โปรง่ ใส (Transparency Material)

แผ่นโปร่งใส (Transparency Material) เป็นส่ือ
การเรียนการสอนประเภทวัสดุ (Software) ที่ต้องใช้กับ
เคร่ืองฉายภาพข้ามศีรษะเพื่อเสนอภาพประกอบข้อความท่ีมี
ขนาดใหญ่บนจอภาพ ภาพโปร่งใสอาจท�ำจากวัสดุใดก็ได้ท่ีมี
คณุ สมบตั โิ ปรง่ ใส เชน่ กระจกใส แผน่ พลาสตกิ เปน็ ตน้ การเขยี น
แผ่นโปร่งใสใช้ปากกาเมจิกท่ีสามารถลบได้เขียนหรือวาดสิ่ง
ทต่ี อ้ งการน�ำเสนอแลว้ ลบ สามารถใชต้ ่อไดอ้ กี หลายคร้งั

เครื่องฉายทึบแสง

เคร่ืองฉายวัสดุทึบแสง (Opaque Projector) เป็น
เครอื่ งฉายระบบฉายสะทอ้ น ทำ� งานผา่ นการสะทอ้ นจากกระจกเงา
ผ่านเลนส์ภาพแล้วฉายออกจอ การใช้เครื่องฉายวัสดุทึบแสง
เพอ่ื นำ� เสนอภาพและวสั ดตุ า่ ง ๆ ใหป้ รากฏเปน็ ภาพทมี่ ขี นาดใหญข่ นึ้
บนจอ ช่วยให้ผู้เรียนเห็นภาพหรือข้อมูลท่ีน�ำเสนอได้ชัดเจน
และรวดเรว็ เครอ่ื งฉายวสั ดทุ บึ แสงสามารถฉายสง่ิ ของไดท้ กุ อยา่ ง
อาทิ เหรียญ โทรศัพท์มือถือ ใบไม้ ฯลฯ จุดเด่นของเคร่ืองน้ี
สามารถขยายวัสดุเล็กให้ใหญ่ได้แต่ข้อเสียของเคร่ืองฉาย
วัสดทุ บึ แสงคือ ตอ้ งฉายในห้องทค่ี วามมืด ไม่มแี สงเข้าเลย

เคร่อื งฉายสไลด์ (Slide Projector)

เปน็ เครอ่ื งฉายวสั ดโุ ปรง่ ใสระบบฉายตรง เปน็ เครอ่ื งฉาย
ทใ่ี ชก้ บั แผน่ สไลด์ เปน็ ทน่ี ยิ มของครแู ละอาจารยผ์ สู้ อน ใชส้ ำ� หรบั
ประกอบการเรียนการสอน ท�ำให้ผู้เรียนสามารถเห็นบทเรียน
รว่ มกันไดจ้ ากจอใหญจ่ อเดียว

สไลด์ (Slides)

สไลด์ คือ ส่ือการสอนประเภทภาพน่ิงโปรง่ แสงทีบ่ นั ทกึ
ไว้บนฟิล์มหรือกระจก ใช้ฉายผ่านทางเคร่ืองฉายให้ภาพปรากฏ
บนจอ โดยแรกเริ่มมีการวาดภาพลงบนกระจกใสและน�ำไปฉาย
เรียกว่า Lantern Slide ต้นศตวรรษที่ ๑๙ เป็นยุคบุกเบิกเรื่อง
การถ่ายภาพ ทีม่ กี ารถ่ายภาพลงบนฟลิ ์มกระจก

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่ 113

เครื่องฉายภาพสามมติ ิ (Visualizer)

เครื่องฉายภาพสามมิติ (Visualizer) เป็นอุปกรณ์
เทคโนโลยีที่ใช้ทางการศึกษาชนิดหนึ่งท�ำหน้าที่แปลงสัญญาณ
และส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์เครื่องฉาย หรือแสดงผลอื่น ๆ
อีกครั้งหนึ่งเช่น Projector จอมอนิเตอร์ เพ่ือน�ำเสนอข้อมูล
ในการประชุมสัมมนา หลักการท�ำงานคือแปลงสัญญาณภาพ
เป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยใช้กล้องเป็นตัวจับสัญญาณภาพ
สามารถนำ� เสนอวสั ดุทึบแสง ภาพถ่าย วสั ดกุ ราฟกิ วสั ดสุ ามมิติ
วัสดุโปรง่ ใส วสั ดปุ ระเภทฟิล์ม ภาพเคลอื่ นไหวและไฟล์ภาพนง่ิ

คอมพวิ เตอร์

คอมพิวเตอร์ (computer) เปน็ เครอื่ งมอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์
สำ� หรบั เกบ็ ขอ้ มลู ใชง้ านแทนมนษุ ยใ์ นดา้ นการคำ� นวณและสามารถ
จำ� ข้อมลู ทงั้ ตัวเลขและตวั อกั ษรได้ เพอ่ื การเรียกใชง้ านครั้งต่อไป
รวมทง้ั สามารถจดั การกบั สญั ลกั ษณ์ (Symbol) ไดด้ ว้ ยความเรว็ สงู
โดยปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนของโปรแกรม นอกจากนยี้ งั มคี วามสามารถ
ในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การรบั สง่ ขอ้ มลู การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ไวใ้ นตวั เครอื่ ง
และสามารถประมวลผลจากขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ได้ รวมทง้ั นำ� มาผสมผสาน
กบั เทคโนโลยีอินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน

แล็ปท็อป (Laptop)

Laptop เป็นชื่อย่อที่มาจาก (Laptop computer)
เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ที่ออกแบบมาให้มีขนาดเล็ก สามารถ
ขนยา้ ยหรอื พกพาไดส้ ะดวก ประสทิ ธภิ าพของแลป็ ทอ็ ปโดยทว่ั ไป
เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะแบบปกติ ในขณะท่ีราคาของ
แล็ปท็อปสูงกว่า โดยส่วนที่แตกต่างกับคอมพิวเตอร์ทั่วไปคือ
จอภาพเป็นลักษณะจอแอลซีดี และมีทัชแพด (Touch pad)
ที่ใช้ส�ำหรับควบคุมการท�ำงานของลูกศรบริเวณหนา้ จอ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

114 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

โน้ตบุ๊ก (Note Book)

โนต้ บกุ๊ (Note Book) เปน็ เครอื่ งคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็
มขี นาดเทา่ สมดุ โนต้ ขนาดพกพา สามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ
ไดส้ ะดวก ใชไ้ ดท้ ง้ั กบั ไฟบา้ นและแบตเตอร่ี นำ้� หนกั ไมถ่ งึ ๑ กโิ ลกรมั
ปัจจบุ ัน กำ� ลังได้รบั ความนยิ มมาก สำ� หรับใช้ในการจัดการเรียน
การสอน เนอื่ งจากสามารถเคลอื่ นยา้ ยนำ� ไปใชเ้ ปน็ สอื่ นอกหอ้ งเรยี น
ได้สะดวก

แทบ็ เลต็ (Tablet)

แท็บเล็ต (Tablet) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ชนิดหนึ่งท่ีมีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก พกพาง่าย
น้�ำหนกั เบามคี ีย์บอร์ดในตวั หน้าจอเปน็ ระบบสัมผัสปรับหมุนจอ
ไดอ้ ตั โนมตั ิ แบตเตอรใ่ี ชง้ านไดน้ านกวา่ คอมพวิ เตอรพ์ กพาทว่ั ไป
ระบบปฏิบตั ิการมีทัง้ ทเ่ี ปน็ Android iOS และ Windows ระบบ
การเชอื่ มต่อสญั ญาณเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต

ไอแพด (IPad)

ไอแพด (IPad) มปี ระสทิ ธภิ าพใกลเ้ คยี งกบั คอมพวิ เตอร์
โน้ตบุ๊ก แต่ไอแพดสามารถควบคุมการท�ำงานได้ด้วยเพียง
หน้าจอเดียว จัดอยู่ในประเภทเดียวกับแท็บเล็ต ซ่ึงเป็น
คอมพิวเตอร์พกพา ในการจัดการเรียนการสอนสามารถใช้
ไอแพดร่วมกับจอโปรเจคเตอร์ และขีดเขียนข้อความประกอบ
การบรรยายไดด้ ้วย Apple Pencil

โทรศัพท์เคล่อื นที่ (Mobile phone)

หรอื ทน่ี ยิ มเรยี ก โทรศพั ทม์ อื ถอื คอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ที่ใช้ในการสื่อสารสองทาง โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุ
ในการติดต่อกับเครือข่ายโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของ
โทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเช่ือมต่อกับเครือข่ายของ
โทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น
โทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน นอกจากความสามารถพ้ืนฐานของ
โทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติคล้ายกับคอมพิวเตอร์พกพา และ
เปน็ สอื่ การเรยี นการสอนทส่ี ะดวกสำ� หรบั นกั เรยี นในการหาขอ้ มลู
ความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นอกจากนั้น ยังสามารถเข้า
Application ตา่ ง ๆ ทใี่ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอนได้รวดเรว็

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 115

ส่ือช่วยสอน

การจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันมีความสะดวกมาก เพราะมีสื่อที่ช่วยเร้าความสนใจ ให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนมากขึ้น
และสามารถทบทวนบทเรียนได้ดว้ ยตัวเอง ส่งผลใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการเรยี นรู้ ส่อื ช่วยสอนในปจั จบุ นั มหี ลากหลายรูปแบบ ดงั นี้

บทเรียนสำ� เร็จรูป (อ้างองิ : สารนิพนธ์ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนสำ� เร็จรูป
เรื่องการอ่านตีความ สำ� หรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔
บทเรยี นสำ� เร็จรปู คือ บทเรยี นทีส่ ร้างขน้ึ เพื่อใหผ้ ู้เรยี น โรงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวียร์ นนทบรุ ี : นิตยา ผกู เกษร)
เรียนได้ด้วยตนเอง เสนอความรู้โดยจัดเนื้อหาเป็นส่วนย่อย ๆ
เรียกว่า “กรอบ” ประกอบด้วยกรอบเนื้อหา กรอบตัวอย่าง บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (CAI)
กรอบแบบฝึกหัด ให้นักเรียนศึกษาบทเรียนในแต่ละกรอบ
ตามลำ� ดบั จากง่ายไปหายาก แตล่ ะกรอบมคี �ำอธิบายและค�ำถาม บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI ย่อมาจาก
ต่อเน่ืองกัน มีค�ำถามจากกรอบแบบฝึกหัดที่ก�ำหนดไว้ใน computer assisted instruction หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์
บทเรียน นักเรียนสามารถตรวจค�ำตอบได้ด้วยตนเองจากเฉลย ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน
ทีอ่ ยูก่ รอบถัดไป ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และค�ำถามค�ำตอบ
ไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง และเกิดการเรียนรู้
จากบทเรียนส�ำเร็จรูปท่ีอยู่ในรูปแบบส่ิงพิมพ์ ต่อมา เนอ้ื หาไดต้ ามวัตถุประสงค์
มีพัฒนาการให้บทเรียนส�ำเร็จรูปใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวกลาง
แทนสิง่ พมิ พ์ โดยการใชโ้ ปรแกรมสรา้ งบทเรียน หน่วยการเรยี น
มีแบบฝึกหดั ทบทวน และแบบทดสอบ ทนี่ ักเรยี นสามารถเรียนรู้
ไดด้ ้วยตัวเอง เรยี กวา่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรอื CAI
(Computer assisted instruction)

หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) แต่จะมีลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และ
ผ้อู ่านสามารถอ่านพรอ้ ม ๆ กนั ได้ โดยไม่ต้องรอใหอ้ ีกฝ่ายสง่ คนื
E-Book ย่อมาจากค�ำว่า Electronic Book หมายถึง หอ้ งสมดุ เช่นเดียวกับหนังสอื ในห้องสมดุ ท่วั ๆ ไป    
หนังสือที่สร้างข้ึนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น
หนงั สอื หรอื เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยปกตมิ กั จะเปน็ แฟม้ ขอ้ มลู
ที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบ
ออฟไลน์และออนไลน์ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านทางอินเทอร์เน็ต
หรอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สพ์ กพาอน่ื ๆ ได้  สำ� หรบั หนงั สอื หรอื
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์นี้ จะมีความหมายรวมถึงเนื้อหาท่ีถูก
ดัดแปลงอยู่ในรูปแบบที่สามารถแสดงผลออกมาได้โดย
เครอ่ื งมอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แตก่ ใ็ หม้ ลี กั ษณะการนำ� เสนอทสี่ อดคลอ้ ง
และคล้ายคลึงกับการอ่านหนังสือทั่ว ๆ ไป ในชีวิตประจ�ำวัน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

116 การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่

สอ่ื การศกึ ษาทางไกล โทรทศั นผ์ า่ นดาวเทยี ม DLTV
การศึกษาทางไกล (Distance Education) หมายถึง
DLTV คือการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจาก
ระบบการศึกษาที่ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ ไกลกัน แต่สามารถจัด พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
การเรียนรู้ได้โดยอาศัยส่ือการสอนในลักษณะของส่ือประสม มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท่ี ๙)
กล่าวคือ การใช้สื่อต่างๆ ร่วมกัน เช่น ต�ำราเรียน เทปเสียง ปัจจุบันโครงการนี้อยู่ในความดูแลของมูลนิธิศึกษาทางไกล
แผนภูมิ คอมพวิ เตอร์ หรือโดยการใช้อปุ กรณท์ าง โทรคมนาคม ผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยจะถ่ายทอดการเรียน
และสื่อมวลชนประเภทวิทยุและโทรทัศน์เข้ามาช่วยในการแพร่ การสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวลในพระบรมราชูปถัมภ์
กระจาย อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเผยแพร่ภาพไป
ทว่ั ประเทศ

Application ทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน
การจัดการเรียนการสอนในปจั จบุ นั มี Application หลากหลายให้เลือกใช้เปน็ เคร่ืองมอื ชว่ ยจัดการเรยี นการสอน โดยเฉพาะ

ในยุคที่มีความจ�ำเป็นต้องจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ มี Application หลากหลายที่นิยม ท�ำให้นักเรียนสะดวก และสามารถ
เข้าถงึ การเรียนรู้ไดท้ ุกที่

Zoom

Zoom คือ Application ที่พัฒนามาเพ่ือให้สามารถ
จดั ประชมุ สมั มนา หรอื เรยี นไดท้ างออนไลนเ์ หน็ ทง้ั ภาพและเสยี ง
ผ่านคอมพวิ เตอร์ สมารท์ โฟน หรอื แทบ็ เล็ต

Google Classroom

เปน็ Application ชว่ ยจัดการเรียนการสอน ครูสามารถ
วางบทเรียน แบบฝึกหัด หรืองานในช้ันเรียนให้นักเรียน โดย
กำ� หนดเวลาวางงาน เวลาสง่ งานได้ นกั เรยี นสามารถตดิ ตาม เขา้
เรยี น ทำ� แบบฝึกหดั ไดใ้ นระยะเวลาท่คี รกู �ำหนด

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่ 117

Microsoft Team

Microsoft Team คือ. MS Teams เป็นเคร่ืองมือ
การท�ำงานร่วมกัน ผ่านการท�ำแชทให้สามารถท�ำงานร่วมกัน
และแบ่งปันข้อมูลผ่านพ้ืนที่ส่วนกลาง และเป็นตัวเช่ือมต่อกับ
App อื่น ๆ เช่น Skype, SharePoint, Exchange

Google Meet

Google Meet คือ Application ส�ำหรับการประชุม
ทางวดิ โี อทใ่ี ชง้ า่ ยไมม่ สี ะดดุ จาก Google ชว่ ยใหค้ ณุ ทำ� งานรว่ มกนั
และพัฒนาความสัมพันธ์กับทีมได้จากทุกท่ีบนโลก คุณสมบัติ
ท่ีส�ำคัญได้แก่ การประชุมทางวิดีโอความละเอียดสูง รองรับ
ผู้เข้าร่วมได้สูงสุด ๑๐๐ คน เข้าถึงได้ง่าย เพียงแค่แชร์ลิงก์
ให้ทุกคนเข้าร่วมสามารถรองรับการใช้งานที่หลากหลายบน
Desktop, iOS และ Android สามารถแชรห์ นา้ จอ รูปภาพ ไฟล์
และข้อความได้

ไลน์ (Line)

เปน็ Application ให้บรกิ าร Messaging รวมกบั Voice
Over IP ท�ำให้ผู้ใช้สามารถสร้างกลุ่มแชต ส่งข้อความ ภาพ
คลปิ วดิ โี อ หรอื พดู คยุ โทรศพั ทแ์ บบเสยี งกไ็ ด้ ขณะนี้ LINE ใชไ้ ดใ้ น
ระบบปฏิบัติการ iOS, Android, Windows Phone, PC และ
BlackBerry ฟีเจอร์ของ LINE ประกอบด้วย การส่งข้อความ,
การสนทนาดว้ ยเสยี ง, การเปลยี่ นพน้ื หลงั แบก็ กราวนดห์ นา้ หอ้ งแชต,
การสนทนาแบบกลุ่ม, OfficialLINE และการสง่ สตกิ เกอร์

Facebook

Facebook คือ บริการบนอินเทอร์เน็ตประเภทหน่ึง
ทช่ี ว่ ยใหเ้ ราสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สาร ไปตลอดจนทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั
เพือ่ นๆ หรือกลมุ่ เพือ่ น หรือบุคคลอนื่ ๆ ได้ ไมว่ า่ จะเป็นการตั้ง
ประเด็นถามตอบในเร่ืองท่ีสนใจ โพสต์รูปภาพ โพสต์คลิปวิดีโอ
เขียนบทความหรือบล็อก แชทออนไลน์เล่นเกมแบบเป็นกลุ่ม
ตลอดจนสามารถทำ� กจิ กรรมอน่ื ๆ ผา่ น Application เสรมิ ทม่ี อี ยู่
มากมาย ซ่ึงยังคงมีการพัฒนา Application และเกม เพ่ือ
ตอบสนองผู้ใช้อยอู่ ย่างตอ่ เนอ่ื ง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

118 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

Youtube

Youtube คือเว็บไซต์ที่ให้บริการแลกเปล่ียนภาพวิดีโอ
ระหว่างผู้ใช้ได้ โดยน�ำเทคโนโลยีของ Adobe Flash Player
มาใช้ในการแสดงภาพวิดีโอ ผู้ใช้สามารถเข้าดูวิดีโอต่าง ๆ
พร้อมทั้งเป็นผู้อัปโหลดวิดีโอ ผ่าน Youtube ได้ เมื่อสมัคร
สมาชิกแล้วผู้ใช้สามารถใส่ภาพวิดีโอเข้าไป แบ่งปันภาพวิดีโอ
ใหค้ นอน่ื ดดู ว้ ย  แตห่ ากไมไ่ ดส้ มคั รสมาชกิ กส็ ามารถเขา้ ไปเปดิ ดู
ภาพวิดีโอท่ีผู้ใช้คนอ่ืน ๆ ใส่ไว้ใน Youtube ได้ แต่ไม่สามารถ
เปน็ ผู้อัปโหลดวิดโี อได้

Twitter

ทวิตเตอร์ เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จ�ำพวก
ไมโครบล็อก โดยผู้ใช้สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน ๒๘๐
ตวั อกั ษร เรยี กการสง่ ข้อความนี้ว่า ทวีต ซงึ่ แปลว่า เสยี งนกรอ้ ง

Instagram

อนิ สตาแกรม (Instagram) คอื Application สำ� หรบั ถา่ ยรปู
เสริมลูกเล่นด้วยการตกแต่งภาพถ่ายด้วยฟิลเตอร์ต่าง ๆ ท่ี
สามารถเลือกปรับภาพได้หลากหลายและสวยงามตามใจชอบ
สามารถแชรอ์ วดรปู ภาพไปใหเ้ พอ่ื นๆ ทอี่ ยใู่ นสงั คมออนไลนอ์ นื่ ๆ

แม้ว่าการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้นักเรียนและครูได้เลือกใช้มากมาย สื่อบางชนิดนักเรียนสามารถศึกษา
ไดด้ ว้ ยตวั เองแตบ่ ทบาทของครกู ถ็ อื วา่ เปน็ ตวั แปรสำ� คญั ในการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น เพราะครคู อื ผแู้ นะนำ� แนวทางและอำ� นวยความสะดวก
ในการเรียนรู้ การเลือกสอ่ื การสอนทีเ่ หมาะสมจะสง่ ผลตอ่ การเกดิ องค์ความรูข้ องนกั เรียนและการสอนให้มปี ระสิทธิภาพสงู สุด

จารุวรรณ เทยี นเงนิ
เรียบเรียง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 119

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กบั การศึกษาไทยในชีวติ วถิ ีใหม่

การด�ำ เนินงานของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ท่ีเช่อื มโยงกบั ศตวรรษที่ ๒๑

การศกึ ษา คอื รากฐานสำ� คญั ของการขบั เคลอื่ นทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หม้ คี ณุ ภาพ มคี วามพรอ้ มในการดำ� รงชวี ติ

มคี วามรู้ สมรรถนะและทักษะในการรับมือกับการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ภายใต้บริบทของประเทศและของโลก
ที่พลิกโฉม อย่างรวดเร็ว ตลอดท้ังเป็นกลไกส�ำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ให้เทียบเท่ากับนานาอารยประเทศและเท่าทันการเปล่ียนแปลงของศตวรรษท่ี ๒๑ การพัฒนาการศึกษาในช่วง
ยทุ ธศาสตรช์ าติ มเี ปา้ หมายทม่ี งุ่ เนน้ การพฒั นาและยกระดบั คนในทกุ มติ แิ ละทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี คนเกง่ และมคี ณุ ภาพ
โดย “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะท่ีดี
ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจ�ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ
ภาษาที่สามและอนุรักษ์ภาษาถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย
ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัด
ของตนเอง”

การจดั การศกึ ษา จงึ ตอ้ งปรบั กระบวนทศั นใ์ หม่ ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั การเปลยี่ นแปลงของโลก
ในอนาคต กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลกั ทร่ี ับผิดชอบงานดา้ นศกึ ษาของประเทศ จึงก�ำหนดนโยบาย
และยทุ ธศาสตรด์ า้ นการศกึ ษาทมี่ คี วามสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
นโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนสู่ศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งครอบคลุมการพัฒนา
ในทกุ มติ ิ โดยมงุ่ พฒั นาการเรยี นรทู้ ตี่ อบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ การออกแบบระบบการเรยี นรใู้ หม่
ในทุกระดับชั้นอย่างเป็นระบบท่ีให้ความส�ำคัญกับการใช้ฐานความรู้และระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการท้ังใน
การเรยี นรดู้ า้ นวชิ าการ วชิ าชพี และทกั ษะชวี ติ และคำ� นงึ ถงึ พหปุ ญั ญาของผเู้ รยี นรายบคุ คลทห่ี ลากหลายตามศกั ยภาพ
จดั การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทำ� และสรา้ งนวตั กรรมตามความตอ้ งการของพน้ื ทช่ี มุ ชน ภมู ภิ าคหรอื ประเทศ
รวมทั้งการเป็นผู้ประกอบการเอง การปรับเปล่ียนบทบาทของครู ให้เป็นครูยุคใหม่ จาก “ครูสอน” เป็น “โค้ช”
หรอื “ผอู้ ำ� นวยการการเรยี นร”ู้ และวดั ผลงานครจู ากการพฒั นาผเู้ รยี นโดยตรง การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา
ในทุกระดับ ทุกประเภทที่มีประสิทธิภาพเช่ือมโยงทั้งองค์กรเน้นความสอดคล้องกับบริบทของแต่ละจังหวัด
การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีเน้นระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพ
ผ่านกลไกต่าง ๆ อาทิ การจัดการศึกษาออนไลน์ การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดิจิทัล การวางพื้นฐานการเรียนรู้
โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม การพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่มีความเช่ือมโยงและบูรณาการข้อมูลด้านการศึกษา
ระหวา่ งกระทรวงและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

การพฒั นาการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคนไทยใหบ้ รรลผุ ลตามเป้าหมายดงั กล่าวในขา้ งตน้ ในช่วงระยะท่ีผา่ นมา
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดบ้ รู ณาการความรว่ มมอื กบั ทกุ ภาคสว่ นของสงั คม ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ในรูปแบบประชารัฐ ที่เป็นไปอย่างสอดคล้องและมีความเป็นเอกภาพ ด้วยมุ่งหวังให้การศึกษาเป็นรากฐาน
แหง่ การพฒั นาคนส่กู ารพัฒนาประเทศให้มี “ความมน่ั คง ม่ังคัง่ และยั่งยืน” ได้อยา่ งแทจ้ ริง

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ 121



สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

กกาา้ รวศึกผษ่าาไนทยชีวิตวถิ ีใหม่

คณุ ภาพคน - คณุ ภาพประเทศ

ในปี ๒๕๖๔ วาระเร่งด่วนที่ประชาชนและสังคม ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ในฐานะ
คาดหวังตอ่ ระบบการศึกษาไทยหนีไมพ่ น้ การยกระดับ “คุณภาพ หนว่ ยนโยบายและแผนการศกึ ษาของชาติ มีการเร่งปรับบทบาท
การศกึ ษา” ต้องยอมรบั วา่ เม่ือเปรยี บเทียบคุณภาพนักเรียนไทย แ ล ะ พั น ธ กิ จ ส อ ด รั บ กั บ ส ถ า น ก า ร ณ ์ ก า ร ศึ ก ษ า ยุ ค ดิ จิ ทั ล
โดยเฉพาะกับประเทศคู่แข่งในอาเซียนด้วยกันยังไม่ดีเท่าที่ควร โดยยดึ กรอบใหญใ่ นการขับเคลอ่ื นประเทศ เช่น ยทุ ธศาสตร์ชาติ
โดยมีอันดับท่ียังตามหลังประเทศมาเลเซีย และเวียดนาม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ภายใตจ้ ดุ เนน้ แนวทางการขบั เคลอ่ื นนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ โดยเร่ง
ใหส้ อดคลอ้ งกบั การใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ สังเคราะห์หา “จุดร่วม” เพ่ือเช่ือมโยงกันระหว่างแผนหลักฯ
และการดำ� เนนิ งานดว้ ยยทุ ธศาสตร์ 4E ประกอบดว้ ย ๑) Empathize เพอื่ ขบั เคลอื่ นอยา่ งเปน็ เอกภาพและตอบโจทยก์ ารพฒั นาประเทศ
การเข้าใจและเข้าถึงปัญหาท่ีมีอยู่ ๒) Envision วาดภาพ อย่างตรงจุดผ่านนโยบายสาธารณะด้านการศึกษา และภายใต้
อนาคตว่าจะพัฒนาการศึกษาไทยไปในทิศทางใด ๓) Empower รัฐบาลปัจจุบันมีการริเริ่มประเด็นปฏิรูปการศึกษาบางอย่างท่ีดี
ทกุ ภาคสว่ นร่วมกันขบั เคลือ่ นการดำ� เนินงาน และ ๔) Execute เช่น แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มีการผ่านกฎหมาย
การเดนิ หนา้ ลงมอื ทำ� ใหเ้ กดิ ผลสำ� เรจ็ พระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.) กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่ 123

พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ร.บ.การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ร.บ.พน้ื ท่ี สถานการณ์ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมถึงการพิจารณา (COVID-19) ได้สร้าง “จุดเปลี่ยน” คร้ังใหญ่ในทุกระดับช้ัน
พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... ท่กี ำ� ลังผลักดนั อยใู่ นขณะนี้ การศึกษา มีการน�ำเทคโนโลยีมาปรับใช้กับการเรียนการสอน
รวมไปถึงการสอบ ท�ำให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนคุ้นเคยกับการใช้
สกศ. มีความตั้งม่ันบนความเข้มแข็ง โดยน�ำศักยภาพ เทคโนโลยกี บั การศกึ ษา องคก์ ารศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม
ที่มีอยู่ในองค์กรมาเพ่ือพัฒนาการศึกษาส่งเสริมจุดแข็ง แห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (UNESCO) คาดการณ์ว่า
ของประเทศ เช่น การบริการ การท่องเท่ียว เกษตรกรรม มีนักเรียนและนักศึกษามากกว่า ๓๖๓ ล้านคนทั่วโลกท่ีได้รับ
และอุตสาหกรรมอนาคต น�ำไปสู่การยกระดับการแข่งขัน ผลกระทบจากวิกฤตไวรัส COVID-19 ซึ่งท�ำให้มีการปิด
ของประเทศ นอกจากนี้ มีการเร่งปรับตัวทางด้านวิชาการ การเรียนการสอนที่โรงเรียนและมหาวิทยาลัยจนน�ำมาสู่
เผยแพร่งานวิจัยท่ีมีคุณภาพเข้มแข็ง สามารถตอบโจทย์ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้คนทั่วโลกท้ังในด้านการใช้ชีวิต
คณุ ภาพการศกึ ษาและการพฒั นาประเทศ สรา้ งการเปลย่ี นแปลง การท�ำงาน และการเรยี นการสอน
ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชนให้รวดเร็วเท่าทันการเปลี่ยนแปลง
และแสวงหาโอกาสต่อยอดการพัฒนานโยบายสาธารณะ แ น ว ท า ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น น โ ย บ า ย ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ
ซ่งึ จะสามารถแกป้ ญั หาของประเทศทันทว่ งที ด้านการศึกษา และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยองค์ความรู้ท�ำให้สามารถ
การน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ตอบโจทย์การจัดการศึกษาของชาติที่มีความชัดเจนและ
การท�ำงาน ได้แก่ การปรับใชเ้ ทคโนโลยี 5G กบั ระบบงานทำ� ให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ท�ำให้มองเห็นประเด็นความท้าทาย
เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก การสร้างความเชื่อมโยง ใหม่ ๆ สง่ ผลให้ สกศ. ตอ้ งมีการปรับบทบาทการขับเคลือ่ นงาน
ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อพัฒนาระบบการศึกษา การสร้าง ท่ีมีผลความก้าวหน้าสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ความเชื่อมโยงเครือข่ายการศึกษาจากฐานราก ซ่ึงการศึกษา และเชื่อมโยงกับการจัดการปัญหาของรัฐบาลภายใต้การปรับใช้
เปรยี บเสมอื นพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และตวั เดก็ หรอื ผเู้ รยี น จะนำ� จะไปสู่ แนวทาง 3R ได้แก่ ๑) การบรรเทาปญั หา (Relief) ปรับกลยุทธ์
การเปล่ยี นแปลงโครงสร้างทางสงั คม การด�ำเนนิ งานดา้ นวิชาการและการวิจัยเพ่ือตอบโจทย์การศกึ ษา
ของชาตใิ นสถานการณโ์ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ตอ่ ยอด เป็นล�ำดับแรก และจัดท�ำข้อเสนอนโยบายการศึกษาเพื่อช่วย
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เช่น การเตรียมความพร้อมผู้เรียน
ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ให้มีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี (Digital literacy)
ขอ้ เสนอหรือมาตรการส่งเสริมการเรียนการสอนบนแพลตฟอร์ม
แนวทางการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษาทม่ี ี ๗ วาระหลกั ดิจิทัลต่าง ๆ ข้อเสนอหลักสูตรหรือรูปแบบการเรียนออนไลน์
เรง่ แกโ้ จทย์ ๒๙ ประเด็น ในการพฒั นาทรัพยากรมนุษยท์ ้งั ระบบ
ภาคการศึกษาต้องใช้ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เพื่อสังเคราะห์
นโยบายและทบทวนบทบาทการพัฒนา “กำ� ลงั คน” ผ่านกลยุทธ์
การเสริมทักษะ (Upskill) และเพิ่มทักษะ (Reskill) การเรียนรู้
รูปแบบใหม่ ๆ ภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป อีกท้ัง
การรับฟังความคิดเห็นของกลุ่มคน Gen Z ซ่ึงก�ำลังเข้าสู่
วยั แรงงาน โดยคาดการณว์ า่ ภายในปนี ้ี จะเปน็ กำ� ลงั หลกั ในตลาด
แรงงานของประเทศกวา่ รอ้ ยละ ๒๐ และกลมุ่ คนเหลา่ นย้ี งั ตอ้ งการ
กระบวนการพัฒนาทักษะแห่งอนาคตเพ่ิมเติมอย่างเป็นระบบ
รวมถึงการวิเคราะห์ทิศทางการจดั การศกึ ษาเพอื่ ปรบั ใหเ้ ทา่ ทนั
การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ในอกี ๕ - ๑๐ ปี

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

124 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

ที่มีประสิทธิภาพรองรับกรณีการสั่งปิดโรงเรียนท้ังระยะส้ัน ทค่ี รอบคลมุ ทง้ั ในระบบและนอกระบบ และการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
ระยะกลาง และระยะยาว เป็นต้น ๒) การฟื้นฟู (Recovery) ระบบบริหารจดั การศึกษา เป็นต้น
เรง่ ทำ� งานเชงิ รกุ มากขน้ึ โดยศกึ ษาสภาพปญั หาของระบบการศกึ ษา
ในสถานการณ์ COVID-19 อยา่ งรอบดา้ น เพอ่ื ลดปจั จยั ความเสยี่ ง อย่างไรก็ดี รูปแบบ “การเรียนการสอนออนไลน์”
เด็กหลุดออกจากระบบการศึกษา พร้อมท้ังมีการถอดบทเรียน ทเ่ี กดิ ข้ึน ปจั จบุ นั ถอื เปน็ ความทา้ ทายดา้ นการศกึ ษาเชน่ เดยี วกบั
การเปลย่ี นแปลงในระบบการศกึ ษา ซงึ่ ทำ� ใหพ้ ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ประเทศทว่ั โลกสำ� หรบั การเดนิ หนา้ ยกระดบั โครงสรา้ งสาธารณปู โภค
ของคนในสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปจนกลายเป็นชีวิตวิถีใหม่ ข้ันพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยี เพ่ือให้การศึกษาของประชากร
(New Normal) ดา้ นการศึกษาของประเทศ น�ำไปส่กู ารวิเคราะห์ ทุกคนเกิดข้ึนไดอ้ ย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยมคี วามรว่ มมือ
สังเคราะห์ ข้อเสนอนโยบาย แผนและยุทธศาสตร์ในการพัฒนา จากทุกภาคส่วน ท้ังรัฐบาล กระทรวงศึกษาธกิ าร ครู ผปู้ กครอง
ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ก า ร เ รี ย น รู ้ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม นักเรียน และภาคประชาสังคม ซึ่งส่งผลให้โรงเรียนเป็น
๓) การปฏิรูป (Reform) จัดท�ำนโยบายการศึกษาตามแผน “สถานท่ีปลอดภัย” ที่พร้อมให้การสนับสนุนนักเรียนในท้องถ่ิน
การปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เพิ่มความชัดเจนในการน�ำ และมีการเปิดให้เรียนอย่างเท่าเทียมทั่วถึงแก่เด็กนักเรียน
นโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ (Policy implementation) รวมถงึ การเพม่ิ ทกุ คนในชว่ งเวลาทีเ่ หมาะสม
บทบาทการจุดประกายความคิดน�ำไปสู่การก�ำหนดนโยบาย
(Policy formulation) ด้านการศึกษาของชาติท่ีมีความทันสมัย
และสามารถตอบโจทย์การพัฒนาประเทศได้ เชน่ การออกแบบ
ระบบการเรียนรู้ใหม่ท่ีมีคุณภาพสอดคล้องกับศตวรรษท่ี ๒๑
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของครู การสร้างช่องทางการเรียนรู้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่ 125

เNขยe่าwวถิ ีเรNียoนรrู้mal

ระบบการศึกษาก�ำลังต้องเปล่ียนแปลงไปกลายเป็น technology เขา้ มาเปน็ เครอื่ งมอื อำ� นวยความสะดวกในการเรยี น
ความท้าทายใหม่ (New challenges) ที่ก�ำลังเปลี่ยนแปลงโลก การสอน และการคน้ ควา้ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
กระบวนการมองอนาคต (Foresight) เพ่ือการวิเคราะห์หรือ
คาดการณ์อนาคต ภายใต้สถานการณ์วิกฤตที่เกิดขึ้น จึงเป็น ดังนั้นระบบการศึกษาของไทยต้องการกระบวนการ
ความท้าทายในการขับเคล่ือนนโยบายการศึกษาชาติซึ่งต้องมี ปฏิรูประบบการศึกษาเพื่อพัฒนาให้ทันโลกในศตวรรษท่ี ๒๑
ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี แนวทางปฏริ ปู ประเทศ ตอ้ งมกี ารปรบั รปู แบบการศกึ ษาเพอื่ ใหส้ อดรบั กบั การเปลยี่ นแปลง
ดา้ นการศกึ ษา และเร่งรัดการปฏิรปู ทรัพยากรมนุษย์ ขอ้ คิดเหน็ บริบทของสังคม โดยเฉพาะการเพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีของ
การปฏิรูปการศึกษาไทยภายหลังวิกฤตไวรัส (COVID-19) ครผู สู้ อน (Upskill - Reskill) และการจดั กระบวนการเรยี นการสอน
จ�ำเป็นต้องเลือกปัญหาที่ก�ำลังเผชิญอยู่เป็นตัวตั้ง ภายใต้สาเหตุ ที่มีความแตกต่างหลากหลายเพื่อสามารถตอบโจทย์การเรียนรู้
ที่เป็นตัวผลักดันให้ต้องปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง ได้แก่ ของเดก็ นักเรียนไทย
๑) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ๒) การเกิดโรคระบาดจึงต้อง
สง่ั ปดิ โรงเรยี นเพอ่ื รกั ษาระยะหา่ งทางสงั คม (Social distancing) การปรับโครงสร้างการท�ำงานร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ
เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทัง้ ภาคเอกชน ประชาสังคม และประชาชน เป็นความท้าทายท่ี
(COVID-19) ๓) คุณภาพชีวติ ของคนไทยทต่ี กตำ�่ เพราะการจัด การปฏริ ปู การศกึ ษาตอ้ งทำ� ใหเ้ กดิ ขน้ึ ใหไ้ ด้ และเปน็ ความทา้ ทาย
การศึกษาท่ีไม่มีคุณภาพ และ ๔) การเลือกใช้ Educational ทม่ี คี วามหมายกวา้ งไปกวา่ “การกระจายอำ� นาจ” (Decentralized)
ในความหมายเดิมซ่ึงมักถูกมองในมิติการกระจายอ�ำนาจ
สกู่ ารปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แตใ่ นมติ กิ ารกระจายอำ� นาจการศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

126 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

ควรหมายรวมไปถึงการกระจายอ�ำนาจเพ่ือเปิดรับความรู้ คณะกรรมการระดับชาติชุดต่าง ๆ เช่น การขับเคล่ือน
ความเชี่ยวชาญจากทุกภาคส่วนเพ่ือให้มาช่วยกันขับเคล่ือน การศึกษายกก�ำลังสอง : ปลดล็อก-ปรับเปล่ียน-เปิดกว้าง
การปฏิรูปการเรียนรู้ของคนไทย ก่อนที่การปฏิรูปการศึกษา กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ (NQF) การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แผนการศกึ ษา
จะมุ่งประเด็นไปแต่เพียงการศึกษาในระบบที่มุ่งไปสู่เป้าหมาย แหง่ ชาติ ระบบธนาคารหน่วยกิต (Credit bank system) รวมทงั้
ปลายทางแห่งการสร้างอาชีพและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ประเดน็ ทางการศึกษาอ่ืน ๆ
จนอาจหลงลืม “เป้าหมาย” ของการศึกษาท่ีเป็นไป
เพื่อการด�ำรงชีวิตให้มีความสุข สังคมไทยและผู้เกี่ยวข้อง ประการส�ำคัญ สกศ.ขับเคล่ือนงานมุ่งตอบโจทย์
ด้านการศึกษาทั้งท่ีเป็นนักเรียน นักศึกษา ผู้ให้การศึกษา ประเด็นส�ำคัญด้านการศึกษาที่ต้องเร่งสร้างผลกระทบต่อสังคม
และผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ควรตระหนกั รว่ มกนั โดยรฐั บาลจำ� เปน็ ตอ้ ง (Big rock) หรือกิจกรรมปฏิรูปท่ีส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลง
หาจุดร่วมของสังคมเพื่อขับเคลื่อน การปฏิรูปการศึกษา ต่อประชาชน อย่างมีนัยส�ำคัญท้ัง ๕ เร่ือง ประกอบด้วย
อย่างเป็นเอกภาพ ๑) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ตั้งแต่
ระดบั ปฐมวยั ๒) การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนสกู่ ารเรยี นรู้
ตอบโจทย์ชวี ติ ฐานสมรรถนะ ๓) การสรา้ งระบบการผลติ และพฒั นาครแู ละบคุ ลากร
ทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ๔) การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
พลวตั อนาคต และระบบอื่น ๆ ที่เน้นการฝึกปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ น�ำไปสู่
การจ้างงานและการสร้างงาน และ ๕) การปฏิรูปบทบาท
สกศ. มีการก�ำหนดทิศทางการท�ำงานชัดเจน การวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อ
ในการขับเคลื่อนด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ สนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้
และได้รายงานเสนอที่ประชุมสภาการศึกษา ย้�ำชัดถึง OEC ปานกลางอย่างย่ังยืน ท้ังนี้ สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัส
Policy ซ่ึงเป็นแนวคิดการท�ำงานพัฒนานโยบายการศึกษา โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส่งผลให้ทุกองคาพยพของ
ที่มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติและ ภาคการศกึ ษาตอ้ งปรบั ตวั ดว้ ยความจำ� เปน็ หนั มารว่ มกนั “ออกแบบ”
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงรัฐธรรมนูญ ความปกติใหม่ของระบบการศึกษาไทยต้ังแต่ผู้ก�ำหนดนโยบาย
แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และแผนการศึกษา ผู้บรหิ าร สถานศึกษา ครู บุคลากรทางศึกษา ภาคประชาสงั คม
แห่งชาติท่ีมีการปรับปรุงแล้ว และเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ พอ่ แม่ และผูป้ กครอง
นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
เน้นความส�ำคัญของผู้เรียนมากท่ีสุดเพราะสุดท้าย
ประเด็นหลักทง้ั ๔ เรอื่ งของ OEC Policy ครอบคลุม ต ้ อ ง เ ติ บ โ ต เ ป ็ น ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย ์ ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ร ่ ว ม กั บ
๑) งานปฏิรูปการศึกษา มีการจัดท�ำข้อเสนอการปรับปรุง การขับเคล่ือนประเทศในอนาคต
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ๒) งานกฎหมาย
มีการพิจารณากฎหมายที่ต้องมีการปรับปรุงหรือแก้ไข
และกฎหมายที่ต้องจัดท�ำข้ึนใหม่เพื่อรองรับการด�ำเนินงาน
ตามร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้น
พร้อมระบุหน่วยงานหลักท่ีรับผิดชอบ ๓) งานวิจัย โดย สกศ.
มุ่งเน้นศึกษา วิจัย และเตรียมผลักดันงานวิจัยทางการศึกษา
ในประเดน็ หลกั สกู่ ารปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั เผยแพรใ่ นสอ่ื อยา่ งหลากหลาย
ท้ังเอกสาร E-book และ Application และ ๔) งานนโยบาย
สภาการศึกษา มุ่งเน้นการท�ำงานตามนโยบายสภาการศึกษา
นโยบายเชิงรุกของกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่ 127



สำ�นกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

Nกาeรศwกึ ษNาไทoยrในmยคุ aปlจั จบุ นั กับชีวิตวิถใี หม่

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ๑. ด้านความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการ
ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดแู ลความปลอดภยั ให้กบั ผู้เรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ของประเทศ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึง
ที่เป็นรากฐานในการพัฒนาคน โดยมองว่าคนเป็นก�ำลังส�ำคัญ การจดั สภาพแวดลอ้ มทเี่ ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาวะทด่ี ี สามารถปรบั ตวั
ในการขับเคลื่อนประเทศให้ทัดเทียมนานาชาติ ซ่ึงถึงแม้จะต้อง ต่อโรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอบุ ัตซิ ้�ำ
เผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) การจดั การศกึ ษายงั คงตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไป ๒. ดา้ นโอกาส สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ไดเ้ ขา้ เรยี นทกุ คน
ภายใตช้ วี ติ วถิ ใี หม่ (New Normal) ตามนโยบายของ นายณฏั ฐพล มีพัฒนาการที่ดี ท้ังทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม
ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเน้นย้�ำว่า และสตปิ ญั ญา ใหส้ มกบั วยั พรอ้ มทงั้ ดำ� เนนิ การใหเ้ ดก็ และเยาวชน
“โรงเรียนหยดุ ได้ แตต่ ้องไมห่ ยุดการเรียนรู”้ ได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างมีคุณภาพ
ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศกึ ษาเพอื่ อาชพี สามารถวเิ คราะห์
ท้ังนี้ ได้ก�ำหนดนโยบายส�ำนักงานคณะกรรมการ ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ และความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมี
สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ความสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถ
๒๕๖๐ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ในการแข่งขันของประเทศ นอกจากน้ัน ยังพัฒนาระบบดูแล
แผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา โดยเฉพาะกจิ กรรมปฏริ ปู ประเทศ ชว่ ยเหลอื เดก็ และเยาวชนทอ่ี ยใู่ นการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เพอื่ ปอ้ งกนั
ท่ีจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยส�ำคัญ ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมท้ังช่วยเหลือเด็กตกหล่นและ
(Big Rock) ทม่ี คี วามสำ� คญั เรง่ ดว่ น สามารถดำ� เนนิ การและวดั ผล เด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเท่าเทียมกัน
ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ การดำ� เนนิ การ และด�ำเนินการส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับ
ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ สพฐ. ได้แก่ ๑) การสร้างโอกาสและ โอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีทักษะในการด�ำเนินชีวิต
ความเสมอภาคทางการศกึ ษาต้งั แต่ระดับปฐมวัย ๒) การพฒั นา
การจดั การเรยี นการสอนสกู่ ารเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ เพอื่ ตอบสนอง
การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และ ๓) การปฏริ ปู กลไกและระบบ
การผลิตและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ
มาตรฐาน ตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ

สพฐ. มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้เป็น
"การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานวถิ ใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ" มงุ่ เนน้ ความปลอดภยั
ในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่าง
เทา่ เทยี ม และบรหิ ารจดั การศกึ ษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ กำ� หนด
นโยบายส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจ�ำ
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ ไวใ้ นด้านต่าง ๆ ดงั น้ี

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 129

มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อย่างมีศักด์ิศรี มัธยมศึกษาปที ่ี ๑-๓ นอ้ ยกวา่ ๒๐ คน ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอย่างมี
ความเป็นมนุษย์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพของชุมชน
พร้อมส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพในสถานศึกษา
๓. ด้านคุณภาพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียน ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ และสถานศกึ ษาทต่ี งั้ ในพน้ื ทลี่ กั ษณะพเิ ศษ
มคี วามรู้ มที กั ษะการเรยี นรแู้ ละทกั ษะทจี่ ำ� เปน็ ของโลกในศตวรรษ เชน่ เดยี วกบั การสนบั สนนุ พนื้ ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ตน้ แบบ
ที่ ๒๑ อยา่ งครบถว้ น เป็นคนดี มีวินยั มีความรักในสถาบันหลกั การพฒั นานวัตกรรมการศกึ ษา เพมิ่ ความคลอ่ งตัวในการบรหิ าร
ของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี และการจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการนิเทศ
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มที ศั นคตทิ ่ีถกู ต้องตอ่ บ้านเมือง ตดิ ตามและประเมินผลการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานท้ังระบบทวั่ ประเทศ
รวมถึงพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน
คณติ ศาสตร์ การคดิ ขน้ั สงู นวตั กรรม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การขับเคล่ือนนโยบายท่ีส�ำคัญในปีท่ีผ่านมา คือ
ดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ในการแข่งขัน และการเลือกศึกษาต่อเพื่อการมีงานท�ำ อีกทั้ง โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ที่หลายโรงเรียน
ไดม้ กี ารปรบั หลกั สตู รเปน็ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ทเี่ นน้ การพฒั นา จ�ำเป็นต้องปิดเรียนเนื่องจากอยู่ในพื้นที่กลุ่มเส่ียง ตามประกาศ
สมรรถนะหลักท่ีจ�ำเป็นในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้ ของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
แบบลงมือปฏิบัติจริง ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุล โคโรนา ๒๐๑๙ (ศบค.) สพฐ. ไดก้ ำ� หนดรปู แบบการเรยี นการสอนไว้
ทุกด้าน ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาพหปุ ญั ญา พฒั นา หลายรูปแบบ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ในพื้นท่ี
ระบบการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นทกุ ระดบั ทง้ั ยงั มงุ่ เนน้ การพฒั นา แต่ละแห่ง โดยมีแนวทางการจัดการเรียนการสอน ๕ รูปแบบ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพ ตามบริบทของแต่ละโรงเรียน ได้แก่ ๑) On Site ๒) On Air
ในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะ ๓) Online ๔) On Demand และ ๕) On Hand
ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ดด้ ี มคี วามรคู้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง และมี ๑. On Site คือ การมาเรียนท่ีโรงเรียนตามปกติ
จิตวิญญาณความเปน็ ครู สามารถท�ำได้ในเขตพ้ืนท่ีท่ีไม่ใช่พื้นที่สีแดงตามประกาศของ
ศบค. แตต่ อ้ งมกี ารเวน้ ระยะหา่ งหรอื ลดจำ� นวนนกั เรยี นตอ่ หอ้ งลง
๔. ด้านประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริหารจัดการ ส�ำหรับจังหวัดพื้นท่ีสีเขียว สามารถจัดการเรียนการสอน
โดยใช้พื้นทเ่ี ปน็ ฐาน มนี วตั กรรมเปน็ กลไกหลักในการขับเคล่ือน ในโรงเรียนได้ตามปกติ
บนฐานข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย เน้นการมีส่วนร่วม
ของทกุ ภาคสว่ น พรอ้ มไปกบั การพฒั นาโรงเรยี นมธั ยมดสี ม่ี มุ เมอื ง ๒. On Air คือ การเรียนการสอนผ่านทีวี โดยรับชม
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียน การออกอากาศผา่ น DLTV ทง้ั ระบบดาวเทยี ม KU-BAND (จานทบึ )
ทส่ี ามารถดำ� รงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ (Stand Alone) ใหม้ คี ณุ ภาพ ช่อง ๑๘๖-๒๐๐ ระบบเคเบิลทีวี และระบบ IPTV เป็นตัวหลัก
อย่างย่ังยืน สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ รวมถึงบริหารจัดการ ในการกระจายการสอน โดยใชโ้ รงเรยี นวงั ไกลกงั วลเปน็ หอ้ งเรยี น
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ท่ีมีจ�ำนวนนักเรียนช้ัน พื้นฐาน สามารถดูได้ทั้งรายการที่ออกอากาศสดตามตาราง
และรายการที่ดูย้อนหลัง

๓. Online คอื การเรยี นการสอนผ่านอนิ เทอร์เนต็ โดย
เรียนผ่านระบบ Video Conference ระบบบริหารจัดการเรียน
การสอน (LMS) ของโรงเรยี น หรือระบบอืน่ ที่ส�ำนักงานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษาไดเ้ ตรยี มไว้ ใหค้ รเู ปน็ ผจู้ ดั การเรยี นการสอนโดยตรงกบั
นักเรียน นับว่าเป็นรูปแบบท่ีถูกใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณ์ COVID-19 จำ� นวนมากทีส่ ุด

๔. On Demand เป็นการจัดการเรียนการสอนผ่าน
การใชง้ านแอปพลเิ คชนั ตา่ งๆ ทค่ี รกู บั นกั เรยี นใชร้ ว่ มกนั ทงั้ เวบ็ ไซต์
DLTV (www.dltv.ac.th) ชอ่ งในยทู ปู Youtube (DLTV Channel
1-15) และแอปพลเิ คชนั DLTV บนสมารท์ โฟนหรอื แทบ็ เลต็

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

130 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

๕. On Hand คือ การจัดการเรียนการสอนส�ำหรับ คดิ จากภายในพนื้ ทจี่ งั หวดั เปน็ ฐานในการเพมิ่ คณุ ภาพของจงั หวดั
นักเรียนทไ่ี มม่ คี วามพร้อมด้านอุปกรณ์ในการรับชม DLTV หรือ นัน้ ๆ ท�ำใหเ้ ด็กได้ไปโรงเรยี นทีม่ คี ณุ ภาพของชุมชนอย่างแท้จริง
ไม่สามารถจัดในรูปแบบอื่นข้างต้นได้ ให้โรงเรียนจัดท�ำใบงาน โดยการสร้างหรือปรับปรุงโรงเรียนที่มีอยู่เดิม ท�ำให้โรงเรียน
ให้กับนักเรียน เป็นลักษณะแบบเรียนส�ำเร็จรูปหรือแบบฝึกหัด มีปัจจัยพร้อม มีสมรรถนะและศักยภาพตามบริบทของชุมชน
ใหน้ กั เรยี นรบั เปน็ ชดุ ไปเรยี นดว้ ยตวั เองทบี่ า้ น ภายใตค้ วามชว่ ยเหลอื ๒) สร้างโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง เพ่ือกระจายคุณภาพจาก
ของผปู้ กครอง โดยมคี รอู อกไปเยยี่ มเปน็ ครงั้ คราว เพอื่ ใหน้ กั เรยี น โรงเรียนท่ีมีการแข่งขันสูง มีความแออัดของจ�ำนวนนักเรียน
สามารถเรียนไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง ให้กระจายในพ้ืนที่มากขึ้น และ ๓) พัฒนาโรงเรียน Stand
Alone ในพื้นท่ีห่างไกลที่มีความยากล�ำบากในการเดินทาง
สำ� หรบั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาทอี่ ยใู่ นพนื้ ทคี่ วบคมุ ให้มีคุณภาพอย่างเต็มพร้อม เพ่ือให้เด็กทุกคนได้รับโอกาส
สูงสุดตามที่ ศบค. ประกาศ ให้ด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน ทางการศกึ ษาอยา่ งเทา่ เทียมกนั
ทางไกลในระดับปฐมวยั - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ใน ๔ รปู แบบ คอื
On Air, Online, On Demand และ On Hand ส�ำหรับระดับ ส�ำหรับโรงเรียนคุณภาพของชุมชน หมายถึง โรงเรียน
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖ ให้ด�ำเนินการจัดการเรยี นการสอนผ่านทาง ระดับประถมศึกษาคัดเลือกโรงเรียนหลักของชุมชน ให้มี
ระบบ Video Conference หรอื ระบบบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน การบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร สิ่งอํานวยความสะดวก
(LMS) ของโรงเรียน หรือระบบท่ีส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้พร้อม ตามหลักการทําโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็นโรงเรียน
ได้เตรียมไว้ ส่วนส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาท่ีมีพ้ืนที่อยู่ ขนาดใหญ่ ให้มีโรงเรียนคุณภาพของชุมชนเป็นศูนย์กลาง
นอกเหนอื จากพน้ื ทค่ี วบคมุ สงู สดุ ตามท่ี ศบค. ประกาศ ใหด้ ำ� เนนิ การ การเรียนรู้เพ่ือให้ผู้ปกครอง ชุมชน เกิดการยอมรับในความ
จัดการเรียนการสอนตามปกติ (On Site) โดยยดึ คำ� สงั่ จาก ศบค. เปลี่ยนแปลง
จังหวัด โดยมีส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาด�ำเนินการ ควบคุม
ก�ำกับ ติดตาม และให้ความสะดวกแก่สถานศึกษา ดังนั้น ขณะท่ีโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง หมายถึง โรงเรียน
สถานศึกษาจึงสามารถจัดการเรียนการสอนตามความเหมาะสม ระดับมัธยมศึกษา (ม.๑-ม.๖) ท่ีมีศักยภาพเป็นที่ยอมรับของ
และบรบิ ทของตนเองได้ ผู้ปกครอง ชมุ ชน ลดอตั ราการแข่งขันสูง เป็นทางเลือกใหช้ ุมชน
และผปู้ กครอง จะเปน็ การพฒั นาโรงเรยี นทอ่ี ยใู่ นบรเิ วณชานเมอื ง
อีกนโยบายส�ำคัญท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมาย ให้มีคุณภาพ ด้วยการยกระดับให้เป็นโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง
ให้ด�ำเนินการขับเคลื่อน คือ โรงเรียนคุณภาพของชุมชน เพอ่ื ท�ำใหค้ ุณภาพโรงเรียนมคี วามใกลเ้ คียงกัน
โรงเรยี นมธั ยมดสี มี่ มุ เมอื ง และโรงเรยี น Stand Alone ซงึ่ มแี นวทาง
ในการพัฒนาโรงเรยี น ๓ รปู แบบ คือ ๑) สร้างโรงเรียนคุณภาพ และโรงเรยี น Stand Alone หมายถงึ โรงเรยี นทตี่ งั้ อยใู่ น
ของชมุ ชนทำ� ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นทม่ี คี ณุ ภาพประจำ� ชมุ ชน โดยใชก้ าร พนื้ ทห่ี า่ งไกล ทรุ กนั ดาร พน้ื ทส่ี งู บนเกาะ หรอื คมนาคมไมส่ ะดวก
ท�ำให้นกั เรยี นไมส่ ามารถมาเรยี นในโรงเรียนอื่นได้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 131



สำ�นักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษา

การจัดการอาชวี ศกึ ษา

ในยคุ ชีวิตวถิ ใี หม่

อาชีวศึกษา ถือเป็นการจัดการศึกษาท่ีมีความส�ำคัญ วางแผนและพัฒนาทางด้านกำ�ลังคน
ต่อการพัฒนาประเทศ และมีอิทธิพลต่อความม่ันคงทางด้าน ใหต้ รงตามความตอ้ งการของ
การเมือง เศรษฐกจิ และสังคม การกำ� หนดนโยบายของประเทศ
ในดา้ นตา่ ง ๆ มผี ลกระทบตอ่ อาชวี ศกึ ษาทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ภาคการผลติ ภาคธุรกิจและบรกิ าร
การจัดการศึกษาอาชีวศึกษาต้องท�ำหน้าที่ในการเตรียม และภาคอุตสาหกรรม
ความพร้อมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อรองรับการแข่งขันในเวทีโลก โดยการวางแผนและพัฒนา
ทางด้านก�ำลังคนให้ตรงตามความต้องการของ ภาคการผลิต
ภาคธุรกิจและบริการ และภาคอุตสาหกรรมโดยแท้จริง
และมีความสามารถในการตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคการค้าเสรี
รวมทั้งตอบสนองทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ของประเทศ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ 133

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด ้ ป ร ะ ก า ศ น โ ย บ า ย แ ล ะ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของภาคเกษตรกรรม ธรุ กจิ และบรกิ าร
จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านการอาชีวศึกษา มุ่งเน้น อุตสาหกรรมของประเทศ โดยมีการจัดการเรียนการสอน
จดั การศกึ ษาเพอื่ ผลติ กำ� ลงั แรงงานทมี่ คี ณุ ภาพ ตามความเปน็ เลศิ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตร
ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นท่ี สอดคล้องกับ วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ
ความต้องการของประเทศท้ังในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจน สายปฏบิ ตั ิการ (ทล.บ) และระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี เฉพาะ
มีการจดั การเรียนการสอนดว้ ยเคร่อื งมอื ที่ทนั สมัย สอดคล้องกับ (ปวพ.) หรือหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน โดยค�ำนึงถึงศักยภาพ
เทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นปจั จบุ นั โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ ของการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาตามบริบทท่ีแตกต่างกันตาม
และการสอื่ สารภาษาตา่ งประเทศ นอกจากน้ี ยงั มงุ่ เนน้ การพฒั นา พื้นที่การพัฒนาของภูมิภาค ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
ครอู าชวี ศกึ ษาใหม้ คี วามรแู้ ละความสามารถในการปฏบิ ตั ิ (Hand-on ประเทศตามนโยบายประเทศไทย ๔.๐ จึงได้ก�ำหนดนโยบาย
Experience) มคี วามเชย่ี วชาญเฉพาะ โดยการพฒั นาแบบเขม้ ขน้ ในการพัฒนาอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
รวมทั้งการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ เพื่อให้การจัด (Excellent Center)ทั้งในสถานศึกษาต้นแบบทั่วประเทศ
การศึกษามีคุณภาพ ภายใต้ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือ และสถานศึกษาในกลุ่ม EEC เพ่ือผลิตและพัฒนาก�ำลังคน
ความเป็นเลิศการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence ระดับกลางเร่งด่วนในสาขาท่ีเป็นความต้องการของประเทศ
Center : HCEC) เพอื่ ใหก้ ารผลติ และพฒั นากำ� ลงั คนอาชวี ศกึ ษา โดยความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ เพมิ่ กำ� ลงั คนกลมุ่ นกั เทคโนโลยี
ตอบสนองความต้องการของภาคประกอบการอย่างแท้จริง และนวัตกรรมเข้าสู่กลุ่มอุตสาหกรรมรองรับการเปล่ียนแปลง
ในสาขาทส่ี อดคลอ้ งนโยบายการพฒั นา ๑๐ อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย ซ่ึงเป็นผลจาก Digital Disruption เร่งยกระดับคุณภาพก�ำลัง
ตามทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศท้ังในเขตพัฒนา ในกลุ่มผู้ส�ำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ผู้อยู่ในภาคแรงงาน ให้มี
พิเศษภาคตะวันออก (EEC) และพืน้ ทอ่ี ่นื ๆ ทั่วประเทศ สมรรถนะและทักษะใหม่ โดยกระบวนการสร้าง New Skill,
Upskill และ Reskill พฒั นาสถานศกึ ษาตน้ แบบ เพอ่ื การขยายผล
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) การผลิตและพัฒนาก�ำลังคน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
เป็นองค์กรหลักในการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนท่ีมีคุณภาพ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

134 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

ประเทศ และความต้องการของสถานประกอบการ ตลอดจน อาชีวศกึ ษายกกำ�ลงั สอง
มีการบริการจัดการอาชีวศึกษาเชิงกลยุทธ์ บูรณาการทรัพยากร สร้างคุณภาพ นำ�ปริมาณ
และความรว่ มมอื (Strategic Alliance) รวมทงั้ มกี ารดำ� เนนิ การ
ฝกึ อบรมวชิ าชพี ระยะสน้ั เพอ่ื การสรา้ งงานสรา้ งอาชพี (Education กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี
to Employment Boot Camp) การฝกึ อบรมและพฒั นาเกษตรกร
ให้เปน็ Smart Farmer การพัฒนาอาชีพ/ต่อยอดอาชพี ประชากร การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่ 135
วัยแรงงานกลุ่มเป้าหมายพิเศษและผู้สูงอายุ การจัดการศึกษา
เรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) การด�ำเนินโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน
(Fix it Center)

ทิศทางการขบั เคลอ่ื น

การจัดการอาชวี ศกึ ษา
ในยคุ ชวี ติ วถิ ีใหม่

มี ทิ ศ ท า ง ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ก า ร จั ด ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า
ด้วยปรัชญาการบริหาร “อาชวี ศึกษายกก�ำลงั สอง สรา้ งคุณภาพ
นำ� ปริมาณ” โดยมีหลักการ คือ

๑. มุ่งขับเคล่ือนอาชีวศึกษาตามกรอบนโยบาย ๓ ป.
ของรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร คอื

• ปลดลอ็ ก : หลักเกณฑต์ า่ ง ๆ ท่เี ปน็ อปุ สรรค
• ปรับเปลยี่ น : หลักสูตร และการจัดการเรียน
การสอนให้มีความทนั สมยั
• เปดิ กว้าง : ให้สถานประกอบการมีส่วนร่วม
ในการจดั การเรยี นการสอนโดยผมู้ คี วามเชย่ี วชาญ
ในสาขาวิชาชีพ
๒. พัฒนาคุณภาพอาชีวศึกษายกก�ำลังสอง ภายใต้
๕ กรอบ คือ
• สร้าง “อาชพี ใหม”่ ใหก้ ับประชาชน
• เปิดโอกาสให้ผู้เรียน เรียนสายอาชีพเพิ่มขึ้น
ในทกุ ภูมิภาคดว้ ย “หอ้ งเรยี นอาชพี ใน สพฐ”
• พฒั นาสถานศกึ ษาให้เปน็ Excellent Center
• พฒั นาสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาใหม้ คี วามเขม้ แขง็
• ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษา
เอกชน
๓. จดั การอาชวี ศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทำ� ๑๐๐%
๔. ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น ต า ม ห ลั ก ก า ร ด ้ ว ย
“วงจรอาชวี ศกึ ษาคณุ ภาพ (Vocational Quality Cycle)”

มนี โยบายและจุดเน้นขับเคลอ่ื น

การจดั การอาชวี ศกึ ษา

๑. อาชีวศึกษายกก�ำลังสอง (Thailand Vocational สู่ศตวรรษที่ ๒๑ “ศนู ยฝ์ ึกอบรมอาชพี ระยะสนั้ ส�ำหรับประชาชน”
Education Eco-System : TVE2S) ในสถานศึกษา นอกจากนี้ยังมีการมุ่งการจัดการอาชีวศึกษา
ใหส้ ามารถเรยี นรไู้ ดต้ ลอดชวี ติ (Lifelong Learning) โดยประชาชน
• พั ฒ น า วิ ท ย า ลั ย เ พ่ื อ ค ว า ม เ ป ็ น เ ลิ ศ แ ล ะ ทุกช่วงวัยสามารถเข้าถึงการเรียนรู้วิชาชีพในรูปแบบต่าง ๆ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะ โดยให้สถานศึกษาสร้างความเข้มแข็ง และมีโอกาสได้รับวุฒิการศึกษาระดับอาชีวศึกษาผ่านระบบ
ในการจดั การเรยี นการสอนในสาขาวชิ าทม่ี คี วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง ธนาคารหนว่ ยกติ อาชวี ศกึ ษา (VEC Credit Bank) อยา่ งมคี ณุ ภาพ
และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
ของประเทศ โดยมุ่งเน้น ๑๐ อุตสาหกรรมหลักภายใต้
“ศูนยค์ วามเปน็ เลิศการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center)”

• ยกระดบั ศกั ยภาพทนุ มนษุ ยข์ องประเทศ (Reskills,
Upskills, New Skills) โดยให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร
รายวิชาชีพระยะสั้นตามความต้องการทั้งด้าน Demand side
และ Supply side และด�ำเนินการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับ
ประชาชนทว่ั ไป ผวู้ า่ งงาน นกั เรยี นนกั ศกึ ษาทจ่ี บใหม่ มสี มรรถนะ
อาชีพที่ตรงกับมาตรฐานอาชีพและตรงกับความต้องการของ
ภาคแรงงาน ตลอดจนสอดคล้องกับทิศทางการเตรียมคนไทย

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

136 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

• ยกระดับความร่วมมือกับภาคเอกชนและเพ่ิม ตามมาตรฐานอาชพี ตลอดจนการพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้ (On-site,
บทบาทในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีอย่างเข้มข้น On-Air, Online, On-Demand) ดว้ ยแพลตฟอรม์ การจดั การเรยี นรู้
โดยร่วมมือกับสถานประกอบการชั้นน�ำ ให้เป็นศูนย์ HCEC บนสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนและผู้ส�ำเร็จการศึกษา
เพ่ือเป็นต้นแบบและเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาครูและบุคลากร อาชีวศกึ ษามีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ต่อไป
ในสาขาวิชาเฉพาะทาง พัฒนาผูเ้ รียนอาชีวศกึ ษา กำ� ลงั แรงงาน
และประชาชนท่ัวไป ให้มีทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ ๒. พฒั นาคุณภาพการจัดการอาชีวศกึ ษา (Quality)
ความต้องการของตลาดแรงงาน โดยการพัฒนาหลักสูตร • พฒั นาและยกระดบั “หอ้ งเรยี นอาชพี ” รว่ มมอื กบั
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาครู การพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
และแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้ง ข้ันพ้ืนฐานในพื้นท่ีบริการ เพื่อจัดห้องเรียนอาชีพ เพื่อส่งเสริม
การก�ำกบั คณุ ภาพในทุกขน้ั ตอนของการจัดการอาชีวศกึ ษา ใหน้ กั เรยี นมธั ยมศกึ ษามคี วามรแู้ ละทกั ษะดา้ นอาชพี ในกลมุ่ อาชพี
ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและตลาดแรงงาน
• พัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยและมุ่ง (New Skill, Upskill, Reskill) เข้าถึงโลกอาชีพตามความถนัด
ตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ พัฒนาหลักสูตรให้ และความสนใจ โดยสถานศึกษาด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน
สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ สมาคมวิชาชีพ ห้องเรียนอาชีพในระดับมัธยมศึกษา โดยตามแนวทางที่ก�ำหนด
หรอื สถานประกอบการ ทง้ั หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ใน ๓ รปู แบบ คอื รปู แบบท่ี ๑ ดำ� เนนิ การพฒั นาหลกั สตู รวชิ าชพี
หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) หลกั สตู รปรญิ ญาตรี ระยะส้นั แบบโมดูลและจัดการเรียนการสอน (New Skill, Upskill,
สายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ (ทล.บ.) และหลกั สตู รวิชาชพี Reskill) ตามความสนใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ระยะสั้น จัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบที่มุ่งเน้นการคิด ใช้วธิ ีการจัดการเรยี นการสอนแบบ Block Course รูปแบบท่ี ๒
และสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม อาทิ Project-based Learning, STEM น�ำรายวิชาในหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
Education, Active Learning ใช้ส่ือการสอนท่ีมีความทันสมัย และหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) ไปจดั การเรยี น
และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลท่ีหลากหลาย ภายใตเ้ ครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต การสอนล่วงหน้าให้กับนักเรียนมัธยมศึกษา เพ่ือสะสมหน่วย
ทีม่ ีประสิทธภิ าพ ตลอดจนวดั และประเมนิ ผลเชงิ ประจักษ์อา้ งองิ การเรยี นรู้ และรปู แบบท่ี ๓ รว่ มกบั โรงเรยี นในสงั กดั สพฐ. พฒั นา
มาตรฐานอาชพี ทกี่ ำ� หนดแตล่ ะระดบั (Performance Evaluation) หลักสูตรสถานศึกษา ภายใต้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
โดยมงุ่ เนน้ การสะทอ้ นสมรรถนะผเู้ รยี น ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (โรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตร
มีห้องเรียนและห้องปฏิบัติการท่ีมีความทันสมัย สอดคล้องกับ สถานศึกษาได้ ๑๘ หน่วยกิต) ในรายวิชาที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพ
หลักสูตรการเรียนการสอนตามสาขาวิชาอย่างมีมาตรฐาน เพ่ือจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน โดยมีการบูรณาการ
จนสามารถเปน็ ศนู ยฝ์ กึ อบรมเทคโนโลยเี ฉพาะทางตามสาขาวชิ า การสอนร่วมกนั ระหว่างครู สพฐ. และครู สอศ.
และเป็น HUB ให้กับสถานศึกษาอ่ืน ๆ ที่จัดการศึกษาในสาขา
วิชาเดียวกัน ตลอดจนเป็นหน่วยงานทดสอบและรับรองบุคคล กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่ 137

• ยกระดับสถาบันการอาชีวศึกษา ๒๓ แห่ง
ท่ัวประเทศ ในการจัดการศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ
สายปฏิบัติการ และเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้มี
ความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการและวชิ าชพี ในการจดั การเรยี นการสอน
ในสาขาวชิ าทมี่ คี วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง และสอดคลอ้ งกบั ทศิ ทาง
การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ โดยมุ่งเน้น
๑๐ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต หรือ S-Curve และ New S-Curve

• พัฒนาระบบการจัดการอาชีวศึกษาเอกชนในทุก
มิติ (ครู ผู้เรียน และการบริหารจัดการ) เพื่อเป็นการส่งเสริม
สนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนได้เข้าเรียนในสายอาชีวศึกษาเพิ่ม
มากข้ึน โดยผู้เรียนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึง
การศกึ ษาระดับอาชวี ศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพไดม้ าตรฐาน

๓. แ น ว ท า ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น น โ ย บ า ย อ า ชี ว ศึ ก ษ า
ยกก�ำลังสอง

• ปลดลอ็ กเพอื่ ปรบั ปรงุ หลกั เกณฑต์ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั
การจดั การอาชวี ศกึ ษาและการบรหิ ารจดั การ

• ปรับเปล่ียนรูปแบบและเนื้อหาการพัฒนาครู
และบุคลากรอาชีวศึกษา ให้ตอบโจทย์อาชีวศึกษายกก�ำลังสอง
และการพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ในศตวรรษท่ี ๒๑

• ปรับเปล่ียนระบบบริหารจัดการ และน�ำระบบ
ดจิ ิทลั มาใช้เปน็ เคร่อื งมอื ในการด�ำเนินงาน

• ปรับภาพลักษณ์อาชีวศึกษา (Re-Branding)
นำ� องคก์ รดว้ ยปรชั ญา “อาชวี ศกึ ษายกกำ� ลงั สอง” และ “อาชวี ะฝมี อื ชน
คนสร้างชาติ”

• เปิดกว้างการสรรหาครูและผู้เชี่ยวชาญที่มี
ศักยภาพจากทุกภาคส่วนเพื่อให้ตอบโจทย์การผลิตและพัฒนา
ก�ำลงั คนสายอาชีพ

• เปดิ กวา้ งการมีสว่ นร่วมในการจดั การอาชวี ศึกษา
ของภาคเอกชน

จากแนวทางการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาในยุค
วิถีชีวิตใหม่ข้างต้น ถือเป็นการวางแผนและพัฒนาทางด้าน
ก�ำลังคนให้ตรงตามความต้องการของภาคการผลิต ภาคธุรกิจ
และบริการ และภาคอุตสาหกรรม ในสาขาวิชาท่ีเป็นเป้าหมาย
การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศตามนโยบายของกระทรวง
ศึกษาธิการ และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี
เพื่อเพ่ิมศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ต่อไป

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

138 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่



ส�ำ นักงานคณะกรรมการ
สง่ เสริมการศึกษาเอกชน

การจัดการศกึ ษาเอกชน

ในยุค New Normal

สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช.) • เฝา้ ระวัง ติดตาม และปฏบิ ัตติ ามมาตรการป้องกนั
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาเอกชน ตอ้ งปรบั ระบบการจดั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
การเรียนการสอนให้เข้ากับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
และเชอ่ื มโยงกบั สมรรถนะคนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยไดด้ ำ� เนนิ งาน โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง
ดังน้ี ศึกษาธิการ/ จงั หวดั และสถานการณท์ ส่ี ่วนราชการในพ้นื ท่ีนน้ั ๆ
ก�ำหนดอย่างเคร่งครัด
๑. จัดตั้ง “ศูนย์เฉพาะกิจช่วยเหลือโรงเรียนเอกชน
ฝา่ วกิ ฤตโิ ควดิ - ๑๙” มหี นา้ ทวี่ างแผน กำ� กบั ตดิ ตาม และประเมนิ ๓. จัดตั้ง “ศูนย์การเรียนรู้ด้วยระบบดิจิทัลส�ำนักงาน
ผลการให้ความช่วยเหลือแก่โรงเรียนเอกชนให้สามารถด�ำเนิน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน” เพ่ือส่งเสริมการจัด
กจิ การเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด การเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์ (Online Learning) ให้กับ
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โรงเรียนเอกชน เป็นนวัตกรรมทางการศึกษา ซ่งึ เป็นการเปลย่ี น
วิธีการสอนในรูปแบบเดิม (Face to Face) ให้เป็นการเรียน
๒. บริหารจัดการสถานศึกษา พร้อมเผยแพร่ การสอนท่ีใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยผ่านเครือข่าย Internet
ประชาสมั พนั ธ์ และใหส้ ถานศกึ ษาเอกชนในสงั กดั ปฏบิ ตั ติ าม ดงั น้ี โดยประสานความรว่ มมอื จากพนั ธมติ รเครอื ขา่ ยการจดั การศกึ ษา
Online จ�ำนวน ๒๔ ราย เขา้ มาสนบั สนุนฟรี โดยไมม่ ีคา่ ใชจ้ า่ ย
• คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับ ทั้งน้ี ได้มีการปรับการใช้งานให้เข้าถึงง่ายบนหน้าเว็บไซต์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส�ำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
ในสถานศึกษา
จากการร่วมมือดังกล่าว ท�ำให้ส�ำนักงานคณะกรรมการ
• แนวทางการบริหารจัดการส�ำหรับโรงเรียนเอกชน ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ภายใต้การด�ำเนินงานของ
เพ่ือป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส ศูนย์การเรียนรู้ด้วยระบบดิจิทัลส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน : ODLC มีแพลตฟอร์ม (Platform)
การศกึ ษาเอกชน ท้งั ฉบับภาษาไทย และฉบบั ภาษาองั กฤษ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

140 การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่

ส�ำหรับการเรียนออนไลน์ให้เลือกใช้อย่างหลากหลาย
ตามความเหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียน มีคลังสื่อ
บทเรียนออนไลน์คอนเทนต์ (Content) จ�ำแนกตามกลุ่มสาระ
การเรยี นรแู้ ละระดบั ชน้ั ครบทกุ ระดบั ชน้ั ของการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
มโี ปรแกรมสำ� หรบั จดั ทำ� หอ้ งเรยี นเสมอื นจรงิ ใหใ้ ชง้ าน สอื่ สำ� หรบั
เรียนวิชาชีพ จ�ำนวน ๑๐ สาขาวิชาชีพ ส่ือส�ำหรับเรียนภาษา
ตา่ งประเทศใหเ้ รียน จำ� นวน ๓๖ ภาษา รวมท้งั ครูผสู้ อนโรงเรยี น
เอกชนได้รับการพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ โดยฝึกอบรมผ่าน Video Conference ท่ีมีคณุ ภาพและ
ประสทิ ธภิ าพ สำ� หรบั สนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
และออนไซต์ ให้กบั นักเรยี น ผู้เรียน ครู ผู้สอน โรงเรยี นเอกชน
ในระบบ โรงเรียนเอกชนนอกระบบ และประชาชนทั่วไป อีกทั้ง
เป็นการเพ่ิมช่องทางในการศึกษาเพ่ิมเติมนอกโรงเรียน ส�ำหรับ
นักเรียน ผู้เรียน โรงเรียนในระบบ และนอกระบบ โดยมุ่งเน้น
เพ่ือส่งผลให้สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงข้ึน
โดยผ่านการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ รวม ๒,๔๐๐ คน

๔. แจ้งสถานศึกษาในสังกัด ให้ก�ำหนดแนวทาง
การจัดการเรียนการสอนตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการ
ก�ำหนด โดยสามารถค้นหาสื่อการสอนออนไลน์เพิ่มเติมได้ท่ี
ศนู ยก์ ารเรยี นรดู้ ว้ ยระบบดจิ ทิ ลั สช. ทางเวบ็ ไซต์ www.odlc.opec.go.th
ทั้งน้ี หากไม่สามารถจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านระบบ
อเิ ล็กทรอนิกสไ์ ดใ้ ห้จดั การเรยี นการสอนโดยใบส่งั งาน

๕. มาตรการเปดิ - ปดิ สถานศกึ ษาเอกชนทม่ี คี วามจำ� เปน็
ในการเปิด - ปิดสถานศกึ ษา เนอ่ื งดว้ ยเหตุของโรคติดเช้อื ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ผ่านระบบออนไลน์ โดย
ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจะออก
มาตรการตามที่ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
และสถานการณ์ท่ีส่วนราชการในพื้นที่น้ัน ๆ ก�ำหนดอย่าง
เคร่งครดั

๖. แจง้ สถานศกึ ษาเอกชนให้ก�ำกบั ติดตามประเมินผล
การจดั การเรยี นการสอนและการดำ� เนนิ การตามมาตรการปอ้ งกนั
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) ผ่านเว็บไซต์ www.covid.moe.go.th

๗. บรกิ ารสายดว่ น ๑๖๙๓ รองรบั ขอ้ ซกั ถาม และใหข้ อ้ มลู
ในการจดั การเรยี นการสอน มาตรการ แนวทางดำ� เนนิ การในชว่ ง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19)

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่ 141

๘. กำ� หนดแนวทางการจดั การอดุ หนนุ (อาหารเสรมิ นม) ๒. การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
โดยได้มีการปรับเปลี่ยนจากนมถุงเป็นนมกล่องและมีแนวทาง นานาชาติ การเรียนการสอนเป็นภาษาต่างประเทศ (English
ใหส้ ถานศกึ ษาเอกชนจดั สง่ ใหน้ กั เรยี นถงึ บา้ นในชว่ งปดิ ภาคเรยี น Program: EP และ Chinese Program: CP) เพอ่ื สรา้ งมาตรฐาน
และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส การศึกษาเอกชนให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) รวมทั้งการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ของโรงเรยี นเอกชนในระบบประเภทนานาชาติ
สำ� หรบั การดำ� เนนิ งานในปงี บประมาณพ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๖๕
ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีจุดเน้น ๓. การพัฒนาเครือข่ายการจัดการศึกษาร่วมกับ
ในการพัฒนาเพ่อื ยกระดับมาตรฐานการศึกษาเอกชน ได้แก่ หน่วยงาน องค์กรทั้งในประเทศและต่างประเทศ ให้มีส่วนร่วม
พฒั นาการจดั การศกึ ษาเอกชนเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ทนุ มนษุ ย์
๑. การพัฒนาการจัดการศึกษาด้วยระบบการเรียน ทีม่ ีคณุ ภาพ มที กั ษะและสมรรถนะในศตวรรษท่ี ๒๑ ตอบสนอง
โค้ดดิ้ง (Coding) และการเขียนโปรแกรมโรบอท (Robot) ความต้องการของสังคมและบริบทของโลกท่ีเปลี่ยนแปลง
โดยมุ่งพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักใช้ อยา่ งรวดเร็ว
เทคโนโลยดี ิจิทัลในการเรยี นรู้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

142 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่



ส�ำ นักงานคณะกรรมการ
ขา้ ราชการครู

และบุคลากรทางการศึกษา

การยกระดบั
การบริหารงานบุคคล

ของขา้ ราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษา ในศตวรรษท่ี ๒๑

ปลดล็อก ปรบั เปล่ียน เปดิ กว้าง

ตามท่ีรัฐบาลได้มีนโยบายในการยกระดับคุณภาพ กระทรวงศึกษาธิการ โดยนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
การศึกษาของประเทศไทย ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบาย “การศึกษา
ระยะ ๒๐ ปี ภายใต้วสิ ยั ทศั น์ “ประเทศมีความมัน่ คง มั่งคง่ั ย่ังยืน ยกกำ� ลังสอง” (Thailand Education Eco - System : TE2S)
เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ คอื การศกึ ษาทเี่ ขา้ ใจ Supply และตอบโจทย์ Demand ทตี่ อ้ งการ
พอเพียง” โดยให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาท่ีทัน “ปลดลอ็ ก ปรบั เปล่ียน เปดิ กว้าง” ตามแนวทางระบบการจัดการ
ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลก ในศตวรรษท่ี ๒๑ ซง่ึ การศกึ ษาถอื เปน็ ศกึ ษาแนวใหม่ ในศตวรรษที่ ๒๑ มงุ่ เนน้ การพฒั นาการศกึ ษาไทย
หัวใจส�ำคัญของการวางรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน
ที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาของประเทศอย่างม่ันคง ท่ีมีคุณภาพเข้ามาช่วยพัฒนาระบบการจัดการศึกษา รวมทั้ง
และยัง่ ยืน นั้น การน�ำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในการยกระดับ
คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหม้ ากขนึ้ โดยมเี ปา้ หมายในการยกระดบั
คณุ ภาพผูเ้ รียนและพฒั นาศกั ยภาพของครูเป็นส�ำคญั

ในส่วนของส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ในฐานะองคก์ รกลางบรหิ ารงาน
บุคคลส�ำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีหน้าที่
ในการออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการต่าง ๆ เกี่ยวกับ
การบริหารงานบุคคลส�ำหรับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา เพ่ือให้หน่วยงานการศึกษาถือปฏิบัติ ตลอดจน
การก�ำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหาร
งานบุคคล ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ภายใต้
การบริหารงานของ รศ.ดร.ประวติ เอราวรรณ์ เลขาธิการ ก.ค.ศ.
ซึ่งได้ก�ำหนดทิศทางในการบริหารงานบุคคลฯ ภายใต้นโยบาย
๕ คานงดั การขบั เคลอื่ นการบรหิ ารงานบคุ คล ของขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ไดแ้ ก่

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

144 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

๑. กำ� หนดมาตรฐานตำ� แหนง่ และมาตรฐานวทิ ยฐานะใหม่ ในวชิ าชพี ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ดงั นี้
๒. ปรับระบบการประเมินวิทยฐานะ ควบคู่กับระบบ ๑. ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการ
การประเมนิ เงนิ เดือน
๓. ปรับระบบการพัฒนาผูบ้ รหิ ารก่อนเข้าสตู่ �ำแหน่ง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง
๔. ก� ำ ห น ด เ ก ณ ฑ ์ อั ต ร า ก� ำ ลั ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ซ่ึงวิธีการพัฒนาในรูปแบบเดิมจะเน้นการบรรยายมากกว่า
ให้สอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลง การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง รวมถึงใช้ระยะเวลาการพัฒนา
๕. วางแผนการผลิตและระบบคัดกรองครูท่ีมีคุณภาพ และงบประมาณค่อนข้างมาก ท�ำให้ไม่ทันต่อความจ�ำเปน็ ท่ีจะได้
เข้าสู่ระบบการศึกษา บุคลากรในต�ำแหน่งที่มีความส�ำคัญของหน่วยงานมาปฏิบัติงาน
โดยนโยบายดงั กลา่ วมงุ่ ไปสกู่ ารขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งาน ก.ค.ศ. จึงได้ก�ำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาข้าราชการครูและ
ที่ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและของกระทรวงศึกษาธิการ บคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นเขา้ สกู่ ระบวนการคดั เลอื ก ใหม้ ที กั ษะ
ในเร่ืองของการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร พื้นฐาน ได้แก่ ทกั ษะภาษาไทย ทักษะภาษาองั กฤษ และทักษะ
ทางการศึกษาและเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติท่ีส�ำคัญ คือ ดจิ ทิ ลั  ใหม้ คี วามพรอ้ มในทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ และสมรรถนะทเ่ี หมาะสม
ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากร ตามมาตรฐานตำ� แหนง่ ท่ี ก.ค.ศ. กำ� หนด ซงึ่ เมอื่ ผา่ นกระบวนการ
มนษุ ย์ โดยไดน้ ำ� ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั ศตวรรษท่ี ๒๑ ไดแ้ ก่ ทกั ษะ พัฒนาก่อนการคัดเลือกแล้วจะเป็นผู้ที่สามารถปฏิบัติงาน
ด้านดิจิทัล ทักษะด้านภาษาอังกฤษ มาเป็นฐาน และน�ำไปใช้ ในต�ำแหน่งที่ได้รบั การบรรจแุ ละแตง่ ต้ังได้ทันที
ในระบบการพัฒนา ระบบการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาเพ่ือให้ได้คนดี คนเก่งและคนท่ีมีศักยภาพเข้าสู่ ๒. ปรับปรุงเกณฑ์อัตราก�ำลังของข้าราชการครู
วิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือให้เกิดประโยชน์ และบุคลากรทางการศึกษา เน่ืองจากสภาพปัญหาท่ีพบ
กับการจดั การศกึ ษาของชาติทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ ในปัจจบุ นั โรงเรียนขนาดเล็กมจี �ำนวนเพ่ิมขึ้น ท�ำใหอ้ ตั รากำ� ลงั
และอีกยุทธศาสตร์หน่ึงท่ีส�ำคัญคือ ยุทธศาสตร์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่เพียงพอต่อ
ด้านการปรับสมดุลพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การจัดการเรียนรู้ รวมถึงเกณฑ์ฯ อัตราก�ำลังเดิมได้ใช้จ�ำนวน
ในปงี บประมาณพ.ศ.๒๕๖๓ทผ่ี า่ นมาสำ� นกั งานก.ค.ศ.ไดป้ ลดลอ็ ก นักเรียนเป็นปัจจัยในการก�ำหนด ท�ำให้ไม่สอดคล้องกับบริบท
ปรบั ปรงุ รวมถงึ เปลยี่ นแปลงในเรอ่ื งของกฎ ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ ในปัจจุบัน จึงจ�ำเป็นต้องปรับปรุงเกณฑ์อัตราก�ำลังฯ ข้ึนใหม่
และวิธีการเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลฯ หลายเร่ืองด้วยกัน เพ่ือให้โรงเรียนขนาดเล็กมีอัตราก�ำลังที่เหมาะสม สามารถจัด
เพอื่ ลดความเหลอื่ มลำ�้ ทางการศกึ ษา ลดภาระงานของขา้ ราชการครู การเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ลดความเหลอ่ื มลำ�้ ทางการศกึ ษา
และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงการเสริมสร้างความก้าวหน้า และการลดภาระงานธรุ การของคร ู ซง่ึ จะทำ� ใหค้ รมู เี วลาในการจดั
การเรียนการสอนได้เต็มที่ และเกิดประสิทธิภาพในการบริหาร
งบประมาณ ซง่ึ จะสามารถชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพโรงเรยี นขนาดเลก็

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 145

ซ่ึงเป็นการบริหารอัตราก�ำลังที่ค�ำนึงถึงมิติเชิงปริมาณ และมิติ ประสิทธิภาพ ซึ่งจากการด�ำเนินการในเรื่องดังกล่าว เป็นเพียง
เชงิ คุณภาพด้วย สว่ นหนง่ึ ของการขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ การตามนโยบาย ๕ คานงดั
การขับเคล่ือนการบริหารงานบุคคลฯ ภายใต้นโยบายของ
๓. ปรับปรุงมาตรฐานต�ำแหน่งและมาตรฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร “การศกึ ษายกกำ� ลงั สอง” ปลดลอ็ ก ปรบั เปลย่ี น
วิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เนื่องจาก เปิดกว้าง
มาตรฐานต�ำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะเดิมใช้มานานแล้ว
ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๘ ก.ค.ศ. จงึ ไดป้ รบั ปรงุ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ นอกจากนี้ ส�ำนักงาน ก.ค.ศ. ได้เห็นถึงความส�ำคัญ
ลักษณะงานท่ีปฏิบัติให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของการจัด ในการสรา้ งการรบั รใู้ หก้ บั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
การศกึ ษาในปจั จบุ นั รวมถงึ ระยะเวลาทก่ี ำ� หนดในคณุ สมบตั เิ ฉพาะ และประชาชนท่ัวไป เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาลดิจิทัล
ส�ำหรับต�ำแหน่งและคุณสมบัติเฉพาะส�ำหรับวิทยฐานะ โดยเปิดช่องทางในการสร้างการรับรู้ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ตามมาตรฐานตำ� แหน่ง ซ่ึงยงั มีความเหล่อื มลำ้� ในความก้าวหนา้ สาระความรู้เก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
ระหว่างสายงาน (Career Path) ส�ำหรับการปรับปรุงมาตรฐาน และบุคลากรทางการศึกษา ในรปู แบบส่ือออนไลน์ และชอ่ งทาง
ต�ำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะฯ จะเป็นการจูงใจให้คนเก่ง ออนไลนข์ อง ส�ำนกั งาน ก.ค.ศ. ดังนี้
เขา้ มาสรู่ ะบบการศกึ ษา และมคี วามกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี ตามนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการในการยกระดับคุณภาพการศึกษา เว็บไซต์ของส�ำนักงาน ก.ค.ศ. (www.otepc.go.th)
ทั้งระบบ โดยคุณภาพของครู คือ กุญแจสำ� คญั เป็นช่องทางบริการบนอินเทอร์เน็ต ท่ีเผยแพร่ข่าวสาร
ความเคลื่อนไหวของส�ำนักงาน ก.ค.ศ. สาระความรู้ในรูปแบบ
๔. จัดท�ำหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินต�ำแหน่ง ท่ีหลากหลาย เช่น บทความออนไลน์ ในชื่อ “สถานี ก.ค.ศ.”
และวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ส�ำหรับ อินโฟกราฟิก (infographic) สรุปสาระส�ำคัญขั้นตอน
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารฯ ใหมน่ จ้ี ะประโยชนก์ บั ผเู้ รยี น สถานศกึ ษา การดำ� เนนิ งานของกฎ ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ที่เก่ียวข้อง กับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร
ซึ่งจะเปน็ การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับวชิ าชีพครู เพอื่ ใหค้ รู ทางการศึกษา วารสารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ได้พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพสูงข้ึน ตามระดับวิทยฐานะ และ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีท�ำให้ข้าราชการครูและบุคลากร
ท�ำให้กระบวนการพัฒนาผู้เรียนเกิดขึ้นจากกระบวนการจัด ทางการศึกษา ตลอดจนประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงข้อมูล
การเรยี นรแู้ ละการจดั การชนั้ เรยี น ทำ� ใหค้ รมู แี นวทางในการพฒั นา ข่าวสารการบริหารงานบุคคลฯ ได้สะดวก รวดเร็วย่ิงข้ึน
ตนเองท่ีชัดเจน สามารถน�ำผลการพัฒนามาใช้ในการพัฒนา และสามารถอปั โหลดคลิปกิจกรรมที่น่าสนใจไดด้ ้วยเชน่ กนั
ผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น นอกจากน้ี ผบู้ รหิ ารสามารถเขา้ ถงึ ครู
และห้องเรยี นมากยิ่งขน้ึ จะทำ� ให้ไดร้ ับทราบปัญหา และสามารถ วารสารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
น�ำมาก�ำหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพ อิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) (http://ebook.otepc.go.th)
การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน และยังเป็นการลด เป็นช่องทางที่สามารถเผยแพร่ข่าวสารความเคลื่อนไหวของ
กระบวนการและข้ันตอน โดยการน�ำระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ส�ำนักงาน ก.ค.ศ. สาระความรู้ในเร่ืองการบริหารงานบุคคล
มาใช้เพื่อเป็นการลดภาระในการจัดท�ำเอกสารศึกษา ได้แก่
ระบบการประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทาง
การศกึ ษา (Digital Performance Appraisal : DPA) และสามารถ
ลดงบประมาณเก่ียวกับการประเมิน เกิดการเชื่อมโยงบูรณาการ
ในระบบการประเมินวิทยฐานะ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเลอื่ นเงนิ เดอื น และการประเมนิ เพอ่ื คงวทิ ยฐานะ โดยใชต้ วั ชว้ี ดั
เดยี วกัน ท�ำใหล้ ดความซ้ำ� ซอ้ น และมี Big data ในการบรหิ าร
งานบุคคล สามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลส�ำคัญในการวางแผน
อัตราก�ำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้อย่างมี

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

146 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่


Click to View FlipBook Version